สรุปผลการศึกษา ข้อกำหนดตัวอย่าง

สรุปผลการศึกษา. สรุปผลการศึกษา ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน 1. ได้ศึกษาการทำน้ำมะกรูด 2. ได้ศึกษาสรรพคุณของมะกรูด 3. นำมาพัฒนาให้เกิดรายได้ 1. น้ำมะกรูดมีรสเปรี้ยวมาก 2. เพื่อไม่ให้ความรวมมื้อในการทำงาน 3................................... วิธีการแก้ไข 1. เติมเกลือลงไป 2. พูดคุยกันให้เข้าใจ และแจ้งพฤติกรรมของเพื่อนให้ครูผู้สอนได้ทราบ 3................................... ข้อเสนอแนะ 1 ซื้อน้ำตาล น้ำแข็ง รวมรายจ่าย เหลือ ½ กก. 1 ถุง 18 บ. 10 บ. 8 บ. 10 บ. 19 6
สรุปผลการศึกษา. 130 รายการอ้างอิง 132 ประวัติผู้เขียน 135
สรุปผลการศึกษา. 7.1.1 ปัจจัยท่ีมีผลต่อราคาทะลายปาล์ม 1) การเปลี่ยนแปลงของปริมาณผลผลิตปาล์มน้ํามัน (QFFB_F) ในเดือนที่ t-1 มีความสัมพันธ์กับ การเปลี่ยนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดย มีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ -3.12 กล่าวคือ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของปริมาณผลผลิตปาล์มน้ํามัน ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาผลปาล์มทะลายของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบันเปล่ียนแปลงไป 3.12% ในทิศทางตรงข้ามกัน 2) การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาด กทม. (CPO_T Price) ในเดือนที่ t-1 มี ความสัมพันธ์กับการเปล่ียนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมี นยสําคัญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 4.56 กล่าวคือ เม่ือมีการเปล่ียนแปลงของราคา น้ํามันปาล์มดิบในตลาด กทม.ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปล่ียนแปลงไป 1% จะทําให้ ราคาผลปาล์มทะลายของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบันเปล่ียนแปลงไป 4.56 % ในทิศทางเดียวกัน 3) การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาดมาเลเซีย (CPO_M Price) ในเดือนที่ t-1 มี ความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมี นัยสําคัญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 2.58 กล่าวคือ เม่ือมีการเปลี่ยนแปลงของราคา นํ้ามันปาล์มดิบในตลาดมาเลเซีย ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปล่ียนแปลงไป 1% จะทํา ให้ราคาผลปาล์มทะลายของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบนเปลี่ยนแปลงไป 2.58 % ในทิศทางเดียวกัน 4) การเปลี่ยนแปลงของราคานํ้ามันปาล์มดิบเฉลี่ยในตลาดกระบี่ สุราษฏร์ธานี และชุมพร (CPO_L Price) ในเดือนท่ี t-1 มีความสัมพันธ์กับการเปล่ียนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 5.89 กล่าวคือ เมื่อมี การเปลี่ยนแปลงของราคานํ้ามันปาล์มดิบเฉล่ียในตลาดกระบี่ สุราษฏร์ธานี และชุมพร ในช่วง เวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปล่ียนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาผลปาล์มทะลายของไทย ในช่วง เวลาปัจจุบันเปล่ียนแปลงไป 5.89 % ในทิศทางเดียวกัน 5) การเปลี่ยนแปลงของราคาไบโอดีเซล (B100 Price) เดือนที่ t-2 มีความสัมพันธ์กับการ เปล่ียนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยมี ค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 2.53 กล่าวคือ เม่ือมีการเปล่ียนแปลงของราคาไบโอดีเซล ในช่วงเวลา ในอดีตย้อนหลัง 2 เดือน เปล่ียนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาผลปาล์มทะลายของไทย ในช่วงเวลา ปัจจุบันเปล่ียนแปลงไป 2.53 % ในทิศทางเดียวกนั 6) การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ของไทย (RPO_T Price) ในเดือนที่ t-1 มี ความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมี นยสําคัญทางสถิติ โดยมคี ่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 2.15 กล่าวคือ เม่ือมีการเปลี่ยนแปลงของราคา น้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ของไทย ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทําให้ ราคาผลปาล์มทะลายของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบันเปล...
