จากการท่ีรัฐบาลเวียดนามไดเรงปฏิรูประบบเศรษฐกิจในประเทศใหเปนระบบเศรษฐกิจแบบ ตลาด (Market Economy) อยางตอเนื่อง โดยเร่ิมประกาศใชนโยบาย Doi Moi ในป 2529 และการ ดําเนินนโยบายสงเสริมการลงทุนอยางจริงจังดวยการปรับปรุงกฎระเบียบดานการ...
สัญญาเลขท่ี RDG5010010
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ
โครงการ “การศึกษาเชิงเปรียบเทียบศักยภาพทางเศรษฐกิจและ การคาของประเทศไทยและเวียดนาม: อุตสาหกรรมxxxยนต”
คณะผูวิจ สงกดั
1. ดร.สรีxx xxxxxxxxนนท สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
2. ดร.xxxxxxx xxxxxดํารงดี สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
3. xxxxxxxxxxx สุภาพพันธ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
4. นางสาวxxxสรา xxxxxxxx สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
5. xxxxxxxxxxxxxx xxxxxxx xxx xxxxxxxxxxxxxแหงประเทศไทย
ชุดโครงการ ศักยภาพของไทยและเวียดนาม
สนับสนุนโดย สํานักงานกองทุนสนบสนุนการวิจ (สกว.)
(ความเห็นในรายงานนี้เปนของผ ิจยั สกว. ไมจาเํ ปนตองเหนด็ วยเสมอไป)
บทสรุปผ ริหาร
จากการท่ีรัฐบาลเวียดนามxxxxงxxxxxxระบบเศรษฐกิจในประเทศใหเปนระบบเศรษฐกิจแบบ ตลาด (Market Economy) อยางตอเนื่อง โดยเร่ิมประกาศใชนโยบาย Doi Moi ในป 2529 และการ ดําเนินนโยบายสงเสริมการลงทุนอยางจริงจังดวยการปรับปรุงกฎxxxxxxxดานการลงทุนใหเอื้อตอ ตางชาติมากข้ึน รวมทั้งเรงพัฒนาระบบสาธารณูปโภคพ้ืนฐานใหทันสมัยเพ่ือรองรับการขยายตัวของ การลงทุน สงผลใหเศรษฐกิจของเวียดนามเติบโตแบบกาวกระโดดโดยเฉพาะอยางย่ิงในชวง 4 - 5 ป ท่ีผานมาเศรษฐกิจเวียดนามมีอัตราขยายตัวเฉลี่ยสูงกวารอยละ 7 ตอป ในขณะที่ประเทศไทยมีอัตรา การขยายตัวทางเศรษฐกิจเฉลี่ยรอยละ 5.56 ทําใหเวียดนามกลายเปนคูแขงที่สําคัญของหลาย
ประเทศในเอเชียรวมท ประเทศไทย
สําหรับอุตสาหกรรมxxxยนตและชิ สวน แมวาในปจจุบันประเทศไทยจะเปนฐานการผลิต
หล ในxxxxxxxเอเชียตะวนออกxxxxxxxและเปนตลาดxxxยนตและผูประกอบxxxยนตที่ใหญที่สุดใน
เอเซีย แตตลาดการบริโภครถยนตและรถจักรยานยนตท่ีมีขนาดใหญของเวียดนาม และความ ไดเปรียบในเรื่องของตนทุนแรงงานที่ตํ่า รวมท้ังการเปดการคาxxxxโดยการเขาเปนสมาชิก WTO ของเวียดนามในป 2550 อาจเปนปจจัยสําคัญที่สงผลใหประเทศเวียดนามเปนจุดสนใจในการดึงดูด
การลงทุนระหวางประเทศและสงผลกระทบตอศ ยภาพในการแขงขันของอุตสาหกรรมxxxยนตไทย
ได นอกจากน้ี ในป 2546 รัฐบาลไทยไดประกาศxxxxศาสตรxxxยนตโดยต้ังเปาหมายของการเปนxx xxxxตแหงเอเซีย (Detroit of Asia) และรัฐบาลไดกําหนดแผนพัฒนาอุตสาหกรรมxxxยนต ระยะที่ 2 (พ.ศ.2549-2553) ซึ่งจะทําใหประเทศไทยกลายเปนประเทศผูผลิตรถยนตรายใหญติดอันดับ 1 ใน
10 ของโลก สวนรัฐบาลเวียดนามก็มีนโยบายในการxxxxxขีดความxxxxxxการแขงขันของ ภาคอุตสาหกรรมเวียดนาม และตั้งเปาหมายใหอุตสาหกรรมxxxยนตของเวียดนามxxxxxx ตอบxxxxความตxxxxxภายในประเทศและเริ่มเขาสูตลาดxxxxxxxและตลาดโลกไดภายในป 2553 ซึ่งเปนปเดียวกับเปาหมายการเปนxxxxxxตแหงเอเซียของไทย การศึกษาโครงการ “การศึกษาเชิง เปรียบเทียบศักยภาพทางเศรษฐกิจและการคาของประเทศไทยและเวียดนาม: อุตสาหกรรมxxxยนต” จึงเกิดขึ้น โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาความเปนคูคาและคูแขงทางการคาของอุตสาหกรรมxxxยนต ในเชิงเปรียบเทียบระหวางประเทศเวียดนามกับประเทศไทย ผลกระทบที่เกิดข้ึนตออุตสาหกรรมxxx ยนตของประเทศไทยภายหลังจากที่ประเทศเวียดนามเขาเปนสมาชิก WTO ในป 2550 ทั้งนี้เพ่ือนํา ผลการศึกษามาใชกําหนดกลxxxxในการพัฒนาอุตสาหกรรมxxxยนตเพื่อรักษาความไดเปรียบของ
ไทยตอเวียดนาม และเสริมสร งศักยภาพการแขงขันของผูประกอบการในเวทีการคาโลก
วิธีการศึกษาประกอบดวยการรวบรวมขอมูลดวยการสัมxxxxผูที่เกี่ยวของกับ อุตสาหกรรมxxxยนตในประเทศไทยและเวียดนามทั้งผูประกอบการและหนวยงานที่วางแผนและ นโยบายของอุตสาหกรรม รวมxxxxxxจัดประชุมระดมความคิดเห็นและการรวบรวมขอมูลเอกสารที่ เก่ียวของในดานโครงสรางพื้นฐานของอุตสาหกรรม การผลิต การตลาด การคาและการลงทุน ปจจัย สงเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรม เปนตน สําหรับเคร่ืองมือที่ใชในการวิเคราะหศักยภาพทางการคา
และขีดความxxxxxxในการแขงขันของอุตสาหกรรมxxxยนตไทยและเวียดนามประกอบดวย 1)
ดัชนีความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบที่ปรากฏ (RCA) 2) การวิเคราะหสวนแบงตลาดxxxxx (CMS) 3) โมเดลเพชรxxxxx (Dynamic Diamond Model) และ 4) การวิเคราะหจุดออน จุดแข็ง โอกาส และ อุปสรรค/ปจจยภายนอก (SWOT Analysis)
ผลจากการวิเคราะหศักยภาพทางเศรษฐกิจและการคาในอุตสาหกรรมxxxยนตของ ประเทศไทยและเวียดนามพบวา ในภาพรวมของอุตสาหกรรมxxxยนตนั้นประเทศไทยยังxxมี ศักยภาพทางเศรษฐกิจและการคาสูงกวาประเทศเวียดนาม โดยเมื่อวิเคราะหโดยดัชนีความ ไดxxxxxxxxxปรากฏ (RCA) ซึ่งพิจารณาจากศักยภาพการสงออกของประเทศเปรียบเทียบกับสัดสวน มูลคาการสงออกสินคาสินคาอุตสาหกรรมxxxยนตในตลาดโลกพบวา สินคาในกลุมอุตสาหกรรม xxxยนตxxxxxxxxความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบในอัตราที่สูงกวาสัดสวนการสงออกของโลก (RCA มากกวา 1) ไดแก อุตสาหกรรมรถบรรทุกและรถกระบะ (RCA = 3.52) รถจักรยานยนต (RCA = 1.54) และช้ินสวนรถจักรยานยนต (RCA = 4.35) ในขณะท่ีประเทศเวียดนามมีความไดเปรียบโดย เปรียบเทียบเฉพาะสินคาในอุตสาหกรรมชิ้นสวนรถจักรยานยนต (RCA = 1.76)
สําหรับการวิเคราะหสวนแบงตลาดxxxxx (CMS) โดยวิเคราะหศักยภาพในการสงออกของ สินคาซึ่งมีการวิเคราะห 3 ดาน ไดแก ปจจัยดานตลาด (Growth effects) ปจจัยดานผลิตภัณฑ (Commodity effects) และปจจัยดานความxxxxxxในการแขงขัน (Competitiveness effects) ไดผล การวิเคราะหวา xxxxxการขยายตัวของการสงออกสินคาเนื่องจากปจจัยจากการเติบโตของตลาดสูง กวาเวียดนามทุกรายการ ยกเวนชิ้นสวนรถจักรยานยนต ที่การขยายตัวของการสงออกของไทยเกิด จากขีดความxxxxxxxxxสูงขึ้นและการผลิตที่xxxxxขึ้น กลาวคือ การขยายตัวของการสงออกของ อุตสาหกรรมxxxยนตของเวียดนามเกิดจากการพัฒนาขีดความxxxxxxในการแขงขันของ อุตสาหกรรมxxxยนตและการผลิตท่ีxxxxxขึนมากกวาการขยายตวของตลาด
อยางไรก็ตาม ประเทศไทยxxxxxคา 4 รายการท่ีมีสวนแบงการตลาดสูงกวาอัตราการเติบโต ของตลาดโลก ไดแก สินคารถยนตนั่งสวนบุคคล (พิกัด 8703) รถบรรทุก/รถกระบะ (พิกัด 8704) ชิน้ สวนรถยนต (พิกดั 8708) และชิ้นสวนรถจักรยานยนต (พิกัด 8714) ในขณะที่ประเทศเวียดนาม มีสวนแบงการตลาดสูงกวาอัตราการเติบโตของตลาดโลก จํานวน 3 รายการสินคา ไดแก รถบรรทุก/
รถกระบะ (พิกัด 8704) ชิ สวนรถยนต (พกิ ัด 8708) และช้ินสวนรถจกั รxxxยนต (พิกัด 8714) และ
เม่ือเปรียบเทียบการอัตราการเติบโตของตลาดสินคาในอุตสาหกรรมxxxยนตระหวางประเทศไทย กับเวียดนามพบวา ประเทศไทยมีอัตราการเติบโตสูงกวาเวียดนามแทบทุกหมวดสินคา ยกเวน รถบรรทุก/รถกระบะ และชิ้นสวนรถยนต xxxxxxxxอัตราการเติบโตตํ่ากวาเวียดนาม รวมท้ังสัดสวน การนําเขาสินคาอุตสาหกรรมxxxยนตของโลกก็มีการนําเขาจากไทยสูงกวาเวียดนามทุกรายการ
ผลจากการวิเคราะหเพ่ือการวางแผนกลxxxxทางการตลาด (SWOT analysis) ไดสนบสนนุ
ผลการศึกษาขางตนและชี้ใหเห็นวาแมวาในปจจุบันศักยภาพของอุตสาหกรรมxxxยนตไทยจะมีจุด แข็งดานเทคโนโลยีที่สูงกวา แรงงานที่มีฝมือและมีผลิตภาพแรงงานสูง และการรวมกลุม
2
ผูประกอบการที่เขมแข็งกวาประเทศเวียดนาม แตไทยก็ยังมีขxxxxxxxxxxxในเรื่องของความสมบูรณ ทางทรัพยากร อัตราคาจางแรงงานที่ต่ํากวา และเสถียรภาพทางการเมือง รวมทั้งลักษณะนิสัยของ xxxxxxxxxxมีความขยันและอดทน ซึ่งทําใหปจจัยท่ีเปนจุดแข็งเหลาน้ีอาจทําใหเวียดนามxxxxxx พัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมxxxยนตใหทัดเทียมประเทศไทยไดไมยาก อยางไรก็ดี ผลการ วิเคราะหความxxxxxxการแขงขันโดยใชโมเดลเพชรxxxxxxxxใหเห็นวา ในภาพรวมของอุตสาหกรรม xxxยนตนั้น ไทยยังxxมีความxxxxxxในการแขงขันสูงกวาเวียดนาม แตจากตัวเลขการพัฒนาขีด ความxxxxxxในการแขงขันของเวียดนามที่สูงขึ้นอยางตอเน่ืองทําใหxxxxxxxxxวาไทยตองหัน xxxxxxทบทวนแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมxxxยนตของตนเองวาควรมีทิศทางอยางไรตอไป เพื่อใหไทยยังxxxxxxxอัตราการเติบโตของตลาดในอุตสาหกรรมน้ีใหสูงกวาเวียดนามดังเชนใน ปจจุบัน
เม่ือนําผลการวิเคราะหโดยการประเมินศักยภาพทางการแขงขันของเวียดนามมาพิจารณา รวมกับผลกระทบทางดา นโครงสรางทางเศรษฐกิจของประเทศเวียดนามภายหลังจากเขาเปนสมาชิก ของ WTO พบวา การลงทุนจากตางประเทศของเวียดนามxxxxxสูงขึ้น ผนวกกับการทยอยลดและ ยกเลิกการเรียกเก็บภาษีสินคานําเขา และการผอนคลายมาตรการการจํากัดการลงทุนของตางชาติ ย่ิงชวยสงเสริมใหภาคอุตสาหกรรมในประเทศเวียดนามมีอัตราการเติบโตสูงขึ้น ซึ่งทําใหxxxxxxคา และบริการเติบโตขึ้นตามไปดวย และสงผลกระทบตอไทยในหมวดของสินคาหลักที่เปนสินคาสงออก ประเภทเดียวกัน อยางไรก็ตาม สําหรับอุตสาหกรรมxxxยนตนั้น การเปดxxxxทางการคาของ เวียดนามจากการเปนสมาชิก WTO อาจจะยังไมสงผลกระทบตออุตสาหกรรมxxxยนตของไทยใน ระยะนี้ เนื่องจากระบบสาธารณูปโภคและระบบขนสงของเวียดนามยังตxxxxxการพัฒนาใน ระยะเวลาหนึ่งจึงจะxxxxxxแขงขันกับประเทศไทยในอุตสาหกรรมนี้ได อยางไรก็ตาม หาก เวียดนามไมxxxxxxควบคุมสถานการณเงินเฟxxxxขยายตัวอยางรวดเร็ว ณ ปจจุบันได ผลกระทบ คาจางแรงงานที่สูงขึ้น และตนทุนการผลิตที่สูงขึ้น ก็อาจทําใหเวียดนามไมนาสนใจสําหรับนักลงทุน ตางประเทศอีกตอไป
กลาวโดยสรุปไดวา อุตสาหกรรมxxxยนตของเวียดนามในปจจุบันอยูในฐานะคูคากับ ประเทศไทยมากกวาการเปนคูแขง เนื่องจากอุตสาหกรรมxxxยนตxxxxxอุตสาหกรรมใหญและไมได สรางขึ้นไดโดยงายอีกทั้งจําเปนตองอาศัยระยะเวลา และดวยเหตุผลของระดับการพัฒนาของ อุตสาหกรรม ความxxxxxxในการแขงขัน สวนแบงการตลาด ศักยภาพการสงออก และจุดออน จุด แข็ง ปญหาและอุปสรรคของอุตสาหกรรม และจากขอจํากัดทางดานเทคนิคและคุณภาพของแรงงาน ในอุตสาหกรรม ทําใหเวียดนามยังxxตองพึ่งพาการนําเขาชิ้นสวนจากประเทศไทยxxx และแมวาการ พัฒนาอุตสาหกรรมxxxยนตของประเทศไทยในปจจุบันจะมีความรุดหนากวาเวียดนามxxxมากก็ตาม อยางไรก็ตาม ประเทศไทยก็ไมควรนิ่งนอนใจ และสิ่งที่อุตสาหกรรมxxxยนตของประเทศไทยควรเรง ดําเนินการคือการพัฒนาอุตสาหกรรมxxxยนตและชิ้นสวนไปสูการเปนศูนยxxxxxxxผลิตอยาง แทจริงนอกจากการเปนแคเพียงศูนยรวมธุรกิจxxxยนต ศูนยการผลิต และศูนยกลางทางการตลาด เชนในปจจุบัน
3
ผลการศึกษายังชี้ใหเห็นวาในการพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมxxxยนตของไทยเพื่อให เปนศูนยxxxxxxxผลิตอยางแทจริง สิ่งสําคัญที่หนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนควรดําเนินการมีอยู หลายดาน ท้ังดานการวิจัยและพัฒนาความxxxxxxในการออกแบบทางวิศวกรรม การสรางนวัตกรรม ดานการยกระดับบุคลากรในอุตสาหกรรมxxxยนตในทุกระดับทั้งระดับบริหาร ระดับวิศวกร (โดยเฉพาะวิศวกรดานเทคโนโลยีxxxยนต) ระดับชางเทคนิคไปจนถึงระดับแรงงานที่มีทักษะฝมือ อยางตอเน่ือง ดานการเสริมสรางความพรอมของกระบวนการทดสอบคุณภาพมาตรฐานxxxยนตและ ช้ินสวนโดยเรงจัดต้ังศูนยทดสอบคุณภาพสินคาและผลิตภัณฑในอุตสาหกรรมxxxยนต เน่ืองจาก ประเทศที่เปนคูแขงของไทยทั้งประเทศxxx อินเดีย และมาเลเซียตางมีการพัฒนาดานมาตรฐานการ ผลิตxxxxxxxxx ไปมาก และดวยเหตุที่อุตสาหกรรมxxxยนตและชิ้นสวนมีความเก่ียวเนื่องและเชื่อมโยง กับอุตสาหกรรมหลายสาขา จึงมีความจําเปนตองพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุนโดยเฉพาะ อุตสาหกรรมแมพิมพและเทคโนโลยีวัสดุไทยท่ียังxxมีขีดจํากัดxxxมาก รวมxxxxxxพัฒนาระบบ ฐานขอมูลความตxxxxxและความxxxxxxในการจัดทํามาตรฐานระบบการจัดการ การไดรับการ รับรองมาตรฐานตางๆ ของผูประกอบการ ตลอดจนฐานขอมูลทางดานเทคนิคเพ่ือใหไดระบบ ฐานขxxxxxxxมีความครบถวน ทันสมัย และตรงกับความตxxxxxใชประโยชนของภาคอุตสาหกรรม มากที่สุด
นอกจากนี้ จากการที่โลกกําลังประสบกับปญหาวิกฤตการณพลังงานทําใหผูบริโภคตางก็มี ความxxxxxxxและมีแนวโนมตอบรับxxxยนตที่มีประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงานมากข้ึน ซ่ึง รถยนตประหยัดพลังงานตามมาตรฐานxxxxหรือxxxxคารก็เปนอีกผลิตภัณฑท่ีมีศักยภาพและควร ไดรับการสงเสริมและสนับสนุนเพ่ือxxxxxโอกาสแขงขันของอุตสาหกรรมxxxยนตไทยในตลาดโลก นอกเหนือจากรถกระบะที่ถือวาเปน Product Champion อยูในขณะนี้ ท้ังนี้ภาครัฐตองสรางแรงจูงใจ ใหเ กิดความตxxxxxในการผลิตและการบริโภคxxxxxข้ึนกวาที่เปนxxxดวยการปรับลดภาษีสรรพสามิต และภาษีศุลกากรอยางเพียงพออันจะทําใหรถยนตประหยัดพลังงานมีราคาลดลงทําใหแขงขันกับ ตางประเทศได
4
บทคัดยอ
โครงการ “การศึกษาเชิงเปรียบเทียบศักยภาพทางเศรษฐกิจและการคาของประเทศไทยและ เวียดนาม: อุตสาหกรรมxxxยนต” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความเปนคูคาและคูแขงทางการคาของ อุตสาหกรรมxxxยนตในเชิงเปรียบเทียบระหวางประเทศเวียดนามกับประเทศไทย รวมถึง ผลกระทบท่ีเกิดข้ึนตออุตสาหกรรมxxxยนตของประเทศไทยภายหลังจากที่ประเทศเวียดนามเขา เปนสมาชิกองคการการคาโลก (WTO) ในป 2550 โดยเคร่ืองมือที่ใชในการวิเคราะหประกอบดวย 1)
ดัชนีความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบที่ปรากฏ (RCA) 2) การวิเคราะหสวนแบงตลาดxxxxx (CMS) 3) โมเดลเพชรxxxxx (Dynamic Diamond Model) และ 4) การวิเคราะหจุดออน จุดแข็ง โอกาส และ อุปสรรค/ปจจัยภายนอก (SWOT Analysis)
ผลจากการศึกษาพบวา ในภาพรวมของอุตสาหกรรมxxxยนตนั้นประเทศไทยยังxxมี ศักยภาพทางเศรษฐกิจและการคาสูงกวาประเทศเวียดนาม อยางไรก็ตาม สําหรับสินคาชิ้นสวน รถจักรยานยนตนั้น แมวาเวียดนามมีการผลิตท่ีต่ํากวาไทยแตความxxxxxxในการแขงขันและการ ขยายตัวของการสงออกที่มีอัตราที่สูงกวาxxxxxxทําใหเวียดนามครองสวนแบงในตลาดโลกในสินคา นี้มากกวาไทยในxxxxx นอกจากน้ัน การศึกษาจุดออน จุดแข็ง โอกาส และขีดความxxxxxxใน การแขงขัน ชี้ใหเห็นวาศักยภาพของอุตสาหกรรมxxxยนตxxxxxจุดแข็งดานเทคโนโลยีที่สูงกวา แรงงานมีทกษะฝมือและมีผลิตภาพแรงงานสูง รวมทั้งมีการรวมกลุมผูประกอบการที่เขมแข็งกวา แต ไทยก็ยังมีขxxxxxxxxxxxในดานความสมบูรณทางทรัพยากร อัตราคาจางแรงงาน และเสถียรภาพ ทางการเมือง และผลจากการxxxxxxxกระทบของอุตสาหกรรมฯ จากการเขาเปนสมาชิก WTO ของ เวียดนามพบวา แมวาการคาและการลงทุนจากตางประเทศในเวียดนามxxxxxสูงขึ้นในป 2550 แต สําหรับอุตสาหกรรมxxxยนตแลว การยายฐานการผลิตจากไทยไปเวียดนามไมใชเรื่องงาย เน่ืองจากเวียดนามขาดความพรอมดานโครงสรางพ้ืนฐาน ซึ่งตองใชเวลาในการพัฒนาอีกหลายป ดังนั้น อุตสาหกรรมxxxยนตของประเทศเวียดนามในปจจุบันจึงxxxในฐานะคูคาของไทยมากกวา คูแขง
5
ABSTRACT
The study on “Comparative Advantage of Thailand and Vietnam Economy and Trade: the Automotive Industry” was conduct as a comparative study on trade partnership and competition of the automotive industries in Thailand and Vietnam. The study identified the impacts on the Thai automotive industry after Vietnam became member of World Trade Organization (WTO) in 2007. In this regard, the analytical tools adopted in this study comprised of (1) Revealed Comparative Advantage (RCA), (2) Constant Market Share Analysis (CMS), (3) Dynamic Diamond Model; and (4) SWOT Analysis.
According to the study, overall economic and trade capability of the Thai automotive industry was higher than that of Vietnam’s. However, in case of motorcycle parts and components, although production capacity of Vietnam was less than that of Thailand, remarkable competitive capability as well as a rapid growth in export has created an opportunity for Vietnam to win a larger world market share in the future. In addition, the SWOT analysis revealed that technological capability, skilled labor, labor productivity and industrial networking were key strengths of the Thai automotive industry compared to Vietnam’s. On the other hand, major disadvantages of Thailand were in natural resources, labor price and political stability. From the analysis on impacts from WTO accession of Vietnam, even though there was an increase in trade and foreign direct investment in Vietnam in 2007, to move automotive production base from Thailand to Vietnam tends to be problematic due to a lack in basic infrastructure that would need few years for development. Hence, at the current status of development, Vietnam tends to be a trade partner of Thailand rather than a trade competitor.
