บทน˚าภาคงานแปล ข้อกำหนดตัวอย่าง

บทน˚าภาคงานแปล. สัญญาประกันภัยต่อเพื่อความเสียหายส่วนเกินส˚าหรับการประกันอัคคีภัย (Fire Excess of Loss Reinsurance Agreement) เป็นเอกสารทางด้านกฎหมาย ซึ่งจัดเป็นงานเขียนประเภท อรรถสารประเภทหนึ่ง ในการแปลงานดังกล่าว ผู้แปลมุ่งเน้นที่จะรักษาทั้งรูปแบบ (Form) โครงสร้าง (Structure) รวมถึงความหมาย (Meaning) ให้ตรงตามต้นฉบับให้มากที่สุด โดยอาศัยทฤษฎี แนวคิด และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องทั้งจากนักวิชาการในประเทศและต่างประเทศ ดังต่อไปนี้ ยูจีน ไนด้า (Eugene Nida, 1964, p.165) ได้กล่าวถึงการแปลแบบรักษารูปแบบ ที่เรียกว่า Formal Equivalent (F-E) ซึ่งเป็นการแปลที่รักษารูปแบบและเนื้อหาของต้นฉบับไว้ ให้มากที่สุด โดยยึดเอาต้นฉบับเป็นหลัก (Source-Oriented Translation) มุ่งที่จะผลิตบทแปลให้มี องค์ประกอบเหมือนกับภาษาต้นฉบับ โดยพยายามที่จะคงรูปแบบของไวยากรณ์ ความคงที่ในการ เลือกใช้ค˚าและความหมายของต้นฉบับไว้ให้มากที่สุด สัญฉวี สายบัว (2550, น. 43) ได้กล่าวว่า วิธีการแปลแบบตรงตัว (Literal Translation) คือ การแปลที่พยายามรักษารูปแบบของการเสนอความคิด (Form) ของต้นฉบับไว้ในฉบับแปลให้มาก ที่สุดเท่าที่จะมากได้ รูปแบบที่ว่านี้หมายถึง ค˚า ระเบียบวิธีการเรียงค˚า ระเบียบวิธีการจัดกลุ่ม ความหมายเข้าเป็นประโยค และการเรียงประโยคเข้าเป็นข้อความที่ใหญ่ขึ้นไปเป็นล˚าดับ รวมถึง การใช้เครื่องหมายวรรคตอนต่างๆ ด้วย ปีเตอร์ นิวมาร์ค (Xxxxx Xxxxxxx, 1988, p. 41-45) ได้จ˚าแนกวิธีการแปลออกเป็น สองกลุ่มใหญ่ คือ การแปลแบบเน้นภาษาต้นฉบับ (Source Language Emphasis) และการแปล แบบเน้นภาษาปลายทาง (Target Language Emphasis) โดยในที่นี้ผู้แปลจะขอกล่าวถึงเฉพาะ การแปลแบบเน้นภาษาต้นฉบับเท่านั้น ซึ่งนิวมาร์คได้แบ่งวิธีการแปลแบบเน้นภาษาต้นฉบับนี้ออกเป็น 4 รูปแบบย่อย ดังนี้ (1) Word-for-Word (การแปลค˚าต่อค˚า) เป็นการแปลที่แสดงถึงทุกบรรทัดในต้นฉบับ เสมือนว่า ค˚าในภาษาปลายทางไล่ตามค˚าในภาษาต้นฉบับแบบค˚าต่อค˚า ผู้แปลรักษาการวางล˚าดับค˚า ใน ภาษาต้นทางไว้อย่างเคร่งครัด และแปลทุกค˚าด้วยความหมายแรกสุดของค˚าที่พบ โดยไม่ค˚านึงถึงเรื่อง บริบท แม้แต่ค˚าที่เป็นวรรณศิลป์ก็ถูกแปลแบบตรงตัวเช่นกัน (2) Literal Translation (การแปลแบบตรงตัว) เป็นการแปลที่ผู้แปลพยายามปรับโครงสร้าง ไวยากรณ์ของภาษาต้นทางให้ใกล้เคียงกับโครงสร้างไวยากรณ์ของภาษาปลายทางให้ได้มากที่สุด แต่ยังคงแปลทุกค˚าตามความหมายตรงตัว โดยไม่ค˚านึงถึงเรื่องบริบทอยู่เหมือนเดิม ซึ่งเป็นความหมาย เบื้องต้นตามต้นฉบับเท่านั้น (3) Faithful Translation (การแปลรักษาความหมาย) เป็นการแปลที่มุ่งจะผลิตบทแปลที่รักษา ความหมายให้ถูกต้องตามบริบทของต้นฉบับเอาไว้ โดยอยู่ภายใต้ข้อก˚าหนดของโครงสร้างทาง ไวยากรณ์ในภาษาปลายทาง การแปลแบบ Faithful Translation มีความซื่อตรงต่อวัตถุประสงค์และ ความคิดของผู้เขียนภาษาต้นฉบับมากที่สุด (4) Semantic Translation (การแปลครบความ) เป็นการรักษาความหมายระดับค˚าและระดับ ประโยคได้ครบเ...

Related to บทน˚าภาคงานแปล

  • เชิงคุณภาพ ลงชื่อ........................................................................

  • การทำบริเวณก่อสร้างให้เรียบร้อย ผู้รับจ้างจะต้องรักษาบริเวณสถานที่ปฏิบัติงานตามสัญญานี้ รวมทั้งโรงงานหรือ สิ่งอำนวย ความสะดวก ในการทำงานของผู้รับจ้าง ลูกจ้าง ตัวแทน หรือผู้รับจ้างช่วง (ถ้ามี) ให้สะอาด ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพในการใช้งานตลอดระยะเวลา การจ้าง และเมื่อทำงานเสร็จสิ้นแล้วจะต้องขนยา้ ยบรรดาเครื่องใช้ในการทำงานจ้างรวมทงวัสดุ ขยะมูลฝอย และสิ่งก่อสร้างชั่วคราว ต่างๆ (ถ้ามี) ทั้งจะต้องกลบเกลี่ยพื้นดินให้เรียบร้อยเพื่อให้บริเวณทั้งหมดอยู่ในสภาพทสะอาดและใช้การได้ทันที

  • การจ้างช่วง ผู้รับจ้างจะต้องไม่เอางานทั้งหมดหรือแต่บางส่วนแห่งสัญญานี้ไปจ้างช่วงอีกทอดหนึ่ง เว้นแต่การจ้างช่วงงาน แต่บางส่วนที่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้างแล้ว การที่ผู้ว่าจ้างได้อนุญาตให้จ้างช่วงงานแต่บางส่วนดังกล่าวนั้น ไม่เป็นเหตุให้ ผู้รับจ้างหลุดพ้นจาก ความรับผิดหรือพันธะหน้าที่ตามสัญญานี้ และผู้รับจ้างจะยังคงต้องรับผิดในความผิดและความประมาทเลินเล่อ ของผู้รับจ้างช่วง หรือของตัวแทนหรือลูกจ้างของผู้รับจ้างช่วงนั้นทุกประการ กรณีผู้รับจ้างไปจ้างช่วงงานแต่บางส่วนโดยฝ่าฝืนความในวรรคหนึ่ง ผู้รับจ้างต้องชำระค่าปรับให้แก่ผู้ว่าจ้างเป็น จำนวนเงินในอัตราร้อยละ ๑๐ (สิบ) ของวงเงินของงานที่จ้างช่วงตามสัญญา ทั้งนี้ ไม่ตัดสิทธิผู้ว่าจ้างในการบอกเลิกสัญญา

  • การตรวจงานจ้าง ถ้าผู้ว่าจ้างแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัท ที่ปรึกษา เพื่อควบคุมการทำงานของผู้ รับจ้าง คณะกรรมการตรวจ รับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษานนั้ มีอำนาจเข้าไปตรวจการงานในโรงงานและสถานที่ก่อสร้างได้ ทุกเวลา และผู้รับจ้างจะต้องอำนวยความสะดวกและให้ความชวยเหลือในการนั้นตามสมควร การที่มีคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษานั้น หาทำให้ผู้รับจ้างพน้ ความรับผิดชอบ ตามสัญญานี้ข้อใดข้อหนึ่งไม่

  • การชําระเงิน (13 ก) ผู้ซ้ือตกลงชําระเงินค่าสิ่งของตามข้อ ๑ ให้แก่ผู้ขาย เมื่อผู้ซื้อได้รับมอบสิ่งของ ตามข้อ ๕ ไว้โดยครบถ้วนแล้ว (13 ข) ผู้ซื้อตกลงชําระเงินค่าส่ิงของตามข้อ ๑ ใหแก่ผู้ขาย ดังน้ี ๖.๑ เงินล่วงหน้า จํานวน……....................บาท (… ) จะจ่ายให้ภายใน…….…............(…….........……….) วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญา ทั้งน้ี โดยผู้ขายจะต้องนํา หลักประกันเงินล่วงหน้าเป็น (หนังสือคํ้าประกันหรือหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกส์ของ ธนาคารภายในประเทศหรือพ ธบัตรรัฐบาลไทย)… เต็มตามจํานวนเงินล่วงหน้าท่ีจะได้รับ มามอบ ให้แก่ผู้ซื้อเป็นหลักประกันการชําระคืนเงินล่วงหน้าก่อนการรับชําระเงินล่วงหน้าน้ัน และผู้ซื้อจะคืน หลกประกันเงินล่วงหน้าให้แก่ผ ายเม่ ผู้ซื้อจ่ายเง ที่เหลือตามข

