การกํากับและตรวจสอบมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศไทย ข้อกำหนดตัวอย่าง

การกํากับและตรวจสอบมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศไทย. มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐมีการกํากับและตรวจสอบโดยระบบการควบคุม แบบกํากับดูแล ซึ่งมีความแตกต่างจากการบังคับบัญชา กล่าวคือ “การบังคับบัญชา” เป็นอํานาจที่ หัวหน้าหน่วยงานใช้ปกครองผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา เช่น รัฐมนตรีใช้อํานาจบังคับบัญชาเหนือเจ้าหน้าที่ ทั้งหลายในกระทรวง อํานาจบังคับบัญชาเป็นอํานาจที่ผู้บังคับบัญชาสามารถสั่งการใด ๆ ก็ได้ตามที่ ตนเห็นว่าเหมาะสม สามารถกลับ แก้ ยกเลิก เพิกถอนคําสั่ง หรือการกระทําของผู้ใต้บังคับบัญชาได้ เสมอ เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นประการอื่นโดยเฉพาะ อย่างไรก็ตาม การใช้อํานาจบังคับ บัญชานี้ต้องชอบด้วยกฎหมาย ส่วนอํานาจ “กํากับดูแล” เป็นการควบคุมที่ไม่ใช่เรื่องความสัมพันธ์ ระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา แต่เป็นความสัมพันธ์ในลักษณะของผู้ควบคุมกํากับและ ผู้ถูกควบคุมกํากับ จึงเป็นอํานาจที่มีเงื่อนไข จะใช้ได้ต่อเมื่อกฎหมายให้อํานาจไว้และต้องเป็นไปตาม รูปแบบที่กฎหมายกําหนด ดังนั้น อํานาจกํากับดูแลจึงเป็นอํานาจที่ไม่สามารถออกคําสั่งได้หากไม่มี กฎหมายให้อํานาจไว้ ส่วนการควบคุม เพียงแต่ควบคุมว่ามีการปฏิบัติตามกฎหมายหรือไม่ แต่ไม่มี อํานาจออกคําสั่งเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่กฎหมายบัญญัติไว้37 สําหรับการกํากับตรวจสอบมหาวิทยาลัย มีทั้งการตรวจสอบภายในและภายนอก มหาวิทยาลัย การกํากับตรวจสอบภายในมหาวิทยาลัย มีการพัฒนาระบบการติดตาม ตรวจสอบเพื่อ ประโยชน์ในการบริหารภายในของสถาบัน โดยสภามหาวิทยาลัยเป็นผู้รับผิดชอบผลการดําเนินงานของ มหาวิทยาลัยต่อรัฐบาล การกํากับตรวจสอบจากหน่วยงานภายนอก เป็นส่วนหนึ่งของระบบการกํากับ ของรัฐ ซึ่งเป็นการกํากับที่เป็นระบบจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สํานักงานตรวจเงินแผ่นดิน สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา สํานักงบประมาณ นอกจากนี้ อาจกํากับด้วยกลไกงบประมาณ โดยใช้ผลการปฏิบัติงานเป็นเกณฑ์ในการจัดสรร ทั้งยังมีการกํากับด้วยระบบประกันคุณภาพ การศึกษา โดยสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยทุกแห่ง สร้างระบบการ ประกันคุณภาพของตนเองให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด ดังนั้น ผลจากการดําเนินงานในระบบ ประกันคุณภาพการศึกษาจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อการบริหารมหาวิทยาลัยที่อาจต้องปรับปรุง เพื่อให้เกิดผลผลิตที่ได้คุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนด38

Related to การกํากับและตรวจสอบมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศไทย

  • งานพิเศษและการแก้ไขงาน ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะสั่งเป็นหนังสือให้ผู้รับจ้างทํางานพิเศษซึ่งไม่ได้แสดงไว้หรือรวมอยู่ในเอกสาร สัญญานี้ หากงานพิเศษนั้นๆ อยู่ในขอบข่ายทั่วไปแห่งวัตถุประสงค์ของสัญญานี้ นอกจากนี้ ผู้ว่าจ้างยังมีสิทธิสั่งให้ เปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขแบบรูปและข้อกําหนดต่างๆ ในเอกสารสัญญานี้ด้วย อัตราค่าจ้างหรือราคาที่กําหนดไว้ในสัญญานี้ ให้กําหนดใช้สําหรับงานพิเศษหรืองานที่เพิ่มเติม ขึ้น หรือตัดทอนลงทั้งปวงตามคําสั่งของผู้ว่าจ้าง หากในสัญญาไม่ได้กําหนดไว้ถึง อัตราค่าจ้าง หรือราคาใด ๆ ที่จะ นํามาใช้สําหรับงานพิเศษหรืองานที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงดังกล่าว ผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างจะได้ตกลงกันที่จะกําหนดอัตรา ค่าจ้างหรือราคาที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง รวมทั้งการขยายระยะเวลา (ถ้ามี) กันใหม่เพื่อความเหมาะสม ในกรณีที่ตกลง กันไม่ได้ ผู้ว่าจ้างจะกําหนดอัตราจ้างหรือราคาตามแต่ผู้ว่าจ้างจะเห็นว่าเหมาะสมและถูกต้อง ซึ่งผู้รับจ้างจะต้อง ปฏิบัติงานตามคําสั่งของผู้ว่าจ้างไปก่อนเพื่อมิให้เกิดความเสียหายแก่งานที่จ้าง

  • ค่าจ้างและการจ่ายเงิน ผู้ว่าจ้าง ตกลงจา่ ย และผู้รับจ้างตกลงรับเงินค่าจ้างจาํ นวนเงิน ๔๘๒,๐๐๐.๐๐ บาท (สี่แสนแปดหมื่นสองพัน บาทถ้วน) ซึ่งได้รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม จํานวน ๓๑,๕๓๒.๗๑ บาท (สามหมื่นหนงพันห้าร้อยสามสิบสองบาทเจ็ดสิบเอ็ดสตางค์) ตลอดจน ภาษีอากรอื่น ๆ และค่าใช้จ่ายทั้งปวงด้วยแล้ว โดยถือราคาเหมารวม เป็นเกณฑ์ และกําหนดการจ่ายเงิน เป็นงวด ๆ ดังนี้ งวดที่ ๑ เป็นจํานวนเงิน ๔๘๒,๐๐๐.๐๐ บาท (สี่แสนแปดหมื่นสองพันบาทถ้วน) เมื่อผู้รับจ้างได้ ปฏิบัติงาน ก่อสร้างถนน คสล. กว้าง ๔.๐๐ เมตร ยาว ๒๔๐ เมตร หนา ๐.๑๕ เมตร หรือมีพื้นที่เทคอนกรีตไม่น้อยกว่า ๙๖๐ ตาราง เมตร พร้อมติดตั้งป้ายโครงการ เมื่อได้ส่งมอบงานครบถ้วนตามสัญญานั้น ให้แล้วเสร็จภายใน ๒๒ มีนาคม ๒๕๖๔

  • แบบรูปและรายการละเอียดคลาดเคลื่อน ผู้รับจ้างรับรองว่าได้ตรวจสอบและทําความเข้าใจในแบบรูปและรายการละเอียดโดยถี่ถ้วนแล้ว หากปรากฏว่าแบบรูปและรายการละเอียดนั้นผิดพลาด หรือคลาดเคลื่อนไปจากหลักการทางวิศวกรรมหรือทาง เทคนิค ผู้รับจ้างตกลงที่จะปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของผู้ว่าจ้าง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ ปรึกษาที่ผู้ว่าจ้างแต่งตั้ง เพื่อให้งานแล้วเสร็จบริบูรณ์ คําวินิจฉัยดังกล่าว ให้ถือเป็นที่สุด โดยผู้รับจ้างจะคิดค่าจ้าง ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายใดๆ เพิ่มขึ้นจากผู้ว่าจ้าง หรือขอขยายอายุสัญญาไม่ได้

  • การจ้างช่วง ผู้รับจ้างจะต้องไม่เอางานทั้งหมดหรือแต่บางส่วนแห่งสญญานี้ไปจ้างช่วงอีกทอดหนึ่ง เว้นแต่การจ้างช่วงงานแต่ บางส่วนที่ได้รับอนญาตเป็นหนงสือจากผู้ว่าจ้างแล้ว การที่ผว่าจ้างได้อนุญาตให้จ้างช่วงงานแต่บางส่วนดังกล่าวนั้น ไม่เป็นเหตุให้ผู้รับจ้าง หลุดพ้นจาก ความรับผิดหรือพันธะหนา้ ที่ตามสัญญานี้ และผู้รับจ้างจะยังคงต้องรับผิดในความผิดและความประมาทเลินเล่อของผู้รับจ้าง ช่วง หรือของตัวแทนหรือลูกจ้างของผู้รับจ้างช่วงนั้นทุกประการ กรณีผู้รับจ้างไปจ้างช่วงงานแต่บางส่วนโดยฝ่าฝืนความในวรรคหนึ่ง ผู้รับจ้างต้องชำระค่าปรับให้แก่ผู้ว่าจ้างเป็น จำนวนเงินในอัตราร้อยละ ๑๐ (สิบ) ของวงเงินของงานที่จ้างชวงตามสัญญา ทั้งนี้ ไม่ตัดสิทธิผว่าจ้างในการบอกเลิกสัญญา

  • การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ ในระหว่างระยะเวลาการก่อสร้าง ผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้รับจ้างต้องปฏิบัติ ตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายและระเบียบได้กําหนดไว้โดยเคร่งครัด

  • การบังคับค่าปรับ ค่าเสียหาย และค่าใช้จ่าย ในกรณีที่ผู้รับจ้างไม่ปฏิบัติตามสัญญาข้อหนึ่งข้อใดด้วยเหตุใดๆ ก็ตาม จนเป็นเหตุให้เกิดค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือ ค่าใช้จ่ายแก่ผู้ว่าจ้าง ผู้รับจ้างต้องชดใช้ค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายดังกล่าวให้แก่ผู้ว่าจ้างโดยสนิ้ เชิงภายในกำหนด ๗ (เจ็ด) วัน นับ ถัดจากวันทไี่ ด้รับแจ้งเปน็ หนังสือจากผู้ว่าจ้าง หากผู้รับจ้างไม่ชดใช้ให้ถูกต้องครบถ้วนภายในระยะเวลาดังกล่าวให้ผู้ว่าจ้างมีสทธิที่จะหัก เอาจากจำนวนเงินค่าจ้างที่ต้องชำระ หรือจากเงินประกันผลงาน ของผู้รับจ้าง หรือบังคับจากหลักประกันการปฏิบติตามสัญญาได้ทนั ที หากค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายที่บังคับจากเงินค่าจ้างที่ต้องชำระ เงินประกันผลงาน หรือหลักประกันการ ปฏิบัติตามสัญญาแล้วยังไม่เพียงพอ ผู้รับจ้างยินยอมชำระส่วนที่เหลือ ที่ยังขาดอยู่จนครบถ้วนตามจำนวนค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายนั้น ภายในกำหนด ๗ (เจ็ด) วัน นับถัดจากวันทไี่ ด้รับแจ้งเป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้าง หากมีเงินค่าจ้างตามสัญญาที่หักไว้จ่ายเป็นค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายแล้วยังเหลืออยู่อีกเท่าใด ผู้ว่าจ้างจะคืนให้แก่ผู้รับจ้างทงั้ หมด

  • หลักเกณฑ์และสิทธิในการพิจารณา ๕.๑ การพิจารณาผลการยื่นข้อเสนอประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ครั้งนี้ โรงเรียนจะพิจารณา ตัดสินโดยใช้หลักเกณฑ์ ราคา

  • วัตถุประสงค์ เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต (Zero Tolerance and Clean Thailand)” และมาตรการ 3 ป. 1 ค. ในการป้องกันการทุจริตของกระทรวงสาธารณสุข มุ่งสู่หน่วยงาน คุณธรรมและความโปร่งใส โดยเน้นผู้นําหน่วยงานเป็นต้นแบบ โดยผู้บริหารให้ความสําคัญ และแสดงความ ตั้งใจหรือให้คํามั่นที่จะนําพาหน่วยงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม มีความโปร่งใส ปราศจากการทุจริต และพร้อมที่จะได้รับการติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานตามเจตจํานงที่ได้แสดงไว้อย่างจริงใจ ทั้งจาก เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานและจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือสาธารณชนภายนอกหน่วยงาน อีกทั้งส่งเสริม/ สนับสนุนให้หน่วยงานมีการดําเนินงานอย่างมีคุณธรรมและความโปร่งใสมากขึ้น ผ่านการกําหนดทิศทาง นโยบาย มาตรการ โครงการหรือกิจกรรม ตามแนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ ดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ

  • เอกสารแนบท้ายเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ๑.๑ แบบรูปและรายการละเอียด

  • การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สามารถนําผลการปฏิบัติงานแล้วเสร็จตามสัญญาของผู้ยื่นข้อเสนอที่ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้รับจ้างเพื่อนํามาประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ ทั้งนี้ หากผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกไม่ผ่านเกณฑ์ที่กําหนดจะถูกระงับการยื่นข้อเสนอหรือ ทําสัญญากับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไว้ชั่วคราว