สรุปผลการศึกษา. 1.1 โครงการวิจัยยางพาราขนาดใหญ่แบบมุ่งเป้าที่ สกว. ให้การสนับสนุนงบวิจัยในปี พ.ศ. 2555 มี ทั้งสิ้น 44 โครงการ จํานวนเงิน 63.72 ล้านบาท ประกอบด้วย โครงการเดี่ยวจํานวน 10 โครงการ และ โครงการย่อยที่อยู่ภายใต้แผนงานวิจัยต่างๆ จํานวน 12 แผนงานอีก 34 โครงการ โดยโครงการส่วนใหญ่ (ร้อยละ 40.9) อยู่ในกลยุทธ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิมและใหม่ที่มีศักยภาพ รองลงมาอยู่ในกลยุทธ์ การผลักดันนโยบายที่จําเป็น (ร้อยละ 29.5) กลยุทธ์การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้มีประสิทธิภาพ (ร้อยละ 18.2) และกลยุทธ์การสนับสนุนการส่งออก (ร้อยละ 11.4) ตามลําดับ แต่งบประมาณส่วนใหญ่ (ร้อยละ 42.3) ได้จัดสรรเพื่อสนับสนุนกลยุทธ์ในการผลักดันนโยบายด้านยางพารา รองลงมาได้แก่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิมและผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีศักยภาพ และการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้มี ประสิทธิภาพ ร้อยละ 26.1 และร้อยละ 20.4 ตามลําดับ โดยที่การสนับสนุนการส่งออกได้รับงบประมาณ สนับสนุนน้อยที่สุด (ร้อยละ 11.1) และมีจํานวนโครงการน้อยที่สุดเช่นกัน แสดงให้เห็นถึงทิศทางการ สนับสนุนทุนวิจัยของ วช. และ สกว. ในปี 2555 ที่ให้ความสําคัญทางด้านนโยบายมาเป็นลําดับต้นๆ และ การพัฒนาผลิตภัณฑ์และประสิทธิภาพการผลิตเพื่อสนับสนุนความต้องการภายในประเทศมากกว่ามุ่งเน้น การส่งออก ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายและทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพาราของประเทศ 1.2 การวิเคราะห์หาจุดต่าง (Gap Analysis) ซึ่งดําเนินการใน 3 ส่วนคือ การวิเคราะห์หาจุดต่าง ระหว่างยุทธศาสตร์การพัฒนายางพารา พ.ศ. 2552-2556 กับยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 และการวิเคราะห์หาจุดต่างของโครงการวิจัยปี 2555 โดยรวมกับยุทธศาสตร์วิจัยยางพารา แห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 รวมทั้ง การวิเคราะห์จุดต่างของแบบประเมินโครงการที่ วช. และ สกว. ใช้อยู่ใน ปัจจุบันกับมาตรฐานการติดตามและประเมินผลตามหลักวิชาการ สรุปผลดังนี้ 1.2.1 การวิเคราะห์จุดต่างของยุทธศาสตร์การพัฒนายางพารา พ.ศ. 2552-2556 กับ ยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 พบว่า ยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติยังไม่มีการ ระบุประเด็นแนวทางการพัฒนาที่ปรากฎในยุทธศาสตร์การพัฒนายางพาราหลายประเด็นหลักๆ เช่น รายได้ และความเป็นอยู่ของเกษตรกรชาวสวนยาง แนวทางและมาตรการรองรับ AEC หรือความร่วมมือระหว่าง ประเทศในรูปแบบใดๆ โดยเฉพาะไตรภาคียางพารา (ITRC) ซึ่งมีผลต่อการส่งออกยางไปต่างประเทศ ของไทย แนวทางและมาตรการที่เกี่ยวข้องกับความร่วมมืองานวิจัยกับต่างประเทศ และการบูรณาการ งานวิจัยระหว่างหน่วยงานภายในประเทศตลอดจนประเด็นของคาร์บอนเครดิต 1.2.2 การวิเคราะห์จุดต่างของโครงการวิจัย พ.ศ. 2555 โดยรวมกับยุทธศาสตร์วิจัย ยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 พบว่า การกําหนดเป้าหมายของโครงการยังไม่สะท้อนถึงเป้าหมาย ระดับยุทธศาสตร์ของยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติที่สามารถระบุโดยเปรียบเทียบได้อย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม เมื่อวิเคราะห์จุดต่างในระดับแนวทางและมาตรการของยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ...

