Contract
“สร้างสรรค์งานวิจัย รับใช้xxxxx xxxxxxxxสู่xxxx”
8
อมธ. รวมพลัง ลงพื้นที่ อ.บ้านสร้าง ร่วมสู้ภัยxxxxxxx
“มหาวิทยาลัยพี่ โรงเรียนน้อง”
2
4
...xxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxปฏิบัติ สู่ชุมชน
26 ปี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนย์รังสิต ก้าวต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง
อมธ. รวมพลัง ลงพื้นที่ อ.บ้านสร้าง
ร่วมสู้ภัยxxxxxxx
xxมีคนจำนวนไม่น้อยที่มีทัศนคติต่อนักศึกษาในยุคนี้ว่า มีหน้าที่แค่ศึกษาหาความรู้ เรียน สอบ เที่ยว ซื้อของ สนใจเรื่อง ตัวเอง ไม่สนใจชีวิตนอกรั้วมหาวิทยาลัย ใช้ชีวิตไม่ต่างจาก นักเรียนมัธยม xxxxxxยังเป็นหนึ่งที่เข้าใจแบบxxx xxxxxxxแสดงให้ เห็นว่าคุณไม่ใช่คนที่รู้จักพลังนักศึกษาดีพอ
ในยามที่บ้านเมืองเกิดวิกฤต พลังนักศึกษากลับเป็นกลุ่มจิตอาสา xxxxxxตัวกันได้ง่ายที่สุด เร็วที่สุด ด้วยหัวใจที่xxxxxxxxxxต่อความxxxxxxxxx ของประชาชน โดยในช่วงมหาอุทกภัย 2554 ที่ผ่านมา ภาพของนักศึกษา ในศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย มธ. ย่อมเป็นภาพที่xxxxxxxxxxxxxxxอาสา ของนักศึกษาได้เป็นอย่างดี
และเมื่อxxxxxx 24 xxxxxxxxxผ่านมา นักศึกษาธรรมศาสตร์โดย กลุ่มองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (อมธ.) ได้เดินทางไป ที่ อ.บ้านสร้าง จ.ปราจีนบุรี ซึ่งเป็นพื้นที่หนึ่งที่ประสบภัยพิบัติxxxxxxx
2 xxxxxxxxxxxxxxxx
TU Today
เป้าหมายต่อไปในการบำเพ็ญประโยชน์
“โครงการในxxxxxxxxเราสนใจคือ การให้ความ ช่วย เหลือ เรื่อง ภัย หนาว ให้ กับ ประชาชน ใน จังหวัด ลำปางและจังหวัดใกล้เคียง xxxxxxxxxxอยู่ในโซนที่มีสภาพ อากาศ xxxx xxxx เย็น มี โอกาสxxxxx กับ วิกฤตการณ์ ภัย หนาว มากกว่า พื้นที่ อื่น โดย จะ xxxxxx งาน กับ อมธ. ศูนย์ลำปางและ อมธ.ท่าพระจันทร์เพื่อร่วมกันทำ โครงการนี้
ลักษณะโครงการที่คิดไว้คือ ตั้งศูนย์รับบริจาคเงิน เครื่องนุ่งห่ม และสิ่งของxxxxxxภัยxxxxxxxศูนย์รังสิต และ ท่าพระจันทร์ และส่งต่อของxxxxxxรับบริจาคให้กับ อมธ. ศูนย์ ลำปางซึ่งจะเป็นแม่งานหลักในการแจกจ่ายของรับบริจาค ซึ่งคาดว่าจะxxxxxxการในช่วงปลายปีนี้”
นายก อมธ. ยังกล่าวxxxxxxxxว่า “พลังนักศึกษายังเป็น ที่พึ่งให้ชาวบ้านได้อยู่เสมอ เพียงแต่บริบทในการxxxxxxx xxเปลี่ยนไปตามยุคสมัย หน้าที่ของเราในตอนนี้xxไม่ใช่ การรวมกลุ่มเพื่อเรียกร้องในเรื่องการเมืองแบบแต่ก่อน แต่กิจกรรมของนักศึกษาในยุคปัจจุบันจะอยู่ในรูปแบบ ของการบริการประชาชน ให้ความช่วยเหลือประชาชน ตามสถานการณ์ความxxxxxxxxx xxxยืนยันได้ว่านักศึกษา ธรรมศาสตร์ยังมีxxxxxxxอาสาและพร้อมบำเพ็ญประโยชน์ เพื่อประชาชนอยู่เสมออย่างไม่เคยลดน้อยถอยลง”
อย่างหนัก ประชาชนในพื้นที่xxxxxxxxกระทบอย่างกว้างขวาง ดังที่ปรากฏเป็นข่าว
xxxxxxxxxxxx (หญิง) ไทยxxxxxxx นายก อมธ. ในฐานะผู้นำเยาวชนในการบำเพ็ญประโยชน์ครั้งนี้ ให้สัมภาษณ์ว่า “อ.บ้านสร้างถือเป็นอำเภอที่xxxxxxxxกระทบxxxxxxxทุกๆ ปี มีปัญหา xxx xxxx ก่อน และลดทีหลัง มา โดยตลอดเนื่องจาก เป็น พื้นที่ รับน้ำ แม้การxxxxxxxxxxทุกๆ ปีจะทำให้ชาวบ้านรับสภาพได้บ้าง แต่เมื่อกลุ่มของพวกเราเข้าไปให้ความช่วยเหลือ ก็สัมผัสได้ว่า ชาวบ้านรู้สึกซาบซึ้งใจ และxxxxxxxรู้ว่ายังมีคนมองเห็นความ xxxxxxxxxของพวกเขา
ภาพของมวลน้ำที่เข้ามาแทนที่พื้นที่การเกษตรทำให้ เราเข้าใจความรู้สึกของชาวบ้านได้เลยว่าเป็นอย่างไร มันคง เป็นความรู้สึกเดียวกับเราเมื่อปีที่แล้วxxxxxxxxxxธรรมศาสตร์ แต่ ชาวบ้านที่นี่จะโดนxxxxxxxทุกปีxxxxxxxxxxน่าเห็นใจเพราะพวกเขา ต้องทำมาxxxxxxxxxกัน”
แล้วรวบรวมข้าวของอย่างไร...