6
สารบัญ
บทสรุปผบู บทคัดยอ Abstract
ริหาร
บทที่ 1 บทนํา
1.1 ความเปนมาและความสําคญของโครงการ 1-1
1.2 วตถุประสงคของการวิจยั 1-2
1.3 แผนในการดําเนินโครงการ 1-3
1.4 แนวทาง/ขั้นตอนการดําเนินงาน 1-4
1.5 ผลท่ีคาดวาจะไดรับ 1-6
บทที่ 2 ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
2.1 ประเทศไทย 2-1
2.1.1 ขอxxxxx นสังคม 2-1
2.1.2 ขxxxxxx นเศรษฐกิจ 2-6
2.1.3 การทําการค ระหวางประเทศ 2-16
2.2 ประเทศเวียดนาม 2-21
2.2.1 ขxxxxxx นสงั คม 2-21
2.2.2 ขอxxxxx นเศรษฐกิจ 2-25
2.2.3 การทําการคาระหว งประเทศ 2-38
2.3 สรุป 2-42
บทที่ 3 สถานการณการคาของอุตสาหกรรมxxxยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน
3.1 อุตสาหกรรมxxxยนตและชิน้ สวนxxxยนตของโลก 3-2
3.1.1 อุตสาหกรรมรถยนต 3-2
3.1.2 อุตสาหกรรมรถจักรยานยนต 3-27
3.1.3 อุตสาหกรรมชิ้นสวนxxxยนต 3-33
3.2 อุตสาหกรรมxxxยนตและชิน้ สวนของอาเซียน 3-36
i
3.2.1 การผลิต 3-36
3.2.2 การตลาด 3-41
3.2.3 การคา 3-42
3.2.4 ความรวมม
ทางเศรษฐกิจของอาเซียนท
ีผลตอ
อุตสาหกรรมxxxยนต 3-43
3.3 สรุป 3-45
บทที่ 4 อุตสาหกรรมxxxยนตของประเทศไทยและเวียดนาม
4.1 ประเทศไทย 4-1
4.1.1 โครงสร งอุตสาหกรรมxxxยนต 4-1
4.1.2 อุตสาหกรรมรถยนต 4-5
4.1.3 อุตสาหกรรมรถจักรยานยนต 4-13
4.1.4 อุตสาหกรรมชิ้นสวนxxxยนต 4-19
4.1.5 นโยบายของภาครัฐตอการพฒนาอุตสาหกรรมxxxยนตและชิ้นสวน ของประเทศไทย 4-33
4.2 ประเทศเวียดนาม 4-33
4.2.1 อุตสาหกรรมรถยนต 4-36
4.2.2 อุตสาหกรรมรถจักรยานยนต 4-51
4.2.3 อุตสาหกรรมชิ้นสวนxxxยนต 4-59
4.2.4 นโยบายของภาครฐั ดานการพัฒนาอุตสาหกรรมxxxยนต 4-63
4.3 สรุป 4-74
บทที่ 5 ศักยภาพการคาระหวางประเทศและการลงทุนของอุตสาหกรรมxxxยนตไทย เปรียบเทียบกับเวียดนาม
5.1 การวิเคราะหดัชนคxx xมไดเปรียบโดยเปรยบเี ทียบที่ปรากฏ (Revealed
Comparative Advantage Index : RCA) 5-2
5.2 การวิเคราะหส
5.3 การวิเคราะหส
วนแบงตลาดxxxxx (COnstant Market Share Analysis: CMS) 5-8
ถานการณ (SWOT Analysis) 5-19
5.3.1 การวิเคราะหสถานการณของอุตสาหกรรมxxxยนตไทยและเวียดนาม 5-19
ii
5.3.2 การวิเคราะหส
ถานการณของสินค
ภายใตอุตสาหกรรมxxxยนต 5-24
5.4 การวิเคราะหความxxxxxxการแขงขันระดับประเทศโดยใช
แบบจําxxxเพชรพลวต (Dynamic Diamond Model) 5-37
5.4.1 อุตสาหกรรมรถยนต 5-38
5.4.2 อุตสาหกรรมรถจักรยานยนต 5-43
5.4.3 อุตสาหกรรมชิ้นสวนxxxยนต 5-48
5.5 ผลกระทบตออุตสาหกรรมxxxยนต จากการที่เวียดนามเข เปน
สมาชิกขององคการการคาโลก (WTO) 5-52
5.5.1 การลงทุน 5-52
5.5.2 การค 5-55
5.6 สรุป 5-57
บทที่ 6 บทสรุปผลการศึกษา
6.1 สรุปผลการศึกษา 6-1
6.2 ขอเสนอแนะในการศึกษาโครงการขั้นตอไป 6-6
ภาคผนวก ก นโยบายของภาคร
ตอการพัฒนาอุตสาหกรรมxxxยนตและชิน
สวน
ของประเทศไทย ก-1
ภาคผนวก ข การเปล่ียนแปลงโครงสรางภาษีที่จัดเก็บกับรถยนตท ี่ประกอบภายใน ประเทศและรถยนตสําเร็จรูปใหม และรถยนตสําเร็จรูปใชแลว ของประเทศเวียดนาม……….….. ........................................................................ ข-1
iii
สารบัญตาราง
ตารางที่ 2.1: โครงสรางประชากรของไทยในปจจุบัน 2-3
ตารางที่ 2.2 : ประมาณการประชากรจําแนกตามกลุมอายุทั่วราชอาณาจ รไทย 2-3
ตารางท่ี 2.3: ตัวชี้วดั และดชนีการพัฒนาทางการศึกษาของไทย 2-4
ตารางท่ี 2.4: โครงสรางกําลังแรงงาน จําแนกตามระดับการศึกษาป 2538 - 2563 2-4
ตารางท่ี 2.5: อัตราคาจางขั้นต่ําใหมที่มีการบังคบใช แต 1 xxxxxx 2551 2-5
ตารางท่ี 2.6: เงินลงทุนโดยตรงสุทธิจากตางประเทศในไทยป 2549 - 2550 2-15
ตารางที่ 2.7: เงินลงทุนโดยตรงจากตางประเทศสุทธิในป 2549 - 2550 จําแนกตาม
สาขาการลงทุน 2-16
ตารางที่ 2.8: ประเภทสินคาสงออกของไทยป 2550 (ม.ค. - ต.ค.) 2-18
ตารางที่ 2.9: ประเภทสินคานําเขาของไทยป 2550 (ม.ค. - ต.ค.) 2-19
ตารางที่ 2.10: โครงสร งประชากรของเวียดนาม 2-22
ตารางท่ี 2.11: ดชนีชี้วดการพฒนาทางการศึกษาของเวียดนามป 2548 2-23
ตารางที่ 2.12: ประเทศท่ีมีการลงทุน 10 อันดับแรกในเวียดนามป 2531 - 2550 2-31
ตารางที่ 2.13: ประเทศท่ีมีการลงทุน 10 อันดับแรกในเวียดนามป 2550
(1 ม.ค. - 22 ธ.ค. 2550) 2-32
ตารางที่ 2.14: การลงทุนในเวียดนามจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรมป 2550 (1
ม.ค. - 22 ธ.ค 2550) 2-33
ตารางที่ 2.15: จังxxxxxxมีการลงทุนมากท่ีสุด 10 อันดับแรกในเวียดนามป 2550
(1 ม.ค. - 22 ธ.ค. 2550) 2-34
ตารางที่ 2.16: สินคาสงออกท่ีสําคญของเวียดนามป 2545 - 2549 2-39
ตารางที่ 2.17: สินคานําเขาที่สําคัญของเวียดนามป 2545 - 2549 2-40
ตารางที่ 3.1: ประเทศที่ผลิตรถยนตน่งมากที่สุดในโลก 10 อนดบแรกป 2547 - 2549 3-8
ตารางที่ 3.2: การผลิตรถพาณิชยขนาดเล็กของโลกป 2547 - 2549 3-9
ตารางที่ 3.3: การผลิตรถบรรทุกขนาดใหญของโลกป 2547 - 2549 3-10
ตารางท่ี 3.4: ประเทศที่ผลิตรถโดยสารมากที่สุดในโลก 5 อันดบแรกป 2548 - 2549 3-11
iv
ตารางท่ี 3.5: กลุมบริษทผลตรถยนติ ที่มกาี รผลิตมากท่ีสุด 10 อนดั ับแรกในป 2549 3-13
ตารางที่ 3.6: ยอดจําหนายรถยนตทุกประเภทตามxxxxxxxตางๆ ของบริษัทที่ผลิตรถยนต
มากที่สุด 10 อนดับแรกป 2548 - 2549 3-16
ตารางที่ 3.7: การสงออกรถยนตน่งของโลกในป 2545 - 2550 3-17
ตารางท่ี 3.8: การนําเขารถยนตน่งของโลกในป 2545 - 2550 3-18
ตารางที่ 3.9: การสงออกรถยนตเพ่ือการพาณิชยของโลกในป 2545 - 2550 3-18
ตารางที่ 3.10: การนําเขา รถยนตเพื่อการพาณิชยของโลกในป 2545 - 2550 3-19
ตารางที่ 3.11: การลงทุนของกลุมบริษท
ผูผลิตรถยนตข
ามชาติในประเทศxxx 3-20
ตารางที่ 3.12: การลงทุนของกลุมบริษท
ผ ลตรถยนตข
ามชาติในประเทศอินเดีย 3-22
ตารางท่ี 3.13: รายxxxxxxxxxxลงทุนในอเมริกาใตของกลุมบริษทผูผลตรถยนติ ขามชาติ 3-23
ตารางที่ 3.14: รายxxxxxxxxxxลงทุนของกลุมบริษทผูผลตรถยนติ ขามชาติในประเทศรัสเซีย 3-25
ตารางที่ 3.15: ปริมาณการผลิตรถจักรยานยนตของโลกป 2546 - 2549 3-28
ตารางท่ี 3.16: การสงออกรถจกั
ตารางที่ 3.17: การนําเขารถจกั
ตารางท่ี 3.18: การลงทุนของผ
รxxxยนตของโลกในป 2545 - 2550 3-30
รxxxยนตของโลกในป 2545 - 2550 3-31
ลตรถจักรยานยนตญี่ปุxxxxจะเร่ิมดําเนินการป 2549 - 2552 3-32
ตารางท่ี 3.19: ตัวอยางบริษท
ผ ลิตช
สวนxxxยนตชันนําของโลกในป 2549 3-34
ตารางท่ี 3.20: การผลิตรถยนตทุกประเภทของประเทศสมาชิกอาเซียนป 2547 - 2550 3-36
ตารางที่ 3.21: การผลิตรถยนตนั่งของประเทศในกลุมอาเซียนป 2548 - 2550 3-37
ตารางที่ 3.22: การผลิตรถเพ่ือการพาณิชยขนาดเล็กของประเทศในกลุมอาเซียน
ป 2548 - 2550 3-38
ตารางที่ 3.23: การผลิตรถบรรทุกหนกั ของประเทศในกลุมอาเซียนป 2547 - 2550 3-39
ตารางที่ 3.24: การผลิตรถโดยสารของประเทศในกลุมอาเซียนป 2548 - 2549 3-40
ตารางที่ 3.25: ยอดจําหนายรถยนตทุกประเภทในตลาดหลักของประเทศอาเซียน
ป 2547 - 2549 3-42
ตารางท่ี 3.26: มูลคาการสงออกxxxยนตประเภทตางๆ ของประเทศในกลุมอาเซียนใน
ป 2549 3-43
ตารางที่ 4.1: รายชื่อบริษัทผูประกอบxxxยนตในประเทศไทย 4-2
v
ตารางท่ี 4.2: ปริมาณการผลิตรถยนตของไทยจําแนกตามประเภทป 2546 - 2550 4-5
ตารางที่ 4.3: ปริมาณการจําหนายรถยนตภายในประเทศไทยจําแนกตามประเภทป 2546 - 2550 4-6
ตารางท่ี 4.4: สวนแบงทางการตลาดของการจําหนายรถยนตจําแนกตามประเภทป 2548 - 2550 4-8
ตารางที่ 4.5: มูลคาการสงออกรถยนตป 2546 - 2550 4-10
ตารางที่ 4.6: มูลคาการนําเขารถยนตป 2546 - 2550 4-11
ตารางที่ 4.7: การผลิตรถจักรยานยนตของประเทศไทยระหวางป 2546 - 2550 4-14
ตารางท่ี 4.8: การจําหนายรถจักรยานยนต ายในประเทศไทยระหวางป 2546 - 2550 4-15
ตารางท่ี 4.9: สวนแบงตลาดรถจักรยานยนตแตละยี่หอป 2548 - 2550 4-16
ตารางท่ี 4.10: การสงออกและนําเขารถจกั รxxxยนตของไทยระหวางป 2546 - 2550 4-17
ตารางที่ 4.11: การสงออกช้ินสวนxxxยนตของไทยระหวางป 2546 - 2550 4-22
ตารางท่ี 4.12: มูลคาการสงออกชิน้ สวนxxxยนตไทยท่ีสําคัญแยกตามประเภทของสินคา
ป 2547 - 2550 4-25
ตารางท่ี 4.13: ตลาดสงออกท่ีสําคัญของชินสวนxxxยนตไ ทย 10 อนดั ับแรก ระหวาง
ป 2548 - 2550 4-26
ตารางที่ 4.14: การนําเขาช้ินสวนxxxยนตของไทยป 2546 - 2550 4-27
ตารางท่ี 4.15: มูลคาการนําเข ชิ้นสวนxxxยนตไทยxxxxxคํ ัญแยกตามประเภทของสินคา
ป 2547 - 2550 4-28
ตารางที่ 4.16: บริษัทผูผลิตรถยนตในประเทศเวียดนามท่ีเปนสมาชิก VAMA 4-39
ตารางท่ี 4.17: ปริมาณการผลิตของบริษัทผูผลิตรถยนตทีเปนสมาชิก VAMA
ในชวงป 2543 - 2550 (มกราคม - กรกฎาคม) 4-41
ตารางท่ี 4.18: ปริมาณการนําเขารถยนต ําเร็จรูปแบงตามประเภทรถยนต 4-48
ตารางที่ 4.19: อัตราภาษีนําเขารถยนตสําเร็จรูปภายใตขอผูกพนของ WTO 4-49
ตารางที่ 4.20: รายชื่อผูประกอบการรถจักรยานยนตตางชาติ 6 รายในเวียดนาม 4-52
ตารางที่ 4.21: ปริมาณรถจ รยานยนตที่จดทะเบียนในประเทศเวียดนามในชวงป 2544 - 2549
และสวนแบงตลาดของผูผลิตตางชาติและผูผลิตเวียดนาม 4-53
ตารางที่ 4.22: ยอดจําหนายรถจักรยานยนตและสวนแบงตลาดของบริษทผผู ลติ
ในป 2541 - 2548 4-56
vi
ตารางที่ 4.23: มูลคาการนําเขารถจักรยานยนตและชิน้ สวนจากตลาดโลกไปเวียดนาม
ในชวงป 2543 - 2548 4-58
ตารางท่ี 4.24: มูลคาการสงออกรถจักรยานยนตและชิน้ สวนจากเวียดนามไปยังตลาดโลก
ในชวงป 2543 - 2548 4-59
ตารางที่ 4.25: มูลคาการสงออกช
สวนรถยนตและรถจก
รยานยนตของเวียดนาม
ไปยังตลาดโลกในชวงป 2545 - 2549 4-60
ตารางท่ี 4.26: โครงสรางการจัดซือช้ินสวนของบรษิ ัทญี่ปุนผ
ลิตรถจก
รยานยนตในเวียดนาม 4-63
ตารางที่ 4.27: โครงสรางภาษีรถยนตท่ีประกอบในประเทศและรถยนตนําเข ของประเทศ
เวียดนาม 4-65
ตารางที่ 4.28: การคาดการณผลผลิตรวมของอุตสาหกรรมยานยนตภายในป 2563 4-67
ตารางที่ 4.29: ขีดความสามารถในการผลิตของอุตสาหกรรมยานยนตเวียดนามในปจจุบัน 4-68
ตารางท่ี 4.30: หนวยงานและประเภทการผลิตท่ีไดรับมอบหมายภายใตแผนแมบท
เพื่อการพฒนาอุตสาหกรรมยานยนต 4-69
ตารางท่ี 5.1: มูลคาการสงออกสินค ยานยนตและชิ้นสวนของไ ทยและเวียดนาม
ไปยังตลาดโลกระหวางป 2545 - 2549 5-4
ตารางท่ี 5.2: มูลคาการสงออกสินคาทั้งหมดของประเทศไทย ประเทศเวียดนาม
และตลาดโลก 5-4
ตารางท่ี 5.3: มูลคาการสงออกของสินคายานยนตและชน้ิ สวนยานยนตโดยรวมในตลาดโลก 5-5
ตารางที่ 5.4: การวิเคราะหค
ตารางท่ี 5.5: การวิเคราะหค
วามไดเปรยบโดยเปรียบเทียบของอุตสาหกรรมยานยนตของไทย 5-5
วามไดเปรียบโดยเปรียบเทยบของอุตสาหกรรมยานยนต
ของเวียดนาม 5-7
ตารางท่ี 5.6: มูลคาการนําเขาสินคาอุตสาหกรรมยานยนตของโลกป 2548 และ 2549 5-10
ตารางท่ี 5.7: มูลคาการสงออกสินคาอุตสาหกรรมยานยนตของไทยไปยังตลาดโลก
ป 2548 - 2549 5-11
ตารางท่ี 5.8: มูลคาการสงออกสินคาอุตสาหกรรมยานยนตของเวียดนามไปยังตลาดโลก
ป 2548 - 2549 5-12
ตารางที่ 5.9: สวนแบงตลาดและอตราการเจริญเติบโตของไทยและเวียดนามในตลาดโลก
ป 2549 5-12
vii
ตารางท่ี 5.10: Commodity Effect และ Competitiveness Effect ของสินคา
อุตสาหกรรมยานยนตไ ทยในตลาดโลกป 2549 5-15
ตารางท่ี 5.11: Commodity Effect และ Competitiveness Effect ของสินคา
อุตสาหกรรมยานยนตเวียดนามในตลาดโลกป 2549 5-17
ตารางที่ 5.12: อุตสาหกรรมที่นักลงทุนตางชาตินิยมเขาไปลงทุนในเวียดนามป 2550 5-53
ตารางที่ 5.13: นักลงทุนตางชาติในเวียดนามป 2550 5-53
viii
สารบัญภาพ
รูปที่ 2.1: สัดสวนการสงออกของไทยในตลาดตางประเทศป 2550 (ม.ค. - ต.ค.) 2-19
รูปที่ 2.2: สัดสวนแหลงนําเขาที่สาคญของไทยป 2550 (ม.ค. - ต.ค.) 2-20
รูปที่ 3.1: สัดสวนการผลิตรถยนตรวมทุกประเภทในทวีปตางๆ ของโลกในป 2550 3-3
รูปท่ี 3.2: การผลิตรถยนตของประเทศผูผลิตหลักในเอเชียป 2548 – 2550 3-4
รูปท่ี 3.3: การผลิตรถยนตของประเทศผูผลิตหลักในยุโรปป 2548 – 2550 3-5
รูปท่ี 3.4: อัตราการเปลี่ยนแปลงการผลิตรถยนตของประเทศตางๆ ในอเมริกา 3-6
รูปที่ 3.5: สัดสวนการผลิตรถยนต ั่งของโลกในป 2550 3-9
รูปที่ 3.6: การผลิตรถยนตเพื่อการพาณิชยขนาดเล็กของโลกป 2550 3-10
รูปที่ 3.7: สัดสวนการผลิตรถบรรทุกขนาดใหญของโลกป 2550 3-11
รูปท่ี 3.8: สดสวนการผลิตรถโดยสารของโลกป 2550 3-12
รูปที่ 3.9: อตราการเปล่ียนแปลงยอดจําหนา ยรถยนตในป 2549 เทียบกบป 2548 3-14
รูปที่ 3.10: แสดงอตราสวนการผลิตรถจักรยานยนตของทวปตางๆ ในป 2549 3-28
รูปที่ 3.11: แสดงการผลิตรถยนตทุกประเภทของผูผลิตในอาเซียนป 2548 – 2550 3-37
รูปที่ 3.12: การผลิตรถยนตน่งของผผู ลิตในอาเซียนป 2548 – 2550 3-38
รูปท่ี 3.13: การผลิตรถเพื่อการพาณิชยขนาดเล็กในอาเซียนป 2548 – 2550 3-39
รูปที่ 3.14: การผลิตรถบรรทุกหนักในอาเซียนป 2548 – 2550 3-40
รูปท่ี 3.15: การผลิตรถโดยสารในอาเซียนป 2548 - 2550 3-41
รูปที่ 4.1: โครงสรางการผลิตของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ สวนย านยนต 4-4
รูปที่ 4.2: ปริมาณการผลิตรถยนตของไทยจําแนกตามประเภทป 2546 - 2550 4-6
รูปที่ 4.3: ปริมาณการจําหนายรถยนตภายในประเทศไทยจําแนกตามประเภทป 2546 - 2550 4-7
รูปที่ 4.4: สวนแบงทางการตลาดของการจําหนายรถยนตรวมทุกประเภทป 2548 - 2550 4-9
รูปที่ 4.5: มูลคาการสงออกรถยนตป 2546 - 2550. 4-11
รูปท่ี 4.6: มูลคาการนําเขารถยนตป 2546 - 2550. 4-12
รูปที่ 4.7: การผลิตรถจักรยานยนตของประเทศไทยระหวางป 2546 - 2550 4-14
ix
รูปที่ 4.8: การจําหนายรถจักรยานยนตของไทยระหวางป 2546 - 2550 4-15
รูปที่ 4.9: สวนแบงการตลาดรถจักรยานยนต ําแนกตามยี่หอระหว างป 2548 - 2550 4-16
รูปที่ 4.10: มูลคาการสงออกและนําเขารถจักรยานยนตของไทยระหวางป 2546 - 2550 4-18
รูปที่ 4.11: การสงออกชิน้ สวนรถยนตของไทยระหวางป 2546 - 2549 4-23
รูปที่ 4.12: การสงออกชิ้นสวนรถจักรยานยนตของไทยระหวางป 2546 - 2550 4-23
รูปที่ 4.13: การนําเขาชิ้นสวนยานยนตของไทยระหวางป 2546 - 2550 4-28
รูปที่ 4.14: มูลคาการนําเขาชิ้นสวนยานยนตไทยที่สําคัญจําแนกตามประเภทสินคา
ป 2547 - 2550 4-29
รูปท่ี 4.15: อัตราการเติบโตของผลิตภณฑมวลรวมในประเทศป 2543 - 2549 4-33
รูปที่ 4.16: ปริมาณรถยนตและรถจักรยานยนตในประเทศเวียดนามป 2533 - 2549 4-35
รูปที่ 4.17: ปริมาณการผลิตของบริษัทผูผลิตรถยนตเวียดนามป 2541 - 2549 4-41
รูปที่ 4.18: ปริมาณการผลิตรถยนตของบริษัทผูผลิตรถยนตในเวียดนาม 4-42
รูปที่ 4.19: ปจจัยที่มีอิทธิพลตอราคารถยนตในเวียดนาม 4-43
รูปที่ 4.20: ยอดจําหนายรถยนตของสมาชิกสมาคมผูผลิตรถยนตเวียดนาม
ในชวงป 2543 - 2550 4-45
รูปที่ 4.21: สวนแบงตลาดรถยนตทุกประเภท จําแนกตามบริษทผผู ลิตในป 2549 4-46
รูปที่ 4.22: โครงสรางการจําหนายรถยนตของเวียดนามจําแนกตามประเภทรถยนต
ในป 2543 - 2549 4-47
รูปท่ี 4.23: เปรียบเทียบปริมาณรถยนตที่ผลิตในประเทศกบปริมาณรถยนตสําเร็จรูปนําเขา 4-48
รูปท่ี 5.1: ผลการวิเคราะหคา RCA สําหรับการสงออกสินค ของไทยทั้ง 5 รายการ 5-6
รูปที่ 5.2: ผลการวิเคราะหคา RCA สําหรบั การสงออกสินคาของเวียดนามทง้ั 5 รายการ 5-7
รูปที่ 5.3: การเปรียบเทียบอัตราการขยายตัวของการนําเขาสินคาใน
กลุมอุตสาหกรรมยานยนตป 2549 5-13
รูปที่ 5.4: การเปรียบเทียบสวนแบงตลาดของสินคาในกลุมอุตสาหกรรมยานยนต
ของไทยและเวียดนามป 2549 5-13
รูปที่ 5.5: สวนแบงการตลาดการนําเขาสินคาอุตสาหกรรมยานยนตของไทยและเวียดนาม ในตลาดโลกป 2549 5-14
x
รูปที่ 5.6: การวิเคราะหความสามารถในการแขงขันของสินคาอตสาุ หกรรมยานยนต
ของไทยในตลาดโลกป 2549. 5-16
รูปที่ 5.7: Commodity Effect และ Competitiveness Effect ของสินคา
อุตสาหกรรมยานยนตเวียดนามในตลาดโลกป 2549 5-17
รูปท่ี 5.8: การเปรียบเทียบปจจัยท่ีมีผลตอศักยภาพในการสงออกของไทยและเวียดนาม 5-18
รูปที่ 5.9: แบบจําลองเพชรพลวตรของ Michael E. Porter 5-37
รูปที่ 5.10: แบบจําลองเพชรพลวตของอุตสาหกรรมรถยนตของไทย 5-41
รูปที่ 5.11: แบบจําลองเพชรพลวตของอุตสาหกรรมรถยนตของเวียดนาม 5-42
รูปที่ 5.12: แบบจําลองเพชรพลวตของอุตสาหกรรมรถจักรยานยนตของไทย 5-46
รูปที่ 5.13 แบบจําลองเพชรพลวตของอุตสาหกรรมรถจักรยานยนตของเวียดนาม 5-47
รูปที่ 5.14: แบบจําลองเพชรพลวตของอุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนตของไทย 5-50
รูปที่ 5.15: แบบจําลองเพชรพลวตของอุตสาหกรรมชิ สวนยานยนตของเวียดนาม 5-51
xi
บทที่ 1
บทนํา
1.1 ความเปนมาและความสําคัญของโครงการ
การพัฒนาอยางรวดเร็วของประเทศเวียดนามท่ีมีอัตราการเจริญเติบโตของ GDP ชวงป พ.ศ.2535-2539 เฉล่ียเทากับรอยละ 24 (General Statistics Office of Vietnam, 2000) และเพิ่มขึ้น อยางตอเนื่องจากรอยละ 7.3 ในป 2546 เปนรอยละ 8.5 ในป 2550 (Asian Development Bank (ADB),
2008) ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศไทยท่ีมีอัตราการเจริญเติบโตของ GDP สูงท่ีสุดในป 2537 อยูที่ อัตรารอยละ 12.3 กอนเกิดวิกฤติการณทางเศรษฐกิจ จนกระท่ังในป 2548 อัตราการเติบโตของ GDP ของประเทศไทยไดลดลงเรื่อยมาและอยูท่ีระดับรอยละ 4.5 ในป 2550 (สํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2550) นั้น จากขอมูลดังกลาวจะเห็นไดวา ในขณะที่อัตราการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศเวียดนามมีการเปลี่ยนแปลงเพ่ิมสูงข้ึนตามลําดับ แตอัตราการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกลับเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลงน้ัน สงผลใหมุมมองของประเทศ ไทยตอประเทศเวียดนามอาจตองเปลี่ยนไป จากประเทศท่ีไทยมองวาเปนเพ่ือนบานธรรมดามาเปน ประเทศคูคาหรืออาจเปนคูแขงของประเทศไทยในบางสินคาในอนาคต เพราะนอกจากอัตราการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศเวียดนามมีแนวโนมที่สูงขึ้นเรื่อยๆ แลว จากการที่มี ทรัพยากรธรรมชาติที่คลายกันและมีอาหารเปนผลิตภัณฑสงออกหลักในหมวดเกษตรกรรม และส่ิงทอ เปนผลิตภัณฑสงออกอันดับตนๆ ในหมวดอุตสาหกรรมเชนเดียวกัน ทําใหประเทศเวียดนามจัดเปน คูแขงที่สําคัญตอภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย แมวาเมื่อเปรียบเทียบศักยภาพในการแขงขันใน ปจจุบัน สินคาอุตสาหกรรมของประเทศไทยมีความไดเปรียบเวียดนามในดานเทคโนโลยีการผลิต คุณภาพของสินคา และแรงงานท่ีมีฝมือ ซ่ึงหากพิจารณาถึงอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของ ประเทศเวียดนามแลวพบวา ความสามารถในการพัฒนาเทคโนโลยีและคุณภาพสินคาเวียดนามให
ทัดเทียมประเทศไทยอาจใชเวลาไมนาน เนื่องจากเวียดนามมีปจจัยในการดึงดูดการลงทุนของบริษัทขาม
ชาติในเรื่องของตนทุนแรงงานที่ต่ํากวาประเทศไทย ซึ่งเทคโนโลยีและการพัฒนาคุณภาพสินคาจะถูก
ถายทอดใหเวียดนามหลังจากมีบริษ
ตางประเทศเข
ไปตั้งฐานการผลิต
ในกลุมสินคาอุตสาหกรรมท่ีสําคัญของประเทศไทยท่ีสามารถพิเคราะหไดวาการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจของเวียดนามแบบกาวกระโดดอาจสงผลใหประเทศเวียดนามกลายเปนคูแขงทางการคาที่ สําคัญกับประเทศไทยไดแกอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวน ซ่ึงสินคาในกลุมอุตสาหกรรมนี้เปนสินคา สงออกที่มีมูลคาการสงออกสูงเปนอันดับสองของประเทศไทย โดยมีมูลคาการสงออกท้ังส้ิน 363,019
ล นบาท ในป 2549 หรือคิดเปนรอยละ 7.4 ของสินคาสงออกทั้งหมด และแมวาในปจจุบันประเทศไทย
จะเปนฐานการผลิตหลักในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต และเปนตลาดยานยนตและผูประกอบยาน ยนตที่ใหญที่สุดในเอเซีย โดยมีบริษัทท่ีเปนผูนําในการผลิตรถยนต ไดแก โตโยตา ฮอนดา BMW เจเนอรัล มอเตอร ฟอรด วอลโว เปอรโย เมอรซิเดส เบนซ และอื่นๆ ตางก็เขามาตั้งโรงงานประกอบ รถยนตในเมืองไทย รวมทั้งประเทศไทยมีตลาดรถขนสงหรือปคอัพใหญเปนอันดับสองในโลกรองจาก ประเทศอเมริกาก็ตาม แตตลาดการบริโภครถยนตและรถจักรยานยนตท่ีมีขนาดใหญของประเทศ เวียดนามและความไดเปรียบในเร่ืองของตนทุนแรงงานท่ีต่ําอาจเปนปจจัยสําคัญที่สงผลใหประเทศ เวียดนามเปนจุดสนใจในการดึงดูดการลงทุนระหวางประเทศเชนเดียวกับประเทศไทยในอนาคต
เพ่ือใหภาคอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศไทยมีศักยภาพในการแขงขันในระดบโลก สามารถ ดําเนินการดานเศรษฐกิจและการคาในเชิงรุก ตลอดจนมีความเหนือชั้นในการเปนคูคาและคูแขงดาน
สินคายานยนต โครงการการศึกษาเชิงเปรยบเทียบศักยภาพทางเศรษฐกิจและการคาของประเทศ
ไทยและเวียดนาม : อุตสาหกรรมยานยนต จึงเกิดขึ้น ภายใตการสนับสนุนงบประมาณในการศึกษา โครงการโดย ฝายนโยบายชาติและความสัมพันธขามชาติ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย โดย มอบหมายให สถาบันวิจัยและพัฒนาเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย เปน ผูดําเนินการ ทั้งน้ี เพื่อศึกษาความเปนคูคาหรือคูแขงระหวางประเทศไทยและเวียดนาม รวมทั้งสงเสริม ใหประเทศไทยสามารถกําหนดกลยุทธในการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนตเพ่ือรักษาความไดเปรียบของ ไทยตอเวียดนาม และเสริมสรา งศักยภาพการแขงขันของผูประกอบการในเวทีการคาโลก
1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย
1) เพ่ือศึกษาโครงสร งอุตสาหกรรม ศักยภาพทางเศรษฐกิจ การคา และความเปนคูคาและ
คูแขงทางการคา ของอุตสาหกรรมยานยนตในเชงเปรียบเทียบระหวางประเทศเวียดนามกับประเทศไทย
2) เพื่อศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นตออุตสาหกรรมยานยนตของประเทศไทย ภายหลังจากที่ ประเทศเวียดนามเขาเปนสมาชิกของ WTO
3) เพ่ือประเมินขีดความสามารถ (RCA) และการวิเคราะหสวนแบงตลาด (CMS) และปจจัย ผลประโยชนเปรียบเทียบ (Dynamic Diamond Model) ของอุตสาหกรรมยานยนตไทยเปรียบเทียบกับ ประเทศเวียดนามในระยะยาว
4) เพ่ือศึกษาจุดออน จุดแข็ง โอกาส และขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรม ยานยนตไทยโดยเปรียบเทียบกับประเทศเวียดนาม
1-2 บทท่ี 1: บทนาํ
5) เพื่อเสนอแนะแนวทางการสรางหรือคงไวซึ่งความไดเปรียบของอุตสาหกรรมยานยนต ของไทย ในเวทีการคาระหวางประเทศและการแขงขันในตลาดโลก
1.3 แผนในการดําเนินโครงการ
โครงการการศึกษาเชิงเปรียบเทียบศักยภาพทางเศรษฐกิจและการคาของประเทศไทยและ เวียดนาม: อุตสาหกรรมยานยนต มีระยะเวลาในการศึกษาท้ังสิ้น 12 เดือน (1 พฤษภาคม 2550 - 30
เมษายน 2551) โดยมีแผนในการดําเนินโครงการในแตละกิจกรรมดังนี้
วัตถุประสงค | กิจกรรมหลกั | ชวงระยะเวลา ดําเนินการ |
1. เพื่อศึกษาขอมูลพ้ืนฐานดาน โครงสรางอุตสาหกรรม เศรษฐกิจ และการคา ระหวางประเทศและการ ลงทุน (ไทย-เวียดนาม) | 1.1 รวบรวมขอมูลทุติยภูมิจากเอกสารตางๆ และขอมูลจาก หนวยงานภาครัฐ/ภาคเอกชนที่เกี่ยวของ | เดือนที่ 1-2 |
1.2 เก็บขอมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณผูที่เก่ียวของกับ อุตสาหกรรมยานยนตของประเทศไทยและเวียดนาม | เดือนที่ 3-5 | |
2. เพื่อศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้น ตออุตสาหกรรมยานยนตของ ประเทศไทย ภายหลังจากท่ี ประเทศเวียดนามเขาเปนสมาชิก ของ WTO | 2.1 จัดประชุมระดมความคิดเห็นผูประกอบการอุตสาหกรรม ยานยนต และผูท่ีเก่ียวของดานการคาและการลงทุนระหวาง ประเทศ (รวมระยะเวลาเตรียมงาน) | เดือนท่ี 6 |
3. เ พื่ อ วิ เ ค ร าะ ห เ ชิ ง ลึ ก ด าน ศักยภาพ การคาระหวางประเทศ และการลงทุน ของอุตสาหกรรม ยานยนตของไทยเปรียบเทียบกับ ประเทศเวียดนามในระยะยาว | 3.1 นําขอมูลที่ไดจากขอ 1.1-1.3 มาวิเคราะหเชิงเปรียบเทียบ ดานโครงสรางอุตสาหกรรม การคาระหวางประเทศ และการ ลงทุน ระหวางประเทศไทยกับประเทศเวียดนาม โดยใชดัชนี ความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบท่ีปรากฏ (Revealed Comparative Advantage Index: RCA) การวิเคราะหสวนแบง ตลาดคงที่ (Constant market Share Analysis: CMS) และ โมเดลเพชรพลวัต (Dynamic Diamond Model) | เดือนท่ี 7-9 |
4. เ พื่ อศึกษาจุดออน จุดแ ข็ ง โอกาส และปจจัยภายนอกท่ีมีผล ต อศักยภาพการแขง ขั นของ อุตสาหกรรมยานยนตไทยโดย เปรียบเทียบกบประเทศเวียดนาม | 4.1 นําขอมูลที่ไดจากขอ 2.1 มาวิเคราะหเชิงเปรียบเทียบ อุตสาหกรรมยานยนตระหวางประเทศไทย-เวียดนามโดยใช SWOT Analysis | เดือนที่ 10 |
5. เ ส ริ ม ส ร าง ศั กยภา พ ข อง อุตสาหกรรมยานยนตของไทยใน การแขงขันกับตางประเทศ | 5.1 จดทําเอกสารเผยแพรผลการศึกษา | เดือนท่ี 11 |
5.2 จัดทํารายงานเสนอแนวทางการสรางความไดเปรียบ ทางการคาของอุตสาหกรรมยานยนตไทย | เดือนที่ 12 |
บทท่ี 1: บทนาํ 1-3
1.4 แนวทาง/ข ตอนการดําเนินงาน
1.4.1 การเก็บรวบรวมขอมูล
การเก็นรวบรวมขอมูล ไดแก การเก็บรวบรวมขอมูลพ้ืนฐานและสถานการณของ ประเทศเวียดนามและไทย ประกอบดวยขอมูลโครงสรางอุตสาหกรรมยานยนต ภาวะการผลิต การใช วัตถุดิบ การนําเขา - สงออก การลงทุน นโยบายและแผนการสงเสริมอุตสาหกรรมของรัฐ โครงสราง พื้นฐานท่ีสงเสริม/สนับสนุนอุตสาหกรรมฯ รสนิยมและการบริโภคสินคายานยนต เปนตน โดยการเก็บ ขอมูลจากบทความ/ บทวิเคราะหในวารสาร งานวิชาการ และขอมูลอิเล็กทรอนิกส รวมท้ังเอกสารที่ เกี่ยวของ
1.4.2 การสํารวจขอมูล
1) การออกแบบสอบถาม ด นโครงสรางอุตสาหกรรม การผลิต การตลาด การค
และการแขงขน ปญหาและอุปสรรค โดยมีกลุมเปาหมายเปนผูประกอบการอุตสาหกรรมยานยนต ทั้งท
เปนสมาชิกของสภาอุตสาหกรรมและไมใชสมาชิกของสภาอุตสาหกรรมจํานวนท ส
2) การสมภาษณ โดยมีรายละเอียดดังน้ี
200 ตวอยาง
ประเทศไทย โดยการสัมภาษณผูประกอบการอุตสาหกรรมยานยนต สถาบัน ยานยนต และผูที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมยานยนตของไทยในดานของนโยบายและแผนพัฒนา อุตสาหกรรมโครงสรางการผลิต สถานการณการตลาด และการคาระหวางประเทศ
ประเทศเวียดนาม โดยการเดินทางไปเก็บขอมูลและสํารวจดานโครงสราง พื้นฐานของอุตสากรรมยานยนต การคา/การลงทุน การใชวัตถุดิบ การลงทุนจากตางประเทศ ปจจัย สงเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรม และสัมภาษณผูที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมยานยนต ในดานการ วางแผน/นโยบาย และยุทธศาสตรการคาระหวางประเทศของประเทศเวียดนาม รวมทั้งสัมภาษณ ผูประกอบการในอุตสาหกรรมยานยนต และหนวยงานที่เกี่ยวของ
1.4.3 การจัดประชุมระดมความคิดเห็น
จัดประชุมระดมความคิดเห็นเรื่องการคาและการลงทุนในประเทศเวียดนามผูที่ เก่ียวของกับอุตสาหกรรมยานยนต และการเจรจาการคาระหวางประเทศ โดยเฉพาะการดําเนินการดาน ตางประเทศกับประเทศเวียดนาม ไดแก เจาหนาที่จากหนวยงานราชการ ผูประกอบการอุตสาหกรรม นักธุรกิจ และผูนําเขา/สงออกสินคา เพื่อนําขอมูลจากประสบการณที่เกิดข้ึนจริง ขอคิดเห็น ขอเสนอแนะ และขอเรียกรองตางๆ มาประกอบการวิเคราะหเชิงเปรียบเทียบดานศักยภาพในการแขงขันและการคาใน อุตสาหกรรมยานยนตและเคร่ืองนุงหม ระหวางประเทศไทยกับประเทศเวียดนาม โดยมีผูเขารวมประชุม ทั้งสิ้นจํานวน 50 คน
1-4 บทท่ี 1: บทนาํ
1.4.4 การวิเคราะห มูล
การวิเคราะห วามสามารถในการแขงขนของอุตสาหกรรมยานยนตไ ทยเปรียบเทยบี
กบเวียดนามประกอบดวยการวิเคราะห 2 ลักษณะ ไดแก
1) การวิเคราะหเชิงพรรณนา (Descriptive Method) เปนการศึกษาสภาพความ เปนมาและพัฒนาการของอุตสาหกรรม โครงการและการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของอุตสาหกรรม การ ผลิต การตลาด การนําเขา-สงออก การคาและการลงทุน ปจจัยพื้นฐาน แผน/นโยบายของภาครัฐตอ อุตสาหกรรม ปญหาและอุปสรรค การเจริญเติบโตและแนวโนม มาตรการการคาระหวางประเทศ ปจจัย ภายนอกที่มีผลกระทบ และการปรบตวของอุตสาหกรรมตอการแขงขนในภาวะปจจุบนั
2) การวิเคราะหเชิงปริมาณ (Quantitative Method) โดยแบงการวิเคราะหออกเปน
2 สวนได ก
▪ การวิเคราะหขีดความสามารถในการแขงขันในเชิงเปรียบเทียบระหวาง
ประเทศไทยและประเทศเวียดนาม โดยใชดัชนีความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบที่ปรากฏ (Revealed Comparative Advantage Index: RCA) ซ่ึงจะแสดงใหเห็นความไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบที่ปรากฏของ อุตสาหกรรม การวิเคราะหสวนแบงตลาดคงที่ (Constant Market Share Model: CMS) เพ่ือใชพิจารณา ที่มาของการเจริญเติบโตของการสงออกและทราบถึงปจจัยท่ีมีผลทําใหตลาดตางๆ นําเขาสินคายานยนต ของท้ัง 2 ประเทศเพิ่มข้ึน และโมเดลเพชรพลวัต (Dynamic Diamond Model) เพื่อจัดอันดับความ
ไดเปรียบทางการแขงขันของอุตสาหกรรมยานยนตของท สองประเทศ (ไทยและเวียดนาม) ในตลาดโลก
▪ การวิเคราะหจุดออน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค/ปจจัยภายนอก (SWOT Analysis) ที่มีผลตอศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนตท้ังของประเทศไทยและเวียดนาม โดย การนําผลการวิเคราะหทั้ง 3 วิธีในขอแรกมาประเมินจุดแข็งและจุดออน ทรัพยากรภายในของ อุตสาหกรรม อันประกอบดวยทรพยากรมนุษย (แรงงาน) สินคาและการบริการ การดําเนินงาน การผลิต การเงิน การบริหารและการจัดการ การวางแผน เทคโนโลยี เครื่องจักร และการวิเคราะหสิ่งแวดลอม ภายนอก เชน ตลาด คูแขงขันทางการคา ผูสนับสนุนวัตถุดิบ หวงโซอุปทาน (supply chain) สินคาและ การบริการ อะไหลทดแทน กฎหมาย เศรษฐกิจ เพื่อคนหาความแตกตางของจุดแข็งและจุดออนระหวาง อุตสาหกรรมยานยนตของไทยกับคูแขงขันทางการคา ซึ่งในการศึกษานี้ไดแกประเทศเวียดนาม ประกอบ สิ่งแวดลอมภายนอกที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ เพื่อวางกลยุทธของอุตสาหกรรมยานยนตที่เหมาะสม สําหรับประเทศไทยเพื่อความไดเปรียบทางการคา
บทท่ี 1: บทนาํ 1-5
1.4.5 การจัดทํารายงาน
รายงานภายใตโ ครงการการศึกษาเชิงเปรยบเทียบศ
ยภาพทางเศรษฐกิจและการค
ของประเทศไทยและเวียดนาม : อุตสาหกรรมยานยนตและเครื่องนุงหม มีท สิ้น 3 ฉบับ ประกอบดวย
1) รายงานความกาวหนาในการดําเนินโครงการ (Progress Report) ประกอบดวย ขอมูลเชิงเปรียบเทียบอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศไทยและเวียดนาม ไดแก โครงสราง อุตสาหกรรม การผลิตและความกาวหนาทางเทคโนโลยี การคาและการลงทุน ปญหาและอุปสรรคของ อุตสาหกรรม สถานการณการคาในตลาดโลก ความกาวหนาในการดําเนินงานเมื่อเปรียบเทียบกับ แผนงาน รายละเอียดของงาน/กิจกรรมที่ไดดําเนินมาแลว และแผนการดําเนินงานข้ันตอไป สงภายใน 120 วันนบตังแตลงนามในสัญญา
2) รางรายงานฉบับสมบูรณ (Draft Final Report) ประกอบดวยการวิเคราะหขอมูล เชิงสังเคราะหทางนโยบายเศรษฐกิจ โครงสรางการเมือง และการทําการคาระหวางประเทศ ที่มี ผลกระทบตออุตสาหกรรมยานยนต ทั้งของประเทศไทยและเวียดนาม การวิเคราะหเชิงเปรียบเทียบ อุตสาหกรรมยานยนตระหวางไทยกับเวียดนาม ทางดานโครงสรางอุตสาหกรรม การผลิต การคา และ การลงทุน โดยใชวิธีการวิเคราะหเชิงพรรณนาและเชิงปริมาณ จํานวน 10 เลม สงภายใน 270 วัน นับต้งแตลงนามในสญญา
3) รายงานฉบับสมบูรณ (Final Report) ประกอบดวยบทสังเคราะห การเสนอแนะ แนวทางสรางความไดเปรียบทางการคาของอุตสาหกรรมยานยนตไทยรายงานจํานวน 10 เลม พรอม บทคัดยอ สงภายใน 360 วันนับตั้งแตลงนามในสัญญา
1.5 ผลที่คาดวาจะไดรับ
1) ขอมูลของอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศไทยและประเทศเวียดนาม ไดแก
• พื้นฐานและขอมูลเชิงลึกของอุตสาหกรรมยานยนต
• ขอมูลเชิงลึกดานเศรษฐกิจ การผลิต การคา และการลงทุน ที่เกี่ยวของกับ อุตสาหกรรมยานยนต
• ขอมูลแผนและนโยบายดานการคาและการลงทุนระหวางประเทศของอุตสาหกรรม ยานยนตจากหนวยงานภาครฐและหนวยงานที่เกี่ยวของ
• ขอมูลดานประสบการณการคาและการลงทุนในอุตสาหกรรมยานยนต ทิศทางและ แผนการดําเนินงานการคาระหวางประเทศไทยและเวียดนาม รวมทั้งขอคิดเห็นและเสนอแนะจาก ผูประกอบการ
1-6 บทท่ี 1: บทนาํ
2) ทราบศ ยภาพขีดความสามารถในการแขงขัน จดออนุ จุดแข็ง รวมทั้งปญหาและอปุ สรรค
ทางดานการคาและการลงทุนเปรียบเทียบระหวางประเทศไทยและประเทศเวียดนาม
3) อุตสาหกรรมยานยนตของประเทศไทยสามารถแขงขันไดในเวทีการคาโลก
บทท่ี 1: บทนาํ 1-7
บรรณานุกรม
สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ.(2550). Economic Outlook. สืบคนเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2550, จาก http://www.nesdb.go.th/Portals/0/eco_datas/economic/ecostate/150/ Press%20ThaiV1.pdf.
Asian Development Bank. (2008). Asian Development Bank & Viet Nam 2008: A Fact Sheet.
Retrived on May 26, 2008, from www.adb.org/Documents/Fact_Sheets/VIE.pdf.
General Statistics Office of Vietnam. (2000). Growth rate of gross domestic product of some countries and territories. Retrived on October 1, 2007, from http://www.gso.gov.vn/ default _en.aspx?tabid=475&idmid=3&ItemID=6377.
1-8 บทท่ี 1: บทนาํ
บทที่ 2
ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
2.1 ประเทศไทย
2.1.1 ขอ มูลดานสังคม
1) การเมืองการปกครอง
ประเทศไทยมีการปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยซึ่งยึดหลักการความเสมอภาค เสรีภาพ หลักเสียงขางมาก โดยมีพระมหากษัตริยเปนประมุขสูงสุดและอยูใตรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย รัฐธรรมนูญถือเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ โดยมีหลักการสําคัญคือ
(1) อํานาจอธิปไตยหรืออํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศไทยเปนของปวงชนชาวไทย (2) ประชาชนใช
อํานาจอธิปไตยผานทางสถาบันรัฐสภา คณะรฐมนตรี และศาล (3) มีหลักประกันและคุมครองสทธิ ิ เสรภาพี
และความเสมอภาคของประชาชน และ (4) ประชาชนเลือกตั้งตัวแทนของตนเพื่อใหอํานาจปกครอง
ประเทศ ได
ก สภานิติบัญญัติและคณะรัฐมนตรี
รัฐธรรมนูญไทยไดแบงอํานาจอธิปไตยของประเทศออกเปน 3 สวน และเปนอิสระตอกัน
คือ อํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร และตุลาการ นอกจากนี้ ยังมีสวนราชการอิสระตางๆ ภายใต รัฐธรรมนูญซ่ึงคอยตรวจสอบถวงดุลอํานาจทั้งสาม ไดแก สํานักงานคณะกรรมการปองกันและ ปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (ปปช.) สํานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) สํานักงานสิทธิ มนุษยชนแหงชาติ ศาลรัฐธรรมนูญ เปนตน การบริหารราชการของไทยในปจจุบันอยูภายใต พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 และแกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2545)
โดยแบงออกเปน 3 สวน คือ (1) การบริหารราชการสวนกลาง (2) การบริหารราชการสวนภูมิภาค และ
(3) การบริหารราชการสวนทองถิ่น
ระบบการเมืองของไทยที่ผานมามีท้ังระบบพรรคคูและระบบหลายพรรคซึ่งทําให ประชาชนมีทางเลือกมากข้ึน อยางไรก็ตาม จุดออนของระบบดังกลาวโดยเฉพาะระบบหลายพรรคมัก กระทบกับความเสถียรภาพทางการเมือง การทํารัฐประหารในวันที่ 19 กันยายน 2549 ไดสงผลกระทบ
ตอความม่ันคงทางการเมืองของประเทศไทยอยางมาก รวมทั้งสงผลกระทบตอความเช่ือมั่นในการ ตัดสินใจของการประกอบธุรกิจของนักลงทุนทั้งในประเทศและตางประเทศโดยเฉพาะอยางย่ิงการลงทุน ที่มีขนาดใหญ ดังจะเห็นไดจากผลการศึกษาของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ซ่ึงจัดทํา
โดยท่ีปรึกษาของสําน งานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ประจาํ ประเทศออสเตรเลีย ที่ไดทํา
การสํารวจความคิดเห็นตอการลงทุนในประเทศไทยของนักลงทุนชาวออสเตรเลียท้ังที่อยูในประเทศไทย และออสเตรเลียโดยเปรียบเทียบกับประเทศจีน เวียดนาม และอินเดีย ทําการสํารวจระหวางเดือน พฤศจิกายน 2549 - เมษายน 2550 ผลการศึกษาพบวาประเทศไทยถูกจัดอันดับไวทายสุดสําหรับ ประเทศท่ีนาลงทุน โดยประเทศท่ีนาลงทุนอันดับหน่ึง ไดแก จีน รองลงมา ไดแก เวียดนาม และอินเดีย ตามลําดับ ทั้งนี้นักลงทุนของออสเตรเลียเห็นวาจุดออนที่สําคัญของประเทศไทยคือเสถียรภาพทาง การเมือง โดยนักลงทุนมองการเปล่ียนแปลงทางการเมืองเมื่อวันท่ี 19 กันยายน 2549 ท่ีผานมาวามี ความขัดตอหลักประชาธิปไตย ขณะที่ปญหาความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใตก็มีผลกระทบตอ
ความรู
ึกของนักลงทุนอยางมากเชนกัน เน่ืองจากน
ลงทุนร
ึกวาประเทศไทยไมปลอดภัยขณะที่รัฐบาล
ไทยไมสามารถควบคุมสถานการณท่ีเกิดขึ้นได
2) ขนาดประชากร
ขนาดและการเปลี่ยนแปลงของประชากรถือเปนเงื่อนไขสําคัญที่จะสงผลตอ กระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เม่ือพิจารณาขนาดประชากรของไทยในปจจุบันที่ รวบรวมโดยกรมการปกครอง (ขอมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม ป 2550) พบวา ไทยมีจํานวนประชากรทั้งสิน้ 63 ลานคน โดยประชากรวัยเด็ก (0 -14 ป) รอยละ 21 จํานวนประชากรวัยแรงงาน (15 - 59 ป) รอยละ
68.1 และประชากรสูงอายุ (60 ปขึ้นไป) รอยละ 10.9 (ตารางที่ 2.1) ซึ่งขอมูลโครงสรางประชากร ดังกลาวแสดงใหเห็นวาปจจุบันประชากรไทยสวนใหญอยูในวัยแรงงาน อยางไรก็ตาม การคาดการณ โครงสรางและแนวโนมของประชากรของไทยโดยสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ (สศช.) พบวา ผลสําเร็จของนโยบายวางแผนประชากรในชวง 30 กวาปที่ผานมาทําใหอัตรา เจริญพันธุลดลงจึงสงผลใหจํานวนประชากรเพิ่มขึ้นในอัตราท่ีชาลง ขณะท่ีประชากรไทยมีอายุยืนยาว มากขึ้นเนื่องจากผลสําเร็จของการพัฒนาทางดานสาธารณสุขที่สามารถลดการตายของมารดาและทารก การสงเสริมสุขภาพและการรักษาพยาบาลที่เอื้อตอการมีสุขภาพที่ดีขึ้น ทําใหโครงสรางประชากรไทยใน ปจจุบันแตกตางไปจากในอดีตคอนขางมาก กลาวคือ (1) ประชากรวัยเด็กมีสัดสวนลดลงอยางรวดเร็ว
(2) ประชากรวัยแรงงานมีสัดสวนที่สูงอยูจนถึงป 2553 หลังจากนั้นจํานวนประชากรจะลดลงอยาง ตอเนื่องในชวงระยะเวลา 20 ปขางหนา (3) ประชากรวัยสูงอายุ มีสัดสวนสูงขึ้นอยางตอเนื่องจากรอยละ
9.5 ในป 2543 และคาดวาจะเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 13.8 ในป 2558 (ตารางที่ 2.2)
การเปล่ียนแปลงโครงสรางประชากรขางตนจะเห็นไดวาแมปจจุบันประเทศไทยจะมี ประชากรวัยแรงงานในการเปนกําลังสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจอยูเปนจํานวนมาก แตในอนาคต อันใกลโครงสรางประชากรไทยจะเริ่มเขาสูสังคมผูสูงอายุอันจะสงผลกระทบตอแนวโนมการพัฒนา เศรษฐกิจที่จะลดนอยถอยลงหากไมมีการกําหนดแนวทางการพัฒนาที่ดี เน่ืองจากคนวัยแรงงานมี
2-2 บทที่ 2: ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
สัดสวนลดลงทําให
ําล
การผลิตของประเทศลดลงดวย ขณะที่อัตราพึ่งพิงจะสูงขึ้นเน่ืองจากประชากรวัย
แรงงานตองรบภาระเพิมขึ้นในการดูแลผ ูงอายุซ่ึงมีสดสวนสูงข
ตารางท่ี 2.1: โครงสร งประชากรของไทยในปจจุบัน
อายุ | จํานวน (คน) | รอยละ |
0-14 ป | 12,924,777 | 21.0 |
15-59 ป | 41,910,182 | 68.1 |
60 ปขึนไป | 6,705,061 | 10.9 |
หมายเหตุ: เปนขอมูลประชากร ณ วนท่ี 31 ธันวาคม ป 2550
ท่ีมา : กรมการปกครอง, 2551
ตารางที่ 2.2 : ประมาณการประชากรจําแนกตามกลุมอายุทั่วราชอาณาจักรไทย
ป | ประชากร | 0 - 14 ป | รอยละ | 15 - 59 ป | รอยละ | 60+ | รอยละ |
2523 | 46,718 | 18,693 | 40.01 | 25,498 | 54.58 | 2,527 | 5.41 |
2533 | 55,839 | 17,062 | 30.56 | 34,743 | 62.22 | 4,034 | 7.22 |
2543 | 62,236 | 15,344 | 24.65 | 41,025 | 65.92 | 5,867 | 9.43 |
2553 | 67,041 | 14,245 | 21.25 | 44,954 | 67.05 | 7,842 | 11.70 |
2558 | 69,060 | 13,920 | 20.16 | 45,581 | 66.00 | 9,559 | 13.84 |
หมายเหตุ : เปนการประมาณการภายใตขอสมมติภาวะเจริญพันธุระดับปานกลาง ที่มา : สํานกงานคณะกรรมการพฒนาการเศรษฐกิจและสงคมแหงชาติ, 2546
3) การศึกษา
การศึกษาของประชากรถือเปนปจจัยสําคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ
ประเทศ เนื่องจากความก วหนาทางเทคโนโลยีและวิทยาการตางๆ ลวนเกิดขึ้นจากความรูความสามารถ
ของประชากร สําหรบประเทศไทยรฐบาลก็ไดเห็นความสําคัญของการพัฒนาดานการศึกษามาโดยตลอด โดยปจจุบันก็ไดเรงทําการปฏิรูประบบการศึกษาเพ่ือพัฒนาแรงงานไทยที่กําลังจะเขาสูตลาดแรงงานใหมี
ความรูความสามารถสูงข และมศี ักยภาพเพียงพอท่ีจะใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย
สําหรับสถานการณความรูความสามารถของคนไทย พบวาประชากรไทยที่มีอายุ 15 ป ขึนไปมีอัตราการอานออกเขียนได (Adult Literacy Rate) เปนรอยละ 99.76 (ตารางท่ี 2.3) สําหรับขอมูล ระดับการศึกษาตามโครงสรางกําลังแรงงาน (ตารางที่ 2.4) พบวาในป 2549 มีกําลังแรงงานท่ีจบ การศึกษาระดับประถมศึกษาหรือต่ํากวาคิดเปนรอยละ 59.9 ของกําลังแรงงานที่มีอยูทั้งหมด ระดับ มัธยมศึกษาตอนตนและมัธยมศึกษาตอนปลายอยูที่รอยละ 14.1 และ 8.8 ตามลําดับ สําหรับระดับ
บทที่ 2: ขอมูลพนื ฐานของประเทศไทยและเวียดนาม 2-3
อาชีวศึกษาและระดับอุดมศึกษามีกําลังแรงงานอยูรอยละ 3.2 และ 14 ตามลําดับ เม่ือพิจารณาขอมูล
ดังกลาวจะเห็นไดวาโครงสรางกําลงแรงงานสวนใหญไ ด การศึกษาในระดบประถมศึกษาหรือต่ํากวาซ่ึง
จัดเปนแรงงานไรฝมือ (Non-skilled Labor) อยางไรก็ตาม ผลจากการคาดการณระดับการศึกษาแรงงาน ไทยในอนาคตโดยสถาบนวิจยเพื่อการพฒนาประเทศไทยพบวามีแนวโนมไปในทิศทางที่ดีขึ้นในระยะยาว
ตารางท่ี 2.3: ตัวช้ีวัดและดชนีการพัฒนาทางการศึกษาของไทย
ดชั นีชี้วดั | รอยละ |
อัตราการอานออกเขียนได (อายุ15 ปขึ้นไป)* | 99.76 |
สดสวนเฉลี่ยของผเู ขาเรียนตอ** | |
- ประถมศึกษา | 88.0 |
- มัธยมศึกษา | 64.0 |
- มหาวิทยาลัย | N/A |
ดัชนีชี้วัดทางการศึกษา** | 0.85 |
คาใชจ ายทางการศึกษา *** | |
- ตอ GNP | 4.20 |
- ตอคาใชจายรฐบาล | 25.0 |
หมายเหตุ : * ขอมูล จปฐ. ป 2549 กรมการพัฒนาชุมชน
** เปนขอมูลป 2548
*** เปนคาเฉลี่ยระหวางป 2545 - 2548
ที่มา : Human Development Report 2007/2008, UNDP
ตารางท่ี 2.4: โครงสร งกําลังแรงงาน จาํ แนกตามระดับการศึกษาป 2538 - 2563
ระดับการศึกษา | 2538 | 2540 | 2542 | 2544 | 2546 | 2548 | 2549 | 2553 | 2563 |
ประถมศึกษาหรือต่ํากวา | 78.0 | 75.2 | 69.8 | 66.3 | 63.8 | 61.4 | 59.9 | 55.9 | 39.9 |
มัธยมศึกษาตอนตน | 8.9 | 10.1 | 12.0 | 12.7 | 13.7 | 13.8 | 14.1 | 14.7 | 14.6 |
มัธยมศึกษาตอนปลาย | 3.3 | 3.6 | 5.0 | 6.2 | 7.2 | 8.1 | 8.8 | 8.7 | 14.3 |
อาชีวศึกษา | 4.7 | 4.8 | 5.0 | 3.4 | 3.3 | 3.3 | 3.2 | 6.6 | 8.7 |
อุดมศึกษา | 5.1 | 6.2 | 8.2 | 11.3 | 11.9 | 13.4 | 14.0 | 14.1 | 22.5 |
รวม | 100.00 | 100.00 | 100.00 | 100.00 | 100.00 | 100.00 | 100.00 | 100.00 | 100.00 |
หมายเหตุ : * ตัวเลขอาชีวศึกษาในป 2538 - 2549 เปนผลรวมของผูจบอาชีวศึกษาและผ บฝก หัดคร
ที่มา : 1. ป 2538 - 2549 จากรายงานผลการสํารวจภาวะการมีงานทําของประชากรไทย, สํานักงานสถิติแหงชาติ
2. ป 2553 - 2563 จากรายงานผลการศึกษาแนวโนมเศรษฐกิจและสังคมไทย, สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา ประเทศไทย
2-4 บทที่ 2: ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
4) แรงงาน
ผลการสํารวจกําลังแรงงานโดยสํานักงานสถิติแหงชาติพบวาในป 2550 (ขอมูล ณ วันที่ 31 ธนวาคม 2550) ประเทศไทยมีผูท ่ีอยูในกําลงแรงงานจํานวน 36.78 ลานคน สําหรับภาวะการจางงาน ในป 2550 พบวา ภาคเกษตรกรรมมีการจางงานรอยละ 37 ของผูม ีงานทําท้งหมด สวนภาคอุตสาหกรรม มีอัตราการจางงานรอยละ 17.06 และภาคอื่นๆ อีกรอยละ 46 โดยแรงงานสวนใหญเปนแรงงานไรฝมือ (Non-skilled Labor) มากกวาแรงงานที่มีฝมือ (Skilled Labor) ซ่ึงประเทศไทยมีการขาดแคลนแรงงาน ทัง้ 2 ประเภท ซ่ึงสวนหน่ึงเปนผลมาจากการที่ไทยมีการสงออกแรงงานโดยเฉพาะแรงงานไรฝมือจํานวน มากไปยังตางประเทศ สําหรับผลิตภาพแรงงาน (Labor productivity)1 ของไทย พบวาในป 2549 แรงงานไทยมีผลิตภาพแรงงานเปน 13,915 เหรียญสหรัฐฯ ตอป (International Labor Organization: ILO, 2008)
ในดานอัตราคาจางข้ันตํ่าพ้ืนฐานของประเทศไทย พบวา อัตราคาแรงข้ันตํ่าท่ีมีการ บังคับใชต้ังแตวันที่ 1 มกราคม 2551 เปนอัตรา 144 บาทตอวัน โดยมีความแตกตางตามคาครองชีพใน
พื้นท่ีตางๆ แสดงดังตารางที่ 2.5
ตารางที่ 2.5: อัตราคาจางขน
ต่ําใหมที่มีการบังคับใชต
ังแต 1 มกราคม 2551
พนื ท่ี | คาจางขั้นตํ่า (บาทตอวัน) |
กรุงเทพมหานคร นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ และสมุทรสาคร | 194 |
ภูเก็ต | 193 |
ชลบุรี | 175 |
สระบุรี | 170 |
ฉะเชิงเทรา นครราชสีมา พระนครศรีอยุธยา และระยอง | 165 |
ระนอง | 163 |
พงงา | 162 |
กระบี่ และเพชรบุรี | 160 |
เชียงใหม | 159 |
จันทบุรี และลพบุรี | 158 |
กาญจนบุรี | 157 |
ราชบุรี และสิงหบุรี | 156 |
ปราจีนบุรี สมุทรสงคราม และสระแกว | 155 |
ตรัง เลย และอางทอง | 154 |
ประจวบคีรีขนธ ลําพูน และสงขลา | 152 |
1 ผลิตภาพแรงงานคือปริมาณผลงานเฉล่ียตอคนของลูกจางซึ่งเปนขอมูลบงชี้ถึงความสามารถในการผลิตตอคน
บทที่ 2: ขอมูลพนื ฐานของประเทศไทยและเวียดนาม 2-5
พื้นที่ | คาจางขน้ั ตํ่า (บาทตอวนั ) |
ขอนแกน ชุมพร ตราด นครนายก นครศรีธรรมราช นครสวรรค บุรีรัมย พัทลุง เพชรบูรณ สตูล สุราษฎรธานี หนองคาย อุดรธานี และอุทยธานี | 150 |
กําแพงเพชร ชยนาท ลําปาง สุโขทยั และ สุพรรณบุรี | 149 |
กาฬสินธุ นครพนม นราธิวาส ปตตานี พิษณุโลก มุกดาหาร ยะลา สกลนคร และหนองบัวลําภู | 148 |
ตาก มหาสารคาม แมฮองสอน ยโสธร รอยเอ็ด สุรินทร และอุตรดิตถ | 147 |
ชัยภูมิ เชียงราย พิจิตร แพร และศรีสะเกษ | 146 |
อํานาจเจริญ และอุบลราชธานี | 145 |
นาน และพะเยา | 144 |
ที่มา : กรมแรงงาน, 2551
2.1.2 ขอ มูลดานเศรษฐกิจ
1) ภาวะเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจไทยในป 2550 โดยรวมยังคงขยายตัวท่ีรอยละ 4.8 โดยมีแรงขับเคลื่อนสําคัญ มาจากภาคการสงออกซึ่งสอดคลองกับผลผลิตอุตสาหกรรมท่ีขยายตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะหมวดที่ผลิตเพื่อ การสงออก ขณะที่อุปสงคในประเทศชะลอตัวลงเมื่อเทียบกับป 2549 ทั้งการบริโภคและการลงทุนแตเริ่ม มีสัญญาณการฟนตัวในชวงครึ่งหลังของปเชนเดียวกับการนําเขาที่เรงตัวขึ้น ในดานเสถียรภาพทาง เศรษฐกิจโดยรวมอยูในเกณฑดีพิจารณาจากการมีดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลตอเนื่องและเงินสํารอง ระหวางประเทศท่ีอยูในระดับสูง ขณะที่อตราเงินเฟอโดยรวมในป 2550 ต่ํากวาปที่ผานมาแมวาอัตราเงิน
เฟอจะมีการขยายตัวขึ้นสูงในชวงไตรมาสท่ี 4 ของปอันเปนผลจากราคาน้ํามันที่เพิ่มข ก็ตาม
ในสวนของภาคเกษตรกรรม จํานวนผลผลิตและราคาพืชผลที่สําคัญในภาพรวมไดชะลอ ตัวลงทําใหรายไดเกษตรกรจากการขายพืชผลสําคัญขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงจากปกอนแตยังอยูใน เกณฑดี สําหรับการผลิตในภาคอุตสาหกรรมพบวามีการขยายตัวในระดับสูงโดยคาดัชนีผลผลิต อุตสาหกรรม (Manufacturing Production Index: MPI) มีการขยายตัวรอยละ 8.2 ซ่ึงสูงขึ้นจากปกอน ตามการผลิตในหมวดอิเล็กทรอนิกส หมวดเครื่องใชไฟฟา หมวดเครื่องหนัง และหมวดผลิตภัณฑเคมี ซึ่งเปนการผลิตเพื่อการสงออกเปนสําคัญ สวนอัตราการใชกําลังการผลิตในป 2550 อยูที่รอยละ 74.6
เพิ่มขึ้นจากปกอนซึ่งอยูที่รอยละ 73.9
ดานภาคบริการ พบวาการทองเที่ยวอยูในเกณฑดีโดยนักทองเที่ยวชาวตางประเทศมี จํานวน 14.5 ลานคน เพ่ิมขึ้นรอยละ 4.6 จากปกอน แมวาจะมีปจจยลบหลายประการ อาทิ เหตุระเบิดใน กรุงเทพฯ ในวันสงทายของป 2549 ปญหาหมอกควันในภาคเหนือตอนบน และเหตุระเบิด 7 จุดที่อําเภอ หาดใหญ จังหวัดสงขลา
2-6 บทที่ 2: ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
สําหรับอุปสงครวมภาคเอกชนพบวาการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนในป 2550 ได
ขยายตัวรอยละ 1.4 ชะลอลงจากรอยละ 3.2 เม่ือเทียบกับป 2549 ตามความเชื่อม่ันของผูบริโภค สอดคลองกับดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนที่ชะลอตัวลงเชนกัน อยางไรก็ดี การบริโภคของ ภาคเอกชนเริ่มมีสญญาณฟนตวขึ้นเปนลําดบในคร่ึงหลงของปโดยเฉพาะในไตรมาสที่ 4 จากสถานการณ ทางการเมืองคล่ีคลายและอัตราดอกเบี้ยท่ีทรงตัวในระดับต่ํา สําหรับการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวเพียง รอยละ 0.5 ชะลอลงจากรอยละ 3.7 ในป 2549 อันเปนผลมาจากการชะลอตัวทั้งในหมวดเครื่องจักรและ อุปกรณและหมวดกอสรางสอดคลองกับดัชนีความเช่ือมั่นทางธุรกิจที่ลดลงเม่ือเทียบกับปกอน อยางไรก็ดี ในชวงคร่ึงหลงของปการลงทุนในหมวดเครื่องจกั รและอุปกรณปรับตวั ดีขึ้นตอเน่ือง
สําหรับภาคการคลัง ในปงบประมาณ 2550 รัฐบาลดําเนินนโยบายขาดดุลหลังจากท่ีได ทํางบประมาณแบบสมดุลในปงบประมาณ 2548 และ 2549 โดยมีวงเงินรายจายประจําปงบประมาณ
2550 ท่ี 1,566.2 พันลานบาท รายไดสุทธิ 1,420 พันลานบาท และขาดดุลงบประมาณ 146.2 พันลาน
บาท (หรือขาดดุลรอยละ 1.7 ของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ) ทั้งนี้รัฐบาลมีรายไดนําสง 1,432.7 พันลานบาท เพิ่มขึ้นจากระยะเดียวกันปกอนรอยละ 6.9 สูงกวาเอกสารงบประมาณ สวนหนึ่งเปนเพราะ ไดรับรายไดพิเศษจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยนและมีรายจาย 1,575 พันลานบาท
เพิ่มขึ้นจากปงบประมาณกอนหนารอยละ 12.8 โดยมีอัตราเบิกจายทั้งปงบประมาณรอยละ 93.9 ซึ่งสูง
กวาอัตราเบิกจายรอยละ 93.4 ในปงบประมาณที่ผานมา และเปาหมายท่ีรอยละ 93 โดยเปนผลจาก
มาตรการเรงรัดการเบิกจายของรัฐบาลสงผลใหรัฐบาลขาดดุลเงินสด 94.2 พันลานบาท
ทางดานภาคการเงิน อัตราดอกเบี้ยระยะส้ันในตลาดเงินปรับลดลงตอเนื่องในชวงครึ่ง แรกของปตามการปรับลดอัตราดอกเบ้ียนโยบายของคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) รวม 5 ครั้ง กอนที่จะทรงตัวในชวงครึ่งหลงของปตามทิศทางของอตราดอกเบ้ียนโยบายโดยเฉลี่ยท้ังป อัตราดอกเบ้ีย ตลาดซ้ือคืนพันธนบัตรระยะ 1 วันและอัตราดอกเบ้ียระหวางธนาคารระยะ 1 วันอยูที่รอยละ 3.77 และ
3.79 ตอป ลดลงเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยป 2549 ที่รอยละ 4.64 และ 4.69 ตอป ตามลําดับ จากอัตรา
ดอกเบี้ยเงินฝากที่ต่ํากวาในปกอนทําใหผ ากเงินบางสวนเปลี่ยนไปลงทุนในตั๋วแลกเงินและพันธนบัตรท
มีอัตราดอกเบี้ยสูงกวา มีผลทําใหเงินฝากของสถาบันรับฝากเงินมีแนวโนมชะลอลงตอเนื่องตั้งแตตนป สําหรับสินเชื่อภาคเอกชนของสถาบันรับฝากเงินมีอัตราการขยายตัวคอนขางต่ําตั้งแตตนป 2550 จาก
การหดตัวของสินเชื่อที่ให กภาคธุรกิจโดยเฉพาะสินเชื่อเพ่ือการลงทุน เนองจ่ื ากการชะลอตัวของอุปสงค
ในประเทศและความไมเชื่อม่นของภาคธุรกิจ อยางไรก็ดี สินเช่ือที่ใหแกภาคธุรกิจเริ่มขยายตัวบางในชวง สิ้นป
บทที่ 2: ขอมูลพนื ฐานของประเทศไทยและเวียดนาม 2-7
สําหร
คาเงินบาทตอดอลลาร สรอ2 เฉล่ียท้ังปอยูท่ี 34.56 บาทตอดอลลาร สรอ. แข็งคา
ข้ึนเม่ือเทียบกับคาเฉลี่ย 37.93 บาทตอดอลลาร สรอ. ในป 2549 จากการออนคาของเงินดอลลาร สรอ. และการเกินดุลบัญชีเดินสะพัดอยางตอเนื่องเปนสําคัญ ท้ังน้ีคาเงินบาทตอดอลลาร สรอ.เฉลี่ยในเดือน ธันวาคมเทียบกับระยะเดียวกันปกอนแข็งคาข้ึนรอยละ 6.3 อยางไรก็ดี ดัชนีคาเงินบาท (Nominal Effective Exchange Rate: NEER) และดัชนีคาเงินบาทท่ีแทจริง (Real Effective Exchange Rate:
REER) แข็งคาข รอยละ 1.4 และ 1.3 ตามลําด
ในดานเสถียรภาพเศรษฐกิจพบวาท้ังป 2550 เศรษฐกิจมีเสถียรภาพโดยรวมอยูใน
เกณฑดีกลาวคือด นเสถียรภาพในประเทศ อตรั าเงินเฟอทั่วไป และอตราเงินเฟอพื้นฐานอยูท่ีรอยละ 2.3
และ 1.1 ตามลําดับ ลดลงจากป 2549 ท่ีรอยละ 4.7 และ 2.3 ตามลําดับ แมวาอัตราเงินทั่วไปจะเรงตัว
ขึ้นในชวงไตรมาสที่ 4 จากราคาน้ํามันที่ปรับสูงขึ้นก็ตามสวนอัตราการวางงานและหนี้สาธารณะอยูใน ระดับต่ําสําหรับเสถียรภาพดานตางประเทศอยูในเกณฑดีเชนกันโดยดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลตอเน่ือง
ขณะท่ีสดสวนเงินสํารองระหวางประเทศตอหนี้ตางประเทศระยะส
2) นโยบายเศรษฐกิจ
ยังคงอยูในระด
สูง
การดําเนินนโยบายเศรษฐกิจที่ผานมาเนนการรักษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจเปน หลักโดยชวงกอนป 2529 เปนชวงเวลาแหงการปรับตัวเพื่อแกไขปญหาความไมสมดุลทางเศรษฐกิจท่ี เกิดจากวิกฤตราคาน้ํามัน ความไรเสถียรภาพทางการคลัง วิกฤตสถาบันการเงิน และไดมีการเปลี่ยน นโยบายที่สําคัญมากคือมีการมุงเนนการสงออกมากย่ิงขึ้น แตการสงออกและการลงทุนของไทยไมไดรับ ผลดีมากนักเนื่องจากเงินเหรียญสหรัฐฯ แข็งคาในชวงป 2521 - 2529 จนกระทั่งเกิดขอตกลงพลาซา (The Plaza Accord) ในป 25283 มีความผันผวนดานนโยบายการเงินการคลังพอสมควรโดยเฉพาะการ ขาดดุลนโยบายการคลงั ที่สูงในชวงปลายทศวรรษ 1970 ตอเนืองมาถึงตน ทศวรรษ 1980
ป 2530 - 2539 ไทยไดผลประโยชนจากการปรับคาเงินสกุลโลกตามขอตกลงพลาซาทํา ใหคาเงินบาทออนลง การสงออกขยายตัวเร็ว การลงทุนทั้งในประเทศและจากนอกประเทศ เชน ญ่ีปุน
2 คํานิยาม ดอลลาร สรอ. คือ อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยของยอดคงคางหนีต้ างประเทศ หมายถึง คาเฉลี่ยอัตราแลกเปลี่ยน (บาท
ตอ 1 ดอลลาร สรอ.) ถวงนํ้าหนักดวยหน างประเทศที่ยังคงคางอยูแยกตามชวงเวลาการนําเงินตราตางประเทศที่ไดรบจากการกอหนเขา้ี
มาแลกเงินบาท หรือชวงเวลาที่เริ่มกอหนี้ (กรณีท่ีไมมีการนําเงินตราตางประเทศเขามาแลกเปนเงินบาท) คํานวณโดยใชอ ตราแลกเปล่ียน
เฉลี่ยรายเดือน (บาทตอ 1 ดอลลาร สรอ.) ของเดือนที่มีการนําเขาหนี้ เฉลี่ยถวงน้ําหนักดวยมูลคาหนคี งคางน และรวมเปนขอมลเฉลู่ ียราย
ปจากป 2536 ถึงปปจจุบัน (เดือนมกราคม - เดือนปจจุบนท่ีคํานวณ) โดยมีสูตรการคํานวณอัตราแลกเปลี่ยนเฉล่ียถวงน้าํ หนัก ดังน้ี
ยอดคงคางหน้ีตางประเทศเทียบเทาดอลลาร สรอ. รายเดือน * อัตราแลกเปลี่ยน (บาท : 1 USD) รายเดือน
ยอดรวมคงคางหนีตางประเทศเทียบเทาสกุลดอลลาร สรอ.
3 ขอตกลงพลาซา (The Plaza Accord) เกิดจากการประชุมรวมกันระหวางรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังของหาประเทศ ไดแก ฝรั่งเศส องกฤษ เยอรมันตะวันตก ญ่ีปุน และสหรัฐอเมริกา ณ โรงแรมพลาซา กรุงนิวยอรก ในวันที่ 22 กันยายน 2528 โดยไดบรรลุ ขอตกลงรวมกนในการแทรกแซงใหเงินดอลลารสหรัฐออนคาลงเพ่ือลดความไมสมดุลของการคาโลก
2-8 บทที่ 2: ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
เกาหลีใต ไตหวัน สูงข้ึน การสงออกและการลงทุนเพิ่มข้ึน ฐานะการคลังเขาสูเสถียรภาพ รัฐบาลได สงเสริมใหภาคเอกชนมีบทบาทมากข้ึน นโยบายการเงินเริ่มเปนแนวรุกโดยเฉพาะการเปดเสรีทางการ เงินและเร่ิมเกิดภาวะฟองสบูในตลาดอสังหาริมทรัพยและตลาดหลักทรัพย การลงทุนเกินตัว ความสามารถในการแขงขันเร่ิมลดลงในชวงทศวรรษ 1990 เนื่องจากคาจางแรงงานสูงขึ้นและการลงทุน ไรประสิทธิภาพ
ป 2540 - 2545 เศรษฐกิจหดตัวอยางรุนแรงในป 2540 - 2541 ภาระหนี้สินของ ภาคเอกชนสูงมาก นโยบายการคลังไดมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วจากการรัดเข็มขัดในชวงแรกเปน การกระตุนเศรษฐกิจในชวงหลัง นโยบายการเงินในระยะแรกเนนการรักษาเสถียรภาพของระบบสถาบัน การเงินเปนหลักซ่ึงในระยะตอมาจึงเร่ิมนโยบายกําหนดเปาหมายเงินเฟอ (inflation targeting)
ป 2546 - ปจจุบัน สภาพเศรษฐกิจของประเทศไดฟนตัวจากวิกฤตเศรษฐกิจเกือบเต็มตวั
ยกเว
สาขาการลงทุนท่
คงอยูในภาวะซบเซา การเมืองที่เคยมีเสถียรภาพในระยะแรกไดคอยๆ พัฒนา
เขาสูความขัดแย ทางความคิดและผลประโยชนจนเกิดการตอตานรัฐบาลและเกิดการปฏิรูปการปกครอง
ในที่สุด จะเห็นไดวาในชวงนี้การเมืองและเศรษฐกิจมีความผูกพันกันมากกวาในอดีต ดังนั้นเม่ือเร่ิมมี ปญหาทางการเมืองในป 2549 เศรษฐกิจจึงไดรับผลกระทบในวงกวาง ในขณะเดียวกันปจจัยภายนอกก็ เริ่มผันผวนตั้งแตปลายป 2549 ตอเนื่องถึงปจจุบัน และการรวมตัวของกลุมเศรษฐกิจและการ เปล่ียนแปลงในตลาดการเงินของโลกทําใหการเคล่ือนยายเงินทุนระหวางประเทศมีความคลองตัวมากขึ้น ประกอบกับการที่จีนและอินเดียเปนประเทศที่มีความสําคัญในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจโลก ประเทศไทย จึงจําเปนตองดําเนินนโยบายการคาในเชิงรุกมากขึ้น ทั้งการหาตลาดเพิ่มและการผลักดันใหผูผลิตใน ประเทศปรบตัวใหสามารถแขงขันได
3) นโยบายการคลัง
สถานการณเศรษฐกิจตั้งแตในชวงปลายป 2549 ไดสงสัญญาณการชะลอตัวทาง เศรษฐกิจจากปจจัยตางๆ โดยเฉพาะแนวโนมการขยายตัวของการใชจายภายในประเทศท้ังการบริโภค และการลงทุนของภาคเอกชนที่ลดลง ดังน้ันรัฐบาลจึงไดวางแผนการดําเนินนโยบายการคลังแบบ ขยายตัวเพ่ือขับเคลื่อนเศรษฐกิจ (Expansionary Fiscal Policy) โดยจัดทํางบประมาณขาดดุลจํานวน 146,200 ลานบาท หรือประมาณรอยละ -1.7 ของ GDP ในปงบประมาณ 2550 เพ่ือชวยสนับสนุนการ
ขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศในชวงที่การใช ายภาคเอกชนชะลอตัว
การจัดเก็บรายไดรัฐบาลประจําปงบประมาณ 2550 (ตุลาคม 2549 – กันยายน 2550) รัฐบาลสามารถจัดเก็บรายไดสุทธิ (หลังหักการจัดสรรใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น) 1,445,600 ลาน บาท หรือขยายตัวรอยละ 7.9 ตอป และสูงกวาประมาณการตามเอกสารงบประมาณ 1,420,000 ลาน บาท จํานวน 25,600 ลานบาท หรือรอยละ 1.8 ตอปโดยมีรายไดพิเศษจากการนําสงรายไดจากการยุบ กองทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยนจํานวน 36,951 ลานบาท และภาพรวมเศรษฐกิจที่ขยายตัวดีกวา คาดการณ โดยเฉพาะการจางงานท่ีขยายตัวอยูในเกณฑดี
บทที่ 2: ขอมูลพนื ฐานของประเทศไทยและเวียดนาม 2-9
รัฐบาลสามารถเบิกจายรายจายรัฐบาลประจําปงบประมาณ 2550 ไดทั้งส้ิน 1,470,839
ลานบาท โดยเปนการเบิกจายรายจายงบประมาณประจําป 2550 ในอัตราที่สูงเปนประวัติการณถึงรอยละ
93.9 ของกรอบงบประมาณ 1,566,200 ลานบาท และยังสามารถเรงเบิกจายงบประมาณจากปกอนอีก 104,127 ลานบาท ทําใหตลอดปงบประมาณ 2550 รัฐบาลสามารถเบิกจายงบประมาณรวมทั้งสิ้น 1,574,967 ลานบาท สูงข้ึนจากการเบิกจายในปงบประมาณกอนรอยละ 12.9 ตอป ดังน้ันหากพิจารณา ถึงการเบิกจายรายจายรัฐบาลที่ลาชาในชวง 4 เดือนแรกของปงบประมาณภายหลังจากมีการอนุมัติ งบประมาณ จะเห็นไดวารัฐบาลไดมีการดําเนินนโยบายเรงรัดการเบิกจายในชวง 8 เดือนหลังประสบ ผลสําเร็จดวยดี ซ่ึงแสดงถึงบทบาทของรัฐบาลที่พยายามเรงเบิกจายเพื่อกระตุนเศรษฐกิจในป 2550 ในชวงที่ภาคเอกชนยงฟนตวไมเต็มท่ี
ฐานะการคลังตลอดปงบประมาณ 2550 รัฐบาลขาดดุลเงินงบประมาณจํานวน 129,973
ลานบาท แตเมื่อรวมก ดลเงนนอิุ กงบประมาณที่ขาดดุลจาํ นวน 28,758 ลานบาท ซึ่งสวนหน่ึงเปนผลมา
จากการจายเงินเหล่ือมจายสุทธิ ทําใหดุลเงินสดกอนกูขาดดุลเปนจํานวนท้ังสิ้น 158,731 ลานบาท หรือ ขาดดุลประมาณรอยละ 1.9 ของ GDP เทียบกับปงบประมาณ 2549 ที่เกินดุลเงินสดกอนกูจํานวน
37,497 ล
นบาท หรือเกินดุลประมาณรอยละ 0.5 ของ GDP
4) การลงทุน
4.1) นโยบายการสงเสริมการลงทุน
คณะกรรมการสงเสริมการลงทุนไดกําหนดนโยบายสงเสริมการลงทุน ดงนี้
(1) เพ่ิมประสิทธิภาพและความคุมคาในการใชสิทธิและประโยชนภาษีอากร
โดยใหสิทธิและประโยชนแกโครงการที่มีผลประโยชนตอเศรษฐกิจอยางแทจริง และใชหลักการบริหาร และการจัดการองคกรที่ดี (Good Governance) ในการใหสิทธิและประโยชนดานภาษีอากร โดย กําหนดใหผูไดรับการสงเสริมตองรายงานผลการดําเนินงานของโครงการที่ไดรับการสงเสริมเพื่อให
สํานักงานไดตรวจสอบกอนใชส ธิและประโยชนดานภ าษีอากรในปน ๆ
(2) สนับสนุนใหอุตสาหกรรมพัฒนาระบบคุณภาพและมาตรฐานการผลิตเพื่อ
แขงขนในตลาดโลก โดยกําหนดให
ูไ ดร
การสงเสริมทุกรายที่มีโครงการลงทุนตั้งแต 10 ลานบาทขึ้นไป
(ไมรวมคาที่ดินและทุนหมุนเวียน) ตองดําเนินการใหไดรับใบรับรองระบบคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9000 หรือมาตรฐานสากลอื่นที่เทียบเทา
(3) ปรับมาตรการสงเสริมการลงทุนใหสอดคลองกับขอตกลงดานการคาและ การลงทุนระหวางประเทศ โดยการยกเลิกเงื่อนไขการสงออกและการใชชิ้นสวนในประเทศ
(4) สนับสนุนการลงทุนเปนพิเศษในภูมิภาคหรือทองถ่ินที่มีรายไดต่ําและมีสิ่ง เอืออํานวยตอการลงทุนนอย โดยใหสิทธิและประโยชนดานภาษีอากรสูงสุด
2-10 บทที่ 2: ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
(5) ใหความสําคัญกับการสงเสริมอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอม โดย ไมเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขเงินลงทุนขั้นต่ําของโครงการท่ีจะไดรับการสงเสริมเพียง 1 ลานบาท (ไมรวมคา ที่ดินและทุนหมุนเวียน)
(6) ใหความสําคัญแกกิจการเกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร กิจการที่ เก่ียวของกับการพัฒนาเทคโนโลยีและทรัพยากรมนุษย กิจการสาธารณูปโภคสาธารณูปการ และบริการ พืนฐาน กิจการปองกันและรกษาส่ิงแวดลอมและอุตสาหกรรมเปาหมาย
4.2) กิจการที่ให วามสําคัญเปนพิเศษในการสงเสริมการลงทุน
(1) กิจการเกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตรตามที่กําหนดไวในหมวด 1
ของบัญชีทายประกาศน้ี
(2) กิจการท่ีเก่ียวของโดยตรงกับการพัฒนาเทคโนโลยีและพัฒนาทรัพยากร
มนุษย ไดแก
(2.1) กิจการวิจยและพัฒนา
(2.2) กิจการบริการทดสอบทางวิทยาศาสตร
(2.3) กิจการบริการสอบเทียบมาตรฐาน
(2.4) กิจการพัฒนาทรัพยากรมนุษย
(3) กิจการสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และบริการพืนฐาน ไดแก
(3.1) กิจการสาธารณูปโภคและบริการพื้นฐาน
(3.2) กิจการขนสงมวลชนและสินคาขนาดใหญ
(4) กิจการที่เก่ียวของกับการปองกันและรักษาสิ่งแวดลอม ไดแก
(4.1) กิจการนิคมอุตสาหกรรมเพ่ืออนุรกษสิ่งแวดลอม
(4.2) กิ จการบริการบําบัดนํ้ า เสี ย กํ าจัดหรือขนถายขยะ กาก
อุตสาหกรรม หรือสารเคมีที่เปนพิษ
(5) อุตสาหกรรมเปาหมาย ไดแก
(5.1) การผลิตช้ินสวนเหล็กหลอเฉพาะที่ใชเตาหลอมแบบ Induction
Furnace
บทที่ 2: ขอมูลพนื ฐานของประเทศไทยและเวียดนาม 2-11
(5.2) การผลิตชิ้นสวนเหล็กทุบ
(5.3) การผลิตเคร่ืองจ รและอปุ กรณ ไดแก
(5.3.1) การผลิตแมพิมพและชิ้นสวน
(5.3.2) การผลิตอุปกรณ ับยดึ
(5.3.3) การผลิตเครื่องจักรอุตสาหกรรม ไดแ ก
- Turning Machines
- Drilling Machines
- Milling Machines
- Grinding Machines
- Machine Centers
- Gear Cutting & Finish Machines
- Die Sinking EDMs
- Wire EDMs
- Laser Beam Machines
- Plasma Arc Cutting Machines
- Electron Beam Machines
- Broaching Machines
(5.3.4) การผลิตอุปกรณหรือวสดุสําหรบงาน ตดั กดั กลึง เซาะ ไส เจียร ขัด และทําเกลียว ท่ีใชกับเครื่องจกั รท่ีมีความเที่ยงตรงสูง
(5.4) การผลิตช สวนผงโลหะอัดขึ้นรูป
(5.5) การผลิตหรือซอมอากาศยาน รวมทั้งชิ้นสวนอากาศยาน
(5.6) การผลิตชิ้นสวนยานพาหนะ ไดแก
2-12 บทที่ 2: ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
(5.6.1) การผลิตระบบเบรค ABS (5.6.2) การผลิต Substrate สําหร
Catalytic Converter
(5.6.3) การผลิต Electronic Fuel Injection System (5.7) การชุบแข็ง
(5.8) การผลิตสารหรือแผนสําหรับไมโครอิเล็กทรอนิกส
(5.9) กิจการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส
(5.10) กิจการซอฟตแวร
(5.11) กิจการเขตอุตสาหกรรมซอฟตแวร
(5.12) กิจการศูนย
ระจายสินค
ระหวางประเทศดวยระบบที่ทันสมยั
โดยแบงเปนประเภทกิจการที่ใหการสงเสริมการลงทุน ดังนี้ หมวด 1 เกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร หมวด 2 เหมืองแร เซรามิกส และโลหะขั้นมูลฐาน หมวด 3 อุตสาหกรรมเบา
หมวด 4 ผลิตภัณฑโลหะ เครื่องจักร และอุปกรณขนสง หมวด 5 อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสและเครื่องใชไฟฟา หมวด 6 เคมีภณฑ กระดาษ และพลาสติก
หมวด 7 กิจการบริการและสาธารณูปโภค
4.3) เขตสงเสริมการลงทุน
คณะกรรมการไดแบงเขตการลงทุนออกเปน 3 เขต ตามปจจัยทางเศรษฐกิจ โดย ใชรายไดและสิ่งอํานวยความสะดวกพืนฐานของแตละจังหวดั เปนเกณฑ ดังนี้