Related to สรุปผลการศึกษา

  • การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ สำนักงาน สามารถนำผลการปฏิบัติงานแล้วเสร็จตามสัญญาของผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการ คัดเลือกให้เป็นผู้รับจ้างเพื่อนำมาประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ

  • หมายเหตุ รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนา ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบท และสภาพการจัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และข้าราชการครูผู้จัดทำข้อตกลง

  • หลักฐานการยื่นข้อเสนอ ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องเสนอเอกสารหลักฐานยื่นมาพร้อมกับการเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้าง ภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ โดยแยกเป็น ๒ ส่วน คือ ๓.๑ ส่วนที่ ๑ อย่างน้อยต้องมีเอกสารดังต่อไปนี้ (๑) ในกรณีผู้ยื่นข้อเสนอเป็นนิติบุคคล (ก) ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือห้างหุ้นส่วนจํากัด ให้ยื่นสําเนาหนังสือรับรองการจด ทะเบียนนิติบุคคล บัญชีรายชื่อหุ้นส่วนผู้จัดการ ผู้มีอํานาจควบคุม (ถ้ามี) พร้อมทั้งรับรองสําเนาถูกต้อง (ข) บริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัด ให้ยื่นสําเนาหนังสือรับรองการจด ทะเบียนนิติบุคคล หนังสือบริคณห์สนธิ บัญชีรายชื่อกรรมการผู้จัดการ ผู้มีอํานาจควบคุม (ถ้ามี) และบัญชีผู้ถือหุ้นราย ใหญ่ (ถ้ามี) พร้อมทั้งรับรองสําเนาถูกต้อง (๒) ในกรณีผู้ยื่นข้อเสนอเป็นบุคคลธรรมดาหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล ให้ยื่น สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผู้นั้น สําเนาข้อตกลงที่แสดงถึงการเข้าเป็นหุ้นส่วน (ถ้ามี) สําเนาบัตรประจําตัว ประชาชนของผู้เป็นหุ้นส่วน หรือสําเนาหนังสือเดินทางของผู้เป็นหุ้นส่วนที่มิได้ถือสัญชาติไทย พร้อมทั้งรับรองสําเนา ถูกต้อง (๓) ในกรณีผู้ยื่นข้อเสนอเป็นผู้ยื่นข้อเสนอร่วมกันในฐานะเป็นผู้ร่วมค้า ให้ยื่นสําเนา สัญญาของการเข้าร่วมค้า และเอกสารตามที่ระบุไว้ใน (๑) หรือ (๒) ของผู้ร่วมค้า แล้วแต่กรณี (๔.๒) สําเนาใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ถ้ามี) (๕) บัญชีเอกสารส่วนที่ ๑ ทั้งหมดที่ได้ยื่นพร้อมกับการเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัด จ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ตามแบบในข้อ ๑.๗ (๑) โดยไม่ต้องแนบในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format) ทั้งนี้ เมื่อผู้ยื่นข้อเสนอดําเนินการแนบไฟล์เอกสารตามบัญชีเอกสารส่วนที่ ๑ ครบถ้วน ถูกต้องแล้ว ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์จะสร้างบัญชีเอกสารส่วนที่ ๑ ตามแบบใน ข้อ ๑.๗ (๑) ให้โดยผู้ยื่นข้อเสนอไม่ต้องแนบบัญชีเอกสารส่วนที่ ๑ ดังกล่าวในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format)