น้องหญิงกล่าวว่า “การไปช่วยเหลือในครั้งนี้xxxxxxมีเวลา ในการเตรียมการและรับบริจาคที่กระชั้นมากๆ คือใช้เวลาเพียง 15 วันในการเตรียมทุกอย่าง เรารู้อยู่แล้วว่ามีการช่วยเหลือจาก หน่วยงานอื่นในเรื่องของถุงยังชีพ อาหาร และของใช้ เราจึง วางแผนการช่วยเหลือไปที่การฟื้นฟูในช่วงหลังน้ำลด
แม้เงินxxxxxxจากการตั้งกล่องรับบริจาคจะมีจำนวนไม่มากนัก เพราะด้วยเวลาอันจำกัดและเป็นช่วงสอบพอดี แต่เราก็ได้รับ เงินสนับสนุนหลักมาจากสมาคมธรรมศาสตร์ฯ โดยxxxxxxตรงนี้ไป ซื้อของใช้สำหรับทำความสะอาดจัดเป็นชุดได้ 500 ชุด และได้รับ การสนับสนุนน้ำดื่ม 400 แพ็ก จากบริษัท สิงห์ คอร์เปอเรชั่น ด้วย”
Thammasat University 3
“มหาวิทยาลัยพี่ โรงเรียนน้อง”
...xxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxปฏิบัติ สู่ชุมชน
ผ่านไปอีก 1 ปี กับผลผลิตจิตวิญญาณธรรมศาสตร์ของนักศึกษาลูกแม่xxx xxxศึกษาวิชาพลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม หรือ “TU 100” ซึ่งเป็นวิชาที่เน้น การนำความรู้ในห้องเรียนออกไปช่วยเหลือประชาชน สังคม เพื่อให้นักศึกษาได้สัมผัส และ เรียนรู้ถึงคำว่า “จิตวิญญาณธรรมศาสตร์” อย่างแท้จริงเมื่อลงมือปฏิบัติ ซึ่งโครงการ “ มหาวิทยาลัยพี่ โรงเรียนน้อง” เป็นผลงานรางวัลxxxxxxx ที่นักศึกษาลงพื้นที่ ช่วยเหลือชุมชนภายนอกมหาวิทยาลัย ในปี 2555
xxxxxxx xx. xxxxxxxx xxxxxx อดีตอาจารย์ภาค วิชา ประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ ปัจจุบันเป็นผู้xxxxxxxนักศึกษากับการพัฒนาตน (PE 245) และวิชาพลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม (TU 100) และที่ปรึกษาโครงการ สตรีและเยาวชนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยากรกระบวนการประจำกลุ่ม กล่าวถึงสาเหตุที่เลือกลงพื้นที่ศึกษาปัญหาโรงเรียนxxxxxxบำรุง ว่าเป็นโรงเรียนที่อยู่ ใกล้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต แต่สภาพแวดล้อมและระบบการศึกษา ของโรงเรียนยังxxxxxxรับการพัฒนา มีนักเรียนอยู่จำนวน 400 คน มีการเรียนการสอน ตั้งแต่ชั้นอนุบาลถึงประถมปีที่ 6 แต่มีคุณครูประจำเพียงไม่ถึง 10 คน ดังนั้น กลุ่มนักศึกษา จำนวน 60 คน ที่อาจารย์สอนก็xxxxxxช่วยเหลือได้มากพอxxxxx
น้องแชมป์ หรือนายxxxxพล นักศึกษา คณะxxxxxxxxxx หนึ่งในทีมนักศึกษา โครงการดังกล่าว เล่าให้ฟังถึงปัญหาที่พบ เมื่อลงพื้นที่ศึกษาว่า พบปัญหาหลักๆ 4 ด้าน คือ
1) ด้านพื้นฐานการศึกษายังxxxxx เท่าที่xxx xxxx นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 ยังอ่อนวิชาคณิตศาสตร์ และภาษา อังกฤษ
2) ด้านxxxxxxxxxxxxxxxต่อการเรียน xxxx คิดว่าการเรียนน่าเบื่อ ยังมีความ เกรงกลัวครู เมื่อไม่เข้าใจบทเรียน หรือ ทำแบบฝึกหัดxxxxxxกลับไม่กล้าพูด
3) ด้านโอกาสการศึกษาต่อใน ชั้นมัธยมปีที่ 1 ที่เมื่อนักเรียนมีพื้นฐาน
4 xxxxxxxxxxxxxxxx
ยังxxxxx โอกาสในการเข้าศึกษาต่อชั้นมัธยมในโรงเรียนxxxxxกว่าก็มี น้อย และ
4 ) สภาพแวดล้อมในการxxxxxxxxให้xxxxxxxเรียน รู้ ทั้งในและนอกห้องเรียนยังไม่xx xxxx อากาศxxxxไป ซึ่งได้ทราบ ความต้องการว่า นักเรียนอยากได้พัดลมxxxxx ห้องสมุดและ สนามเด็กxxxxทรุดโทรมมาก ซึ่งก็ต้องหาทางฟื้นฟูต่อไป
เมื่อ เห็น ปัญหา ทีม นักศึกษา จึง นำมา วิเคราะห์ หา แนวทางแก้ไข ช่วยเหลือให้xxxxx xxx มี โอกาสในการเรียนรู้ xxx xx ขึ้น ภายใต้การให้คำปรึกษาของอาจารย์ ผู้ สอน โดย น้องแชมป์เล่าต่อถึงเป้าหมาย และการพัฒนาการเรียนให้แก่ น้องๆ โรงเรียนxxxxxxบำรุง ว่า เป้าหมายของกลุ่มอันดับแรก คือ ต้องการให้นักเรียนชั้นประถม 6 xxxxxxสอบเข้าศึกษาต่อใน ชั้นมัธยมปีที่ 1 ในโรงเรียนที่มีมาตรฐานระดับxxxxxกว่าให้xxx xxxx นักเรียนส่วนหนึ่งอยากเข้าโรงเรียนหอวัง โรงเรียนธรรมศาสตร์ คลองหลวง ซึ่งเป็นไปได้ยากเมื่อxxxxxxดูผลทดสอบของนักเรียน จึงมีแนวการสอนให้น้องๆ เกิดความรักในการเรียนxxxxxxxขึ้น
จึงเกิดเป็นการจัดทำคลินิก พัฒนาการเรียน รู้ ให้กับ เด็กนักเรียน โดยไปสอนตั้งแต่ ป . 1 - 6 แบ่งเป็นxxxxxxxxx xxxชั้น ป.4 - 6 ส่วนวันพฤหัสบดี สอน ป.1 - 4 โดยเน้น จัดการเรียนการสอนในวิชาที่นักเรียนยังมีพื้นฐานอ่อน xxxx วิชา ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ นอกจากนี้ ยังทำการสอนxxxxxใน วันเสาร์ โดยใช้หลักสูตร PLEARN (เพลิน) มาจากคำว่า “Play” (xxxx) ผสาน “Learn” (เรียน) ซึ่งในวันเสาร์จะมีเด็กๆ รอบชุมชน xxxxxxxด้วย เนื่องจากพี่ๆ นักศึกษาไม่xxxxxxxxxxน้องๆ ทั้งปี ไม่xxxxxxให้ความรู้ได้เต็มที่เหมือนครูที่สอนประจำ จึงอยาก สร้างพื้นฐานxxxxxxxxxxxxxxxนี้ เพื่อผลxxxxxในระยะยาว