• เขต 1 ประกอบดวย 6 จังหวัดในสวนกลาง ไดแก กรุงเทพมหานคร นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ และ สมุทรสาคร
บทที่ 2: ขอมูลพนื ฐานของประเทศไทยและเวียดนาม 2-13
• เขต 2 ประกอบดวย 12 จังหวัด ไดแก กาญจนบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี นครนายก พระนครศรีอยุธยา ภูเก็ต ระยอง ราชบุรี สมุทรสงคราม สระบุรี สุพรรณบุรี และอางทอง
• เขต 3 ประกอบดวย 58 จังหวัด แบงออกเปน 2 กลุม คือ 36 จังหวัด และ 22 จังหวัด โดยกลุม 36 จังหวัด ไดแก กระบ่ี กําแพงเพชร ขอนแกน จันทบุรี ชัยนาท ชุมพร เชียงราย เชียงใหม ตรัง ตราด ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช นครสวรรค ประจวบคีรีขันธ ปราจีนบุรี พังงา พัทลุง พิจิตร พิษณุโลก เพชรบุรี เพชรบูรณ มุกดาหาร แมฮองสอน ระนอง ลพบุรี ลําปาง ลําพูน เลย สงขลา สระแกว สิงหบุรี สุโขทัย สุราษฏรธานี อุตรดิตถ อุทัยธานี และกลุม 22 จังหวัด ไดแก กาฬสินธุ นครพนม นราธิวาส นาน บุรีรัมย ปตตานี พะเยา แพร มหาสารคาม ยโสธร ยะลา รอยเอ็ด ศรีสะเกษ สกลนคร สตูล สุรินทร หนองบัวลําภู ชัยภูมิ หนองคาย อุบลราชธานี อุดรธานี และอํานาจเจริญ โดยให
ทองที่ทุกจงหว ในเขต 3 เปนเขตสงเสริมการลงทุน
4.3) การลงทุนจากต งประเทศในไทย
จากสถิติของธนาคารแหงประเทศไทย พบวา เงินลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ สุทธิในไทยในป 2550 (ตารางที่ 2.6) มีมูลคารวม 580,593.1 ลานบาท ลดลงรอยละ 26.72 จากมูลคา
382,891.6 ลานบาท ในป 2549 เมื่อพิจารณาแหลงที่มาของเงินทุนจะเห็นไดวาแหลงที่มาของเงินลงทุน โดยตรงสุทธิสูงสุดยังคงเปนญี่ปุน ซ่ึงคิดเปนมูลคา 92,488.1 ลานบาท คิดเปนรอยละ 32.96 ของมูลคา เงินลงทุนโดยตรงสุทธิท้ังหมด รองลงมาไดแกสิงคโปรมูลคา 34,759 ลานบาท เนเธอรแลนดมูลคา 34,199.4 ลานบาท สหรัฐอเมริกามูลคา 31,025 ลานบาท และเขตเศรษฐกิจฮองกงมูลคา 25,603.8 ลาน บาท ตามลําดบั
จากการเปรียบเทียบกับสถิติในป 2549 จะเห็นไดวามูลคาเงินลงทุนโดยตรงสุทธิ
จากอาเซียนลดลงถึงรอยละ 72 เน่ืองจากมูลคาเงินลงทุนสุทธิของ 7 ประเทศสมาชิกอาเซียนลดลงยังคง มีเพียงฟลิปปนสและกัมพูชาเทานั้นที่ขยับตัวในทิศทางบวก ในขณะที่มูลคาเงินลงทุนโดยตรงสุทธิ จากสหภาพยุโรปในไทยขยายตัวถึงรอยละ 70 โดยเฉพาะในสวนของประเทศสมาชิกใหมของสหภาพยุ โรป ซ่ึงไดแก ไซปรัส, ฮังการี, ลิทัวเนีย, และสโลเวเนีย นอกจากนี้ประเทศอื่นๆ ที่มีมูลคาการลงทุน โดยตรงสุทธิขยายตัวในไทยในป 2550 ไดแก ออสเตรเลีย และแคนาดา
อยางไรก็ดี มูลคาเงินลงทุนโดยตรงจากตางประเทศสุทธิในป 2549 ซ่ึงสูงที่สุดใน รอบ 6 ปที่ผานมาเกิดจากเงินลงทุนโดยตรงจากสิงคโปรเขามาซ้ือกิจการขนาดใหญของไทยในสาขา
โทรคมนาคมในชวงครึ่งปแรก 2549 ตามที่เปนขาวในหนังสือพิมพจึงอาจกลาวไดวาเงินลงทุนที่ไหลเขา มาในชวงนี้เปนกรณีพิเศษของการเขามาซื้อกิจการบางสาขาเทานั้น มิใชแนวโนมการเพิ่มขึ้นโดยทั่วไป ของการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ จึงสงผลใหมูลคาเงินลงทุนโดยตรงสุทธิในป 2550 ลดลงอยาง
มากท ในภาพรวมและตัวเลขการลงทุนจากสิงคโปรและอาเซียนเมอเปร่ื ยบเทียบกับป 2549
2-14 บทที่ 2: ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
ตารางที่ 2.6: เงินลงทุนโดยตรงสุทธิจากตางประเทศในไทยป 2549 - 2550
มูลคา: ลานบาท
อันดบั | ป 2550 | ป 2549 | ||
แหลงท่ีมา | มูลคา | แหลงที่มา | มูลคา | |
อันดบั ที่ 1 | ญี่ปุน | 92,488.1 | สิงคโปร | 143,679.8 |
อันดับที่ 2 | สิงคโปร | 34,759.0 | ณี่ปุน | 97,754.8 |
อนดับที่ 3 | เนเธอรแลนด | 34,199.4 | เยอรมนี | 14,430.8 |
อันดับท่ี 4 | สหรัฐอเมริกา | 31,025.0 | มาเลเซีย | 12,369.7 |
อนดับที่ 5 | ฮองกง | 25,603.8 | สหรัฐอเมริกา | 11,772.9 |
อนดบั ที่ 6 | สหราชอาณาจักร | 11,789.8 | เนเธอรแลนด | 9,709.9 |
อันดบั ที่ 7 | มาเลเซีย | 8,303.9 | สหราชอาณาจักร | 8,694.8 |
อนดับที่ 8 | เยอรมนี | 4,137.6 | ออสเตรเลีย | 3,872.2 |
อันดับที่ 9 | ออสเตรเลีย | 3,872.2 | เกาหลีใต | 1,898.8 |
อนดับที่ 10 | สวีเดน | 3,612.6 | เบลเย่ียม | 1,793.0 |
รวม | 580,593.1 | รวม | 382,891.6 |
ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย อางถึงใน ภาวะการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศในไทย ป 2550 ของ สํานักความ รวมมือการลงทุนตางประเทศ สํานกงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน, 2551
หากพิจารณามูลคาเงินลงทุนโดยตรงสุทธิเปนรายสาขาจะเห็นไดวาเงินลงทุน โดยตรงจากตางประเทศสวนมากเปนการลงทุนในอุตสาหกรรมการผลิตซึ่งมีมูลคารวม 130,632.6 ลาน บาท หรือคิดเปนรอยละ 46.56 ของมูลคาเงินลงทุนโดยตรงสุทธิทั้งหมด รองลงมาไดแก การลงทุนใน กิจการอสังหาริมทรัพยมูลคา 41,299.8 ลานบาท ขยายตัวขึ้นกวา 3 เทาตัว จากป 2549 การลงทุนใน กิจการบริการมูลคา 28,554.9 ลานบาท การลงทุนในสถาบันการเงินมูลคา 23,907.3 ลานบาท และการ
ลงทุนในธุรกิจการคามูลคา 15,840 ลานบาท ตามลําดับ ทั้งน การลงทุนในภาคอุตสาหกรรมที่มีมูลคา
สูงสุด ไดแก สาขาเครื่องใชไฟฟา (46,744 ลานบาท) รองลงมาไดแก สาขาเครื่องจักรและอุปกรณขนสง (35,383.3 ลา นบาท) สาขาโลหะและอโลหะ (8,443.7 ลานบาท) สาขาผลิตภัณฑปโตรเคมี (5,636.2 ลาน บาท) และสาขาสิ่งทอ (1,194.4 ลานบาท) ตามลําดับ (ตารางที่ 2.7)
บทที่ 2: ขอมูลพนื ฐานของประเทศไทยและเวียดนาม 2-15
ตารางท่ี 2.7: เงินลงทุนโดยตรงจากตางประเทศสุทธิในป 2549 - 2550 จําแนกตามสาขาการลงทุน
มูลคา: ลานบาท
อันดับ | ป 2550 | ป 2549 | ||
สาขา | มูลคา | สาขา | มูลคา | |
อนดบั ท่ี 1 | อุตสาหกรรม | 130,632.6 | อุตสาหกรรม | 153,300.6 |
อนดับที่ 2 | อสังหาริมทรัพย | 41,299.8 | กิจการการลงทุน | 82,951.1 |
อันดบั ที่ 3 | กิจการบริการ | 28,554.9 | สถาบันการเงิน | 77,851.4 |
อันดับท่ี 4 | สถาบันการเงิน | 23,907.3 | กิจการการคา | 28,014.1 |
อันดบั ที่ 5 | กิจการการคา | 15,840.0 | กิจการบริการ | 26,383.4 |
อนดับท่ี 6 | กิจการการลงทุน | 9,723.3 | อสังหาริมทรัพย | 8,972.8 |
อนดบั ท่ี 7 | กิจการเหมืองแร | 2,887.9 | กิจการเหมืองแร | 8,835.1 |
อนดับที่ 8 | กิจการกอสราง | 2,753.6 | กิจการกอสรา ง | 454.5 |
อันดบั ท่ี 9 | เกษตรกรรม | -8.3 | เกษตรกรรม | -112.5 |
อนดับที่ 10 | อ่ืนๆ | 25,000 .0 | อ่ืนๆ | -3,758.7 |
รวม | 280,593.1 | รวม | 382,891.6 |
ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย อางถึงใน ภาวะการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศในไทย ป 2550 ของ สํานักความ รวมมือการลงทุนตางประเทศ สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน, 2551
2.1.3 การทําการคาระหวางประเทศ
1) นโยบายการคาระหวางประเทศ
นโยบายการคาระหวางประเทศของไทยโดยฝายเลขาธิการขององคการการคาโลก (WTO) มีความเห็นวาในชวงป 2543 - 2546 ท่ีผานมา นโยบายการคาของไทยไมไดมีการเปลี่ยนแปลง ไปมากนัก นับจากการประเมินนโยบายการคาโดย WTO โดยไทยยังคงดําเนินนโยบายไปตามแนวทาง การเปดเสรี (Liberalization) และมีการปฏิบัติตามหลักการปฏิบัติเยี่ยงชาติที่ไดรับการอนุเคราะหยิ่ง (Most Favored Nation: MFN) กับทุกประเทศ นอกจากน้ียังเห็นวารัฐบาลไทยยังคงยึดมั่นนโยบายการ เปดเสรีการคาและการลงทุน เนื่องจากไทยถือวานโยบายดังกลาวเปนเคร่ืองมือในการเพิ่มขีด ความสามารถในการแขงขันระหวางประเทศ การสงเสริมความเจริญเติบโตที่ยั่งยืนและเปนการบรรเทา ปญหาความยากจน นโยบายดังกลาวดําเนินตามนโยบายเศรษฐกิจคูขนาน (Dual Track Economy) ของ รัฐบาลที่ระบุวาจะพยายามเสริมสรางความเขมแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศไปพรอมๆ กับการ ประสานเศรษฐกิจไทยเขากับกระแสโลกาภิวัฒนของโลก นโยบายการคาของไทยจึงเนนที่อัตราการ เจริญเติบโตของการสงออกและการกระจายตลาดรวมทั้งการเนนการผลิตสินคาที่มีมูลคาที่สูงขึ้น
2-16 บทที่ 2: ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
รัฐบาลไทยสนับสนุนการคาเสรีและผูกพันในนโยบายการเปดเสรีโดยเฉพาะในภาค การเกษตร ซึ่งสอดคลองกับแนวทางภูมิภาคเปด (Open regionalism) ของกลุม APEC (Asian Pacific Economic Cooperation) ซึ่งประเทศไทยเปนสมาชิกและผูกพันที่จะมีการเปดการคาและการลงทุนเสรี
ภายในป 2563 นอกจากน ฐบาลไทยยังพยายามที่จะเจรจาการคาแบบทวิภาคีกับหลายประเทศเพ่ิมเติม
และเพ่ิมความเชื่อมโยงทางเครือขายการคากับตางประเทศในภูมิภาคดวย (ชยนต ตันติวัสดาการ, 2549)
ในป 2550 ที่ผานมาประเทศไทยไดมีนโยบายสงเสริมการคาระหวางประเทศ ตามกรอบ การนโยบายของกระทรวงพาณิชยคือ
• สงเสริมการสงออกสินคาและบริการ และผลักดันสิ่งท่ีเปนประโยชนโดยมี
ภาคเอกชนเปนกลไกขับเคลื่อน เชน การสรางผู งออกรายใหมและภาคบริการท่ีมศี ักยภาพ เปนตน
• สรางความเขมแข็งของระบบเศรษฐกิจการคา สรางเสถียรภาพราคา มีความเปน ธรรมตอผูผลิต ผูบริโภค
• การคุมครองผูบริโภค
• การพฒนาสงเสริมสาขาบริการที่มีศักยภาพ
• การปฏิรูปกฎหมายและกําก ดแลู การคา
• สงเสริมความสามารถในการแขงขันและสงเสริมสมรรถนะ
นอกจากนี้ กระทรวงพาณิชยไดวางกลยุทธและแผนการสงเสริมการคาระหวางประเทศ โดยใชการเจรจาการคาและใหความสําคัญกับงานเจรจาการคาระหวางประเทศโดยเฉพาะ ASEAN Integration โดยมีภาคเอกชนเปนผูขับเคล่ือนนําและรัฐบาลสนับสนุนสงเสริมการเจรจาเนนการนํา อาเซียนไปสู ASEAN Economic Community (AEC)4 ในป 2558 เปนตน (นิรัชรา, 2551)
2) สถานการณการคาระหวางประเทศ
สถานการณการคาระหวางประเทศของไทยป 2550 (ม.ค.-ต.ค.) มีมูลคาทั้งสิ้น 240,275.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ เพ่ิมขึ้นรอยละ 12.5 โดยเปนมูลคาการสงออกเทากับ 125,114.3 ลาน เหรียญสหรัฐฯ และมูลคาการนําเขาเทากับ 115,160.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งเมื่อเทียบกับชวงเดียวกัน
4 AEC (ASEAN Economic Community) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เปนการเสริมสรางความแข็งแกรงทางเศรษฐกิจในกลุม อาเซียนรวมกันอยางตอเนื่อง โดยแผนงานสําคัญภายใต AEC Blueprint กําหนดใหอาเซียนบรรลุวัตถุประสงคในการเปนประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนในป 2558 โดยไดมีการกําหนดเปาหมายไว 4 ดาน ไดแก (1) การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียว (2) การสรางขีด
ความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน (3) การพัฒนาเศรษฐกิจอยางเสมอภาค และ (4) การบูรณาการอาเซียนเขากับ เศรษฐกิจโลก ซ่ึงจะครอบคลุมการยกเลิกภาษีศุลกากร การขจัดอุปสรรคทางการคาที่มิใชภาษี (NTBs) การปรับปรุงกฎวาดวยแหลงกําเนิด สินคาของอาเซียน
บทที่ 2: ขอมูลพนื ฐานของประเทศไทยและเวียดนาม 2-17
ของปกอน พบวามูลคาการสงออกเพิ่มข้ึนรอยละ 17.2 และมูลคาการนําเขาเพ่ิมขึ้นรอยละ 7.8 สงผลให
ดุลการคาเกินดุล 9,953.5 ล นเหรียญสหรฐฯ
2.1) การสงออกสินคา
การสงออกสินคาในระยะ 10 เดือนแรกของป 2550 แบงตามประเภทหมวดของ สินคาพบวาสินคาอุตสาหกรรมมีการสงออกสูงสุดเปนจํานวน 98,018.7 ลานเหรียญสหรัฐฯ รองลงมา ไดแก สินคาเกษตรกรรม 12,123.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ สินคาอุตสาหกรรมเกษตร 7,883.4 ลานเหรียญ สหรัฐฯ สินคาแรและเช้ือเพลิง 5,951.9 ลานเหรียญสหรัฐฯ และสินคาอ่ืนๆ 1,136.9 ลานเหรียญสหรัฐฯ เมื่อเทียบกับชวงเวลาเดียวกันของปที่แลวพบวามูลคาการสงออกสินคาสวนใหญมีอัตราการเติบโตท่ี เพิ่มขึ้น โดยสินคาอุตสาหกรรมเพ่ิมขึ้นรอยละ 19.14 สินคาเกษตรกรรมเพิ่มขึ้นรอยละ 20.5 สินคา
อุตสาหกรรมเกษตรรอยละ 13.09 และสินคาแรธาตุและเช้ือเพลิงเพิ่มขึ้นรอยละ 2.94 สําหรับสินคาอื่นๆ
มีมูลคาการสงออกที่ลดลงรอยละ 20.13 (ตารางท่ี 2.8)
ตารางท่ี 2.8: ประเภทสินคาสงออกของไทยป 2550 (ม.ค. - ต.ค.)
หนวย: ลานเหรียญสหรัฐฯ
ประเภทสินคา | มูลคาการสงออก | อัตราการเปลี่ยนแปลง (รอยละ) | |
2549 (ม.ค. – ต.ค.) | 2550 (ม.ค. – ต.ค.) | ||
1. สินคาอุตสาหกรรม | 82,576.5 | 98,018.7 | 19.14 |
2. สินคาเกษตรกรรม | 10,656.4 | 12,123.4 | 20.50 |
3. สินคา อุตสาหกรรมเกษตร | 6,500.5 | 7,883.4 | 13.09 |
4. สินคาแรธาตุและเชือเพลิง | 5,786.4 | 5,951.9 | 2.94 |
5. สินคา อ่ืนๆ | 1,597.7 | 1,136.9 | -20.13 |
ท่ีมา: สํานกงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, 2551
สําหรับตลาดการสงออกสินคาในชวง 10 เดือนแรกของป 2550 การสงออกไปยัง ตลาดหลักคิดเปนสัดสวนการสงออกรวมรอยละ 58.68 ของการสงออกของไทยไปยังทั่วโลก ซึ่งไดแก อาเซียน (รอยละ 21.05) สหรัฐอเมริกา (รอยละ 12.69) สหภาพยุโรป (รอยละ 12.98) และญ่ีปุน (รอยละ 11.96) (รูปที่ 2.1) โดยเมื่อเปรียบเทียบกับชวงเวลาเดียวกันของปกอนพบวา การสงออกไปยังตลาด หลักสวนใหญมีอัตราที่เพิ่มขึ้น ยกเวนการสงออกไปยังตลาดสหรัฐอเมริกาลดลงคิดเปนรอยละ 2.64 โดย ในตลาดอาเซียนเพิ่มขึ้นรอยละ 16.89 ตลาดญ่ีปุนรอยละ 10.81 ตลาดสหภาพยุโรปรอยละ 18.06 และ
ตลาดอื่นๆ เพ่ิมขึ้นรอยละ 3.43
2-18 บทที่ 2: ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
หนวย: รอยละ
ASEAN 21.05
OTHERS 41.32
USA 12.69
EU 12.98
JAPAN 11.96
ที่มา: สํานกงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, 2551
รูปท่ี 2.1: สดสวนการสงออกของไทยในตลาดตางประเทศป 2550 (ม.ค. - ต.ค.)
2.2) การนําเขาสินคา
การนําเขาสินคาในระยะ 10 เดือนแรกของป 2550 (ตารางที่ 2.9) แบงตาม ประเภทหมวดของสินคา พบวา สินคาวัตถุดิบมีมูลคาสูงสุด 49,834.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ รองลงมาเปน การนําเขาสินคาทุน 30,119.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ สินคาเช้ือเพลิง 20,981.3 ลานเหรียญสหรัฐฯ สินคา อุปโภคบริโภค 9,480.5 ลานเหรียญสหรัฐฯ สินคาหมวดยานพาหนะ 3,585.6 ลานเหรียญสหรัฐฯ และ
สินค อนๆ่ื 1,159.5 ลานเหรียญสหรัฐฯ เมอเ่ื ทียบกับชวงเวลาเดียวกันของปที่แลว พบวาสินคาทุนนําเขา
เพ่ิมข้ึนรอยละ 2.03 สินคาวัตถุดิบเพิ่มขึ้นรอยละ 14.21 สินคาอุปโภคบริโภคเพิ่มขึ้นรอยละ 22.08 สินคา
หมวดยานพาหนะเพ่ิมขึ้นรอยละ 10.98 และสินคาหมวดอ่ืนๆ เพ่ิมขึ้นรอยละ 0.93 และสินคาเชื้อเพลิง
ลดลงรอยละ 2.4
ตารางที่ 2.9: ประเภทสินคานําเขาของไทยป 2550 (ม.ค. - ต.ค.)
หนวย: ลานเหรียญสหรัฐฯ
ประเภทสินคา | มูลคาการนําเขา | อัตราการเปลี่ยนแปลง (รอ ยละ) | |
2549 (ม.ค. - ต.ค.) | 2550 (ม.ค. - ต.ค.) | ||
1. สินคาวัตถุดิบ | 43,833.2 | 49,834.8 | 14.21 |
2. สินคาทุน | 29,459.7 | 30,119.1 | 2.03 |
3. สินคาเชื้อเพลิง | 21,496.6 | 20,981.3 | -2.40 |
4. สินคาอุปโภคบริโภค | 7,475.1 | 9,480.5 | 22.08 |
5. สินคายานพาหนะ | 3,229.6 | 3,585.6 | 10.98 |
6. สินคาอื่นๆ | 1,140.3 | 1,159.5 | 0.93 |
ที่มา: สํานกงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, 2551
บทที่ 2: ขอมูลพนื ฐานของประเทศไทยและเวียดนาม 2-19
สําหรับตลาดการนําเขาสินคาจากแหลงนําเขาท่ีสําคัญในชวง 10 เดือนแรกของป
2550 ไดแก ญ่ีปุน (รอยละ 20.3) อาเซียน (รอยละ 17.92) สหภาพยุโรป (รอยละ 8.39) สหรัฐอเมริกา
(รอยละ 6.71) (รูปที่ 2.2) และเม่ือเทียบกับชวงเวลาเดียวกันของป 2549 พบวาการนําเขาจากกลุม
ประเทศญ่ีปุนเพิ่มขนึ รอยละ 9.24 สหภาพยุโรปเพ่ิมข
7.26 และอาเซียนเพิ่มขึ้นรอยละ 5.2
คิดเปนรอยละ 7.86 สหรฐอเมริกาเพ่ิมข้ึนรอยละ
หนวย: รอยละ
ASEAN 17.92
OTHERS 46.68
USA 6.71
JAPAN 20.3
EU 8.39
ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, 2551
รูปที่ 2.2: สัดสวนแหลงนําเขาท่ีสําคญของไทยป 2550 (ม.ค. - ต.ค.)
นอกจากนี้ กระทรวงพาณิชยไดตั้งเปาหมายการสงออกในป 2551 จะขยายตัว รอยละ 10 - 20 โดยคาดวาจะสามารถสงออกไดเปนมูลคา 1.65 - 1.69 แสนลานเหรียญสหรัฐฯ ทั้งนี้คาด
วาตลาดหลักจะเพิ่มขึ้นรอยละ 7.1 โดยกระทรวงพาณิชย ังคงจัดกิจกรรมสงเสริมการสงออก รวมทั้งการ
ดําเนินมาตรการตลาดเชิงรุกยงั กลุมลูกคาใหมๆ รวมถึงการเรงสงเสริมการสงออกในตลาดใหมๆ สําหรับ ปจจัยเสี่ยงท่ีสงผลกระทบตอการสงออก ไดแก ทิศทางและแนวโนมราคาน้ํามัน รวมถึงเศรษฐกิจของ
ตลาดสงออกสําค
ทิศทางและแนวโนม คาเงนบาทและเสถียรภาพของคาเงินบาท เปนตน
สําหรับแผนการผลักดันการสงออกในป 2551 กรมสงเสริมการสงออกจะเนนการ
ผลักดันการสงออกไปตลาดใหมใหมากขึ้น ไดแก จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง แอฟริกาใต ยุโรป ตะวันออกและประเทศเพื่อนบาน โดยตลาดหลักอยางสหรัฐฯ จะเนนกิจกรรมการกระตุนตลาดอยาง ตอเนื่อง เพราะสินคาหลายรายการยังคงขยายตัวไดดี ญี่ปุนจะเรงใชประโยชนจากขอตกลงหุนสวน เศรษฐกิจไทย-ญี่ปุน สหภาพยุโรป จะมีแผนกระตุนตลาดอยางตอเนื่อง ขณะที่อาเซียนจะเรงผลักดันใหมี การคาขายมากขึ้น เพราะอัตราภาษีใกลจะเหลือรอยละ 0 เกือบทุกรายการ เปนตน
2-20 บทที่ 2: ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
นอกจากน้ี กรมสงเสริมการสงออกไดสงเสริมใหนักลงทุนไทยออกไปลงทุน ตางประเทศ เพ่ือสรางโอกาสในการสงออกใหมๆ และหาวัตถุดิบราคาถูก ซึ่งขณะนี้อยูระหวางการ ผลักดันใหรัฐบาลสนับสนุนดานเงินลงทุนและสิ่งจูงใจ ผลักดันแหลงการคาท่ีสําคัญใหเปนที่รูจัก เพ่ือ
สนับสนุนให
ีการสงออกมากขึ
(สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, 2551)
2.2 ประเทศเวียดนาม
2.2.1 ข มูลดานสังคม
1) การเมืองการปกครอง
เวียดนาม ต้ังอยูในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ทิศเหนือติดกับจีน ทิศใตและทิศ ตะวันตกเฉียงใตติดกบอาวไทย ทิศตะวนออกติดทะเลจีนใต ทิศตะวันตกติดกับสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว และกัมพูชา เมืองหลวงของเวียดนามคือฮานอย (Hanoi) ประชากรชาวเวียดนามนับถือ ศาสนาพุทธ (นิกายมหายาน) รอยละ 70 สวนที่เหลือนับถือศาสนาคริสต (สวนใหญนับถือนิกาย โรมันคาทอลิก), Hao Hao, Cao Dai, ศาสนาอิสลามและความเชื่อที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ (Indigenous Beliefs) ภาษาราชการคือภาษาเวียดนาม ภาษาอื่นๆ คือภาษาอังกฤษ (เร่ิมใชอยาง แพรหลายมากขึน้ ) ฝร่ังเศส จีน เขมร และภาษาชาวเผาตางๆ (Mon-Khmer และ Malayo-Polynesian)
เวียดนามปกครองโดยระบบสังคมนิยมคอมมิวนิสตโดยมีพรรคคอมมิวนิสตเวียดนาม
(Communist Party of Vietnam หรือ CPV) เปนพรรคการเมืองเดียวในประเทศ ทําใหมีบทบาทอยาง
มากในการกําหนดแนวทางการบริหารประเทศในทุกด น
โครงสร งการปกครองของเวียดนามแบงออกเปน 3 ระดบั ท่ีสําคัญ ไดแก
(1) สภาแหงชาติ (The National Assembly หรือ Quoc-Hoi) เปนองคกรฝายนิต
บัญญัติ ประกอบดวยสมาชิกที่มาจากการเลือกตั้ง ท นี้สภาแหงชาติมอานํี าจในการแกไขรฐธรรมนญและูั
การออกกฎหมายตางๆ นอกจากนี้ ยังมีอํานาจใหความเห็นชอบในการแตงตั้งและถอดถอน ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี และรองนายกรัฐมนตรี ปจจุบันสภาแหงชาติเปดโอกาสใหสมาชิกสภาฯ สามารถซักถามการบริหารงานของรัฐบาลเปนเปนรายบุคคลไดระหวางสมัยประชุม
(2) องคกรฝายบริหารทําหนาที่กําหนดนโยบายและบริหารประเทศ สําหรับผูท่ีมี บทบาทสําคัญในฝายบริหารประกอบไปดวย 3 ตําแหนง คือ (1) เลขาธิการพรรคฯ ซึ่งมาจากการเลือกตงั้ ของสมาชิกพรรค CPV (2) ประธานาธิบดีทําหนาที่ประมุขของรัฐ (Chief of State) และ (3) นายกรัฐมนตรีทําหนาที่เปนหัวหนาคณะรัฐบาล (Head of Government)
บทที่ 2: ขอมูลพนื ฐานของประเทศไทยและเวียดนาม 2-21
(3) รฐบาลทองถิ่น (People’s Committee of Province) เวียดนามมีสภาประชาชนและ คณะกรรมการประชาชนประจําทองถ่ินเปนองคกรบริหารสูงสุดประจําทองถิ่น โดยรัฐบาลทองถ่ินจะทํา การบริหารงานตามกฎหมายรฐธรรมนูญ และกฎระเบียบท่ีรัฐบาลกลางบญญตั ิไว
จากการที่เวียดนามมีการปกครองโดยระบบสังคมนิยมและมีพรรคการเมืองเพียงพรรค เดียวคือพรรคคอมมิวนิสตเวียดนามที่มีบทบาทในการกําหนดแนวทางการบริหารประเทศทุกดาน ทําให เวียดนามเปนประเทศที่มีเสถียรภาพทางการเมืองสูง การบริหารประเทศจึงเปนไปอยางราบรื่นและ นโยบายตางๆ ไดรับการปฏิบัติอยางตอเนื่อง ประกอบกับรัฐบาลเวียดนามมีวิสัยทัศนในการบริหาร ประเทศท่ีชัดเจนและมีความมุงม่ันในการพัฒนาเศรษฐกิจอยางจริงจัง สงผลใหการดําเนินนโยบายทาง เศรษฐกิจของเวียดนามเปนไปอยางตอเน่ือง
อยางไรก็ตาม ปจจัยสําคัญบางประการที่อาจบั่นทอนความมั่นคงทางการเมืองของ เวียดนาม อาทิ ปญหาความลาชา ในการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ปญหาความไมสงบบริเวณที่ราบสูงตอนกลาง ของประเทศเนื่องจากความขัดแยงทางศาสนาระหวางชนกลุมนอย ตลอดจนปญหาความขัดแยงระหวาง ประเทศเรื่องกรรมสิทธ์ิในการปกครองหมูเกาะ Sprightly และหมูเกาะ Paracel ในทะเลจีนใตที่ยังคงเปน ปญหาขัดแยงระหวางประเทศเวียดนามกับ จีน ฟลิปปนส บรูไน ไตหวัน และมาเลเซีย แมวาท่ีผานมา รัฐบาลเวียดนามไดเปดการเจรจาเพื่อแกไขปญหาความขัดแยงดังกลาวกับบางประเทศ เชน ฟลิปปนส
และจีนแลวก็ตาม แตความขัดแยงยงั คงเกิดขึนปนระยะๆ (สําน
2) ขนาดประชากร
งานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, 2551)
เวียดนามมีจํานวนประชากรประมาณ 84.5 ล นคน ประชากร 20 ลานคนหรือรอยละ 25
