การประกันภัยทรัพย์สินต่ำกว่ามูลค่าที่แท้จริง ข้อกำหนดตัวอย่าง

การประกันภัยทรัพย์สินต่ำกว่ามูลค่าที่แท้จริง. ในกรณีที่จำนวนเงินเอาประกันภัยเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 70 ของมูลค่าทรัพย์สินที่เอาประกันภัย ในขณะเกิด ความเสียหาย อันเนื่องมาจากภัยที่ได้รับความค ครองตามขอ้ ตกลงคุมครองนี้ บริษัทจะชดใช้ให้ผู้เอาประกันภัยตามมูลค่า ความเสียหายที่เกิดขึ้นจริง (แต่ไม่เกินจำนวนเงินเอาประกันภัย) โดยไม่นำเงื่อนไขการประกันภัยทรัพย์สินต่ำกว่ามูลค่าที่ แท้จริงมาใช้บังคับ แต่หากจำนวนเงินเอาประกันภัยต่ำกว่าร้อยละ 70 ของมูลค่าแท้จริงของทรัพย์สินที่เอาประกันภัยในขณะเกิดความ เสียหาย อันเนื่องมาจากภัยที่ได้รับความคุ้มครองตามข้อตกลงคุ้มครองนี้ ให้ถือว่าผู้เอาประกันภัยเป็นผู้รับประกันภัยตนเอง ในส่วนที่แตกต่างกันกับมูลค่าที่แท้จริงของทรัพย์สินที่เอาประกันภัย และในการคำนวณค่าสินไหมทดแทน ผู้เอาประกันภัย จะต้องรับภาระส่วนเฉลี่ยความเสียหายไปตามส่วนในทุกรายการ และหากมีมากกว่าหนึ่งรายการให้แยกพิจารณาเป็นแต่ละ รายการไป โดยสูตรที่ใช้ในการคำนวณค่าสินไหมทดแทนซึ่งบริษัทจะต้องรับผิดชอบในกรณีนี้คือ ค่าสินไหมทดแทนที่บริษัท จะชดใชแ้ ต่ละรายการ จำนวนเงินเอาประกันภัย x มูลคาความเสียหาย – ความรบผิดสว่ นแรก (ถ้ามี) = มูลค่าที่แท้จริงของทรัพย์สิน ณ เวลาที่เกิดความ เสียหาย อย่างไรก็ตามหากเกิดความเสียหายแก่ทรพย์สินที่เอาประกันภัยภายใต้ความคุ้มครองข้อ 2.1 ถึงข้อ 2.4 บริษัทจะ ไม่นำเงื่อนไขการประกันภัยทรัพย์สินต่ำกว่ามูลค่าที่แท้จริงมาใช้ในการพิจารณาคำนวณค่าสินไหมทดแทน

Related to การประกันภัยทรัพย์สินต่ำกว่ามูลค่าที่แท้จริง

  • การรับประกันความชำรุดบกพร่อง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งได้ทำสัญญาจ้าง ตามแบบ ดังระบุในข้อ ๑.๓ หรือข้อตกลงจ้างเป็นหนังสือแล้วแต่กรณี จะต้องรับประกันความชำรุดบกพร่องของงานจ้างที่เกิดขึ้นภายใน ระยะเวลา ไม่น้อยกว่า ๒ ปี นับถัดจากวันที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้รับมอบงาน โดยต้องรีบจัดการ ซ่อมแซมแก้ไขให้ใช้การได้ดีดังเดิมภายใน ๑๕ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้งความชำรุดบกพร่อง

  • อัตราค่าปรับ ค่าปรับตามสัญญาจ้างแนบท้ายเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์นี้ หรือข้อตกลงจ้างเป็น หนังสือจะกําหนด ดังนี้

  • การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ ในระหว่างระยะเวลาการก่อสร้าง ผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้รับจ้างต้องปฏิบัติ ตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายและระเบียบได้กําหนดไว้โดยเคร่งครัด

  • เอกสารแนบท้ายเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ๑.๑ แบบรูปและรายการละเอียด

  • การทำสัญญาจ้างก่อสร้าง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะต้องทําสัญญาจ้างตามแบบสัญญา ดังระบุในข้อ ๑.๓ หรือทําข้อตกลงเป็นหนังสือกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใน ๗ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้ง และจะต้องวาง หลักประกันสัญญาเป็นจํานวนเงินเท่ากับร้อยละ ๕ ของราคาค่าจ้างที่ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ให้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ยึดถือไว้ในขณะทําสัญญาโดยใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้

  • หลักฐานการยื่นข้อเสนอ ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องเสนอเอกสารหลักฐานยื่นมาพร้อมกับการเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้าง ภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ โดยแยกเป็น ๒ ส่วน คือ

  • หมายเหตุ 1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนา ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบท และสภาพการจัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และข้าราชการครูผู้จัดทำข้อตกลง

  • การเสนอราคา ๔.๑ ผู้ยื่นข้อเสนอต้องยื่นข้อเสนอ และเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วย อิเล็กทรอนิกส์ตามที่กำหนดไว้ในเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์นี้ โดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น และจะต้อง กรอกข้อความให้ถูกต้องครบถ้วน พร้อมทั้งหลักฐานแสดงตัวตนและทำการยืนยันตัวตนของผู้ยื่นข้อเสนอ โดย ไม่ต้องแนบใบเสนอราคาในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format)

  • หลักเกณฑ์และสิทธิในการพิจารณา ๖.๑ ในการพิจารณาผลการยื่นข้อเสนอประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ครั้งนี้ สำนักงาน จะพิจารณาตัดสินโดยใช้หลักเกณฑ์ ราคาประกอบเกณฑ์อื่น

  • มาตรฐานฝีมือช่าง เมื่อองค์การบริหารส่วนตําบลได้คัดเลือกผู้ยื่นข้อเสนอรายใดให้เป็นผู้รับจ้างและได้ตกลงจ้าง ก่อสร้างตามประกาศนี้แล้ว ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องตกลงว่าในการปฏิบัติงานก่อสร้างดังกล่าว ผู้เสนอราคาจะต้องมีและ ใช้ผู้มีวุฒิบัตรระดับ ปวช. ปวส. และปวท. หรือเทียบเท่าจากสถาบันการศึกษาที่ ก.พ. รับรองให้เข้ารับราชการได้ ใน อัตราไม่ต่ํากว่าร้อยละ ๑๐ ของแต่ละ สาขาช่างแต่จะต้องมีจํานวนช่างอย่างน้อย ๑ คน ในแต่ละสาขาช่าง ดังต่อไปนี้