การส่งเสริมให้เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งประกอบอาชีพเสริมเพื่อรองรับความเสี่ยงจากการ ข้อกำหนดตัวอย่าง

การส่งเสริมให้เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งประกอบอาชีพเสริมเพื่อรองรับความเสี่ยงจากการ. ผลิต จะเห็นได้ว่าความเสี่ยงที่เกิดขึ้นทางเกษตรกรรมของการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้ตอนบนจะเป็น ความเสี่ยงทางด้านการผลิต ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในด้านการผลิตประกอบด้วย การ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีจํากัด และขาดความสมบูรณ์ของอาหารในพื้นที่ การเลี้ยงเป็ด ความเสี่ยงในการผลิตที่เกิดขึ้นจะทําให้รายได้ที่ได้จากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งลดลงเนื่องจาก ผลผลิตไข่ที่ลดลง เพื่อลดผลกระทบดังกล่าวเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งควรได้รับการส่งเสริมให้มีอาชีพเสริม เพื่อสร้างรายได้ในช่วงที่ผลผลิตไข่ลดลงหรือช่วงที่หยุดพักการเลี้ยง จากการสํารวจพบว่าเกษตรกรผู้เลี้ยง เป็ดไล่ทุ่งในชาวบ้านโดยส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพเสริมในช่วงที่หยุดพักการเลี้ยงหรือผลผลิตไข่ลดลง เกษตรกร ยังขาดความรู้ และทักษะในการประกอบอาชีพเสริม ซึ่งการดําเนินการดังกล่าวจะต้องดําเนินการผ่านกล ยุทธ์ระดับจังหวัดหน่วยงานต่างๆ ทางการเกษตรร่วมกับปศุสัตว์จังหวัดเข้าไปส่งเสริมอาชีพให้กับเกษตรกร ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งซึ่งอาจดําเนินการในระดับชุมชนควบคู่กันไปโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในระดับชุมชน ดําเนินการส่งเสริมอาชีพให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในพื้นที่

Related to การส่งเสริมให้เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งประกอบอาชีพเสริมเพื่อรองรับความเสี่ยงจากการ

  • การปรับราคาค่างานก่อสร้าง การปรับราคาค่างานก่อสร้างตามสูตรการปรับราคาดังระบุในข้อ ๑.๕ จะนํามาใช้ในกรณีที่ ค่า งานก่อสร้างลดลงหรือเพิ่มขึ้น โดยวิธีการต่อไปนี้ ตามเงื่อนไข หลักเกณฑ์ สูตรและวิธีคํานวณที่ใช้กับสัญญาแบบปรับราคาได้ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๓๒ เรื่อง การพิจารณาช่วยเหลือผู้ประกอบอาชีพงานก่อสร้าง ตามหนังสือสํานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๓/ว ๑๐๙ ลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๓๒ สูตรการปรับราคา (สูตรค่า K) จะต้องคงที่ที่ระดับที่กําหนดไว้ในวันแล้วเสร็จตามที่กําหนดไว้ใน สัญญา หรือภายในระยะเวลาที่โรงเรียนได้ขยายออกไป โดยจะใช้สูตรของทางราชการที่ได้ระบุในข้อ ๑.๕

  • การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ สำนักงาน สามารถนำผลการปฏิบัติงานแล้วเสร็จตามสัญญาของผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการ คัดเลือกให้เป็นผู้รับจ้างเพื่อนำมาประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ ทั้งนี้ หากผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดจะถูกระงับการยื่น ข้อเสนอหรือทำสัญญากับสำนักงาน ไว้ชั่วคราว

  • อัตราค่าปรับ ค่าปรับตามสัญญาจ้างแนบท้ายเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์นี้ หรือข้อตกลงจ้างเป็น หนังสือจะกําหนด ดังนี้

  • หมายเหตุ 1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนา ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบท และสภาพการจัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และข้าราชการครูผู้จัดทำข้อตกลง

  • การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ ในระหว่างระยะเวลาการก่อสร้าง ผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้รับจ้างต้องปฏิบัติ ตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายและระเบียบได้กําหนดไว้โดยเคร่งครัด

  • การรับประกันความชำรุดบกพร่อง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งได้ทำสัญญาจ้าง ตามแบบ ดังระบุในข้อ ๑.๓ หรือข้อตกลงจ้างเป็นหนังสือแล้วแต่กรณี จะต้องรับประกันความชำรุดบกพร่องของงานจ้างที่เกิดขึ้นภายใน ระยะเวลา ไม่น้อยกว่า ๒ ปี นับถัดจากวันที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้รับมอบงาน โดยต้องรีบจัดการ ซ่อมแซมแก้ไขให้ใช้การได้ดีดังเดิมภายใน ๑๕ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้งความชำรุดบกพร่อง

  • การเสนอราคา ๔.๑ ผู้ยื่นข้อเสนอต้องยื่นข้อเสนอ และเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วย อิเล็กทรอนิกส์ตามที่กำหนดไว้ในเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์นี้ โดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น และจะต้อง กรอกข้อความให้ถูกต้องครบถ้วน พร้อมทั้งหลักฐานแสดงตัวตนและทำการยืนยันตัวตนของผู้ยื่นข้อเสนอ โดย ไม่ต้องแนบใบเสนอราคาในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format)

  • หลักเกณฑ์และสิทธิในการพิจารณา ๖.๑ ในการพิจารณาผลการยื่นข้อเสนอประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ครั้งนี้ สำนักงาน จะพิจารณาตัดสินโดยใช้หลักเกณฑ์ ราคาประกอบเกณฑ์อื่น

  • หลักฐานการยื่นข้อเสนอ ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องเสนอเอกสารหลักฐานยื่นมาพร้อมกับการเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้าง ภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ โดยแยกเป็น ๒ ส่วน คือ

  • มาตรฐานฝีมือช่าง เมื่อองค์การบริหารส่วนตําบลได้คัดเลือกผู้ยื่นข้อเสนอรายใดให้เป็นผู้รับจ้างและได้ตกลงจ้าง ก่อสร้างตามประกาศนี้แล้ว ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องตกลงว่าในการปฏิบัติงานก่อสร้างดังกล่าว ผู้เสนอราคาจะต้องมีและ ใช้ผู้มีวุฒิบัตรระดับ ปวช. ปวส. และปวท. หรือเทียบเท่าจากสถาบันการศึกษาที่ ก.พ. รับรองให้เข้ารับราชการได้ ใน อัตราไม่ต่ํากว่าร้อยละ ๑๐ ของแต่ละ สาขาช่างแต่จะต้องมีจํานวนช่างอย่างน้อย ๑ คน ในแต่ละสาขาช่าง ดังต่อไปนี้