  • การควบคุมงานของผู้รับจ้าง ผู้รับจ้างจะต้องควบคุมงานที่รับจ้างอย่างเอาใจใส่ ด้วยประสทธิภาพและความชำนาญ และในระหว่างทำงานที่ รับจ้างจะต้องจัดให้มีผู้แทนซึ่งทำงานเต็มเวลาเป็นผู้รับผิดชอบควบคุมงานของ ผู้รับจา้ ง ผู้แทนดังกล่าวจะต้องได้รับมอบอำนาจจากผู้ รับจ้าง คำสั่งหรือคำแนะนำต่างๆ ที่ผู้ว่าจ้าง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษาที่ผู้วา่ จ้างแต่งตั้ง ได้แจ้งแก่ ผู้แทนเช่นว่านั้น ให้ถือว่าเป็นคำสั่งหรือคำแนะนำที่ได้แจ้งแก่ผู้รับจ้าง การแต่งตั้งผู้แทนตามข้อนี้จะต้องทำเป็นหนงสือและต้องได้รับความ เห็นชอบเป็นหนังสือ จากผู้ว่าจ้าง การเปลี่ยนตัวหรือแต่งตั้งผู้แทนใหม่จะทำมิได้หากไม่ได้รับความเห็นชอบ เป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้างก่อน ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะขอให้เปลี่ยนตัวผู้แทนตามวรรคหนึ่ง โดยแจ้งเป็นหนังสือไปยังผู้รับจ้าง และผู้รับจ้างจะต้องทำ การเปลี่ยนตัวผู้แทนนั้นโดยพลัน โดยไม่คิดค่าจ้างหรือราคาเพิ่มหรืออ้างเป็นเหตุเพื่อขยายอายุสัญญาอันเนื่องมาจากเหตุนี้

  • การปรับราคาค่างานก่อสร้าง การปรับราคาค่างานก่อสร้างตามสูตรการปรับราคาดังระบุในข้อ ๑.๕ จะนํามาใช้ในกรณีที่ ค่า งานก่อสร้างลดลงหรือเพิ่มขึ้น โดยวิธีการต่อไปนี้ ตามเงื่อนไข หลักเกณฑ์ สูตรและวิธีคํานวณที่ใช้กับสัญญาแบบปรับราคาได้ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๓๒ เรื่อง การพิจารณาช่วยเหลือผู้ประกอบอาชีพงานก่อสร้าง ตามหนังสือสํานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๓/ว ๑๐๙ ลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๓๒ สูตรการปรับราคา (สูตรค่า K) จะต้องคงที่ที่ระดับที่กําหนดไว้ในวันแล้วเสร็จตามที่กําหนดไว้ใน สัญญา หรือภายในระยะเวลาที่โรงเรียนได้ขยายออกไป โดยจะใช้สูตรของทางราชการที่ได้ระบุในข้อ ๑.๕

  • การรับประกันความชํารุดบกพร่อง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งได้ทำสัญญาจ้าง ตามแบบ ดังระบุในข้อ ๑.๓ หรือข้อตกลงจ้างเป็นหนังสือแล้วแต่กรณี จะต้องรับประกันความชำรุดบกพร่องของงานจ้างที่เกิดขึ้นภายใน ระยะเวลา ไม่น้อยกว่า ๒ ปี นับถัดจากวันที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้รับมอบงาน โดยต้องรีบจัดการ ซ่อมแซมแก้ไขให้ใช้การได้ดีดังเดิมภายใน ๑๕ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้งความชำรุดบกพร่อง

  • การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ ในระหว่างระยะเวลาการก่อสร้าง ผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้รับจ้างต้องปฏิบัติ ตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายและระเบียบได้กําหนดไว้โดยเคร่งครัด

  • สิทธิของผู้ว่าจ้างภายหลังบอกเลิกสัญญา ในกรณีที่ผู้ว่าจ้างบอกเลิกสัญญา ผู้ว่าจ้างอาจทํางานนั้นเองหรือว่าจ้างผู้อื่นให้ทํางานนั้นต่อจนแล้ว เสร็จก็ได้ ผู้ว่าจ้างหรือผู้ที่รับจ้างทํางานนั้นต่อมีสิทธิใช้เครื่องใช้ในการก่อสร้าง สิ่งที่สร้างขึ้นชั่วคราวสําหรับงาน ก่อสร้าง และวัสดุต่างๆ ซึ่งเห็นว่าจะต้องสงวนเอาไว้เพื่อการปฏิบัติงานตามสัญญาตามที่จะเห็นสมควร ในกรณีดังกล่าว ผู้ว่าจ้างมีสิทธิริบหรือบังคับจากหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา ทั้งหมดหรือ บางส่วนตามแต่จะเห็นสมควร นอกจากนั้นผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบในค่าเสียหายซึ่งเป็นจํานวนเกินกว่าหลัก ประกันการปฏิบัติตามสัญญา รวมทั้งค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นในการทํางานนั้นต่อให้แล้วเสร็จตามสัญญา ตลอดจนค่าใช้จ่าย ในการควบคุมงานเพิ่ม (ถ้ามี) ซึ่งผู้ว่าจ้างจะหักเอาจากเงินประกันผลงานหรือจํานวนเงินใด ๆ ที่จะจ่ายให้แก่ผู้รับจ้างก็ได้