ที่ปรึกษาเพื่อสนับสนุนการประเมินผลการดําเนินงาน ตามระบบประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ ประจําปีบัญชี ๒๕๕๙ สําหรับรัฐวิสาหกิจกลุ่ม BB
ขอบเขตโดยละเอียดของงานที่จะxxxx (Terms of Reference)
ที่ปรึกษาเพื่อสนับสนุนการประเมินผลการดําเนินงาน ตามระบบประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ ประจําปีบัญชี ๒๕๕๙ สําหรับรัฐวิสาหกิจกลุ่ม BB
โดยวิธีคัดเลือก
สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ
สารบัญ
หน้า
๑. เหตุผลและความจําเป็น ๑
๒. วัตถุประสงค์ ๒
๓. ขอบเขตของการปฏิบัติงานของที่ปรึกษา ๓
๔. การ ' า ๖
๕. ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายงาน ๘
๖. ค ' ร ก า ๑๐
๗. กํา ด ก ' ก ก าร ๑๐
๘. ' ..............................................................................................................................๑๑
๙. การ าร า ๑๒
๑๐. ค า ' ต่างๆ ' คร. และรัฐวิสาหกิจ ก' ' ร ก า ๑๒
๑๑. วิธีการจ่ายค่าxxxx ๑๒
ส˚านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ
๑. เหตุผลและความจําเป็น
เพื่อให้รัฐวิสาหกิจมีการปรับปรุงประสิทธิภาพการดําเนินงานให้สูงขึ้น คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อxxxxxx ๒๐ มิถุนายน ๒๕๓๘ อนุมัติหลักเกณฑ์ระบบประเมินผลการดําเนินงานรัฐวิสาหกิจ โดยเปลี่ยนแนวคิด ในการกํากับรัฐวิสาหกิจจากการควบคุมขั้นตอนในการทํางานมาเป็นการควบคุมผลการดําเนินงานแทน และ ให้อํานาจแก่คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจในการบริหารจัดการภายในองค์กรได้เอง โดยให้เริ่มนําระบบประเมินผลฯ มาใช้วัดประสิทธิภาพการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจตั้งแต่ปีบัญชี ๒๕๓๙ และได้ดําเนินการอย่างต่อเนื่องจนถึง ปัจจุบัน
ในปี ๒๕๕๑ คณะกรรมการประเมินผลงานรัฐวิสาหกิจ ได้เห็นชอบให้นําระบบประเมินคุณภาพ รัฐวิสาหกิจ (State Enterprise Performance Appraisal: SEPA) ซึ่งประยุกต์แนวทางการประเมินคุณภาพ องค์กรตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award) มาใช้เพื่อxxxxxxการประเมินผลการดําเนินงาน รัฐวิสาหกิจ โดยทยอยนํารัฐวิสาหกิจเข้าสู่ระบบตามกรอบระยะเวลาที่กําหนด โดยมีรัฐวิสาหกิจที่ประเมินผล ตามระบบ SEPA แล้ว ดังนี้
ในปี ๒๕๕๔ มีรัฐวิสาหกิจในกลุ่ม A ที่เข้าสู่การประเมินตามระบบ SEPA จํานวน ๗ แห่ง ได้แก่ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย บริษัท วิทยุการบินแห่ง ประเทศไทย จํากัด บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ในปี ๒๕๕๖ มีรัฐวิสาหกิจในกลุ่ม BA ที่เข้าสู่การประเมินตามระบบ SEPA จํานวน ๑๒ แห่ง ได้แก่ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) บริษัท ไปรษณีย์ไทย จํากัด (มหาชน) การประปานครหลวง การประปาส่วนภูมิภาค การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย การทางพิเศษแห่งประเทศไทย องค์การเภสัชกรรม สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) และ ธนาคารเพื่อการส่งออกและนําเข้าแห่งประเทศไทย
ในปี ๒๕๕๗ มีรัฐวิสาหกิจในกลุ่ม BB ที่เข้าสู่การประเมินตามระบบ SEPA จํานวน ๑๔ แห่ง ได้แก่ การเคหะแห่งชาติ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) บริษัท xxxท จํากัด (มหาชน) การxxxxxxxxxxแห่งประเทศไทย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย บริษัท ท่าอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) การท่าเรือแห่งประเทศไทย องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ บริษัท ขนส่ง จํากัด โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง สํานักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจxxxxxxxxและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย บรรษัท ประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม
ส˚านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ๑
ต่อมาคณะกรรมการประเมินผลฯ ได้มีมติในคราวประชุม ครั้งที่ ๖/๒๕๕๗ เมื่อxxxxxx ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๗ เห็นชอบกรอบระยะเวลา กรอบตัวชี้วัด และน้ําหนักคะแนนของการประเมินผลการดําเนินงานรัฐวิสาหกิจตามระบบ SEPA ประจําปี ๒๕๕๘ และ ๒๕๕๙ โดยมอบหมายให้คณะอนุกรรมการกํากับดูแลคุณภาพรัฐวิสาหกิจพิจารณา รูปแบบการประเมินผลตามระบบ SEPA ต่อมาคณะอนุกรรมการกํากับดูแลฯ ได้มีมติเห็นชอบการกําหนดรูปแบบ การประเมินผลตามเกณฑ์ SEPA ของรัฐวิสาหกิจกลุ่ม BB โดยแบ่งเป็น ๓ ระยะ ดังนี้
๑) ระยะที่ ๑ (ปี ๒๕๕๗) การจัดทํา OFI Roadmap ที่มีคุณภาพ
๒) ระยะที่ ๒ การพัฒนาแต่ละกระบวนการตาม OFI Roadmap ให้มีความxxxxxxx
๓) ระยะที่ ๓ การพัฒนาองค์กรตามระบบ SEPA อย่างเต็มรูปแบบ
โดยในปี ๒๕๕๙ คณะอนุกรรมการกํากับดูแลฯ ได้มีมติในคราวประชุม ครั้งที่ ๕/๒๕๕๘ เมื่อวันศุกร์ที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ เห็นชอบกรอบตัวชี้วัด และน้ําหนักตามระบบ SEPA ของรัฐวิสาหกิจ
กลุ่ม BB โดยประเมินในส่วนของกระบวนการ/ระบบ (Process) ตามกรอบการพัฒนาระบบ SEPA ในระยะที่ ๒ (การพัฒนาแต่ละกระบวนการตาม OFIs Roadmap ให้มีความxxxxxxx) xxxxเดียวกับปี ๒๕๕๘
เพื่อให้ดําเนินการวิเคราะห์และประเมินผลการดําเนินงานรัฐวิสาหกิจตามระบบ SEPA มีความน่าเชื่อถือ เป็นที่ยอมรับของรัฐวิสาหกิจและผู้มีสว่ นเกี่ยวข้อง จึงจําเป็นต้องจัดให้มีที่ปรึกษาซึ่งเป็นสถาบันกลาง (Independent Evaluator) ทําหน้าที่สนับสนุนการประเมินผลในระบบดังกล่าว
๒. วัตถุประสงค์
เพื่อxxxxxxxxxxปรึกษาที่เป็นสถาบันกลาง (Independent Evaluator) เพื่อดําเนินการวิเคราะห์ และประเมินผลการดําเนินงานรัฐวิสาหกิจ (Performance Evaluation) ตามแนวทางของระบบ SEPA รวมทั้ง เสนอแนะและสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการประเมินผลฯ และคณะอนุกรรมการจัดทําบันทึก ข้อตกลงและประเมินผลการดําเนินงานรัฐวิสาหกิจ (รายสาขา) ในการกําหนดตัวชี้วัด และเป้าหมายการ ประเมินผล เพื่อให้รัฐวิสาหกิจในระบบ SEPA xxxxxxดําเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมาย ประจําปีบัญชี ๒๕๕๙ สําหรับรัฐวิสาหกิจกลุ่ม BB ในระบบ SEPA ดังนี้
๑) การเคหะแห่งชาติ
๒) บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน)
๓) บริษัท xxxท จํากัด (มหาชน)
๔) การxxxxxxxxxxแห่งประเทศไทย
๕) การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
๖) บริษัท ท่าอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน)
๗) การท่าเรือแห่งประเทศไทย
๘) องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
๙) บริษัท ขนส่ง จํากัด
๑๐) โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง
๑๑) สํานักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล
๑๒) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจxxxxxxxxและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
๑๓) บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย
๑๔) บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม
หมายเหตุ: หากมีการเปลี่ยนแปลงจํานวนรัฐวิสาหกิจในระบบประเมินผลฯ สํานักงานคณะกรรมการนโยบาย รัฐวิสาหกิจ (สคร.) จะจ่ายค่าตอบแทนตามจํานวนรัฐวิสาหกิจที่ประเมินผลฯ จริง