  • การชําระเงิน (13 ก) ผู้ซ้ือตกลงชําระเงินค่าสิ่งของตามข้อ ๑ ให้แก่ผู้ขาย เมื่อผู้ซื้อได้รับมอบสิ่งของ ตามข้อ ๕ ไว้โดยครบถ้วนแล้ว (13 ข) ผู้ซื้อตกลงชําระเงินค่าส่ิงของตามข้อ ๑ ใหแก่ผู้ขาย ดังน้ี ๖.๑ เงินล่วงหน้า จํานวน……....................บาท (… ) จะจ่ายให้ภายใน…….…............(…….........……….) วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญา ทั้งน้ี โดยผู้ขายจะต้องนํา หลักประกันเงินล่วงหน้าเป็น (หนังสือคํ้าประกันหรือหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกส์ของ ธนาคารภายในประเทศหรือพ ธบัตรรัฐบาลไทย)… เต็มตามจํานวนเงินล่วงหน้าท่ีจะได้รับ มามอบ ให้แก่ผู้ซื้อเป็นหลักประกันการชําระคืนเงินล่วงหน้าก่อนการรับชําระเงินล่วงหน้าน้ัน และผู้ซื้อจะคืน หลกประกันเงินล่วงหน้าให้แก่ผ ายเม่ ผู้ซื้อจ่ายเง ที่เหลือตามข

  • แบบรูปและรายการละเอียดคลาดเคลื่อน ผู้รับจ้างรับรองว่าได้ตรวจสอบและทําความเข้าใจในแบบรูปและรายการละเอียดโดยถี่ถ้วนแล้ว หากปรากฏว่าแบบรูปและรายการละเอียดนั้นผิดพลาด หรือคลาดเคลื่อนไปจากหลักการทางวิศวกรรมหรือทาง เทคนิค ผู้รับจ้างตกลงที่จะปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของผู้ว่าจ้าง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ ปรึกษาที่ผู้ว่าจ้างแต่งตั้ง เพื่อให้งานแล้วเสร็จบริบูรณ์ คําวินิจฉัยดังกล่าว ให้ถือเป็นที่สุด โดยผู้รับจ้างจะคิดค่าจ้าง ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายใดๆ เพิ่มขึ้นจากผู้ว่าจ้าง หรือขอขยายอายุสัญญาไม่ได้

  • เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ

  • มาตรฐานฝีมือช่าง เมื่อ ปณท ได้คัดเลือกผู้ยื่นข้อเสนอรำยใดให้เป็นผู้รับจ้ำงและได้ตกลงจ้ำงก่อสร้ำงตำมประกำศนี้ แล้ว ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องตกลงว่ำในกำรปฏิบัติงำนก่อสร้ำงดังกล่ำว ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องมีและใช้ผู้ผ่ำนกำร ทดสอบมำตรฐำนฝีมือช่ำงจำกสถำบันของทำงรำชกำร หรือผู้มีวุฒิบัตรระดับ ปวช. ปวส. และ ปวท. หรือ เทียบเท่ำจำกสถำบันกำรศึกษำที่ ก.พ. รับรองให้เข้ำรับรำชกำรได้ ในอัตรำไม่ต่ํำกว่ำร้อยละ ๑๐ ของแต่ละ สำขำช่ำงแต่จะต้องมีจํำนวนช่ำงอย่ำงน้อย ๑ คน ในแต่ละสำขำช่ำง ดังต่อไปนี้ ๑๓.๒ …………………ฯลฯ……………………

  • หลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา ในขณะทําสัญญานี้ผู้รับจ้างได้นําหลักประกันเป็น…………..…...…..…....………..……… เป็นจํานวนเงิน ……......…....บาท (………….…..………….) ซึ่งเท่ากับร้อยละ 5 (ร้อยละห้า) ของราคาค่าจ้างตามสัญญา มามอบ ให้แก่ผู้ว่าจ้างเพื่อเป็นหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญานี้ กรณีผู้รับจ้างใช้หนังสือค้ําประกันมาเป็นหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา หนังสือค้ําประกัน ดังกล่าวจะต้องออกโดยธนาคารที่ประกอบกิจการในประเทศไทย หรือโดยบริษัทเงินทุนหรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์และประกอบธุรกิจค้ําประกันตามประกาศของธนาคารแห่ง ประเทศไทย ตามรายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ทราบตามแบบที่คณะกรรมการ นโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐกําหนด หรืออาจเป็นหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกส์ตาม วิธีการที่กรมบัญชีกลางกําหนดก็ได้ และจะต้องมีอายุการค้ําประกันตลอดไปจนกว่าผู้รับจ้างพ้นข้อผูกพันตามสัญญา นี้ หลักประกันที่ผู้รับจ้างนํามามอบให้ตามวรรคหนึ่ง จะต้องมีอายุครอบคลุมความรับผิดทั้งปวงของผู้ รับจ้างตลอดอายุสัญญา ถ้าหลักประกันที่ผู้รับจ้างนํามามอบให้ดังกล่าวลดลงหรือเสื่อมค่าลง หรือมีอายุไม่ครอบคลุม ถึงความรับผิดของผู้รับจ้างตลอดอายุสัญญา ไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ก็ตาม รวมถึงกรณี ผู้รับจ้างส่งมอบงานล่าช้าเป็นเหตุ ให้ระยะเวลาแล้วเสร็จหรือวันครบกําหนดความรับผิดในความชํารุดบกพร่องตามสัญญาเปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเกิดขึ้น คราวใด ผู้รับจ้างต้องหาหลักประกันใหม่หรือหลักประกันเพิ่มเติมให้มีจํานวนครบถ้วนตามวรรคหนึ่งมามอบให้แก่ ผู้ว่าจ้างภายใน 7 วัน (เจ็ดวัน) นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้งเป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้าง หลักประกันที่ผู้รับจ้างนํามามอบไว้ตามข้อนี้ ผู้ว่าจ้างจะคืนให้แก่ผู้รับจ้างโดยไม่มีดอกเบี้ยเมื่อ ผู้รับจ้างพ้นจากข้อผูกพันและความรับผิดทั้งปวงตามสัญญานี้แล้ว

  • การใช้เรือไทย ในการปฏิบัติตามสัญญานี้ หากผู้รับจ้างจะต้องสั่งหรือนําของเข้ามาจากต่างประเทศรวมทั้ง เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ต้องนําเข้ามาเพื่อปฏิบัติงานตามสัญญา ไม่ว่าผู้รับจ้างจะเป็นผู้ที่นําของเข้ามาเองหรือนําเข้ามา โดยผ่านตัวแทนหรือบุคคลอื่นใด ถ้าสิ่งของนั้นต้องนําเข้ามาโดยทางเรือในเส้นทางเดินเรือที่มีเรือไทยเดินอยู่และ สามารถให้บริการรับขนได้ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมประกาศกําหนด ผู้รับจ้างต้องจัดการให้สิ่งของ ดังกล่าวบรรทุกโดยเรือไทยหรือเรือที่มีสิทธิเช่นเดียวกับเรือไทยจากต่างประเทศมายังประเทศไทย เว้นแต่จะได้รับ อนุญาตจากกรมเจ้าท่าก่อนบรรทุกของนั้นลงเรืออื่นที่มิใช่เรือไทยหรือเป็นของที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ประกาศยกเว้นให้บรรทุกโดยเรืออื่นได้ ทั้งนี้ไม่ว่าการสั่งหรือนําเข้าสิ่งของดังกล่าวจากต่างประเทศจะเป็นแบบใด ในการส่งมอบงานตามสัญญาให้แก่ผู้ว่าจ้าง ถ้างานนั้นมีสิ่งของตามวรรคหนึ่ง ผู้รับจ้างจะต้อง ส่งมอบใบตราส่ง (Bill of Lading) หรือสําเนาใบตราส่งสําหรับของนั้น ซึ่งแสดงว่าได้บรรทุกมาโดยเรือไทยหรือเรือที่ มีสิทธิเช่นเดียวกับเรือไทยให้แก่ผู้ว่าจ้างพร้อมกับการส่งมอบงานด้วย ในกรณีที่สิ่งของดังกล่าวไม่ได้บรรทุกจากต่างประเทศมายังประเทศไทยโดยเรือไทยหรือเรือที่มี สิทธิเช่นเดียวกับเรือไทย ผู้รับจ้างต้องส่งมอบหลักฐานซึ่งแสดงว่าได้รับอนุญาตจากกรมเจ้าท่า ให้บรรทุกของโดยเรือ อื่นได้หรือหลักฐานซึ่งแสดงว่าได้ชําระค่าธรรมเนียมพิเศษเนื่องจากการไม่บรรทุกของโดยเรือไทยตามกฎหมายว่า ด้วยการส่งเสริมการพาณิชยนาวีแล้วอย่างใดอย่างหนึ่งแก่ผู้ว่าจ้างด้วย ในกรณีที่ผู้รับจ้างไม่ส่งมอบหลักฐานอย่างใดอย่างหนึ่งดังกล่าวในวรรคสองและวรรคสามให้แก่ ผู้ว่าจ้าง แต่จะขอส่งมอบงานดังกล่าวให้ผู้ว่าจ้างก่อนโดยไม่รับชําระเงินค่าจ้าง ผู้ว่าจ้างมีสิทธิรับงานดังกล่าวไว้ก่อน และชําระเงินค่าจ้างเมื่อผู้รับจ้างได้ปฏิบัติถูกต้องครบถ้วนดังกล่าวแล้วได้