อาศัยอยูในเขตเมือง ขณะที่ภาคชนบทมีประชากรมากกวา 60 ลานคน หรือรอยละ 75 อยางไรก็ตาม ประชากรในเมืองมีจํานวนเพ่ิมข้ึนในอัตราที่สูงกวาประชากรในชนบทประมาณ 4 เทาตัว อันเนื่องมาจาก การอพยพยายถิ่นของประชากรในชนบทเพื่อทํางานในเมือง เม่ือพิจารณาโครงสรางประชากร พบวา เวียดนามมีประชากรวัย 0 - 14 ป มีอยูรอยละ 27 อายุ 15 - 64 ป รอยละ 67.1 และอายุ 65 ป ขึ้นไปอีก
รอยละ 5.9 (ตารางที่ 2.10) กลาวคือประชากรเวียดนามสวนใหญอยูในวัยแรงงาน โดยมีสัดสวนแรงงาน
ในภาคเกษตรรอยละ 56.8 อุตสาหกรรมรอยละ 37 และบริการรอยละ 6.2
ตารางท่ี 2.10: โครงสรางประชากรของเวียดนาม
อายุ | รอยละ |
0 - 14 ป | 27.0 |
15 - 64 ป | 67.1 |
65 ปขึ้นไป | 5.9 |
หมายเหตุ: เปนขอมูลประชากรในป 2549
ที่มา : ศูนยวิจ กสิกรไทย, 2550
2-22 บทที่ 2: ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
2) การศึกษา
การพัฒนาระบบการศึกษาเปนประเด็นท่ีรัฐบาลเวียดนามให
วามสนใจมาโดยตลอดใน
ฐานะเคร่ืองมือช
สําคญในการผลิตทรพยากรมนุษยท
ีคุณภาพ อันจะชวยขบเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคม
ของเวียดนามใหเติบโตและพัฒนาไดอยางยั่งยืน ดังเห็นไดจากโครงการของภาครัฐในระยะแรกๆ หลังจากเวียดนามไดรับอิสรภาพในการปกครองตนเองจากฝร่ังเศสเม่ือป 2488 สวนใหญเปนโครงการท่ี เนนการเพิ่มสดสวนประชากรที่รูหนังสือ โดยเฉพาะหลังจากที่เวียดนามประกาศนโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจ Doi Moi เมื่อป 2529 สงผลใหเกิดการเปล่ียนแปลงอยางขนานใหญในระบบเศรษฐกิจและสังคมของ
เวียดนาม ทําใหรัฐบาลเวียดนามตระหนักถึงความจําเปนในการเรงปฏิรูประบบการศึกษาให อดคลอง
และสามารถรองรับการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของเวียดนามซึ่งมีแนวโนมตองการแรงงาน
ที่ผานการอบรมจากระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ จึงเน การปฏิรูปที่เกื้อหนุนตอระบบเศรษฐกิจเสรีซึ่ง
ครอบคลุมถึงการกําหนดระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งเปนการศึกษาภาคบังคับเพื่อใหเกิดความเทา เทียมกันในการเขาถึงการศึกษา การเพิ่มจํานวนประชากรที่รูหนังสือ การยกระดับการศึกษา โดยเฉพาะ
ในระดับประถมศึกษาให ีคุณภาพมากข้ึน และขยายโอกาสใหแกชาวเวยี ดนามทุกคนที่ตองการเรียน
หรือฝกอบรมเพิ่มเติม พรอมทั้งขยายความรวมมือทางการศึกษาในระดับนานาชาติ (ธนาคารเพื่อการ สงออกและนําเขาแหงประเทศไทย, 2549) การดําเนินงานดังกลาวจึงสงผลใหอัตราการอานออกเขียนได ของประชากรวัยผูใหญ (Adult Literacy Rate) ในป 2545 เปนรอยละ 94.3 (UNDP, 2008) ขณะที่ในป 2488 ประชากรเวียดนามมีอัตราการอานออกเขียนไดเพียงรอยละ 10 เทานั้น (ธนาคารเพื่อการสงออก
และนําเขาแหงประเทศไทย, 2549)
ตารางที่ 2.11: ดัชนีชี้วัดการพฒนาทางการศึกษาของเวียดนามป 2548
ดัชนีชี้วัด | รอยละ |
อัตราการอานออกเขียนได (อายุ15 ปขึ้นไป) | 94.3 |
สัดสวนเฉลี่ยของผูเขา เรียนตอ | |
- ประถมศึกษา | 88.0 |
- มัธยมศึกษา | 69.0 |
- มหาวิทยาลัย | N/A |
ดัชนีชี้วัดทางการศึกษา | 0.8 |
คาใชจายทางการศึกษา * | |
- ตอ GDP | 1.8 |
- ตอคาใชจายรัฐบาล | 9.7 |
หมายเหตุ : * เปนขอมูลป 2531
ที่มา : Human Development Report 2007/2008, UNDP
บทที่ 2: ขอมูลพนื ฐานของประเทศไทยและเวียดนาม 2-23
3) แรงงาน
ปจจุบันเวียดนามมีจํานวนประชากร 84.5 ลา นคน และมีอายุเฉลี่ยของประชากรใน เวียดนามที่มีอายุต่ํากวา 30 ป ถึงรอยละ 60 ทําใหประชากรซึ่งสวนใหญอยูในวัยแรงงานประมาณ 42.6 ลานคน (สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน, 2551) ในจํานวนนี้มีจํานวนแรงงานมีฝมือ (Skilled Labor) ประมาณ 11.1 ลานคน สวนที่เหลืออีกประมาณกวา 30 ลานคนเปนแรงงานไรฝมือ (Non-skilled Labor) จุดแข็งของตลาดแรงงานในเวียดนามคือการมีแรงงานพรอมทํางานอยูจํานวนมาก และสามารถ ดําเนินการวาจางไดโดยตรงโดยไมตองผานกระทรวงแรงงานของเวียดนาม นอกจากนี้ ยังมีอัตราคาจาง
ท่ีคอนข
งตํ่า ตลาดแรงงานของเวียดนามมีรายละเอียด ดงนี้
▪ อัตราคาจางแรงงานขั้นตํ่า เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2549 รัฐบาลเวียดนามไดปรับเพ่ิม
อัตราคาจางแรงงานข้ันต่ําตอเดือน (หลังจากท่ีไมมีการปรับเพิ่มมาเปนเวลานานกวา 7 ป) ภายใต
Decree No. 03-2006-ND-CP ซึ่งกําหนดอัตราคาจางแรงงานข ต่ําตอเดอนไวื รวม 3 อตรา ไดแก
- อตราคาจาง 55 เหรียญสหรัฐฯ สําหรับพื้นที่ในเขตจังหวัดใหญ เชน กรุงฮานอย และนครโฮจิมินห
- อัตราคาจ ง 50 เหรียญสหรัฐฯ สําหรับพน้ื ที่รอบนอกจังหวัดใหญ รวมทั้งพ้ืนท
ในเขตตวเมือง Hai Phong, Ha Long, Bien Hoa และ Vung Tau เปนต
- อตราคาจาง 45 เหรียญสหรัฐฯ สําหรับพ ทีชนบทหางไกล
อยางไรก็ตาม รัฐบาลเวียดนามมิไดกําหนดเพดานอัตราคาจางแรงงานไว โดยให ึ้นอยู
กับความพึงพอใจของนายจางเปนสําคัญ ดังนั้นแรงงานในอุตสาหกรรมบางประเภท โดยเฉพาะ อุตสาหกรรมท่ีตองอาศัยทักษะและความชํานาญเปนพิเศษ เชน อุตสาหกรรมประกอบรถยนต จึงมี อัตราคาจางเฉลี่ย (ราว 80 - 120 เหรียญสหรัฐฯ ตอเดือน) สูงกวาแรงงานในอุตสาหกรรมท่วๆ ไป
▪ แรงงานในเวียดนามสวนใหญเปนหญิง เนื่องจากในอดีตผูหญิงเวียดนามทํางานเพื่อ
หาเลี้ยงครอบครัวมาโดยตลอด (เพราะแรงงานผู ายสวนใหญเปนทหาร) จึงมีทักษะ ความชํานาญ และ
สามารถปรับตัวใหเขากับบรรยากาศของงานที่ทําไดเปนอยางดี รวมถึงมีความมานะ อดทน และทํางานท
ตองอาศัยความละเอียดรอบคอบได ีกวาแรงงานชาย อยางไรก็ตาม ขอเสียของแรงงานหญิงคือ การต้ัง
ครรภและลาคลอด เนื่องจากในชวงที่ตั้งครรภ แรงงานจะไดรับอนุญาตใหทํางานวันละ 7 ชั่วโมง (จาก ปกติที่ตองทํางานวันละ 8 ชั่วโมง) และมีสิทธิ์ลาคลอดไดครั้งละ 4 เดือน นอกจากนี้ เมื่อกลับมา ปฏิบัติงานยังไดรับอนุญาตใหทํางานวันละ 7 ชั่วโมงตอไปอีกจนกวาบุตรจะมีอายุครบ 1 ปบริบูรณ ซึ่ง อาจกระทบถึงความตอเนื่องในการปฏิบัติงาน และเปนภาระของนายจางในการจัดหาแรงงานทดแทน ในชวงดังกลาว (ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขา แหงประเทศไทย, 2550)
2-24 บทที่ 2: ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
แมวาแรงงานของเวียดนามมีการศึกษาดีโดยอัตราการอานออกเขียนไดของเวียดนาม มากกวารอยละ 90 อยางไรก็ตาม จุดออนของเวียดนามคือการขาดแคลนแรงงานท่ีมีฝมือ โดยมีสาเหตุ จากการขาดสถานศึกษาที่อบรมดานอาชีวคุณภาพดี ประกอบกับการที่ธุรกิจตางๆ จายคาแรงถูกเกินไป จึงทําใหแรงงานมีฝมือนอยอยูแลวเปล่ียนงานบอย โดยผลการสํารวจของ Central Institute for Economic Management (ZCIEM) พบวา อัตราการเปลี่ยนงานของแรงงานเวียดนามที่มีฝมือในบริษัท
ตางชาติมีอัตราสูงถึงรอยละ 43 ในป 2544 - 2547 (สํานักงานเศรษฐกิจการคล , 2550) สําหรบผลิตภาพ
แรงงานของเวียดนามพบวาในป 2549 แรงงานเวียดนามมีผลิตภาพแรงงานเปน 4,809 เหรียญสหรัฐฯ
ตอป (ILO, 2008)
2.2.2 ขอ มูลดานเศรษฐกิจ
1) ภาพรวมเศรษฐกิจ
ในชวงป 2545 - 2549 เวียดนามมีการเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเฉล่ียอยูที่รอยละ 7.5 และ สวนป 2550 มีอตราขยายตัวรอยละ 8.5 สูงที่สุดในรอบ 11 ป เวียดนามจึงเปนประเทศที่ไดรับความ สนใจดานการคาและการลงทุนมากเปนประเทศหน่ึง ซ่ึงสาเหตุสําคัญท่ีเวียดนามมีการเติบโตทาง เศรษฐกิจสูงเชนน้ี เน่ืองจากไดรับแรงขับเคลื่อนจากการใชจายของผูบริโภค การเติบโตจากการลงทุน และยังไดรับแรงขับเคล่ือนใหมจากการที่เวียดนามเขาเปนสมาชิก WTO ในลําดับที่ 150 เม่ือวันที่ 11
มกราคม 2550 หลังจากที่มีการเตรียมตัวมานานถึง 11 ป และใชเวลาในการเจรจามากกวา 8 ป การที่ เวียดนามเขาเปนสมาชิก WTO ทําใหเวียดนามสามารถสงออกสินคาไปยังประเทศสมาชิก WTO จํานวน 149 ประเทศไดอยางเสรีมากข้ึน โดยเฉพาะอุตสาหกรรมส่ิงทอและเครื่องนุงหมซ่ึงเวียดนามมีตนทุนการ ผลิตที่ต่ํา
เวียดนามมีการปฏิรูปประเทศท่ีมีความกาวหนาอยางตอเนื่อง ทั้งภาคเศรษฐกิจและ การเงิน โดยมีการปรับตวเองจากระบบเศรษฐกิจท่ีมีการควบคุมจากสวนกลางมาเปนระบบเศรษฐกิจท่ีใช กลไกตลาด การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมมีการเติบโตที่สูงมาก และมีศักยภาพการสงออกดาน
นํ มัน สินค
โภคภณฑ เชน ขาวท่ีเปนคูแขงของไทยในขณะนี้
สําหรับอุตสาหกรรมการสงออก สินคาสงออกที่สําคัญยังคงเปนอุตสาหกรรมสิ่งทอ
ประเภทเส้ือผาสําเร็จรูปและเรื่องของตลาดหุน แมวาขณะนี้ตลาดหุนของเวียดนามยังมีการพัฒนาที่ไม มากนัก แตในป 2549 ตลาดหุนของเวียดนามกลับเติบโตสูงสุดตลาดหนึ่งในภูมิภาคเอเชีย อยางไรก็ตาม เวียดนามยังมีปญหาเร่ืองการพัฒนาดานสาธารณูปโภคพื้นฐานในระดับต่ําและตองการขยายการลงทุน แตอุปสรรคดังกลาวเวียดนามสามารถแกไขไดโดยการรวมทุนกับตางชาติ ซึ่งปจจัยดึงดูดการลงทุนที่ดี ของเวียดนามคือจํานวนประชากรและแรงงานที่มีจํานวนมาก รวมทั้งคาจางแรงงานตํ่า ประกอบกับคน
เวียดนามมีอุปนิสัยขยันขันแข็ง ทํางานหน และพรอมที่จะปรับตัวเรยนรี ูสิ่งใหมๆ
บทที่ 2: ขอมูลพนื ฐานของประเทศไทยและเวียดนาม 2-25
อยางไรก็ตาม อัตราเงินเฟอของเวียดนามยังสูงกวาประเทศอื่นๆ ในเอเชีย โดย EIU ได คาดการณอัตราเงินเฟอของเวียดนามอยูที่ประมาณรอยละ 6.9 และ International Monetary Fund (IMF) ไดกลาวในรายงานประจําป 2549 เก่ียวกับเศรษฐกิจของเวียดนามวาในระยะปานกลางเศรษฐกิจ เวียดนามจะมีแนวโนมท่ีดีแตยังคงมีความไมแนนอนทั้งภายในและภายนอกประเทศ ซึ่งความไมแนนอน
อาจเกิดจากความลาช ของราคาน้ํามัน
ในการปฏิรูปเศรษฐกิจ การถดถอยอยางรุนแรงของเศรษฐกิจสหรัฐ และการลดลง
2) นโยบายเศรษฐกิจ
ในป 2529 เวียดนามจึงไดตัดสินใจปรับเปลี่ยนจากระบบเศรษฐกิจแบบท่ีมีการวางแผน จากสวนกลางไปเปนระบบเศรษฐกิจแบบตลาด (Market Economy) ที่ใชกลไกราคาเปนเครื่องมือในการ จัดสรรทรัพยากร โดยแผนสําหรับใชฟนฟูเศรษฐกิจและสังคมคือ Doi Moi ซ่ึงประกอบดวยยุทธศาสตร เศรษฐกิจ 6 ประการ เพื่อยกระดับการเติบโตทางเศรษฐกิจ ดังนี้
(1) การกระจายอํานาจบริหารแกภาคธุรกิจและทองถิ่น
(2) ระบบเศรษฐกิจเสรี
(3) อัตราการแลกเปลี่ยนและดอกเบียเปนไปตามกลไกตลาด
(4) สําหรับนโยบายเกษตร ใหสิทธิครอบครองที่ดินในระยะยาวและเสรีการซื้อขาย
สินคาเกษตร
(5) เพมบิ่ ทบาทภาคเอกชน
(6) เปดการลงทุนเสรี เวียดนามมีการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทั้งระยะสั้นและระยะยาวภายใตการ
กํากับดูแลของกระทรวงวางแผนและการลงทุนของเวียดนาม (Ministry of Planning and Investment : MPI) ปจจุบันเวียดนามอยูระหวางการใชแผนฯ 2 ฉบับควบคูกันไป ไดแก แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมระยะ 10 ป (The 10-Years Socio-Economic Development Strategy) ในชวงระหวางป 2544 - 2553 และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมระยะ 5 ป (The 5-Years Socio-Economic Development Plan) ในชวงระหวางป 2549-2553 ทั้งน้ี MPI ไดวางเปาหมายในการพัฒนาประเทศไวอยางชัดเจนโดย กําหนดวิสัยทัศนในการพัฒนาเวียดนามไปสูการเปนประเทศอุตสาหกรรม มุงขจัดปญหาความยากจน
และยกระดับความเจริญให ัดเทียมกับนานาอารยประเทศ โดยมีรายละเอียดที่นาสนใจ ดงนั
• แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมระยะ 10 ป มีการวางเปาหมายใหเวียดนามหลุด พนจากการเปนประเทศดอยพัฒนาและกาวไปสูการเปนประเทศอุตสาหกรรมในอนาคต พรอมท้ัง ยกระดับคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของประชาชนใหดีขึ้น ทั้งนี้รัฐบาลเวียดนามตั้งเปาหมายใหอัตรา
2-26 บทที่ 2: ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
การขยายตัวทางเศรษฐกิจป 2553 เพ่ิมข้ึนเปน 2 เทาของป 2544 โดยจะทยอยลดสัดสวนของภาค
เกษตรกรรม และใหความสําค กบภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการมากขึ
• แผนพฒนาเศรษฐกิจและสังคมระยะ 5 ป เนนการเปดประเทศและดึงดูดการลงทุน จากตางประเทศมากข้ึน เพื่อพัฒนาประเทศใหมีความเจริญกาวหนายิ่งขึ้น โดยกําหนดเปาหมายอัตรา การขยายตัวทางเศรษฐกิจไวที่ระดับเฉล่ียรอยละ 7.5 - 8 ตอป ควบคูไปกับการพัฒนาดานสังคมโดยมุง
ขจ ปญหาความยากจน และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนให ีขึ้น
ท้ังนี้รัฐบาลเวียดนามไดกําหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในแตละภูมิภาคไวอยาง ชัดเจน โดยมีเปาหมายเพื่อสรางความแข็งแกรงเปนรายภูมิภาคภายใตระบบเศรษฐกิจแบบเสรีซ่ึงเนน การคาระหวางประเทศและการลงทุนจากตางประเทศเปนสําคัญ พรอมทั้งขยายตลาดการคาของแตละ ภูมิภาคออกไปทั้งในระดับประเทศและระหวางประเทศ นอกจากน้ียังเรงยกระดับเขตสงเสริมการลงทุน ท้ังนิคมอุตสาหกรรม (Industrial Zones : IZs) และเขตสงเสริมอุตสาหกรรมเพื่อการสงออก (Export Processing Zones : EPZs) ที่มีอยูเดิมใหมีประสิทธิภาพมากข้ึน พรอมทั้งสนับสนุนใหมีการจัดตั้งเขต สงเสริมการลงทุนแหงใหมเพื่อกระตุนใหเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจอยางย่ังยืนในแตละภูมิภาค โดยแบง พื้นที่สําหรับการพัฒนาออกเปน 6 ภูมิภาค ดงน้ี
- ภาคเหนือและพน้ื ที่ภูเขา (The Northern and Midland Mountainous Area)
- พืน้ ที่บริเวณสามเหล่ียมปากแมน้ําแดง (The Red River Delta)
- ภาคกลางตอนบนและพื้นที่ชายฝงทะเลตอนกลาง (The Northern Central and Central Coastal Areas)
- พ ที่ราบสูงภาคกลาง (The Central Highlands)
- ภาคใตฝงตะวันออก (The Southeastern Region)
- พ ที่บริเวณสามเหล่ียมปากแมน้ําโขง (The Mekong River Delta)
3) นโยบายการคลัง
กระทรวงการคลังของเวียดนามไดประกาศตัวเลขคาดการณสําหรับงบประมาณประจําป
2549 โดยระบุวา เวียดนามมีรายรับประมาณ 1,500 ลานเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นรอยละ 13 จากฐานป
2548 และรายจายประมาณ 1,860 ลานเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มข้ึนรอยละ 28 จากฐานปเดิม สงผลใหรัฐบาล เวียดนามมียอดขาดดุลงบประมาณราว 360 ลานเหรียญสหรัฐฯ ขณะเดียวกัน กระทรวงการคลังของ เวียดนามคาดการณวาระหวางป 2549 - 2553 รายรับของเวียดนามจะเพ่ิมเปน 101,000 ลานเหรียญ สหรัฐฯ และรายจายอยูที่ประมาณ 120,000 ลานเหรียญสหรัฐฯ สงผลใหยอดขาดดุลงบประมาณเพิ่มขึ้น เปน 19,000 ลานเหรียญสหรัฐฯ
บทที่ 2: ขอมูลพนื ฐานของประเทศไทยและเวียดนาม 2-27
4) การลงทุน
นับตั้งแตป 2529 เปนตนมา รัฐบาลเวียดนามไดเรงปฏิรูประบบเศรษฐกิจอยางตอเน่ือง ภายใตนโยบาย Doi Moi สงผลใหเศรษฐกิจของเวียดนามมีการขยายตัวอยางรวดเร็ว ขณะเดียวกันการ ดําเนินนโยบายท่ีเปดรับการลงทุนจากตางประเทศมากขึ้น ทําใหปจจุบันเวียดนามกลายเปนแหลงดึงดูด การลงทุนท่ีไดร ับความสนใจเปนอยางมากจากนกั ลงทุนท่ัวโลก
4.1) ปจจัยสําคัญที่สนับสนุนใหเวียดนามเปนประเทศท่ีน ลงทุน ประกอบดวย
(1) ความมีเสถียรภาพของรัฐบาล เวียดนามปกครองดวยระบอบสังคมนิยม คอมมิวนิสต โดยมีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียวคือพรรคคอมมิวนิสตเวียดนาม (CPV) ซ่ึงมีบทบาทใน
การกําหนดแนวทางการบริหารประเทศทุกด น ทําใหการบริหารประเทศเปนไปอยางราบร่ืนและนโยบาย
ตางๆ ไดร
การปฏิบ
ิอยางตอเนื่อง ขณะเดียวกนผูนําประเทศมีวิสัยทัศนที่ชัดเจนในการบริหารประเทศ
และมีความมุงม่ันในการพัฒนาเศรษฐกิจอยางจริงจัง ซ่ึงชวยสรางความมั่นใจใหแกนักลงทุนตางชาติท่ี สนใจเขามาลงทุนในเวียดนาม
(2) ทรพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ โดยเฉพาะพลังงานและแรธาตุ เชน การมี แหลงน้ํามันดิบกระจายอยูทั่วทุกภาค ทําใหเวียดนามกลายเปนประเทศผูสงออกน้ํามันดิบรายสําคัญ อันดับ 3 ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตรองจากมาเลเซียและอินโดนีเซีย นอกจากน้ีเวียดนามยังมี ปริมาณเชื้อเพลิงสํารอง เชน กาซธรรมชาติ ปโตรเลียม และถานหินอยูมาก รวมทั้งแรธาตุสําคัญ คือ บอกไซตโปแตสเซียม และเหล็ก นอกจากนี้ ยังมีทรัพยากรปาไมซึ่งลวนเปนวัตถุดิบสําคัญสําหรับการ ลงทุน รวมทั้งทรัพยากรดินและน้ําที่มีอยางเพียงพอทั้งในดานปริมาณและคุณภาพก็เอื้อตอการเพาะปลูก สงผลใหเวียดนามเปนแหลงผลิตสินคาเกษตรหลายรายการจนติดอันดับประเทศผูสงออกสินคาเกษตร รายใหญของโลก เชน พริกไทย (อนดับ 1 ของโลก) ขาว (อันดับ 2 ของโลก รองจากไทย) กาแฟ (อันดับ 2 ของโลก รองจากบราซิล) เม็ดมะมวงหิมพานต (อันดับ 2 ของโลกรองจากอินเดีย) และอาหารทะเล (อนดับ 6 ของโลก)
(3) เปนตลาดขนาดใหญท่ีมีศักยภาพ เวียดนามมีจํานวนประชากรมากถึง 84.5 ลานคน จากการท่ีเวียดนามปดประเทศมานานทําใหประชากรต่ืนตัวกบั สินคาและบริการใหมๆ และมีการ จับจายใชสอยมากขึ้นหลังการเปดประเทศ ประกอบกับชาวเวียดนามเริ่มมีกําลังซื้อมากขึ้นตามการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจที่อยูในชวงขาขึ้น อีกท้ังปริมาณเงินโอนกลับประเทศของชาวเวียดนามโพนทะเล หรือที่เรียกวา ”เวียดกิว” ซึ่งมีประมาณ 3 ลานคน และโอนเงินกลับมาประเทศปละประมาณ 3,200 ลาน เหรียญสหรัฐฯ ชาวเวียดนามสวนใหญมีความตองการสินคาอุปโภคบริโภคที่มีคุณภาพดีจํานวนมากและ เพิ่มขึ้นทุกป ท้ังนี้ประชากรที่มีกําลังซื้อสูงสวนใหญอาศัยอยูในนครโฮจิมินหและจังหวัดรอบนอกกรุง
ฮานอยและจังหวัดตางๆ บริเวณใกลสามเหลี่ยมปากแมน โขงซึ่งเปนพื้นที่สําคัญทางเศรษฐกิจ
2-28 บทที่ 2: ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
(4) เนนนโยบายเปนมิตรกับทุกประเทศและใหความสําคัญกับความปลอดภัย ทําใหเวียดนามไมเคยตกเปนเปาหมายในการกอการรายและเวียดนามแทบไมมีปญหาอาชญากรรมข้ัน รายแรงเนื่องจากการมีกฎหมายที่เขมงวดและมีบทลงโทษท่ีรุนแรง สงผลใหเวียดนามเปนประเทศที่มี ความปลอดภัยสูงแหงหน่ึงของโลกซึ่งเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหนักลงทุนเกิดความเชื่อม่ันและตัดสินใจเขา มาลงทุน
(5) ใหความสําคัญกับการพัฒนาเสนทางคมนาคมขนสง ทั้งการคมนาคมขนสง ทางบก ทางน้ํา และทางอากาศ ตลอดจนสาธารณูปโภคตางๆ ใหมีความสะดวกและทันสมัยยิ่งข้ึนเพ่ือ รองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจโดยเฉพาะการพัฒนาเสนทางระเบียงเศรษฐกิจแนวตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor: EWEC) โดยไดม ีการกอสรางระบบรถไฟความเร็วสูงฮานอย-เหงะอาน (Hanoi-Nghe An) และกําลังจะมีการกอสรางระบบรถไฟความเร็วสูงฮานอย-โฮจิมินหความยาวกวา 2,000 กิโลเมตร อีกทั้งเวียดนามกําลังอยูระหวางการศึกษาโครงการขนสงระบบรางและระบบลออีกนับ 10 โครงการอีกดวย นอกจากนี้ นครโฮจิมินหเพ่ิงประกาศเชิญชวนนักลงทุนเขารวมโครงการกอสราง รถไฟฟารางเดี่ยวความเร็วสูง (hi-speed monorail) สายแรกจากทั้งหมด 3 สาย การกอสรางรถไฟฟาใต ดินเฟสแรกจํานวน 2 สาย จากทง้ หมด 6 สายก็จะเริ่มสรางเชนกัน
(6) ความไดเปรียบดานแรงงาน รอยละ 67.1 ของประชากรในเวียดนามอยูใน วัยทํางานซึ่งมีอายุระหวาง 15-64 ป และอัตราการรูหนังสือของชาวเวียดนามสูงกวารอยละ 90 ทําให เวียดนามมีแรงงานคุณภาพจํานวนมาก อัตราคาจางแรงงานตํ่า และยังสามารถหาแรงงานไดงาย นายจางสามารถรับสมัครแรงงานไดโดยตรงโดยไมตองผานกระทรวงแรงงานของเวียดนาม ใน ขณะเดียวกันชาวเวียดนามก็มีความสนใจสมัครงานซึ่งสิ่งเหลาน้ีเปนจุดแข็งของตลาดแรงงานใน เวียดนาม
(7) นโยบายสงเสริมการลงทุนของรัฐบาลเวียดนามและการเพิ่มสิทธิประโยชน ตางๆ ที่ผานมารัฐบาลเวียดนามมีการปรับปรุงกฎระเบียบตางๆ ใหเอ้ือตอการลงทุนจากตางประเทศ และเพ่ิมสิทธิประโยชนตางๆ ใหแกนักลงทุนตางชาติเพื่อดึงดูดการลงทุนสูเวียดนาม โดยมีกระทรวง วางแผนและลงทุน (Ministry of Planning and Investment: MPI) เปนหนวยงานท่ีทําหนาท่ีกํากับดูแล
และสงเสริมการลงทุนในเวียดนาม สิทธิประโยชนท่ีสําคัญ ได ก
(7.1) การยกเวนภาษีนําเขาวัตถุดิบ ชิ้นสวน และสวนประกอบของวัตถุดิบ เปนเวลา 5 ปเพื่อสนับสนุนการผลิตเพื่อสงออก
(7.2) การอนุญาตใหนักลงทุนตางชาติสงผลกําไรกลับประเทศไดอยางเสรี ขณะนี้รัฐบาลเวียดนามประกาศยกเลิกการเก็บภาษีจากผลกําไรที่โอนกลับประเทศ (Profit Remittance Tax)
บทที่ 2: ขอมูลพนื ฐานของประเทศไทยและเวียดนาม 2-29
(7.3) การอนุญาตใหกิจการท่ีถือหุนโดยชาวตางชาติทั้งหมด 100 % โอน ผลขาดทุนสะสม (Loss Carry Forward) ไปหกั ลบกับผลกําไรในปตอๆ ไปไดอ ีกนาน 5 ป
(7.4) การทยอยยกเลิกระบบสองราคา เพ่ือใหเกิดความเทาเทียมกัน ระหวางนักลงทุนตางชาติกับนักลงทุนชาวเวียดนาม
(7.5) การลดหยอนภาษีเงินไดนิติบุคคล โดยจัดเก็บภาษีในอัตรารอยละ
10 จากเดิมอัตรารอยละ 28 ในชวง 10 - 15 ปแรกท่ีเริ่มดําเนินกิจการ ท้ังนีข้ ึ้นอยูกับเงื่อนไขของประเภท กิจการลงทุน จํานวนเงินลงทุน สถานท่ีตั้งของโครงการลงทุน และสัดสวนการสงออก เปนตน หากธุรกิจ มีกําไรเม่ือใดก็จะไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลในชวง 4 ปแรกที่ผลประกอบการมีกําไร หลังจากนั้น
จะไดรับลดหยอนภาษีเหลือรอยละ 5 เปนเวลา 7 ป และเสียภาษีในอัตรารอยละ 10 จนถึงปท 15
หลงจากน
นักลงทุนตองเสียภาษีเงินไดนิติบุคคลในอตราปกติ
(7.6) สรางความม่ันใจใหแกนักลงทุนตางชาติ รัฐบาลเวียดนามไดจัดทํา
ขอตกลงเพื่อสงเสริมและคุมครองการลงทุนและขอตกลงเพื่อยกเวนการเก็บภาษีซอนกับประเทศตาง ๆ รวมทั้งไทยดวย โดยใหการรับรองวาหากรัฐบาลเวียดนามออกกฎหมายใหมใดๆ ที่ทําใหนักลงทุน ตางชาติไดรับความเสียหายหรือไดรับสิทธิประโยชนลดลง นักลงทุนตางชาติสามารถเลือกรับสิทธิ ประโยชนตามใบอนุญาตสงเสริมการลงทุนที่ไดรับอยูเดิม หรือเลือกที่จะรับสิทธิประโยชนตางๆ ตามที่ ระบุไวในกฎหมายการลงทุนฉบับปรับปรุงใหมก็ได
