1.4 เป้าหมายของผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) และตัวชี้วัด 5
สัญญาเลขที่ RDC6010006
รายงานวิจัยฉบับxxxxxxx
โครงการ “แผนงานxxxxxxxxและสนับสนุนการวิจัยที่มุ่งเป้าตอบxxxx ความต้องการในการพัฒนาประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน”
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.xxxxxดา ชวนวัน และคณะ
พฤษภาคม 2563
รายงานวิจัยฉบับxxxxxxx
โครงการ “แผนงานxxxxxxxxและสนับสนุนการวิจัยที่มุ่งเป้าตอบxxxx ความต้องการในการพัฒนาประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน”
คณะผู้วิจัย สังกัด
1.ผู้xxxxxxxxxxxxxxx xx.xxxxxxx xxxxxx สถาบันวิจัยประชากรและสังคม
มหาวิทยาลัยxxxxx
2.ดร.xxxxxxxxx xxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxราชภัฎxxxxxxxxx
3.xxxxxxxxxxxxx xxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxและสังคม มหาวิทยาลัยxxxxx
สนับสนุนโดยสํานักงานคณะกรรมการxxxxxxxxวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
(ความเห็นในรายงานนี้เป็นของผู้วิจัย สกสว. ไม่จําเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป)
กิตติกรรมประกาศ
สํานักงานคณะกรรมการxxxxxxxxวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ฝ่ายนโยบายชาติและ ความxxxxxxxxข้ามชาติ ขอขอบคุณสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) xxxxxxร่วมพิจารณา ติดตาม และประเมินผลแผนงานการวิจัยมุ่งเป้าตอบxxxxความต้องการในการพัฒนาประเทศ: กลุ่มเรื่องประชาคม อาเซียน พร้อมทั้งจัดสรรในปีงบประมาณ 2561 จํานวน 20,000,000 บาท ให้สกสว. บริหารจัดการสนับสนุน การทําวิจัยโครงการวิจัยที่มุ่งเป้าตอบxxxxความต้องการในการพัฒนาประเทศประจําปีงบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน
ขอขอบคุณคณะกรรมการแผนงานการวิจัยมุ่งเป้าตอบxxxxความต้องการในการพัฒนาประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน และคณะผู้ทรงคุณวุฒิ xxxxxxxxxxxพิจารณาคัดเลือก โครงการวิจัย กลั่นกรองโครงการ พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการศึกษาวิจัยที่ตอบโจทย์กรอบ วิจัย “กลุ่มประชาคมอาเซียน” และxxxxxxxxให้ได้ผลงานที่สร้างองค์ความรู้xxxxxxxxxx ได้ข้อค้นพบ และให้ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานของรัฐและเอกชน
ขอขอบคุณคณาจารย์ นักวิจัย และนักวิชาการ จากสถาบันการศึกษาต่างๆ หน่วยงานภาครัฐ และ เอกชนที่ให้ความสนใจเขียนข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับทุนสนับสนุนงานวิจัย โดยมีโครงการxxxxxxรับทุน สนับสนุนในรอบที่ 1 จํานวน 5 โครงการเดี่ยว และรอบที่ 2 จํานวน 15 โครงการ รวมทั้งสิ้น 20 โครงการ เดี่ยว และขอขอบคุณ คณาจารย์ นักวิจัย และนักวิชาการxxxxxxรับทุนสนับสนุนงบประมาณการทําวิจัยใน ความxxxxxxx มุ่งมั่นผลิตผลงานให้สําเร็จลุล่วง และสร้างประโยชน์ให้แก่xxxxxxxxxx
ภายใต้ความร่วมมือจากทุกฝ่าย สกสว. xxxxxxคัดเลือกโครงการเพื่อสนับสนุนทุนวิจัยได้ภายใต้ งบประมาณxxxxxxรับการจัดสรร ซึ่งผลงานเหล่านี้จะก่อให้เกิดองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการพัฒนา ศักยภาพและการศึกษาความเป็นไปได้ทางทางด้านเศรษฐกิจ การลงทุน แนวทางที่เกี่ยวข้องด้านกฎหมาย ข้อตกลงต่างๆ ระหว่างประเทศไทยกับประเทศอื่นในอาเซียน รวมถึงองค์ความรู้ที่เป็นกระบวนการทางสังคม และพฤติกรรมทางสังคมในทุกๆ ด้านของกลุ่มคนในสังคม ชนกลุ่มน้อย หรือสังคมต่างๆ ในประเทศสมาชิก อาเซียน และแนวทางความร่วมมือด้านการศึกษาระหว่างไทยกับประเทศอาเซียน เพื่อรองรับการเข้าร่วม ประชาคมอาเซียน
สกxx. xxxขอขอบคุณสํานักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ คณาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการ คณะกรรมการแผน และผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน มา ณ ที่นี้ และxxxxว่าจะได้รับความร่วมมือจากทุกท่านใน โอกาสต่อไป
บทสรุปสําหรับผู้บริหาร
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ในฐานะหน่วยงานกลางด้านการวิจัย ได้ร่วมกับ สํานักงานคณะกรรมการxxxxxxxxวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) จัดทํากรอบวิจัยเพื่อการจัดสรร ทุนวิจัยเพื่อสนับสนุนการทําวิจัยโครงการวิจัยที่มุ่งเป้าตอบxxxxความต้องการในการพัฒนาประเทศประจําปี งบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน ภายใต้งบประมาณจัดสรรจํานวน 20,000,000 บาท โดยจัด ให้ “ประชาคมอาเซียน” เป็นกลุ่มเรื่องงานวิจัยที่ต้องได้รับการสนับสนุนภายใต้แผนงานxxxxxxxxและ สนับสนุนการวิจัยที่มุ่งเป้าตอบxxxxความต้องการในการพัฒนาประเทศ ซึ่งประกอบด้วยกรอบการวิจัยย่อย 4 กรอบวิจัย ได้แก่
กรอบวิจัยที่ 1 การวิจัยทางด้านเศรษฐกิจ เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุนระหว่างประเทศ ไทยกับประเทศอื่นในอาเซียน ซึ่งรวมถึงในอุตสาหกรรมxxxxx และการเงินอิสลาม และเพื่อทําความเข้าใจ บทบาทของกองทุนสําคัญในประเทศอาเซียน xxxx เทมาเส็ก คาซานา เฟสxxx xxบุงฮัจย์ เป็นต้น
กรอบวิจัยที่ 2 การวิจัยทางด้านกฎหมาย เพื่อศึกษาแนวทางที่เกี่ยวข้องด้านกฎหมาย /กฎxxxxxxx
/ข้อตกลงต่างๆ ระหว่างประเทศไทยกับกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน และรวมถึงแนวทางการบริหารจัดการ แรงงานข้ามชาติของสิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซีย
กรอบวิจัยที่ 4 การวิจัยทางด้านสังคมวิทยา เพื่อศึกษาทางด้านนโยบาย กฎเกณฑ์ กระบวนการ ทางสังคม การบริหารจัดการ รวมถึงพฤติกรรมทางสังคมในทุกๆ ด้าน ของกลุ่มคนในสังคม ชนกลุ่มน้อย หรือ สังคมต่างๆ ในประเทศสมาชิกอาเซียน
กรอบวิจัยที่ 4 การวิจัยทางด้านการศึกษาและการพัฒนามนุษย์ของประเทศในอาเซียน เพื่อ ศึกษาความร่วมมือด้านการศึกษาระหว่างไทยกับประเทศอาเซียน และแนวทางการจัดการศึกษาของประเทศ ไทย เพื่อรองรับการเข้าร่วมประชาคมอาเซียน
โครงการวิจัยในแผนงานฯนี้ มุ่งxxxxว่าจะxxxxxxผลิตรายงานที่สร้างองค์ความรู้xxxxxxxxxx มีข้อ ค้นพบ และให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานของรัฐและเอกชน ซึ่งจะช่วยให้ ประเทศไทยxxxxxxกําหนดท่าทีและนโยบายที่เหมาะสม ให้xxxxxxพัฒนาความxxxxxxxxทางเศรษฐกิจ และสังคมกับxxxxประเทศในอาเซียน และประเทศอื่น ๆ xxxxxยิ่งขึ้นต่อไป
ข้อเสนอโครงการวิจัย ภายใต้กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน ที่ผ่านการพิจารณาทุนสนับสนุนการวิจัย ประจําปี 2561 ได้เปิดรับข้อเสนอโครงการจํานวน 2 รอบ ในรอบที่ 1 มีข้อเสนอโครงการที่ส่งเข้ามาเพื่อ
พิจารณาทั้งหมด จํานวน 18 โครงการเดี่ยว 1 แผนงานโครงการ (2 โครงการย่อย) ได้ผ่านการพิจารณาและ ขึ้นสัญญาโครงการจํานวน 5 โครงการเดี่ยว ใช้งบประมาณในการขึ้นสัญญารับทุน จํานวน 4,924,571 บาท ในการเปิดรับข้อเสนอโครงการรอบ 2 มีข้อเสนอโครงการส่งมาเพื่อพิจารณาทั้งหมดจํานวน 51 โครงการ
เดี่ยว 1 แผนงานโครงการ (2 โครงการเดี่ยว) ได้รับการพิจารณาและขึ้นสัญญาจํานวน 15 โครงการเดี่ยว ใช้ งบประมาณในการขึ้นสัญญารับทุน จํานวน 14,980,629 บาท รวมเป็นจํานวนงบประมาณทั้งสิ้น 19,905,200 บาท ดังนั้นในปีงบประมาณ 2561 ภายใต้กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน มีโครงการวิจัยจํานวน ทั้งสิ้น 20 โครงการเดี่ยว xxxxxxขี้นสัญญาโครงการ แต่มีเพียง 17 โครงการเดี่ยวเท่านั้น xxxxxxดําเนินการจนเสร็จ สิ้น สําหรับอีก 3 โครงการเดี่ยว ได้ดําเนินการยกเลิกสัญญา เนื่องจากไม่xxxxxxดําเนินการวิจัยต่อได้
ดังนั้นจากโครงการวิจัยทั้ง 20 เรื่องxxxxxxพิจารณาขึ้นสัญญา xxxxxxจําแนกตามกรอบวิจัยได้ ดังต่อไปนี้
กรอบวิจัยที่ 1 ด้านเศรษฐกิจ จํานวน 5 โครงการ (ยุติโครงการ 1 เรื่อง)
กรอบวิจัยที่ 2 ด้านกฎหมาย จํานวน 3 โครงการ
กรอบวิจัยที่ 3 ด้านสังคมวิทยา จํานวน 7 โครงการ (ยุติโครงการ 2 เรื่อง)
กรอบวิจัยที่ 4 ด้านการศึกษา จํานวน 5 โครงการ
ผลการกิจกรรมxxxxxxxxสนับสนุนการวิจัย แผนงานxxxxxxxxและสนับสนุนการวิจัยที่มุ่งเป้าตอบxxxx ความต้องการในการพัฒนาประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน มีระยะเวลา ดําเนินการ 1 (หนึ่ง) ปี 6 (หก) เดือน ตั้งแต่xxxxxx 31 สิงหาคม 2560 – 27 กุมภาพันธ์ 2562 และได้ขยาย
เวลาดําเนินการจนถึง 31 พฤษภาคม 2563 เพื่อให้ครอบคลุมตามระยะเวลาของการขยายเวลาของนักวิจัย ภายใต้แผนงานฯ
โครงการวิจัยทั้ง 17 เรื่องxxxxxxดําเนินการจนเสร็จสิ้นภายใต้กรอบการวิจัยทั้ง 4 ด้านภายใต้ ปีงบประมาณ 2561 นี้ ได้ผลวิจัยที่มีเป้าหมายตามผลผลิตและผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม และxxxxxxนําไปใช้ ประโยชน์ได้จริง จําแนกตามเชิงเศรษฐกิจ เชิงสังคมและชุมชน เชิงนโยบาย และเชิงวิชาการ มีนักวิจัยทั้งใน หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ดําเนินการวิจัยโดยมีตัวชี้วัดที่แสดงxxxxxxxxxxxเป้าหมายในระดับผลผลิตและ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในด้านความคุ้มค่า ประสิทธิภาพ xxxxxxxxxx xxxxเชิงxxxxxx xxxxxxxxxx xxxx และต้นทุน เพื่อจะนําผลผลิตจากงานวิจัยไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณค่าสูงสุด
โครงการวิจัยxxxxxxรับทุนสนับสนุนภายใต้แผนงานวิจัยที่มุ่งเป้าตอบxxxxความต้องการในการพัฒนา ประเทศ ด้านประชาคมอาเซียน ประจําปีงบประมาณ 2561 ได้ผลผลิตคือ รายงานวิจัย จํานวน 17 ฉบับ และนักวิจัยภายใต้ 4 กรอบวิจัย ได้นําผลผลิตดังกล่าว ไปเผยแพร่องค์ความรู้สู่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ สาธารณชน ในรูปแบบที่หลากหลาย ทั้งในรูปแบบของสื่อการเรียนการสอน การตีพิมพ์บทความวิชาการ และการนําเสนอในที่ประชุมทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ซึ่งแสดงถึงxxxxxxนําไปใช้ประโยชน์ได้อย่าง เหมาะสม และความคุ้มค่าอย่างสูงสุด ส่งผลให้xxxxxxxพัฒนาประเทศและxxxxxxxอาเซียนอย่างเหมาะสม xxx xxxxxxxxแก่ผู้ใช้งานวิจัยต่อไป
สารบัญ
หน้า
คํานํา ก
บทสรุปสําหรับผู้บริหาร ข
สารบัญ จ
ส่วนที่ 1 ความเป็นมาของการดําเนินงานชุดโครงการ 1
1.1 ความเป็นมาของโครงการ 1
1.2 วัตถุประสงค์ 4
1.3 ขอบเขตโครงการ 4
1.4 เป้าหมายของผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) และตัวชี้วัด 5
1.5 ภาระหน้าที่ของโครงการ 8
1.6 ระยะเวลาและแผนการดําเนินงานฯ 9
1.7 กิจกรรมของโครงการเพื่อxxxxxวัตถุประสงค์ 11
1.8 ผลงานที่คาดว่าจะได้รับในแต่ละช่วงระยะเวลา 12
1.9 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 13
ส่วนที่ 2 การดําเนินงานตามภารกิจของชุดโครงการ 14
2.1 ภารกิจหลัก 16
2.2 xxxxxxxxx 34
ส่วนที่ 3 ผลxxxxxxดําเนินงานของแผนงานฯ 35
3.1 ผลการดําเนินงานของแผนงานฯ ภายใต้กรอบวิจัยที่ 1 การวิจัยทางด้านเศรษฐกิจ 36
3.2 ผลการดําเนินงานของแผนงานฯ ภายใต้กรอบวิจัยที่ 2 การวิจัยทางด้านกฎหมาย 43
3.3 ผลการดําเนินงานของแผนงานฯ ภายใต้กรอบวิจัยที่ 3 การวิจัยทางด้านสังคมวิทยา 47
3.4 ผลการดําเนินงานของแผนงานฯ ภายใต้กรอบวิจัยที่ 4 การวิจัยทางด้านการศึกษา และการพัฒนามนุษย์ของประเทศในอาเซียน 53
3.5 สรุปผลการทํากิจกรรมxxxxxxxxและสนับสนุนการวิจัย 59
3.6 ผลงานเด่นและความคุ้มค่า 65
3.7 อุปสรรค 70
3.8 ข้อเสนอแนะ 70
ภาคผนวก ก. บทคัดย่อของนักวิจัย 71
ภาคผนวก ข. กําหนดการและวาระการประชุม 103
ส่วนที่ 1 ความเป็นมาของการดําเนินงานชุดโครงการ
1.1 ความเป็นมาของโครงการ
xxxxxxxอาเซียนเป็นดินxxxเศรษฐกิจที่มีความหลากหลาย ทั้งทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ การเมืองการxxxxxxสังคม วัฒนธรรม ศาสนา และระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ โดยในช่วงกว่า xxxxxxxxxผ่านมาxxxxxxxอาเซียนจัดเป็นพื้นที่เศรษฐกิจที่มีบทบาทสําคัญในตลาดโลก
xxxxxxxอาเซียนเป็นตลาดการค้าและการลงทุนที่สําคัญและจัดเป็นพื้นที่เศรษฐกิจที่มีบทบาท สําคัญในตลาดโลก เป็นดินxxxเศรษฐกิจที่มีความหลากหลายทั้งทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ การเมือง การxxxxxx สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาทางเศรษฐกิจ เป็นทั้งผู้ผลิตสินค้าจากภาคเกษตรกรรม และอุตสาหกรรม พร้อมทั้งเป็นแหล่งxxxxxxxxxxและศูนย์การเดินทางสําคัญของโลก ประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ อันได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย บรูไน เวียดนาม ลาว เมียนมา และ กัมพูชา ต่างมีความxxxxxxxxอย่างใกล้ชิดทั้งทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม ดังนั้นที่ผ่านมา อาเซียนจึงให้ความสําคัญในการxxxxxxxxxxความxxxxxxxxxทางเศรษฐกิจร่วมกันอย่างต่อเนื่องภายหลังจาก การดําเนินการไปสู่การจัดตั้งเขตการค้าxxxxอาเซียน
“อาเซียน” สู่การเป็นประชาคมอาเซียน ในปี 2558 การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือxxxxเป็นหนึ่งใน จุดมุ่งหมายหลักของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การเปิดxxxxด้านการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือจะทําให้ ประเทศที่มีค่าตอบแทนต่างจะเคลื่อนย้ายไปสู่ประเทศที่มีค่าตอบแทนสูง ประเทศไทยในฐานะประเทศ สมาชิกอาเซียนต้องมีแผนรองรับการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือxxxxxxxจะxxxxxxแข่งขันในตลาดแรงงานได้
ประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย 3 ประชาคมย่อย ที่เปรียบเสมือนสามเสาหลักซึ่งเกี่ยวข้อง xxxxxxxxกัน ได้แก่
1) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community
- APSC) มุ่งให้ประเทศกลุ่มสมาชิกxxxxxxxxกันอย่างxxxxxxxx แก้ไขปัญหาระหว่างกันโดยxxxxx วิธี มีเสถียรภาพและความมั่นคงรอบด้าน เพื่อความมั่นคงปลอดภัยของเหล่าประชาชน
2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community - AEC) มุ่งเน้นให้xxxxxxx รวมตัวกันทางเศรษฐกิจ และความสะดวกในการติดต่อค้าขายระหว่างกัน เพื่อให้ประเทศ สมาชิกxxxxxxแข่งขันกับxxxxxxxอื่นๆได้โดย
3) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio - Cultural Community - ASCC) มุ่งxxxxให้ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่xxxxx มีความมั่นคงทางสังคม มีการพัฒนาใน ทุกๆ ด้าน และมีสังคมแบบเอื้ออาร โดยจะมีแผนงานสร้างความร่วมมือ 6 ด้าน คือ การ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม xxxxxและความยุติธรรมทางสังคม ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน การลดช่องว่างทางการพัฒนา
ปัจจุบันในปี 2558 ประเทศในอาเซียนมีประชากรรวมกันทั้งหมด 632 ล้านคน มีพื้นที่รวมกันถึง
4.5 ล้านตารางกิโลเมตร อินโดนีเซียมีประชากรมากที่สุดในอาเซียน คือ มี 259 ล้านคน หรือเกือบ ครึ่งหนึ่งของประชากรทั้งอาเซียน เป็นพื้นที่เชื่อมต่อการเดินทางและการค้าระหว่างสาธารณะประชาชน xxxและอินเดีย มีxxxxxxทางเศรษฐกิจที่วัดโดยผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติสูงถึง 2,400 พันล้านดอลลาร์ xxxxx
แต่ละประเทศในอาเซียนย่อมมีจุดแข็งและจุดอ่อนทางด้านเศรษฐกิจที่แตกต่างกัน สําหรับ ประเทศไทยนั้นมีเป้าหมายในการเป็น Hub หรือเป็นศูนย์กลางของอาเซียนในหลายๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นโล จิสติกส์ หรือการxxxxxxxxxx จุดแข็งคือ ความเป็นฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและสินค้าเกษตรหลาย รายการรายใหญ่ของโลก การมีระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานxxxxxxxxxx และที่ตั้งเอื้อต่อการเป็นศูนย์กลาง โครงข่ายเชื่อมโยงคมนาคมด้านต่างๆ แต่ก็ยังมีจุดอ่อนในเรื่องแรงงานส่วนใหญ่ยังขาดทักษะ และ เทคโนโลยีการผลิตส่วนใหญ่ยังเป็นขั้นกลาง และระดับความรู้และการใช้ภาษากลาง (อังกฤษ) xxxxxxทํา ให้xxxxxxxxxxด้านการแข่งขันสําหรับแรงงานเมื่อมีการเปิดxxxxแล้ว ในขณะที่ประเทศสิงคโปร์เป็นประเทศ ที่มีอัตรารายได้เฉลี่ยต่อหัวมากที่สุดในกลุ่มสมาชิกฯ สิงคโปร์กําลังเน้นการขยายระบบเศรษฐกิจxxxxxภาค บริการมากขึ้น และลดการพึ่งพาการส่งออกสินค้า ข้อได้เปรียบของสิงคโปร์ คือตําแหน่งที่ตั้งของประเทศ อยู่ในจุดยุทธศาสตร์เป็นศูนย์กลางการเดินเรือ (เอื้อต่อการขนส่ง) ศูนย์การการเงินระหว่างประเทศ รวมxxxxxxที่แรงงานที่มีทักษะ มีการศึกษาและภาษาดี และเป็นหลักในการส่งสินค้าระหว่างประเทศ ให้กับบรูไน ประเทศบรูไนแม้จะเป็นประเทศเล็กๆ ที่คนxxxxxxxxxxรู้จัก แต่เป็นประเทศที่ให้ความสําคัญ กับความมั่นคงทางอาหารxxxxxxxxมากเลยทีเดียว เพราะเป็นประเทศที่เป็นผู้ผลิต-ส่งออกน้ํามันและมี ปริมาณน้ํามันสํารองรายใหญ่ในxxxxxxxอาเซียน บรูไนมีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีมากเป็นอันดับ 2 รองจาก สิงคโปร์ และมีเสถียรภาพทางการเมืองxxxxxxxxx
จะเห็นได้ว่า ประโยชน์ที่ประเทศไทยจะได้รับจากการเป็นสมาชิกในประชาคมอาเซียน นอกจาก จะทําให้เศรษฐกิจ ของประเทศดีขึ้นแล้ว ยังทําให้การค้าระหว่างไทยกับประเทศอาเซียนมีความxxxxxxxx และขยายตัวมากขึ้น ผู้บริโภคมีทางเลือกมากขึ้น ราคาสินค้าจะถูกลง นอกจากนี้แล้ว ประเทศไทยจะเป็น แหล่งลงทุนxxxxxxสนใจ เพราะสินค้าส่งออกจะช่วยให้ไทยxxxxxxแข่งขันกับxxxและอินเดียได้มากขึ้น นอกจากในเรื่องเศรษฐกิจแล้ว ความเป็นประชาคมจะทําให้เครือข่ายการสื่อสารคมนาคมระหว่างกันเพื่อ
ประโยชน์ทางด้านการค้าและการลงทุน รวมถึงด้านการxxxxxxxxxxมีความxxxxxxxและxxxxxxxxกันมากขึ้น ทั้งนี้ประชาคมอาเซียนจะยังผลทั้งด้านบวกหรือลบต่อประเทศไทย ขึ้นอยู่กับความเตรียมพร้อมรับมือกับ การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
การนําประเทศไทยไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนปี 2558 อย่างxxxxxxx โดยสร้างความพร้อม และความxxxxxxxxxxxxทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และการเมืองและความมั่นคง นับเป็นหนึ่ง ในจุดมุ่งหมายสําคัญของนโยบายรัฐบาล ซึ่งส่วนงานด้านวิชาการและการวิจัย xxxxxxเป็นกลไกสําคัญ ส่วนหนึ่งในการxxxxxxxxการพัฒนาแรงงาน และการพัฒนาศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ ผ่าน การศึกษา วิจัย และพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน เพื่อให้xxxxxxxนําไปใช้ประโยชน์อย่าง ยั่งยืนในการพัฒนาประเทศ
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ในฐานะหน่วยงานกลางด้านการวิจัย ได้ร่วมกับ สํานักงานคณะกรรมการxxxxxxxxวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) จัดทํากรอบวิจัยเพื่อการ จัดสรรทุนวิจัย ประจําปี 2561 โดยจัดให้ “ประชาคมอาเซียน” เป็นกลุ่มเรื่องงานวิจัยที่ต้องได้รับการ สนับสนุนภายใต้แผนงานxxxxxxxxและสนับสนุนการวิจัยที่มุ่งเป้าตอบxxxxความต้องการในการพัฒนา ประเทศ ซึ่งประกอบด้วยกรอบการวิจัยย่อย 4 กรอบ ได้แก่
1) การวิจัยทางด้านเศรษฐกิจ
1) เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุนระหว่างประเทศไทยกับประเทศอื่นในอาเซียน ซึ่ง รวมถึงในอุตสาหกรรมxxxxx และการเงินอิสลาม
2) เพื่อทําความเข้าใจบทบาทของกองทุนสําคัญในประเทศอาเซียน xxxx เทมาเส็ก คาซานา เฟสxxx xxบุงฮัจย์
2) การวิจัยทางด้านกฎหมาย แนวทางที่เกี่ยวข้องด้านกฎหมาย /กฎxxxxxxx /ข้อตกลงต่างๆ
ระหว่างประเทศไทยกับกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน และรวมถึงแนวทางการบริหารจัดการ แรงงานข้ามชาติของสิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซีย
3) การวิจัยทางด้านสังคมวิทยา นโยบาย กฎเกณฑ์ กระบวนการทางสังคม การบริหารจัดการ
รวมถึงพฤติกรรมทางสังคมในทุกๆ ด้าน ของกลุ่มคนในสังคม ชนกลุ่มน้อย หรือสังคมต่างๆ ใน ประเทศสมาชิกอาเซียน
4) การวิจัยทางด้านการศึกษาและการพัฒนามนุษย์ของประเทศในอาเซียน ความร่วมมือด้าน
การศึกษาระหว่างไทยกับประเทศอาเซียน และแนวทางการจัดการศึกษาของประเทศไทย เพื่อ รองรับการเข้าร่วมประชาคมอาเซียน
โครงการวิจัยในแผนงานฯนี้ มุ่งxxxxว่าจะxxxxxxผลิตรายงานที่สร้างองค์ความรู้xxxxxxxxxx ตามที่กล่าวมาข้างต้น มีข้อค้นพบ และให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน ของรัฐและเอกชน ซึ่งจะช่วยให้ประเทศไทยxxxxxxกําหนดนโยบายที่เหมาะสม ให้xxxxxxพัฒนา ความxxxxxxxxทางเศรษฐกิจและสังคมกับxxxxประเทศในอาเซียน และประเทศอื่นๆxxxxxยิ่งขึ้นต่อไป
1.2 วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการร่วมลงทุนระหว่างไทยกับประเทศอื่นในอาเซียน รวมถึงใน อุตสาหกรรมxxxxx และการเงินอิสลาม
2. เพื่อศึกษากฎหมาย กฎxxxxxxx ข้อตกลงต่างๆ ระหว่างประเทศไทยกับกลุ่มประเทศสมาชิก อาเซียน และรวมxxxxxxบริหารจัดการแรงงานข้ามชาติของสิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซีย
3. เพื่อศึกษาทางด้านนโยบาย กฎเกณฑ์ กระบวนการทางสังคม การบริหารจัดการ รวมถึง พฤติกรรมทางสังคมในทุกๆ ด้าน ของกลุ่มคนในสังคม ชนกลุ่มน้อย หรือสังคมต่างๆ ในประเทศ สมาชิกอาเซียน
4. เพื่อศึกษาทางด้านการศึกษาและการพัฒนามนุษย์ของประเทศในอาเซียน ความร่วมมือด้าน การศึกษาระหว่างไทยกับประเทศอาเซียน และแนวทางการจัดการศึกษาของประเทศไทย เพื่อ รองรับการเข้าร่วมประชาคมอาเซียน
1.3 ขอบเขตโครงการ
1. สนับสนุนการวิจัยตามขอบเขตการทํางานที่คณะกรรมการกํากับแผนงานวิจัยที่มุ่งเป้า ตอบxxxxความต้องการในการพัฒนาประเทศ
2. การxxxxxxxxxxxxวิจัยเพื่อสนับสนุนการทํางาน สนับสนุน ช่วย และติดตามการทํางาน ของโครงการต่างๆในแผนงาน เพื่อให้ได้ผลผลิต/ผลลัพธ์ของแต่ละโครงการอย่างเหมาะสม
3. วางแผนให้xxxxxxxใช้ประโยชน์ xxxxxxxxให้xxxxxxxเผยแพร่ผลงานวิจัย และขยายผลจากการ วิจัย อย่างเหมาะสม
4. โครงการวิจัยที่เสนอให้xxxxxxxxxxเป็นทั้งการวิจัยพื้นฐาน (Basic research) และการวิจัย เชิงประยุกต์(Applied research) ทีมีโจทย์หรือคําถามวิจัยที่จะศึกษาชัดเจน มีขอบเขตที่ เป็นไปได้ตามระยะเวลาที่เสนอและมีความเป็นไปได้ในการศึกษา
1.4 เป้าหมายของผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) และตัวชี้วัด
โครงการนี้จะทําการxxxxxxงาน เพื่อแผนการทํากิจกรรมxxxxxxxxและสนับสนุนการวิจัยที่มุ่งเป้า ตอบxxxxความต้องการในการพัฒนาประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน โดยสนับสนุนให้เกิดงานวิจัยภายใต้กรอบวิจัยนี้ เพื่อให้ได้ผลวิจัยที่มีเป้าหมายตามผลผลิตและผลลัพธ์ที่ เป็นรูปธรรม และxxxxxxนําไปใช้ประโยชน์ได้จริง จําแนกตามเชิงเศรษฐกิจ เชิงสังคมและชุมชน เชิง นโยบาย และเชิงวิชาการ โดยจะให้ความสําคัญในด้านการใช้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ กฎหมาย เชิงชุมชน และสังคม รวมถึงด้านการศึกษาเป็นหลัก โดยมีตัวชี้วัดที่แสดงxxxxxxxxxxxเป้าหมายในระดับผลผลิตและ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในด้านความคุ้มค่า ประสิทธิภาพ xxxxxxxxxx xxxxเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ เวลา และ ต้นทุน ตลอดจนมีกลุ่มเป้าหมายxxxxxx xxxจะนําผลผลิตจากงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ และมีผู้มีxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxกระทบโดยตรงจากผลลัพธ์xxxxxxจากงานวิจัย โดยให้จัดทําข้อมูลในรูปแบบดังตารางแสดง ผลลัพธ์และตัวชี้วัดของแผนการทํากิจกรรม
1.4.1 ตัวชี้วัดและผลผลิต
ในการทํากิจกรรมเพื่อxxxxxxxxและสนับสนุนการวิจัยที่มุ่งเป้าตอบxxxxความต้องการในการ พัฒนาประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน จะมีพิจารณาผลผลิต (Output) และตัวชี้วัดผลผลิตของโครงการ ดังนี้
ตาราง 1.1 ผลผลิต (Output) และตัวชี้วัดผลผลิตของโครงการ
ผลผลิต | ตัวชี้วัด | |||
xxxxxxxxxx | xxxxxxxxxx | xxxx | xxxxxx | |
รายงานวิจัยเพื่อเป็นแนวทางการ สร้างความร่วมมือด้านการลงทุน ระหว่างไทยกับประเทศในอาเซียน รวมถึงในอุตสาหกรรมxxxxx และ การเงินอิสลาม | รายงานวิจัย ประมาณ 4 โครงการ | องค์ความรู้และแนวทางการสร้างความ ร่วมมือด้านการลงทุนระหว่างไทยกับ ประเทศในอาเซียน รวมถึงใน อุตสาหกรรมxxxxx และการเงินอิสลาม | 1 ปี | ประมาณ 5 ล้าน บาท |
รายงานการวิจัยทางด้านกฎหมาย /กฎxxxxxxx /ข้อตกลงต่างๆ ระหว่างประเทศไทยกับกลุ่ม ประเทศสมาชิกอาเซียน และ รวมถึงแนวทางการบริหารจัดการ แรงงานข้ามชาติของสิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซีย | รายงานวิจัย ประมาณ 4 โครงการ | องค์ความรู้ทางด้านกฎหมาย / กฎxxxxxxx /ข้อตกลงต่างๆ ระหว่าง ประเทศไทยกับกลุ่มประเทศสมาชิก อาเซียน และรวมถึงแนวทางการบริหาร จัดการแรงงานข้ามชาติของสิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซีย | 1 ปี | ประมาณ 5 ล้าน บาท |
ผลผลิต | ตัวชี้วัด | |||
xxxxxxxxxx | xxxxxxxxxx | xxxx | xxxxxx | |
รายงานวิจัยทางด้านนโยบาย กฎเกณฑ์ กระบวนการทางสังคม การบริหารจัดการ รวมถึง พฤติกรรมทางสังคมในทุกๆ ด้าน ของกลุ่มคนในสังคม ชนกลุ่มน้อย หรือสังคมต่างๆ ในประเทศ สมาชิกอาเซียน | รายงานวิจัย ประมาณ 4 โครงการ | องค์ความรู้ทางด้านนโยบาย/กฎเกณฑ์ กระบวนการทางสังคม/การบริหาร จัดการ รวมถึงพฤติกรรมทางสังคมใน ทุกๆ ด้าน ของกลุ่มคนในสังคม ชนกลุ่ม น้อย หรือสังคมตางๆ ในประเทศสมาชิก อาเซียน | 1 ปี | ประมาณ 5 ล้าน บาท |
รายงานวิจัยทางด้านการศึกษา และการพัฒนามนุษย์ของประเทศ ในอาเซียน ความร่วมมือด้าน การศึกษาระหว่างไทยกับประเทศ อาเซียน และแนวทางการจัด การศึกษาของประเทศไทย เพื่อ รองรับการเข้าร่วมประชาคม อาเซียน | รายงานวิจัย ประมาณ 4 โครงการ | องค์ความรู้ทางด้านการศึกษาของ ประเทศในอาเซียน ความร่วมมือด้าน การศึกษาระหว่างไทยกับประเทศ อาเซียน และแนวทางการจัดการศึกษา ของประเทศไทย เพื่อรองรับการเข้าร่วม ประชาคมอาเซียน | 1 ปี | ประมาณ 5 ล้าน บาท |
1.4.2 ผลลัพธ์ (Outcome) และตัวชี้วัด
ในการทํากิจกรรมเพื่อxxxxxxxxและสนับสนุนการวิจัยที่มุ่งเป้าตอบxxxxความต้องการในการ พัฒนา ประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน จะมีพิจารณาผลลัพธ์ (Outcome) และ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของโครงการ ดังนี้
ตาราง 1.2 ผลลัพธ์ (Outcome) และตัวชี้วัดผลลัพธ์ของโครงการ
ผลผลิต | ตัวชี้วัด | |||
xxxxxxxxxx | xxxxxxxxxx | xxxx | xxxxxx | |
องค์ความรู้และแนวทางการสร้าง ความร่วมมือด้านการลงทุนระหว่าง ไทยกับประเทศในอาเซียน รวมถึงใน อุตสาหกรรมxxxxx และการเงิน อิสลาม | รายงานวิจัย ประมาณ 4 โครงการ | ข้อเสนอแนะเพื่อการสร้างแนวทาง ความร่วมมือด้านการลงทุนระหว่าง ไทยกับประเทศในอาเซียน รวมถึงใน อุตสาหกรรมxxxxx และการเงิน อิสลาม | 1 ปี | ประมาณ 5 ล้านบาท |
องค์ความรู้ทางด้าน กฎหมาย/ กฎxxxxxxx/ ข้อตกลงต่างๆ ระหว่าง ประเทศไทยกับกลุ่มประเทศสมาชิก อาเซียน และรวมถึงแนวทางการ บริหารจัดการแรงงานข้ามชาติของ สิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซีย | รายงานวิจัย ประมาณ 4 โครงการ | ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติมนโยบายทางด้าน กฎหมาย /กฎxxxxxxx /ข้อตกลง ต่างๆ ระหว่างประเทศไทยกับกลุ่ม ประเทศสมาชิกอาเซียน และรวมถึง แนวทางการบริหารจัดการแรงงาน ข้ามชาติของสิงคโปร์ บรูไน และ มาเลเซีย | 1 ปี | ประมาณ 5 ล้านบาท |
อง ค์ ความ รู้ ทางด้านนโยบาย/ กฎเกณฑ์ กระบวนการทางสังคม/ การบริหารจัดการ รวมถึงพฤติกรรม ทางสังคมในทุกๆ ด้าน ของกลุ่มคน ในสังคม ชนกลุ่มน้อย หรือสังคม ต่างๆ ในประเทศสมาชิกอาเซียน | รายงานวิจัย ประมาณ 4 โครงการ | ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ปรับปรุง แก้ไขเพิ่มเติมนโยบาย/ กฎเกณฑ์/ กระบวนการทางสังคม/การบริหาร จัดการ รวมถึงพฤติกรรมทางสังคมใน ทุกๆ ด้าน ของกลุ่มคนในสังคม ชน กลุ่มน้อย หรือสังคมต่างๆ ในประเทศ สมาชิกอาเซียน | 1 ปี | ประมาณ 5 ล้านบาท |
องค์ความรู้ทางด้านการศึกษาและ การพัฒนามนุษย์ของประเทศใน อาเซียน ความร่วมมือด้านการศึกษา ระหว่างไทยกับประเทศอาเซียน และ แนวทางการจัดการศึกษาของ ประเทศไทย เพื่อรองรับการเข้าร่วม ประชาคมอาเซียน | รายงานวิจัย ประมาณ 4 โครงการ | ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาและ แ ก้ ปั ญหาสังคม ศ า สนา แ ล ะ วัฒนธรรมที่เอื้อต่อความร่วมมือกัน ในxxxxxxxอาเซียน | 1 ปี | ประมาณ 5 ล้านบาท |
1.5 ภาระหน้าที่ของโครงการมีดังนี้
1. สร้างและสนับสนุนโครงการวิจัยที่จะเอื้อประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมตามเป้าหมายของวช.และ สกสว.