๓. ขอบเขตของการปฏิบัติงานของที่ปรึกษา
สคร. กําหนดขอบเขตของความรับผิดชอบของที่ปรึกษาที่จะให้บริการกับ สคร. ดังนี้
๓.๑ จัดทําแผนการดําเนินงานตามระบบ SEPA สําหรับรัฐวิสาหกิจ สคร. และผู้เกี่ยวข้อง
๓.๒ จัดทําบันทึกข้อตกลงการประเมินผลตามระบบ SEPA โดยมีขั้นตอนดังนี้
๑) จัดทํารายงานสรุปเชิงวิเคราะห์ทางการเงิน สภาพข้อเท็จจริง ปัญหา ข้อเสนอแนะ และผลการประเมินตนเองตามระบบ SEPA ของรัฐวิสาหกิจเป็นรายแห่งตอนต้นปีบัญชี
๒) กําหนดตัวชี้วัด น้ําหนัก และเป้าหมายในการประเมินผลการดําเนินงานประจําปี ของรัฐวิสาหกิจ ตามกรอบและน้ําหนักที่ สคร. กําหนด ตามเกณฑ์วัดผลการดําเนินงานประจําปีโดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบกับมาตรฐานอุตสาหกรรม (Benchmark) หรือการพัฒนาตนเอง (Self-Improvement) ของรัฐวิสาหกิจนั้นๆ ทั้งนี้ หากคณะกรรมการประเมินผลฯ มีการปรับปรุง/เปลี่ยนแปลงกรอบตัวชี้วัดและน้ําหนักในการประเมินผลฯ ที่ปรึกษาจะต้องดําเนินการตามที่มีการเปลี่ยนแปลง
๓) จัดการประชุมเพื่อนําเสนอข้อมูลและแนวทางการประเมินผลตามระบบ SEPA
แก่ สคร. เพื่อรับมอบนโยบาย ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ ก่อนการประชุมหารือตัวชี้วัดและเป้าหมายประจําปี ร่วมกับคณะอนุกรรมการจัดทําบันทึกข้อตกลงฯ
๔) จัดการประชุมระหว่างคณะอนุกรรมการจัดทําบันทึกข้อตกลงฯ สคร. และผู้บริหาร รัฐวิสาหกิจ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแนวทางการพัฒนารัฐวิสาหกิจ (Vision Meeting) ก่อนการประชุม
หารือตัวชี้วัดและเป้าหมายประจําปีของรัฐวิสาหกิจ เว้นแต่ในกรณีที่คณะอนุกรรมการจัดทําบันทึกข้อตกลงฯ เห็นชอบว่าไม่จําเป็นต้องมีการประชุม หรือให้เปลี่ยนแปลงกําหนดการประชุมดังกล่าวเป็นช่วงเวลาอื่น
๕) เตรียมเอกสารสรุป พร้อมร่างรายงานความเห็นของที่ปรึกษา (ตามรูปแบบที่ สคร. กําหนด) ให้แก่คณะอนุกรรมการจัดทําบันทึกข้อตกลงฯ สคร. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการหารือตัวชี้วัด น้ําหนัก และเป้าหมายในการประเมินผลฯ รวมxxxxxxเข้าร่วมประชุมชี้แจงความเห็นและข้อเสนอแนะพร้อมทั้ง สนับสนุนข้อมูลในด้านต่างๆ ของรัฐวิสาหกิจ ให้แก่คณะอนุกรรมการจัดทําบันทึกข้อตกลงฯ และ สคร. เพื่อให้ xxxxxxดําเนินการได้ตามกรอบระยะเวลาและแผนงานของระบบประเมินผลฯ
๖) จัดทําฐานข้อมูลที่ใช้ในการกําหนดตัวชี้วัด การวิเคราะห์ข้อมูลในด้านต่างๆ รวมถึง ฐานข้อมูลที่ใช้ในการประเมินผลการดําเนินงานประจําปีของรัฐวิสาหกิจให้แก่ สคร.
๓.๓ ติดตามผลการดําเนินงานรัฐวิสาหกิจ
จัดทํารายงานสรุปผลการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจรายครึ่งปี ตามเกณฑ์การประเมินผลฯ
ให้แก่ สคร.
๓.๔ ประเมินผลการดําเนินงานรัฐวิสาหกิจ
๑) ประเมินผลการดําเนินงานจริง ณ สิ้นปีบัญชี ตามบันทึกข้อตกลงการประเมินผล
การดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจที่จัดทํา ณ ต้นปีบัญชี โดยการนําเสนอข้อมูลและบทวิเคราะห์ผลการดําเนินงาน ต่อคณะอนุกรรมการที่เกี่ยวข้อง และคณะกรรมการประเมินผลฯ
๒) ประเมินผลรัฐวิสาหกิจตามกระบวนการของระบบ SEPA ซึ่ง สคร. เห็นชอบ โดยมี การประเมินรัฐวิสาหกิจในสถานที่จริงเป็นระยะเวลาตามแผนงานที่ สคร. เห็นชอบ นอกจากนี้บุคลากรของ ที่ปรึกษาที่รับผิดชอบการตรวจประเมินในส่วนกระบวนการตามระบบ SEPA ควรได้รับการxxxxxxxxความรู้
ประสบการณ์เกี่ยวกับ SEPA การจัดการสู่ความเป็นเลิศ (Business Excellence) อย่างต่อเนื่อง โดยที่ปรึกษาต้อง รายงานประวัติการอบรมของบุคคลดังกล่าวในช่วง ๑ ปีที่ผ่านมาให้ สคร. พิจารณาความเหมาะสมก่อนเริ่ม กระบวนการตรวจประเมิน
๓) จัดทํารายงานสรุปผลการดําเนินงานประจําปีของรัฐวิสาหกิจ รวมทั้งวิเคราะห์
สภาพข้อเท็จจริง ปัญหา/อุปสรรคในการดําเนินงานของรัฐวสาหกิจ และวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลกับมาตรฐาน
อุตสาหกรรม (Benchmark) ของรัฐวิสาหกิจ พร้อมข้อเสนอแนะ แยกเป็นรายแห่ง
๔) ร่วมกับที่ปรึกษาเพื่อสนับสนุนการประเมินผลการดําเนินงานตามระบบประเมิน คุณภาพรัฐวิสาหกิจ ประจําปีบัญชี ๒๕๕๙ สําหรับรัฐวิสาหกิจในกลุ่ม A และ BA และที่ปรึกษาเพื่อสนับสนุน การประเมินผลการดําเนินงานรัฐวิสาหกิจตามระบบปัจจุบัน ประจําปีบัญชี ๒๕๕๙ จัดทํารายงานสรุปผล
การวิเคราะห์ผลดําเนินงานประจําปีของรัฐวิสาหกิจพร้อมข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ (State Enterprise Evaluation: SEE) แยกเป็นรายแห่ง รายสาขา และภาพรวม
๓.๕ อื่น ๆ
๑) ศึกษา เสนอแนะ และกําหนดหลักเกณฑ์การประเมินผลการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจ รวมถึงเข้าร่วมประชุมชี้แจงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการประเมินผลฯ คณะอนุกรรมการกํากับฯ คณะอนุกรรมการจัดทําบันทึกข้อตกลงฯ และรัฐวิสาหกิจตามความเหมาะสม xxxxxxx xxxปรึกษา ต้องจัดส่งเอกสาร พร้อมข้อมูลที่ครบถ้วนในการหารือล่วงหน้าก่อนการประชุม เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๕ วัน
๒) ออกแบบเนื้อหาการสัมมนาและสนับสนุนการดําเนินงานของ สคร. รัฐวิสาหกิจ และผู้เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งการจัดสัมมนาชี้แจงการประเมินตามระบบ SEPA ต่อรัฐวิสาหกิจ ๑ ครั้ง และจัดอบรม เพื่อสนับสนุนการดําเนินการตามระบบ SEPA แก่รัฐวิสาหกิจ สคร. และผู้เกี่ยวข้องเป็นจํานวนไม่น้อยกว่า ๒ ครั้ง ตามที่ สคร. เห็นชอบ
๓) ที่ปรึกษาต้องจัดให้มีผู้xxxxxxงานกลาง ๑ คน ซึ่งมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการประเมิน เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ และมีความรู้เป็นอย่างดีเกี่ยวกับระบบ SEPA เพื่อทําหน้าที่รับผิดชอบในการติดตาม สนับสนุน และดูแลการดําเนินงานตามระบบ SEPA ของรัฐวิสาหกิจ ให้การดําเนินงานสําเร็จลุล่วงด้วยดี
๔) สนับสนุนค่าตอบแทนการประชุมแก่คณะอนุกรรมการจัดทําบันทึกข้อตกลงฯ เป็นรายรัฐวิสาหกิจ ครั้งละไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท ต่อคน หรือไม่เกิน ๓๐,๐๐๐ บาท ต่อคน ต่อปี
๕) สนับสนุนในการจัดทําข้อมูลผลการประเมินของรัฐวิสาหกิจที่รับผิดชอบให้แก่ สคร. เพื่อพิจารณาตัดสินรางวัลรัฐวิสาหกิจxxxxxxประจําปี
๖) ดําเนินการอื่นใดในส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบประเมินผลการดําเนินงานรัฐวิสาหกิจ
ตามที่ สคร. เห็นควร
๔. การส่งมอบงาน
ที่ปรึกษา จะต้องส่งมอบงานประจําปี ๒๕๕๙ ดังต่อไปนี้
รายการ | กําหนดการส่งมอบ |
๑) แผนการดําเนินงานตามระบบ SEPA ประจําปี (ตาม TOR ข้อ ๕.๑) จํานวนแห่งละ ๑๐ ชุด และจัดทําในรูปแบบซีดีรอม ๑ ชุด | ภายใน ๑๕ วัน นับถัดจาก วันลงนามในสัญญาxxxxฯ |
๒) รายงานความเห็นของที่ปรึกษาต่อร่างบันทึกข้อตกลงประเมินผล การดําเนินงานรัฐวิสาหกิจ (Pre Position Paper) เป็นรายแห่งใน | - ภายใน ๓๐ วัน นับถัดจาก วันลงนามในสัญญาxxxxฯ |
รายการ | กําหนดการส่งมอบ |
ความรับผิดชอบ (ตาม TOR ข้อ ๕.๒) จํานวนแห่งละ ๑๕ ชุด และจัดทํา ในรูปแบบซีดีรอม ๑ ชุด (ทั้งนี้ หากรัฐวิสาหกิจไม่xxxxxxนําส่งร่างตัวชี้วัด น้ําหนัก และเป้าหมายใน การประเมินผลฯ ให้แก่ที่ปรึกษาได้ตามกําหนดเวลา ให้ที่ปรึกษาจัดทําเป็น หนังสือชี้แจงเป็นรายกรณี) | (รัฐวิสาหกิจปีงบประมาณ) - ภายใน ๓๐ วัน นับถัดจาก รัฐวิสาหกิจส่งร่างตัวชี้วัด น้ําหนัก และเป้าหมาย ในการประเมินผลฯ (รัฐวิสาหกิจปีปฏิทิน) |