(7.7) สิทธิในการใชที่ดิน (land use right) ระยะเวลาท่ีไดรับสิทธิในการใช ท่ีดิน ระยะเวลา 50 - 70 ป ซ่ึงขึนอยูกบระยะเวลาที่กําหนดใน Investment license ของโครงการลงทุน
(8) การมีสวนรวมในประชาคมโลก อาทิ การเปนสมาชิกกลุมอาเซียน เอเปค การจัดทําขอตกลงการคาทวิภาคีกับสหรัฐฯ การสรางความรวมมือกับประเทศเพื่อนบานภายใตกรอบ ความรวมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี-เจาพระยา-แมโขง (Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy: ACMECS) และกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง (Greater Mekong Subregion: GMS) รวมท้ังการเปนสมาชิกขององคการการคาโลก (World Trade Organization: WTO) ลําดับที่ 150
4.2) การลงทุนจากตางประเทศ
ในชวงป 2531-2550 ที่ผานมา พบวาการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศมีจํานวน 8,684 โครงการ คิดเปนมูลคาเงินลงทุนสะสม 85,056.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ ประเทศที่มีมูลคาเงินลงทุนสะสมใน เวียดนามมากท่ีสุดคือเกาหลี รองลงมาไดแก สิงคโปร ไตหวัน ญี่ปุน และหมูเกาะบริติชเวอรจิน ตามลําดับ
(ตารางที่ 2.12) ขณะท่ีไทยเปนนักลงทุนอันดับท 13 ในเวียดนาม มีโครงการลงทุนทั้งสิ้น 167 โครงการ
คิดเปนมูลคาเงินลงทุนสะสม 1,664.9 ลานเหรียญสหรฐฯ และจากการที่เวียดนามผูกพันการเปนสมาชิกกับ
WTO เมื่อป 2550 เวียดนามจะตองเปดเร่ิมเสรีด นการลงทุนในป 2552
2-30 บทที่ 2: ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
สําหรับป 2550 พบวามีการลงทุนจากตางประเทศจํานวน 1,445 โครงการ คิดเปนมูลคา การลงทุน 17,855.9 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งประเทศที่เขามาลงทุนมากที่สุดไดแก เกาหลีใต รองลงมา ไดแก หมูเกาะบริติชเวอรจิน สิงคโปร ไตหวัน และมาเลเซีย ตามลําดับ สวนกิจการที่นักลงทุนตาง ชาตินิยมเขาไปลงทุนในเวียดนามมากที่สุดคืออาคารสํานักงานและอพารตเมนต รองลงมา ไดแก อุตสาหกรรมเบา อุตสาหกรรมหนัก โรงแรมและทองเท่ียว และน้ํามันและกาซธรรมชาติ ตามลําดับ โดย จังหวัดที่นักลงทุนตางชาติเขาไปลงทุนมากที่สุด คือ Ho Chi Minh City รองลงมาคือ Hanoi, Dong Nai, Binh Dong และ Phu Yen ตามลําดบั (ตารางท่ี 2.13 - 2.15)
ตารางที่ 2.12: ประเทศท่ีมีการลงทุน 10 อนดับแรกในเวียดนามป 2531 - 2550
ลําดับที่ | ประเทศ | จํานวนโครงการ | มูลคาเงินลงทุนสะสม (ลานเหรียญสหรัฐฯ) |
1 | เกาหลี | 1,857 | 14,398.1 |
2 | สิงคโปร | 549 | 11,058.8 |
3 | ไตหวัน | 1,801 | 10,763.1 |
4 | ญี่ปุน | 934 | 9,179.7 |
5 | หมูเกาะบริติชเวอรจิน | 342 | 7,794.9 |
6 | ฮองกง | 457 | 5,933.2 |
7 | มาเลเซีย | 245 | 2,823.2 |
8 | สหรัฐอเมริกา | 376 | 2,788.6 |
9 | เนเธอรแลนด | 86 | 2,598.5 |
10 | ฝรั่งเศส | 196 | 2,376.4 |
อื่นๆ | 1,841 | 15,342.3 | |
รวม | 8,684 | 85,056.8 |
ที่มา : Ministry of Planning and Investment of Vietnam, 2551
บทที่ 2: ขอมูลพนื ฐานของประเทศไทยและเวียดนาม 2-31
ตารางท่ี 2.13: ประเทศท่ีมีการลงทุน 10 อันดบแรกในเวียดนามป 2550 (1 ม.ค. – 22 ธ.ค. 2550)
ลําดับที่ | ประเทศ | จํานวนโครงการ | มูลคาเงินลงทุน (ลานเหรียญสหรัฐฯ) |
1 | เกาหลีใต | 405 | 4,463.2 |
2 | หมูเกาะบริติชเวอรจ ิน | 56 | 4,267.7 |
3 | สิงคโปร | 84 | 2,614.2 |
4 | ไตหวัน | 211 | 1,735.6 |
5 | มาเลเซีย | 45 | 1,091.2 |
6 | ญี่ปุน | 154 | 965.2 |
7 | จีน | 115 | 460.5 |
8 | สหรัฐอเมริกา | 62 | 358.3 |
9 | ไทย | 24 | 285.1 |
10 | ฮองกง | 68 | 238.8 |
อื่นๆ | 221 | 1376.2 | |
รวม | 1,445 | 17,855.9 |
ท่ีมา : General Statistics Office of Vietnam, 2551
2-32 บทที่ 2: ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
ตารางท่ี 2.14: การลงทุนในเวียดนามจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรมป 2550 (1 ม.ค. - 22 ธ.ค. 2550)
ประเภทอุตสาหกรรม | จํานวนโครงการ | มูลคาการลงทุน (พันลานเหรียญสหรฐั ฯ) |
Construction of office, apartment | 28 | 4,721.0 |
Heavy industry | 337 | 3,477.0 |
Light industry | 441 | 2,474.3 |
Hotel, tourism | 48 | 1,872.8 |
Oil & gas | 7 | 1,868.3 |
Construction | 87 | 979.6 |
Transport, communication, post office | 26 | 571.3 |
Construction of new urban area | 3 | 400.0 |
Services | 301 | 376.8 |
Infra-structure for industrial park | 7 | 333.5 |
Food manufacturing | 38 | 243.1 |
Culture, health & education | 42 | 235.7 |
Agriculture, forestry | 63 | 180.5 |
Fishery | 16 | 101.9 |
Finance & banking | 1 | 20.0 |
Total | 1,445 | 17,855.9 |
ที่มา : General Statistics Office of Vietnam, 2551
บทที่ 2: ขอมูลพนื ฐานของประเทศไทยและเวียดนาม 2-33
ตารางที่ 2.15: จงหวัดที่มีการลงทุนมากท่ีสุด 10 อันดบแรกในเวียดนามป 2550 (1 ม.ค. - 22 ธ.ค. 2550)
ลําดบที่ | จงหวดั | จํานวนโครงการ | มูลคาเงินลงทุน (ลานเหรียญสหรฐั ฯ) |
1 | Ho Chi Minh | 307 | 2,280.7 |
2 | Ha Noi | 209 | 1,990.8 |
3 | Dong Nai | 119 | 1,786.8 |
4 | Binh Duong | 280 | 1,754.1 |
5 | Phu yen | 5 | 1,703.8 |
6 | Ba Ria - Vung Tau | 18 | 1,069.4 |
7 | Da Nang | 21 | 812.1 |
8 | Long An | 66 | 809.4 |
9 | Vinh Phuc | 18 | 780.6 |
10 | Hau Giang | 2 | 629.0 |
Others | 400 | 4,239.1 | |
รวม | 1,445 | 17,855.9 |
ท่ีมา : General Statistics Office of Vietnam, 2551
สวนสถานการณลาสุดในป 2551 (มิถุนายน) พบวาการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศในเวียดนาม ไดเพิ่มข้ึนเกือบ 4 เทาเมื่อเทียบกับชวงตนป ขอมูลดังกลาวช้ีใหเห็นวาบรรดานักลงทุนยังคงมองภาพรวม เศรษฐกิจของเวียดนามในแงบวกทามกลางภาวะเงินเฟอในประเทศท่ียังอยูในระดับสูง กระทรวงวางแผน และการลงทุนของเวียดนามไดเปดเผยขอมูลวาปจจุบันมีบริษัทขามชาติไดทําขอตกลงการลงทุนใน เวียดนามแลวถึง 3.16 หม่ืนลา นเหรียญสหรัฐฯ แสดงใหเหนวาความเชื่อมั่นของนักลงทุนในเวียดนามยังคง แข็งแกรง (โพสตทูเดย, 2551)
4.3) รูปแบบการลงทุนของตางชาติในเวียดนาม มี 5 รูปแบบ
(1) กิจการที่ชาวตางชาติเปนเจาของทั้งหมด (Wholly Foreign-Owned Enterprise) เปนการลงทุนโดยชาวตางชาติทั้งหมดซึ่งจัดตั้งเปนบริษัทจํากัดที่มีฐานะเปนนิติบุคคลตาม กฎหมายของเวียดนาม โดยมีขอดีคือการบริหารงานคลองตัวเนื่องจากผูลงทุนมีอํานาจเต็มที่ในการ บริหาร สวนขอเสียคืออาจไมไดรับความสะดวกในการติดตอประสานงานกับหนวยราชการตางๆ ของ เวียดนาม และประสบปญหาการถือกรรมสิทธิ์ในสินทรัพยตางๆ และขอกําหนดในการจางแรงงาน ทองถิ่น
2-34 บทที่ 2: ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
(2) กิจการรวมทุน (Joint Ventures: JV) เปนการลงทุนรวมกันระหวางหุนสวน
ชาวเวียดนามกบชาวตางชาติ จดตั้งเปนบริษ จํากัดที่มีฐานะเปนนิติบุคคลโดยชาวตางชาติมีสัดสวนการ
ลงทุนไมต่ํากวารอยละ 30 ของเงินลงทุนทั้งหมด ระยะเวลาในการลงทุนไมเกิน 50 ป และในสวนของ คณะกรรมการบริหาร (Board of Management: BOM) ประกอบดวยผูแทนจากแตละฝายตามสัดสวน การลงทุนแตตองมีสมาชิกที่เปนชาวเวียดนามอยางนอย 2 คน ขอดีคือเปนรูปแบบการลงทุนที่รัฐบาล เวียดนามใหการสงเสริมมากท่ีสุด นอกจากนี้ นักลงทุนตางชาติสามารถอาศัยหุนสวนชาวเวียดนามเปนผู ติดตอประสานงานกับหนวยราชการตางๆ ของเวียดนามทําใหไดรับความสะดวกและรวดเร็ว แตขอเสีย คือนักลงทุนชาวเวียดนามมักรวมทุนโดยใชที่ดินและส่ิงกอสรางในเวียดนามตีคาออกมาเปนเงินลงทุน
ประเมินสูงกวามูลคาที่แทจริงซึ่งท ให และการขยายธุรกิจ
ลงทุนตางชาติเสียเปรียบ อีกทังอาจมีปญหาด
นการบริหารงาน
(3) สญญารวมลงทุนธุรกิจ (Business Co-operation Contract: BCC) เปนการ รวมทุนระหวางหุนสวนชาวเวียดนามกับชาวตางชาติในธุรกิจท่ีหุนสวนชาวเวียดนามขาดความชํานาญ จึงทําขอตกลงใหหุนสวนชาวตางชาติ ซึ่งอาจมีมากกวา 1 รายเขารวมทําธุรกิจดวยโดยไมมีการจด ทะเบียนเปนบริษัทใหมและไมมีขอกําหนดเรื่องเงินทุนข้ันต่ําของหุนสวนชาวตางชาติ แตไดทําสัญญาวา หุนสวนชาวเวียดนามจะแบงปนความรับผิดชอบและผลกําไรให สวนระยะเวลาการลงทุนขึ้นอยูกับการ ตกลงกัน ตัวอยางของสัญญารวมลงทุนธุรกิจ เชน ชาวเวียดนามที่ทําธุรกิจผลิตเสื้อผาสําเร็จรูปตองการ
ทําธุรกิจโรงฟอกยอมดวยแตยังขาดความชํานาญจึงให ักลงทุนตางชาติเขารวมดาเนํ ินธุรกิจโดยตกลงจะ
แบงผลประโยชนให เปนต ขอดคี ือใชเงนลงิ ทุนนอย ไดผลกําไรที่ชัดเจน นักลงทุนตางชาติสามารถโอน
เงินกําไรกลับประเทศไดคอนขางงาย แตขอเสียคือนักลงทุนตางชาติขาดอิสระในการบริหารกิจการและ ไมมีการจํากดความรับผิดชอบหากเกิดการขาดทุน
(4) กิจการที่ทําสัญญากับภาครัฐ เปนการลงทุนระหวางหนวยงานราชการของ
เวียดนามกับน
ลงทุนตางชาติ โดยมีรูปแบบการลงท
ท่ีหลากหลายข้ึนอยูกบขอกําหนดในสัญญา
(5) อื่นๆ นอกจากรูปแบบการลงทุนท่ีกลาวมาแลว นักลงทุนตางชาติอาจขยาย กิจการในเวียดนามในรูปแบบอ่ืนๆ เชน สํานักงานตัวแทน (Representative Offices) ทําหนาที่เปน
ตัวแทนทางการค และการลงทุน ตลอดจนใหบรกาิ รดานตางๆ แทนบริษัทแมในตางประเทศ เชน บรกาิ ร
ดานขอมูล การหาตลาด และติดตามเรื่องกฎหมายและเอกสารตางๆ ใหแกธุรกิจที่ตองการเขาไปลงทุน ในเวียดนาม และสาขา (Branches) ดําเนินการไดเฉพาะธุรกิจบางประเภทเทานั้น มสี ถานะเปนบริษัทลูก เชน ธุรกิจธนาคาร ธุรกิจประกันภัย บริษัทกฎหมาย และบริษัทบัญชี เปนตน
4.4) เขตเศรษฐกิจพิเศษ
เวียดนามไดจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษจากตนแบบของไตหวัน สิงคโปรและจีน โดยแบง ออกเปน 3 ประเภท ไดแก (1) เขตสงเสริมการสงออก (Export Processing Zone: EPZ) จัดตั้งขึ้นในป 2534 (2) นิคมอุตสาหกรรม (Industrial Zone: IZ) จัดตั้งป 2537 และ (3) High-Tech Zone (HTZ) ซึ่งมี
บทที่ 2: ขอมูลพนื ฐานของประเทศไทยและเวียดนาม 2-35
จํานวนรวมท้ังหมด 119 แหง ต้ังอยูในภาคเหนือ 32 แหง ภาคกลาง 24 แหง และภาคใต 63 แหง สําหรับเขตอุตสาหกรรมอมตะซ่ึงเปนเขตอุตสาหกรรมท่ีนักลงทุนไทยเขาไปรวมลงทุนกับชาวเวียดนาม ต้ังในจังหวัดดองไนทางภาคใต จัดเปนนิคมอุตสาหกรรมระดับ A ที่มีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
ทําใหน
ลงทนตางชาติให
วามสนใจเขาไปลงทุนเปนจํานวนมาก
4.5) โครงการลงทุนท่เว
ดนามให
วามสาคัญในการสงเสริมการลงทุน
(1) อุตสาหกรรมผลิตเพื่อสงออก
(2) การเลียงสตว แปรรูปสินคาเกษตร ปาไม และประมง
(3) อุตสาหกรรมที่เนนการใชเ ทคโนโลยีข้ันสูง
(4) อุตสาหกรรมท่ีเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมและการลงทุนดา นการวิจยและพฒนา
(5) อุตสาหกรรมที่เนนการใชแรงงาน วตถุดิบ และทรัพยากรธรรมชาติ
(6) โครงการกอสรางและการผลิตในภาคอุตสาหกรรม ทั้งนี้โครงการลงทุนในถ่ินทุรกันดาร อาทิ บริเวณเทือกเขา ที่ราบสูง และชนบทที่
หางไกลความเจริญ เปนพ้ืนที่เปาหมายท่ีกระทรวงวางแผนและลงทุนเนนใหการสงเสริมเปนพิเศษเพื่อ กระจายความเจริญสูภูมิภาค
4.6) กิจการทไี มอนุญาตให างชาติเขาไปลงทุน
ประมง การสํารวจอัญมณี ผลิตภัณฑขายดักปลา เบียรและเครื่องดื่ม ยาสูบ ซีเมนต อิฐ และอิฐดินเหนียว กระเบื้อง เหล็กลวดสําหรับกอสราง เหล็กทอ สังกะสี ผลิตภัณฑของปุยไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโปแตสเซียม แกวเพ่ือการกอสราง หลอดฟลูออเรสเซนท และนํ้ามันหลอลื่น เปนตน เน่ืองจากรัฐบาลเวียดนามมีมาตรการไมตองการเพิ่มจํานวนผูผลิตในกิจการเหลานี้
4.7) อุตสาหกรรมทน่ี าลงทุนในเวียดนาม
(1) อุตสาหกรรมการเกษตร รัฐบาลเวียดนามมีแผนอยางจริงจังในการสงเสริม การเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ เชน กาแฟ ขาว ยางพารา ชา มะมวงหิมพานต และพริกไทย ซึ่งผลผลิต เหลานี้คลายคลึงกับไทย ดังนั้นนักลงทุนไทยสามารถเขาไปรวมลงทุนโดยใชเวียดนามเปนแหลงผลิตเพ่ือ สงออกผลผลิตทางการเกษตรเหลานี้มาแปรรูปในประเทศไทย และสงไปจําหนายยังตลาดตางประเทศได ทั้งนี้ปจจุบันสิงคโปรและมาเลเซียไดเขาไปลงทุนในอุตสาหกรรมดานการเกษตรในเวียดนามเปนจํานวน มาก นอกจากนี้รัฐบาลเวียดนามยังใหความสําคัญกับการสงเสริมการพัฒนากรรมวิธีการแปรรูปสินคา เกษตรและสงเสริมการเพาะเลี้ยงสัตวนํา้ บริเวณชายฝงโดยเฉพาะกุงดวย
2-36 บทที่ 2: ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
(2) อุตสาหกรรมผลิตสินคาอุปโภคบรโภค ตลาดสินคาภายในเวียดนามมีขนาด ใหญเนื่องจากมีประชากร 84.5 ลานคน และปจจุบันชาวเวียดนามมีกําลังซื้อสูงข้ึนตามเศรษฐกิจที่อยู ในชวงขาข้ึน จึงมีความตองการใชสินคาอุปโภคบริโภคท่ีมีคุณภาพดีซ่ึงเวียดนามยังไมสามารถผลิตได ดังน้ัน การเขาไปลงทุนผลิตสินคาอุปโภคบริโภค อาทิ สบู ยาสีฟน ผงซักฟอก ผาอนามัย และกระดาษ ทิชชู ฯลฯ คุณภาพดีเพื่อตอบสนองตลาดระดับกลางถึงระดับบนในเวียดนาม จึงเปนธุรกิจท่ีมีลูทางดีและ นาสนใจ
เวียดนามมีแหลงน
(3) อุตสาหกรรมหนักท่ีมีศักยภาพ โดยเฉพาะโรงกล่ันนํ้ามัน เน่ืองจาก มันสํารองในประเทศอยูเปนจํานวนมากซึงรฐบาลตั้งเปาหมายผลิตนํ้ามันดิบใหได 20
ลานตันภายในป 2553 อยางไรก็ตาม เวียดนามไมสามารถใชประโยชนจากทรัพยากรที่มีอยูไดเต็มท่ี เน่ืองจากเวียดนามเพิ่งมีโครงการกอสรางโรงกลั่นน้ํามันเพียงแหงเดียวเทานั้นคือโรงกล่ัน Dung Quat ต้ังอยูในจังหวัด Quang Ngai ทางภาคกลางของเวียดนาม ซึ่งคาดวาจะเปดดําเนินการไดอยางสมบูรณ ในป 2552 ดังนั้นรัฐบาลเวียดนามจึงใหความสําคัญเปนอยางมากกับการเขามาลงทุนในอุตสาหกรรม ดังกลาว
(4) อุตสาหกรรมผลิตเพ่ือสงออก โดยใชวัตถุดิบและแรงงานของเวียดนามเปน ปจจัยสําคัญในการผลิต นอกจากน้ีนักลงทุนยังสามารถใชสิทธิประโยชนจากขอตกลงการคาทวิภาคี (Bilateral Trade Agreement) ระหวางเวียดนามกับสหรัฐฯ หรือสนธิสัญญาทางการคาที่เวียดนามมีกับ ประเทศตางๆ เพ่ือทําการผลิตและสงออกไปยังประเทศคูสัญญาได
(5) อุตสาหกรรมทองเที่ยว รัฐบาลของเวียดนามมีแผนพัฒนาแหลงทองเที่ยว อยางจริงจัง ขณะเดียวกันมีความรวมมือกับประเทศเพ่ือนบานผานโครงการตางๆ ในการสงเสริมการ ทองเที่ยวในประเทศและภูมิภาค เนื่องจากเวียดนามมีแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติที่สวยงามและ หลากหลาย รวมท้ังยังมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและเชื้อชาติ จึงเปนที่สนใจของบรรดา นักทองเที่ยวท้ังจากในประเทศและตางประเทศ ทั้งนี้ธุรกิจทองเท่ียวในเวียดนามสามารถสรางรายได ใหกับประเทศเปนจํานวนมาก อยางไรก็ตาม ปจจุบันโรงแรม รีสอรท และที่พักตากอากาศ ที่มีอยูยังมีไม เพียงพอที่จะรองรับนักทองเที่ยวที่เพิ่มขึ้น ดังน้ันการลงทุนในธุรกิจดังกลาวจึงมีศักยภาพสูงในการ ขยายตัว นอกจากนี้ ยังมีธุรกิจที่สามารถตอยอดจากการทองเท่ียว เชน สนามกอลฟ ซึ่งเวียดนามยังขาด แคลน
4.7) ปญหาและอุปสรรคดานการลงทุนในเวียดนามท ําคัญ
(1) มีการเปล่ียนแปลงกฎระเบียบบอยครั้ง ขณะเดียวกันกฎระเบียบตางๆ ยัง ขาดความชัดเจนเชน พิธีการและแบบฟอรมศุลกากรแตกตางกันไปในแตละเมือง ทําใหนักลงทุนตางชาติ ขาดความมั่นใจในการลงทุนหรือเขาไปทําธุรกิจในเวียดนาม
บทที่ 2: ขอมูลพนื ฐานของประเทศไทยและเวียดนาม 2-37
(2) ปญหาความข
แยงระหวางนักลงทุนตางชาติกบผ
วมทุนทองถิ่น เนื่องจาก
แนวทางการบริหารงานแตกตางกัน ปญหาการแบงปนผลประโยชนไมลงตัว เปนตน อยางไรก็ตาม
ปจจุบันปญหาเหลาน
ดนอยลง เนื่องจากการลงทุนเปนตางชาติ 100 เปอรเซ็นตมากข้นึ
(3) ระบบกฎหมายและระบบการตัดสินขอพิพาทของเวียดนามมีผลตอการ
ตัดสินใจเขามาลงทุนของนักลงทุนตางชาติ ซ่ึงในทางปฏิบัติการพิจารณาตัดสิน/ลงโทษนอกจากขึ้นอยู กบตัวบทกฎหมายแลว ยังตองพิจารณาถึงผลประโยชนของประชาชนสวนใหญเปนสําคญั
(4) ระบบโครงสร งพ ฐานและสาธารณูปโภคยงไมมควี ามพรอมเทาที่ควร
(5) ปญหาขาดแคลนแรงงานฝมือและผูบริหารระดับกลางที่มีประสบการณใน การดําเนินธุรกิจสมัยใหม
(6) ความลาชาในการปฏิรูประบบการเงินการธนาคาร
(7) นักลงทุนทองถ่ินขาดแคลนเงินทุนในการรวมทุนกับชาวตางชาติ และขาด ประสบการณในการดําเนินธุรกิจและการแขงขันในตลาดโลก
2.2.3 การทําการคาระหวางประเทศ
1) นโยบายการคาระหวางประเทศ
ภายหลังจากที่ประเทศเวียดนามเริ่มปรับเปลี่ยนระบบเศรษฐกิจ โดยการนํานโยบาย Doi Moi มาใชซ่ึงเปนนโยบายที่เปล่ียนแปลงระบบการวางแผนจากสวนกลางมาสูระบบตลาดเสรีมีการ กระจายอํานาจทางเศรษฐกิจไปทุกองคกรและกระตุนใหภาคเอกชนเขามามีบทบาทในการทําธุรกรรม มากขึ้น รวมทั้งสงเสริมการคาและการลงทุนจากตางประเทศ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกลาวดําเนินอยาง คอยเปนคอยไปในระยะหลังคือเร่ิมต้ังแตป 2532 การคาและการลงทุนของเวียดนามไดรับการพัฒนา อยางรวดเร็ว การคาระหวางประเทศไดรับการพัฒนาอยางตอเน่ืองและเปนสากลมากขึ้น สงผลให เวียดนามมีการพัฒนา และมีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในอัตราคอนขางสูงคือเฉลี่ยประมาณ รอยละ 8.2 ตอป
การคาระหวางประเทศของเวียดนามแบงไดเปน 2 กลุม คือ (1) การคากับกลุมท่ีไมตอง ใชเงินตราตางประเทศซึ่งเปนการทําการคากับกลุมประเทศสังคมนิยมเปนสวนใหญโดยมีการทําการคา ในลักษณะแลกเปลี่ยนสินคาตอสินคา (Barter System) และ (2) การคาที่ตองใชเงินตราตางประเทศ ใน ปจจุบันการคาประเภทท่ีเปนลักษณะแลกเปลี่ยนสินคาตอสินคามีแนวโนมลดลงอยางมาก เนื่องจากการ ลดความชวยเหลือของกลุมประเทศสังคมนิยมที่มีตอเวียดนามลดนอยลง และสาเหตุที่สําคัญอีกประการ คือการที่เวียดนามมีการดําเนินนโยบายเปดประเทศ สงผลใหการขยายตลาดการคากับกลุมประเทศ
ตะวันตกเพิ่มมากข ดงนั้นการคาระหวางประเทศของเวียดนามในปจจุบันจึงเปนรูปแบบการคาที่ตองใช
2-38 บทที่ 2: ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
เงินตราตางประเทศเปนสวนใหญ ประกอบกับการที่เวียดนามเขาเปนสมาชิก ASEAN ในป 2538 ได สงผลตอเวียดนามทั้งในดานการเมืองและดานการคา ทําใหสหรัฐอเมริกาเปดสัมพันธทางการฑูตอยาง เต็มที่กับเวียดนาม ดังน้ันการขยายตัวดานการคาในรูปแบบที่ตองใชเงินตราตางประเทศจึงยิ่งเพ่ิม ความสําคัญมากขึ้น
นโยบายการคาระหวางประเทศของเวียดนามคือการสงเสริมการคาเสรี โดยรัฐบาลไดมี การปรับปรุงกฎหมายและระเบียบใหเอื้ออํานวยตอการคาระหวางประเทศ โดยมีการจัดต้ังหนวยงานของ รัฐเพื่อประสานงานกับบริษัทการคาระหวางประเทศและบริษัทเอกชนในการติดตอการคากับตางประเทศ
ซึ่งมีหนวยงานที่สําคัญ ไดแก กระทรวงเศรษฐก สมพันธกับตางประเทศ ศูนยพัฒนาการสงออกหอการคา
และอุตสาหกรรมแหงเวียดนาม อยางไรก็ตาม ปจจุบันเวียดนามยังคงมีนโยบายปกปองการใชประโยชน จากทรัพยสินและทรัพยากรธรรมชาติภายในประเทศ รวมท้ังคุมครองกิจการภายในประเทศ โดยมี มาตรการควบคุมทั้งดานการสงออกและนําเขา เชน การควบคุมการสงออกและนําเขาสินคาบางประเภท และการกําหนดโควตาการสงออกและนําเขาสินคาบางประเภท เปนตน (กรมการคาตางประเทศ, 2550)
2) สถานการณการคาระหวางประเทศ
สถานการณการคาของเวียดนามในป 2549 (ธนาคารแหงประเทศไทย, 2549) พบวา การคาระหวางประเทศเวียดนามขยายตัวตอเนื่องจากปกอน โดยมีมูลคาการคา 84,717 ลานดอลลาร สรอ. เพิ่มขึ้นจากปกอนรอยละ 22.4 สินคาสงออกมีมูลคา 39,826 ลานดอลลาร สรอ. เพิ่มขึ้นรอยละ
22.7 สวนสําคัญเปนผลมาจากการเพิ่มข้ึนของมูลคาการสงออกนํ้ามันดิบ ขณะที่การนําเขามีมูลคา 44.891 ลานดอลลาร สรอ. เพิ่มข้ึนรอยละ 22.1 เปนผลจากการเพิ่มข้ึนของราคาผลิตภัณฑปโตรเลียม ผาและดายเปนสําคญั
2.1) การสงออกสินคา
สินคาท่ีสงออกมากท่ีสุดคือน้ํามันดิบซ่ึงมีมูลคา 8,323 ลานดอลลาร สรอ. เพ่ิมข้ึน รอยละ 12.7 (ตารางท่ี 2.16) ตามราคาในตลาดโลกที่ปรับตัวสูงขึ้น รองลงมาไดแก สิ่งทอและเสื้อผา สําเร็จรูปมูลคา 5,802 ลานดอลลาร สรอ. เพิ่มข้ึนรอยละ 20.7 รองเทามูลคา 3,555 ลานดอลลาร สรอ. เพ่ิมขึ้นรอยละ 18.3 ผลิตภณฑสตวน้ําทะเลมูลคา 3,364 ลานดอลลาร สรอ. เพิ่มขึ้นรอยละ 22.7 และไม และเฟอรนิเจอร มีมูลคา 1,904 ลานดอลลาร สรอ. เพิ่มขึ้นรอยละ 25.5 (ธนาคารแหงประเทศไทย, 2549)
ตลาดสงออกที่สําคัญ ไดแก สหรัฐอเมริกา เนื่องจากขอตกลง Bilateral Trade Agreement ระหวางเวียดนามกับสหรัฐฯ สงผลใหสหรัฐฯ กลายเปนตลาดสงออกที่สําคัญแทนญี่ปุน โดย ในป 2548 มีมูลคาการสงออกไปสหรัฐฯ จํานวน 5,930.6 ลานเหรียญสหรัฐฯ รองลงมาไดแก ประเทศใน กลุมสหภาพยุโรป (5,551.7 ลานเหรียญสหรัฐฯ) ญี่ปุน (4,411.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ) จีน (2,961 ลาน เหรียญสหรัฐฯ) ในป 2549 เดือนพฤษภาคม มูลคาการสงออกไปสหรัฐยังคงเปนอันดับหนึ่ง เปนมูลคา
บทที่ 2: ขอมูลพนื ฐานของประเทศไทยและเวียดนาม 2-39
717.6 ลานเหรียญสหรัฐฯ อันดับสองไดแก สหภาพยุโรป เปนมูลคา 557.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ อันดับ
สาม คือ ญ่ีปุน เปนมูลคา 437.4 ล นเหรียญสหรฐฯ (สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน, 2550)
ตารางท่ี 2.16: สินคาสงออกที่สําคญของเวียดนามป 2545 - 2549
หนวย: ดอลลาร สรอ.