2. คัดกรองข้อเสนอโครงการเบื้องต้น และจัดกลุ่มข้อเสนอโครงการให้สอดคล้องตามกรอบวิจัย
3. พิจารณาแต่งตั้งผู้ทรงวุฒิ รวมxxxxxxxxxxxxงานกับคณะกรรมการบอร์ด 1 และบอร์ด 2 ใน การจัดประชุมต่างๆให้เป็นไปโดยxxxxxxx
4. ติดตามโครงการอย่างใกล้ชิดให้คําปรึกษาในรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการวิจัยตามความ เหมาะสม
5. จัดการประชุมการเสนอความคืบหน้าของการดําเนินงานอย่างน้อยจํานวน 2 ครั้ง เพื่อให้ นักวิจัยได้มีโอกาสรับฟังความคิดเห็นอันเป็นประโยชน์จากผู้เชี่ยวชาญและนําข้อแนะนําไป พัฒนางานวิจัยให้เป็นงานวิจัยที่มีคุณภาพ
6. ให้ข้อคิดเห็นและให้ความเห็นชอบต่อรายงานความxxxxxxxxของการดําเนินการโครงการ
7. ติดตามความxxxxxxxxของโครงการและประเมินโครงการตามระยะเวลาที่ระบุในสัญญาตาม เกณฑ์และแนวทางที่สกสว. กําหนด
8. จัดทํารายงานความxxxxxxxxและรายงานการเงินนําเสนอให้ฝ่ายทราบทุก 6 (หก) เดือน
9. เข้าร่วมประชุมและติดตามความxxxxxxxxของxxxxxวิชาการและxxxxxอื่นที่เกี่ยวข้องกับ บทบาทหน้าที่ของชุดโครงการ
10. ให้ความร่วมมือกับฝ่ายประชาสัมพันธ์สกสว.ในการเผยแพร่ผลงานวิจัยเพื่อการผลักดันสู่การใช้ ประโยชน์
11. จัดการประชุมใหญ่นําเสนอรายงานฉบับxxxxxxx
1.6 ระยะเวลา และแผนการดําเนินงานตลอดการทํากิจกรรมxxxxxxxxและสนับสนุนการวิจัย
โครงการนี้มีระยะเวลาดําเนินการ 1 (หนึ่ง) ปี 6 (หก) เดือน ตั้งแต่วันที่ 31 สิงหาคม 2560 – 27 กุมภาพันธ์ 2562
ตาราง 1.3 แผนการดําเนินงาน ขั้นตอนและรูปแบบการทํางาน
แผนการดําเนินงาน ขั้นตอนและรูปแบบการทํางาน | ||||||||||||||||||
เดือน | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 |
รายละเอียดกิจกรรม | ||||||||||||||||||
3.1 นําข้อเสนอโครงการที่รับจาก วช. มาคัดกรองเบื้องต้น และจัดกลุ่มข้อเสนอ โครงการ | ||||||||||||||||||
3.2 แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณา ติดตามและประเมินผล (คณะกรรมการชุดที่ 2) | ||||||||||||||||||
3.3 ประชุมบอร์ด 2 กําหนดเกณฑ์คัดกรองเบื้องต้น/แต่งตั้งผทรงคุณวุฒิ) | ||||||||||||||||||
3.4 จัดส่งข้อเสนอโครงการวิจัยให้ผู้ทรงคุณวุฒิประเมิน | ||||||||||||||||||
3.5 ประเมินและคัดเลือกข้อเสนอโครงการโดยผู้ทรงคุณวุฒิและคณะกรรมการ | ||||||||||||||||||
3.6 พัฒนาข้อเสนอโครงการด้วยกระบวนการคุณภาพ ทั้งในส่วนของเนื้อหาและ งบประมาณ | ||||||||||||||||||
3.7 ขออนุมัติทุนสนบั สนุนการวิจัยจาก บอร์ด1 และดําเนินการจัดทาํ สัญญารับทนุ | ||||||||||||||||||
3.8 ติดตามและหนุนช่วยโครงการวิจัยตลอดระยะเวลาดําเนินโครงการ | ||||||||||||||||||
3.9 ขออนุมัติประกาศกรอบวิจัยเพื่อเปิดรับโครงการรอบที่ 2 จาก บอร์ด1 | ||||||||||||||||||
3.10 ประกาศกรอบวิจัยเพื่อเปิดรับโครงการรอบที่ 2 | ||||||||||||||||||
3.11 ประชุมชี้แจงกรอบวิจัยรอบที่ 2 ต่อนักวิจัย | ||||||||||||||||||
3.12 คัดกรองเบื้องต้น และจัดกลุ่มข้อเสนอโครงการรอบที่ 2 |
แผนการดําเนินงาน ขั้นตอนและรูปแบบการทํางาน | ||||||||||||||||||
เดือน | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 |
รายละเอียดกิจกรรม | ||||||||||||||||||
3.13 ประชุมบอร์ด 2 กําหนดเกณฑ์คัดกรองเบื้องต้น/แต่งตั้งผทรงคุณวุฒิ กลุ่มข้อเสนอ โครงการรอบที่ 2 | ||||||||||||||||||
3.14 จัดส่งข้อเสนอโครงการวิจัยให้ผู้ทรงคุณวุฒิประเมิน กลุ่มข้อเสนอโครงการรอบที่ 2 | ||||||||||||||||||
3.15 ประเมินและคัดเลือกข้อเสนอโครงการโดยผู้ทรงคุณวุฒิและคณะกรรมการรอบที่ 2 | ||||||||||||||||||
3.16 พัฒนาข้อเสนอโครงการรอบที่ 2ด้วยกระบวนการคุณภาพ ทั้งในส่วนของเนื้อหา และงบประมาณ | ||||||||||||||||||
3.17 ขออนุมัติทุนสนบั สนุนการวิจัยรอบที่ 2 จากบอร์ด1 และจัดทําสัญญารับทุน | ||||||||||||||||||
3.18 ติดตามและหนุนช่วยโครงการวิจัยตลอดระยะเวลาดําเนินโครงการ | ||||||||||||||||||
3.19 โครงการวิจัยรอบที่ 1 รายงานความก้าวหนา้ ทุก 6 เดือน (และ/หรือ ระหว่าง กระบวนการที่ คอบช.กําหนด) | ||||||||||||||||||
3.20 โครงการวิจัยรอบที่ 2 รายงานความก้าวหนา้ ทุก 6 เดือน (และ/หรือ ระหว่าง กระบวนการที่ คอบช.กําหนด) | ||||||||||||||||||
3.21 จัดเวทีให้ผู้รับทุนรอบที่ 1 นาํ เสนอความก้าวหนา้ และ/หรือส่งประเมินรายงาน ความก้าวหน้าและรายงานฉบบั สมบูรณ์ | ||||||||||||||||||
3.22 จัดเวทีให้ผู้รับทุนรอบที่ 2 นาํ เสนอความก้าวหนา้ และ/หรือส่งประเมินรายงาน ความก้าวหน้าและรายงานฉบบั สมบูรณ์ | ||||||||||||||||||
3.23 จัดทํารายงานสรุปผลการทํางานในภาพรวมของแผนกิจกรรมสนับสนุนการวิจัย | ||||||||||||||||||
3.24 ข้อเสนอแนะเพื่อการใช้ประโยชน์ การเผยแพร่และขยายผลจากการวิจัย |
1.7 กิจกรรมของโครงการเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์
ทางโครงการฯ ได้กําหนดการจัดกิจกรรมหลัก และช่วงระยะเวลาดําเนินกิจกรรม พร้อมผู้รับผิดชอบ เพื่อให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ ดังนี้
ตาราง 1.4 กิจกรรมหลัก ช่วงระยะเวลาดําเนินกิจกรรม และจํานวนวันที่ใช้ ตามวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ | กิจกรรมหลัก | ช่วงระยะเวลา ดําเนินการ | จํานวน วันที่ใช้ |
1. เพื่อให้นักวิจัยนําเสนอโครงร่าง การวิจัย กรอบแนวคิด วิธีการศึกษา และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ พร้อม ทั้งรับฟังคําแนะนําจากผู้เชี่ยวชาญ | การติดต่อผู้ทรงคุณ การนําเสนอโครงการวิจัย | ตุลาคม 2560 | 2 |
2. เพื่อให้นักวิจัยได้รับการอนุมัติ ทุนสนับสนุนการวิจัยจาก บอร์ด1 และ ดําเนินการจัดทําสัญญารับทุน | การจัดทําสัญญารับทุน | พฤศจิกายน- ธันวาคม 2560 | 2 |
3. เพื่อให้นักวิจัยนําเสนอรายงาน ความก้าวหน้าในช่วง 6 เดือน ทั้งข้อมูล เอกสารและข้อมูลภาคสนามเบื้องต้น เพื่อร่วมวิเคราะห์และหาทางแก้ไข กรณีที่เกิดปัญหาในการเก็บข้อมูล | รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 ของโครงการที่ผ่านการ พิจารณารอบ 1 | พฤศจิกายน 2561 | 1 |
4. เพื่อให้นักวิจัยนําเสนอรายงาน ความก้าวหน้าในช่วง 6 เดือน ทั้งข้อมูล เอกสารและข้อมูลภาคสนามเบื้องต้น เพื่อร่วมวิเคราะห์และหาทางแก้ไข กรณีที่เกิดปัญหาในการเก็บข้อมูล | รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 ของโครงการที่ผ่านการ พิจารณารอบ 2 | กุมภาพันธ์ และมีนาคม 2562 | 2 |
5. เพื่อให้นักวิจัยนําเสนอ ผลการวิจัย การวิเคราะห์ และ สังเคราะห์องค์ความรู้ที่ได้ | (ร่าง)รายงานฉบับสมบูรณ์ ของโครงการที่ผ่านการ พิจารณารอบ 1 | พฤษภาคม 2562 | 1 |
6. เพื่อให้นักวิจัยนําเสนอ ผลการวิจัย การวิเคราะห์ และ สังเคราะห์องค์ความรู้ที่ได้ | (ร่าง)รายงานฉบับสมบูรณ์ ของโครงการที่ผ่านการ พิจารณารอบ 2 | กรกฎาคม- สิงหาคม 2562 | 2 |
หมายเหตุ: ผศ.ดร.ศุทธิดา ชวนวัน และ ดร.ณัฏฐ์ชุดา สุภาพจน์ เป็นผู้รับผิดชอบหลักในทุกกิจกรรม
1.8 ผลงานที่คาดว่าจะได้รับในแต่ละช่วงระยะเวลา
ทางโครงการฯ ได้เชื่อมโยงกิจกรรมตามระยะเวลา และผลงานที่คาดว่าจะได้รับของโครงการ ดังนี้
ตาราง 1.5 กิจกรรม ตามระยะเวลา และผลงานที่คาดว่าจะได้รับของโครงการ
เดือนที่ | กิจกรรม | ผลงานที่คาดว่าจะได้รับ |
6 เดือนที่ 1 | 1. การรายงานความคืบหน้าการวิจัยตาม กรอบวิจัย ที่ครอบคลุมประเด็นการเก็บ ข้อมูล และประเภทของข้อมูล 2. การรายงานความคืบหน้าการวิจัยเพื่อ แลกเปลี่ยนความรู้ในกลุ่มนักวิจัย ทั้งใน ประเด็นคุณภาพและความครอบคลุม ของข้อมูล | 1.การวางแผน การปรับปรุง และการ พัฒนาแนวทางการรวบรวมข้อมูลอย่าง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพของ นักวิจัย 2.การได้สํารวจกรอบคิดทางทฤษฎีเพื่อใช้ ในการสังเคราะห์และวิเคราะห์ข้อมูล |
6 เดือนที่ 2 | 1. การรายงานความคืบหน้าการวิจัยใน รูปแบบการนําเสนอ เพื่อเปิดให้นักวิจัย ได้นําเสนอผลการศึกษาเบื้องต้น พร้อม ทั้ง พร้อมทั้งรับฟังคําแนะนําจาก ผู้เชี่ยวชาญ 2. การรายงานความก้าวหน้าการวิจัยใน รูปแบบเล่มรายงานของนักวิจัย | 1.ก ารไ ด้ ติ ดตามความก้าวหน้าการ ดําเนินงานโครงการ พร้อมทั้งรับทราบ ทิศทางของผลการศึกษา 2.การได้ติดตามโครงการเพื่อนําไปสู่ ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ และเป็นไปตาม กรอบวิจัยที่กําหนดไว้ในกลุ่มงานวิจัย ประชาคมอาเซียน |
6 เดือนที่ 3 | 1. การเขียนบทสังเคราะห์ในภาพรวมของ ผลการวิจัยของโครงการ | 1.ได้บทสังเคราะห์จากผลการวิจัยของ โครงการ ทั้งในส่วนขององค์ความรู้ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย และช่องว่าง ขององค์ความรู้การวิจัย |
1.9 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. แนวทางการสร้างความร่วมมือด้านการลงทุนระหว่างไทยกับประเทศในอาเซียน รวมถึงในอุตสาหกรรม ฮาลาล และการเงินอิสลาม
2. แนวทางที่เกี่ยวข้องด้านกฎหมาย /กฎระเบียบ /ข้อตกลงต่างๆ ระหว่างประเทศไทยกับกลุ่มประเทศ สมาชิกอาเซียน และรวมถึงแนวทางการบริหารจัดการแรงงานข้ามชาติของสิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซีย
3. องค์ความรู้ทางด้านนโยบาย กฎเกณฑ์ กระบวนการทางสังคม การบริหารจัดการ รวมถึงพฤติกรรมทาง สังคมในทุกๆ ด้าน ของกลุ่มคนในสังคม ชนกลุ่มน้อย หรือสังคมต่างๆ ในประเทศสมาชิกอาเซียน
4. องค์ความรู้ทางด้านการศึกษาและทรัพยากรมนุษย์ของประเทศในอาเซียน ความร่วมมือด้านการศึกษา ระหว่างไทยกับประเทศอาเซียน และแนวทางการจัดการศึกษาของประเทศไทย เพื่อรองรับการเข้าร่วม ประชาคมอาเซียน
ส่วนที่ 2 การดําเนินงานตามภารกิจของชุดโครงการ
สรุปการปฏิบัติงานตามกรอบภารกิจหรือภาระหน้าที่ของโครงการ
สําหรับแผนการทํากิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการ พัฒนาประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน ของคณะผู้ประสานงาน ได้ ดําเนินงานตามภารกิจหลัก และภารกิจรองของแผนงาน ฯจนได้ผลลัพธ์ในการปฏิบัติงานอย่างครบถ้วน ดังนี้
ตาราง 2.1 การดําเนินงานตามภารกิจ
ตามแผนงาน | ปฏิบัติจริง | สนับสนุน วัตถุประสงค์ข้อที่ | ร้อยละความพึง พอใจต่อ ผลสําเร็จ | |
กิจกรรม | ผลที่คาดว่าจะ ได้รับ | |||
- รายงานความ คืบหน้าการวิจัยตาม กรอบวิจัยต่างๆ การเก็บข้อมูล และ ประเภทของข้อมูลที่ จําเป็นต่อการวิจัย จากงานวิจัยของ นักวิจัยที่มี ประสบการณ์ - รายงานความ คืบหน้าการวิจัยเพื่อ แลกเปลี่ยนความรู้ ระหว่างนักวิจัย ด้วยกันในเรื่อง คุณภาพและความ ครบถ้วนของข้อมูล | - นักวิจัยได้เลือก และเขา้ ใจแนว ทางการเก็บ ข้อมูลที่จําเป็นต่อ งานวิจัยของ ตนเอง - นักวิจัยได้ สํารวจกรอบ แนวคิดและ ทฤษฎีเพื่อใช้ใน การสังเคราะห์ และวิเคราะห์ ข้อมูล | ได้โครงการวิจัย ครบถ้วนทั้ง 4 กรอบ และได้ แนวทางการเก็บ ข้อมูลที่จําเป็น ต่องานวิจัย - ได้โครงการวิจัย ครบถ้วนทั้ง 4 กรอบ และได้ กรอบแนวคิดและ ทฤษฎีเพื่อใช้ใน การสังเคราะห์และ วิเคราะห์ข้อมูล | 1-4 | ร้อยละ 100 |
ตามแผนงาน | ปฏิบัติจริง | สนับสนุน วัตถุประสงค์ข้อที่ | ร้อยละความพึง พอใจต่อ ผลสําเร็จ | |
กิจกรรม | ผลที่คาดว่าจะ ได้รับ | |||
- รายงานความ คืบหน้าการวิจัย เพื่อให้นักวิจัย ทดลองนําเสนอ ผลงานวิจัย รับฟัง และแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น ระหว่างนักวิจัยด้วย กันเองและกับ นักวิจัยผู้มี ประสบการณ์ - รายงานความ คืบหน้าการวิจัย | ได้ผลงานวิจัยที่มี คุณภาพในแง่ ความหนักแน่น ของข้อมูล และ การวิเคราะห์ที่ สมเหตุสมผล | ได้โครงการวิจัยที่มี คุณภาพ มีความ น่าเชื่อถือทาง วิชาการ สามารถ นําไปใช้ประโยชน์ ในวงกว้างได้ | 1-4 | ร้อยละ 100 |
- การเขียนบท สังเคราะห์ใน ภาพรวมของ - ผลการวิจัยของ โครงการ | ได้บทสังเคราะห์ ซึ่งเขียนจาก ผลการวิจัยของ โครงการ นําเสนอใน รูปแบบ ข้อเสนอแนะเชิง นโยบายได้ | ได้บทสังเคราะห์ จากงานวิจัยเพื่อ นําเสนอเป็น ข้อเสนอเชิง นโยบายได้ | 1-4 | ร้อยละ 100 |
ซึ่งสามารถสรุปการปฏิบัติงานตามกรอบภารกิจหลักและภารกิจรอง ดังรายละเอียด
2.1 ภารกิจหลัก
ภารกิจ 2.1.1: สร้างและสนับสนุนโครงการวิจัยที่จะเอื้อประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมตามเป้าหมายของ ฝ่ายและโครงการ
ผลการปฏิบัติงาน
การดําเนินงานเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนา ประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน ได้เปิดรับข้อเสนอโครงการจํานวน 2 รอบ ได้แก่ รอบที่ 1/2561 และรอบที่ 2/2561 โดยมีรายละเอียดในการดําเนินงาน ดังนี้
รอบที่ 1/2561
แผนงานฯ ได้รวบรวมข้อเสนอโครงการฯ ตามที่ส่งมายังแผนงานการวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความ ต้องการในการพัฒนาประเทศ กลุ่มเรื่อง “ประชาคมอาเซียน” ที่ขอรับทุนสนับสนุนการวิจัย ประจําปี 2561 โดยมีข้อเสนอโครงการรอบที่ 1 ที่ถูกส่งเข้ามาเพื่อพิจารณาทั้งหมด จํานวน 18 โครงการเดี่ยว และ 1 แผนงานโครงการ (2 โครงการย่อย) ซึ่งแผนงานฯ ได้สรุปสาระสําคัญของข้อเสนอโครงการทั้งหมดเข้าสู่ที่ ประชุมคณะกรรมการพิจารณา ติดตาม และประเมินผลฯ (บอร์ด 2 ) ในวันพฤหัสบดีที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 เพื่อพิจารณาการคัดเลือก
ข้อเสนอโครงการที่ผ่านการคัดกรองเบื้องต้น อันประกอบด้วยโจทย์วิจัยมีความชัดเจน และตอบ โจทย์กรอบอาเซียน งบประมาณที่นําเสนอมีความพอเพียงที่จะจัดสรรงบประมาณ พบโครงการที่ได้รับการ พิจารณาผ่านการคัดเลือกในรอบที่ 1/2561 มีจํานวน 6 โครงการเดี่ยว ทั้งนี้มี 1โครงการเดี่ยว ได้ขอถอน โครงการ ในขณะที่มี 4 โครงการเดี่ยว ผ่านขั้นตอนการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิและกรรมการบอร์ดแล้ว หลังจากปรับแก้ตามข้อความเห็นและคําแนะนําจากผู้ทรงคุณวุฒิและกรรมการบอร์ด สําหรับอีก 1 โครงการ เดี่ยว ให้ปรับข้อเสนอโครงการใหม่ และนํากลับมาพิจารณาในรอบที่ 2 ดังนั้นในรอบที่ 1/2561 มี 5 โครงการ เดี่ยว ได้ขึ้นสัญญารับทุน โดยเป็นโครงการที่อยู่ในกรอบการวิจัยทางด้านเศรษฐกิจจํานวน 1 โครงการเดี่ยว กรอบการวิจัยทางด้านสังคมวิทยา 3 โครงการเดี่ยว และกรอบการวิจัยทางด้านการศึกษาและการพัฒนา มนุษย์ของประเทศในอาเซียน 1 โครงการเดี่ยว รวมงบประมาณทั้งสิ้น 4,924,571 บาท
รอบที่ 2/2561
จากการประชุมร่วมกับคณะกรรมการกํากับแผนงานวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการ พัฒนาประเทศ (คณะที่ 2) ในวันพุธที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2561 ที่ประชุมได้มีมติให้ฝ่ายเลขาฯ ประกาศทุน วิจัยรอบที่ 2 ปีงบประมาณ 2561 และขยายกรอบวิจัยให้มีความชัดเจนและครอบคลุมมากขึ้น ทาง คณะทํางานได้มีการประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์ของสกสว. และ วช. รวมถึงมีการติดต่อประสานงาน และ ประชาสัมพันธ์ในเรื่องการประกาศทุนวิจัยผ่านเครือข่ายทางวิชาการ เครือข่ายทางสั งคม และหน่วยงาน ต่างๆ ด้วย ซึ่งได้ปิดรับข้อเสนอโครงการไปเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561
จากการประกาศทุนวิจัยรอบที่ 2 ปีงบประมาณ 2561 มีข้อเสนอโครงการที่ส่งผ่านระบบ NRMS
ของวช. ภายใต้กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน ประจําปี 2561 มีจํานวนทั้งสิ้น 51 โครงการเดี่ยว 1 แผนงาน
โครงการ (2 โครงการเดี่ยว) ทางโครงการฯ ได้แจ้งจํานวนและสถานะของโครงการที่ส่งมาให้พิจารณารอบ 2 ในการประชุม“คณะกรรมการพิจารณา ติดตาม และประเมินผล แผนงานการวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความ ต้องการในการพัฒนาประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2560 -2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน ในวันจันทร์ที่
2 เมษายน 2561
ทั้งนี้ได้มีการประชุมเพื่อพิจารณาข้อเสนอโครงการรอบที่ 2 ในวันพฤหัสบดี ที่ 19 เมษายน
2561 วันศุกร์ที่ 4 พฤษภาคม 2561 วันจันทร์ ที่ 7 พฤษภาคม 2561 วันพฤหัสบดี ที่ 17 พฤษภาคม
2561 และวันจันทร์ที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2561 รวมจํานวน 5 ครั้ง ข้อเสนอโครงการที่ได้รับการพิจารณา ผ่านการคัดเลือกให้มานําเสนอในการพิจารณารอบที่ 2/2561 มีจํานวน 18 โครงการเดี่ยว โดยมี 3 โครงการ เดี่ยว ไม่ผ่านการพิจารณา คณะกรรมการบอร์ดฯ มีความเห็นว่า ข้อเสนอโครงการไม่สามารถแสดงถึงองค์ ความรู้ทางวิชาการ กรอบการวิจัย/แนวคิดในการวิจัยไม่ชัดเจน ผู้วิจัยขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ งานวิจัยนั้นเพียงพอ งบประมาณที่เสนอขอสูงเกินความจําเป็น ตลอดจนข้อเสนอโครงการวิจัยไม่สอดคล้อง กับกรอบการวิจัย วช. ได้กําหนดไว้สําหรับการจัดสรรทุน ดังนั้นในรอบที่ 2/2561 มี 15 โครงการเดี่ยว ได้ขึ้น สัญญารับทุน โดยเป็นโครงการที่อยู่ในกรอบการวิจัยทางด้านเศรษฐกิจ 4 โครงการเดี่ยว กรอบการวิจัย ทางด้านกฎหมาย 3 โครงการ กรอบการวิจัยทางด้านสังคมวิทยา 4 โครงการเดี่ยว และกรอบการวิจัย ทางด้านการศึกษาและการพัฒนามนุษย์ของประเทศในอาเซียน 4 โครงการเดี่ยว รวมงบประมาณทั้งสิ้น 14,980,629 บาท
รวมข้อเสนอโครงการที่ผ่านการพิจารณาทั้งสิ้นทั้งรอบที่ 1 และรอบที่ 2 จํานวน 20 โครงการเดี่ยว
ตาราง 2.1: แสดงจํานวนโครงการตามกรอบวิจัยที่ขึ้นสัญญา
กรอบ | ชื่อกรอบ | จํานวนโครงการ | งบประมาณรวม (บาท) |
1 | เศรษฐกิจ | 5 | 4,985,085 |
2 | กฎหมาย | 3 | 2,970,774 |
3 | สังคมวิทยา | 7 | 7,330,096 |
4 | การศึกษา | 5 | 4,619,245 |
รวม | 20 | 19,905,200 |
โดยสรุป แผนงานฯ มีจํานวนสัญญาสนับสนุนทุนอุดหนุนการวิจัยจํานวน 20 โครงการเดี่ยว ภายใต้ กรอบวิจัยที่ 1 2 3 และ 4 ดังแสดงรายละเอียดโครงการวิจัย แยกพิจารณาตามกรอบวิจัย ดังนี้
ตาราง 2.2: ชื่อโครงการและหัวหน้าแผนงานของ 20 โครงการ ที่ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย ประจําปี 2561
ชื่อโครงการ | ชื่อหัวหน้าแผนงาน/สังกัด | |
กรอบวิจัยที่ 1 การวิจัยทางด้านเศรษฐกิจ จํานวน 5 โครงการเดี่ยว เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุนระหว่างประเทศไทยกับประเทศอื่นในอาเซียน ซึ่งรวมถึงใน อุตสาหกรรมฮาลาล และการเงินอิสลาม และเพื่อทําความเข้าใจบทบาทของกองทุนสําคัญในประเทศ อาเซียน เช่น เทมาเส็ก คาซานา เฟสต้า ตะบุงฮัจย์ | ||
1 | การเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการฮัจย์ในประเทศไทย | ผศ.จิราพร เปี้ย สินธุ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี |
2 | ศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการพัฒนาการ ท่องเที่ยวย่านเมืองเก่าในจังหวัดสงขลาและปัตตานี | อาจารย์พาฝัน นิลสวัสดิ์ ดูฮาเมลน์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ |
3 | การประยุกต์ใช้นวัตกรรม Baitul Mal Wattamwil (BMT) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถต่อการแก้ปัญหาความ ยากจนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ | ผศ. รอซีดะห์ หะนะกาแม มหาวิทยาลัยฟาฏอนี |
4 | แนวปฏิบัติทางด้านกฎหมายการนําเข้าสินค้าของประเทศคู่ ค้าและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ฮาลาลของไทยเพื่อการส่งออกใน กลุ่มประเทศอาเซียน : กรณีศึกษาการส่งออกผลิตภัณฑ์ เครื่องแกงสําเร็จรูปไปประเทศบรูไนดารุสลาม | ผศ.ดร. อัสมัน แตอาลี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จ.ปัตตานี |
5 | การศึกษาความเป็นไปได้ในการสร้างความร่วมมือในธุรกิจ อาหารฮาลาลระหว่างไทยและมาเลเซีย | ดร.สุพรรณี เขียวชอุ่ม มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา |
ชื่อโครงการ | ชื่อหัวหน้าแผนงาน/สังกัด | |
กรอบวิจัยที่ 2 การวิจัยทางด้านกฎหมาย จํานวน 3 โครงการเดี่ยว แนวทางที่เกี่ยวข้องด้านกฎหมาย /กฎระเบียบ /ข้อตกลงต่างๆ ระหว่างประเทศไทยกับกลุ่มประเทศ สมาชิกอาเซียน และรวมถึงแนวทางการบริหารจัดการแรงงานข้ามชาติของสิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซีย | ||
6 | มาตรการทางกฎหมายเพื่อสนับสนุนการคุ้มครองผืนป่าข้าม พรมแดนของประเทศไทยและประเทศในกลุ่มอาเซียน | ผศ.ดร.ภัทราวรรณ รัตนเกษตร มหาวิทยาลัยพะเยา |
7 | การศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายตลาดทุนอิสลามในประเทศ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์และสหราช อาณาจักร | ศ.ดร.ซาการียา หะมะ มหาวิทยาลัยฟาฎอนี |
8 | การวิเคราะห์ผลกระทบทางกฎหมายเพื่อขจัดอุปสรรคในการ ประกอบธุรกิจ: กรณีศึกษาเปรียบเทียบประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ และ ไทย | ผศ.ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
กรอบวิจัยที่ 3 การวิจัยทางด้านสังคมวิทยา จํานวน 7 โครงการเดี่ยว นโยบาย กฎเกณฑ์ กระบวนการทางสังคม การบริหารจัดการ รวมถึงพฤติกรรมทางสังคมในทุกๆ ด้าน ของกลุ่มคนในสังคม ชนกลุ่มน้อย หรือสังคมต่างๆ ในประเทศสมาชิกอาเซียน | ||
9 | นโยบายการจัดการความหลากหลายของรัฐบาลมาเลเซีย : กรณีศึกษานโยบายภูมิบุตรต่อชาวสยาม | รศ.พรชัย ลิขิตธรรมโรจน์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
10 | การศึกษาทัศนะของผู้บริหารท้องถิ่นชาวไทยมลายูที่มีต่อ นโยบายการบริหารจัดการท้องถิ่นจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ.2540-2561 | ผศ.ไข่มุก อุทยาวลี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยา เขตปัตตานี |
11 | การสํารวจสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรต่อผู้สูงวัยเพื่อส่งเสริมพฤฒิ พลังและคุณภาพชีวิตของผู้สูงวัย กรณีศึกษาประเทศญี่ปุ่น มาเลเซีย เมียนมาร์ เวียดนาม และไทย | อ.ดร.ศริยามน ติรพัฒน์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
12 | การย้ายถิ่นของมุสลิมไทยไปมาเลเซีย และการบูรณาการทาง สังคมกับการแก้ไขปัญหาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ | รศ.ดร.อารี จําปากลาย มหาวิทยาลัยมหิดล |
13 | “ความเป็นมนุษย์?: วาทกรรมการบําบัดฟื้นฟูผู้ตกเป็นเหยื่อ ของขบวนการค้ามนุษย์ | อาจารย์กฤตพล วังภูสิต มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร |
14 | การเลี้ยงนกเขาชวากับการส่งเสริมความสัมพันธ์ในเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมระหว่างประชาชนจังหวัดชายแดนภาคใต้กับ กลุ่มประชาคมอาเซียน | คุณคอลัฟ ต่วนบูละ นักวิจัยอิสระ |
ชื่อโครงการ | ชื่อหัวหน้าแผนงาน/สังกัด | |
15 | มาตรการส่งเสริมสุขภาพแรงงานข้ามชาติในเมียนมาร์ทาวน์: โอกาสของประเทศไทยในการเป็นศูนย์กลางแรงงานสุขภาพดี แห่งอาเซียน กรณีศึกษาเทศบาลปากคลองท่าเรือและ เทศบาลปากคลองจังหวัดระนอง | นพ.จิโรจ สินธวานนท์ สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข |
กรอบวิจัยที่ 4 การวิจัยทางด้านการศึกษาและการพัฒนามนุษย์ของประเทศในอาเซียน จํานวน 5 โครงการเดี่ยว ความร่วมมือด้านการศึกษาระหว่างไทยกับประเทศอาเซียน และแนวทางการจัดการศึกษาของประเทศ ไทย เพื่อรองรับการเข้าร่วมประชาคมอาเซียน | ||
16 | การพัฒนาการศึกษาด้านวิชาชีพสถาปัตยกรรมจากการเปิด เสรีการค้าบริการภายใต้ประชาคมอาเซียน | ดร.อัธยานันท์ จิตรโรจนรักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร |
17 | การศึกษาเปรียบเทียบความฉลาดทางวัฒนธรรมของ นักศึกษาพยาบาลชั้นปีสุดท้ายเพื่อเตรียมความพร้อมสําหรับ การประกอบวิชาชีพในกลุ่มประเทศอาเซียน | ดร.กาญจณี พันธุ์ไพโรจน์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
18 | การสังเคราะห์กลยุทธ์การสอนของโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิสลามหลักสูตรบูรณาการในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และการนําไปใช้ในบริบทโรงเรียนชายแดนภาคใต้ | ดร.มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ วิทยาลัยอิสลามศึกษา จ.ปัตตานี |
19 | การปรับปรุงประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ไทย-กัมพูชาใน หลักสูตรสถานศึกษา | ดร.ณัฐพร ไทยจงรักษ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
20 | การศึกษาเปรียบเทียบระบบการศึกษาในระดับอาชีวศึกษา ระหว่างไทยกับสิงคโปร์ | รศ.ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
จากสัญญาสนับสนุนทุนอุดหนุนการวิจัยทั้ง 20 สัญญา โดยวันเริ่มต้นของสัญญาและงบประมาณ ดังนี้
ตาราง 2.3: รายละเอียดสัญญาสนับสนุนทุนอุดหนุนการวิจัย
ลําดับ | กรอบ วิจัย | รอบ | ชื่อโครงการ | งบประมา ณ | วันขึ้น สัญญา | หมาย เหตุ |
1 | 1 | 1/2561 | การเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการฮัจย์ใน ประเทศไทย ผศ.จิราพร เปี้ย สินธุ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี | 1,054,925 | 25/4/2561 | |