  • หลักเกณฑ์และสิทธิในการพิจารณา ๖.๑ การพิจารณาผลการยื่นข้อเสนอประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ครั้งนี้ กรมจะ พิจารณาตัดสินโดยใช้หลักเกณฑ์ ราคา ๖.๒ การพิจารณาผู้ชนะการยื่นข้อเสนอ กรณีใช้หลักเกณฑ์ราคาในการพิจารณาผู้ชนะการยื่นข้อเสนอ กรม จะพิจารณา จาก ราคารวม ๖.๓ หากผู้ยื่นข้อเสนอรายใดมีคุณสมบัติไม่ถูกต้องตามข้อ ๒ หรือยื่นหลักฐานการยื่น ข้อเสนอไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบถ้วนตามข้อ ๓ หรือยื่นข้อเสนอไม่ถูกต้องตามข้อ ๔ แล้ว คณะกรรมการ พิจารณาผล การประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะไม่รับพิจารณาข้อเสนอของผู้ยื่นข้อเสนอรายนั้น เว้นแต่ ผู้ยื่น ข้อเสนอรายใดเสนอเอกสารทางเทคนิคหรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่จะจ้างไม่ครบถ้วน หรือ เสนอรายละเอียดแตกต่างไปจากเงื่อนไขที่กรมกำหนดไว้ในประกาศและเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ในส่วนที่มิใช่สาระสำคัญและความแตกต่างนั้น ไม่มีผลทำให้เกิดการได้เปรียบเสียเปรียบ ต่อผู้ยื่นข้อเสนอราย อื่น หรือเป็นการผิดพลาดเล็กน้อย คณะกรรมการฯ อาจพิจารณาผ่อนปรนการตัดสิทธิ ผู้ยื่นข้อเสนอรายนั้น ๖.๔ กรมสงวนสิทธิ์ไม่พิจารณาข้อเสนอของผู้ยื่นข้อเสนอโดยไม่มีการผ่อนผัน ในกรณี ดังต่อไปนี้ อิเล็กทรอนิกส์ (๑) ไม่กรอกชื่อผู้ยื่นข้อเสนอในการเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้าง ด้วย (๒) เสนอรายละเอียดแตกต่างไปจากเงื่อนไขที่กำหนดในเอกสาร ประกวดราคา อิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นสาระสำคัญ หรือมีผลทำให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบแก่ผู้ยื่นข้อเสนอ รายอื่น ๖.๕ ในการตัดสินการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์หรือในการทำสัญญา คณะ กรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์หรือกรม มีสิทธิให้ผู้ยื่นข้อเสนอชี้แจงข้อเท็จจริงเพิ่มเติม ได้ กรมมีสิทธิที่จะไม่รับข้อเสนอ ไม่รับราคา หรือไม่ทำสัญญา หากข้อเท็จจริงดังกล่าวไม่เหมาะสมหรือไม่ถูก ต้อง ๖.๖ กรมทรงไว้ซึ่งสิทธิที่จะไม่รับราคาต่ำสุด หรือราคาหนึ่งราคาใด หรือราคาที่เสนอ ทั้งหมดก็ได้ และอาจพิจารณาเลือกจ้างในจำนวน หรือขนาด หรือเฉพาะรายการหนึ่งรายการใด หรืออาจจะ ยกเลิก การประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์โดยไม่พิจารณาจัดจ้างเลยก็ได้ สุดแต่จะพิจารณา ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ ของทางราชการเป็นสำคัญ และให้ถือว่าการตัดสินของ กรมเป็นเด็ดขาด ผู้ยื่นข้อเสนอจะเรียกร้องค่าใช้จ่าย หรือค่าเสียหายใดๆ มิได้ รวมทั้ง กรมจะพิจารณายกเลิกการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์และลงโทษผู้ยื่นข้อ เสนอเป็นผู้ทิ้งงาน ไม่ว่าจะเป็นผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกหรือไม่ก็ตาม หากมีเหตุที่เชื่อถือได้ว่ายื่นข้อ เสนอกระทำการโดยไม่สุจริต เช่น การเสนอเอกสารอันเป็นเท็จ หรือใช้ชื่อบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลอื่นมา เสนอราคาแทน เป็นต้น ในกรณีที่ผู้ยื่นข้อเสนอรายที่เสนอราคาต่ำสุด เสนอราคาต่ำจนคาดหมายได้ว่าไม่อาจ ดำเนินงานตามเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ได้ คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา อิเล็กทรอนิกส์หรือกรม จะให้ผู้ยื่นข้อเสนอนั้นชี้แจงและแสดงหลักฐานที่ทำให้เชื่อได้ว่า ผู้ยื่นข้อเสนอสามารถ ดำเนินงานตามเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ให้เสร็จสมบูรณ์ หากคำชี้แจงไม่เป็นที่รับฟังได้ กรม มีสิทธิ ที่จะไม่รับข้อเสนอหรือไม่รับราคาของผู้ยื่นข้อเสนอรายนั้น ทั้งนี้ ผู้ยื่นข้อเสนอดังกล่าวไม่มีสิทธิเรียกร้องค่าใช้ จ่ายหรือค่าเสียหายใดๆ จากกรม ๖.๗ ก่อนลงนามในสัญญา กรม อาจประกาศยกเลิกการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ หากปรากฏว่ามีการกระทำที่เข้าลักษณะผู้ยื่นข้อเสนอที่ชนะการประกวดราคาหรือที่ได้รับการคัดเลือกมีผล ประโยชน์ร่วมกัน หรือมีส่วนได้เสียกับผู้ยื่นข้อเสนอรายอื่น หรือขัดขวางการแข่งขันอย่างเป็นธรรม หรือสมยอม กันกับผู้ยื่นข้อเสนอรายอื่น หรือเจ้าหน้าที่ในการเสนอราคา หรือส่อว่ากระทำการทุจริตอื่นใดในการเสนอราคา ๖.๘ หากผู้ยื่นข้อเสนอซึ่งเป็นผู้ประกอบการ SMEs เสนอราคาสูงกว่าราคาต่ำสุดของ ผู้ยื่นข้อเสนอรายอื่นที่ไม่เกินร้อยละ ๑๐ ให้หน่วยงานของรัฐจัดซื้อจัดจ้างกับผู้ประกอบการ SMEs ดังกล่าว โดยจัดเรียงลำดับผู้ยื่นข้อเสนอซึ่งเป็นผู้ประกอบการ SMEs ซึ่งเสนอราคาสูงกว่าราคาต่ำสุดของผู้ยื่นข้อเสนอ รายอื่นไม่เกินร้อยละ ๑๐ ที่จะเรียกมาทำสัญญาไม่เกิน ๓ ราย ผู้ยื่นข้อเสนอที่เป็นกิจการร่วมค้าที่จะได้สิทธิตามวรรคหนึ่ง ผู้เข้าร่วมค้าทุกราย จะต้องเป็นผู้ประกอบการ SMEs ทั้งนี้ ผู้ประกอบการ SMEs ที่จะได้แต้มต่อด้านราคาตามวรรคหนึ่ง จะต้องมี วงเงินสัญญาสะสมตามปีปฏิทินรวมกับราคาที่เสนอในครั้งนี้แล้ว มีมูลค่ารวมกันไม่เกินมูลค่าของรายได้ตาม ขนาดที่ขึ้นทะเบียนไว้กับ สสว. ๖.๙ หากผู้ยื่นข้อเสนอซึ่งมิใช่ผู้ประกอบการ SMEs แต่เป็นบุคคลธรรมดาที่ถือสัญชาติ ไทยหรือนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยเสนอราคาสูงกว่าราคาต่ำสุดของผู้ยื่นข้อเสนอซึ่งเป็น บุคคลธรรมดาที่มิได้ถือสัญชาติไทยหรือนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศไม่เกินร้อยละ ๓ ให้ จัดซื้อจัดจ้างกับบุคคลธรรมดาที่ถือสัญชาติไทยหรือนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยดังกล่าว ผู้ยื่นข้อเสนอที่เป็นกิจการร่วมค้าที่จะได้สิทธิตามวรรคหนึ่ง ผู้เข้าร่วมค้าทุกราย จะต้องเป็นบุคคลธรรมดาที่ถือสัญชาติไทยหรือนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย