ข้อสังเกต ข้อกำหนดตัวอย่าง

ข้อสังเกต. (๑) “หนี้ที่ประกัน” ตาม (๑) หมายถึง หนี้ประธาน โดยมีเหตุที่ทำให้หนี้ประธานระงับ สิ้นไปมีอยู่ ๕ เรื่อง คือ (๑.๑) มีการชำระหนี้ประธานทั้งหมด (๑.๒) เจ้าหนี้ปลดหนี้ (มาตรา ๓๔๐) (๑.๓) มีการหักกลบลบหนี้ (มาตรา ๓๔๑-๓๔๘) (๑.๔) มีการแปลงหนี้ใหม่ (มาตรา ๓๔๙-๓๕๒) (๑.๕) หนี้เกลื่อนกลืนกัน (มาตรา ๓๕๓) (๒) กรณีที่สัญญาจำนองประกันหนี้ประธานเพียงบางส่วน ผู้จำนองอาจขอชำระหนีเฉพาะตามความรับผิดของตนและเจ้าหนี้ต้องปลดจำนองให้ตามมาตรา ๗๔๔ (๒) ถ้าลูกหนี้ขอชำระหนี้ไม่ครบถ้วน เจ้าหนี้ก็มีสิทธิบอกปัดการชำระหนี้หรือรับชำระหนี้นั้นแต่ไม่ยอมจดทะเบียนไถ่ถอนจำนองให้เพราะสัญญาจำนองยังไม่ระงับ (๓) เมื่อเจ้าหนี้ฟ้องบังคับให้ลูกหนี้ชำระหนี้ประธานและได้รับชำระหนี้ครบถ้วนแล้ว เจ้าหนี้มีหน้าที่จดทะเบียนไถ่ถอนจำนองทรัพย์สินที่จำนองเป็นประกันหนี้นั้น (๔) หนี้ประธานที่ขาดอายุความไม่ทำให้หนี้จำนองระงับ กล่าวคือ เมื่อหนี้ประธานขาดอายุความแล้ว ผู้จำนองยังคงต้องรับผิดตามสัญญาจำนองตามมาตรา ๗๔๕ และมาตรา ๑๙๓/๒๗ ซึ่งแตกต่างจากผู้ค้ำประกันที่มีสิทธิตามมาตรา ๖๙๔ ที่จะยกข้อต่อสู้ของลูกหนี้ชั้นต้นขึ้นต่อสู้เจ้าหนี้ได้ (ต่อสู้ว่าหนี้ขาดอายุความ) ซึ่งมีผลให้ผู้ค้ำประกันไม่ต้องรับผิดในหนี้นั้น ๒.
ข้อสังเกต. (๑) ทำสัญญาจำนองระบุเงินไว้ตรงตัวแน่นอนแล้ว ผู้จำนองจะมาขอเปลี่ยนแปลงแก้ไขจำนวนเงินจำนองไม่ได้ (๒) สัญญาจำนองที่ไม่ได้ระบุจำนวนเงินจำนองให้ถูกต้องตามมาตรา ๗๐๘ (มีจำนวนเงินระบุไว้เป็นเรือนเงินไทยเป็นจำนวนแน่ตรงตัว หรือจำนวนขั้นสูงสุดที่ได้เอาทรัพย์สินจำนองนั้นตราไว้เป็นประกัน) จะเป็นโมฆะ ๓. ข้อความในสัญญาจำนองที่ไม่มีผลบังคับ ๓.๑ ตกลงให้ผู้รับจำนองเข้าเป็นเจ้าของทรัพย์สินซึ่งจำนอง การที่จะตกลงกันไว้เสียแต่ก่อนเวลาหนี้ถึงกำหนดชำระเป็นข้อความอย่างใดอย่างหนึ่งว่า ถ้าไม่ชำระหนี้ ให้ผู้รับจำนองเข้าเป็นเจ้าของทรัพย์สินซึ่งจำนอง หรือว่าให้จัดการแก่ทรัพย์สินนั้นเป็นประการอื่นอย่างใดนอกจากตามบทบัญญัติทั้งหลายว่าด้วยการบังคับจำนองนั้นไซร้ ข้อตกลงเช่นนั้นไม่สมบูรณ์ (มาตรา ๗๑๑) ๓.๒ ตกลงห้ามมิให้เอาทรัพย์สินซึ่งจำนองไปจำนำซ้ำ แม้มีข้อสัญญาเป็นอย่างอื่นก็ตาม ทรัพย์สินซึ่งจำนองไว้แก่บุคคลคนหนึ่งนั้น จะเอาไปจำนองแก่บุคคลอีกคนหนึ่งในระหว่างเวลาที่สัญญาก่อนยังมีอายุอยู่ก็ได้ (มาตรา ๗๑๒) สิทธิจำนองครอบเพียงใด ๑.
ข้อสังเกต. ๑. สกญญำน่ทน ำาึ้นัล็นนัขำ ขกกฎณ์อกกฎสตวอาำค้วสกญญำไดแา่กำสทกแไาลพกทาลตกาดแย ยำจำทขแย ในักำส็สะชนาสวยากกนัมสือตำาน่ทไดแพ้ดคน กกนันำาโนสศกพน์ มสือในัพฤตกกำสณ์อืทนัใด กำสา่าแอสกญญำยวำดแย กำสทกแไาลพกทาลตกาสกญญำจะล็นนักำส็้อากกนัากใมแลกกดกำสถกลถ่ ากกนัยวำกำสทกแไาลพกทาลตกาดแย ยำจำทขแย ในักำส็สะชนาสวยากกนัมสือตำาน่ทไดแพ้ดคน กกนันำาโนสศกพน์ มสือในัพฤตกกำสณ์อืทนัใดนัก้นัจะถือล็นนักำสทกแไาสกญญำมสือไาว ซึทาาแอสกญญำยวำดแย กำสทกแไาลพกทาลตกาสกญญำากกจะลา่ นัยวำ “กำสทกแไาลพกทาลตกาสกญญำฉสกสนั่้ไาวถือยวำาู่ขู้กพกนั ลยแนัทตวจะไดแน ำล็นนัขำ ขกกฎณ์อกกฎสทขะขาขำ าือชืทอาอาค้วสกญญำนก้าสอาฝ่ำ ”
ข้อสังเกต. (๑) คำบอกกล่าวเลิกสัญญาจะทำเป็นหนังสือหรือทำด้วยวาจาก็ได้ (๒) คำบอกกล่าวมีผลเมื่อไปถึงเจ้าหนี้ โดยเจ้าหนี้จะรู้หรือไม่หรือจะอนุมัติหรือไม่ก็ตาม ไม่ใช่สาระสำคัญของการบอกเลิกสัญญา (๓) การบอกเลิกสัญญาตามมาตรา ๖๙๙ ไม่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน เจ้าหนี้และผู้ค้ำประกันจะทำสัญญไว้เป็นอย่างอื่นว่าห้ามบอกกล่าวหรือจะบอกเลิกสัญญาได้ต้องมีเงื่อนไขตามที่กำหนดไว้ก็ได้ (๔) ถ้าไม่เข้ากรณีตามมาตรา ๖๙๙ แล้ว ผู้ค้ำประกันไม่มีสิทธิบอกเลิกสัญญาค้ำประกัน ๓. เจ้าหนี้ผ่อนเวลาให้แก่ลูกหนี้ “มาตรา ๗๐๐ ถ้าค้ำประกันหนี้อันจะต้องชำระ ณ เวลามีกำหนดแน่นอน และเจ้าหนี้ยอมผ่อนเวลาให้แก่ลูกหนี้ไซร้ ท่านว่าผู้ค้ำประกันย่อมหลุดพ้นจากความรับผิด แต่ถ้าผู้ค้ำประกันได้ตกลงด้วยในการผ่อนเวลา ท่านว่าผู้ค้ำประกันหาหลุดพ้นจากความรับผิดไม่” หลักเกณฑ์ที่ผู้ค้ำประกันจะพ้นความรับผิดเนื่องจากเจ้าหนี้ผ่อนเวลาให้แก่ลูกหนี้มี ๒ ประเภท คือ ๓.๑ เป็นหนี้ที่มีกำหนดเวลาชำระหนี้แน่นอน ถ้าหนี้ไม่มีกำหนดเวลาชำระหนี้แน่นอน แม้เจ้าหนี้ผ่อนเวลาให้แก่ลูกหนี้ ผู้ค้ำประกันก็ไม่หลุดพ้นจากความรับผิด ๓.๒ เจ้าหนี้ผ่อนเวลาให้แก่ลูกหนี้ แต่ถ้าผู้ค้ำประกันตกลงด้วยในการผ่อนเวลา ผู้ค้ำประกันไม่หลุดพ้นจากความรับผิด โดยอาจจะตกลงไว้ในสัญญาค้ำประกันหรือตกลงภายหลังก็ได้
ข้อสังเกต. สกนิกมนัแำน่ทาอาค้วสกญญำตแอาสอดคขแอากกสกหมาำ ทขะสะลส่ สสกฐสาำยวำดแย กำสพกสดน พ.ศ. ๒๕๕๕ ็สะกอสกกสสะลส่ สส ำนักกนัำ กสกฐานัตส่ยวำดแย กำสพกสดน พ.ศ. ๒๕๓๕ ทขะน่ททกแไาลพกทาลตกา
ข้อสังเกต. ๑. กำสก ำมนัดจ ำนัยนัควำ็สกสตวอยกนัาอานก้ากสณ่ซื้อาำ ทขะกสณ่าำนัจแำายวำคยสล็นนัจ ำนัยนัลนวำใด อ ้วในัดนขพกนักจาอามกยมนัแำสวยนัสำชกำส โด ใมแค ำนัึาถึาสำคำทขะขกกฎณะาอาพกสดนซึทาอำจาู่ขกสะนสตวอ กำสน่ทค้วสกญญำาอานำาสำชกำสจะมข่กลข่ท าไาว็ฏกสกตกตำาสกญญำ มสือกสะนสตวอคยำาลส่ มำ าอาสำชกำส
ข้อสังเกต. กฎหมายไม่ได้ห้ามยกขึ้นต่อสู้กันเองระหว่างผู้จำนองและผู้รับจำนอง ห้ามเฉพาะมิให้ยกขึ้นต่อสู้บุคคลภายนอก จำนำ ภาพรวมของจำนำ ๑. จำนำเป็นสัญญาระหว่างผู้จำนำกับผู้รับจำนำ โดยผู้จำนำต้องส่งมอบทรัพย์สินที่จำนำให้แก่ผู้รับจำนำเพื่อเป็นหระกันการชำระหนี้ ๒. ผู้จำนำอาจเป็นลูกหนี้หรือบุคคลที่สามก็ได้ ๓. ลูกหนี้ผิดนัดไม่ชำระหนี้ เจ้าหนี้ได้แต่เพียงบังคับทรัพย์จำนำขายทอดตลาดโดยไม่ต้องฟ้องคดีต่อศาล แต่จะฟ้องให้ผู้จำนำซึ่งเป็นบุคคลสามชำระหนี้ไม่ได้ ๔. เจ้าหนี้ขายทอดตลาดแล้วได้เงินมาไม่พอชำระหนี้ ลูกหนี้ชั้นต้นยังต้องรับผิดในหนี้ที่ยังเหลืออยู่ ส่วนผู้จำนำซึ่งเป็นบุคคลที่สามไม่ต้องรับผิดอีกต่อไป ๕. สัญญาจำนำไม่ต้องทำเป็นหนังสือหรือมีหลักฐานเป็นหนังสือ แต่การจำนำจะต้องส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ผู้รับจำนำเป็นสำคัญ ๖. เจ้าหนี้ยอมให้ทรัพย์สินจำนำกลับคืนไปสู่การครอบครองของผู้จำนำ สัญญาจำนำย่อมระงับไป ผู้จำนำไม่ต้องรับผิดอีกต่อไป แต่ลูกหนี้ยังคงต้องรับผิดตามมูลหนี้ประธาน ลักษณะของสัญญาจำนำ มาตรา ๗๔๗ อันว่าจำนำนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียว่าผู้จำนำส่งมอบสังหาริมทรัพย์สิ่งหนึ่งให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่าผู้รับจำนำ เพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ ๑. ทรัพย์สินที่จำนำต้องเป็นสังหาริมทรัพย์ ๒. ต้องส่งมอบทรัพย์สินที่จำนำแก่ผู้รับจำนำเพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ ๓. หนี้ตามสัญญาจำนำเป็นหนี้อุปกรณ์ ๔. ผู้จำนำต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สินที่จำนำ
ข้อสังเกต. ายทอดตลาดทรัพยท ีจานาก็ยอมทาไดไ มมีอะไรหา้ ม
ข้อสังเกต. มีข้อยกเว้น ในเรื่องความสําคัญผิดในตัวบุคคลอยู่ 1 อย่าง คือความสําคัญผิดในตัวบุคคลที่เป็นคู่สมรส ซึ่งกรณีการสมรสดังกล่าว แม้สําคัญผิดในตัวบุคคลที่เป็นคู่สมรส นิติกรรมนั้นก็ไม่ตกเป็นโมฆะ เพียงตกเป็น --- ในอนาคตคดีขาดอายุความ นับระยะเวลาผิด ฟ้องผิด แบบนี้ อย่าหาทํา !!!! คํานวณก่อนดีๆ ช้าๆ - หลักกฎหมายที่ให้คํานวณเป็นวัน และ ข้อยกเว้น (มาตรา 193/2) - ความหมายของคําว่าวัน (มาตรา 193/4)
ข้อสังเกต. ถ้าเดือนสุดท้ายต้นเดือนกุมภาพันธ์ ให้ถือเอาวันสุดท้ายของเดือนกุมภาพันธ์เป็นวันสิ้นสุด ซึ่งอาจจะตรงกับวันที่ 28 หรือ 29 ของเดือนกุมภาพันธ์ก็ได้ ขึ้นอยู่กับปีปฏิทินนั้น ถ้าเดือนสุดท้าย ลงท้ายด้วย ยน จะมี 30 วัน ซึ่งก็ให้ถือเอาวันสุดท้ายของเดือนนั้น เป็นวันสิ้นสุดระยะเวลา