๓) ร่างรายงานความเห็นของที่ปรึกษาต่อร่างบันทึกข้อตกลงฯ ซึ่งได้รับ การพิจารณาจากคณะอนุกรรมการจัดทําบันทึกข้อตกลงฯ (Position Paper) (ตาม TOR ข้อ ๕.๓) จํานวนแห่งละ ๑๕ ชุด และจัดทําในรูปแบบซีดีรอม ๑ ชุด | ภายใน ๑๕ วัน นับถัดจาก การประชุมพิจารณาร่าง บันทึกข้อตกลงฯ โดย คณะอนุกรรมการจัดทํา บันทึกข้อตกลงฯ (ประชุม PPP) |
๔) รายงานการประเมินผลการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจ (Performance Report) (ตาม TOR ข้อ ๕.๔) จํานวนแห่งละ ๓๕ ชุด และจัดทําในรูปแบบ ซีดีรอม ๑ ชุด | ภายใน ๓๐ วัน นับถัดจาก ผู้แทนฝ่ายรัฐวิสาหกิจ ลงนามในบันทึกข้อตกลง ประเมินผลการดําเนินงาน รัฐวิสาหกิจ ประจําปี ๒๕๕๙ และส่งบันทึก ข้อตกลงฯ กลับxxxxx สคร. |
๕) รายงานสรุปผลการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจรายครึ่งปี (ตาม TOR ข้อ ๕.๕) แยกเป็นรายแห่ง จํานวนแห่งละ ๒๐ ชุด และจัดทําในรูปแบบ ซีดีรอม ๑ ชุด | - ภายในเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๙ (รัฐวิสาหกิจปีงบประมาณ) - ภายในเดือนสิงหาคม ๒๕๕๙ (รัฐวิสาหกิจปีปฏิทิน) |
รายการ | กําหนดการส่งมอบ |
๖) รายงานผลการประเมินตามระบบ SEPA ของรัฐวิสาหกิจ (Feedback Report) (ตาม TOR ข้อ ๕.๖) แยกเป็นรายแห่ง จํานวนแห่งละ ๓๐ ชุด และ จัดทําในรูปแบบซีดีรอม ๑ ชุด | ภายใน ๖๐ วัน นับถัดจาก รัฐวิสาหกิจส่งรายงานผล การดําเนินงานองค์กร (OPR) และรายงานประเมิน ตนเอง (SAR) ประจําปี ๒๕๕๙ |
๗) ร่างรายงานสรุปผลการดําเนินงานประจําปีของรัฐวิสาหกิจ และบทสรุป ผู้บริหาร (Executive Summary) (ตาม TOR ข้อ ๕.๗) แยกเป็นรายแห่ง จํานวนแห่งละ ๗๐ ชุด และจัดทําในรูปแบบซีดีรอม ๑ ชุด | - ภายในเดือนธันวาคม ๒๕๕๙ (รัฐวิสาหกิจปีงบประมาณ) - ภายในเดือนมีนาคม ๒๕๖๐ (รัฐวิสาหกิจปีปฏิทิน) |
๘) รายงานสรุปผลการดําเนินงานประจําปีของรัฐวิสาหกิจ (ตาม TOR ข้อ ๕.๘) แยกเป็นรายแห่ง จํานวน ๒๐ ชุด และจัดทําในรูปแบบซีดีรอม ๑ ชุด | ภายใน ๗ วันนับถัดจาก คณะกรรมการประเมินผลฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบ ผลการประเมินฯ |
๙) รายงานสรุปผลการวิเคราะห์ผลดําเนินงานประจําปีของรัฐวิสาหกิจ พร้อมข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ (State Enterprise Evaluation: SEE) (ตาม TOR ข้อ ๕.๙) แยกเป็นรายแห่ง รายสาขา และภาพรวม จํานวน ๑๕ ชุด และจัดทําในรูปแบบซีดีรอม ๑ ชุด | ภายในเดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ |
๑๐) จัดสัมมนาชี้แจงการประเมินตามระบบ SEPA ต่อรัฐวิสาหกิจ ๑ ครั้ง และ อบรมเพื่อสนับสนุนการดําเนินการตามระบบ SEPA แก่รัฐวิสาหกิจ สคร. และ ผู้เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า ๒ ครั้ง | ภายในเดือนกันยายน ๒๕๕๙ |
๕. ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายงาน
๕.๑ ที่ปรึกษาต้องจัดทําแผนการดําเนินงานประจําปีโดยละเอียด ซึ่งมีเนื้อหาอย่างน้อย คือ แผนการดําเนินงานแบบแยกรายxxxxxxxxxxดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจและผู้เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอน พร้อมทั้งระบุวัน และเวลาการประชุม ที่มีการนัดหมายล่วงหน้าเบื้องต้นกับผู้ที่เกี่ยวข้อง
๕.๒ ที่ปรึกษาต้องจัดทํารายงานความเห็นของที่ปรึกษาต่อร่างบันทึกข้อตกลงประเมินผล การดําเนินงานรัฐวิสาหกิจ (Pre Position Paper) เป็นรายแห่งในความรับผิดชอบ โดยเป็นความเห็นต่อตัวชี้วัด น้ําหนัก เป้าหมายในการประเมินผลการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจ พร้อมทั้งรายงานสรุปเชิงวิเคราะห์ทาง การเงิน สภาพข้อเท็จจริง ปัญหา ข้อเสนอแนะ และผลการประเมินตนเองตามระบบ SEPA แยกเป็นรายแห่ง ในความรับผิดชอบ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานของคณะอนุกรรมการจัดทําบันทึกข้อตกลงฯ สคร. และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ข้อมูลที่นําเสนอจะต้องครอบคลุมถึงแนวทางการกําหนดตัวชี้วัดและxxxxxxxxxxxxxxxxxเทียบเคียง กับมาตรฐานอุตสาหกรรม (Benchmark) หรือการพัฒนาตนเอง (Self-Improvement) ของรัฐวิสาหกิจนั้นๆ
๕.๓ ที่ปรึกษาต้องจัดทําร่างรายงานความเห็นของที่ปรึกษาต่อร่างบันทึกข้อตกลงฯ ซึ่งได้รับ การพิจารณาจากคณะอนุกรรมการจัดทําบันทึกข้อตกลงฯ (Position Paper) ภายหลังการประชุมคณะอนุกรรมการ จัดทําบันทึกข้อตกลงฯ สคร. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการหารือตัวชี้วัด น้ําหนัก และเป้าหมายใน การประเมินผลการดําเนินงานฯ ร่วมกับกระทรวงเจ้าสังกัด และ/หรือผู้แทนรัฐวิสาหกิจ
๕.๔ ที่ปรึกษาต้องจัดทํารายงานการประเมินผลการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจ (Performance Report) แยกเป็นรายแห่ง ตามรูปแบบที่ สคร. กําหนด และต้องจัดทํารายงานฐานข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ จัดทํารายงานการประเมินผลการดําเนินงานประจําปีของรัฐวิสาหกิจในรูปแบบซีดีรอม ๑ ชุด ส่งมอบพร้อม รายงานดังกล่าวด้วย
๕.๕ ที่ปรึกษาต้องจัดทํารายงานสรุปผลการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจรายครึ่งปี แยกเป็นรายแห่ง ทั้งนี้ หากยังไม่มีการลงนามในบันทึกข้อตกลงฯ ที่ปรึกษาxxxxxxใช้ข้อมูลตามร่างตัวชี้วัดล่าสุดในการจัดทํา รายงานดังกล่าวได้
๕.๖ ที่ปรึกษาต้องจัดทํารายงานผลการประเมินตามระบบ SEPA ของรัฐวิสาหกิจ (Feedback Report) และผลประเมิน และต้องจัดทําแบบฟอร์มตรวจประเมินองค์กร (Assessment Worksheet) ในรูปแบบ ซีดีรอม ๑ ชุด ตามรูปแบบที่ สคร. กําหนด ส่งมอบพร้อมรายงานดังกล่าวด้วย โดยมีกระบวนการประเมินและ เนื้อหาที่เป็นมาตรฐาน และมีการจัดเก็บหลักฐานการให้คะแนนเพื่อใช้อ้างอิงได้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง เข้าร่วม ชี้แจงประเด็นจากการประเมินตามระบบ SEPA ต่อรัฐวิสาหกิจตามที่ สคร. กําหนด
๕.๗ ที่ปรึกษาต้องจัดทําร่างรายงานสรุปผลการดําเนินงานประจําปีของรัฐวิสาหกิจ ซึ่งมีข้อมูล ครอบคลุมในทุกหัวข้อของการประเมินผลฯ โดยผลการประเมินในส่วนกระบวนการต้องเป็นไปตามเกณฑ์ประเมิน รัฐวิสาหกิจกลุ่ม BB ในระยะที่ ๒ xxxxxxรับความเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการกํากับดูแลฯ และในส่วนของผลลัพธ์ จะต้องมีการวิเคราะห์สภาพข้อเท็จจริง ปัญหา/อุปสรรค ในการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจ วิเคราะห์เปรียบเทียบ ข้อมูลกับมาตรฐานอุตสาหกรรม (Benchmark) และผลการดําเนินงานที่ผ่านมาของรัฐวิสาหกิจ พร้อมข้อเสนอแนะ แยกเป็นรายแห่ง และต้องผ่านการเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการจัดทําบันทึกข้อตกลงฯ มาเรียบร้อยแล้ว และ บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) ตามรูปแบบที่ สคร. กําหนด ทั้งนี้ เพื่อนําเสนอต่อคณะกรรมการ ประเมินผลฯ
๕.๘ หลังจากที่มีการประชุมคณะกรรมการประเมินผลฯ เพื่อพิจารณาผลการประเมินประจําปี ของรัฐวิสาหกิจ ที่ปรึกษาจะต้องปรับตามข้อสังเกตและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินผลฯ (ถ้ามี) และจัดทําเป็นรายงานสรุปผลการดําเนินงานประจําปีของรัฐวิสาหกิจ โดยมีผลการประเมินตามระบบ SEPA การวิเคราะห์สภาพข้อเท็จจริง ปัญหา/อุปสรรคในการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจ วิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลกับ มาตรฐานอุตสาหกรรม (Benchmark) พร้อมทั้งจัดทําสรุปประเด็นข้อxxxxxxxxxได้จากการประเมินผลฯ แยกเป็น รายแห่ง เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการนําส่งผลการประเมินประจําปีให้แก่รัฐวิสาหกิจ และจัดทําสรุปประเด็น สําคัญxxxxxxจากการประเมินผลประจําปีของรัฐวิสาหกิจในภาพรวม
๕.๙ ที่ปรึกษาต้องร่วมกับที่ปรึกษาเพื่อสนับสนุนการประเมินผลการดําเนินงานตามระบบประเมิน คุณภาพรัฐวิสาหกิจ ประจําปีบัญชี ๒๕๕๙ สําหรับรัฐวิสาหกิจกลุ่ม A และ BA และที่ปรึกษาเพื่อสนับสนุนการ ประเมินผลการดําเนินงานรัฐวิสาหกิจตามระบบปัจจุบัน ประจําปีบัญชี ๒๕๕๙ จัดทํารายงานสรุปผลการวิเคราะห์ ผลดําเนินงานประจําปีของรัฐวิสาหกิจพร้อมข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ (State Enterprise Evaluation : SEE) แยกเป็นรายแห่ง รายสาขา และภาพรวม ตามรูปแบบที่ สคร. เห็นชอบ
๖. คุณสมบัติของที่ปรึกษา
สคร. มีความxxxxxxxจะxxxxxxxปรึกษาที่มีความรู้ ความชํานาญและความxxxxxxในการประเมินผล การดําเนินงาน ดังนั้น ที่ปรึกษาดังกล่าวจะต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
๖.๑ เป็นนิติบุคคลซึ่งมีบุคลากรที่มีประสบการณ์และความชํานาญในการประเมินผล การดําเนินงาน และมีความรู้ความเข้าใจในระบบ SEPA PDCA และ/หรือการประเมินในแนวทางที่ใกล้เคียงกับระบบทั้งสอง
๖.๒ เป็นนิติบุคคลที่จดทะเบียนกับศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทยของกระทรวงการคลัง
๖.๓ ในกรณีเป็นนิติบุคคลร่วมทุน แต่ละนิติบุคคลจะต้องมีบุคลากรที่มีประสบการณ์ หรือมี ความชํานาญในการประเมินผลการดําเนินงาน
๖.๔ ต้องไม่เป็นนิติบุคคลที่เป็นที่ปรึกษาของรัฐวิสาหกิจในความรับผิดชอบที่มีลักษณะ ในการให้คําปรึกษาxxxxเดียวกับงานที่จะxxxxxxxปรึกษา (Terms of Reference) หรืองานxxxxxxส่งผลกระทบ ต่อกระบวนการจัดทําบันทึกข้อตกลงฯ ในปีนั้นๆ
๖.๕ บุคคลหรือนิติบุคคลที่จะเข้าเป็นคู่สัญญาต้องไม่อยู่ในฐานะเป็นผู้ไม่แสดงบัญชีรายรับ รายจ่าย หรือแสดงบัญชีรายรับรายจ่ายไม่ถูกต้องครบถ้วนในสาระสําคัญ
๖.๖ บุคคลหรือนิติบุคคลที่จะเข้าเป็นคู่สัญญากับหน่วยงานของรัฐซึ่งได้ดําเนินการจัดซื้อxxxxxxx ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government Procurement : e-GP) ต้องลงทะเบียนในระบบอิเล็กทรอนิกส์ของ กรมบัญชีกลางที่เว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลจัดซื้อxxxxxxxภาครัฐ
๖.๗ คู่สัญญาต้องรับจ่ายเงินผ่านบัญชีธนาคาร เว้นแต่การรับจ่ายเงินแต่ละครั้งซึ่งมีxxxxxx ไม่เกินสามหมื่นบาทxxxxxxxxxxxรับจ่ายเงินสดก็ได้
๗. ข้อกําหนดเกี่ยวกับเอกสารข้อเสนอ
ที่ปรึกษาจะต้องเสนอข้อมูลการให้บริการที่สําคัญ ดังนี้
๗.๑ ข้อเสนอด้านเทคนิค (Technical Proposal) ประกอบด้วย รายละเอียดอย่างน้อย
ดังต่อไปนี้
(๑) ประสบการณ์และผลงานของที่ปรึกษา และของนิติบุคคลร่วมทุน (ถ้ามี)
(๒) ประวัติ ประสบการณ์ และผลงานของบุคลากร สําหรับดําเนินงานโครงการฯ
พร้อมทั้ง แผนการดําเนินโครงการฯ (Project Organization Chart)
(๓) ข้อเสนอทางเทคนิคในการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย
▪ ข้อเสนอ/แนวทางและวิธีการในการดําเนินงานโครงการฯ (Approach and Methodology) เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าคุณภาพงานจะอยู่ในระดับมาตรฐานสูงสุด
▪ แผนงานในการดําเนินงานโครงการ (Work Plan)
▪ แผนภูมิแสดงระยะเวลาการปฏิบัติงานของบุคลากร (Work Schedule)
▪ ข้อเสนอรายชื่อที่ปรึกษาหลักและผู้รับผิดชอบในฐานะนักวิเคราะห์
ในการดําเนินงาน
๗.๒ ข้อเสนอด้านราคา (Price Proposal) รวมภาษีทุกชนิดเป็นแบบ Lump sum
มีรายละเอียดราคาแยกเป็นรายแห่งด้วย ทั้งนี้ จะต้องมีรายละเอียดอย่างน้อย ดังนี้
(๑) จํานวนคน-วัน และอัตราค่าxxxxบุคลากรทั้งหมด โดยแยกรายละเอียดแสดงอัตรา เงินเดือน ทั้งนี้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ราคาxxxxxxxxxxxxxxปรึกษา และค่าใช้จ่ายบุคลากรอื่นๆ ในแต่ละรายการ ตามสิ่งส่งมอบตามข้อ ๕ และข้อเสนออื่นๆ
(๒) ค่าใช้จ่ายอื่นๆ xxxx ค่าวัสดุอุปกรณ์ ค่าสัมมนา
(๓) ยอดรวมข้อเสนอราคาค่าxxxxรวมภาษีอากรจะต้องเป็นราคาเดียว
๗.๓ การยื่นเอกสารข้อเสนอ
ที่ปรึกษาต้องนําส่งเอกสารข้อเสนอด้านเทคนิคต้นฉบับจํานวน ๑ ชุด สําเนาจํานวน ๕ ชุด และข้อเสนอด้านราคาต้นฉบับจํานวน ๑ ชุด สําเนาจํานวน ๕ ชุด พร้อมกัน (และจัดทําในรูปแบบซีดีรอม ๑ ชุด) โดยแยกข้อเสนอทั้ง ๒ ด้านดังกล่าวออกเป็น ๒ ซอง โดยส่งถึงเลขานุการคณะกรรมการดําเนินการxxxxxxxปรึกษา เพื่อสนับสนุนการประเมินผลการดําเนินงานรัฐวิสาหกิจ สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ อาคารธนาคาร พัฒนาวิสาหกิจxxxxxxxxและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ชั้น ๓ เลขที่ ๓๑๐ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสน เขตพญาไท กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๒๙๘-๕๘๘๐-๗ ต่อ ๒๑๒๖
xxxxxxx xxxปรึกษาที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามขอบเขตโดยละเอียดของงานที่จะxxxxxxxปรึกษา จะต้องนําเสนอ รายละเอียดของงานที่ปรึกษาต่อคณะกรรมการดําเนินการxxxxฯ ในวัน เวลา ตามที่คณะกรรมการดําเนินxxxxฯ กําหนด โดยxxxxxxให้ทราบในภายหลัง
๘. ข้อเสนออื่น ๆ
ที่ปรึกษาอาจเสนอการสนับสนุนที่เป็นประโยชน์ต่อการxxxxxประสิทธิภาพในการกํากับดูแล รัฐวิสาหกิจแก่ สคร.
๙. การพิจารณาข้อเสนอ
สคร. โดยคณะกรรมการดําเนินการxxxxฯ จะพิจารณาตามแนวทางที่กําหนดในxxxxxxx สํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยจะพิจารณาข้อเสนอจากผู้ที่ยื่น ข้อเสนอด้านเทคนิคxxxxxที่สุดก่อน จึงพิจารณาข้อเสนอด้านราคา
ผลการพิจารณาตัดสินของคณะกรรมการดําเนินการxxxxฯ ถือเป็นเด็ดขาด ผู้เสนอราคาจะฟ้องร้อง หรือเรียกร้องค่าเสียหายใดๆ xxxxxxทั้งสิ้น และคณะกรรมการดําเนินการxxxxฯ ขอxxxxxxxxxไม่ต้องช้ีแจง เหตุผลใดๆ สําหรับการรับหรือไม่รับข้อเสนอของผู้ยื่นข้อเสนอรายใด
๑๐. ความช่วยเหลือต่างๆ ที่ สคร. และรัฐวิสาหกิจจะให้แก่ที่ปรึกษา มีดังนี้
๑๐.๑ จัดหารายละเอียดและข้อมูลต่างๆ ที่จําเป็นและเกี่ยวข้องกับการประเมินผลฯ
๑๐.๒ จัดบุคลากรเข้าร่วมxxxxxxงานโครงการตามความเหมาะสม
๑๑. วิธีการจ่ายค่าxxxx
วิธีการจ่ายค่าxxxxประจําปี ๒๕๕๙
ในการจ่ายค่าxxxxจะมีงวดการชําระเงิน แบ่งเป็น ๓ งวด แต่ละงวดจะถึงกําหนดชําระ ตามที่กําหนดไว้ในสัญญา และเมื่อผู้xxxxxxxxxxตรวจรับมอบงานประจําปี ๒๕๕๙ ประจํางวด รวมxxxxxxxรับใบเรียก เก็บเงินจากที่ปรึกษาแล้ว ดังนี้
งวดที่ ๑ | เมื่อที่ปรึกษา จัดส่งงาน ตามการส่งมอบงานข้อ ๑) ๒) และ ๓) แล้วเสร็จ (จํานวนร้อยละ ๓๐ ของเงินค่าxxxx) |
งวดที่ ๒ | เมื่อที่ปรึกษา จัดส่งงาน ตามการส่งมอบงาน ๔) และ ๕) แล้วเสร็จ (จํานวนร้อยละ ๒๕ ของเงินค่าxxxx |
งวดที่ ๓ | เมื่อที่ปรึกษา จัดส่งงาน ตามการส่งมอบงานข้อ ๖) ๗) ๘) ๙) และ ๑๐) พร้อมทั้งดําเนินการ ตามข้อเสนออื่นๆ ของที่ปรึกษาแล้วเสร็จ (จํานวนร้อยละ ๔๕ ของเงินค่าxxxx) |