โดยกระตุ้น ให้ นักเรียน เกิด ความxxxxxxxxxxxx ใน การเรียนรู้ เป็นการเสริมพลังและสร้างทัศนคติxxxxxต่อ การเรียนxxxxxxxขึ้น ซึ่งจะเน้นเป็นพิเศษให้กับนักเรียน ระดับชั้นประถมปีที่ 4 และ 5 โดยนอกจากการเน้น การฝึกทำแบบทดสอบต่างๆ แล้ว จะxxxxxxกระตุ้นให้น้องๆ นักเรียนมีเป้าหมายในการเรียน มีความฝัน เกิดความมั่นใจในตัวเอง ว่าเขาก็xxxxxxสอบเข้าเรียนต่อในโรงเรียนชั้นนำได้ เพราะ สิ่งแวดล้อมในชุมชนก็มีสิ่งยั่วยุมาก xxxx การมีกลุ่มซิ่งมอเตอร์ไซค์ การมั่วสุมอื่นๆ ซึ่งสภาพสังคมเหล่านี้อาจนำพาเด็กๆ ไปในทาง xxx xxx xx xxx ง่าย กลุ่ม นักศึกษา ที่มา สอนจึงxxxxxxxxxxxxxx ปลูกฝังให้ไม่ไปเกี่ยวข้องกับสิ่งเหล่านี้โดยพี่นักศึกษาต้องเป็น ตัวอย่างxxxxx เป็นฮีโร่ให้น้องๆ ตามแบบอย่างด้วย
สำหรับการทำให้เด็กๆ เกิดทัศนคติ xxx xx ต่อการเรียน น้อง แชมป์ กล่าว xxxxx เติม ว่า ปัญหา นี้ จะ xxxx xxx กลุ่ม เด็ก พื้นฐานอ่อน ว่าจะทำอย่างไรให้เขาเรียนสนุก ไม่เบื่อการเรียน เข้าใจง่าย โดยมีวิธีการสอน เน้นการสอดแทรกความเฮฮา มุกตลก คือ คิดว่าตอนตนเองยังอยู่ในวัยเดียวกับน้องๆ นั้น เราชอบการเรียนการสอนแบบใด ชอบxxxxxxxxxเป็นแบบใด เราจึงสอนและเป็นคุณครูในแบบxxxxxxชอบ ซึ่งคุณครูประจำ ของโรงเรียนxxxxxxบำรุง ให้xxxxxแก่นักศึกษาในการสอนนักเรียน อย่างมาก นอกจาก นี้ ครูประจำโรงเรียนยังได้กล่าวถึงผล ภายหลังจากที่นักศึกษาธรรมศาสตร์ลงพื้นที่ว่า ทำให้นักเรียน มีความxxxxxxxxxxxxในการเรียนมากขึ้นอีกด้วย
สำหรับ การ ฟื้นฟู ด้าน สภาพ แวดล้อม ที่ สนับสนุน การเรียนรู้ให้ดีขึ้นนั้น ทีมนักศึกษาได้จัดกิจกรรมเพื่อระดมทุน บริจาค โดยไปจัดกิจกรรมเปิดหมวกตามแหล่งชุมชน/การค้า ต่างๆ xxxx สยามสแควร์ จตุจักร ฯลฯ เพื่อนำทุนมาฟื้นฟูสภาพ แวดล้อมภายใน และบริเวณห้องเรียนที่จำเป็น คือ การปรับปรุง ห้องสมุด ห้องเรียน สนามเด็กxxxxใหม่ ซึ่งกลุ่มนักศึกษาก็ได้ ร่วมมือกันจนสำเร็จไปได้
xxxxxxx xx . xxxxxxxx กล่าวxxxxxxxxด้วยรอยยิ้ม ถึงสิ่งที่นักศึกษาได้จากการเรียนวิชา TU 100 ว่า เมื่อมองในแง่ของจิตวิญญาณธรรมศาสตร์สิ่งxxxxxx คือ
1. นักศึกษาเกิดความมั่นใจในสิ่งxxxxxxคิดว่าตนเองจะ ทำได้ และเป็นการทำเพื่อผู้อื่น เพื่อสังคม และ
2. นักศึกษาได้สัมผัสกับชุมชนจริงๆ ตั้งแต่ลงพื้นที่ ทำความรู้จักนักเรียน และคนในชุมชน รวมไปxxxxxx xxxxxxให้ความช่วยเหลือจนประสบผลสำเร็จ สิ่งเหล่านี้ ทำให้นักศึกษาเรียนรู้ว่า แม้ว่าจุดเริ่มต้นจะอยู่ที่ศูนย์ แต่หาก ตั้งใจทำอะไรสักอย่าง มีความมุ่งมั่น มั่นใจ ก็xxxxxxxxxxxและ เมื่อประสบผลสำเร็จ ก็จะเกิดความภูมิใจ เกิดพลังในการทำ เพื่อผู้อื่น เพื่อสังคมxxxxxขึ้นต่อไป และxxxxxxxให้นักศึกษา ได้ทำโครงการที่โรงเรียนxxxxxxบำรุง เป็นโครงการต่อเนื่อง เพื่อการพัฒนาให้เกิดxxxxxxxxxแท้จริง
Thammasat University 5
TU News
Eco Design or
เพื่อการออกแบบที่เป็นxxxxต่อสิ่งแวดล้อม
ศูนย์เครือข่ายเพื่อการออกแบบที่เป็นxxxxต่อสิ่งแวดล้อม (XCEP) Xcellent Center for Eco Product คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ และการ ผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดตั้งขึ้นภายใต้บันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่าง ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ ( MTEC) กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความรู้xxxxxxxxxxศักยภาพ และสร้างขีดความxxxxxx ในการออกแบบและวิจัยพัฒนาที่เป็นxxxxต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการสร้างสรรค์ ทางเลือกใหม่ที่ตอบxxxxต่ออุตสาหกรรมไทย โดยใช้กลไกความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ เอกชน และมหาวิทยาลัย สร้างโอกาสและxxxxxxxxให้xxxxxxxถ่ายโอน ความรู้ รวมทั้งช่วยให้มีการเชื่อมโยงปัญหาและความต้องการด้านเทคโนโลยีของ ภาคเอกชนไปสู่การวิจัยและพัฒนาในภาครัฐ ซึ่งทางศูนย์เครือข่ายฯ มีความพร้อม และxxxxxจะเปิดให้บริการด้านการออกแบบที่เป็นxxxxต่อสิ่งแวดล้อมให้กับxxx xxxศึกษา ภาคอุตสาหกรรม และหน่วยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
6 xxxxxxxxxxxxxxxx
Green Design
อาจารย์ xxxxx xxxxx xx xxxxxx ผู้จัดการศูนย์การออกแบบที่เป็นxxxx ต่อ สิ่ง แวดล้อม ให้สัมภาษณ์ถึงศูนย์ เครือข่ายเพื่อการออกแบบที่เป็นxxxxต่อ สิ่งแวดล้อมว่า “ปัจจุบันโลกให้ความสนใจ กับ การ ออกแบบ เชิง นิเวศ เศรษฐกิจ ( Economic & Ecological Design; EcoDesign or Green Design) ซึ่งเป็น แนวทางหนึ่งของการจัดการเชิงรุกในการ แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมต่างๆ ซึ่งแน่นอน ว่ารวมถึงภาวะโลกxxxxด้วย กล่าว คือ เป็นการออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการ ให้เป็นxxxxต่อสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นการ ลดกากของเสีย ยืดระยะเวลาการใช้งาน และxxxxxปริมาณการนำxxxxxxใช้ใหม่ เพื่อหลีกเลี่ยงผลเสียที่จะตามมาภายหลัง ตลอดช่วงชีวิตของผลิตภัณฑ์หรือบริการ”
อะไรคือการออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ ???
ความหมายของการออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Economic & Ecological Design หรือ EcoDesign) คือการผนวกแนวคิดด้านเศรษฐศาสตร์และด้านสิ่งแวดล้อม เข้าไปในขั้นตอนการออกแบบผลิตภัณฑ์ โดยพิจารณาตลอดxxxxxxxชีวิตของผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่ขั้นตอนการวางแผนผลิตภัณฑ์ ช่วงการออกแบบ ช่วงการผลิต ช่วงการนำไปใช้ และช่วงการทำลายหลังการใช้งานซึ่งจะช่วยลดต้นทุนในแต่ละขั้นตอนของการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ และลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆ กัน หลักการพื้นฐานของการทำ EcoDesign คือการประยุกต์หลักการลด (Reduce) การใช้ซ้ำ (Reuse) การนำกลับไป ใช้ใหม่ (Recycle) และการซ่อมบำรุง (Repair) โดยเน้นการออกแบบให้มีน้ำหนักเบา ยืดอายุการใช้งาน ลดส่วนประกอบ ที่ เกินความจำเป็น ถอดแยกชิ้นส่วนได้ง่าย xxxxxxนำxxxxxxใช้ซ้ำและรีไซเคิลได้ เป็นต้น
บ้านกึ่งสำเร็จรูป (Prefabrication) เป็นอีกหนึ่งผลิตภัณฑ์ที่เป็นxxxxต่อสิ่งแวดล้อม โดยโครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย (iTAP) สำนักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน
อาจารย์xxxxx xxxxxxxxxxxxx กล่าวเพิ่มเติมว่า “บ้านกึ่งสำเร็จรูป คือการสร้างและ ออกแบบแยกชิ้นส่วนของอุปกรณ์สร้างบ้านต่างๆ และนำxxxxxxxxกันในโรงงาน จากนั้นจึงยกมาตั้งไว้ที่ไซต์งานก่อสร้างและประกอบขึ้นมาอย่างรวดเร็ว xxxx มีการ เจาะรูไว้และนำเอาแผ่นผนังมาประกบกันแล้วเข้านอต อีกทั้งเป็นการลดค่าขนส่งวัสดุ ในการก่อสร้างที่ต้องทำการขนส่งหลายเที่ยว ซึ่งโดยส่วนมากจะคิดว่าที่พักกึ่งสำเร็จรูป มีราคาถูก เปราะบาง พังง่าย xxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxx แต่แท้จริงแล้ว ในบ้านเราทำระบบนี้มานานแล้ว เพียงแต่อาจมีไม่ครบทุกชิ้นส่วน อาจแยกทำเป็นพื้น ทำผนัง และ มี บริษัท ที่ ทำแบบครบวงจรจริงๆ อยู่ ประมาณ 30 % xxxxx xxx ในอดีต สถาปัตยกรรมไทยก็มีการตอกไม้ ยกพื้น การต่อคานตรง ซึ่งถือเป็นการสร้างบ้าน กึ่งสำเร็จรูปxxxxกัน”
ด้วยเทคโนโลยีการก่อสร้างที่มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง และยังมีบริษัท
รับสร้างบ้านที่นำ Prefab มาทำจนกลายเป็นที่ยอมรับสำหรับใช้เป็นที่พักอาศัยxxxx และxxxxxxxxxxxทุกอย่างไม่ว่าจะเป็นxxxxx บ้าน ทาวน์เฮาส์ หรือที่พักอาศัย ทุกรูปแบบ และเป็นการตอบxxxxความต้องการของตลาดอันนำไปสู่การxxxxxxxxxx ความxxxxxxในการแข่งขันของอุตสาหกรรมก่อสร้างในประเทศไทย
Thammasat University 7
26 ปี
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
ก้าวต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง
26 ปี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์xxxxxx ก้าวต่อไป อย่างไม่หยุดยั้ง มุ่งพัฒนา 3 นโยบายหลัก ตอกย้ำ การเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการวิจัย ความเป็นนานาชาติ และมหาวิทยาลัยเพื่อประชาชน ตลอดจนการปรับปรุง กายภาพแวดล้อม ให้เหมาะกับการเรียนการสอนและ การพัฒนาในด้านต่างๆ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตxxxxx
หากย้อนเวลากลับไปเมื่อxxxxxx 23 พฤศจิกายน 2529 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์xxxxxx xxxถูกก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการ โดยมีศาสตราจารย์ xxxxxxxxxxxxxx xxxxxxx เป็นอธิการบดี และมีศาสตราจารย์นรxxxx xxxxxxxxx xxxxxxxอธิการบดี จวบจน กระทั่งปัจจุบัน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์xxxxxx xxเข้าสู่การครบรอบปีที่ 26 แล้ว ในxxxxxx มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ประกอบด้วยคณะต่างๆ 9 คณะ
1 สถาบัน 1 สำนัก ในสายสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 3 คณะ 1 สถาบัน ในสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ 6 คณะ ในสายวิทยาศาสตร์สุขภาพ นับว่า การพัฒนาทางกายภาพของศูนย์xxxxxxxxxเติบโตอย่างก้าวกระโดด และในปี 2555 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์xxxxxx xxxxxxxxxการตามนโยบายอธิการบดี เพื่อพัฒนา มหาวิทยาลัยหลายๆ ด้าน อาทิ ด้านวิชาการ มีการจัดตั้งคณะเภสัชศาสตร์ และ วิทยาลัยแพทย์นานาชาติ การจัด ตั้ง ศูนย์ ความเป็นเลิศทางด้านวิจัยยาและ ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ด้านกายภาพ ตามนโยบาย GREEN CAMPUS การxxxxx
เส้นทางจักรยาน การจัดทำกำแพงคอนกรีต และพนังดินป้องกันxxxxxxx ตลอดจนการ สร้างอุโมงค์ระบายน้ำลอดถนนพหลโยธิน และฟุตบาทริมถนนพหลโยธิน
xxxxxxxxxxx xx.xxxxx เลิศxxxxxxx ประธานกล่าวเปิดการเสวนาครบรอบ 26 ปี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ xxxxxx กล่าวว่า แม้ศูนย์xxxxxxxxxครบรอบ 26 ปี จะ นับว่าเป็นเด็กมากหากเทียบกับการก่อตั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ที่ครบรอบ 78 ปี ในปีนี้ แต่ 26 ปีของ ศูนย์xxxxxxxxxได้เด็กตามอายุ แต่กลับ มี
8 xxxxxxxxxxxxxxxx
คณะxxxxxxxxxxนานาชาติ คณะวิศวกรรมxxxยนต์นานาชาติ และวิทยาลัยแพทย์ นานาชาติ ส่วนนโยบายด้านการเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อประชาชน มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์xxxxxxxxให้มีการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา TU 100 เพื่อให้ นักศึกษามีความคิด มีส่วนร่วมกับสังคม และปลูกฝังให้เป็นพลเมืองxxxxx
ของสังคม
การ พัฒนา ที่ ครบวงจร มากที่สุด และมหาวิทยาลัย กำลัง พัฒนา ใน อีก หลายๆ
เรื่อง โดย เฉพาะ โครงการ ตาม นโยบาย หลัก ของ มหา xx xxx ลั ย ใน ด้านการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการวิจัย โดยมหาวิทยาลัยได้xxxxxงบประมาณวิจัย ในปี 2555 เป็นเงิน 50 ล้านบาท จากเดิม จำนวน 40 ล้านบาท นโยบายด้านการเป็น มหาวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยได้ ลงนามสัญญากับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ จำนวน 14 แห่ง และในปี 2556 จะมี
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ยังมีโครงการหลักอีก 3 โครงการ ได้แก่ โครงการปรับเปลี่ยนภูมิทัศน์ธรรมศาสตร์ สี เขียว อาทิ ก่อสร้าง xxx xxx และลานกิจกรรม คู่ ขนาน กับ ถนนโดมร่วมใจ โครงการขุดลอกคูxxxx โครงการก่อสร้างถนน 3 สาย ได้แก่ ถนนxxxxx xxxxxxx ถนนป๋วย xxxxxxxxxx ถนนxxxxxxอาสา
โครงการปรับปรุงป้ายด้านหน้ามหาวิทยาลัย โครงการสร้างสะพานไม้ เข้าสู่พิพิธภัณฑ์ และรั้วแสดงแนวเขตระหว่างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กับ สำนักงานวิทยาศาสตร์แห่งชาติ โครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ ได้แก่ โครงการ สร้าง TU GUEST HOUSE โครงการสร้างอาคารบริการทันตกรรม โครงการ สร้างอาคารศูนย์การเรียน รู้ ด้วยตนเอง โครงการก่อสร้างอาคารxxxxxxxxxx 2 ของโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์ ความเป็นเลิศทางการวิจัย โครงการปรับปรุงอาคารยิมเนเซียม 2 ให้เป็นศูนย์ประชุม ธรรมศาสตร์ xxxxxx โครงการก่อสร้างศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โครงการก่อสร้างอาคารวิทยาศาสตร์สุขภาพ และโครงการก่อสร้างอาคารเรียนรวม
ทางสังคมศาสตร์ ส่วนที่ 2
นอกจากนี้ ยังมีโครงการพัฒนาระบบสาธารณูปโภค ได้แก่ โครงการ ก่อสร้าง U CITY MALL โครงการก่อสร้างอาคารจอดรถ 2,000 คัน โครงการ ทำ ฟุตบาทหน้ามหาวิทยาลัย โครงการจัดทำพนังกันน้ำคอนกรีตเสริมเหล็ก โครงการโรงไฟฟ้าที่ใช้พลังงานขยะชีวมวล โครงการรถไฟฟ้าxxxxxแดง โครงการก่อสร้าง ระบบส่งน้ำลอดถนนพหลโยธิน โครงการปรับปรุงทางเข้า- ออกประตูเชียงราก และโครงการเปลี่ยนเครื่องปรับอากาศเพื่อประหยัดพลังงาน และอีกหลายๆ โครงการ ที่มหาวิทยาลัยกำลังพัฒนาเพื่อให้บริการแก่นักศึกษา และบุคลากรได้มีคุณภาพชีวิต xxxxxตามลำดับ
Thammasat University 9
มธ. จัดตั้งวิทยาลัย โลกาภิวัตน์ศึกษา
School of Global Studies (SGS) ยกระดับการศึกษาของชาติให้เป็น ศูนย์การศึกษาของ ASEAN
มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ อนุมัติ ให้ จัด ตั้ง วิทยาลัย โลกาภิวัตน์ศึกษา (School of Global Studies) ตามมติที่ประชุม สภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ 10/2555 เมื่อxxxxxx 29 xxxxxx 2555 ยกระดับการศึกษาของชาติให้เป็นศูนย์กลางการศึกษาขั้นสูง ในxxxxxxx ASEAN
เป็น ที่ ทราบ กัน ดี ว่าการ พัฒนา ของ xxxxxxx เอเชีย ตะวันออกxxxxxxxxกำลังเติบโตอย่างรวดเร็ว เป็นผลให้การศึกษา ต้องมีความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ทำให้ประชาคม อาเซียน (ASEAN Community) xxxxxxxxxxถึงความจำเป็น ที่ ต้อง มี ศูนย์ การ ศึกษา ( Education Hub ) ใน xxxxxxx เพื่อพัฒนาความxxxxxxxxทางการศึกษาให้เป็นหนึ่งเดียวกัน และมี คุณภาพทัดเทียมกับxxxxxxxอื่นทั่วโลก ดังนั้น การxxxxตอบนโยบายของประเทศในการยกระดับ การศึกษาของชาติให้เป็นศูนย์การศึกษา จำเป็นต้อง มีการพัฒนาหลักสูตรนานาชาติในสถาบันการศึกษา
ต่างๆ ให้มีคุณภาพทั้งด้านหลักสูตร ผู้สอน วิธีการสอน การเข้าใจวัฒนธรรมที่เปราะบางของแต่ละวัฒนธรรม และการจัดการหลักสูตรอย่างมีประสิทธิภาพ คณะ สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึงเสนอให้มีการจัดตั้งวิทยาลัยโลกาภิวัตน์ศึกษา
หรือ “School of Global Studies (SGS)” ขึ้น เพื่อให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ขับเคลื่อน ภารกิจด้านการจัดการศึกษา การ วิจัย ตลอดจนการให้บริการวิชาการแก่สังคม ให้xxxxxเป้าหมายในระดับนานาชาติ และ ให้เป็นศูนย์กลางการศึกษาขั้นสูงในxxxxxxx ASEAN
xxx xxxxxxxxxxx xx .xxxx xxxx xxxxxx วาท การ ให้สัมภาษณ์ว่า “ที่ประชุมสภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ 10/2555 เมื่อxxxxxx 29 xxxxxx 2555 ได้อนุมัติในหลักการให้จัดตั้งวิทยาลัย โลกาภิวัตน์ศึกษา (School of Global Studies) เป็นหน่วยงาน ภายใต้การกำกับของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx x.x. 2531 เพื่อยกระดับ การศึกษาของชาติให้เป็นศูนย์กลางการศึกษาขั้นสูงในxxxxxxx ASEAN เมื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน”
การจัดการหลักสูตรอย่างมีประสิทธิภาพแล้วยังสนับสนุน
ให้ประเทศไทยก้าวสู่การเป็นศูนย์การศึกษาxxxxและการวิจัย ในxxxxxxx มี ผลอย่างยิ่งต่อขีดความxxxxxxในการแข่งขัน ของประเทศในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ตลอดจน ช่วยสร้างxxxxxxxxxxxให้กับเศรษฐกิจโดยรวม ส่งผลดี ต่อเนื่องไปสู่ธุรกิจอื่นๆ โดยหลักสูตรของ School of
Gloal Studies อยู่บนบริบทของโลกาภิวัตน์และ ความมั่นคง Globalization and Human Security มี 4 หลักสูตร ดังนี้ หลักสูตร Globalization & Well - being Advocacy ห ลั ก สู ตร Globalization & Food Safety หลักสูตร Globalization & Environmental Sustainability และหลักสูตร Globalization
& Migration ซึ่งจะเปิดสอนระดับxxxxxxตรี- โท-เอก ซึ่ง มหาวิทยาลัย ได้ จัดสรร พื้นที่ ณ อาคารxxxชาติ 2 ให้เป็นสำนักงานวิทยาลัย โลกา ภิ วัต น์ ศึกษา ซึ่งขณะ นี้ อยู่ระหว่างการ ก่อสร้าง
10 xxxxxxxxxxxxxxxx
TU Face Up
มธ. รับมอบเงินสนับสนุนโครงการศูนย์ข้อมูล อินเดียจากธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
xxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxx รองอธิการบดี ฝ่ายบริหาร ศูนย์ลำปาง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.xxxxxxxxx วิศเวxxx xxxอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ เป็นผู้แทน รับ มอบ เงิน สนับสนุน โครงการ ศูนย์ ข้อมูลอินเดีย มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ จาก คุณ ปฎิ มา xxxxx xxxกรรมการ ผู้ จัดการอาวุโส ด้านทรัพยากรบุคคล ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ณ ห้องประชุมสัญญา xxxxxxxxxx มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระ จันทร์ เมื่อxxxxxx 17 xxxxxx 2555
ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ กับ Victoria University of Wellington ประเทศนิวซีแลนด์
พิธีลงนามข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง ศาสตราจารย์ ดร . xxxxx เลิศ xxxxxxx อธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กับ Professor Dr. Xxx Xxxxx, Pro- Vice Chancellor xxx Xxxxxxxx Unversity of Wellington ประเทศนิวซีแลนด์ ณ ห้องประชุมxxxxx xxxxxxxxxx xxxx 2 ตึกโดม มธ.
ท่าพระจันทร์ เมื่อxxxxxx 19 xxxxxx 2555
สัปดาห์เทิดพระเกียรติสมเด็จย่า 55
xxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xx นัด ด์ หะxxxxxx รองอธิการบดีฝ่ายบริหารศูนย์xxxxxxxxx ร่วมวางxxxxxxx xxxxxxxสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เนื่องในงาน สัปดาห์เทิดพระเกียรติสมเด็จย่า ประจำปี 2555 ซึ่งจัดขึ้น โดยโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ เมื่อxxxxxx 19 xxxxxx 2555
x xxxxxxโถง ชั้น 1 อาคาร ม.ร.ว.xxxxxxx xxxxxxxx
วางพวงมาลาเนื่องในวันxxxมหาราช
xxxxxxxxxxxxxx xx.xxxx xxxxวิชชญ์ รองอธิการบดีฝ่าย บริหาร ศูนย์xxxxxx ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนัญ xxxxxxx ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายบริหาร ศูนย์รังสิต พร้อมคณะผู้ติดตาม ร่วมวางพวงมาลาเนื่องในวันxxxมหาราช ซึ่งเป็นxxxxxxxx xxxสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ณ บริเวณลานพระบรมxxxxxxม้า
Thammasat University 11
ลงนามความร่วมมือทางวิชาการกับ GRIPS ประเทศxxxxxxx
xxxxxxxxxxx xx.xxxxx เลิศxxxxxxx อธิการบดีมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ กับ Professor Xxxxxxxx Xxxxxxxxx จาก National Graduate Institute for Policy Studies (GRIPS) ประเทศxxxxxxx x ห้องxxxxxx xxxxไวxxxxx ชั้น 1
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ จัดการอบรม ผู้นำเยาวชน
xxxxxxxxxxxxxx xx.xxxxx xxxxxxxx รองอธิการบดี ฝ่ายบริหารทั่วไป ให้เกียรติเป็นประธาน และกล่าวxxxxxxxxxx แรงบันดาลใจในพิธีปิดการอบรมผู้นำเยาวชนภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และกรุงเทพมหานคร สร้างโลก xxxxxxxxxx ภายใต้โครงการ Move World Together : เคลื่อนโลก ไปด้วยกัน เพื่อการพัฒนาทักษะการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ พัฒนาศักยภาพเยาวชนและสร้างเครือข่ายเยาวชนทั้งในและ ต่างประเทศ จัดโดยคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ศูนย์พัฒนา อัจฉริยภาพเด็ก มศว. สำนักงานxxxxxxxxxxxxxxxxxและxxxxxxx เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส
และ ผู้ สูง อายุ ระหว่าง xxxxxx 23 - 26 xxxxxx 2555 ณ สถาบัน พัฒนาผู้นำ ชุมชนไทย จ.นครนายก
ตึก โดม มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ เมื่อxxxxxx 29 xxxxxx 2555
นักศึกษา มธ. คว้ารางวัลxxxxxxxการประกวด แผนธุรกิจสร้างสรรค์
ขอแสดงความxxxxxกับxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx นางสาวนารดา xxxวัฒนเจริญ และxxxxxxxx xxxxxxx นักศึกษากลุ่มวิชาโฆษณา คณะวารสารศาสตร์และสื่อสาร มวลชน xxxxxxxxxxการประกวดแผนธุรกิจสร้างสรรค์ โครงการ อสังหาริมทรัพย์ “KK Biz RE Innovation Awards 2012” ประเภทแผนการสื่อสารการตลาด จัดขึ้นโดยธนาคาร เกียรติxxxxx จำกัด (มหาชน) เมื่อxxxxxx 25 xxxxxx 2555 ณ โรงแรมเซ็นxxxxxxxxxx ลาดพร้าว
งานสัมมนาเรื่อง “การเลือกตั้งประธานาธิบดี สหรัฐ : ผลกระทบต่ออาเซียนและไทย”
xxxxxxxxxxxxxx xx.xxxxxxxxx xxxxxxxx ผู้อำนวยการ ศูนย์อาเซียนศึกษา มธ. และนายกสมาคมอเมริกาศึกษา ในประเทศไทย ร่วมสัมมนาในหัวข้อเรื่อง “การเลือกตั้ง ประธานาธิบดีสหรัฐ : ผลกระทบต่ออาเซียนและไทย” โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.xxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx อดีตนายก สมาคมอเมริกา ศึกษา ใน ไทย นาย เกียรติ xxxxx xxx อดีตผู้ แทนการค้าไทย นายxxxxxxx xxx xx xxxxxxxxxx รองประธานกรรมการหอการค้าไทย เป็นวิทยากรร่วม และ มีรองศาสตราจารย์ xx.xxริน xxxxxxxxxx เป็นผู้xxxxxxการ สัมมนา ณ ห้องประชุมประกอบ xxxxxxxxx ชั้น 3 อาคาร อเนกประสงค์ 1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ เมื่อxxxxxx 1 พฤศจิกายน 2555
12 จุลสารธรรมศาสตร์
มธ. รับมอบทุนการศึกษาจาก บมจ. ธนาคารกรุงไทย
xxxxxxxxxx xxxxxx xxxxxxxxxxxxxxผู้จัดการอาวุโส ผู้บริหาร สายงานธุรกิจภาครัฐ บมจ. ธนาคารกรุงไทย มอบทุน การศึกษาประจำ ปี การศึกษา 2555 ให้ แก่ นักศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จำนวน 40 ทุน ทุนละ 10,000 บาท เป็นเงินทั้งสิ้น 400,000 บาท โดยมีศาสตราจารย์ ดร.xxxxx เลิศxxxxxxx อธิการบดี เป็นผู้รับมอบ ณ ห้องประชุมสัญญา ธรรมศักดิ์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ เมื่อxxxxxx 2 พฤศจิกายน 2555 ที่ผ่านมา
แถลงข่าวการประชุมวิชาการปศุสัตว์นานาชาติ ครั้งที่ 15
เมื่อxxxxxx 2 พฤศจิกายน 2555 ที่ผ่านมา ณ ห้องประชุม อาคารบรรยายรวม 5 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้จัดการ แถลงข่าว เรื่อง การประชุมวิชาการปศุสัตว์นานาชาติ ครั้งที่ 15 โดยมีรองศาสตราจารย์ xx.xxxxx xxxxxxxx รองอธิการบดีฝ่ายบริหารทั่วไป xxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxx คณบดีวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ xxxxxxxxxxxxxx xx. xxxxxxxxx xxxxxxxxxxx รองหัวหน้าภาควิชาสัตวบาลฝ่ายบริหาร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ xxxxxxxxxx xxxxxxxxx นายกสมาคม สัตวบาลแห่งประเทศไทย
และxxxxxxx xxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxx xxxxx xxxxxxxxxxx xxxxแถลง
อธิการบดีร่วมงานสวดพระxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxx มธ.
xxxxxxxxxxx xx.xxxxx เลิศxxxxxxx อธิการบดี ร่วมงาน สวด พระ อภิธรรม ศพ นาย เฉลิม xxxxx xxxx บิดา ศาสตราจารย์นรxxxx xxxxxxxxx นายกสภามหาวิทยาลัย ที่ ถึงแก่ กรรม ด้วย โรค หัวใจ ล้ม เหลว เมื่อ xxx xxx 31 xxxxxx 2555 โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ร่วมกับ คณะรัฐศาสตร์เป็นเจ้าภาพสวดพระอภิธรรมศพ เมื่อ xxxxxx 2 พฤศจิกายน 2555
ณ วัด พระศรีมหาธาตุ วรมหาวิหาร ศาลาxxxxxxx xxxxx xxx ( ศาลาใหญ่ ) เขตบางเขน
สัมมนาวิชาการ เรื่อง “ เหลียวหลังแลหน้า มหาอุทกภัย 2554”
หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร xxxxxx อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ให้เกียรติ กล่าวปาฐกถาพิเศษ ในงานสัมมนาวิชาการประจำปี 2555 ครั้งที่ 35เรื่อง “เหลียวหลังแลหน้ามหาอุทกภัย2554” ที่จัดขึ้น โดยคณะ เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ณ xxxxxxxxxxxxxxxx มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ เมื่อxxxxxx 8 พฤศจิกายน 2555 ที่ผ่านมา
Thammasat University 13
TU Show Case
วิศวกรรมเครื่องกล ธรรมศาสตร์
คว้ารางวัลxxxxxxxxxxxxxxx
จากการประกวดสุดยอดไอเดียxxxxxxxx “BRAND’S GEN ปี 5
xxxxคิดแบบคนxxxxxxxx”
นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คว้ารางวัลนวัตกรรมยอดxxxx จากการประกวดสุดยอดไอเดีย xxxxxxxx “BRAND’SGENปี 5 xxxxคิดแบบคนxxxxxxxx” ซึ่งจัดโดย บริษัท เซเรบอส (ประเทศไทย) จำกัด เพื่อเปิดโอกาสให้เยาวชนได้ พัฒนาทักษะทางสมองผ่านผลงานและสิ่งxxxxxxxxต่างๆ ทั้งด้าน วิทยาศาสตร์และศิลปะเป็นเวลากว่าสามเดือน กับการเฟ้นหา สุดยอดไอเดียxxxxxxxxในโครงการ “BRAND’S GEN ปี 5 xxxxคิด แบบคนxxxxxxxx” จากหลายร้อยผลงานไอเดีย ทั้งสายวิทยาศาสตร์ Innovation Inventor และสายศิลปะ Creative Arts จนได้ 20 ทีมสุดท้ายมาxxxxxxxxxพลังสมองเพื่อชิงตำแหน่งสุดยอดxxxxxxxxx กันอย่างเข้มข้น
14 xxxxxxxxxxxxxxxx
ในงานนี้คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แสดงศักยภาพด้านวิชาการด้วยการเข้าร่วมประกวดในด้าน สิ่งxxxxxxxxนวัตกรรม (Innovation inventor) โดยผลงานxxxxxxส่ง เข้าร่วมประกวดและเข้ารอบ 10 ทีมสุดท้ายคือ ทีม Mechamotive ผลงาน “Amphitrike พาหนะสะเทินน้ำสะเทินบก” ซึ่งการแข่งขัน BRAND’S GEN ในครั้งนี้เป็นการรวมตัวกันของ 2 ชมรม คือ Mechatronic และ Formula สมาชิกในทีมประกอบไปด้วย xxxxxxxx xxxxxxx นักศึกษาวิศวกรรมเครื่องกล ปี 4 ภาคxxxx นางสาวxxxxภา xxxxxxxxxxx นักศึกษาวิศวกรรมเครื่องกล ปี 4 ภาคxxxx xxxxxxxx xx xxxxx นักศึกษาวิศวกรรมเครื่องกล ปี 4 ภาคภาษาอังกฤษ xxxxxxxx xxxxxxxxxxxx นักศึกษา วิศวกรรมเครื่องกล ปี 4 ภาคภาษาอังกฤษ นายxxxxx แก้วปทุม นักศึกษาวิศวกรรมเครื่องกล ปี 3 ภาคxxxx นายพงศ์ภรณ์ ภาวนะxxxxxxx นักศึกษาวิศวกรรมเครื่องกล ปี 3 ภาคxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxx นักศึกษาวิศวกรรมเครื่องกล ปี 3 ภาคภาษาอังกฤษ xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx นักศึกษา วิศวกรรมเครื่องกล ปี 3 ภาคภาษาอังกฤษ xxxxxxxx xxxxxxxxxx นักศึกษาวิศวกรรมเครื่องกล ปี 3 ภาคภาษาอังกฤษ โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.xxxxxxxx xxxxxxx และผู้ช่วยศาสตราจารย์ xx.xxxxxxx xxxxxxxxxด้วยบุญ เป็นxxxxxxxxxxปรึกษาโครงการ ผลปรากฏว่าทีม Mechamotive คว้ารางวัลถึง 2 รางวัล คือ “รางวัล นวัตกรรมยอดxxxx” พร้อมทุนการศึกษาจำนวน 10,000 บาท และ “รางวัลxxxxx” พร้อมทุนการศึกษาจำนวน 5,000 บาท
แนวความคิดของผลงาน Amphitrike พาหนะ สะเทินน้ำสะเทินบก คือ ในปี 2554 ที่ผ่านxxxxเอเชียได้ ประสบกับภัยพิบัติอย่างมากมาย แต่ภัยพิบัติที่ใกล้ตัวเรา
มากที่สุดคือ ประเทศไทยได้ประสบภัยอันตรายจากxxxxxxx ทำให้ประชาชนxxxxxxxxxจากการเดินทางตอนxxxxxxx ทีมของข้าพเจ้าจึงได้เล็งเห็นความสำคัญของxxxพาหนะ จึง ได้ จัดทำ “ xxxพาหนะสะเทินน้ำสะเทินบก ” หรือ “Amphitrike” โดยลักษณะของ Amphitrike จะxxxxxx เคลื่อนที่ได้อย่างxxxxxxxxเมื่ออยู่บนบก และxxxxxxเปลี่ยน เป็นxxxพาหนะเพื่อเคลื่อนที่ได้บนน้ำอย่างสะดวกและ รวดเร็ว Amphitrike เป็นxxxพาหนะสะเทินน้ำสะเทินบก ที่ xxxxxxxx สิ่ง แวดล้อม ไม่ ก่อ ให้ เกิด มลพิษ เนื่องจาก xxxพาหนะนี้xxxxxxขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้าและ พลังงานกลที่เกิดจากกำลังของคน หลักการทำงานของ Amphitrike ถูกควบคุมด้วยล้อหน้า 2 ล้อ และล้อหลัง 1 ล้อ โดยล้อหลังจะถูกขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า เมื่ออยู่ บนบก Amphitrike จะขับเคลื่อนด้วยแหล่งพลังงานจาก 2 แหล่ง คือ มอเตอร์ไฟฟ้าที่เชื่อมต่อกับล้อหลัง อีกทั้งยัง xxxxxxใช้พลังงานกลเพื่อประหยัดพลังงานไฟฟ้าพลังงานกล ที่เกิดจากกำลังของคน คือการประยุกต์โดยใช้ขาปั่นของ จักรยานโดยติดตั้งชุดโซ่เข้ากับล้อหลัง เมื่อพลังงานหมด xxxxxxขับเคลื่อน Amphitrike ในลักษณะการขี่จักรยานได้ ส่วนการควบคุมทิศทางจะบังคับทิศทางที่ล้อหน้า เมื่ออยู่ ในน้ำ Amphitrike จะxxxxxxขับเคลื่อนการทำงานได้ 2 ระบบxxxxกัน โดยจะxxxxxxเคลื่อนที่ในน้ำได้โดย xxxxxxxxติดอยู่ที่ล้อหลัง ส่วนประกอบของ Amphitrike เป็นxxxพาหนะสะเทินน้ำสะเทินบกที่ประกอบด้วยเรือคายัค และจักรยาน 3 ล้อ (Trike) เมื่อนำส่วนประกอบทั้ง 2 ส่วน xxxxxxxxเข้าด้วยกัน จะ เกิด เป็น Xxxxxxxxxx xxx xxxxxxเคลื่อนที่xxxxxxxบนบกและในน้ำ อีกทั้งเรายัง xxxxxxแยกส่วนของ Amphitrike ให้กลายเป็น Trike (จักรยาน 3 ล้อ) ได้อย่างง่าย เพื่อประยุกต์ใช้xxxพาหนะนี้ ในเวลาที่น้ำไม่ท่วมได้อีกด้วย
Thammasat University 15
ปฏิทินกิจกรรม
กิจกรรม วัน/เวลา/สถานที่ ติดต่อสอบถาม
งานแนะแนวหลักสูตรxxxxxxxxx xxxภาษาอังกฤษ และหลักสูตร นานาชาติ ประจำปี 2555 | xxxxxx 6 ธันวาคม 2555 ณ xxxxxxxxxxxxxxxx (xxxxxxxxเล็ก) มธ. ท่าพระจันทร์ | งานบริการนักศึกษาและ บุคลากรนานาชาติ สำนักงานวิเทศสัมพันธ์ โทร. 0-0000-0000 |
xxxxxxxxxxxxx | xxxxxx 10 ธันวาคม 2555 ณ มธ. ท่าพระจันทร์ | |
MBA 2012 Open House | xxxxxx 16 ธันวาคม 2555 เวลา 10.00 - 12.00 น. โรงแรมเซนxxxxxxxxxx เซ็นทรัลเวิร์ด ห้อง Lotus Suite 7 ชั้น 22 | โครงการxxxxxxโท ทางบริหารธุรกิจ (MBA) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี โทร. 0-2613-2227-8 |
Open House สถาบันภาษา | xxxxxx 16 ธันวาคม 2555 เวลา 08.30 - 12.00 น. ณ ห้องประชุมxxxxxศน์ xxxxxx อาคารอเนกประสงค์ 1 ชั้น 4 มธ. ท่าพระจันทร์ | สถาบันภาษา โทร. 0-0000-0000 |
ประชุมวิชาการระดับxxxxxxศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปี 2555 | xxxxxx 18 ธันวาคม 2555 x xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xx. xxxxxxxxxxx | xxxxxxxxxxxและเผยแพร่งานวิจัย สำนักงานบริหารการวิจัย โทร. 0-0000-0000 ต่อ 1818 |
วิสัยทัศน์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ “มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นสถาบันวิชาการชั้นนำของเอเชียxxxxxxมาตรฐานxxxxในการผลิตxxxxxx การสร้างองค์ความรู้ และการแก้ปัญหาของประเทศ โดยยึดxxxxxxxxxxxและประโยชน์ของประชาชน”
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ : xxxx://xxx.xx.xx.xx
จุลสารธรรมศาสตร์ : เพื่อเผยแพร่ข่าวสาร เรื่องน่ารู้ และกิจกรรมต่างๆ ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แก่อาจารย์ ข้าราชการ นักศึกษาและผู้สนใจทั่วไป
ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.xxxxxx ปัณฑรานุxxxx xxxxxx แก้วxxxxxx บรรณาธิการบริหาร : xxxxxx xxxxxxx
xxxxxxxxxxxxx : xxxx xxxxxxxx xxxxxxx xxxxxxxx xxxxxxxxx โคตรโนนกอก xxxกาญจน์ หันxxxx นิพิฐพนธ์ เมืองสีxxxx xxxxxxxxxx xxxxxx xxxxxxxx นวลนุxxx xxxxxxxxx xxxxxxxx xxxxxxxxx จันทร์ช่วงศรี ศุภณา xxxxxxxxxxx
จัดทำโดย : งานประชาสัมพันธ์ กองงานศูนย์รังสิต สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โทรศัพท์ 0-0000-0000, 0-0000-0000-00 ต่อ 1117-8 โทรสาร 0-0000-0000
ออกแบบและจัดทำรูปเล่ม : บริษัท แปลน สารา จำกัด พิมพ์ที่ : บริษัท แปลน พริ้นท์ติ้ง จำกัด