2 | 1 | 2/2561 | ศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการ พัฒนาการท่องเที่ยวย่านเมืองเก่าในจังหวัด สงขลาและปัตตานี อาจารย์พาฝัน นิลสวัสดิ์ ดูฮาเมลน์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ | 882,910 | 1/8/2561 | |
3 | 1 | 2/2561 | การประยุกต์ใช้นวัตกรรม Baitul Mal Wattamwil (BMT) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ต่อการแก้ปัญหาความยากจนในสามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ ผศ. รอซีดะห์ หะนะกาแม มหาวิทยาลัยฟาฏอนี | 858,520 | 2/7/2561 | ยุติ สัญญา การรับ ทุน |
4 | 1 | 2/2561 | แนวปฏิบัตทางด้านกฎหมายการนําเข้าสินค้า ของประเทศคู่ค้าและการพัฒนาผลิตภัณฑฮ์ าลา ลของไทยเพื่อการส่งออกในกลุ่มประเทศอาเซียน : กรณีศึกษาการส่งออกผลิตภัณฑ์เครื่องแกง สําเร็จรูปไปประเทศบรูไนดารุสลาม ผศ.ดร. อัสมัน แตอาลี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จ.ปัตตานี | 879,480 | 2/7/2561 | |
5 | 1 | 2/2561 | การศึกษาความเป็นไปได้ในการสร้างความ ร่วมมือในธุรกิจอาหารฮาลาลระหว่างไทยและ มาเลเซีย ดร.สุพรรณี เขียวชอุ่ม มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา | 1,309,250 | 1/8/2561 |
ลําดับ | กรอบ วิจัย | รอบ | ชื่อโครงการ | งบประมา ณ | วันขึ้น สัญญา | หมาย เหตุ |
6 | 2 | 2/2561 | มาตรการทางกฎหมายเพื่อสนบั สนุนการ คุ้มครองผืนป่าข้ามพรมแดนของประเทศไทย และประเทศในกลุ่มอาเซียน ผศ.ดร.ภัทราวรรณ รัตนเกษตร มหาวิทยาลัยพะเยา | 557,274 | 1/8/2561 | |
7 | 2 | 2/2561 | การศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายตลาดทนุ อิสลาม ในประเทศไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ สหรัฐอาหรับ เอมิเรตส์และสหราชอาณาจักร ศ.ดร.ซาการียา หะมะ มหาวิทยาลัยฟาฎอนี | 1,210,900 | 16/7/2561 | |
8 | 2 | 2/2561 | การวิเคราะห์ผลกระทบทางกฎหมายเพื่อขจัด อุปสรรคในการประกอบธุรกิจ: กรณีศึกษา เปรียบเทียบประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย ผศ.ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | 1,202,600 | 3/9/2561 | |
9 | 3 | 1/2561 | นโยบายการจัดการความหลากหลายของรัฐบาล มาเลเซีย : กรณีศึกษานโยบายภูมิบุตรต่อชาว สยาม รศ.พรชัย ลิขิตธรรมโรจน์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | 666,456 | 25/4/2561 | |
10 | 3 | 1/2561 | การศึกษาทัศนะของผบู้ ริหารท้องถิ่นชาวไทย มลายูที่มีต่อนโยบายการบริหารจัดการท้องถิ่น จังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ.2540-2561 ผศ.ไข่มุก อุทยาวลีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี | 767,140 | 30/5/2561 | ยุติ สัญญา การรับ ทุน |
11 | 3 | 1/2561 | การสํารวจสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรต่อผู้สูงวัยเพื่อ ส่งเสริมพฤฒิพลังและคุณภาพชวิตของผู้สูงวัย กรณีศึกษาประเทศญี่ปุ่น มาเลเซีย เมียนมาร์ เวียดนาม และไทย อ.ดร.ศริยามน ติรพัฒน์ มหาวิทยาลัยมหิดล | 1,450,050 | 25/4/2561 |
ลําดับ | กรอบ วิจัย | รอบ | ชื่อโครงการ | งบประมา ณ | วันขึ้น สัญญา | หมาย เหตุ |
12 | 3 | 2/2561 | การย้ายถิ่นของมุสลิมไทยไปมาเลเซีย และ การบูรณาการทางสังคมกับการแก้ไขปัญหาใน สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ รศ.ดร.อารี จําปากลาย มหาวิทยาลัยมหิดล | 1,668,750 | 1/8/2561 | |
13 | 3 | 2/2561 | “ความเป็นมนษย์?: วาทกรรมการบําบัดฟื้นฟูผู้ ตกเป็นเหยื่อของขบวนการค้ามนุษย์ อาจารย์กฤตพล วังภูสิต ม.ราชภัฎพระนคร | 860,800 | 16/7/2561 | ยุติ สัญญา การรับ ทุน |
14 | 3 | 2/2561 | การเลี้ยงนกเขาชวากับการส่งเสริมความสัมพันธ์ ในเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมระหว่างประชาชน จังหวัดชายแดนภาคใต้กับกลุ่มประชาคมอาเซียน คุณคอลัฟ ต่วนบละ นักวิจัยอิสระ | 951,600 | 25/6/2561 | |
15 | 3 | 2/2561 | มาตรการส่งเสริมสุขภาพแรงงานข้ามชาติใน เมียนมาร์ทาวน์: โอกาสของประเทศไทยในการ เป็นศูนย์กลางแรงงานสุขภาพดีแห่งอาเซียน กรณีศึกษาเทศบาลปากคลองทา่ เรือและเทศบาล ปากคลองจังหวัดระนอง นพ.จิโรจ สินธวานนท์ สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข | 965,300 | 3/9/2561 | |
16 | 4 | 1/2561 | การพัฒนาการศึกษาด้านวิชาชพสถาปัตยกรรม จากการเปิดเสรีการค้าบริการภายใต้ประชาคม อาเซียน ดร.อัธยานันท์ จิตรโรจนรักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร | 986,000 | 25/4/2561 | |
17 | 4 | 2/2561 | การศึกษาเปรียบเทียบความฉลาดทางวัฒนธรรม ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีสุดท้ายเพื่อเตรียม ความพร้อมสําหรับการประกอบวิชาชีพในกลุ่ม ประเทศอาเซียน ดร.กาญจณี พันธุ์ไพโรจน์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 1,160,880 | 6/8/2561 |
ลําดับ | กรอบ วิจัย | รอบ | ชื่อโครงการ | งบประมา ณ | วันขึ้น สัญญา | หมาย เหตุ |
18 | 4 | 2/2561 | การสังเคราะห์กลยุทธ์การสอนของโรงเรียน เอกชนสอนศาสนาอิสลามหลักสูตรบูรณาการใน ประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ เพื่อ พัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และการนาํ ไปใช้ ในบริบทโรงเรียนชายแดนภาคใต้ ดร.มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ วิทยาลัยอิสลามศึกษา จ.ปัตตานี | 6/8/2561 | 1,023,965 | |
19 | 4 | 2/2561 | การปรับปรุงประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ไทย- กัมพูชาในหลักสูตรสถานศึกษา ดร.ณัฐพร ไทยจงรักษ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | 443,800 | 25/6/2561 | |
20 | 4 | 2/2561 | การศึกษาเปรียบเทียบระบบการศึกษาในระดับ อาชีวศึกษาระหว่างไทยกับสิงคโปร์ รศ.ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 1,004,600 | 15/8/2561 |
รวมทั้ง 20 โครงการวิจัย ได้ขอใช้งบประมาณในการดําเนินการวิจัยรวมทั้งสิ้น 19,905,200 บาท (สิบเก้าล้านเก้าแสนห้าพันสองร้อยบาทถ้วน) แบ่งตามกรอบวิจัยได้ดังนี้
กรอบวิจัยที่ 1 ใช้งบประมาณในการดําเนินการวิจัยรวมทั้งสิ้น 4,985,085 บาท
กรอบวิจัยที่ 2 ใช้งบประมาณในการดําเนินการวิจัยรวมทั้งสิ้น 2,970,774 บาท
กรอบวิจัยที่ 3 ใช้งบประมาณในการดําเนินการวิจัยรวมทั้งสิ้น 7,330,096 บาท
กรอบวิจัยที่ 4 ใช้งบประมาณในการดําเนินการวิจัยรวมทั้งสิ้น 4,619,245 บาท
แต่หากพิจารณาการสนับสนุนงบประมาณวิจัยแบบเป็นรอบ จะขอใช้งบประมาณดังต่อไปนี้ รอบที่ 1/2561 ใช้งบประมาณในการดําเนินการวิจัยรวมทั้งสิ้น 4,924,571 บาท
รอบที่ 2/2561 ใช้งบประมาณในการดําเนินการวิจัยรวมทั้งสิ้น 14,980,629 บาท
เมื่อโครงการที่ได้รับการพิจารณาและขึ้นสัญญาแล้ว ทางแผนงานฯ ได้ดําเนินการติดตามนักวิจัยใน แต่ละโครงการอย่างใกล้ชิด เพื่อให้การดําเนินงานเป็นไปตามแผน
อนึ่ง ในช่วงของการนําเสนอรายงานความก้าวหน้าของงานวิจัย พบปัญหาการดําเนินงานวิจัย 1 โครงการ ได้แก่ โครงการ “ความเป็นมนุษย์?: วาทกรรมการบําบัดฟื้นฟูผู้ตกเป็นเหยื่อของขบวนการค้า มนุษย์” โดยอาจารย์กฤตพล วังภูสิต จากมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร ซึ่งฝ่ายแผนงานฯ ตรวจพบว่า รายงานความก้าวหน้างานวิจัยไม่ได้คุณภาพตามเป้าหมาย และพบการคัดลอกผลงานของตนเองโดยไม่ได้ เรียบเรียงใหม่ จากการตรวจพบปัญหาข้างต้น ฝ่ายประสานฯ ได้นําเข้าที่ประชุมเพื่อขอมติจากคณะกรรมการ พิจารณา ติดตาม และประเมินผลทุนวิจัยที่ตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ (คณะที่ 2) ซึ่ง คณะกรรมการบอร์ดได้มีมติให้ยุติสัญญาการสนับสนุนทุนวิจัยของโครงการ ณ วันที่ 4 มิถุนายน 2562 และ คืนเงินคงเหลือในช่วงการดําเนินงาน 6 เดือนหลัง
นอกจากนี้ ในการดําเนินงานของแผนงาน ฯ ที่ผ่านมา มีนักวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัย ขอยุติ สัญญาการรับทุนสนับสนุนงานวิจัย หลังจากนําเสนอร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ จํานวน 2 โครงการ ได้แก่
1) โครงการ “การประยุกต์ใช้นวัตกรรม Baitul Mal Wattamwil (BMT) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ต่อการแก้ปัญหาความยากจนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดย ผศ. รอซีดะห์ หะนะกาแม มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
2) โครงการ “การศึกษาทัศนะของผู้บริหารท้องถิ่นชาวไทยมลายูที่มีต่อนโยบายการบริหารจัดการ ท้องถิ่นจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ.2540-2561 ผศ.ไข่มุก อุทยาวลี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
เนื่องด้วย ผลการดําเนินงานวิจัยไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของงานวิจัยได้ และข้อจํากัดด้าน ระยะเวลาที่ส่งผลต่อการดําเนินงานวิจัยในภาพรวม ซึ่งทางคณะกรรมการพิจารณา ติดตามและประเมินผล ทุนวิจัยที่ตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ (คณะที่ 2) เห็นควรดําเนินการยุติสัญญาการรับทุน สนับสนุนงานวิจัยตามความประสงค์ของผู้รับทุน
สําหรับรายละเอียดการยุติสัญญาสนับสนุนทุนอุดหนุนการวิจัยของทั้งสามโครงการวิจัย พร้อม เหตุผล สามารถแสดงได้ดังตาราง
ตาราง 2.4: รายละเอียดการขอยุติสัญญาสนับสนุนทุนอุดหนุนการวิจัย
โครงการ | รายละเอียด |
โครงการ “ความเป็นมนุษย์?: วาท กรรมการบําบัดฟื้นฟูผู้ตกเป็นเหยื่อ ของขบวนการค้ามนุษย์” โดย อาจารย์กฤตพล วังภูสิต มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร | - ขาดความชัดเจนในทุกรายละเอียดของการวิจัย ตั้งแต่การตอบ วัตถุประสงค์ตามกรอบวิจัย การทบทวนวรรณกรรม และการ ออกแบบการวิจัย - พบการคัดลอกผลงานของตนเอง |
โครงการ “การประยุกต์ใช้นวัตกรรม Baitul Mal Wattamwil (BMT) เพื่อ เพิ่มขีดความสามารถต่อการแก้ปัญหา ความยากจนในสามจังหวัดชายแดน ภาคใต้ โดย ผศ. รอซีดะห์ หะนะกาแม มหาวิทยาลัยฟาฏอนี | - การดําเนินการวิจัยไม่ตอบวัตถุประสงค์ของโครงการฯ โดยเฉพาะวัตถุประสงค์ข้อ 3 - แม้นักวิจัยจะเพิ่มเติมข้อมูลในหลายจุดหลังจากการปรับแก้ แต่ ไม่ได้อธิบายตรงประเด็น รวมทั้งยังมีหลายข้อที่นักวิจัยไม่ได้ ดําเนินการ ทําให้โครงการวิจัยฯ นี้มีเพียงข้อมูล จากการอธิบาย มากกว่าการวิเคราะห์/สังเคราะห์ และทําการเปรียบเทียบให้เห็น ว่า ข้อเสนอการประยุกต์จากกรณีศึกษาจะสามารถประยุกต์ใช้ได้ ในภาคใต้อย่างเป็นเหตุเป็นผล - ในรายงาน พบว่ายังขาดสาระสําคัญตามแผน และข้อเสนอแนะ ของผู้ทรงคุณวุฒิหลายส่วน การเรียบเรียงเนื้อหา เป็นการตัดแปะ ข้อมูลจากหนังสือ และเว็บไซต์ต่าง ๆ ยังไม่เห็นการนําเสนอผล การศึกษาที่ได้จากการเก็บข้อมูลภาคสนามเท่าไรนัก |
โครงการ “การศึกษาทัศนะของ ผู้บริหารท้องถิ่นชาวไทยมลายูที่มีต่อ นโยบายการบริหารจัดการท้องถิ่น จังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ.2540- 2561 โดย ผศ.ไข่มุก อุทยาวลี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี | - การดําเนินงานวิจัยไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของงานวิจัยได้ - ผลการศึกษา ไม่มีการจําแนกให้เห็นถึงข้อมูลพื้นฐานของกลุ่ม ตัวอย่างที่ทําการศึกษา ซึ่งเป็นข้อมูลสําคัญในการวิเคราะห์ อภิปรายผลการศึกษา จึงทําให้การศึกษานี้ขาดการวิเคราะห์ ข้อมูล - มีปัญหาในการเรียบเรียงเนื้อหาทําให้อ่านและติดตามได้ยาก - ข้อค้นพบของการศึกษาไม่นําไปสู่ข้อเสนอแนะของการวิจัย - ผลการศึกษาส่วนใหญ่ขาดการอ้างอิงหลักฐานข้อมูลที่น่าเชื่อถือ จากการสัมภาษณ์ |
โดยสรุป โครงการวิจัยภายใต้แผนงาน ฯ ที่สามารถดําเนินการจนบรรลุผลผลิตและผลลัพธ์ของ แผนงาน ฯ มีจํานวน 17 โครงการวิจัย โดยได้มีการนําเสนอรายงานความก้าวหน้า และรายงานฉบับสมบูรณ์ ให้แผนงาน ฯ เพื่อพิจารณาผลผลิตและผลลัพธ์ในการดําเนินงานวิจัยต่อไป
ภารกิจ 2: ประสานงานภายในและภายนอกชุดโครงการและสนับสนุนให้เกิดโครงการวิจัยชนิดบูรณาการ ผลการปฏิบัติงาน
เพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์ของการดําเนินงานโครงการ ทางโครงการได้มีการประสานงานกับ สกสว. วช. และคณะกรรมการพิจารณาติดตาม และประเมินผลฯ (บอร์ด 2) เพื่อให้ทราบถึงรายละเอียดการ ดําเนินการ ขั้นตอน พร้อมทั้งปัญหา และอุปสรรคต่างๆ เพื่อให้การดําเนินแผนกิจกรรมเป็นไปอย่างเหมาะสม
ในการดําเนินแผนกิจกรรมทางทีมงานได้จัดการประชุมผู้เกี่ยวข้องต่างๆ และได้เข้าร่วมประชุมชี้แจง ผลการดําเนินการตามแผนกิจกรรมเป็นระยะ เพื่อสร้างการดําเนินการร่วมกันอย่างเหมาะสม และมี ประโยชน์ต่อการพัฒนางานวิจัย ในแผนงานการวิจัยมุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ ประจําปี 2561 กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน ฝ่ายประสานฯ ได้สรุปการประชุมต่าง ๆ ที่มีความสําคัญต่อการ ดําเนินตามแผนกิจกรรม ดังนี้
1) การประชุมร่วมกับคณะกรรมการกํากับแผนงานวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการ พัฒนาประเทศ (คณะที่ 1) กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน ครั้งที่ 1/2560 วันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2560 ณ โรงแรมมารวย กาเด้นท์ กรุงเทพฯ
2) การประชุมร่วมกับคณะกรรมการกํากับแผนงานวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการ พัฒนาประเทศ (คณะที่ 2) กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน ครั้งที่ 1 (1/2560) วันพฤหัสบดีที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 เวลา 13.30 -16.30 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 22 สกสว. เพื่อพิจารณา ข้อเสนอโครงการวิจัยที่มุ่งเป้าฯ กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน ประจําปี 2561 และคัดเลือก ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินโครงการฯ
3) การประชุมร่วมกับคณะกรรมการกํากับแผนงานวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการ พัฒนาประเทศ (คณะที่ 2) และผู้ทรงคุณวุฒิโครงการฯ เพื่อพิจารณาข้อเสนอโครงการทุนวิจัยที่ มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน ประจําปี งบประมาณ 2561 วันพุธที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2561 เวลา 09.30 – 16.00 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 22 สกสว.
4) การประชุมร่วมกับสกสว. ในวันจันทร์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ.2561 เพื่อขอคําปรึกษาและคัดเลือก เป็นเบื้องต้นกับข้อเสนอโครงการวิจัยที่มุ่งเป้าฯ กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน ประจําปี 2561 รอบที่ 2 ที่ส่งมาเข้ารับการพิจารณา
5) การประชุมพิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนา ประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียนในวันจันทร์ที่ 2 เมษายน 2561 เวลา 08.00–12.00 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 14 สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) อาคาร เอส เอ็ม ทาวเวอร์ เพื่อแจ้งผลการประเมิน ข้อเสนอโครงการรอบ 1 และการแจ้งจํานวนและสถานะของโครงการที่ส่งมาให้พิจารณารอบ 2
6) การประชุมร่วมกับคณะกรรมการกํากับแผนงานวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการ พัฒนาประเทศ (คณะที่ 2) ในวันพฤหัสบดี ที่ 19 เมษายน 2561 เวลา 13.00-16.00 น. ณ ห้อง บรรยาย 3 ชั้น 1 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อาคารเอส เอ็ม ทาวเวอร์ (สนามเป้า) เพื่อพิจารณา คัดเลือกข้อเสนอโครงการ และพิจารณาผู้ทรงคุณวุฒิที่จะประเมินคุณภาพข้อเสนอโครงการวิจัย (กรอบกฎหมาย 9 โครงการ และ กรอบเศรษฐกิจ 4 โครงการ)
7) การประชุมร่วมกับคณะกรรมการกํากับแผนงานวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการ พัฒนาประเทศ (คณะที่ 2) ในวันศุกร์ที่ 4 พฤษภาคม 2561 เวลา 09.00 – 16.00 น. ณ ห้อง ประชุม ชั้น 22 สกสว. อาคาร เอส เอ็ม ทาวเวอร์ (สนามเป้า) เพื่อพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอ โครงการ และพิจารณาผู้ทรงคุณวุฒิที่จะประเมินคุณภาพข้อเสนอโครงการวิจัย (กรอบสังคม 11 โครงการ และ กรอบการศึกษาฯ 7 โครงการ)
8) การประชุมร่วมกับคณะกรรมการกํากับแผนงานวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการ พัฒนาประเทศ (คณะที่ 2) และผู้ทรงคุณวุฒิในวันจันทร์ ที่ 7 พฤษภาคม 2561 เวลา 09.00 –
16.00 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 14 สกสว. อาคาร เอส เอ็ม ทาวเวอร์ (สนามเป้า) เพื่อเข้าร่วม การรับฟังการนําเสนอและพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอโครงการ ร่วมกับนักวิจัยโครงการและ ผู้ทรงคุณวุฒิ (กรอบกฎหมาย และ กรอบเศรษฐกิจ)
9) การประชุมร่วมกับคณะกรรมการกํากับแผนงานวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการ พัฒนาประเทศ (คณะที่ 2) และผู้ทรงคุณวุฒิ ในวันพฤหัสบดี ที่ 17 พฤษภาคม 2561 เวลา
09.00 – 16.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 22 สกสว. อาคาร เอส เอ็ม ทาวเวอร์ (สนามเป้า) เพื่อ เข้าร่วมการรับฟังการนําเสนอและพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอโครงการ ร่วมกับนักวิจัยโครงการ และผู้ทรงคุณวุฒิ (กรอบสังคมและ กรอบการศึกษาฯ) รอบ 1
10) การประชุมร่วมกับคณะกรรมการกํากับแผนงานวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการ พัฒนาประเทศ (คณะที่ 2) และผู้ทรงคุณวุฒิ วันจันทร์ที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2561 เวลา 10.30
- 16.15 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 14 สกสว.เพื่อเข้าร่วมการรับฟังการนําเสนอและพิจารณา
คัดเลือกข้อเสนอโครงการ ร่วมกับนักวิจัยโครงการและผู้ทรงคุณวุฒิ (กรอบสังคมและ กรอบ การศึกษาฯ) รอบ 2
11) เข้าพบกับผู้อํานวยการฝ่ายฯ ในวันจันทร์ที่ 7 มกราคม 2562 ณ สกสว. เพื่อนําเสนอผลการ ดําเนินการของแผนงานส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการ พัฒนาประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน รวมถึงการนําเสนอ สถานะและการดําเนินงานของโครงการที่ผ่านการพิจารณา และสะท้อนอุปสรรคและปัญหาใน การดําเนินงานที่ผ่านมา เพื่อให้การดําเนินการต่อไปเป็นไปอย่างราบรื่น
12) การประชุมร่วมกับคณะกรรมการกํากับแผนงานวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการ พัฒนาประเทศ (คณะที่ 2) เพื่อแจ้งผลการพิจารณาประเมินรายงานความก้าวหน้าโครงการ งบประมาณ 2561 รอบ 2/2562 จํานวน 7 โครงการ ในวันวันจันทร์ที่ 29 เมษายน 2562 เวลา
11.30 – 12.00 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 14 สกสว.
13) การประชุมคณะกรรมการและผู้ทรงคุณวุฒิติดตามและประเมินผลพิจารณาความก้าวหน้าของ โครงการภายใต้แผนงานส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการ พัฒนาประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2561 : กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียนครั้งที่ 4/2562 ในวัน อังคารที่ 4 มิถุนายน 2562 เวลา 11.30 – 12.00 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 15 สกสว.
ภารกิจ 3: ติดตามโครงการอย่างใกล้ชิดให้คําปรึกษาในรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการวิจัยตามความ เหมาะสม
ผลการปฏิบัติงาน
จากโครงการที่ผ่านคณะกรรมการพิจารณา ติดตาม และประเมินผลฯ (บอร์ด 2 ) จํานวน 20 โครงการเดี่ยว ในแต่ละช่วงของการดําเนินการตั้งแต่ขั้นตอนพิจารณาข้อเสนอโครงการ การติดต่อ ผู้ทรงคุณวุฒิ และคณะกรรมการบอร์ด 2 การรวบรวมผลการประเมินข้อเสนอโครงการ และรายงาน ความก้าวหน้าให้กับทาง สกสว. รับทราบ รวมถึงการติดต่อกับนักวิจัยโครงการ ฝ่ายประสานฯ ได้ทําการ ประสานงานกับนักวิจัยแต่ละโครงการอย่างใกล้ชิด
ในการประสานงานกับนักวิจัย และทางต้นสังกัดของนักวิจัย ฝ่ายประสานฯ ได้มีการประสานงาน เพื่อติดตามโครงการที่ขึ้นสัญญาแล้วอย่างเป็นระยะ ๆ ผ่านทางอีเมล โทรศัพท์ และสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อให้ เกิดความเข้าใจที่ถูกต้องในขั้นตอนการดําเนินการวิจัย และมีกระบวนการวิจัยให้ตรงตามกรอบเวลาการ ดําเนินการวิจัย รวมถึงการให้คําปรึกษา และให้ข้อแนะนําในการดําเนินการวิจัย กับนักวิจัยที่ผ่านการ พิจารณาทั้ง 20 โครงการ ตั้งแต่เริ่มต้นการขึ้นสัญญาโครงการ การแจ้งเตือนเมื่อถึงเวลาสําหรับการนําเสนอ
รายงานความก้าวหน้าโครงการ นําเสนอ(ร่าง)รายงานฉบับสมบูรณ์ และการให้คําปรึกษาตลอดช่วงการ ดําเนินการวิจัย เพื่อให้การดําเนินการวิจัยเป็นไปอย่างถูกต้อง ตามกรอบเวลาที่กําหนดไว้
ภารกิจ 4: จัดการประชุมการเสนอความคืบหน้าของการดําเนินงานอย่างน้อยจํานวน 2 ครั้ง เพื่อให้ นักวิจัยได้มีโอกาสรับฟังความคิดเห็นอันเป็นประโยชน์จากผู้เชี่ยวชาญและนําข้อแนะนําไปพัฒนา งานวิจัยให้เป็นงานวิจัยที่มีคุณภาพ
ในการดําเนินงานตามแผนกิจกรรม คณะทํางานได้จัดการประชุมผู้เกี่ยวข้องต่างๆ และได้เข้าร่วม ประชุมชี้แจงผลการดําเนินการตามแผนกิจกรรมเป็นระยะ โดยขอสรุปการประชุมที่เป็นการจัดเวทีให้กับ นักวิจัยภายใต้แผนงานในช่วงของการนําเสนอรายงานความก้าวหน้า และร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ ซึ่งเป็น การประชุมเพื่อนําเสนองานวิจัย ซึ่งมีความสําคัญต่อการดําเนินตามแผนกิจกรรมตามช่วงเวลาดังกล่าว ข้างต้น ดังนี้
(1) การประชุมพิจารณาเพื่อนําเสนอรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความ ต้องการในการพัฒนาประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน รอบที่ 1 จํานวน 4 โครงการ ในวันศุกร์ที่ 23 พฤศจิกายน 2561 เวลา 14.00–17.00 น. ณ ห้อง ประชุม 1 ชั้น 14 สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) อาคาร เอส เอ็ม ทาวเวอร์
(2) การประชุมพิจารณาเพื่อนําเสนอรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความ ต้องการในการพัฒนาประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน รอบที่ 2 จํานวน 7 โครงการ ในวันศุกร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09.00 – 16.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 22 สกสว. อาคาร เอส เอ็ม ทาวเวอร์ (สนามเป้า)
(3) การประชุมพิจารณาเพื่อนําเสนอรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความ ต้องการในการพัฒนาประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน รอบที่ 3 จํานวน 8 โครงการ ในวันพฤหัสบดีที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2562 เวลา 9.00 – 16.30 น. ณ ห้อง ประชุม 1 ชั้น 14 สกสว.
(4) การประชุมพิจารณาร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ของโครงการรอบที่ 1 จํานวน 2 โครงการ ภายใต้ ทุนวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน ในวันพฤหัสบดีที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2562 เวลา 9.00 – 11.30 น. ณ ตึก SM Tower ห้องประชุมชั้น 22 สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (สกสว.)
(5) การประชุมพิจารณาร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ของโครงการรอบที่ 2 จํานวน 2 โครงการ ภายใต้ ทุนวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน ในวันพุธที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เวลา 13.00 – 16.00 น. ณ ตึก SM Tower ห้องประชุมชั้น 22 สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (สกสว.)
(6) การประชุมพิจารณาร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ของโครงการรอบที่ 3 จํานวน 2 โครงการ ภายใต้ ทุนวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน ในวันพุธที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2562 เวลา 13.00 – 15.30 น. ณ ตึก SM Tower ห้องประชุม 1 ชั้น 15 สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (สกสว.)
(7) การประชุมพิจารณาร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ของโครงการรอบที่ 4 จํานวน 5 โครงการ ภายใต้ ทุนวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน ในวันอังคารที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 เวลา 8.30-16.00 น. ณ ตึก SM Tower ห้องประชุม 1 ชั้น 15 สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (สกสว.)
(8) การประชุมพิจารณาร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ของโครงการรอบที่ 5 จํานวน 8 โครงการ ภายใต้ ทุนวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน ในวันอังคารที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 เวลา 8.30-16.30 น. ณ ตึก SM Tower ห้องประชุม 1 ชั้น 15 สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (สกสว.)
อนึ่ง การประชุมร่วมต่างๆ เพื่อดําเนินแผนกิจกรรมนั้น จะส่งเสริมให้เกิดการดําเนินงานที่เหมาะสม และมีประโยชน์ต่อการพัฒนางานวิจัย ในแผนงานการวิจัยมุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนา ประเทศ ประจําปี 2561 กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน
ผลการปฏิบัติงาน
ในการดําเนินงานตามแผนกิจกรรม ฝ่ายประสานฯ ได้จัดการประชุมผู้เกี่ยวข้องต่างๆ และได้เข้าร่วม ประชุมชี้แจงผลการดําเนินการตามแผนกิจกรรมเป็นระยะ โดยขอสรุปการประชุมต่างๆ ที่มีความสําคัญต่อ การดําเนินตามแผนกิจกรรมตลอดช่วงการดําเนินงานโครงการประสาน ดังนี้
อนึ่ง การประชุมร่วมต่างๆ เพื่อดําเนินแผนกิจกรรมนั้น จะส่งเสริมให้เกิดการดําเนินงานที่เหมาะสม และมีประโยชน์ต่อการพัฒนางานวิจัย ในแผนงานการวิจัยมุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนา ประเทศ ประจําปี 2561 กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน
ภารกิจ 5: ให้ข้อคิดเห็นและให้ความเห็นชอบต่อรายงานความก้าวหน้าของการดําเนินการโครงการ ผลการปฏิบัติงาน
ฝ่ายประสานฯ ได้มีการประสานงานกับนักวิจัยโครงการ เพื่อให้แต่ละโครงการพิจารณาปรับแก้ตาม คําแนะนําของผู้ทรงคุณวุฒิ และส่งกลับมาให้ผู้ประสานฯ เป็นผู้ตรวจสอบเป็นเบื้องต้น และประเมินข้อเสนอ โครงการว่าได้มีการปรับแก้ตามข้อความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิหรือไม่ รวมถึงพิจารณาการคัดลอกในเชิง เนื้อหาของงานวิจัย ซึ่งเป็นกระบวนการที่ได้ดําเนินการหลังจากนักวิจัยได้รับผลประเมินจากคณะกรรมการ บอร์ดและผู้ทรงคุณวุฒิ และนําส่งรายงานการปรับแก้ให้กับ สกสว. เพื่อให้นักวิจัยสามารถดําเนินงานตาม กรอบเวลาของการวิจัย
ภารกิจ 6: ติดตามความก้าวหน้าของโครงการและประเมินโครงการตามระยะเวลาที่ระบุในสัญญาตาม เกณฑ์และแนวทางที่ สกสว. กําหนด
ผลการปฏิบัติงาน
ฝ่ายประสานฯ ได้มีการติดตามความก้าวหน้าของโครงการทั้ง 20 โครงการ ให้ดําเนินไปตาม ระยะเวลาที่ระบุในสัญญาตามเกณฑ์และแนวทางที่ สกสว.กําหนด โดยจะเป็นการแจ้งเตือนผ่านอีเมลไปยัง หัวหน้าโครงการทุกโครงการเมื่อถึงเวลาที่จะต้องส่งรายงานความก้าวหน้าในระยะ 6 เดือน และการส่ง (ร่าง) รายงานฉบับสมบูรณ์ในช่วงระยะ 6 เดือนหลัง รวมถึงการแจ้งเตือนการครบระยะเวลาการปรับแก้ตามเวลาที่ ได้กําหนดไว้ เพื่อให้นักวิจัยสามารถดําเนินงานตามกรอบเวลาของการวิจัย
ภารกิจ 7: จัดทํารายงานความก้าวหน้าและรายงานการเงินนําเสนอให้ฝ่ายทราบทุก 6 (หก) เดือน ผลการปฏิบัติงาน
ฝ่ายประสานฯ มีการจัดทํารายงานความก้าวหน้า และรายงานทางการเงิน เพื่อเสนอต่อทาง สกสว. ตามระเบียบของ สกสว. เพื่อเป็นการแสดงให้เห็นภาพการดําเนินการของแผนกิจกรรม ตามข้อกําหนดอย่าง เคร่งครัด โดยได้นําส่งรายงานความก้าวหน้า เพื่อแสดงให้เห็นถึงความเคลื่อนไหวในการดูแลและดําเนินการ ติดตามการทํางานวิจัยของนักวิจัยภายใต้แผนงานฯ รวมทั้งดําเนินการจัดทํารายงานฉบับสมบูรณ์ เพื่อเป็น การแสดงให้เห็นถึงผลลัพธ์ในการดําเนินงานของแผนงานฯ รวมทั้งความคุ้มค่าที่ได้รับจากแผนงานฯ
ภารกิจ 8: เข้าร่วมประชุมและติดตามความก้าวหน้าของวงการวิชาการและวงการอื่นที่เกี่ยวข้องกับ บทบาทหน้าที่ของชุดโครงการ
ผลการปฏิบัติงาน
ฝ่ายประสานฯ ได้มีการเข้าร่วมในกิจกรรมที่สกสว. จัดขึ้น พร้อมกันนี้ฝ่ายประสานฯ ยังมีแผนงานใน เรื่องการประสานงานกับหน่วยงานภาคราชการ และสถาบันวิจัยของภาครัฐและเอกชน เพื่อติดต่อ ประสานงาน และประชาสัมพันธ์ในเรื่องการประกาศทุนวิจัย เพื่อสนับสนุนการทํางานวิจัยที่ตอบสนองความ ต้องการในการพัฒนาประเทศ กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียนต่อไป จากผลการดําเนินภารกิจหลัก และภารกิจ รองข้างต้น โครงการได้ดําเนินการตามแผนกิจกรรม เพื่อสนับสนุน และประสานงานให้เกิดการดําเนิน งานวิจัยที่เหมาะสม ตรงตามกรอบวิจัย และมีเป้าหมายเพื่อพัฒนางานวิจัยที่สร้างความบูรณาการเพื่อการ พัฒนาประเทศอย่างเหมาะสม
ภารกิจ 9: ให้ความร่วมมือกับฝ่ายประชาสัมพันธ์สกสว. ในการเผยแพร่ผลงานวิจัยเพื่อการผลักดันสู่ การใช้ประโยชน์
ผลการปฏิบัติงาน
ฝ่ายประสานฯ ได้มีแผนในการร่วมมือกับฝ่ายประชาสัมพันธ์ สกสว. ในการเผยแพร่ผลงานวิจัยเพื่อ การผลักดันสู่การใช้ประโยชน์ โดยจะมีการจัดการเผยแพร่ผลงานวิจัย เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้ทราบถึงการ ดําเนินการของโครงการ และสนับสนุนให้เกิดการบูรณาการร่วมกันของนักวิจัย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2.2 ภารกิจรอง
2.2.1 ภารกิจรองที่ 1: พัฒนาฐานข้อมูลและระบบฐานข้อมูลเพื่อการวิจัยและพัฒนาในสํานัก ประสานงาน
ผลการปฏิบัติงาน
ฝ่ายประสานฯ ได้เก็บรวบรวมข้อมูลนักวิจัย เพื่อทําเป็นฐานข้อมูลเพื่อการวิจัยและพัฒนาในสํานัก ประสานงาน โดยเริ่มเก็บข้อมูลในระบบ Microsoft excel เพื่อประโยชน์สําหรับฝ่ายประสานฯ ในช่วง ระหว่างการติดตามและประสานงานกับนักวิจัยในแต่ละโครงการ รวมทั้งการทําสรุปรายงานต่าง ๆ ตาม ภารกิจ
อนึ่ง เมื่อสิ้นสุดการดําเนินงานตามแผนกิจกรรมของโครงการประสาน ฝ่ายประสานฯ จะทําการ รวบรวมฐานข้อมูลนักวิจัยโครงการภายใต้แผนการทํากิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยที่มุ่งเป้า ตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน เพื่อ ส่งต่อให้กับสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เพื่อนําไปเป็นฐานข้อมูลวิจัย สําหรับการเผยแพร่ในลําดับถัดไป รวมทั้งการจัดทําบทสรุปผู้บริหารอย่างย่อ (ตามภาคผนวก) เพื่อให้สําหรับ การพัฒนาเผยแพร่ต่อไป
2.2.2 ภารกิจรองที่ 2: ประสานงานกับหน่วยงานภาคราชการ และสถาบันวิจัยของภาครัฐและ เอกชน ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินงานของแผนงาน ฯ และฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
ผลการปฏิบัติงาน
ฝ่ายประสานฯ มีการประสานงานกับหน่วยงานภาคราชการ และสถาบันวิจัยของภาครัฐและ ภาคเอกชน เพื่อติดต่อประสานงานและประชาสัมพันธ์เรื่องการเปิดรับทุนวิจัย และหากมีการนําเสนอกรอบ วิจัยเพิ่มเติม จะทําการติดต่อหน่วยงานต่างๆ เพื่อสนับสนุนการทํางานวิจัยที่ตอบสนองความต้องการในการ พัฒนาประเทศ กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียนต่อไป
จากผลการดําเนินภารกิจหลัก และภารกิจรองข้างต้น โครงการได้ดําเนินการตามแผนกิจกรรม เพื่อ สนับสนุน และประสานงานให้เกิดการทําวิจัยที่เหมาะสม ตรงตามกรอบวิจัย และมีเป้าหมายเพื่อพัฒนา งานวิจัยที่สร้างความบูรณาการเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างเหมาะสม
ส่วนที่ 3 ผลงานการดําเนินงานของแผนงานฯ
ฝ่ายประสานฯ ได้ทําการประสานงาน เพื่อแผนการทํากิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยที่มุ่ง เป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ ประจําปี งบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน โดยสนับสนุนให้เกิดงานวิจัยภายใต้กรอบวิจัยนี้ ซึ่งได้ผลวิจัยที่มีเป้าหมายของผลผลิตและผลลัพธ์ที่เป็น รูปธรรม สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้จริงตามขอบเขตการวิจัยที่สนับสนุนการวิจัยตามขอบเขตการทํางาน ที่ คณะกรรมการกํากับแผนงานวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ การประสานงาน การวิจัยเพื่อสนับสนุนการทํางาน สนับสนุน ช่วย และติดตามการทํางานของโครงการต่างๆ ในแผนงาน เพื่อให้ได้ผลผลิต/ ผลลัพธ์ของแต่ละโครงการอย่างเหมาะสม และวางแผนให้เกิดการใช้ประโยชน์ ส่งเสริมให้ เกิดการเผยแพร่ผลงานวิจัย และขยายผลจากการวิจัยอย่างเหมาะสม ดังกรอบการวิจัย 4 กรอบวิจัย ได้แก่
1) การวิจัยทางด้านเศรษฐกิจ
2) การวิจัยทางด้านกฎหมาย
3) การวิจัยทางด้านสังคมวิทยา
4) การวิจัยทางด้านการศึกษาและการพัฒนามนุษย์ของประเทศในอาเซียน
ข้อเสนอโครงการวิจัย ภายใต้กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน ที่ผ่านการพิจารณาทุนสนับสนุนการวิจัย ประจําปี 2561 ในรอบที่ 1 มีจํานวน 5 โครงการเดี่ยว และในรอบที่ 2 มีจํานวน 15 โครงการเดี่ยว รวม จํานวนทั้งสิ้น 20 โครงการเดี่ยว ที่ได้ขี้นสัญญาโครงการ แต่มีเพียง 17 โครงการเดี่ยวเท่านั้น ที่ได้ดําเนินการ จนเสร็จสิ้น สําหรับอีก 3 โครงการเดี่ยว ได้ดําเนินการยกเลิกสัญญา เนื่องจากไม่สามารถดําเนินการวิจัยต่อ ได้ จากกรอบวิจัยทั้ง 4 ด้าน ฝ่ายประสานฯ ได้สรุปสาระสําคัญตามกรอบการวิจัยดังต่อไปนี้
3.1 ผลการดําเนินงานของแผนงานฯ ภายใต้กรอบวิจัยที่ 1 การวิจัยทางด้านเศรษฐกิจ
ในกรอบวิจัยที่ 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
1) นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจ ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศไทยกับ ประเทศอื่นในอาเซียน
2) การเปรียบเทียบโครงสร้างและการดําเนินงานของหน่วยงานรัฐหรือกึ่งรัฐที่เกี่ยวกับการพัฒนาของ ประเทศไทยกับประเทศอาเซียนอื่นๆ เช่น PERMANDU ของมาเลเซียกับ PMDU ของไทย
3) ศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุนระหว่างประเทศไทยกับประเทศอื่นในอาเซียน ซึ่งรวมถึงใน อุตสาหกรรมฮาลาล และการเงินอิสลาม
4) การทําความเข้าใจบทบาทของกองทุนสําคัญในประเทศอาเซียน เช่น เทมาเส็ก คาซานา เฟลด้า ตะบุงฮัจย์
กรอบการวิจัยด้านเศรษฐกิจ มีโครงการที่ได้รับอนุมัติ จํานวน 5 โครงการเดี่ยว ขอยุติโครงการ 1 โครงการเดี่ยว ใช้งบประมาณในการดําเนินการวิจัยรวมทั้งสิ้น 4,985,085 บาท ดังนั้นจึงมีโครงการเดี่ยว ในกรอบการวิจัยนี้ที่สามารถดําเนินการจนเสร็จสิ้นจํานวน 4 เรื่อง จึงสามารถสรุปสาระสําคัญของงานวิจัย ได้ดังนี้
1) โครงการวิจัยเรื่อง “การเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการฮัจย์ในประเทศไทย” โดย ผศ.จิราพร เปี้ยสินธุ หัวหน้าโครงการ จากมหาวิทยาลัยฟาฏอนี ได้ผลการวิจัยที่สําคัญดังต่อไปนี้
งานวิจัยนี้นี้มีวัตถุประสงค์ 4 ข้อ คือ 1) เพื่อศึกษาโครงสร้างและรูปแบบการบริหารจัดการกองทุน
Tabung Haji ประเทศมาเลเซีย 2) เพื่อศึกษาโครงสร้างและรูปแบบการบริหารจัดการฮัจย์ในประเทศไทย 3) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการบริหารจัดการฮัจย์ประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย และ 4) เพื่อศึกษา และพัฒนากลยุทธ์เพื่อเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการฮัจย์ในประเทศไทย โดยเป็นการวิจัยแบบผสมผสานทั้ง เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ครอบคลุมการศึกษาในประเด็นของโครงสร้างและการบริหารจัดการฮัจย์ ทําการ เปรียบเทียบกับการบริหารจัดการกองทุนฮัจย์ของประเทศมาเลเซีย และทําการพัฒนากลยุทธ์ในการบริหาร จัดการฮัจย์สําหรับประเทศไทย ซึ่งกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มหลักคือ กลุ่มตัวอย่างสําหรับ การศึกษาเชิงปริมาณ ได้แก่ กลุ่มผู้เดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ในปี พ.ศ. 2561 จํานวน 400 คน และกลุ่ม ตัวอย่างสําหรับการศึกษาเชิงคุณภาพ ได้แก่ คณะกรรมการกองทุนการจัดการฮัจย์ของประเทศมาเลเซีย Tabung Haji คณะกรรมการส่งเสริมกิจการฮัจย์ไทย คณะทํางานคณะผู้แทนฮัจย์ไทย ตัวแทนผู้ประกอบการ ฮัจย์ไทย ผู้นํากลุ่ม (แซะห์) ผู้เดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ในปี 2561 ของประเทศไทยและประเทศมาเลเซีย จํานวน 57 คน
จากการวิจัยพบข้อเสนอในการพัฒนาการบริหารจัดการฮัจย์ของประเทศไทย คือ ควรปรับ โครงสร้างและรูปแบบการบริหารจัดการฮัจย์ในประเทศไทยทั้งระบบ โดยปรับการบริหารจัดการฮัจย์ให้มีการ ดําเนินงานที่เป็นงานประจําและมีความต่อเนื่อง จํากัดจํานวนคณะทํางานด้านการฮัจย์เฉพาะที่มีหน้าที่ใน การปฏิบัติงาน มีการพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงานอย่างสม่ําเสมอ ควรมีการสร้างการเข้าถึงฮัจย์ควรเป็น บทบาทหนึ่งของหน่วยงานบริหารจัดการฮัจย์ของไทย และควรมีการออกแบบและสร้างกลไกในการบริหาร จัดการกองทุนฮัจย์เพื่อการนําไปสู่การเพิ่มศักยภาพในการบริหารจัดการและคุณภาพการให้บริการฮัจย์ของ ไทย ซึ่งนําไปสู่ข้อเสนอแนะต่อกระทรวงมหาดไทย ให้ได้แนวทางในการพัฒนาการบริหารจัดการฮัจย์ ภายใต้ การการกํากับดูแล โดยการเสนอแก้ไขกฎกระทรวงให้มีความสอดคล้องในด้านต่างๆ เช่น การแต่งตั้ง คณะทํางาน การกําหนดภาระงานของคณะทํางานให้สอดคล้องกับภารกิจ หลังจากนั้นการพัฒนาในระดับ อื่นๆจะค่อยเป็นค่อยไป
2) โครงการ “ศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวย่านเมืองเก่า ในจังหวัดสงขลาและปัตตานี” โดย อาจารย์พาฝัน นิลสวัสดิ์ ดูฮาเมลน์ หัวหน้าโครงการ จาก มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ ได้ผลการวิจัยที่สําคัญดังต่อไปนี้
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ต่อการ พัฒนาการท่องเที่ยวพื้นที่ย่านเมืองเก่าในจังหวัดสงขลาและปัตตานี 3 ด้าน คือ ด้านโครงสร้าง ด้านการ ดําเนินงาน และด้านผลการดําเนินงาน เพื่อนํามาสู่การประเมินศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ของแต่ละจังหวัด และหาแนวทางในการเพิ่มศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ต่อ การพัฒนา การท่องเที่ยวในพื้นที่ย่านเมืองเก่าต่อไป ผลการวิเคราะห์ศักยภาพทั้ง 3 ส่วนนํามาสู่การประเมิน ศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ใน 4 ด้านคือ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
ผลจากการศึกษาศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวใน พื้นที่ย่านเมืองเก่าสงขลาและจังหวัดปัตตานี สามารถสรุปผลการศึกษาประเมินศักยภาพขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (อปท.) จังหวัดสงขลาได้ดังนี้คือ (1) จุดแข็ง ได้แก่ การกระจายอํานาจให้ท้องถิ่นเลือกตั้งผู้นํา องค์กรได้โดยตรงทําให้สามารถกําหนดทิศทางการพัฒนาได้ตามความสอดคล้องของพื้นที่และความต้องการ ของท้องถิ่น ส่วนวิสัยทัศน์ของผู้นําองค์กรทั้งสองเห็นชอบกับการวางเป้าหมายของการพัฒนาเมืองเก่าสงขลา ไปสู่เมืองมรดกโลก การบังคับใช้เทศบัญญัติเข้ามาควบคุมดูแลรักษาภูมิทัศน์ประวัติศาสตร์ของเมืองเก่าไม่ให้ แปรเปลี่ยนไป รวมถึงเทศบัญญัติที่ครอบคลุมและส่งเสริมการบริหารจัดการท่องเที่ยวในพื้นที่ และการมี องค์กรอิสระช่วยขับเคลื่อนงานพัฒนาเมืองเก่าร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) (2) จุดอ่อน ได้แก่ การบริหารจัดการด้านสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว ปัญหาสําคัญคือที่จอดรถ นอกจากนี้ความ ยินยอมพร้อมใจของประชาชนที่จะให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เข้าไปพัฒนาและปรับเปลี่ยนการ ใช้ประโยชน์ในพื้นที่ทําให้การดําเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ไม่ราบรื่นนัก (3) โอกาส
ได้แก่ การสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศด้านเมืองเก่าที่มีการนําร่องมาแล้ว นอกจากนี้การมี สถาบันการศึกษาในพื้นที่ที่พร้อมจะเข้าร่วมในการพัฒนาร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และ (4) อุปสรรค ได้แก่ งบประมาณและความรู้ความชํานาญของบุคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ที่มี ไม่เพียงพอ รวมทั้งความร่วมมือและความเข้าใจของประชาชนในพื้นที่มีผลต่อการดําเนินงานขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ด้วยเช่นกัน
ผลการประเมินศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ของจังหวัดปัตตานี สรุปได้ดังนี้ (1) จุดแข็ง ได้แก่ การกระจายอํานาจให้ท้องถิ่นเลือกตั้งผู้นําองค์กรได้โดยตรง ทําให้สามารถกําหนดทิศทางการ พัฒนาได้ตามความสอดคล้องของพื้นที่และความต้องการของท้องถิ่น ส่วนวิสัยทัศน์ของผู้นําองค์กรทั้งสอง เห็นพ้องกันในทิศทาง การพัฒนาการท่องเที่ยวที่เน้นความเป็นพหุวัฒนธรรมซึ่งสืบทอดต่อกันมาแต่อดีต ภายในพื้นที่เมืองเก่า นอกจากนี้ บริเวณย่านเมืองเก่าปัตตานีมีแหล่งศาสนสถานเป็นที่เคารพศรัทธาในระดับ จังหวัดและระดับภาค สามารถนํามาสร้างเป็นจุดขายด้านการท่องเที่ยวควบคู่ไปกับการท่องเที่ยวในเชิงพหุ วัฒนธรรมได้ (2) จุดอ่อน ได้แก่ การขาดกฎหมายที่จะเข้ามาดูแลควบคุมแหล่งประวัติศาสตร์และภูมิทัศน์ เมืองประวัติศาสตร์ และการขาดเทศบัญญัติบางฉบับที่ส่งเสริมการบริหารจัดการท่องเที่ยวภายในพื้นที่เมือง เก่าปัตตานี นอกจากนี้ยังไม่มีองค์กรอิสระที่เข้มแข็งมาช่วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ขับเคลื่อน การพัฒนาการท่องเที่ยวในย่านเมืองเก่า (3) โอกาส ได้แก่ ขณะนี้กําลังมีการจัดทําแผนแม่บทในการอนุรักษ์ และพัฒนาเมืองเก่าซึ่งจะมาช่วยสนับสนุนการดําเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ต่อไปใน อนาคต นอกจากนี้ยังมีโอกาสด้านการสร้างความร่วมมือกับเมืองเก่าในจังหวัดใกล้เคียง เช่น เมืองเก่าสงขลา เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างเครือข่ายพร้อมพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเมืองเก่าร่วมกัน และ (4) อุปสรรค ได้แก่ ภาพลักษณ์ของความไม่ปลอดภัยของพื้นที่ และความไม่เข้าใจกันระหว่างประชาชนกับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (อปท.)
แนวทางการดําเนินกลยุทธ์เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวในพื้นที่ย่านเมืองเก่าสงขลาและปัตตานีที่ได้จาก การวิเคราะห์ SWOT และ TOWS พบว่า (1) การสร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ของทั้งสองจังหวัดในรูปสหการตามกฎหมายท้องถิ่นว่าด้วยการจัดทําบริการสาธารณะ (2) การนํา งบประมาณกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดนมาช่วยพัฒนาการการท่องเที่ยวในพื้นที่เมืองเก่าของทั้งสองจังหวัด
(3) การส่งเสริมการท่องเที่ยวเดินเท้าภายในเมืองเก่าเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจระดับกลางและระดับย่อยภายใน พื้นที่เมืองเก่า (4) การนํา เอาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้สร้างสรรค์เมืองให้ตอบสนองต่อวิถีชีวิตของคนรุ่นเก่า และคนรุ่นใหม่ และ (5) การผลักดันการบูรณาระหว่างสถาบันการศึกษาทั้งสองพื้นที่เพื่อร่วมพัฒนาย่านเมือง เก่าไปในทิศทางที่สอดคล้องกัน
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จังหวัดสงขลาและปัตตานี ต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวย่านเมืองเก่าของจังหวัดสงขลาและจังหวัดปัตตานีมีประเด็นร่วมกัน คือ (1) การ ตั้งคณะกรรมการร่วมที่มีองค์ประกอบจากผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนเข้ามาบริหารจัดการและพัฒนาเมืองเก่า ในทุกๆ ด้านเพื่อให้มีการทํางานที่เป็นอิสระและมีงบประมาณเฉพาะของตนเองทําให้เกิดความคล่องตัวใน การบริหารงาน (2) การสร้างความความตระหนักรู้และจิตสํานึกของประชาชนในพื้นที่และนอกพื้นที่เมืองเก่า รวมถึงเด็กและคนรุ่นใหม่ให้ร่วมกันรักษามรดกทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของท้องถิ่นให้ยั่งยืนสืบต่อไป และเข้าร่วมสนับสนุนการท่องเที่ยวในพื้นที่ย่านเมืองเก่า และ (3) การฝึกอบรมบุคลากรขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (อปท.) และภาคส่วนอื่นๆ ให้มีความรู้ความเข้าใจในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาเมืองเก่า และ การบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยวเมืองเก่าเพื่อให้การทํางานในพื้นที่เมืองเก่าเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
ในส่วนของการพัฒนาศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จังหวัดปัตตานีต้องเพิ่มเติม ในเรื่องของการบังคับใช้กฎหมายด้านการอนุรักษ์และเทศบัญญัติเพื่อส่งเสริมการบริหารจัดการการท่องเที่ยว อย่างเร่งด่วน และการสร้างภาพลักษณ์ใหม่ของเมืองปัตตานีจากเมืองที่ไม่มีความปลอดภัยเปลี่ยนมาเป็น เมืองที่เป็นจุดหมายปลายทางด้านการท่องเที่ยวที่ปลอดภัยและดึงดูดใจ
3) โครงการ “แนวปฏิบัติทางด้านกฎหมายการนาเข้าสินค้าของประเทศคู่ค้าและการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ฮาลาลของไทยเพื่อการส่งออกในกลุ่มประเทศอาเซียน: กรณีศึกษาการส่งออกผลิตภัณฑ์ เครื่องแกงสาเร็จรูปไปประเทศบรูไนดารุสซาลาม” โดย ผศ.ดร อัสมัน แตอาลี หัวหน้าโครงการ จาก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ผลการวิจัยที่สําคัญดังต่อไปนี้
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาและรวบรวมแนวทางการปฏิบัติทางด้านกฎหมายข้อมูล กฎระเบียบและกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการค้าขายและด้านการลงทุนของประเทศบรูไนฯ (2) เพื่อ สํารวจความต้องการเครื่องแกงสําเร็จรูปของไทยในประเทศบรูไนฯ และเส้นทางการนําเข้าประเทศบรูไนฯ
(3) เพื่อศึกษาแนวทางการส่งออกเครื่องแกงสําเร็จรูปเสนอต่อผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนใน 5 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ภาคเอกชน และภาครัฐ ให้มีโอกาสร่วมลงทุนกับประเทศบรูไนฯ และ (4) เพื่อจัดทํา ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในเรื่องการร่วมลงทุนในอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลประเภทเครื่องแกงสําเร็จรูปใน พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทยส่งออกไปขายในตลาดนอกกลุ่มประเทศอาเซียน ผู้วิจัยใช้รูปแบบการทํา วิจัยแบบผสมผสาน โดยเน้นวิธีวิจัยเชิงคุณภาพมากกว่าวิธีการเชิงปริมาณ ผลการศึกษาพบว่า การนําเข้า สินค้าของประเทศบรูไนฯ ขึ้นอยู่กับกฎระเบียบที่สําคัญ 2 ฉบับ คือ Emergency (Public Health) (Food) Order, 1998 ออกตามความในมาตรา 83(3) และ Public Health (Food) Regulations, 2000 ออกตาม ความในมาตรา 16 ของ Emergency (Public Health, Food) Order, 1998 โดยมีข้อกําหนดเพิ่มเติมที่ สําคัญที่ผู้ส่งออกต้องปฏิบัติตามคือ ข้อกําหนดด้านการแสดงฉลากอาหาร (General requirements for labeling) และข้อกําหนดด้านบรรจุภัณฑ์ (General Requirements for Containers) นอกจากนี้การใช้
มาตรการที่เกี่ยวข้องกับภาษีและไม่ใช่ภาษีในต่อสินค้าประเภทเครื่องแกงสําเร็จรูปของไทยไม่ค่อยมีปัญหา มากนัก การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องแกงสําเร็จรูปของไทยโดยคัดเลือกจากผู้ประกอบการใน 5 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ โดยพัฒนาและปรับปรุงสูตรผลิตภัณฑ์เครื่องแกงจํานวน 6 ชนิดผลิตภัณฑ์ คือ เครื่องแกงต้ม ยํา เครื่องแกงกะทิ จากกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านตีน เครื่องแกงส้ม จากวิสาหกิจชุมชนเครื่องแกง Hantana เครื่องแกงเขียวหวาน จากวิสาหกิจชุมชนสมใจนึก และเครื่องแกงมัสมั่นและเครื่องข้าวหมก จากวิสาหกิจ ชุมชนครูสุดใจ ซึ่งแต่ละผลิตภัณฑ์มีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานฮาลาล และได้รับการยอมรับจากผู้บริโภค บรูไนฯ ในระดับความชอบมากถึงมากที่สุด และผู้บริโภคมากกว่าร้อยละ 80 มีความสนใจที่จะซื้อผลิตภัณฑ์ แสดงให้เห็นว่าผลิตภัณฑ์เครื่องแกงสําเร็จรูปที่พัฒนาขึ้น เป็นที่สนใจของผู้บริโภคชาวบรูไนฯและให้การ ยอมรับในผลิตภัณฑ์ทั้ง 6 ชนิดดังกล่าว
จากผลการศึกษาแนวทางการเข้าเครื่องแกงสําเร็จรูปเสนอต่อวิสาหกิจชุมชนใน 5 จังหวัดชายแดน ภาคใต้ ภาคเอกชน และภาครัฐให้มีโอกาสร่วมลงทุนกับประเทศบรูไนฯนั้น นักวิจัยได้ข้อสรุปแนวทางสําหรับ การร่วมลงทุนเครื่องแกงสําเร็จรูปเพื่อส่งออกไปขายในตลาดประเทศบรูไนฯ ได้ 3 รูปแบบ กล่าวคือ (1) Model A: Invest with Bruneian Distributors (การลงทุนกับผู้จัดจําหน่ายในประเทศบรูไนฯ) ซึ่งเป็น รูปแบบการร่วมลงทุนระหว่างวิสาหกิจชุมชนใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้กับนักลงทุนในประเทศบรูไน ฯ ที่ ง่ายที่สุด เหมาะกับวิสาหกิจชุมชนทุกขนาด และมีขั้นตอนและกระบวนการการนําเข้าเครื่องแกงสําเร็จรูปไป ยังประเทศบรูไนฯ นั้นไม่ยุ่งยากและซับซ้อน อีกทั้งต้นทุนการนําเข้านั้นน้อยกว่าการร่วมลงทุนรูปแบบอื่น ๆ
(2) Model B: Doing OEM with Bruneian Company (การทํา OEM กับบริษัทในประเทศบรูไนฯ) ซึ่ง รูปแบบที่สองนี้นั้นเป็นอีกหนึ่งรูปแบบที่เปิดโอกาสให้กับวิสาหกิจชุมชนใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถ ขยายธุรกิจเครื่องแกงเพื่อส่งออกไปยังประเทศบรูไนฯ โดยขั้นตอนและกระบวนการต่าง ๆ ในการร่วมลงทุน ค่อนข้างยุ่งยากกว่ารูปแบบแรก แต่อย่างไรก็ตามขั้นตอนและกระบวนการต่าง ๆ นั้น นักลงทุนของประเทศ บรูไนฯ จะดําเนินการทุกอย่างด้วยตนเอง หากเครื่องแกงสําเร็จรูปที่จะนําเข้านั้นได้ผ่านเกณฑ์ตามขั้นตอน และกระบวนการที่ประเทศบรูไนฯ กําหนดแล้วก็สามารถร่วมลงทุนกับประเทศบรูไนฯ เพื่อนําสินค้า เครื่องแกงสําเร็จรูปนี้มาทําตลาดในประเทศบรูไนฯ ได้ ส่วนรูปแบบที่ 3 สําหรับแนวทางการร่วมลงทุน เครื่องแกงสําเร็จรูปของวิสาหกิจใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใตนั้น คือ การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment) ซึ่งเป็นรูปแบบที่ค่อนข้างยุ่งยาก และต้องใช้เงินลุงทุนที่ค่อนข้างสูง จึงไม่ ค่อยเหมาะสมมากนักสําหรับวิสาหกิจใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ดังนั้นจากรูปแบบและแนวทางการร่วม ลงทุนระหว่างวิสาหกิจชุมชนเครื่องแกงกับนักลงทุนของประเทศบรูไนฯ ที่ได้กล่าวมาข้างต้นนั้น
งานวิจัยนี้ได้เสนอแนะให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนให้นํารูปแบบและแนวทางการร่วม ลงทุนที่วิสาหกิจชุมชนเครื่องแกงสําเร็จรูปใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถกระทําได้ โดยการส่งเสริม และสนับสนุนวิสาหกิจเครื่องแกงสําเร็จรูปให้สามารถนําสินค้าส่งออกไปยังประเทศบรูไนฯ หรือประเทศใน
กลุ่มอาเซียนได้ เพื่อเปิดโอกาสให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเครื่องแกงสําเร็จรูปได้ขยายตลาดธุรกิจได้มากยิ่งขึ้น สามารถสร้างรายได้และพัฒนาธุรกิจกลุ่มเครื่องแกงสําเร็จรูปของไทยให้ยั่งยืนได้ในอนาคต
4) โครงการ “การศึกษาความเป็นไปได้ในการสร้างความร่วมมือในธุรกิจอาหารฮาลาลระหว่าง ไทยและมาเลเซีย” โดย ดร.สุพรรณี เขียวชอุ่ม จากมหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา ได้ผลการวิจัยที่สําคัญ ดังต่อไปนี้
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาและประเมินผลความร่วมมือทางธุรกิจอาหารฮาลาล ระหว่างไทยและมาเลเซียที่ได้เกิดขึ้นแล้ว และ 2) เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการสร้างความร่วมมือทาง ธุรกิจอาหารฮาลาลระหว่างไทยและมาเลเซีย ตัวอย่างการวิจัยทั้งสิ้นจํานวน 203 คน แบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่
1) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลชาวไทย 2) ผู้ประกอบการอาหารฮาลาลชาวไทย 3) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลชาวมาเลเซีย และ 4) ผู้ประกอบการอาหารฮาลาลชาว มาเลเซีย วิธีการเก็บข้อมูลใช้การศึกษาจากเอกสาร การสัมภาษณ์ การประชุมกลุ่มย่อย และการสังเกตการณ์ ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis)
ผลการวิจัยพบว่า ไทยและมาเลเซียมีกรอบความร่วมมือในด้านฮาลาลทั้งในระดับภูมิภาค ระดับ ไตรภาคี และระดับทวิภาคี รวมการตกลงทั้งสิ้นจํานวน 5 ฉบับ สาเหตุที่ทําให้ความร่วมมือระหว่างรัฐบาล ไทยและมาเลเซียไม่มีความก้าวหน้าอย่างเป็นรูปธรรมมากนัก สามารถสรุปเป็น 2 ประเด็น ได้แก่ 1) แต่ละ ฝ่ายต่างยึดมั่นในจุดแข็งที่ตนเองมี แต่ไม่แน่ใจที่จะเติมเต็มจุดอ่อนซึ่งกันและกัน และ 2) ต่างฝ่าย ต่างไม่ จริงใจต่อกันหรือหวาดระแวง
นอกจากนี้ประเทศไทยและมาเลเซียมีความร่วมมือระดับ B2B ในหลากหลายรูปแบบ ได้แก่ 1) การ ออกงานแสดงสินค้าและการจับคู่ธุรกิจ 2) การจ้างผลิตสินค้าตามความต้องการ (Original Equipment Manufacturer: OEM) 3) การค้าชายแดน 4) การขายผ่านผู้แทนจําหน่าย 5) การสนับสนุนด้านแหล่งทุน และ 6) การลงทุนระหว่างประเทศ รูปแบบความร่วมมือระดับ B2B ใน 4 รูปแบบแรก พบว่ามีหลาย เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศที่ต่างฝ่ายต่างไม่ยอมรับเครื่องหมายฮาลาลของ กันและกัน โดยผู้ประกอบการมาเลเซียพยายามเชิญชวนให้ผู้ประกอบการไทยติดเครื่องหมายฮาลาลของ มาเลเซียที่บรรจุภัณฑ์ โดยอ้างว่าจะทําให้ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อได้ง่ายขึ้น
อุปสรรคหลายประการที่ทําให้อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลไทยยังไม่สามารถเพิ่มส่วนแบ่งทาง การตลาดได้ ได้แก่ 1) การรับรู้เกี่ยวกับมาตรฐานฮาลาลไทย 2) ความรู้ความเข้าใจในกฎระเบียบการนําเข้า
ของแต่ละประเทศ 3) การทํางานของหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมฮาลาลที่มีลักษณะการ ทํางานแบบแยกส่วน ไม่ประสานเชื่อมโยงกัน และขาดการติดตามประเมินผลการทํางานที่มีประสิทธิภาพ
ประกอบกับการไม่มีผู้รับผิดชอบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฮาลาลโดยตรง 4) การทํางานของคณะกรรมการ กลางอิสลามแห่งประเทศไทยที่ยังไม่ทํางานในเชิงรุกเพื่อรองรับภาคธุรกิจได้ 5) ความพร้อมด้านทรัพยากร บุคคลที่ประเทศไทยยังขาดบุคลคลกรที่มีความเชี่ยวชาญด้านฮาลาลในเชิงธุรกิจ และ 6) ระบบการจัดเก็บ ข้อมูลที่ยังคลาดเคลื่อน รวมถึงการเข้าถึงข้อมูลที่ยังไม่เปิดกว้าง
การประเมินความร่วมมือในธุรกิจอาหารฮาลาลระหว่างไทยและมาเลเซีย ไม่น่าจะมีโอกาสเป็นไปได้ เนื่องจากทั้งไทยและมาเลเซียต่างไม่ต้องการเสียเปรียบกันและสงวนจุดแข็งของตนเองไว้ ทําให้มีทีท่าที่จะ เป็นการแข่งขันกันอย่างไม่เปิดเผย แต่หากประเมินมิติในอนาคตเกี่ยวกับแนวโน้มการให้ความสําคัญในการ สร้างความร่วมมือระหว่างประเทศทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลกเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยและมาเลเซีย ไม่สามารถหลีกเลี่ยงความร่วมมือในธุรกิจอาหารฮาลาลได้ อีกทั้ง ความร่วมมือระดับรัฐบาลถึงแม้ว่าจะ ราบรื่นและยังไม่สามารถนํามาปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม แต่ในอีกมุมหนึ่งความร่วมมือระดับรัฐก็เป็น นโยบายที่เปรียบเสมือนใบเบิกทางที่สําคัญที่จะอํานวยความสะดวกในการดําเนินธุรกิจร่วมกันในระดับ เอกชนของทั้งสองประเทศ เช่น การลดภาษีศุลกากร เป็นต้น
3.2 ผลการดําเนินงานของแผนงานฯ ภายใต้กรอบวิจัยที่ 2 การวิจัยทางด้านกฎหมาย
ในกรอบวิจัยที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
1) แนวทางที่เกี่ยวข้องด้านกฎหมาย /กฎระเบียบ /ข้อตกลงต่างๆ ระหว่างประเทศไทยกับกลุ่ม ประเทศสมาชิกอาเซียน
2) แนวทางการบริหารจัดการแรงงานข้ามชาติของสิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซีย
กรอบการวิจัยด้านกฎหมาย มีโครงการที่ได้รับอนุมัติ จํานวน 3 โครงการเดี่ยว ใช้งบประมาณในการ ดําเนินการวิจัยรวมทั้งสิ้น 2,970,774 บาท จึงสามารถสรุปสาระสําคัญของงานวิจัย ได้ดังนี้
1) โครงการ “มาตรการทางกฎหมายเพื่อสนับสนุนการคุ้มครองผืนป่าข้ามพรมแดนของประเทศ ไทยและประเทศในกลุ่มอาเซียน” โดย ผศ.ดร.ภัทราวรรณ รัตนเกษตร จากมหาวิทยาลัยพะเยาได้ ผลการวิจัยที่สําคัญดังต่อไปนี้
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากฎหมายป่าไม้ของประเทศไทยที่เป็นอุปสรรคต่อการอนุรักษ์และ จัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน และศึกษามาตรการทางกฎหมาย หลักการจัดการป่าไม้ การคุ้มครองป่าข้าม พรมแดนของสหภาพยุโรป และกฎหมายป่าไม้ของประเทศเยอรมัน เพื่อนํามาพัฒนากฎหมายและสร้างแนว ปฏิบัติที่เหมาะสมสําหรับการจัดการป่าไม้ของประเทศไทยและการคุ้มครองผืนป่าข้ามพรมแดนระหว่าง ประเทศไทย ประเทศเมียนมา และ สปป.ลาว โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก และเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูล สําคัญ โดยใช้วิธีเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เป็นการสัมภาษณ์แบบเจาะประเด็นด้วยการเชิญบุคคลที่เกี่ยวข้อง ด้านการจัดการป่าไม้มาพูดคุยสอบถามความคิดเห็นในประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองป่า
ผลการศึกษาพบว่า ในระดับอาเซียน มาตรการสนับสนุนการคุ้มครองผืนป่าข้ามพรมแดนในกลุ่ม ประเทศสมาชิกอาเซียน โดยกําหนดพื้นที่ป่าซึ่งมีสภาพสมบูรณ์และมีความหลากหลายทางชีวภาพที่มีผืนป่า เชื่อมต่อกันระหว่างประเทศให้เป็นพื้นที่อนุรักษ์ป่าไม้ร่วมกันในฐานะที่เป็นผืนป่าข้ามพรมแดนเพื่อประโยชน์ ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมร่วมกัน ด้วยการสร้างข้อตกลงความร่วมมือในการประสานงาน (harmonize) และใช้กลไกการจัดการร่วมกัน (coordination) ระหว่างรัฐภาคีที่ให้ความสําคัญต่อการ อนุรักษ์และจัดการป่าเช่นเดียวกัน โดยการลงนามในบันทึกข้อตกลง (MoU) ว่าด้วยความร่วมมืออนุรักษ์ป่า ข้ามพรมแดนในระดับทวิภาคีหรือพหุภาคี และเพิ่มพื้นที่ป่าในบริเวณป่าอนุรักษ์ข้ามพรมแดนและป่านอก พื้นที่อนุรักษ์โดยยังคงให้รัฐมีอํานาจบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้ของตนและไม่ก้าวล่วงอํานาจอธิปไตยของ ประเทศสมาชิกภายใต้การใช้นโยบายพัฒนาชนบทและการเกษตรร่วม ด้วยการสนับสนุนด้านการเงินผ่าน “กองทุนเพื่อการพัฒนาชนบทอาเซียนภายใต้โครงการเกษตรร่วม (Common Agricultureal Policy
(CAP)” ซึ่งเป็นมาตรการหลักสําหรับการคุ้มครองและจัดการป่าอย่างยั่งยืนผ่านการช่วยเหลือของประเทศ สมาชิก เช่น การฝึกอบรม การสนับสนุนเงินทุน การให้คําปรึกษาและสร้างความร่วมมือ การปลูกป่า การ ทําวนเกษตร การป้องกันไฟป่า รวมถึงการสนับสนุนการลงทุนเพื่อปรับปรุงมูลค่าทางเศรษฐกิจจากไม้และ ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่เนื้อไม้ในภาคอุตสาหกรรมที่มาจากการจัดการป่าอย่างยั่งยืน ให้รัฐทําหน้าที่สนับสนุนการ อนุรักษ์ป่าในประเทศของตนผ่านนโยบายการพัฒนาชนบทและการเกษตรร่วม ด้วยการสนับสนุนด้าน การเงินของประชาคมอาเซียนผ่านการตั้ง “กองทุนเพื่อการพัฒนาชนบทอาเซียน ภายใต้โครงการเกษตรร่วม (Common Agricultureal Policy (CAP)” เพื่อสร้างทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตร การเพิ่ม ผลผลิตทางการเกษตร การสร้างผลิตภัณฑ์จากไม้ที่ถูกกฎหมายและผลิตภัณฑ์จากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ที่มาจาก การจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน ด้วยระบบวนเกษตร ให้เป็นลักษณะที่โดดเด่นของผลิตภัณฑ์อาเซียน อีกทั้งยัง ช่วยสร้างการแข่งขันในตลาดที่จะนําไปสู่การเกิดแรงจูงใจให้ประเทศสมาชิกต้องนําแผนปฏิบัติด้านการ อนุรักษ์ป่าไปปฏิบัติ
ในระดับประเทศ ควรสนับสนุนให้มีการคุ้มครองผืนป่าข้ามพรมแดนของประเทศไทย ประเทศเมียน มา และ สปป.ลาว ทั้งสามประเทศจําเป็นต้องกําหนดเป้าหมายเชิงนโยบายและกําหนดมาตรการสนับสนุน ทางกฎหมายให้อยู่ภายใต้มาตรฐานเดียวกัน ในสามด้านคือ การอนุรักษ์ป่า การเพิ่มพื้นที่ป่า และการสร้าง มูลค่าทางเศรษฐกิจภาคป่าไม้จากการจัดการอย่างยั่งยืน
ดังนั้นจึงควรกําหนดเป้าหมายเชิงนโยบายในการคุ้มครองป่าข้ามพรมแดนของทั้งสามประเทศให้อยู่ ในกรอบเดียวกันที่เน้นการอนุรักษ์ป่าข้ามพรมแดนควบคู่ไปกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยให้แผนพัฒนา ท้องถิ่นของแต่ละประเทศต้องสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การจัดการป่าอย่างยั่งยืนและการใช้ทรัพยากรอย่างมี ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังต้องลดปัญหาความขัดแย้งระหว่างชุมชนท้องถิ่นกับหน่วยงานของรัฐภายใต้ นโยบายการพัฒนาชนบท ในขณะเดียวกันต้องขจัดปัญหาความยากจนโดยการร่วมกันพัฒนาความ เจริญเติบโตของชนบทและการสร้างงานในชนบทด้วยนโยบายการเกษตรร่วมส่งเสริมการสร้างผลิตภัณฑ์จาก ไม้ที่ถูกกฎหมายและผลิตภัณฑ์จากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ ให้เป็น“ผลิตภัณฑ์ของอาเซียน” จากผืนป่าที่มีการ จัดการอย่างยั่งยืนซึ่งได้รับการรับรองมาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ และควรพัฒนากฎหมายป่าไม้ ของแต่ละประเทศ ใน 3 ด้านต่อไปนี้ 1) สนับสนุนการอนุรักษ์ป่า 2) เพิ่มพื้นที่ป่าและฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรม 3) ส่งเสริมการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้ผลิตภัณฑ์จากไม้ที่ถูกกฎหมายและผลิตภัณฑ์จากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ ภายใต้มาตรฐานเดียวกัน โดยการบังคับใช้กฎหมายและใช้กลไกตลาดเป็นเครื่องมือผลักดันให้เกิดการพัฒนา ผลิตภัณฑ์
2) โครงการ “การศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายตลาดทุนอิสลามในประเทศไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์และสหราชอาณาจักร” โดย ศ.ดร.ซาการียา หะมะ หัวหน้าโครงการ จาก มหาวิทยาลัยฟาฎอนี ได้ผลการวิจัยที่สําคัญดังต่อไปนี้
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา วิเคราะห์ และเปรียบเทียบกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตลาดทุน อิสลามในประเทศไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และสหราชอาณาจักร เพื่อเสนอแนะ แนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตลาดทุนอิสลามที่สอดคล้องและเหมาะสม กับบริบทของประเทศไทย ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การวิจัยเชิงเอกสาร เป็นหลักในการศึกษา วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อหาข้อเท็จจริงบางประการประกอบการศึกษา วิเคราะห์ โดยเปรียบเทียบประเด็นการกํากับดูแลตลาดทุนอิสลามและหลักชะรีอะฮฺภิบาล กฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับการออกศุกูกและกองทุนรวมอิสลาม และแนวปฏิบัติในการคัดกรองหุ้นที่สอดคล้องกับหลักชะ รีอะฮฺ
ผลการวิจัยพบว่า ตลาดทุนอิสลามในประเทศไทย มาเลเซีย และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อยู่ภายใต้ กํากับดูแลของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ไทย คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ มาเลเซีย และคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และสินค้าสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ตามลําดับ ซึ่งสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์จะมีอีกหน่วยงานหนึ่งเพิ่มเติมในการกํากับดูแล คือ ธนาคารกลางสหรัฐ อาหรับ เอมิเรตส์ ส่วนหน่วยงานที่กํากับดูแลตลาดทุนอิสลามของสิงคโปร์และสหราชอาณาจักร คือ ธนาคาร กลางประเทศสิงคโปร์และ The Financial Conduct Authority ตามลําดับ หน่วยงานกํากับดูแลตลาดทุน อิสลามของทั้ง 5 ประเทศดังกล่าว มีโครงสร้างอยู่ภายใต้การกํากับดูแลของกระทรวงการคลังของแต่ละ ประเทศอีกระดับหนึ่ง สิงคโปร์ สหราชอาณาจักร และไทย กําหนดรูปแบบชะรีอะฮฺภิบาลในระดับสถาบัน เท่านั้น ส่วนมาเลเซียและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ได้กําหนดชะรีอะฮฺภิบาลเป็น 2 ระดับ คือ ระดับชาติและ ระดับสถาบัน สําหรับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับศุกูก ประเทศไทย มาเลเซีย และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์มี กฎหมายเฉพาะที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความคล้ายคลึงกัน ในขณะที่สิงคโปร์และสหราชอาณาจักร มิได้มีกฎหมาย ดังกล่าว ส่วนกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกองทุนรวมอิสลามนั้น มาเลเซียและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์มีกฎหมาย เฉพาะที่เกี่ยวข้องซึ่งมีความคล้ายคลึงกัน โดยที่ประเทศไทย สิงคโปร์ และสหราชอาณาจักรมิได้มีกฎหมาย ดังกล่าว ทั้งนี้ทุกประเทศมีเกณฑ์ในการคัดกรองหุ้นที่สอดคล้องกับหลักชะรีอะฮฺ ซึ่งประเทศไทย สิงคโปร์ และสหราชอาณาจักรใช้เกณฑ์เดียวกัน คือ เกณฑ์ของ FTSE Russel ส่วนสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ใช้เกณฑ์ของ Accouting and Auditing Orgnization for Islamic Financial Institutions (AAOIFI) และมาเลเซียมี เกณฑ์ที่กําหนดโดยสภาที่ปรึกษาชะรีอะฮฺประจําสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์มาเลเซีย
3) โครงการ “การวิเคราะห์ผลกระทบทางกฎหมายเพื่อขจัดอุปสรรคในการประกอบธุรกิจ: กรณีศึกษาเปรียบเทียบประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ และ ไทย” โดย ผศ.ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ หัวหน้า โครงการ จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ผลการวิจัยที่สําคัญดังต่อไปนี้
จากแนวคิดใหม่ในการพัฒนากฎหมายของประเทศไทย โดยใช้การวิเคราะห์ผลกระทบจากกฎหมาย Regulatory Impact Analysis (RIA) มาเป็นเครื่องมือในการพิจารณากฎหมายปัจจุบันที่ไม่เหมาะสม หรือ การตรากฎหมายใหม่ที่อาจมีผลกระทบต่อ การเมือง เศรษฐกิจและสังคมซึ่งการนํา การวิเคราะห์ผลกระทบ จากกฎหมายมาใช้ในการพัฒนากฎหมายถือเป็นเรื่องค่อนข้างใหม่มากจึงมีความจําเป็นที่จะต้องมีการศึกษา ถึงลักษณะการปรับใช้การวิเคราะห์ผลกระทบจากกฎหมายเพื่อกรอบงานวิจัยชัดเจนมากขึ้นและเป็นไปได้ใน กรอบระยะเวลา งานวิจัยนี้จึงมุ่งไปที่การศึกษาเชิงการปรับใช้การวิเคราะห์ผลกระทบจากกฎหมายที่นําไปสู่ การขจัดอุปสรรคในการดําเนินธุรกิจ ในประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ และประเทศไทย
งานวิจัยเริ่มจากการรวบรวมข้อมูลทางเอกสารเกี่ยวกับการวิเคราะห์ผลกระทบจากกฎหมาย อัน นําไปสู่การขจัดอุปสรรคในการดําเนินธุรกิจมาเลเซีย สิงคโปร์ และประเทศไทย งานวิจัย จะนําข้อมูลจาก การศึกษาเอกสารมาเปรียบเทียบอันนําไปสู่ข้อมูลชั้นต้น เพื่อทําการศึกษาในรูปแบบการสัมภาษณ์เชิงลึกจาก ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการวิเคราะห์ผลกระทบจากกฎหมาย กับการขจัดอุปสรรคในการดําเนินธุรกิจ ในประเทศ มาเลเซีย สิงคโปร์ และประเทศไทย งานวิจัยนําข้อมูลจากเอกสารและการสัมภาษณ์ถึงแนวปฏิบัติทางการ ปรับใช้การวิเคราะห์ผลกระทบจากกฎหมายเพื่อการขจัดอุปสรรคในการดําเนินธุรกิจ ในประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ และประเทศไทยในส่วนท้ายของงานวิจัยชิ้นนี้จะจัดทําข้อเสนอแนะในการยกระดับการปรับใช้การ วิเคราะห์ผลกระทบจากกฎหมายกับการขจัดอุปสรรคในการดําเนินธุรกิจในประเทศไทยด้วย
เมื่อพิจารณาการศึกษาเอกสารและจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญโดยเปรียบเทียบทั้งสามประเทศ แล้วพบว่าประเทศไทยมีปัญหาในการนําการวิเคราะห์ผลกระทบทางกฎหมายไปปฎิบัติ ประเทศไทยยังขาด การคัดกรองกฎหมายใหม่เพื่อมิให้มีกฎหมายเกินความจําเป็น สร้างให้เกิดอุปสรรคต่อการพัฒนาสังคม การเมืองและเศรษฐกิจโดยเฉพาะอุปสรรคต่อการดําเนินธุรกิจ ประเทศไทยยังขาดความชัดเจนในการ ขับเคลื่อนการปรับใช้ผลกระทบจากกฎมายเพื่อการลดอุปสรรคการดําเนินธุรกิจ
3.3 ผลการดําเนินงานของแผนงานฯ ภายใต้กรอบวิจัยที่ 3 การวิจัยทางด้านสังคมวิทยา
ในกรอบวิจัยที่ 3 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
1) นโยบาย กฎเกณฑ์ กระบวนการทางสังคม และการบริหารจัดการของประเทศในอาเซียน
2) พฤติกรรมทางสังคมในทุกๆ ด้าน ของกลุ่มคนในสังคม ชนกลุ่มน้อย หรือสังคมต่างๆ ในประเทศ สมาชิกอาเซียน
กรอบการวิจัยด้านสังคมวิทยา มีโครงการที่ได้รับอนุมัติ จํานวน 5 โครงการเดี่ยว ขอยุติโครงการ 2 โครงการเดี่ยว ใช้งบประมาณในการดําเนินการวิจัยรวมทั้งสิ้น 7,330,096 บาท ดังนั้นจึงมีโครงการเดี่ยวใน กรอบการวิจัยนี้ที่สามารถดําเนินการจนเสร็จสิ้นจํานวน 5 เรื่อง จึงสามารถสรุปสาระสําคัญของงานวิจัย ได้ ดังนี้
1) โครงการ “นโยบายการจัดการความหลากหลายของรัฐบาลมาเลเซีย: กรณีศึกษานโยบายภูมิ บุตรต่อชาวสยาม” โดย รศ.พรชัย ลิขิตธรรมโรจน์ หัวหน้าโครงการ จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ผลการวิจัยที่สําคัญดังต่อไปนี้
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษานโยบายภูมิบุตรของมาเลเซียและแนวทางการบริหารจัดการ นโยบายภูมิบุตรที่มีต่อชาวสยามในมาเลเซีย ศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นของชาวสยามในมาเลเซียที่มีต่อ นโยบายภูมิบุตรตามปัจจัยส่วนบุคคล และศึกษาการมีส่วนแบ่งทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของชาว สยามภายใต้นโยบายภูมิบุตร เป็นการวิจัยแบบผสม (Mixed Research) ทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิง ปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลักได้แก่ ผู้นําชุมชน ผู้นําทางศาสนา และประชาชนชาวสยามที่มี ความรู้เกี่ยวกับนโยบายภูมิบุตรในรัฐเคดาห์และรัฐกลันตันแห่งละ 9 คน รวมจํานวน 18 คน ส่วนการวิจัย เชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ชาวสยามในรัฐเคดาห์และรัฐกลันตันแห่งละ 400 คน รวม 800 คน
ผลการศึกษาพบว่า สิทธิของชาวสยามตามนโยบายภูมิบุตรด้านเศรษฐกิจ ได้แก่การซื้อหุ้นกองทุน การค้าขาย การประมูลงานก่อสร้างของรัฐบาล การซื้อขายที่ดิน การซื้อที่อยู่อาศัย และเกษตรกรรม ด้าน สังคม ได้แก่ การศึกษาและทุนการศึกษา การรักษาพยาบาล ศาสนา การรับราชการ ด้านการเมืองได้แก่ การ เป็นวุฒิสมาชิก สมาชิกพรรคการเมือง ผู้ใหญ่บ้าน แต่ชาวสยามก็ยังไม่ได้รับสิทธิหรือมีโอกาสเท่าเทียมกับชาว มลายูในด้านการประมูลงานก่อสร้างของรัฐบาล การซื้อขายที่ดิน การซื้อที่อยู่อาศัย การศึกษาและ ทุนการศึกษา และการรับราชการ แนวทางการบริหารจัดการคือ รัฐบาลมาเลเซียควรให้สิทธิแก่ชาวสยาม เท่าเทียมกันกับชาวมลายูแบบค่อยเป็นค่อยไป นอกจากนี้ปัจจัยด้านเพศ ศาสนา การมีญาติพี่น้องอาศัยใน
ประเทศไทย สถานภาพ ระดับการศึกษาสูงสุด การประกอบอาชีพ รายได้รวมที่แตกต่างกัน มีผลต่อทัศนะ นโยบายภูมิบุตรแตกต่างกัน สําหรับความคิดเห็นต่อการมีส่วนแบ่งทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของ ชาวสยามภายใต้นโยบายภูมิบุตร โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยสามารถจําแนกรายด้านเรียงจาก มากไปหาน้อยได้ดังนี้ ด้านสังคม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.37 ด้าน การเมือง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.11 และด้าน เศรษฐกิจ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.04 เห็นด้วยอยู่ในระดับปานกลาง นโยบายภูมิบุตรของมาเลเซีย ถือว่าเป็น บทเรียนสําหรับประเทศไทย ดังนั้นในการกําหนดนโยบายชนกลุ่มน้อยของไทย ซึ่งมีชนกลุ่มน้อยทั้งที่อพยพ เข้ามาจากพม่า จีน ลาว เวียตนาม มาเลเซีย กัมพูชา หรือที่อาศัยอยู่บนที่สูงที่เรียกว่าชาวเขา และชาวไทย มุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เราควรเลือกใช้นโยบายชนกลุ่มน้อยที่เหมาะสม นุ่มนวล ปราศจากความ รุนแรงเหมือนกับบางประเทศ
2) โครงการ “การสํารวจสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรต่อผู้สูงวัยเพื่อส่งเสริมพฤฒิพลังและคุณภาพ ชีวิตของผู้สูงวัย กรณีศึกษาประเทศญี่ปุ่น มาเลเซีย เมียนมาร์ เวียดนาม และไทย” โดย อ.ดร.ศริยามน ติรพัฒน์ หัวหน้าโครงการ จากมหาวิทยาลัยมหิดล ได้ผลการวิจัยที่สําคัญดังต่อไปนี้
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสํารวจสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรต่อผู้สูงวัยและเพื่อหาความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรและพฤฒิพลังและคุณภาพชีวิตของผู้สูงวัยในเขตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มาเลเซีย เมียนมาเวียดนาม และไทย การวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณแบบภาคตัดขวาง โดยผู้วิจัยทําการ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ Multistage cluster sampling เป็นผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 55 ปีขึ้นไป จํานวนกลุ่ม ตัวอย่างทั้งหมด 2,171 คน ประกอบด้วย ผู้สูงอายุไทย 510 คน ผู้สุงอายุมาเลเซีย 537 คน ผู้สูงอายุพม่า 487 คน ผู้สูงอายุเวียดนาม 497 คน และผู้สุงอายุญี่ปุ่น 140 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้การสัมภาษณ์ด้วย แบบสอบถามเชิงปริมาณ โดยประกอบด้วย แบบวัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรต่อผู้สูงวัยตามมาตราฐานองค์การ อนามัยโลกเป็นแบบวัด 20 ข้อคําถาม แบบวัดพฤฒิพลัง 36 ข้อคําถาม และแบบวัดคุณภาพชีวิต 24 ข้อ คําถาม
การวิเคราะห์ข้อมูล พบว่าผู้สูงอายุมาเลเซียประเมินว่าสิ่งแวดล้อมทีมีปริมาณเพียงพอใน 3 อันดับ แรก คือ 1.การมีอินเตอร์เนตที่บ้าน 2.การมีรายได้เพียงพอที่ตอบสนองต่อความต้องการ ตลอดปีที่ผ่านมา โดยไม่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐหรือเอกชน และ 3. รู้สึกว่า ในละแวกบ้านมีความปลอดภัย ในขณะที่ ผู้สูงอายุมาเลเซียประเมินว่าสิ่งแวดล้อมทียังมีปริมาณไม่เพียงพอใน 3 อันดับแรก คือ 1. ได้รับการฝึกซ้อม
เพื่อเตรียมรับมือกับภาวะฉุกเฉินที่พบในผู้สูงอายุ 2. การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับประเด็นสําคัญ ทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองในชุมชน และ 3. ในชุมชนมีรถขนส่งสาธารณะ (รถไฟ รถยนต์ รถ โดยสารประจําทาง ฯลฯ) ที่คนในชุมชน รวมทั้งคนพิการ คนตาบอด และคนหูหนวก สามารถเข้าถึงได้ไม่ เพียงพอ
งานวิจัยในครั้งนี้เป็นหลักฐานสําคัญในการตอบโจทย์ว่าสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรหรือเป็นมิตรต่อผู้สูง วัยสามารถเพิ่มพฤฒพลังของผู้สูงวัยในอาเซียนได้อย่างประจักษ์ ซึ่งผลของการศึกษาชี้ให้เห็นว่า ผู้สูงอายุที่ อาศัยในชุมชนที่เป็นมิตรหรือเอื้ออาทรต่อผู้สูงวัยสูงจะมีพฤฒพลังสูงกว่าผู้สูงอายุที่อาศัยในชุมชนที่เป็นมิตร หรือเอื้ออาทรต่อผู้สูงวัยต่ํา โดยจะมีพฤฒพลังสูงกว่าประมาณ 3.30 เท่า ในผู้สูงอายุไทย 5.90 เท่า ใน ผู้สูงอายุมาเลเซีย 5.71 เท่า ในผู้สูงอายุเวียดนาม และ 6.27 เท่า ในผู้สูงอายุพม่า
งานวิจัยนี้ยังสนับสนุนบทบาทเชิงบวกของสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงวัย โดย พบว่า ผู้สูงอายุที่อาศัยในชุมชนที่เป็นมิตรหรือเอื้ออาทรต่อผู้สูงวัยสูงจะมีคุณภาพชีวิตสูงกว่าผู้สูงอายุที่อาศัย ในชุมชนที่เป็นมิตรหรือเอื้ออาทรต่อผู้สูงวัยต่ํา โดยจะมีคุณภาพชีวิตสูงกว่าประมาณ 3.42 เท่า สําหรับ ผู้สูงอายุไทย คุณภาพชีวิตสูงกว่าประมาณ 2.1 เท่าสําหรับผู้สูงอายุมาเลเซีย คุณภาพชีวิตสูงกว่าประมาณ
1.99 เท่าสําหรับผู้สูงอายุเวียดนาม และคุณภาพชีวิตสูงกว่าประมาณ 3.04 เท่าสําหรับผู้สูงอายุพม่า
การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยชิ้นแรกที่ สามารถแสดงกลไกการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของ สิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อพฤฒลังและคุณภาพชีวิตของผู้สูงวัยในอาเซียน การศึกษาพบว่าการอาศัยในสิ่งแวดล้อม ที่เอื้ออาทรมีผลโดยตรงต่อผู้สูงอายุโดยจะทําให้ผู้สูงอายุมีพฤฒพลังที่สูงขึ้น และพฤฒพลังที่สูงขึ้นนั้นจะทําให้ ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่สูงขึ้น (โดยสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรจะมีผลทั้งทางตรงต่อคุณภาพชีวิต และทางอ้อม ต่อคุณภาพชีวิตโดยผ่านพฤฒพลัง ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่า สิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรมีผลทางตรงต่อพฤฒ พลัง และสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรมีผลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในอาเซียน
3) โครงการ “การย้ายถิ่นของมุสลิมไทยไปมาเลเซีย และการบูรณาการทางสังคมกับการแก้ไข ปัญหาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้” โดย รศ.ดร.อารี จําปากลาย หัวหน้าโครงการ จาก มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ผลการวิจัยที่สําคัญดังต่อไปนี้
งานวิจัยนี้ศึกษาการไปทํางานในประเทศมาเลเซีย และศึกษาว่าคนมาเลเซียมีทัศนคติต่อผู้ย้ายถิ่น ชาวไทยมุสลิมที่ไปทํางานอย่างไร รวมทั้งทําความเข้าใจลักษณะและระดับการบูรณาการทางสังคมใน มาเลเซียของชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดภาคใต้ ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยสัมภาษณ์ผู้ ย้ายถิ่นชาวไทยมุสลิมที่ทํางานอยู่ในประเทศมาเลเซียด้วยแบบสัมภาษณ์เชิงโครงสร้าง จํานวน 103 คน สัมภาษณ์ระดับลึก คือ นายจ้างชาวมาเลเซีย จํานวน 15 คน ผู้ย้ายถิ่นที่ทํางานในมาเลเซีย จํานวน 11 คน และผู้เชี่ยวชาญจํานวน 3 คน
ผลการศึกษาพบว่า การส่งเสริมให้การย้ายถิ่นไปทํางานในประเทศมาเลเซียของชาวไทยมุสลิมใน สามจังหวัดภาคใต้เป็นทางเลือกที่นํามาซึ่งประโยชน์สูงสุดต่อทุกฝ่าย ทั้งผู้ย้ายถิ่น ครอบครัว และชุมชน โดย ในภาพรวม ข้อค้นพบจากงานวิจัยชี้ให้เห็นว่า การไปทํางานในมาเลเซียของแรงงานไทยจากสามจังหวัด
ภาคใต้เป็นทางเลือกที่เกิดจากทั้งแรงผลักทางเศรษฐกิจจากพื้นที่ต้นทาง ในเรื่องการหางานยากและค่าแรง ถูก และแรงดึงดูดในพื้นที่ปลายทาง ที่ถูกมองว่ามีความต้องการแรงงานและให้ค่าจ้างสูงกว่างานในประเทศ ไทย และยังมีเครือข่ายทางสังคมที่คอยสนับสนุนการทํางานในมาเลเซีย นอกจากนี้ การทํางานของแรงงาน จากสามจังหวัดภาคใต้ยังเป็นการทํางานโดยไม่มีใบอนุญาตทํางานทําให้มีความเสี่ยงที่จะไม่ได้รับความ คุ้มครองในฐานะแรงงาน ผู้ที่ได้รับประโยชน์อย่างชัดเจนจากแรงงานจากสามจังหวัด คือ นายจ้างในถิ่น ปลายทางได้รับประโยชน์จากการเป็นผู้ประกอบการ และการจ้างงานแรงงานจากสามจังหวัดภาคใต้
แรงงานจากสามจังหวัดในมาเลเซียตัดสินไปทํางานที่ถิ่นปลายทางนี้ด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจ คือ ต้องการรายได้เพิ่มขึ้น และหางานง่ายกว่าประเทศไทย ที่สําคัญงานวิจัยนี้พบว่า แรงงานเพียงมากกว่าหนึ่งใน สามเล็กน้อยที่ทํางานโดยมีใบอนุญาตทํางาน และเกือบทุกคนทํางานไม่มีสัญญาจ้าง และแรงงานเกือบทุกคน ให้เงินกับทางบ้าน โดยในช่วง 1 ปี ก่อนการสํารวจแรงงานส่วนใหญ่ให้เงินกับครอบครัวในประเทศประมาณ 10,000-15,000 บาท ส่วนทัศนคติของชาวมาเลเซียที่มีต่อแรงงานไทยนั้น แม้จะมีการมองว่าแรงงานไทย เป็นชนชั้นแรงงานไม่มีความเท่าเทียมกับคนมาเลเซีย แต่หากพิจารณาเปรียบเทียบกับแรงงานจากชาติอื่นๆ แล้ว ในสายตาของชาวมาเลเซียมองว่าแรงงานไทยดีกว่าแรงงานจากประเทศอื่นๆ เพราะมีความรู้สึกใกล้ชิด กันในด้านของภาษาและวัฒนธรรม ซึ่งสะท้อนออกมาให้แง่ของการที่แรงงานไทยมักได้รับค่าจ้างสูงกว่า แรงงานจากชาติอื่นๆ โดยเครือข่ายความช่วยเหลือทางสังคมที่สําคัญของแรงงานไทยที่ทํางานในมาเลเซีย คือ คนไทยที่อยู่ที่มาเลเซียด้วย นอกจากนี้แรงงานจากสามจังหวัดภาคใต้ยังมีการบูรณาการทางสังคมในประเทศ มาเลเซียในระดับจํากัด เป็นเพียงแรงงานที่จําเป็นแต่ไม่ใช่คนในสังคมเดียวกัน แรงงานส่วนใหญ่ไม่รู้สึกเป็น ส่วนหนึ่งของสังคมมาเลเซีย และมีปฏิสัมพันธ์กับคนมาเลเซียนอกเหนือจากเรื่องงานน้อยมาก อย่างไรก็ตาม แรงงานส่วนใหญ่ยังมีมุมมองในด้านบวกและมีความสุขกับการใช้ชีวิตในมาเลเซีย นอกจากนี้มีหลักฐานที่ชี้ว่า ระดับการบูรณาการทางสังคมมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับระดับความสุขของแรงงาน
4) โครงการ “การเลี้ยงนกเขาชวากับการส่งเสริมความสัมพันธ์ในเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ระหว่างประชาชนจังหวัดชายแดนภาคใต้กับกลุ่มประชาคมอาเซียน” โดย คุณคอลัฟ ต่วนบูละ หัวหน้า โครงการ นักวิจัยอิสระ ได้ผลการวิจัยที่สําคัญดังต่อไปนี้
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเลี้ยงนกเขาชวาและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับผลสืบเนื่องต่อการ ส่งเสริมความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ระหว่างประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต้กับกลุ่มประชาคมอาเซียน ซึ่งกลุ่มเป้าหมายการวิจัยประกอบด้วย 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) ผู้เลี้ยงนกเขาชวา
2) ผู้ที่ทําธุรกิจที่เชื่อมโยงกับการเลี้ยงนกเขาชวา และ 3) ผู้สนับสนุนการดําเนินงานของกิจกรรมการเลี้ยง นกเขาชวา ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพเป็นหลัก เพื่อศึกษาข้อมูลการเลี้ยงนกเขาชวาและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ผลสืบเนื่องต่อการส่งเสริมความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ระหว่างประชาชนในพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้กับกลุ่มประชาคมอาเซียน และใช้แนวทางการวิจัยเชิงปริมาณในการสํารวจข้อมูลกลุ่ม
ตัวอย่างเฉพาะประเด็นรายได้และค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการเลี้ยงนกเขาชวาและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องของ ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
ผลการศึกษาพบว่า การเลี้ยงนกเขาชวาของประชาชนส่วนใหญ่เลี้ยงเพื่อเป็นอาชีพเสริมที่สามารถ สร้างมูลค่าและรายได้ต่อผู้เลี้ยงเป็นอย่างดี เนื่องจากพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ถือได้ว่าเป็นฐานผลิตที่มี คุณภาพทั้งในเรื่องของคุณภาพน้ําเสียงนกเขาชวาและองค์ประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวกับนกเขาชวา เช่น กรงนก หัวกรงอาหารและยารักษาโรค ซึ่งถือเป็นตลาดสาหรับการรองรับลูกค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศ ประเทศอินโดนีเซียมีความต้องการนกเขาชวาที่ผลิตในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ค่อนข้างสูง เนื่องจากการ ตื่นตัวและความนิยมเลี้ยงนกเขาชวาจํานวนมาก ในขณะที่องค์ประกอบอื่นๆ เกี่ยวกับนกเขาชวา เช่น กรง นกเขา อาหารนก เป็นต้น ไม่ได้เป็นที่ต้องการของกลุ่มคนเลี้ยงในประเทศอินโดนีเซีย เนื่องในประเทศ อินโดนีเซียมีฐานการผลิตมากพอสมควร ส่วนสิงคโปร์และมาเลเซียยังคงเป็นตลาดที่สําคัญไม่น้อย เนื่องจาก นกเขาชวาและองค์ประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวกับนกเขา ที่ผลิตในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ยังคงเป็นที่ต้องการ
ความสัมพันธ์ทางด้านสังคมและวัฒนธรรมของการเลี้ยงนกเขาชวาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ กับกลุ่มประเทศอาเซียน พบว่า แม้การเลี้ยงนกเขาจะเป็นวัฒนธรรมเล็กๆ แต่ก็เป็นวัฒนธรรมที่ทรงพลังใน สังคม เพราะกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดจากเสียงของนกเขาชวาส่งผลให้คนเลี้ยงรู้จักการใช้ชีวิตการอยู่ร่วมกันใน สังคม เช่น การไปมาหาสู่กัน ความซื่อสัตย์และความไว้วางใจกันในกิจกรรมของการปาเวาะห์ เป็นต้น ซึ่งถือ เป็นส่วนหนึ่งของทักษะชีวิตในการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข และที่สําคัญเสียงของนกเขาชวาก็ได้ส่งผล ต่อการสร้างพื้นที่ทางสังคมให้กับประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ชายได้ใช้เป็น พื้นที่ในการพบปะ พูดคุย แลกเปลี่ยน ภายใต้สังคมที่อาจจะมีความหวาดระแวงอยู่จากสถานการณ์ความไม่ สงบที่ขึ้น แต่พวกเขาก็ได้ใช้พื้นที่ทางสังคมนี้สร้างความเป็นกลุ่มคนที่ชื่นชมกับเสียงนกเขาชวาซึ่งพวกเขาได้ เรียกกลุ่มของตนว่า “ชวาวงศ์” ที่มีสมาชิกมาจากหลากหลายอาชีพ และชาติพันธุ์ มีทั้งคนไทยพุทธ ไทย มุสลิม และคนจีน ร่วมกันตั้งเป็นชมรม สมาคมในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และประเทศ เพื่อร่วมกันธํารงรักษา ไว้ซึ่งวัฒนธรรมการเลี้ยงนกเขาชวาให้คงอยู่ในสังคมและพัฒนาต่อยอดให้มีคุณค่าต่อสังคมโดยรวมอย่างใน ปัจจุบัน ด้วยพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นศูนย์กลางของแหล่งผลิตนกเขาชวาที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย ทําให้ผู้นิยมเลี้ยงนกเขาชวานอกจังหวัดชายแดนภาคใต้และต่างประเทศหลั่งไหลเข้ามาเกิดการปฏิสัมพันธ์ ระหว่างกันและมีผลต่อความสัมพันธ์ของประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้กับสังคมภายนอก เราจะ พบว่าลักษณะการปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้กับสังคมภายนอกผ่านกิจกรรมการ เลี้ยงนกเขาชวานั้น มีทั้งลักษณะของการเข้ามาติดต่อซื้อขายนกเขาชวาในพื้นที่ การเข้ามาร่วมลงทุน เพาะพันธุ์นกเขาชวา การเข้ามาร่วมกิจกรรมการแข่งขันนกเขาชวาในระดับภูมิภาคและระดับประเทศที่และ การติดต่อสื่อสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งการปฏิสัมพันธ์ดังกล่าวส่งผลทาให้เกิดความ สัมพันธ์ในรูปแบบ ของการช่วยเหลือเพื่อนสมาชิก การพึ่งพา เอื้อประโยชน์ต่อกันการอํานวยความสะดวกแก่สมาชิกในด้าน
ต่างๆ การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมอื่นๆ ที่นอกเหนือจากการเลี้ยงนกเขาชวาของกันและกัน ตลอดจนการสร้าง ความร่วมมือในด้านต่างๆ ในการพัฒนาการเลี้ยงนกเขาชวาที่สะท้อนให้เห็นว่าความสัมพันธ์ของผู้คนภายใต้ วัฒนธรรมการเลี้ยงนกเขาชวานี้มีความแน่นแฟ้นที่สามารถก่อให้ความสัมพันธ์ในรูปแบบอื่นๆ อันมีผลต่อการ พัฒนาประเทศได้
5) โครงการ “มาตรการส่งเสริมสุขภาพแรงงานข้ามชาติในเมียนมาทาวน์: โอกาสของประเทศ ไทยในการเป็นศูนย์กลางแรงงานสุขภาพดีแห่งอาเซียน กรณีศึกษาเทศบาลปากคลองท่าเรือและเทศบาล ปากคลองจังหวัดระนอง” โดย นพ.จิโรจ สินธวานนท์ หัวหน้าโครงการ จากสํานักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข ได้ผลการวิจัยที่สําคัญดังต่อไปนี้
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของความรอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมสุขภาพ กับของแรงงานเมียนมาที่ทํางานและอาศัยอยู่อย่างถูกต้องตามกฎหมายในเมียนมาทาวน์ จังหวัดระนอง โดย การประเมินการได้รับความรู้ด้าน “สุขภาพ” ของแรงงานเมียนมา จากแหล่งต่างๆ ที่นําไปสู่การสังเคราะห์ กระบวนการเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพของแรงงานเมียนมา รวมทั้งข้อเสนอแนะต่อการพัฒนาชุมชน แรงงานเมียนมาสุขภาพดีต้นแบบ สนับสนุนยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนด้านการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตและการคุ้มครองทางสังคมของประเทศไทย โดยใช้การศึกษาเชิงปริมาณ ที่ศึกษาเฉพาะของแรงงาน เมียนมาร์ชาติพันธุ์ต่างๆ ที่เดินทางผ่านเข้ามาทางด่านชายแดนท่าเทียบเรือสะพานปลา ต.บางริ้น อ.เมือง จ. ระนอง แล้วมาอาศัยและทํางานอยู่เมียนมาทาวน์ จังหวัดระนอง ในเขตเทศบาลปากคลองท่าเรือและ เทศบาลปากคลอง ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าว และศึกษาเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์ผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้องกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานข้ามชาติทั้งในส่วนกลาง ระดับจังหวัดและในพื้นที่ รวมทั้งผู้ที่ทํางานเกี่ยวข้องกับความร่วมมือประชาคมอาเซียน
ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการชุมชนและแรงสนับสนุนจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเป็นปัจจัยแห่ง ความสําเร็จที่สําคัญของการเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพที่ยั่งยืน เมื่อวิเคราะห์จากความสัมพันธ์ของ ความรอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมสุขภาพกับของแรงงานเมียนมา และการได้รับความรู้ด้านสุขภาพของ แรงงานเมียนมาในเมียนมาทาวน์จากแหล่งต่างๆ แล้ว ได้มาซึ่งกระบวนการเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ ของแรงงานเมียนมาที่พัฒนาให้สอดคล้องกับปัจจัยสังคมกําหนดสุขภาวะและมิติความซับซ้อนทางวัฒนธรรม รวมทั้งแนวทางปฏิบัติตามมาตรการส่งเสริมสุขภาพแรงงานข้ามชาติในเมียนมาทาวน์ที่เ สริมแรงโดย นวัตกรรมด้านการสื่อสารสุขภาพ คือ สื่อสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ภาษาเมียนมาที่เผยแพร่ผ่านทางช่องทางการ สื่อสารต่างๆ ในชุมชนและสังคมวงกว้าง โดยผู้วิจัยได้ให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและข้อเสนอแนะต่อ การศึกษาต่อเนื่องเพื่อสนับสนุนการเพิ่มพูนขีดความสามารถของประเทศไทยทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งโอกาสของประเทศไทยในการเป็นศูนย์กลางแรงงานสุขภาพดีแห่งอาเซียนจากการให้ความสําคัญต่อ การส่งเสริมสุขภาพและความรอบรู้ที่เกี่ยวข้องของแรงงานข้ามชาติ
3.4 ผลการดําเนินงานของแผนงานฯ ภายใต้กรอบวิจัยที่ 4 การวิจัยทางด้านการศึกษาและ การพัฒนามนุษย์ของประเทศในอาเซียน
ในกรอบวิจัยที่ 4 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
1) ศึกษาเปรียบเทียบระบบการศึกษาในระดับอุดมศึกษาระหว่างไทยกับมาเลเซีย
2) ความร่วมมือด้านการศึกษาระหว่างไทยกับประเทศอาเซียน
3) แนวทางการจัดการศึกษาของประเทศไทย เพื่อรองรับการเข้าร่วมประชาคมอาเซียน
กรอบการวิจัยด้านการศึกษาและการพัฒนามนุษย์ของประเทศในอาเซียน มีโครงการที่ได้รับอนุมัติ จํานวน 5 โครงการเดี่ยว ใช้งบประมาณในการดําเนินการวิจัยรวมทั้งสิ้น 4,619,245 บาท จึงสามารถสรุป สาระสําคัญของงานวิจัย ได้ดังนี้
1) โครงการ “การพัฒนาการศึกษาด้านวิชาชีพสถาปัตยกรรมจากการเปิดเสรีการค้าบริการ ภายใต้ประชาคมอาเซียน” โดย ดร.อัธยานันท์ จิตรโรจนรักษ์ หัวหน้าโครงการ จากมหาวิทยาลัยราชภัฎ พระนคร ได้ผลการวิจัยที่สําคัญดังต่อไปนี้
การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ได้แก่ 1) เพื่อศึกษาสภาวการณ์ในปัจจุบันที่มีผลต่อการเจรจาของกลุ่ม
ประเทศอาเซียนด้านการศึกษาสถาปัตยกรรม 2) เพื่อเปรียบเทียบระบบการศึกษาด้านสถาปัตยกรรมของ ประเทศในกลุ่มอาเซียน และ 3) เพื่อรวบรวมแนวทางและข้อเสนอแนะในการพัฒนาการศึกษาด้านวิชาชีพ สถาปัตยกรรมของประเทศไทย โดยการใช้วิธีการศึกษาเอกสาร และจากการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) ผู้แทนของประเทศอาเซียนจํานวน 4 ประเทศ ที่เข้าร่วมการประชุมนั้น ๆ ได้แก่ ผู้แทนในการเข้า ร่วมการประชุม ASEAN Architect Education Committee (AAEC) และ การประชุม ASEAN Architect Council (AAC) จํานวน 8 ท่านจาก 4 ประเทศ ประเทศละ 2 ท่าน ได้แก่ ประเทศไทย ประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ผลการศึกษาพบว่า การจัดตั้งคณะทํางานด้านการศึกษาภายใต้กรอบการเจรจาความตกลงอาเซียนเพื่อให้ พิจารณาด้านการศึกษาร่วมกัน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของข้อตกลงการยอมรับร่วมกันของอาเซียนด้าน การบริการสถาปัตยกรรมนั้น ยังไม่มีกําหนดเวลาสรุปชัดเจน ซึ่งผู้วิจัยเห็นว่าโอกาสที่จะทําการศึกษาระบบ การรับรองและพัฒนาการศึกษาด้านวิชาชีพสถาปัตยกรรมของประเทศไทยเพื่อที่จะเข้าสู่มาตรฐานสากลอัน ส่งผลต่อการรับรองหลักสูตร สถาบันหรือปริญญาในระดับสากลได้ต่อไป นอกจากนี้คณะวิจัยได้ข้อค้นพบว่า ข้อแตกต่างระหว่างประเทศที่ส่งผลให้การดําเนินการในการเจรจาด้านการศึกษายังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ วางไว้ประกอบด้วยประเด็นหลักๆ ได้แก่ 1) หน่วยงานผู้มีอํานาจ 2) ข้อกําหนดเกี่ยวกับคุณสมบัติของบัณฑิต
ผู้จบการศึกษาด้านวิชาชีพสถาปัตยกรรม 3) ประสบการณ์ทางวิชาชีพก่อนเข้าสู่การขอรับใบอนุญาต และ 4) การสอบเพื่อขอรับใบอนุญาตในการประกอบวิชาชีพ ดังนั้นประเด็นการพัฒนาการศึกษาด้านวิชาชีพ สถาปัตยกรรมของไทยควรพิจารณาในหัวข้อ ระบบการจัดการเรียนการสอน ในเรื่องระยะเวลาในการจัด การศึกษา สําหรับหลักสูตรการศึกษาด้านสถาปัตยกรรมของประเทศไทยอาจไม่มีความจําเป็นในการกําหนด จํานวนปีกี่ปี แต่ทั้งนี้เนื่องจากอยู่ภายใต้กรอบของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตลอดจนสภา สถาปนิกที่มีการกําหนดในเรื่องมาตรฐานของหน่วยกิตที่สอดคล้องกับปีที่ต้องเรียนรู้เต็มเวลาจึงจําเป็นที่ยัง อยู่ในช่วงระยะเวลา 4-5 ปี เนื้อหารายวิชา ควรเน้นการเรียนการสอนในลักษณะบูรณาการวิชาร่วมกันทาง วิชาหลัก วิชาสนับสนุน และวิชาโครงสร้าง หรือเน้นเฉพาะเรื่องของสถาปัตยกรรมเขตร้อน และ สถาปัตยกรรมพืน้ ถิ่น เพื่อสร้างเสริมจุดแข็งของบัณฑิตที่จบการศึกษา วิธีการสอนควรเน้นให้เกิดการจัดทํา MOU ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ตลอดจนการจัดการWorkshop เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียน และทักษะของผู้เรียน
นอกจากนี้สภาวิชาชีพและสมาคมวิชาชีพ และสถาบันการศึกษาซึ่งมีสภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์แห่งประเทศไทย ทั้ง 3 หน่วยงานเสมือนเป็นตัวแทนของทั้งภาครัฐ เอกชน และการศึกษา ควรมีการ วางยุทธศาสตร์ นโยบาย และกลยุทธ์ในการทํางานร่วมกันอย่างต่อเนื่องตลอดจนกระบวนการควรต้องชัดเจน มีมาตรฐานที่แน่นอน สําหรับแนวทางการตรวจรับรองและการประเมิน การผลักดันให้มีการตรวจรับรอง เพียงเกณฑ์เดียว หรือการจัดทําให้เป็นหน่วยงานกลางน่าจะส่งผลดีต่อกระบวนการทํางานของ สถาบันการศึกษาและลดการซ้ําซ้อนในการดําเนินการได้
2) โครงการ “การศึกษาเปรียบเทียบความฉลาดทางวัฒนธรรมของนักศึกษาพยาบาลชั้นปี สุดท้ายเพื่อเตรียมความพร้อมสําหรับการประกอบวิชาชีพในกลุ่มประเทศอาเซียน” โดย ดร.กาญจณี พันธุ์ไพโรจน์ หัวหน้าโครงการ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ผลการวิจัยที่สําคัญดังต่อไปนี้
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและเปรียบเทียบความแตกต่างของระดับความฉลาดทาง วัฒนธรรม ของนักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาตรีในประเทศ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และไทย และ 2) เพื่อ ศึกษาและเปรียบเทียบการส่งเสริมความสาคัญด้านความแตกต่างทางวัฒนธรรม ประกอบด้วย ด้านหลักสูตร ด้านกิจกรรมเสริมหลักสูตร และด้านอาจารย์ และ 3) เพื่อเสนอแนะเชิงนโยบายการส่งเสริมการพัฒนาความ ฉลาดทางวัฒนธรรมของนักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาตรีในภาพรวม โดยดํา เนินการวัดระดับและ เปรียบเทียบระดับความฉลาดทางวัฒนธรรมของนักศึกษาพยาบาลจาก 3 ประเทศ และวัดระดับการส่งเสริม ความสาคัญด้านความแตกต่างทางวัฒนธรรมของสถาบันการศึกษา เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลสภาวการณ์ปัจจุบัน และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ์นักศึกษา 3 ด้านประกอบด้วย ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านกิจกรรมเสริมหลักสูตร และด้านเป้าหมายและทัศนคติ
ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยความฉลาดทางวัฒนธรรมของนักศึกษาพยาบาลไทยน้อยกว่าฟิลิปปินส์ และมาเลเซีย ด้วยเนื่องสังคมภายในประเทศไทยแม้ว่ามีความหลากหลายซึ่งเห็นได้จากการจัดแบ่งภูมิภาค แต่คงมีวิถีชีวิตหรือเป็นสังคมที่อยู่แบบเกาะกลุ่มกันเป็นส่วนใหญ่คือคนที่มีวิถีชีวิตหรือวัฒนธรรมเดียวกันจะ รวมกลุ่มกัน จึงน่าจะเป็นเหตุผลที่นักศึกษาพยาบาลไทยขาดประสบการณ์การปฏิบัติตนในสังคมพหุ วัฒนธรรม ซึ่งต่างจากนักศึกษาพยาบาลฟิลิปปินส์และมาเลเซียที่มีประสบการณ์อยู่กับสังคมพหุวัฒนธรรม รอบตัว เนื่องจากสภาพแวดล้อมมีความหลากหลายทั้งชาติพันธุ์และวัฒนธรรม มีการเรียนรู้การใช้ภาษา สื่อสารระหว่างบุคคลเป็นเหตุผลให้สามารถใช้ภาษาอังกฤษเป็นกลางในการสื่อสารได้ หรือการนําภาษากลาง ของประเทศมาใช้ในการสื่อสารกับคนแต่ละชนเผ่า
ผลการศึกษาและเปรียบเทียบการส่งเสริมความสําคัญด้านความแตกต่างวัฒนธรรมพบว่า ค่าเฉลี่ย ของประเทศไทยน้อยกว่าประเทศฟิลิปปินส์และมาเลเซีย ในขณะที่บริบททางสังคมแวดล้อมของประเทศ มาเลเซียมีข้อได้เปรียบในด้านความเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมและสามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารได้ เป็นอย่างดี ประชาชนในสังคมมีความหลากหลายด้านชาติพันธุ์ ด้วยเหตุนี้ที่นักศึกษาพยาบาลในประเทศ มาเลเซียจึงมีโอกาสได้ฝึกประสบการณ์ทางวิชาชีพในสถานการณ์จริงกับผู้ป่วยต่างวัฒนธรรมระหว่างการ เรียนการสอนตามหลักสูตร
การวิเคราะห์ประเด็นอิทธิพลของการส่งเสริมความสําคัญด้านความแตกต่างทางวัฒนธรรมที่มีต่อ ความฉลาดทางวัฒนธรรมพบว่าเป็นไปในทิศทางเดียวทั้งสามประเทศ โดยการส่งเสริมความสําคัญด้านความ แตกต่างทางวัฒนธรรมมีอิทธิพลต่อความฉลาดทางวัฒนธรรมเป็นไปในทิศทางบวกและมีนัยสําคัญทางสถิติ จึงกล่าวได้ว่า ยิ่งมีการส่งเสริมความสําคัญด้านความแตกต่างทางวัฒนธรรมจะส่งผลให้ความฉลาดทาง วัฒนธรรมสูงขึ้นได้
3) โครงการ “การสังเคราะห์กลยุทธ์การสอนของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามหลักสูตร บูรณาการในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21” โดย ดร.มู ฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ หัวหน้าโครงการ จากวิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จ.ปัตตานี ได้ผลการวิจัยที่สําคัญดังต่อไปนี้
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์กลยุทธ์การสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 2)
วิเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนกลยุทธ์การสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และ 3) สังเคราะห์กลยุทธ์และพัฒนาแนวทางการนําไปใช้ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในบริบทสังคมจังหวัด ชายแดนภาคใต้ โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม และการสังเกตแบบ ไม่มีส่วนร่วม ในครูผู้สอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ผู้บริหาร ผู้ปกครอง และนักเรียน ในประเทศ มาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ และในประเทศไทย กับผู้แทนครู ผู้แทนผู้บริหาร และผู้ทรงคุณวุฒิที่
เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการศึกษาและโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ในการวิจัยเชิงปริมาณ ได้สํารวจใน กลุ่มเป้าหมายครูโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาหลักสูตรบูรณาการ ในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ และประเทศไทย ที่ทําการจัดการเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จํานวน 251 คน
ผลการศึกษาพบว่า กลยุทธ์จากการสังเคราะห์เพื่อใช้ในบริบทโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ได้แก่ 1) กลยุทธ์หลักสูตรสามัญบูรณาการอิสลาม (บูรณาการสาระการเรียนรู้/บูรณาการโครงสร้างรายวิชา)
2) กลยุทธ์การสอนแนวใหม่ สําหรับรายวิชาบูรณาการอิสลาม 3) กลยุทธ์การวัดและประเมินการจัดการ เรียนรู้บูรณาการอิสลาม 4) กลยุทธ์การนําเทคโนโลยีการศึกษามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนและบริหาร จัดการโรงเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ 5) กลยุทธ์ระบบพัฒนาครูโรงเรียนบูรณาการโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน และ 6) กลยุทธ์หุ้นส่วนทางการศึกษา โดยมีตัวแปรที่สําคัญในการขับเคลื่อนคือความเข้าใจของครูต่อ แนวทางของการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตัวแปรการพัฒนาวิชาชีพของครูผู้สอน ตัวแปรปัจจัยด้าน ผู้ปกครอง และตัวแปรด้านนโยบายแห่งรัฐ สําหรับแนวทางการนําไปใช้เพื่อสร้างการเรียนรู้และการ เปลี่ยนแปลงของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม มีชื่อว่ากระบวนการ “อัพเลิร์น (UPLERN)” ซึ่ง ประกอบด้วย 6 กระบวนการ คือ 1) การทําความเข้าใจอย่างลึกซึ่ง (Understanding) 2) การจัดลําดับ ความสําคัญของการเปลี่ยนแปลง (Prioritizing) 3) การเรียนรู้ (Learning) 4) การนํากลยุทธ์ไปใช้และ ประเมิน (Employing and Evaluation) 5) การให้ผลสะท้อนกลับและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Reflecting and Revising) และ 6) การสร้างเครือข่าย (Networking)
4) โครงการ “การปรับปรุงประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ไทย-กัมพูชาในหลักสูตรสถานศึกษา” โดย ดร.ณัฐพร ไทยจงรักษ์ หัวหน้าโครงการ จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้ผลการวิจัยที่สําคัญ ดังต่อไปนี้
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสํารวจสถานภาพประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ไทย – กัมพูชาในหลักสูตรระดับโรงเรียนของทั้งสองประเทศ เพื่อวิเคราะห์ถึงแนวทางในการปรับปรุงประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์ไทย – กัมพูชาจากทางฝั่งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรประวัติศาสตร์ของกัมพูชาและการ ทํางานของคณะทํางานจากประเทศไทยในเรื่องดังกล่าว และเพื่อเสนอแนวทางในการปรับปรุงเนื้อหา ประวัติศาสตร์ในโรงเรียนที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ไทย – กัมพูชาในหลักสูตรโรงเรียนของทั้งสองประเทศ เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการค้นคว้าจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ที่เป็นเอกสารชั้นต้นและ เอกสารชั้นรองภาษาไทย ภาษาเขมร ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส ในส่วนข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับประวัติ การศึกษาของกัมพูชาซึ่งเริ่มขึ้นภายใต้ระบบอาณานิคมของฝรั่งเศส ส่วนหนึ่งใช้ข้อมูลจากหอสมุดแห่งชาติ ฝรั่งเศส ณ กรุงปารีส (Bibliothèque Nationale de France) และหอจดหมายเหตุอาณานิคมโพ้นทะเล (Le Centre des archives d'outre-mer) เมืองเอ็กซ์ ออง โปร วองซ์ ประเทศฝรั่งเศส นอกจากนี้จะมีการ
สัมภาษณ์เชิงลึก และมีการประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคณะกรรมการเพื่อปรับปรุงหลักสูตร ประวัติศาสตร์กัมพูชา ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา
ผลการวิจัยทําให้พบข้อสรุปสําคัญในการปรับปรุงประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ไทย – กัมพูชาสามารถ ทําได้โดยผ่าน 3 ประเด็นดังต่อไปนี้
1. การปรับปรุงประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ไทย – กัมพูชาผ่านตัวหลักสูตร การปรับปรุงหลักสูตร ประวัติศาสตร์โดยภาพรวม ควรเน้นไปที่การใช้ทักษะของการวิพากษ์หรือระเบียบวิธีวิจัยทางประวัติศาสตร์ ให้เป็นประโยชน์ซึ่งจะทําให้นักเรียนเข้าใจถึงข้อจํากัดหรือบริบทปัจจัยต่างๆ
2. การปรับปรุงประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ไทย – กัมพูชาจากแบบเรียน การปรับปรุงประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์ผ่านแบบเรียนควรเพิ่มรายละเอียดเกี่ยวกับการเรียนรู้ประเทศเพื่อนบ้านให้มากขึ้น โดยเฉพาะ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงปัจจุบัน เพื่อช่วยให้นักเรียนเอาไปคิดวิเคราะห์และต่อยอด
3 การปรับปรุงประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ไทย – กัมพูชาผ่านวิธีการสอน การเพิ่มแหล่งที่มาของ ข้อมูลให้มากขึ้นเพื่อเห็นถึงความหลากหลายของมุมมอง หรือการเรียนรู้ผ่านแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เช่น สถานที่ สําคัญทางประวัติศาสตร์ พิพิธภัณฑ์ ซึ่งให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ผ่านแหล่งเรียนรู้ตามการวิเคราะห์ของตน รวมถึงการสอดแทรกแนวคิดประวัติศาสตร์อื่นๆ ผ่านกระบวนการคิดค้นของนักประวัติศาสตร์และนักการ ศึกษาร่วมกัน และให้ผู้ปฏิบัติซึ่งก็คือ ครูไปทดลองใช้ โดยการส่งเสริมให้มีการเชื่อมโยงระหว่างครูในโรงเรียน และอาจารย์ในมหาวิทยาลัย เพื่อสร้าง Platform network learning community ให้เกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ในวิชาประวัติศาสตร์ ในเชิงวิชาการจากมหาวิทยาลัยสู่สถาบันการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งอาจจะรวมไป ถึงการปรับเปลี่ยนทัศนคติและความคิดของครู
นอกจากนี้ควรจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ในรูปแบบของความเป็นภูมิภาคเชื่อมโยงกับโลกที่ เป็นโลกาภิวัฒน์ จะนํามาซึ่งการลดความเป็นชาตินิยม เขียนประวัติศาสตร์ในเชิงการศึกษาภูมิภาค และต้อง ส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนว่า ประวัติศาสตร์คือเหตุการณ์ในอดีตที่อธิบาย ณ เวลาที่เกิดเหตุการณ์ขึ้น ดังนั้นไม่ควรจะเอาบริบทของปัจจุบันมาตัดสิน นอกจากนี้การเรียนรู้จากศาสตร์อื่นๆ อาจนํามาใช้ในการลด ความขัดแย้งได้ เช่น การพูดถึงเรื่องสิทธิมนุษยชน การงดใช้ประทุษวาจา (hate speech) ซึ่งก็คือ ถ้อยคํา โจมตีบุคคลหรือกลุ่มบุคคลด้วยเหตุแห่งเชื้อชาติ ศาสนา เพศ หรือรสนิยมทางเพศ เป็นต้น รวมถึงการรังแก ผู้อื่นผ่านทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying) ซึ่งเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในโลกปัจจุบันและมีการคาดการณ์ว่าจะ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ การเรียนการสอนประวัติศาสตร์ที่สัมฤทธิ์ผลจะช่วยสอนนักเรียนในเรื่องการไม่ดูถูกหรือกล่าว ร้ายผู้ใดโดยไม่มีหลักฐานยืนยัน
5) โครงการ “การศึกษาเปรียบเทียบระบบการศึกษาในระดับอาชีวศึกษาระหว่างไทยกับ สิงคโปร์” โดย รศ.ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ หัวหน้าโครงการ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ผลการวิจัยที่ สําคัญดังต่อไปนี้
การวิจัยนี้มุ่งเน้นการเปรียบเทียบระบบการศึกษาระดับอาชีวศึกษา (สายอาชีพ) ระหว่างไทยและ สิงคโปร์ มีวัตถุประสงค์สําคัญ คือ 1) เพื่อศึกษาข้อมูลด้านระบบการศึกษาในสายอาชีพของประเทศไทย 2) เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบระบบการศึกษาในสายอาชีวศึกษาของประเทศไทยและสิงคโปร์ครอบคลุมระบบ บริหารจัดการ การพัฒนาผู้เรียน โปรแกรม/หลักสูตรการเรียนการสอนและแนวทางในการสร้างอาชีพให้ ผู้เรียนหรือการสร้างให้ผู้จบการศึกษามีมาตรฐานด้านแรงงานที่เป็นไปตามความต้องการของตลาดแรงงาน และ 3) เพื่อจัดทําข้อเสนอแนะต่อระบบการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและต่อระดับอื่นที่มีผลกระทบต่อ คุณภาพของอาชีวศึกษา การศึกษานี้ได้อาศัยการวิจัยเชิงเอกสาร และการสัมภาษณ์เชิงลึก ทั้งผู้บริหาร นักปฏิบัติ ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องทั้งไทยและสิงคโปร์ ตลอดจนผู้ปกครองและนักศึกษาตามอาชีวศึกษาต่าง ๆ
ผลการศึกษาพบว่า อาชีวศึกษาของไทยยังมีปัญหาอีกมากทั้งในเชิงโครงสร้าง เชิงระบบ และเชิง การพัฒนา รวมไปถึงกฎเกณฑ์ข้อกฎหมาย งบประมาณ และคุณภาพการศึกษา นอกจากนี้ยังมีปัญหาในด้าน ภาพลักษณ์และค่านิยมซึ่งสัมพันธ์กับสังคมและปัจเจกบุคคล ทั้งข้อจํากัดของนโยบายภาครัฐ การเปลี่ยนทาง สังคมด้านเทคโนโลยีและเศรษฐกิจ และค่านิยมทางสังคม ซึ่งเป็นปัญหาในเชิงโครงสร้างทางสังคม ส่งผล กระทบต่อสถาบันการศึกษาอาชีวศึกษาในการบริหารจัดการภายในองค์กรทั้งด้านบุคลากร งบประมาณ การ เรียนการสอน และสื่ออุปกรณ์ ดังนั้น หากจะปฏิรูปหรือแก้ไขระบบอาชีวศึกษาเพื่อยกระดับอาชีวศึกษา จําเป็นต้องอาศัยการแก้ไขในองค์รวมทั้งทางด้านนโยบายการสนับสนุนและวางแนวทางแก่อาชีวศึกษาที่ ชัดเจน รวมถึงทางด้านสังคมการสร้างค่านิยมทางสังคมที่ให้ความสําคัญกับชุดองค์ความรู้ไม่เท่าเทียมกันและ การสร้างพื้นที่ทางสังคมให้แก่ระบบการศึกษาที่หลากหลายสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม จาก การศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบระบบอาชีวศึกษาไทยเราล้าหลังกว่าสิงคโปร์ไม่น้อยกว่า 25 ปี จําเป็นต้อง ปฏิรูปอย่างเร่งด่วนทั้งระบบในทุกระดับการศึกษาให้มีความสอดคล้องกับโลกที่เปลี่ยนแปลงไปและสอดรับ กับความต้องการของตลาดแรงงาน
3.5 สรุปผลการทํากิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย
ในการทํากิจกรรมเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนา ประเทศ ประจําปีงบประมาณ 2561: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน จะมีพิจารณาผลผลิต (Output) และ ตัวชี้วัดผลผลิตของโครงการ ดังนี้
3.5.1 ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) และตัวชี้วัดภายใต้โครงการในกรอบวิจัยที่ 1 ด้าน เศรษฐกิจ
ผลผลิตที่ได้รับ
แนวทางการสร้างความร่วมมือด้านการลงทุนระหว่างไทยกับประเทศในอาเซียน รวมถึงใน อุตสาหกรรมฮาลาล และการเงินอิสลาม
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
รายงานการวิจัย 4 เรื่อง (ยุติสัญญาการรับทุน 1 โครงการ)
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
ได้โครงสร้างและรูปแบบการบริหารจัดการกองทุนตะบุงฮัจย์ในประเทศมาเลเซีย และประเทศไทย เพื่อศึกษาและพัฒนากลยุทธ์ในการยกระดับการบริหารจัดการฮัจย์ในประเทศไทย ได้แนวทางการปฏิบัติทางด้านกฎหมาย ข้อมูลกฎระเบียบและกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ ค้าขายและด้านการลงทุนของประเทศบรูไนฯ ได้แนวทางในการเพิ่มศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ต่อการพัฒนา การท่องเที่ยว ในพื้นที่ย่านเมืองเก่าของจังหวัดสงขลาและจังหวัดปัตตานี ได้แนวทางในการศึกษาความเป็นไปได้ในการสร้างความร่วมมือทางธุรกิจอาหารฮาลาลระหว่างไทย และมาเลเซีย
ผลลัพธ์ที่ได้รับ
องค์ความรู้และแนวทางการสร้างความร่วมมือด้านการลงทุนระหว่างไทยกับประเทศในอาเซียน รวมถึงในอุตสาหกรรมฮาลาล และการเงินอิสลาม
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
รายงานการวิจัย 4 เรื่อง
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
- ควรปรับโครงสร้างและรูปแบบการบริหารจัดการฮัจย์ในประเทศไทยทั้งระบบ และควรมีการ ออกแบบและสร้างกลไกในการบริหารจัดการกองทุนฮัจย์เพื่อการนําไปสู่การเพิ่มศักยภาพในการบริหาร จัดการและคุณภาพการให้บริการฮัจย์ของไทย
- ควรผลักดันและสนับสนุนงบประมาณแก่วิสาหกิจชุมชนที่ผลิตเครื่องแกงให้มีความเข้มแข็ง สามารถพัฒนาเพื่อเป็นสินค้าส่งออกได้
- ในการพัฒนาการท่องเที่ยวย่านเมืองเก่าของจังหวัดสงขลาและปัตตานีควรมีประเด็นร่วมกันใน เรื่องการตั้งคณะกรรมการร่วม สร้างความตระหนักในเรื่องการอนุรักษ์เมืองเก่าให้คนในพื้นที่ และฝึกอบรม บุคลากรของอปท.
- ประเทศไทยต้องมีกลยุทธิ์เชิงรุกที่เน้นสร้างจุดแข็งในการสร้างโอกาสที่เหมาะสมกับอุตสาหกรรม ฮาลาลของไทย
3.5.2 ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) และตัวชี้วัดภายใต้โครงการในกรอบวิจัยที่ 2 ผลผลิตที่ได้รับ
กฎหมาย /กฎระเบียบ /ข้อตกลงต่างๆ ระหว่างประเทศไทยกับกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน และ รวมถึงแนวทางการบริหารจัดการแรงงานข้ามชาติของสิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซีย
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
รายงานการวิจัย 3 เรื่อง
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
ได้มาตรการทางกฎหมายเพื่อสนับสนุนการคุ้มครองผืนป่าข้ามพรมแดนของประเทศไทยและ ประเทศในกลุ่มอาเซียน
ได้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตลาดทุนอิสลามในประเทศไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ สหรัฐอาหรับเอ มิเรตส์และสหราชอาณาจักรเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับตลาดทุนอิสลามที่สอดคล้องเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย ได้ผลการวิเคราะห์ผลกระทบจากกฎหมาย (RIA) เพื่อลดอุปสรรคการทําธุรกิจในประเทศ มาเลเซีย สิงคโปร์ และประเทศไทย
ผลลัพธ์ที่ได้รับ
องค์ความรู้ทางด้านกฎหมาย/กฎระเบียบ/ ข้อตกลงต่างๆ ระหว่างประเทศไทยกับกลุ่มประเทศ สมาชิกอาเซียน และรวมถึงแนวทางการบริหารจัดการแรงงานข้ามชาติของสิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซีย
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
รายงานการวิจัย 3 เรื่อง
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
ควรกําหนดเป้าหมายเชิงนโยบายในการคุ้มครองป่าข้ามพรมแดนของทั้งประเทศไทย สปป.ลาว และเมียนมาให้อยู่ในกรอบเดียวกันที่เน้นการอนุรักษ์ป่าข้ามพรมแดนควบคู่ไปกับการพัฒนา อย่างยั่งยืน
ประเทศไทยพัฒนาตลาดทุนอิสลามในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหลักชะรีอะฮฺภิบาล กฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับกองทุนรวมอิสลาม เกณฑ์การคัดกรองหุ้นที่สอดคล้องกับหลักชะรีอะฮฺ และการ บริหารความเสี่ยงด้านชะรีอะฮฺ ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาตลาดทุนอิสลามของประเทศไทยอย่าง มั่นคงและยั่งยืน
ในการวิเคราะห์ผลกระทบจากกฎหมายเพื่อลดอุปสรรคในการดําเนินธุรกิจ การดําเนินการว่า ด้วย Test Based Regulation การจัดทําความร่วมมือภาครัฐและเอกชนว่าด้วยการวิเคราะห์ ผลกระทบจากกฎหมาย การใช้ประเด็นอุปสรรคในการทําธุรกิจจากกฎหมายเป็นตัวตั้ง
3.5.3 ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) และตัวชี้วัดภายใต้โครงการในกรอบวิจัยที่ 3 ผลผลิตที่ได้รับ
นโยบาย กฎเกณฑ์ กระบวนการทางสังคม การบริหารจัดการ รวมถึงพฤติกรรมทางสังคมในทุกๆ ด้าน ของกลุ่มคนในสังคม ชนกลุ่มน้อย หรือสังคมต่างๆ ในประเทศสมาชิกอาเซียน
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
รายงานการวิจัย 5 เรื่อง (ยุติโครงการ 2 เรื่อง)
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
ได้ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรต่อผู้สูงวัยและพฤฒิพลังและคุณภาพชีวิตของผู้ สูงวัยในเขตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มาเลเซีย เมียนมา เวียดนาม และไทย นโยบายภูมิบุตรของมาเลเซียและแนวทางการบริหารจัดการนโยบายภูมิบุตรที่มีต่อชาวสยาม และซัมซัมในมาเลเซีย ได้แนวทางในการกระตุ้นเศรษฐกิจนกเขาชวาและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงนกเขาชวาอัน เป็นโอกาสให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจภายใต้นโยบายการสนับสนุนเศรษฐกิจโดยใช้ฐาน วัฒนธรรมของท้องถิ่นที่เข้มแข็งของพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ การส่งเสริมให้การย้ายถิ่นไปทํางานในประเทศมาเลเซียของชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดภาคใต้ เป็นทางเลือกที่นํามาซึ่งประโยชน์สูงสุดต่อทุกฝ่าย ทั้งผู้ย้ายถิ่น ครอบครัว และชุมชน ได้ความสัมพันธ์ของความรอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมสุขภาพของแรงงานเมียนมา ที่ทํางาน และอาศัยอยู่อย่างถูกต้องตามกฎหมาย และมาตรการส่งเสริมสุขภาพของแรงงานเมียนมา ใน เมียนมาทาวน์ จังหวัดระนอง
ผลลัพธ์ที่ได้รับ
องค์ความรู้ทางด้านนโยบาย/กฎเกณฑ์ กระบวนการทางสังคม/การบริหารจัดการ รวมถึงพฤติกรรมทาง สังคมในทุกๆ ด้าน ของกลุ่มคนในสังคม ชนกลุ่มน้อย หรือสังคมต่างๆ ในประเทศสมาชิกอาเซียน
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
รายงานการวิจัย 7 เรื่อง
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรหรือเป็นมิตรต่อผู้สูงวัยสามารถเพิ่มพฤฒพลังของผู้สูงวัยในอาเซียน ได้อย่างประจักษ์
องค์ความรู้ที่ได้จากนโยบายภูมิบุตรสามารถนํามาเป็นบทเรียนและเป็นแนวทางในการ กําหนดนโยบายอย่างเสมอภาคในประเทศไทยสําหรับชนกลุ่มน้อยต่างๆให้อยู่ร่วมกันอย่าง สันติสุข
นโยบายในการเสริมสร้างความเข้าใจการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม โดยให้นกเขา ชวาเป็นเครื่องมือสําคัญต่อการสร้างความเข้าใจสําหรับคนในพื้นที่ เพราะนกเขาชวาสําหรับ พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ถือเป็นสื่อกลางของการเปิดพื้นที่สร้างความเข้าใจระหว่างผู้คน ทั้งที่เป็นคนไทยพุทธ มุสลิม หรือแม้กระทั่งบุคคลภายนอกพื้นที่ องค์ความรู้เรื่องกระบวนการตัดสินใจย้ายถิ่น กระบวนการย้ายถิ่น การทํางาน การตั้งถิ่น ฐานในประเทศมาเลเซีย และผลกระทบที่เกิดขึ้นกับครอบครัวในต้นทาง รวมถึงแนวทาง นโยบายในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้แก่ผู้ย้ายถิ่นชาวไทยมุสลิมที่อยู่ในมาเลเซีย ความเห็นเชิงนโยบายและผลการพิจารณาความเหมาะสมของกระบวนการชุมชนในการ เสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ การพัฒนามาตรการส่งเสริมสุขภาพแรงงานเมียนมา
3.5.4 ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) และตัวชี้วัดภายใต้โครงการในกรอบวิจัยที่ 4 ผลผลิตที่ได้รับ
การศึกษาและการพัฒนามนุษย์ของประเทศในอาเซียน ความร่วมมือด้านการศึกษาระหว่างไทยกับ ประเทศอาเซียน และแนวทางการจัดการศึกษาของประเทศไทย เพื่อรองรับการเข้าร่วมประชาคมอาเซียน
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
รายงานการวิจัย 5 เรื่อง
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
แนวทางและข้อเสนอแนะในการพัฒนาการศึกษาด้านวิชาชีพสถาปัตยกรรมของประเทศไทย แนวทางในการปรับปรุงเนื้อหาประวัติศาสตร์ในโรงเรียนที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ไทย – กัมพูชาในหลักสูตรโรงเรียนของทั้งสองประเทศ นโยบายการส่งเสริมการพัฒนาความฉลาดทางวัฒนธรรมของนักศึกษาพยาบาลระดับปริญญา ตรีในภาพรวม
กลยุทธ์การสอนและพัฒนาแนวทางการนําไปใช้ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามหลักสูตร บูรณาการในบริบทสังคมจังหวัดชายแดนภาคใต้
ข้อเสนอแนะและแนวทางต่อระบบการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและต่อระดับอื่นที่มีผลกระทบ ต่อคุณภาพของอาชีวศึกษา
ผลลัพธ์ที่ได้รับ
องค์ความรู้ทางด้านการศึกษาและการพัฒนามนุษย์ของประเทศในอาเซียน ความร่วมมือด้านการศึกษา ระหว่างไทยกับประเทศอาเซียน และแนวทางการจัดการศึกษาของประเทศไทย เพื่อรองรับการเข้าร่วม ประชาคมอาเซียน
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
รายงานการวิจัย 5 เรื่อง
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
แนวทางการพัฒนาการศึกษาด้านสถาปัตยกรรมของไทยให้ทัดเทียมในระดับสากล เพื่อส่งผล ต่อเนื่องต่อการประกอบวิชาชีพของคนไทยในอนาคตที่สามารถไปทํางานในระดับนานาชาติ ต่อไป
การปรับปรุงการพัฒนาหลักสูตรประวัติศาสตร์เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดี และเป็นตัวกลางใน การนําเสนอข้อมูลจากฝ่ายกัมพูชาให้กับกระทรวงศึกษาธิการของไทยทราบ การนําข้อมูลที่ได้ไปปรับรูปแบบและแนวทางเพื่อสําหรับพัฒนาทักษะทางวัฒนธรรมให้กับ นักศึกษาพยาบาล ตั้งแต่การเรียนการสอนตามหลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสูตร และอาจารย์ ผู้สอน รวมถึงการสร้างเครือข่ายทางด้านวิชาการระหว่างสถานบันการศึกษาไทยและประเทศ มาเลเซียกับประเทศฟิลิปปินส์ และการนําเสนอข้อมูลต่อหน่วยงานด้านการศึกษาของหลักสูตร สําหรับการเรียนการสอนวิชาชีพพยาบาล เพื่อนําเสนอแนวทางในการพัฒนาทักษะทางด้าน วัฒนธรรมนําไปประยุกต์ร่วมกับความรู้ทางวิชาชีพ ชุดความรู้ด้านการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ที่เกี่ยวข้องกับ ครูผู้สอน สาขาวิชาการสอนอิสลามศึกษา คณะวิทยาการอิสลาม และการนําองค์ความรู้ไปใช้ใน การปรับปรุงหลักสูตรสําหรับการผลิตครูอิสลามศึกษาในศตวรรษที่ 21 รวมถึงการเปิดรายวิชา ในการพัฒนานักศึกษาวิชาชีพครู รวมถึงครูพี่เลี้ยงที่เป็นเครือข่ายโรงเรียนของคณะวิทยาการ อิสลามให้สอดรับการการเปลี่ยนแปลงของการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ต่อไป ชุดความรู้ด้านระบบการจัดการศึกษาด้านการอาชีวศึกษาจากอดีตจนถึงปัจจุบันเพื่อวิเคราะห์ โครงสร้างและผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงระบบการจัดการด้านอาชีวศึกษา
3.6 ผลงานเด่นและความคุ้มค่า
โครงการวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนภายใต้แผนงานวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนา ประเทศ ด้านประชาคมอาเซียน ประจําปีงบประมาณ 2561 ได้ถูกนําเผยแพร่องค์ความรู้สู่สาธารณชนใน รูปแบบที่หลากหลาย โดยมีรายละเอียดดังนี้
3.6.1 งานวิจัยภายใต้กรอบการวิจัยที่ 1 ด้านเศรษฐกิจ
1) โครงการ “แนวปฏิบัติทางด้านกฎหมายการนําเข้าสินค้าของประเทศคู่ค้าและการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ฮาลาลของไทยเพื่อการส่งออกในกลุ่มประเทศอาเซียน: กรณีศึกษาการส่งออกผลิตภัณฑ์ เครื่องแกงสาเร็จรูปไปประเทศบรูไนดารุสซาลาม” โดย ผศ.ดร อัสมัน แตอาลี หัวหน้าโครงการ จาก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ได้ดําเนินการจัดอบรมเพื่อถ่ายทอดการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องแกงให้แก่ผู้ประกอบการเพื่อการ ส่งออกไปประเทศบรูไนฯ หัวข้อ การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องแกงสําเร็จรูปเพื่อการส่งออกไปประเทศบรูไนฯ วันที่ 3 ตุลาคม 2562 สถานที่ ห้องบรรยาย Active learning ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารฮาลาล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ผู้เข้ารับการอบรมจํานวน 7 คน ตัวแทนจากวิสาหกิจ ชุมชน 4 รายที่ผ่านมาตรฐานฮาลาลและอย.แล้ว ประกอบด้วย กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเครื่องแกงบ้านตีนและ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสมใจนึก จ.สงขลา 4 คน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเครื่องแกง Hantana จ.ยะลา 1 คน และ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนครูสุดใจ จ.นราธิวาส 2 คน
3.6.2 งานวิจัยภายใต้กรอบการวิจัยที่ 2 ด้านกฎหมาย
1) โครงการ “มาตรการทางกฎหมายเพื่อสนับสนุนการคุ้มครองผืนป่าข้ามพรมแดนของประเทศ ไทยและประเทศในกลุ่มอาเซียน” โดย ผศ.ดร.ภัทราวรรณ รัตนเกษตร จากมหาวิทยาลัยพะเยา
ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร (TCI กลุ่ม 1) (อยู่ในระหว่างการ พิจารณาบทความจากผู้ทรงคุณวุฒิ)
2) โครงการ “การศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายตลาดทุนอิสลามในประเทศไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์และสหราชอาณาจักร” โดย ศ.ดร.ซาการียา หะมะ หัวหน้าโครงการ จาก มหาวิทยาลัยฟาฎอนี
ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารอัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี (อยู่ระหว่างการตีพิมพ์)
ซาการียา หะมะ ซอบีเราะห์ การียอ และนูรีซัน หะมะ. (2563). การศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายตลาดทุน อิสลามในประเทศไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และสหราชอาณาจักร. วารสารอัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ปีที่ 10 ฉบับที่ 19 (ฉ.1 มกราคม-มิถุนายน) 2563 (อยู่ระหว่างการตีพิมพ์)
3) โครงการ “การวิเคราะห์ผลกระทบทางกฎหมายเพื่อขจัดอุปสรรคในการประกอบธุรกิจ: กรณีศึกษาเปรียบเทียบประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ และ ไทย” โดย ผศ.ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ หัวหน้า โครงการ จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ได้นําเสนอเบื้องต้นให้แก่ที่ประชุมคณบดีคณะนิติศาสตร์ โดยมี รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อุดมศึกษาและวิจัย รับฟังข้อมูลเบื้องต้น ประชุม ณ กระทรวงอุดมศึกษาและวิจัย วันที่ 5 มีนาคม 2563 เวลา 13.30-16.30 น.
ปรับใช้แนวคิดจากงานวิจัย ในงานวิจัย ว่าด้วย “โครงการติดตามประเมินผลเพื่อทบทวน มาตรฐานของสัญญาให้บริการไฟฟ้ารายย่อยและประชาสัมพันธ์มาตรฐานของสัญญา ให้บริการไฟฟ้ารายใหญ่” สนับสนุนโดยคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน
ใช้ สอนในวิชา กฎหมายการแข่งขันทางการค้า ( 177429) คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ วิชากฎหมายและนโยบายการค้าการลงทุนระหว่างประเทศ (167710) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
3.6.3 งานวิจัยภายใต้กรอบการวิจัยที่ 3 ด้านสังคมวิทยา
1) โครงการ “นโยบายการจัดการความหลากหลายของรัฐบาลมาเลเซีย: กรณีศึกษานโยบายภูมิ บุตรต่อชาวสยาม” โดย รศ.พรชัย ลิขิตธรรมโรจน์ หัวหน้าโครงการ จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ได้มอบรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ให้แก่หอสมุดมหาวิทยาลัยต่างๆ เช่น จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นต้น เพื่อให้นักศึกษาและประชาชนทั่วไปได้เข้าถึงข้อมูล ทราบข้อมูล และได้รับรู้ผลการวิจัยและนําไปปรับใช้ในงานวิชาการต่างๆ กําลังเขียนบทความวิชาการเพื่อนําเสนอในวารสารไทยที่ปรากฏในฐานข้อมูล Scopus
2) โครงการ “การสํารวจสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรต่อผู้สูงวัยเพื่อส่งเสริมพฤฒิพลังและคุณภาพชีวิตของผู้ สูงวัย กรณีศึกษาประเทศญี่ปุ่น มาเลเซีย เมียนมาร์ เวียดนาม และไทย” โดย อ.ดร.ศริยามน ติรพัฒน์ หัวหน้าโครงการ จากมหาวิทยาลัยมหิดล
กําลังส่งบทความลงวารสารวิชาการ ตีพิมพ์ใน International Journal of Environmental Research and Public Health 2 เรื่อง ดังนี้
Age Friendly Environments in ASEAN plus Three: Case Studies from Japan, Malaysia, Myanmar, Vietnam, and Thailand
Active ageing and Age Friendly Environments towards Elderly Population in ASEAN Countries
3) โครงการ “การย้ายถิ่นของมุสลิมไทยไปมาเลเซีย และการบูรณาการทางสังคมกับการแก้ไข ปัญหาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้” โดย รศ.ดร.อารี จําปากลาย หัวหน้าโครงการ จาก มหาวิทยาลัยมหิดล
ตีพิมพ์บทความวิชาการในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ จํานวน 2 เรื่อง ได้แก่
Aree Jampaklay, Katherine Ford and Aphichat Chamratrithirong. ( 2020) . Social Integration among Thai Muslim Migration in Malaysia. The 5th Asian Population Association Conference. (Proceedings).
Katherine Ford, Aree Jampaklay and Aphichat Chamratrithirong. (2020). Mental Health of Thai Muslim Migration in Malaysia. The 5th Asian Population Association Conference. (Proceedings).
4) โครงการ “มาตรการส่งเสริมสุขภาพแรงงานข้ามชาติในเมียนมาทาวน์: โอกาสของประเทศ ไทยในการเป็นศูนย์กลางแรงงานสุขภาพดีแห่งอาเซียน กรณีศึกษาเทศบาลปากคลองท่าเรือและเทศบาล ปากคลองจังหวัดระนอง” โดย นพ.จิโรจ สินธวานนท์ หัวหน้าโครงการ จากสํานักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข
การเข้าร่วมประชุม Health Sectoral Working Group ภายใต้คณะกรรมการประสานบริการ อาเซียน (Coordinating Committee on Services; CCS) และหยิบยกประเด็นการส่งเสริมสุขภาพแรงงาน ข้ามชาติในประชาคมอาเซียนเพื่อทราบและพิจารณา
3.6.3 งานวิจัยภายใต้กรอบการวิจัยที่ 4 ด้านการศึกษาและการพัฒนามนุษย์ของประเทศในอาเซียน
1) โครงการ “การพัฒนาการศึกษาด้านวิชาชีพสถาปัตยกรรมจากการเปิดเสรีการค้าบริการ ภายใต้ประชาคมอาเซียน” โดย ดร.อัธยานันท์ จิตรโรจนรักษ์ หัวหน้าโครงการ จากมหาวิทยาลัยราชภัฎ พระนคร
เผยแพร่ผลงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาการศึกษาด้านวิชาชีพสถาปัตยกรรมจากการเปิดเสรีการค้า บริการภายใต้ประชาคมอาเซียนในงาน The 4th International Conference on Innovative Education and Technology (ICIET 2019) จัดโดย มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี ( RMUTT) หัวข้อเรื่อง The development of Architectural Education from the ASEAN Framework Agreement on Trade in Services under the ASEAN community
ชื่อผู้แต่ง Attayanan Jitrojanaruk, Pattra Suebsiri, Monton Janjamsai and Buncha Booranasing
สืบค้นข้อมูลได้ที่
- Book of Abstract: http://www.iciet.rmutt.ac.th/download/1225/
- Proceeding: http://www.iciet.rmutt.ac.th/download/1220/
2) โครงการ “การศึกษาเปรียบเทียบความฉลาดทางวัฒนธรรมของนักศึกษาพยาบาลชั้นปี สุดท้ายเพื่อเตรียมความพร้อมสําหรับการประกอบวิชาชีพในกลุ่มประเทศอาเซียน” โดย ดร.กาญจณี พันธุ์ไพโรจน์ หัวหน้าโครงการ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
🗹 วารสารวิชาการ
Phanphairoj, K. , & Piromsombat, C. ( 2019) . The Influence of Cultural Training on Cultural Intelligence: a Systematic Review and Meta-analysis of Diverse Samples. Multicultural Education, 5(1). (SCOPUS)
กาญจนี พันธุ์ไพโรจน์, Ritzmond Loa, Tang Li Yoong & สุทธิศานติ์ ชุ่มวิจารณ์. (2019). มาตร วัดความฉลาดทางวัฒนธรรมของนักศึกษาพยาบาล: การทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของการ วัดระหว่างประเทศมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และไทย. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย (Journal of Research Methodology: JRM), 32(3). (TCI1)
🗹 การประชุมวิชาการ
นําเสนอบทความวิจัยเรื่อง The effect of institution support to cultural intelligence of senior nursing students: comparison among Malaysia, Philippines, and Thailand ใ นการ ประชุม The 6th International Conference on Education (ICEDU 2020), online conference 3-5 April 2020.
3) โครงการ “การสังเคราะห์กลยุทธ์การสอนของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามหลักสูตร บูรณาการในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21” โดย ดร.มู ฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ หัวหน้าโครงการ จากวิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จ.ปัตตานี
ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการในฐานข้อมูล Web of Science/Emerging Sources Citation Index (ESCI)
Assalihee, M., Boonsuk, Y., Bakoh, N., & Sano, I. L. (2019). Reconceptualizing the 21st century English pedagogies for Islamic school teachers in Asean. Journal of Nusantara Studies, 4(1), 401-421. http://dx.doi.org/10.24200/jonus.vol4iss1pp401-421
4) โครงการ “การปรับปรุงประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ไทย-กัมพูชาในหลักสูตรสถานศึกษา” โดย ดร.ณัฐพร ไทยจงรักษ์ หัวหน้าโครงการ จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
นําเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการ “Reform of the Thai-Cambodian relations history in curriculum” the 9 th Academic International Conference on Multi- Disciplinary Studies and Education ( AICMSE 2019- Oxford) is on Monday, 12th August 2019, Oxford, United Kingdom (อยู่ในระหว่างการตีพิมพ์)
3.7 อุปสรรค
จากการดําเนินงานภายใต้กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน ประจําปี 2561 มีจํานวนโครงการวิจัยที่ผ่าน การพิจารณาและขึ้นสัญญาแล้วจํานวน 20 โครงการ มีปัญหาและอุปสรรคดังต่อไปนี้
- ผลของการมีจํานวนโครงการวิจัยที่ผ่านการพิจารณาเป็นจํานวนมาก ทําให้กระบวนการตั้งแต่ การพิจารณาข้อเสนอโครงการ การประชุมคณะกรรมการบอร์ด การติดต่อกับนักวิจัย และ ผู้ทรงคุณวุฒิใช้เวลาเป็นจํานวนหลายวันในการดําเนินงานจัดประชุมเพื่อพิจารณา ทําให้เกิด ความล่าช้าในการขึ้นสัญญาของโครงการ และไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้
- การปรับแก้ตามความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิและคณะกรรมการบอร์ดของนักวิจัยยังไม่มีคุณภาพ เพียงพอ จึงทําให้นักวิจัยต้องใช้เวลาในการปรับแก้หลายรอบ และมีบางโครงการที่จําเป็นต้อง ยุติโครงการ ส่งผลต่อความล้าช้าในการดําเนินการวิจัยให้ตรงตามกรอบเวลาที่กําหนดไว้ และไม่ บรรลุผลการดําเนินการวิจัยในบางกรอบการวิจัย
3.8 ข้อเสนอแนะ
เพื่อเป็นการรองรับข้อเสนอโครงการจํานวนมากที่ผ่านการพิจารณา สกสว.ควรมีการจัดการ กระบวนการพิจารณาในแต่ละขั้นตอนการดําเนินการวิจัยอย่างเป็นระบบและรวดเร็ว เพื่อไม่ให้เกิด ผลกระทบต่อความล่าช้าในการดําเนินการของโครงการวิจัยที่ไม่ตรงตามกรอบเวลาที่วางไว้ นอกจากนี้ ข้อสังเกตจากรายงานความก้าวหน้าของนักวิจัยที่พบว่ามีการคัดลอกผลงานของผู้อื่นโดยไม่ได้มีการอ้างอิง หรือการไม่อ้างอิงเนื้อหา ทางสกสว.ควรตั้งกฎเกณฑ์ในการพิจารณาโครงการวิจัยที่ไม่ปฏิบัติตามกฎดังกล่าว ด้วย เพื่อช่วยให้รายงานการวิจัยมีคุณภาพที่ดี รวมถึงการมีระบบการติดตามนักวิจัย และการมีพี่เลี้ยง สําหรับนักวิจัยที่น่าเป็นห่วง เพื่อให้การดําเนินการวิจัยดําเนินไปอย่างมีคุณภาพจนจบการดําเนินการวิจัย เพื่อที่จะทําให้สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ได้ผลการศึกษาวิจัย ที่สามารถนําไปสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย และสามารถนําองค์ความรู้จากงานวิจัยภายใต้แผนงานนําไปใช้ ประโยชน์ในแต่ละด้านได้อย่างมีคุณภาพ
ภาคผนวก ก. บทคัดย่อของนักวิจัย
กรอบวิจัยที่ 1 การวิจัยทางด้านเศรษฐกิจ
จํานวน 4 โครงการวิจัย
บทคัดย่อ
โครงการวิจัยเรื่อง “การเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการฮัจย์ในประเทศไทย” โดย ผศ.จิราพร เปี้ยสินธุ คณะศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาโครงสร้างและรูปแบบการบริหารจัดการกองทุน
Tabung Haji ประเทศมาเลเซีย 2) เพื่อศึกษาโครงสร้างและรูปแบบการบริหารจัดการฮัจย์ในประเทศไทย 3) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการบริหารจัดการฮัจย์ประเทศไทยกับประเทศมาเลเซียในด้านความพึงพอใจ ของผู้เดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประกอบกิจการฮัจย์และ 4) เพื่อศึกษา และพัฒนากลยุทธ์ในการยกระดับการบริหารจัดการฮัจย์ในประเทศไทย
ผลการศึกษาพบว่า โครงสร้างและการบริหารจัดการกองทุน Tabung Haji ของประเทศมาเลเซีย เป็นการบริหารจัดการในรูปแบบของสถาบันการเงินอิสลามที่ดําเนินกลยุทธ์ด้านกิจการฮัจย์ของประเทศ มาเลเซียโดยมีรัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรีเป็นผู้กํากับดูแล มีบทบาทสําคัญในการสร้างโอกาสในการ ไปประกอบพิธีฮัจย์ให้แก่ประชาชนจึงเปรียบเสมือนองค์กรที่ทําหน้าที่ด้านสาธารณูปโภคพื้นฐาน เนื่องจาก ประเทศมาเลเซียมีมุสลิมเป็นประชากรส่วนใหญ่และการประกอบพิธีฮัจย์เป็นศาสนกิจภาคบังคับผู้ที่เดินทาง ไปประกอบพิธีฮัจย์แล้วส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการให้บริการของกองทุน พบปัญหาและอุปสรรคในด้าน จํานวนโควตาที่ไม่เพียงพอกับจํานวนผู้ประสงค์จะเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ทําให้มีระยะเวลาที่รอคอยนาน ถึง 20 ปี
การบริหารจัดการฮัจย์ในประเทศไทย เป็นการบริหารจัดการในรูปแบบของหน่วยงานราชการ ดูแล กํากับ การให้บริการของบริษัทเอกชน โดยกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ภายใต้พระราชบัญญัติ ส่งเสริมกิจการฮัจย์ มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้กํากับ ดูแล บริหารจัดการโดยแต่งตั้ง คณะกรรมการส่งเสริมกิจการฮัจย์แห่งประเทศไทยซึ่งมีวาระปีต่อปีมาทําหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน และการ ให้บริการด้านการฮัจย์เป็นการให้บริการโดยภาคเอกชน ผู้ที่เดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ได้รับบริการที่มีความ แตกต่างกัน เกิดปัญหาที่ไม่สามารถแก้ไขในภาพรวมได้อีกทั้งปัญหาทางด้านเศรษฐกิจส่งผลให้จํานวนผู้ เดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ของประเทศไทยมีจํานวนน้อยกว่าโควต้าที่ได้รับการจัดสรรมาอย่างต่อเนื่อง
เมื่อทําการเปรียบเทียบรูปแบบการบริหารจัดการฮัจย์ของประเทศไทยกับประเทศมาเลเซียสามารถ นําเสนอผลการเปรียบเทียบเป็น 2 ประเด็น คือ สถานะขององค์กร และการบริหารจัดการประเด็นสถานะ ขององค์กร มีความแตกต่างกันคือ 1) ลักษณะองค์กร 2) ความเป็นอิสระและโปร่งใส่ 3) การขับเคลื่อนและ
การพัฒนา ประเด็นการบริหารจัดการ มีความแตกต่างกันคือ 1) ด้านทรัพยากรบุคคล 2) ด้านงบประมาณ 3) ด้านเครื่องมือ และ4) ด้านการจัดการ
เมื่อนํามาวิเคราะห์พบแนวการพัฒนาศักยภาพการบริการจัดการฮัจย์ไทย 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ ดังนี้ 1.การสร้างความเข็มแข็งในการบริหารจัดการองค์กร 2.การพัฒนาคุณภาพผู้ประกอบการธุรกิจฮัจย์ 3. การยกระดับฮุจยาตไทยและการสร้างการรับรู้สาธารณะ และ 4.การพัฒนาองค์ความรู้เพื่อการจัดการฮัจย์
บทคัดย่อ
โครงการวิจัยเรื่อง “ศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการพัฒนาการท่องเที่ยว ย่านเมืองเก่าในจังหวัดสงขลาและปัตตานี”
โดย อาจารย์พาฝัน นิลสวัสดิ์ ดูฮาเมลน์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
โครงการวิจัยเรื่องศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวย่านเมืองเก่า ของจังหวัดสงขลาและจังหวัดปัตตานี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวพื้นที่ย่านเมืองเก่าในจังหวัดสงขลาและปัตตานี 3 ด้าน คือ ด้านโครงสร้าง ด้านการดําเนินงาน และด้านผลการดําเนินงาน เพื่อนํามาสู่การประเมินศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ของแต่ละจังหวัด และหาแนวทางในการเพิ่มศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ต่อการ พัฒนา การท่องเที่ยวในพื้นที่ย่านเมืองเก่าต่อไป ผลการวิเคราะห์ศักยภาพทั้ง 3 ส่วนนํามาสู่การประเมิน ศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ใน 4 ด้านคือ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ผล การศึกษาประเมินได้ว่าศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จังหวัดสงขลา คือ (1) จุดแข็ง ได้แก่ การกระจายอํานาจให้ท้องถิ่นเลือกตั้งผู้นําองค์กรได้โดยตรงทําให้สามารถกําหนดทิศทางการพัฒนาได้ตาม ความสอดคล้องของพื้นที่และความต้องการของท้องถิ่น โดยวิสัยทัศน์ของผู้นําองค์กรทั้งสองเห็นชอบกับการ วางเป้าหมายของการพัฒนาเมืองเก่าสงขลาไปสู่เมืองมรดกโลก การบังคับใช้เทศบัญญัติเข้ามาควบคุมดูแล รักษาภูมิทัศน์ประวัติศาสตร์ของเมืองเก่าไม่ให้แปรเปลี่ยนไป รวมถึงเทศบัญญัติที่ครอบคลุมและส่งเสริมการ บริหารจัดการท่องเที่ยวในพื้นที่ และการมีองค์กรอิสระช่วยขับเคลื่อนงานพัฒนาเมืองเก่าร่วมกับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) (2) จุดอ่อน ได้แก่ การบริหารจัดการด้านสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว ปัญหาสําคัญคือที่จอดรถ นอกจากนี้ความยินยอมพร้อมใจของประชาชนที่จะให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เข้าไปพัฒนาและปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ทําให้การดําเนินงานขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น (อปท.) ไม่ราบรื่นนัก (3) โอกาส ได้แก่ การสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศด้านเมืองเก่าที่มีการนํา ร่องมาแล้ว นอกจากนี้การมีสถาบันการศึกษาในพื้นที่ที่พร้อมจะเข้าร่วมในการพัฒนาร่วมกับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (อปท.) และ (4) อุปสรรค ได้แก่ งบประมาณและความรู้ความชํานาญของบุคลากรในองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ที่มีไม่เพียงพอ รวมทั้งความร่วมมือและความเข้าใจของประชาชนในพื้นที่มีผลต่อ การดําเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ด้วยเช่นกัน ผลการประเมินศักยภาพขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ของจังหวัดปัตตานี คือ (1) จุดแข็ง ได้แก่ การกระจายอํานาจให้ท้องถิ่นเลือกตั้ง ผู้นําองค์กรได้โดยตรง ทําให้สามารถกําหนดทิศทางการพัฒนาได้ตามความสอดคล้องของพื้นที่และความ ต้องการของท้องถิ่น โดยวิสัยทัศน์ของผู้นําองค์กรทั้งสองเห็นพ้องกันในทิศทาง การพัฒนาการท่องเที่ยวที่เน้น ความเป็นพหุวัฒนธรรมซึ่งสืบทอดต่อกันมาแต่อดีตภายในพื้นที่เมืองเก่า นอกจากนี้ บริเวณย่านเมืองเก่า ปัตตานีมีแหล่งศาสนสถานเป็นที่เคารพศรัทธาในระดับจังหวัดและระดับภาค สามารถนํามาสร้างเป็นจุดขาย
ด้านการท่องเที่ยวควบคู่ไปกับการท่องเที่ยวในเชิงพหุวัฒนธรรมได้ (2) จุดอ่อน ได้แก่ การขาดกฎหมายที่จะ เข้ามาดูแลควบคุมแหล่งประวัติศาสตร์และภูมิทัศน์เมืองประวัติศาสตร์ และการขาดเทศบัญญัติบางฉบับที่ ส่งเสริมการบริหารจัดการท่องเที่ยวภายในพื้นที่เมืองเก่าปัตตานี นอกจากนี้ยังไม่มีองค์กรอิสระที่เข้มแข็งมาช่วย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ขับเคลื่อนการพัฒนาการท่องเที่ยวในย่านเมืองเก่า (3) โอกาส ได้แก่ ขณะนี้ กําลังมีการจัดทําแผนแม่บทในการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าซึ่งจะมาช่วยสนับสนุนการดําเนินงานของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ต่อไปในอนาคต นอกจากนี้ยังมีโอกาสด้านการสร้างความร่วมมือกับเมือง เก่าในจังหวัดใกล้เคียง เช่น เมืองเก่าสงขลา เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างเครือข่ายพร้อมพัฒนาเส้นทาง ท่องเที่ยวเมืองเก่าร่วมกัน และ (4) อุปสรรค ได้แก่ ภาพลักษณ์ของความไม่ปลอดภัยของพื้นที่ และความไม่ เข้าใจกันระหว่างประชาชนกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.)
แนวทางการดําเนินกลยุทธ์เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวในพื้นที่ย่านเมืองเก่าสงขลาและปัตตานีที่ได้จาก การวิเคราะห์ SWOT และ TOWS พบว่า (1) การสร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ของทั้งสองจังหวัดในรูปสหการตามกฎหมายท้องถิ่นว่าด้วยการจัดทําบริการสาธารณะ (2) การนํา งบประมาณกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดนมาช่วยพัฒนาการการท่องเที่ยวในพื้นที่เมืองเก่าของทั้งสองจังหวัด
(3) การส่งเสริมการท่องเที่ยวเดินเท้าภายในเมืองเก่าเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจระดับกลางและระดับย่อยภายในพื้นที่ เมืองเก่า (4) การนํา เอาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้สร้างสรรค์เมืองให้ตอบสนองต่อวิถีชีวิตของคนรุ่นเก่าและคนรุ่นใหม่ และ (5) การผลักดันการบูรณาระหว่างสถาบันการศึกษาทั้งสองพื้นที่เพื่อร่วมพัฒนาย่านเมืองเก่าไปในทิศทาง ที่สอดคล้องกัน
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จังหวัดสงขลาและปัตตานี ต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวย่านเมืองเก่าของจังหวัดสงขลาและจังหวัดปัตตานีมีประเด็นร่วมกัน คือ (1) การ ตั้งคณะกรรมการร่วมที่มีองค์ประกอบจากผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนเข้ามาบริหารจัดการและพัฒนาเมืองเก่าใน ทุกๆ ด้านเพื่อให้มีการทํางานที่เป็นอิสระและมีงบประมาณเฉพาะของตนเองทําให้เกิดความคล่องตัวในการ บริหารงาน (2) การสร้างความความตระหนักรู้และจิตสํานึกของประชาชนในพื้นที่และนอกพื้นที่เมืองเก่า รวมถึง เด็กและคนรุ่นใหม่ให้ร่วมกันรักษามรดกทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของท้องถิ่นให้ยั่งยืนสืบต่อไปและเข้า ร่วมสนับสนุนการท่องเที่ยวในพื้นที่ย่านเมืองเก่า และ (3) การฝึกอบรมบุคลากรขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น (อปท.) และภาคส่วนอื่นๆ ให้มีความรู้ความเข้าใจในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาเมืองเก่า และการ บริหารจัดการด้านการท่องเที่ยวเมืองเก่าเพื่อให้การทํางานในพื้นที่เมืองเก่าเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
ในส่วนของการพัฒนาศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จังหวัดปัตตานีต้องเพิ่มเติม ในเรื่องของการบังคับใช้กฎหมายด้านการอนุรักษ์และเทศบัญญัติเพื่อส่งเสริมการบริหารจัดการการท่องเที่ยว อย่างเร่งด่วน และการสร้างภาพลักษณ์ใหม่ของเมืองปัตตานีจากเมืองที่ไม่มีความปลอดภัยเปลี่ยนมาเป็น เมืองที่เป็นจุดหมายปลายทางด้านการท่องเที่ยวที่ปลอดภัยและดึงดูดใจ
บทคัดย่อ
โครงการวิจัยเรื่อง “แนวปฏิบัติทางด้านกฎหมายการนําเข้าสินค้าของประเทศคู่ค้าและการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ฮาลาลของไทยเพื่อการส่งออกในกลุ่มประเทศอาเซียน : กรณีศึกษาการ ส่งออกผลิตภัณฑ์เครื่องแกงสําเร็จรูปไปประเทศบรูไนดารุสลาม”
โดย ผศ.ดร. อัสมัน แตอาลี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จ.ปัตตานี
งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาและรวบรวมแนวทางการปฏิบัติทางด้านกฎหมาย ข้อมูล กฎระเบียบและกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการค้าขายและด้านการลงทุนของประเทศบรูไนฯ (2) เพื่อ สารวจความต้องการเครื่องแกงสาเร็จรูปของไทยในประเทศบรูไนฯ และเส้นทางการนําเข้าประเทศบรูไนฯ
(3) เพื่อศึกษาแนวทางการส่งออกเครื่องแกงสาเร็จรูปเสนอต่อผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนใน 5 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ภาคเอกชน และภาครัฐ ให้มีโอกาสร่วมลงทุนกับประเทศบรูไนฯ และ (4) เพื่อจัดทา ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในเรื่องการร่วมลงทุนในอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลประเภทเครื่องแกงสาเร็จรูปใน พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทยส่งออกไปขายในตลาดนอกกลุ่มประเทศอาเซียน
ผู้วิจัยใช้รูปแบบการทาวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed method) โดยเน้นวิธีวิจัยเชิงคุณภาพมากกว่า วิธีการเชิงปริมาณ จะประกอบด้วยการวิจัยเอกสาร การสัมภาษณ์แบบเชิงลึก และการใช้แบบสอบถาม โดย การกําหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การกาหนดขนาดตัวอย่าง วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเครื่องมือที่ใช้ใน การเก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นตอนการวิจัย และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัยสามารถสรุปได้ดังนี้
1. กฎระเบียบของการส่งออกและนาเข้า ผู้ประกอบการเครื่องแกงจะต้องมาลงทะเบียนเป็นผู้ปฏิบัติ พิธีการศุลกากร เพื่อนาข้อมูลเข้าเก็บในระบบคอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากร
2. ความต้องการเครื่องแกงไทยของคนบรูไนฯ พบว่าคนบรูไนฯซื้อเครื่องแกงไทยเพื่อไปทาอาหาร เองที่บ้าน ในระดับมากและมากที่สุด
3. ผลการทดสอบความชอบชิมผลิตภัณฑ์เครื่องแกงชนิดต่างๆ พบว่าผลิตภัณฑ์เครื่องแกงต้มยาของ วิสาหกิจชุมชนสมใจนึก, ผลิตภัณฑ์เครื่องแกงกะทิและเครื่องแกงเขียวหวานของวิสาหกิจชุมชนพริกแกงบ้าน ตีน กลุ่มตัวอย่างให้คะแนนความชอบที่ระดับ ชอบปานกลางถึงชอบมาก
4. แนวทางการร่วมลงทุนเครื่องแกงสาเร็จรูประหว่างนักลงทุนประเทศบรูไนฯและวิสาหกิจชุมชนใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 3 วิธี คือ
4.1 Model A: Invest with Bruneian Distributors (การลงทุนกับผู้จัดจําหน่ายในบรูไนฯ)
4.2 Model B: Doing OEM with Bruneian Company (การทํา OEM กับบริษัทในบรูไนฯ)
4.3 Model C: Foreign Direct Investment (การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ)
บทคัดย่อ
โครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาความเป็นไปได้ในการสร้างความร่วมมือในธุรกิจอาหารฮาลาล ระหว่างไทยและมาเลเซีย”
โดย ดร.สุพรรณี เขียวชอุ่ม มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา
มูลค่าทางการตลาดฮาลาลขยายตัวขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากประชากรมุสลิมมีแนวโน้มมากขึ้น ทํา ให้หลายประเทศสนใจที่จะเข้ามามีส่วนแบ่งในตลาดฮาลาลมากขึ้น ทั้งไทยและมาเลเซียต่างศักยภาพสูงใน การแข่งขันในธุรกิจอาหารฮาลาล ประเทศไทยมีจุดแข็งในช่วงต้นของโซ่อุปทาน คือ มีวัตถุดิบอุดมสมบูรณ์ มี กระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐานและได้รับการยอมรับ มีอาหารที่หลากหลายและมีคุณภาพ ส่วนมาเลเซีย มี จุดแข็งในตอนท้ายของโซ่อุปทาน ได้แก่ การกระจายสินค้า และการจัดจําหน่าย แม้ประเทศไทยจะมี ศักยภาพดังกล่าวและพยายามที่จะเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาดของสินค้าอาหารฮาลาล แต่ยังไม่ประสบ ความสําเร็จ ดังนั้น ประเทศไทยอาจต้องการยุทธศาสตร์ใหม่ในการแข่งขันในตลาดอาหารฮาลาล งานวิจัยนี้ จึงต้องการทราบว่าไทยและมาเลเซียมีแนวทางที่จะนําจุดแข็งของกันและกันมาปิดจุดอ่อนได้หรือไม่
วัตถุประสงค์ของงานวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาและประเมินผลความร่วมมือทางธุรกิจอาหารฮาลาล ระหว่างไทยและมาเลเซียที่ได้เกิดขึ้นแล้ว และ 2) เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการสร้างความร่วมมือทาง ธุรกิจอาหารฮาลาลระหว่างไทยและมาเลเซีย ตัวอย่างการวิจัยทั้งสิ้นจํานวน 203 คน แบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่
1) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลชาวไทย จํานวน 57 คน 2) ผู้ประกอบการอาหารฮา ลาลชาวไทย จํานวน 92 คน 3) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลชาวมาเลเซีย จํานวน 24 คน และ 4) ผู้ประกอบการอาหารฮาลาลชาวมาเลเซีย จํานวน 30 คน วิธีการเก็บข้อมูลใช้การศึกษาจาก เอกสาร การสัมภาษณ์ การประชุมกลุ่มย่อย และการสังเกตการณ์ ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์ เนื้อหา (Content analysis)
ผลการวิจัยพบว่า ความร่วมมือในระดับรัฐบาลซึ่งเป็นเชิงนโยบายที่ยังไม่สามารถนําไปปฏิบัติได้ อย่างเป็นรูปธรรม นอกจากนี้ยังพบความร่วมมือระดับเอกชนในหลายรูปแบบ ได้แก่ การจ้างผลิตสินค้าตาม ความต้องการ การขายผ่านผู้กระจายสินค้า การค้าชายแดน การสนับสนุนด้านแหล่งทุน และการลงทุน ระหว่างประเทศ หากประเมินเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตและปัจจุบัน ความร่วมมือในอุตสาหกรรมอาหารฮา ลาลระหว่างไทยละมาเลเซียไม่น่าจะมีโอกาสเป็นไปได้ แต่หากประเมินมิติในอนาคตเกี่ยวกับแนวโน้มการให้ ความสําคัญในการสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก ไทยและมาเลเซียไม่ สามารถหลีกเลี่ยงความร่วมมือในธุรกิจอาหารฮาลาลได้เลย งานวิจัยนี้ได้ใช้ TOWS Matrix ในการนําเสนอ กลยุทธ์ที่เหมาะสมให้กับอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลของไทยทั้งในระดับรัญบาลและเอกชน
กรอบวิจัยที่ 2 การวิจัยทางด้านกฎหมาย
จํานวน 3 โครงการวิจัย
บทคัดย่อ
โครงการวิจัยเรื่อง “มาตรการทางกฎหมายเพื่อสนับสนุนการคุ้มครองผืนป่าข้ามพรมแดน ของประเทศไทยและประเทศในกลุ่มอาเซียน”
โดย ผศ.ดร.ภัทราวรรณ รัตนเกษตร มหาวิทยาลัยพะเยา
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากฎหมายป่าไม้ของประเทศที่เป็นอุปสรรคต่อการอนุรักษ์และ จัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน และศึกษามาตรการทางกฎหมาย หลักการจัดการป่าไม้ การคุ้มครองป่าข้าม พรมแดนของสหภาพยุโรป และกฎหมายป่าไม้ของประเทศเยอรมัน เพื่อนํามาพัฒนากฎหมายและสร้างแนว ปฏิบัติที่เหมาะสมสําหรับการจัดการป่าไม้ของประเทศไทยและการคุ้มครองผืนป่าข้ามพรมแดนระหว่าง ประเทศไทย ประเทศเมียนมา และ สปป.ลาว
งานวิจัยนี้เสนอแนะนโยบายและมาตรการทางกฎหมายที่สามารถสนับสนุนการคุ้มครองผืนป่าข้าม พรมแดนระหว่างประเทศไทย เมียนมา และสปป.ลาว ดังนี้
ประการแรก กําหนดเป้าหมายเชิงนโยบายในการคุ้มครองป่าข้ามพรมแดนของทั้งสามประเทศให้อยู่ ในกรอบเดียวกันที่เน้นการอนุรักษ์ป่าข้ามพรมแดนควบคู่ไปกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยให้แผนพัฒนา ท้องถิ่นของแต่ละประเทศต้องสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การจัดการป่าอย่างยั่งยืนและการใช้ทรัพยากรอย่างมี ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังต้องลดปัญหาความขัดแย้งระหว่างชุมชนท้องถิ่นกับหน่วยงานของรัฐภายใต้ นโยบายการพัฒนาชนบท ในขณะเดียวกันต้องขจัดปัญหาความยากจนโดยการร่วมกันพัฒนาความ เจริญเติบโตของชนบทและการสร้างงานในชนบทด้วยนโยบายการเกษตรร่วมส่งเสริมการสร้างผลิตภัณฑ์จาก ไม้ที่ถูกกฎหมายและผลิตภัณฑ์จากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ ให้เป็น “ผลิตภัณฑ์ของอาเซียน” จากผืนป่าที่มีการ จัดการอย่างยั่งยืนซึ่งได้รับการรับรองมาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์
ประการที่สอง พัฒนากฎหมายป่าไม้ของแต่ละประเทศ ใน 3 ด้านต่อไปนี้ 1) สนับสนุนการอนุรักษ์ ป่า 2) เพิ่มพื้นที่ป่าและฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรม 3) ส่งเสริมการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้ผลิตภัณฑ์จากไม้ที่ถูก กฎหมายและผลิตภัณฑ์จากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ ภายใต้มาตรฐานเดียวกัน โดยการบังคับใช้กฎหมายและใช้กลไก ตลาดเป็นเครื่องมือผลักดันให้เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์
ประการที่สาม ส่งเสริมให้มีการสร้างเครือข่ายระหว่างประเทศหรือระดับภูมิภาค ที่สามารถช่วย สร้างความตระหนักในความสําคัญของผืนป่าข้ามพรมแดนและความจําเป็นที่ต้องอนุรักษ์ผืนป่าข้ามพรมแดน ให้กับชุมชนท้องถิ่น เครือข่ายยังสามารถช่วยในการแก้ปัญหาในพื้นที่ เช่น ปัญหาไฟป่า และหมอกควันข้าม แดน โดยการช่วยเหลือสามารถให้ในรูปแบบของการเผยแพร่ข้อมูล หรือสนับสนุนเทคโนโลยีและอุปกรณ์ใน การดําเนินการ
บทคัดย่อ
โครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายตลาดทุนอิสลามในประเทศไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์และสหราชอาณาจักร”
โดย ศ.ดร.ซาการียา หะมะ มหาวิทยาลัยฟาฎอนี
สินทรัพย์ทางการเงินอิสลามมีมูลค่า 2.2 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐในปี พ.ศ. 2559 ซึ่งขยายตัว
ประมาณ 7% จากปี พ.ศ.2558 และคาดว่าในปี พ.ศ. 2565 สินทรัพย์ทางการเงินอิสลามจะเพิ่มขึ้นเป็น 3.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นขยายตัวอย่างต่อเนื่องทุก ๆ ปี สินทรัพย์ทางการเงินอิสลามที่มีอัตราการ เจริญเติบโตมากที่สุด คือ ตลาดศุกูกและกองทุนอิสลาม ซึ่งตลาดศุกูกมีมูลค่า 344,770 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี พ.ศ. 2559 เพิ่มขึ้น 32.58% จากปี พ.ศ. 2555 ส่วนกองทุนรวมอิสลามมีมูลค่า 91,233 ล้านดอลลาร์ สหรัฐในปี พ.ศ. 2559 ปี เพิ่มขึ้น 101% จากปี พ.ศ. 2555 ประเทศมาเลเซีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สิงคโปร์ และสหราชอาณาจักร ได้ประกาศตัวและตั้งเป้าหมายของประเทศของตนให้กลายเป็นศูนย์กลางการเงิน อิสลาม ซึ่งแต่ละประเทศได้มีการพัฒนาระบบนิเวศของการเงินอิสลามที่แตกต่างกัน สอดคล้องกับบริบทของ แต่ละประเทศเพื่อรองรับการขยายตัวของการเงินอิสลามอย่างมั่นคงและยั่งยืน
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา วิเคราะห์ และเปรียบเทียบกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตลาดทุน อิสลามในประเทศไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และสหราชอาณาจักร เพื่อเสนอแนะ แนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตลาดทุนอิสลามที่สอดคล้องและเหมาะสม กับบริบทของประเทศไทย ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Method) โดยใช้การวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research) เป็นหลักในการศึกษา วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth Interview) เพื่อหาข้อเท็จจริงบางประการประกอบการศึกษาวิเคราะห์ โดยเปรียบเทียบประเด็น การกํากับดูแลตลาดทุนอิสลามและหลักชะรีอะฮฺภิบาล กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการออกศุกูกและกองทุนรวม อิสลาม และแนวปฏิบัติในการคัดกรองหุ้นที่สอดคล้องกับหลักชะรีอะฮฺ งานวิจัยนี้พบว่าตลาดทุนอิสลามของ ประเทศไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และ สหราชอาณาจักร อยู่ภายใต้การกํากับดูแลของ หน่วยงานที่กํากับดูแลตลาดหลักทรัพย์ของแต่ละประเทศ โดยมีรูปแบบการชะรีอะฮภิบาล 2 รูปแบบ คือ ชะ รีอะฮฺภิบาล 2 ระดับ ประกอบด้วยมาเลเซียและสหรัฐอาหรับ เอมิเรตส์ และชะรีอะฮฺภิบาลระดับเดียว ประกอบด้วยประเทศไทย สิงคโปร์ และสหราชอาณาจักร สําหรับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับศุกูก ประเทศไทย มาเลเซีย และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์มีกฎหมายเฉพาะที่เกี่ยวข้องซึ่งมีความคล้ายคลึงกัน ในขณะที่สิงคโปร์ และสหราชอาณาจักรมิได้มีกฎหมายดังกล่าว ส่วนกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกองทุนรวมอิสลามนั้น มาเลเซีย และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์มีกฎหมายเฉพาะที่เกี่ยวข้องซึ่งมีความคล้ายคลึงกัน โดยที่ประเทศไทย สิงคโปร์ และสหราชอาณาจักรมิได้มีกฎหมายดังกล่าว ทั้งนี้ทุกประเทศมีเกณฑ์ในการคัดกรองหุ้นที่สอดคล้องกับหลัก ชะรีอะฮฺ
ซึ่งประเทศไทย สิงคโปร์ และสหราชอาณาจักรใช้เกณฑ์เดียวกัน คือ เกณฑ์ของ FTSE Russel ส่วนสหรัฐ อาหรับเอมิเรตส์ใช้เกณฑ์ของ Accouting and Auditing Orgnization for Islamic Financial Institutions (AAOIFI) และมาเลเซียมีเกณฑ์ที่กําหนดโดยสภาที่ปรึกษาชะรีอะฮฺ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์มาเลเซีย
งานวิจัยนี้เสนอแนะให้ประเทศไทยพัฒนาตลาดทุนอิสลามในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหลักชะรีอะฮฺภิ บาล กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกองทุนรวมอิสลาม เกณฑ์การคัดกรองหุ้นที่สอดคล้องกับหลักชะรีอะฮฺ และการ บริหารความเสี่ยงด้านชะรีอะฮฺ เพื่อความเชื่อมั่นของนักลงทุนและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายและเป็นที่ยอมรับของ นานาชาติซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาตลาดทุนอิสลามของประเทศไทยอย่างมั่นคงและยั่งยืน
บทคัดย่อ
โครงการวิจัยเรื่อง “การวิเคราะห์ผลกระทบทางกฎหมายเพื่อขจัดอุปสรรคในการประกอบ ธุรกิจ: กรณีศึกษาเปรียบเทียบประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ และ ไทย”
โดย ผศ.ดร.พรชัย วิสุทธศักดิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จากแนวคิดใหม่ในการพัฒนากฎหมายของประเทศไทย โดยใช้การวิเคราะห์ผลกระทบจากกฎหมาย Regulatory Impact Analysis (RIA) มาเป็นเครื่องมือในการพิจารณากฎหมายปัจจุบันที่ไม่เหมาะสม หรือ การตรากฎหมายใหม่ที่อาจมีผลกระทบต่อการเมือง เศรษฐกิจและสังคมซึ่งการนําการวิเคราะห์ผลกระทบ จากกฎหมายมาใช้ในการพัฒนากฎหมายถือเป็นเรื่องค่อนข้างใหม่มากจึงมีความจําเป็นที่จะต้องมีการศึกษา ถึงลักษณะการปรับใช้การวิเคราะห์ผลกระทบจากกฎหมายเพื่อกรอบงานวิจัยชัดเจนมากขึ้นและเป็นไปได้ใน กรอบระยะเวลา งานวิจัยนี้จึงมุ่งไปที่การศึกษาเชิงการปรับใช้การวิเคราะห์ผลกระทบจากกฎหมายที่นาไปสู่ การขจัดอุปสรรคในการดําเนินธุรกิจในประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ และประเทศไทย
งานวิจัยเริ่มจากการรวบรวมข้อมูลทางเอกสารเกี่ยวกับการวิเคราะห์ผลกระทบจากกฎหมายอัน นําไปสู่การขจัดอุปสรรคในการดาเนินธุรกิจมาเลเซีย สิงคโปร์ และประเทศไทย งานวิจัยจะนําข้อมูลจาก การศึกษาเอกสารมาเปรียบเทียบอันนําไปสู่ข้อมูลชั้นต้น เพื่อทําการศึกษาในรูปแบบการสัมภาษณ์เชิงลึกจาก ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการวิเคราะห์ผลกระทบจากกฎหมาย กับการขจัดอุปสรรคในการดําเนินธุรกิจ ในประเทศ มาเลเซีย สิงคโปร์ และประเทศไทย งานวิจัยนําข้อมูลจากเอกสารและการสัมภาษณ์ถึงแนวปฏิบัติทางการ ปรับใช้การวิเคราะห์ผลกระทบจากกฎหมายเพื่อการขจัดอุปสรรคในการดําเนินธุรกิจ ในประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ และประเทศไทยในส่วนท้ายของงานวิจัยชิ้นนี้จะจัดทําข้อเสนอแนะในการยกระดับการปรับใช้การ วิเคราะห์ผลกระทบจากกฎหมายกับการขจัดอุปสรรคในการดําเนินธุรกิจในประเทศไทยด้วย
เมื่อพิจารณาการศึกษาเอกสารและจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญโดยเปรียบเทียบทั้งสามประเทศ แล้วพบว่า ประเทศไทยมีปัญหาในการนาการวิเคราะห์ผลกระทบทางกฎหมายไปปฏิบัติ ประเทศไทยยังขาด การคัดกรองกฎหมายใหม่เพื่อมิให้มีกฎหมายเกินความจําเป็น สร้างให้เกิดอุปสรรค ต่อการพัฒนาสังคมการเมืองและเศรษฐกิจโดยเฉพาะอุปสรรคต่อการดําเนินธุรกิจ ประเทศไทยยังขาดความ ชัดเจนในการขับเคลื่อนการปรับใช้การวิเคราะห์ผลกระทบจากกฎหมายเพื่อการลดอุปสรรคการดําเนินธุรกิจ
กรอบวิจัยที่ 3 การวิจัยทางด้านสังคมวิทยา
จํานวน 5 โครงการวิจัย
บทคัดย่อ
โครงการวิจัยเรื่อง “นโยบายการจัดการความหลากหลายของรัฐบาลมาเลเซีย : กรณีศึกษา นโยบายภูมิบุตรต่อชาวสยาม”
โดย รศ.พรชัย ลิขิตธรรมโรจน์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษานโยบายภูมิบุตรของมาเลเซียและแนวทางการบริหารจัดการ นโยบายภูมิบุตรที่มีต่อชาวสยามในมาเลเซีย ศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นของชาวสยามในมาเลเซียที่มี ต่อนโยบายภูมิบุตรตามปัจจัยส่วนบุคคล และศึกษาการมีส่วนแบ่งทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของ ชาวสยามภายใต้นโยบายภูมิบุตร เป็นการวิจัยแบบผสม (Mixed Research) ทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิง ปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลักได้แก่ ผู้นําชุมชน ผู้นําทางศาสนา และประชาชนชาวสยามที่มี ความรู้เกี่ยวกับนโยบายภูมิบุตรในรัฐเคดาห์และรัฐกลันตันแห่งละ 9 คน รวมจํานวน 18 คน ส่วนการวิจัย เชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ชาวสยามในรัฐเคดาห์และรัฐกลันตันแห่งละ 400 คน รวม 800 คน เครื่องมือในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถาม การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการ สัมภาษณ์แบบเจาะลึกกับกลุ่มเป้าหมาย และแจกแบบสอบถาม ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การวิเคราะห์ ข้อมูลด้วยการพรรณนา และใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t และการ ทดสอบค่า F ผลการศึกษาพบว่า
1. สิทธิของชาวสยามตามนโยบายภูมิบุตรด้านเศรษฐกิจเช่น การซื้อหุ้นกองทุน การค้าขาย การ ประมูลงานก่อสร้างของรัฐบาล การซื้อขายที่ดิน การซื้อที่อยู่อาศัย และเกษตรกรรม ด้านสังคมได้แก่ การศึกษาและทุนการศึกษา การรักษาพยาบาล ศาสนา การรับราชการ ด้านการเมืองได้แก่ การเป็น วุฒิสมาชิก สมาชิกพรรคการเมือง ผู้ใหญ่บ้าน แต่ชาวสยามก็ยังไม่ได้รับสิทธิหรือมีโอกาสเท่าเทียมกับชาว มลายูในด้านการประมูลงานก่อสร้างของรัฐบาล การซื้อที่อยู่อาศัย การรับราชการ และการเป็นสมาชิกสภา ท้องถิ่น แนวทางการบริหารจัดการคือ ควรให้สิทธิแก่ชาวสยามเท่าเทียมกันกับชาวมลายูแบบค่อยเป็นค่อย ไป
2. ปัจจัยด้านเพศ อายุ ศาสนา การมีญาติพี่น้องอาศัยในประเทศไทย สถานภาพ ระดับการศึกษา
สูงสุด การประกอบอาชีพ รายได้รวมที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อนโยบายภูมิบุตรแตกต่างกัน
3. ความคิดเห็นต่อการมีส่วนแบ่งทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของชาวสยามภายใต้ นโยบายภูมิบุตร โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยสามารถจําแนกรายด้านเรียงจากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ ด้านสังคม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.37 ด้านการเมือง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.11 และด้านเศรษฐกิจ มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.04 เห็นด้วยอยู่ในระดับปานกลาง
บทคัดย่อ
โครงการวิจัยเรื่อง “การสํารวจสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรต่อผู้สูงวัยเพื่อส่งเสริมพฤฒิพลังและ คุณภาพชีวิตของผู้สูงวัย กรณีศึกษาประเทศญี่ปุ่น มาเลเซีย เมียนมาร์ เวียดนาม และไทย” โดย อ.ดร.ศริยามน ติรพัฒน์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสํารวจสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรต่อผู้สูงวัยและเพื่อหาความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรและพฤฒิพลังและคุณภาพชีวิตของผู้สูงวัยในเขตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มาเลเซีย เมียนมา เวียดนาม และไทย การวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณแบบภาคตัดขวาง โดยผู้วิจัยทําการ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ Multi-stage cluster sampling เป็นผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 55 ปีขึ้นไป จํานวน กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 2,171 คน ประกอบด้วยผู้สูงอายุไทย 510 คน ผู้สุงอายุมาเลเซีย 537 คน ผู้สูงอายุพม่า 487 คน ผู้สูงอายุเวียดนาม 497 คน และผู้สุงอายุญี่ปุ่น 140 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้การสัมภาษณ์ด้วย แบบสอบถามเชิงปริมาณ โดยประกอบด้วย แบบวัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรต่อผู้สูงวัยตามมาตราฐานองค์การ อนามัยโลกเป็นแบบวัด 20 ข้อคําถาม แบบวัดพฤฒพลัง 36 ข้อคําถาม และแบบวัดคุณภาพชีวิต 24 ข้อ คําถาม ตัวแปรที่นํามาวิเคราะห์ คือ ข้อมูลประชากร สิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทร (Age-friendly environments) พฤฒิพลัง (Active aging) และคุณภาพชีวิต (Quality of life) โดยการวิเคราะห์ข้อมูลจะใช้โปรแกรม SPSS ในการวิเคราะห์ด้วย Multiple logistic regression นอกจากนั้นจะทําการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ระหว่างตัวแปรต้น(Age-friendly environments) ตัวแปรผลลัพธ์ (Quality of life) และ ตัวแปรคั่นกลาง (Active aging) โดยการวิเคราะห์เส้นทาง( Path analysis) โดยใช้โปรแกรม MPLUS
งานวิจัยในครั้งนี้ได้หลักฐานสําคัญในการตอบโจทย์ว่าสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรหรือเป็นมิตรต่อผู้สูงวัย
สามารถเพิ่มพฤฒพลังของผู้สูงวัยในอาเซียนได้อย่างประจักษ์ ซึ่งผลของการศึกษาชี้ให้เห็นว่า ผู้สูงอายุที่อาศัย ในชุมชนที่เป็นมิตรหรือเอื้ออาทรต่อผู้สูงวัยสูงจะมีพฤฒพลังสูงกว่าผู้สูงอายุที่อาศัยในชุมชนที่เป็นมิตรหรือ เอื้ออาทรต่อผู้สูงวัยต่ํา โดยจะมีพฤฒพลังสูงกว่าประมาณ 3.30 เท่า ในผู้สูงอายุไทย 5.90 เท่า ในผู้สูงอายุ มาเลเซีย 5.71 เท่า ในผู้สูงอายุเวียดนาม และ 6.27 เท่า ในผู้สูงอายุพม่า
นอกจากพฤฒพลัง งานวิจัยนี้ยังสนับสนุนบทบาทเชิงบวกของสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรต่อคุณภาพ ชีวิตของผู้สูงวัย โดยพบว่า ผู้สูงอายุที่อาศัยในชุมชนที่เป็นมิตรหรือเอื้ออาทรต่อผู้สูงวัยสูงจะมีคุณภาพชีวิตสูง กว่าผู้สูงอายุที่อาศัยในชุมชนที่เป็นมิตรหรือเอื้ออาทรต่อผู้สูงวัยต่ํา โดยจะมีคุณภาพชีวิตสูงกว่าประมาณ
3.42 เท่า สําหรับผู้สูงอายุไทย คุณภาพชีวิตสูงกว่าประมาณ 2.1 เท่าสําหรับผู้สูงอายุมาเลเซีย คุณภาพชีวิต สูงกว่าประมาณ 1.99 เท่าสําหรับผู้สูงอายุเวียดนาม และคุณภาพชีวิตสูงกว่าประมาณ 3.04 เท่าสําหรับ ผู้สูงอายุพม่า
การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยชิ้นแรกที่ สามารถแสดงกลไกการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของ สิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อพฤฒลังและคุณภาพชีวิตของผู้สูงวัยในอาเซียน การศึกษาพบว่าการอาศัยในสิ่งแวดล้อม ที่เอื้ออาทรมีผลโดยตรงต่อผู้สูงอายุโดยจะทําให้ผู้สูงอายุมีพฤฒพลังที่สูงขึ้น (Direct effect=0.69) และ พฤฒพลังที่สูงขึ้นนั้นจะทําให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่สูงขึ้น (โดยสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรจะมีผลทั้งทางตรงต่อ คุณภาพชีวิต และทางอ้อมต่อคุณภาพชีวิตโดยผ่านพฤฒพลัง Total effect=0.41) ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ ว่า สิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรมีผลทางตรงต่อพฤฒพลัง และสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรมีผลทั้งทางตรงและทางอ้อม ต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในอาเซียน ผลที่ได้จากงานวิจัยนี้สามารถนําไปต่อยอดเพื่อการพัฒนา สิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรต่อผู้สูงอายุของแต่ละประเทศและขยายวงกว้างเพื่อการพัฒนาในระดับภูมิภาค ประชาคมอาเซียนต่อไป
บทคัดย่อ
โครงการวิจัยเรื่อง “การย้ายถิ่นของมุสลิมไทยไปมาเลเซีย และการบูรณาการทางสังคมกับ การแก้ไขปัญหาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้”
โดย รศ.ดร.อารี จําปากลาย มหาวิทยาลัยมหิดล
งานวิจัยนี้ศึกษาการไปทํางานในประเทศมาเลเซีย และศึกษาว่าคนมาเลเซียมีทัศนคติต่อผู้ย้ายถิ่น ชาวไทยมุสลิมที่ไปทํางานอย่างไร รวมทั้งทําความเข้าใจลักษณะและระดับการบูรณาการทางสังคมใน มาเลเซียของชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดภาคใต้ ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยสัมภาษณ์ผู้ ย้ายถิ่นชาวไทยมุสลิมที่ทํางานอยู่ในประเทศมาเลเซียด้วยแบบสัมภาษณ์เชิงโครงสร้าง จํานวน 103 คน สัมภาษณ์ระดับลึก คือ นายจ้างชาวมาเลเซีย จํานวน 15 คน ผู้ย้ายถิ่นที่ทํางานในมาเลเซีย จํานวน 11 คน และผู้เชี่ยวชาญจํานวน 3 คน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าชาวไทยมุสลิมจากสามจังหวัดภาคใต้ส่วนใหญ่เคย ไปทํางานในประเทศมาเลเซีย ด้วยเหตุผลเรื่องค่าจ้างที่สูงกว่าและมีความต้องการแรงงานมากกว่าในประเทศ ไทย งานที่ทําส่วนใหญ่คืองานในร้านอาหารไทย ซึ่งเป็นงานที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพพอสมควร แม้ว่าใน ข้อเท็จจริงนั้นผู้ย้ายถิ่นมีรายได้ไม่สูงมากแต่เกือบทุกคนมีการส่งเงินกลับบ้าน ส่วนใหญ่ทํางานโดยไม่มี ใบอนุญาตทํางาน และไม่มีประกันสุขภาพ แม้ว่าผู้ย้ายถิ่นมีการปรับตัวเข้ากับชีวิตในสังคมมาเลเ ซียได้ดี เนื่องจากความใกล้ชิดของวัฒนธรรม ศาสนาและภาษา มีความสุขและความพึงพอใจในชีวิตในระดับสูง แต่ ข้อมูลหลายอย่างชี้ว่ายังห่างไกลจากคําว่าบูรณาการทางสังคม และมีเพียงส่วนน้อยที่ต้องการอยู่ในประเทศ มาเลเซียอย่างถาวร การจัดทํานโยบายสําหรับผู้ย้ายถิ่นในมาเลเซียจึงควรตั้งอยู่บนฐานว่าการย้ายถิ่นใน เส้นทางนี้เป็นการย้ายถิ่นแบบพัฒนาที่ควรสนับสนุนทั้งในถิ่นต้นทางและปลายทางเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
บทคัดย่อ
โครงการวิจัยเรื่อง “การเลี้ยงนกเขาชวากับการส่งเสริมความสัมพันธ์ในเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมระหว่างประชาชนจังหวัดชายแดนภาคใต้กับกลุ่มประชาคมอาเซียน”
โดย คุณคอลัฟ ต่วนบูละ นักวิจัยอิสระ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ข้อคือ 1) ศึกษาการเลี้ยงนกเขาชวาและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องของ ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ 2) ศึกษาผลสืบเนื่องจากการเลี้ยงนกเขาชวาและกิจกรรมที่ เกี่ยวข้อง ต่อการส่งเสริมความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ระหว่างประชาชนในพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้กับกลุ่มประชาคมอาเซียน โดยผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ เป็นแนวทางการศึกษา
ผลการวิจัยพบว่า เหตุผลของความนิยมเลี้ยงนกเขาชวามิได้เกิดจากความชอบในรูปร่างหรือลักษณะ ของตัวนกเขาชวา แต่เป็นเสียงร้องอันไพเราะของนกเขาชวาที่สามารถดึงดูดความสนใจให้เกิดความชอบ จนอยากจะได้เอามาเลี้ยง แม้ว่าการเลี้ยงนกเขาชวาจะเริ่มจากการละเล่นเพื่อความสุขของผู้เลี้ยงก็ตาม แต่ เมื่อการเลี้ยงนกเขาชวาได้รับความนิยมมากขึ้นก็ทําให้เกิดการพัฒนารูปแบบการเลี้ยงมาอย่างต่อเนื่อง จน กลายเป็นภูมิปัญญาที่ถูกสั่งสมมาเป็นเวลานานและได้ถูกพัฒนาจากสมาชิกผู้นิยมชอบในการเลี้ยงรุ่นใหม่ๆ อย่างไม่หยุดนิ่ง และได้ขยับขยายเติบโตมาพร้อมวิถีชีวิตของคนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ แม้จะอยู่ใน ท่ามกลางสถานการณ์ความไม่สงบที่เกิดขึ้นในพื้นที่กว่า 14 ปีแล้วก็ตาม ความนิยมต่อการเลี้ยงนกเขาชวาก็ เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีการพัฒนารูปแบบวิธีการเลี้ยงรวมถึงกิจกรรมที่เกี่ยวข้องที่สามารถส่งผลต่อ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมระหว่างประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้กับกลุ่ม ประชาคมอาเซียนในฐานะเป็นประเทศที่มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมคล้ายกันและใช้ประโยชน์จากวัฒนธรรม การเลี้ยงนกเขาชวาร่วมกันด้วย
ความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจของการเลี้ยงนกเขาชวาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้กับกลุ่ม ประเทศอาเซียน พบว่า การเลี้ยงนกเขาชวาของประชาชนส่วนใหญ่เลี้ยงเพื่อเป็นอาชีพเสริมที่สามารถสร้าง มูลค่าและรายได้ต่อผู้เลี้ยงเป็นอย่างดี เนื่องจากพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ถือได้ว่าเป็นฐานผลิตที่มีคุณภาพ ทั้งในเรื่องของคุณภาพน้ําเสียงนกเขาชวาและองค์ประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวกับนกเขาชวา เช่น กรงนก หัวกรง อาหารและยารักษาโรค ซึ่งถือเป็นตลาดสําหรับการรองรับลูกค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศ เมื่อมองถึง ความต้องการของตลาดในกลุ่มประชาคมอาเซียน พบว่า ประเทศอินโดนีเซียมีความต้องการนกเขาชวาที่ผลิต ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ค่อนข้างสูง เนื่องจากการตื่นตัวของประชาชนอินโดนีเซียในความนิยมเลี้ยง นกเขาชวาจํานวนมาก ในขณะที่องค์ประกอบอื่นๆ เกี่ยวกับนกเขาชวา เช่น กรงนกเขา อาหารนก เป็นต้น ไม่ได้เป็นที่ต้องการของกลุ่มคนเลี้ยงในประเทศอินโดนีเซีย เนื่องในประเทศอินโดนีเซีย มีฐานการผลิตมาก พอสมควร ส่วนประเทศสิงคโปร์และมาเลเซียก็ยังคงเป็นตลาดที่สําคัญไม่น้อย เนื่องจากนกเขาชวาและ
องค์ประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวกับนกเขา ที่ผลิตในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ยังคงเป็นที่ต้องการของทั้งสอง ประเทศนี้
ความสัมพันธ์ทางด้านสังคมและวัฒนธรรมของการเลี้ยงนกเขาชวาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ กับกลุ่มประเทศอาเซียน พบว่า แม้การเลี้ยงนกเขาจะเป็นวัฒนธรรมเล็กๆ แต่ก็เป็นวัฒนธรรมที่ทรงพลัง ใน สังคม เพราะกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดจากเสียงของนกเขาชวาส่งผลให้คนเลี้ยงรู้จักการใช้ชีวิตการอยู่ร่วมกันใน สังคม เช่น การไปมาหาสู่กัน ความซื่อสัตย์และความไว้วางใจกันในกิจกรรมของการปาเวาะห์ เป็นต้น ซึ่งถือ เป็นส่วนหนึ่งของทักษะชีวิตในการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข และที่สําคัญเสียงของนกเขาชวาก็ได้ส่งผล ต่อการสร้างพื้นที่ทางสังคมให้กับประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ชาย ได้ใช้เป็น พื้นที่ในการพบปะ พูดคุย แลกเปลี่ยน ภายใต้สังคมที่อาจจะมีความหวาดระแวงอยู่จากสถานการณ์ความไม่ สงบที่ขึ้น แต่พวกเขาก็ได้ใช้พื้นที่ทางสังคมนี้สร้างความเป็นกลุ่มคนที่ชื่นชมกับเสียงนกเขาชวาซึ่งพวกเขาได้ เรียกกลุ่มของตนว่า “ชวาวงศ์” ที่มีสมาชิกมาจากหลากหลายอาชีพ และชาติพันธุ์ มีทั้งคนไทยพุทธ ไทย มุสลิม และคนจีน ร่วมกันตั้งเป็นชมรม สมาคมในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และประเทศ เพื่อร่วมกันธํารงรักษา ไว้ซึ่งวัฒนธรรมการเลี้ยงนกเขาชวาให้คงอยู่ในสังคมและพัฒนาต่อยอดให้มีคุณค่าต่อสังคมโดยรวมอย่างใน ปัจจุบัน
ด้วยพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นศูนย์กลางของแหล่งผลิตนกเขาชวาที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทยทําให้ผู้ นิยมเลี้ยงนกเขาชวานอกจังหวัดชายแดนภาคใต้และต่างประเทศหลั่งไหลเข้ามาเกิดการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง กันและมีผลต่อความสัมพันธ์ของประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้กับสังคมภายนอก เราจะพบว่า ลักษณะการปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้กับสังคมภายนอกผ่านกิจกรรมการเลี้ยง นกเขาชวานั้น มีทั้งลักษณะของการเข้ามาติดต่อซื้อขายนกเขาชวาในพื้นที่ การเข้ามาร่วมลงทุนเพาะพันธุ์ นกเขาชวา การเข้ามาร่วมกิจกรรมการแข่งขันนกเขาชวาในระดับภูมิภาคและระดับประเทศที่ และการ ติดต่อสื่อสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งการปฏิสัมพันธ์ดังกล่าวส่งผลทําให้เกิดความสัมพันธ์ในรูปแบบของ การช่วยเหลือเพื่อนสมาชิก การพึ่งพาเอื้อประโยชน์ต่อกัน การอํานวยความสะดวกแก่สมาชิกในด้านต่างๆ การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมอื่นๆ ที่นอกเหนือจากการเลี้ยงนกเขาชวาของกันและกัน ตลอดจนการสร้างความ ร่วมมือในด้านต่างๆ ในการพัฒนาการเลี้ยงนกเขาชวา ที่สะท้อนให้เห็นว่าความสัมพันธ์ของผู้คนภายใต้ วัฒนธรรมการเลี้ยงนกเขาชวานี้มีความแน่นแฟ้นที่สามารถก่อให้ความสัมพันธ์ในรูปแบบอื่นๆ อันมีผลต่อการ พัฒนาประเทศได้
บทคัดย่อ
โครงการวิจัยเรื่อง “มาตรการส่งเสริมสุขภาพแรงงานข้ามชาติในเมียนมาร์ทาวน์: โอกาสของ ประเทศไทยในการเป็นศูนย์กลางแรงงานสุขภาพดีแห่งอาเซียน กรณีศึกษาเทศบาลปาก คลองท่าเรือและเทศบาลปากคลองจังหวัดระนอง”
โดย นพ.จิโรจ สินธวานนท์ สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แรงงานข้ามชาติในประเทศไทย ส่วนใหญ่มีการศึกษาไม่มาก เป็นแรงงานไร้ทักษะฝีมือ ทําให้ต้อง ทํางานในประเภทงานที่ขาดความมั่นคงและมีความเสี่ยงต่อสุขภาพขณะทํางาน และยังคงต้องใช้บริการ สุขภาพพื้นฐานที่มีอยู่ทั่วไป โดยมีข้อจํากัดที่ทําให้ไม่สามารถเข้าถึงบริการส่งเสริมสุขภาพ รวมทั้งโอกาสใน การได้รับความรู้หรือข้อมูลด้านสุขภาพที่ถูกต้อง ปัจจัยทางสังคมระดับบุคคลดังกล่าว ทําให้แรงงานข้ามชาติ มีภาวะความเสื่อมโทรมด้านสุขภาพและความเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อหรือโรคที่สามารถป้องกันได้มากขึ้น ดังนั้น การให้โอกาสการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมให้กับบุคคลเป็นการช่วยให้ปัญหาความเจ็บป่วยจากโรคหรือ อาการอันเกิดจากพฤติกรรมความเสี่ยงเหล่านั้นลดลงหรือหมดไป ส่งเสริมการมีสุขภาวะที่ทําให้แรงงานข้าม ชาติสามารถทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างผลผลิตที่ดีให้กับระบบเศรษฐกิจฐานรากของประเทศ ไทย
การศึกษานี้ เป็นการศึกษาภาคตัดขวางเฉพาะพื้นที่ (area based) ให้ความสําคัญต่อการส่งเสริม สุขภาพอันโดยการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพให้แก่แรงงานข้ามชาติที่มาอาศัยและทํางานอยู่ในประเทศ ไทยอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ได้รับการขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าว ตามมติคณะรัฐมนตรีฯ โดยมีกรณีศึกษา คือ กลุ่มแรงงานข้ามชาติในเมียนมาทาวน์ จังหวัดระนอง ในเขตเทศบาลปากคลองท่าเรือและเทศบาล ปากน้ํา ซึ่งได้รับอนุญาตทํางานตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2559 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2563 ทั้งกลุ่มที่ถือบัตรสี ชมพูและกลุ่มที่ถือเอกสารที่ประเทศต้นทางออกให้ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานกลุ่มประมงและครอบครัวอาศัย อยู่จํานวนมาก สิ่งที่ค้นพบทางการศึกษานอกจากจะให้คําตอบเกี่ยวกับมาตรการส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสม กับแรงงานข้ามชาติโดยการนับสนุนที่เข้มแข็งจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อก่อให้เกิดความยั่งยืนของการ เสริมสร้างพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ลดภาระของการรับไว้รักษาของโรงพยาบาลในพื้นที่แล้ว ยังเป็น การช่วยป้องกันความเสี่ยงด้านสุขภาพให้กับคนไทยในพื้นที่ลดทัศนคติที่ไม่ดีต่อแรงงานข้ามชาติที่มีโอกาสพบ เจอได้ในสังคม รวมทั้ง พัฒนาเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสําหรับการเพิ่มโอกาสของประเทศไทยในการเป็น ศูนย์กลางแรงงานสุขภาพดีแห่งอาเซียนอีกด้วย ข้อค้นพบการวิจัยโดยวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ ผสมผสานกับ การวิจัยเชิงคุณภาพ ร่วมกับการดําเนินกิจกรรมรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพด้วยการอาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี ของชุมชน พบว่า กระบวนการชุมชนและแรงสนับสนุนจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเป็นป4จจัยแห่งความสําเร็จที่ สําคัญของการเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพที่ยั่งยืน
ซึ่งผู้วิจัยได้นําเสนอแนวทางกําหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน กระบวนการสร้างเสริมสุขภาพชุมชน ซึ่งเมื่อวิเคราะห์จากความสัมพันธ์ของความรอบรู้ด้านสุขภาพกับ พฤติกรรมสุขภาพกับของแรงงานเมียนมา และการได้รับความรู้ด้าน “สุขภาพ” ของแรงงานเมียนมาในเมียน มาทาวน์จากแหล่งต่างๆ แล้ว ได้มาซึ่งกระบวนการเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพของแรงงานเมียนมาที่ พัฒนาให้สอดคล้องกับปัจจัยสังคมกําหนดสุขภาวะและมิติความซับซ้อนทางวัฒนธรรม รวมทั้ง แนวทาง ปฏิบัติตามมาตรการส่งเสริมสุขภาพแรงงานข้ามชาติในเมียนมาทาวน์ที่เสริมแรงโดยนวัตกรรมด้านการ สื่อสารสุขภาพ คือ สื่อสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ภาษาเมียนมาที่เผยแพร่ผ่านทางช่องทางการสื่อสารต่างๆ ใน ชุมชนและสังคมวงกว้าง โดยผู้วิจัยได้ให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและข้อเสนอแนะต่อการศึกษาต่อเนื่องเพื่อ สนับสนุนการเพิ่มพูนขีดความสามารถของประเทศไทยทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคมรวมทั้ง โอกาสของ ประเทศไทยในการเป็นศูนย์กลางแรงงานสุขภาพดีแห่งอาเซียน