สินคา | มูลคาการสงออก | อตั ราการขยายตัว | ||||||||
2545 | 2546 | 2547 | 2548 | 2549 | 2545 | 2546 | 2547 | 2548 | 2549 | |
นํ้ามันดิบ | 3,226 | 3,777 | 5,666 | 7,387 | 8,323 | 3.2 | 17.1 | 50.0 | 30.4 | 12.7 |
สิ่งทอและเสือผาสําเร็จรูป | 2,710 | 3,630 | 4,319 | 4,806 | 5,802 | 37.2 | 33.9 | 19.0 | 11.3 | 20.7 |
รองเทา | 1,828 | 2,225 | 2,604 | 3,005 | 3,555 | 15.2 | 21.7 | 17.0 | 15.4 | 18.3 |
ผลิตภัณฑสัตวนําทะเล | 2,024 | 2,217 | 2,397 | 2,741 | 3,364 | 11.5 | 9.5 | 8.1 | 14.4 | 22.7 |
ไมและเฟอรนิเจอร | N/A | N/A | 1,139 | 1,517 | 1,904 | N/A | N/A | - | 33.2 | 25.5 |
ที่มา: ธนาคารแหงประเทศไทย, 2550
2.2) การนําเขาสินคา
สินคานําเขามากท่ีสุดคือเครื่องจักรและชิ้นสวนอุปกรณซึ่งมีมูลคา 6,555 ลาน ดอลลาร สรอ. เพ่ิมขึ้นรอยละ 24.8 (ตารางที่ 2.17) รองลงมา ไดแก ผลิตภัณฑปโตรเลียม 5,848 ลาน ดอลลาร สรอ. เพ่ิมขึ้นรอยละ 17.7 ผาและดาย 3,722 ลานดอลลาร สรอ. เพ่ิมข้ึนรอยละ 27.4 เหล็กและ เหล็กกลา 2,905 ลานดอลลาร สรอ. ลดลงรอยละ 2.6 และคอมพิวเตอรและอิเล็กทรอนิกส 2,055 ลาน ดอลลาร สรอ. เพิ่มขึ้นรอยละ 21.2 (ธนาคารแหงประเทศไทย, 2550)
ตารางที่ 2.17: สินคานําเขาที่สําคัญของเวียดนามป 2545 - 2549
หนวย: ดอลลาร สรอ.
สินคา | มูลคาการนําเขา | อัตราการขยายตัว | ||||||||
2545 | 2546 | 2547 | 2548 | 2549 | 2545 | 2546 | 2547 | 2548 | 2549 | |
เครื่องจักรและ ชิ้นสวนอุปกรณ | 3,700 | 5,350 | 5,116 | 5,254 | 6,555 | 36.7 | 44.6 | -4.4 | 2.7 | 24.8 |
ผลิตภณฑ ปโตรเลียม | 2,017 | 2,410 | 3,571 | 4,969 | 5,848 | 10.0 | 19.5 | 48.2 | 39.1 | 17.7 |
ผา และเสนดาย | 1,781 | 2,039 | 2,265 | 2,922 | 3,722 | N/A | 14.5 | 11.1 | 29.0 | 27.4 |
เหล็กกลา | 1,317 | 1,642 | 2,509 | 2,984 | 2,905 | 36.5 | 24.7 | 52.8 | 18.9 | -2.6 |
คอมพิวเตอรและ อิเล็กทรอนิกส | 649 | 968 | 1,324 | 1,695 | 2,055 | -8.6 | 49.2 | 36.8 | 28.0 | 21.2 |
ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย, 2550
2-40 บทที่ 2: ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
สําหรับตลาดการนําเขาสินคาที่สําคัญ ไดแก จีน ซึ่งเปนแหลงนําเขาสินคาเปน อันดับหน่ึงโดยในป 2549 เดือนพฤษภาคม มีมูลคาการนําเขา 653.6 ลานเหรียญสหรัฐฯ อันดับสอง
ได ก สิงคโปร มีมูลคาการนําเขา 569.5 ลานเหรียญสหรฐฯ อันดับสามไดแก ไตหวัน มีมูลคาการนําเขา
481.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ สําหรับไทยเปนแหลงนําเขาสินคาอันดับ 7 ของเวียดนาม มีมูลคาการนําเขา
237.4 ลา นเหรียญสหรัฐฯ
สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ กรุงฮานอย ไดรายงานความ เคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจของเวียดนามในชวงเดือนพฤษภาคม 2550 ดังนี้ (กรมสงเสริมการสงออก, 2551)
• การคา ระหวางประเทศของเวียดนาม
กรมสถิติแหงชาติเวียดนาม ไดรายงานมูลคาการคาระหวางประเทศเวียดนาม ในชวงเดือนมกราคม - มีนาคม 2550 พบวา ประเทศเวียดนามมีมูลคาการคาระหวางประเทศรวม
22,841.9 ล นเหรียญสหรัฐฯ เพมขิ่ ึ้นจากกระยะเวลาเดียวกนของปที่ผานมารอยละ 28.7 โดยมีมลคากาู ร
สงออก 10,566.24 ลานเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นรอยละ 18.6 และมีมูลคาการนําเขา 12,276.7 ลานเหรียญ สหรฐฯ เพิ่มขึ้นรอยละ 39 ขาดดุลการคา 1,711.5 ลานเหรียญสหรัฐฯ
• การสงออกสินคา
สินคาสงออกที่สําคัญ 5 อันดับแรก ไดแก น้ํามันดิบมีมูลคาการสงออก 1,765.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ สิ่งทอและเคร่ืองนุงหม 1,597.6 ลานเหรียญสหรัฐฯ รองเทา 895.2 ลานเหรียญ สหรัฐฯ กาแฟ 773.5 ลานเหรียญสหรัฐฯ อาหารทะเล 715.7 ลานเหรียญสหรัฐฯ และผลิตภัณฑไม
569.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ
ตลาดสงออกท่ีสําคัญ 5 อันดับแรก ไดแก สหรัฐอเมริกามีมูลคาการสงออก
2,086.7 ลานเหรียญสหรัฐฯ ญี่ปุนมีมูลคาการสงออก 1,237.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ จีนมีมูลคาการสงออก
722.7 ลานเหรียญสหรัฐฯ ออสเตรเลียมีมูลคาการสงออก 693.7 ลานเหรียญสหรัฐฯ และเยอรมนีมีมูลคา การสงออก 474.1 ลานเหรียญสหรฐฯ
• การนําเขาสินคา
สินคานําเขาที่สําคัญ 5 อันดับแรก ไดแก เครื่องจักรกล มูลคาการนําเขา 2,234.7 ลานเหรียญสหรัฐฯ น้ํามันปโตรเลียม 1,487.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ เหล็กและเหล็กกลา 909 ลานเหรียญ สหรฐฯ ผาผืน 757 ลานเหรียญสหรฐฯ และเม็ดพลาสติก 527.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ
บทที่ 2: ขอมูลพนื ฐานของประเทศไทยและเวียดนาม 2-41
ตลาดนําเขาท่ีสําคัญ 5 อันดับแรก ไดแก จีน มูลคาการนําเขา 2,274.5 ลาน เหรียญสหรัฐฯ สิงคโปรมีมูลคาการนําเขา 1,559.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ ไตหวันมีมูลคาการนําเขา 1,250.6 ลานเหรียญสหรัฐฯ ญี่ปุนมีมูลคาการนําเขา 1,192.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ และเกาหลีใตมีมูลคา การนําเขา 1,094.8 ลานเหรียญสหรฐฯ
ทั้งน้ี รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคาของเวียดนามไดประกาศยุทธศาสตรสินคา สงออกชวงป 2549-2553 ในสินคาสงออกหลัก 8 รายการ ไดแก ผลิตภัณฑไม เคร่ืองใชไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกส พลาสติก หัตถกรรม ผักและผลไม เม็ดมะมวงหิมพานต การตอเรือและเคร่ืองกล การเกษตร โดยสินคาทั้งหมดจะมีมูลคาการสงออกเพิ่มข้ึนไมต่ํากวา 1 พันลานเหรียญสหรัฐฯ ภายใน 5
ป นอกจากนี้เวียดนามจะตองลดภาษีนําเขาสินคาจากประเทศสมาชิกอาเซียนลงเหลือไมเกินรอยละ 5 ตามขอตกลง CEPT ต้ังแตตนป 2549 เปนตนไป ซ่ึงหมายความวาการผลิตสินคาในเวียดนามจะเผชิญ การแขงขันที่สูงข้ึนจากสินคาประเภทเดียวกันท่ีนําเขาจากกลุมอาเซียน แตขณะเดียวกันผูบริโภคจะได ซื้อสินคาในราคาตํ่าลงและผูประกอบการจะมีตนทุนวัตถุดิบต่ําลงหากนําเขาวัตถุดิบจากอาเซียน การคา ระหวางเวียดนามกับอาเซียนนาจะขยายตัวมากขึ้น และการลงทุนในเวียดนามเพ่ือผลิตสินคาสงออก นาจะไดประโยชนมากขึ้น (สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน, 2550)
2.3 สรุป
จากการศึกษาขอมูลพ้ืนฐานของประเทศไทยและเวียดนามจะเห็นไดวาทั้งสองประเทศตางมี
ปจจัยที่เปนจุดเดนและจุดดอยสําหร การพฒนาเศรษฐกิจของประเทศที่แตกตางกัน กลาวคือเวียดนามมี
จุดเดนในปจจัยการผลิตดานการมีทรัพยากรธรรมชาติท้ังแหลงพลังงานและแรธาตุ การมีพ้ืนที่ชายฝง ทะเลที่ยาวและติดมหาสมุทรจึงมีขอไดเปรียบทางภูมิศาสตรท่ีทําใหเวียดนามสามารถมีทาเรือเปนจํานวน มาก ขณะท่ีเวียดนามมีทรัพยากรแรงงานอยูเปนจํานวนมาก และอัตราคาจางแรงงานต่ํากวาของไทย จึง เปนแรงดึงดูดการลงทุนจากนานาประเทศ แตเวียดนามยังขาดแรงงานที่มีฝมือและแรงงานระดับผูบริหาร ขั้นกลางอยูมาก นอกจากนี้ จากการที่เวียดนามมีระบบการปกครองดวยระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสตท่ี มีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียวทําใหการเมืองของเวียดนามมีเสถียรภาพ การบริหารประเทศจึงเปนไป อยางราบรื่น นโยบายตางๆ ไดรับการนําไปปฏิบัติอยางตอเนื่อง อยางไรก็ตาม จุดออนของระบบบริหาร จัดการของภาครัฐของเวียดนามยังขาดระบบธรรมาภิบาลที่ดีทําใหตนทุนการทําธุรกิจในเวียดนามสูงขึ้น นอกจากปญหาดานธรรมาภิบาลแลว เวียดนามยังประสบปญหาดานการจัดการภาครัฐที่เชื่องชาและมี
ขันตอนมากซึ่งเปนอุปสรรคตอการจดต
รวมถ
การดําเนินงานทางธุรกิจอีกดวย
ในสวนของประเทศไทย จากการที่โครงสรางทางการเมืองของไทยเปนระบบหลายพรรคจึงมัก สงผลกระทบตอเสถียรภาพทางการเมืองและความเช่ือมั่นในการตัดสินใจของนักลงทุนทั้งในประเทศและ ตางประเทศโดยเฉพาะอยางยิ่งการลงทุนที่มีขนาดใหญ ขณะที่ปญหาความไมสงบในจังหวัดชายแดน ภาคใตก็เปนปจจัยที่สงผลกระทบตอความรูสึกของนักลงทุนอยางมากเชนกัน อยางไรก็ตาม เมื่อ พิจารณาองคประกอบอื่นๆ พบวา แมวาไทยจะมีจํานวนแรงงานนอยกวาเวียดนามและมีอัตราคาจางขั้น
2-42 บทที่ 2: ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
ตํ่าแพงกวา แตไทยก็มีจํานวนแรงงานที่มีทักษะฝมือมากกวา แรงงานไทยมีผลิตภาพแรงงานสูงกวา เวียดนาม และไทยยังมีระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานสําหรับรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมและ การดําเนินธุรกิจตางๆ ท่ีดีกวาเวียดนาม นอกจากน้ี จากการท่ีไทยเปนแหลงรองรับการลงทุนจาก ตางประเทศโดยเฉพาะประเทศญี่ปุนในการใชเปนฐานการผลิตเพื่อการสงออกมาอยางยาวนานจนทําให เศรษฐกิจของไทยมีอัตราการเติบโตโดยเฉลี่ยปละประมาณรอยละ 7 ตอปตลอดชวงระยะเวลา 40 ปที่ ผานมา แสดงใหเห็นวาไทยอยูในฐานะไดเปรียบเวียดนามในดานความพรอมและประสบการณในดาน การเปนแหลงรองรับการลงทุนจากตางประเทศ
อยางไรก็ตาม เน่ืองจากรัฐบาลเวียดนามกําลังอยูระหวางการปรับปรุงกฎระเบียบตางๆ ใหเอื้อ ตอการลงทุนจากตางประเทศและเพิ่มสิทธิประโยชนใหแกนักลงทุนตางชาติเพ่ือดึงดูดการลงทุนสู เวียดนามมากขึ้น อาทิ การยกเวนภาษี การยกเลิกการเก็บภาษีจากผลกําไรที่โอนกลับประเทศ การ ทยอยยกเลิกระบบสองราคาเพื่อใหเกิดความเทาเทียมกันระหวางนักลงทุนตางชาติกับนักลงทุนชาว เวียดนาม เปนตน และยังไดสรางความม่ันใจใหแกนักลงทุนตางชาติโดยไดจัดทําขอตกลงเพื่อสงเสริม และคุม ครองการลงทุนและขอตกลงเพ่ือยกเวนการเก็บภาษีซอนกับประเทศตางๆ อีกดวย ซึ่งจะสงผลให เวียดนามเปนประเทศที่นาลงทุนและเปนคูแขงท่ีสําคัญของไทยมากกวาท่ีเปนอยูในปจจุบัน
บทที่ 2: ขอมูลพนื ฐานของประเทศไทยและเวียดนาม 2-43
บรรณานุกรม
กรมการค
ตางประเทศ กระทรวงพาณิชย.
(2551). การค
และการลงทุน ประเทศเวียดนาม. สืบคนเมื่อ
ว ท่ี 23 เมษายน 2551, จาก http://www.dft.moc.go.th/document/foreign trade_policy/
service/horizon/vietnam/vietnam_1.htm.
กรมการปกครอง. (2551). ขอมูลสถิติเก่ียวกับจํานวนประชากร. สืบคนเม่ือว
ที่ 23 เมษายน 2551, จาก
http://www.dopa.go.th/cgi-bin/people2_stat.exe?YEAR=50&LEVEL=4&PROVINCE= 00%23no&DISTRICT=&TAMBON=.
กรมการพฒนาชุมชน. (2551). ขอมูล จปฐ. ป 2549. สืบคนเม่ือว
ท่ี 18 เมษายน 2551, จาก
กรมสงเสริมการสงออก. (2550). รายงานความเคล่ือนไหวทางเศรษฐกิจของเวียดนามชวงเดือน
พฤษภาคม 2550. สืบคนเม่ือวันที่ 23 เมษายน 2551, จาก http://www.depthai.go.th/ DEP/DOC/51/51011854.DOC.
กระทรวงการตางประเทศ. (2548) . โครงการความรวมมือดานอุตสาหกรรมของอาเซียน. สืบคนเมื่อวันท
31 สิงหาคม 2550, จาก http://www.mfa.go.th/asean/asean_web/docs/conomic_aico.doc.
ชยันต ตันติวสดาการ. (2549). นโยบายการคา ระหวางประเทศของไทยชวงป 2543-2549. โรงพิมพ มหาวิทยาลยธรรมศาสตร. กรุงเทพฯ.
ธนาคารแหงประเทศไทย. (2549). ภาวะเศรษฐกิจการเงินสาธารณรฐส คมนิยมเวียดนาม ป 2549.
สืบคนเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2551, จาก http://www.bot.or.th/bothomepage/databank/ RegionEcon/n_east/Vietnam/text/economy_49.pdf.
นิรัชรา เบญจนิรัติศ
. (2551). ภาพรวมเศรษฐกจและนโยบายการคา
ระหวางประเทศของไทย. สืบคน
เม่ือวันท 23 เมษายน 2551, จาก http://www.129jump.com/actdata/
Manual/customs/totle_01.html.
เวียดนามฮอตเงินตางชาติทะลักเพิ่ม 4 เทา. (24 มิถุนายน 2551). หนังสือพิมพโพสทูเดย.
สํานักความรวมมือการลงทุนตางประเทศ, สําน งานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน. (2551). ภาวะการ
ลงทุนโดยตรงจากตางประเทศในไทย ป 2550. สืบคนเมื่อวันที่ 21 เมษายน 2551, จาก
http://www.boi.go.th/thai/download/investment_foreign/100/FDI07.pdf.
สํานักงานคณะกรรมการพฒนาการเศรษฐกจและส
ของประเทศไทย 2523 - 2558. กรุงเทพฯ
คมแหงชาติ. (2546). การคาดประมาณการประชากร
2-44 บทที่ 2: ขอมูลพื้นฐานของประเทศไทยและเวียดนาม
สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน. (2550). คูมือการลงทุนประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยม เวียดนาม. สืบคนเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2550, จาก http://www.boi.go.th/thai/ clmv/2008_vietnam/vietnam_2.pdf.
สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. (2551). สรุปภาวะเศรษฐกิจรายป 2550 และแนวโนมป 2551. สืบคน
เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2551, จาก http://www.oie.go.th/industrystatus1_th.asp.
สํานักอาเซียน, กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ. (2551). Country Profile สาธารณรัฐสังคมนิยม เวียดนาม สืบคนเม่ือวันที่ 23 เมษายน 2551, จาก http://www.dtn.moc.go.th/ vtl_upload_file//1205375935343/VietnamMarch08.doc.
General Statistics Office of Vietnam. (2008). Socio-economic situation for the year 2007, Retrieved on 23 June, 2008, from http://www.gso.gov.vn/default.aspx?tabid=503& ItemID=6929
International Labour Organization. (2008). High labor productivity equals human dignity, Retrieved on 19 June, 2007, from http://www.manilatimes.net.
Ministry of Planning and Investment of Vietnam (2008). FDI Distribution by country 1988-2007, Retrieved on 23 June, 2008, from http://fia.mpi.gov.vn/Default.aspx?ctl=Article2 &TabID=4&mID=52&aID=412.
United Nations Development Programme. (2008). Human Development Report 2007/2008. Retrieved on April 18, 2008, from http://hdr.undp.org/en/reports/global/hdr2007-2008
บทที่ 2: ขอมูลพนื ฐานของประเทศไทยและเวียดนาม 2-45
บทที่ 3
สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและ
ชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน
อุตสาหกรรมยานยนตเปนอุตสาหกรรมท่ีมีขนาดใหญเปนอันดับตนๆ ของโลก ความสําเร็จใน การพัฒนาอุตสาหกรรมนี้มีสวนอยางมากในการชวยยกระดับฐานะทางดานเศรษฐกิจของประเทศดังจะ เห็นไดจากประเทศที่พัฒนาแลวดังเชน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และกลุมประชาคมยุโรป ที่ลวนเปนประเทศ ผูนําดานการผลิตยานยนตออกสูตลาดโลก ทั้งน้ีเนื่องจากยานยนตเปนอุตสาหกรรมที่มีความสําคัญใน การพฒนาเศรษฐกิจเพราะเปนผลิตภัณฑที่ประกอบดวยช้ินสวนจํานวนมากซึ่งทําใหมีความเกี่ยวของกับ อุตสาหกรรมตางๆ มากมาย เชน อุตสาหกรรมการผลิตชิ้นสวนพลาสติก โลหะ กระจก ยาง เครื่องยนต ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เปนตน ขณะที่ยานยนตเปนอุตสาหกรรมที่มีมูลคามหาศาล พิจารณาไดจาก ขอมูลการผลิตรถยนตทั่วโลกในป 2549 ที่มีมากกวา 66 ลานคัน ซึ่งมีมูลคาคิดเปนรอยละ 9.5 ของการคา
ท หมดของโลก มีมูลคาการสงออกคิดเปนรอยละ 12.9 ของการสงออกของโลกท้ังหมด มีการจางงานใน
อุตสาหกรรมสูงถึงประมาณ 25 ลานคน เฉพาะโรงงานประกอบรถยนตมีการจางงาน 8 ลานคน (Automotive Components and Parts, 2007) นอกจากนี้ อุตสาหกรรมยานยนตยังกอใหเกิดความ ตองการดานแรงงานและวัตถุดิบในการผลิตอยางมาก ขณะท่ียานยนตไดเขามามีสวนสําคัญในการ ดํารงชีวิตของมนุษยเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ
ดวยเหตุผลดังกลาวทําใหประเทศตางๆ มีความพยายามในการเขามามีสวนรวมในอุตสาหกรรม ยานยนต ตั้งแตการผลิต การประกอบ หรือการผลิตชิ้นสวนเพื่อปอนใหกับอุตสาหกรรม โดยมุงหวังที่จะ เปนศูนยกลางการผลิตและสงออกยานยนตและช้ินสวนอันจะชวยยกฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศ ใน สวนของประเทศไทย โดยหนวยงานภาครัฐไดมีความพยายามในการสงเสริมและผลักดันใหไทยเปน ศูนยกลางในการผลิตและสงออกของอุตสาหกรรมยานยนตในภูมิภาคเอเชียและของโลก ขณะที่ประเทศ ตางๆ ทั่วโลกโดยเฉพาะประเทศในแถบเอเชียก็ดําเนินนโยบายในลักษณะเดียวกัน โดยพยายามผลักดัน ใหมีการลงทุนในอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศของตนสงผลใหสภาวะการแขงขันของอุตสาหกรรมยาน ยนตเปนไปอยางรุนแรง การศึกษาถึงสถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและช้ินสวนในตลาดโลก จะทําใหทราบถึงสถานการณปจจุบัน แนวโนม และทิศทางการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น สามารถนํามาใช
ประโยชนในการเตรียมความพรอมและการปรับตัวของอุตสาหกรรมยานยนตและช้ินสวนของไทยเพื่อ พัฒนาอุตสาหกรรมนี้ใหสามารถบรรลุเปาหมายการเปนศูนยกลางการผลิตในภูมิภาคเอเชีย
ในการวิเคราะหสถานการณของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกในครั้งนี้ไดแบง สถานการณออกเปนสถานการณในระดับโลกและระดับอาเซียน โดยแยกออกตามประเภทของ ผลิตภัณฑดังนี้
3.1 อุตสาหกรรมยานยนตและช สวนยานยนตของโลก
3.1.1 อุตสาหกรรมรถยนต
1) การผลิต
1.1) การผลิตในภูมิภาคตางๆ ของโลก
อุตสาหกรรมการผลิตรถยนตเกิดขึ้นในหลายภูมิภาคของโลกทั้งยุโรป เอเชีย อเมริกา แอฟริกา โดยในแตละปทั่วโลกจะมีการผลิตรถยนตจํานวนมาก ขณะท่ีความตองการก็มีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่อง โดยในป 2549 ท่ัวโลกมีการผลิตรถยนตทุกประเภทประมาณ 69.2 ลานคัน และเพ่ิมขึ้นเปน
73.1 ลานคันในป 2550 โดยเอเชียมีปริมาณการผลิตรถยนตมากกวาภูมิภาคอื่นๆ โดยในป 2550 มี ปริมาณการผลิตจํานวน 30.7 ลานคัน มีสวนแบงการตลาดสูงถึงรอยละ 41.96 รองลงมาคือยุโรปมีการ ผลิตจํานวน 22.7 ลานคัน สวนแบงตลาดรอยละ 31.13 อันดับสามคือทวีปอเมริกามีการผลิตจํานวน
19.13 ลานคัน มีสวนแบงตลาดรอยละ 26.18 และแอฟริกามีปริมาณการผลิตนอยที่สุดคือ 0.53 ลานคัน มีสวนแบงตลาดเพียงรอยละ 0.73 (รูปที่ 3.1) และเมื่อพิจารณาปริมาณการผลิตรถยนตทุกประเภทของ
ไทยและเวียดนามเทียบก การผลิตของโลก พบวาปริมาณการผลิตของไทยคิดเปนรอยละ 1.69 ของโลก
ขณะที่ปริมาณการผลิตของเวียดนามคิดเปนรอยละ 0.03 ของโลก (The International Organization of Motor Vehicle Manufacturers (OICA), 2008)
3-2 บทที่ 3: สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน
แอฟริกา 1%
อเมริกา
26.18%
เอเชีย 41.96%
ยุโรป 31.13%
ที่มา: The International Organization of Motor Vehicle Manufacturers, 2008
รูปที่ 3.1: สัดสวนการผลิตรถยนตรวมทุกประเภทในทวปตางๆ ของโลกในป 2550
(1) ทวีปเอเชีย
ปจจุบันเอเชียเปนทวีปที่มีปริมาณการผลิตรถยนตมากที่สุดในโลก ขอมูลการ ผลิตรถยนตของทวีปเอเชียในป 2550 พบวาทั้งญี่ปุน จีน เกาหลีใต อินเดีย ไทย และเวียดนาม ตางมี แนวโนมของการผลิตเพ่ิมขึ้น (รูปที่ 3.2) โดยญี่ปุนมีการผลิตมากที่สุดคือ 11.60 ลานคัน มีปริมาณการ ผลิตเพิ่มขึ้นจากป 2549 รอยละ 1 รองลงมาคือจีนซึ่งมีการผลิต 8.88 ลานคัน เพิ่มขึ้นจากป 2549 ถึง
รอยละ 22 ขณะที่เกาหลีใตมีปริมาณการผลิตเปนอันดับ 3 คือ 4.09 ลานคัน เพิ่มขึ้นจากป 2549 รอยละ
6.4 สวนอินเดียมีการผลิต 2.31 ลานคันเพิ่มขึ้นจากป 2549 รอยละ 14.4 ในสวนของไทยในป 2550 มี การผลิต 1.24 ลานคัน เพ่ิมขึ้นจากป 2549 รอยละ 3.7 ขณะที่เวียดนามมีปริมาณการผลิตเพียง 20,700
ค เพิ่มขึนจากป 2549 รอยละ 13.9
บทที่ 3 : สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน 3-3
Series1
Series2
Series3
+1.00%
+22.00%
+6.40%
+14.40%
+3.70%
+13.90%
ญี่ปุน
จีน
เกาหลีใต อินเดยี
ไทย
เวียดนาม
2549
2550
หนวย: ลานคัน
11.48
11.60
7.28
8.88
3.84
4.09
2.02
2.31
1.19
1.24
0.0182
0.0207
ที่มา: The International Organization of Motor Vehicle Manufacturers, 2008
รูปท่ี 3.2: การผลิตรถยนตของประเทศผูผลิตหลักในเอเชียป 2549 - 2550
สําหรับแนวโนมของการผลิตของอุตสาหกรรมรถยนตในทวีปเอเชีย พบวา
ผูผลิตรถยนตท่ีเปนบริษัทขามชาติท
จากญ
ุน เกาหลี และยุโรป หลายรายไดเขามาลงทุนขยายฐานการ
ผลิตไปยังจีนและอินเดีย เน่ืองจากมีขอไดเปรียบดานคาแรงถูก และตลาดมีขนาดใหญทําใหสามารถทํา ตลาดไดท้ังในประเทศและเปนฐานการผลิตเพ่ือสงออก อีกท้ังจีนและอินเดียตางก็มีบริษัทท่ีมีการผลิต รถยนตของตนเองทําใหยอดการผลิตรวมขยายตัวสูง ดังจะเห็นไดจากสถิติการผลิตรถยนตของจีนในป 2550 เทียบกับป 2549 ท่ีจีนมีการผลิตเพิ่มข้ึนสูงถึงรอยละ 22 ขณะท่ีอินเดียมีการผลิตเพ่ิมขึ้นรอยละ
14.4 นอกจากนี้บริษัทขามชาติยังเขาไปลงทุนเพื่อทําตลาดสงออกดวย เชน บริษัทเจนเนอรัลมอเตอรส กําลังผลักดันใหจีนเปนฐานการผลิตรถยนตเพื่อสงออกไปขายยังภูมิภาคอ่ืนของโลกในอีก 3 - 4 ป ขางหนา โดยปจจุบันฐานการผลิตในจีนไดมีการผลิตรถยนตเพ่ือสงจําหนายไปยังตลาดนอกประเทศอยู แลวแตในปริมาณที่ไมมากนัก เชน สงไปขายยังรัสเซียประมาณ 1,000 - 2,000 คัน เทานั้น (ผูจัดการ, 2549)
สําหรับญ่ีปุนซ่ึงเปนผูนําการผลิตรถยนตของโลกในฝงเอเชียก็มีแนวโนมท่ีจะ ขยายการผลิตรถยนตนอกประเทศมากข้ึนดวย สมาคมผูผลิตยานยนตของญ่ีปุนไดรายงานวาในชวง ปงบประมาณ พ.ศ. 2548 ซึ่งสิ้นสุดในวันที่ 31 มีนาคม 2549 พบวาบริษัทรถยนตของญี่ปุนไดหันมาผลิต รถยนตในตางแดนมากกวาผลิตในประเทศเปนครั้งแรกโดยปริมาณการผลิตรถยนตในตางประเทศอยูท่ี
10.93 ลานคัน ขณะท่ีในญ่ีปุนมีปริมาณการผลิตอยูท่ี 10.89 ลานคัน ท้ังนี้ปริมาณการผลิตรถยนตใน ตางประเทศของบริษัทรถยนตญ่ีปุนในป 2548 เปรียบเทียบกับป 2547 มีปริมาณเพ่ิมข้ึนถึงรอยละ 10.6 ขณะที่ในประเทศมีอตราการเพิ่มขึนเพียงรอยละ 7.2 (โพสตทูเดย, 2549)
3-4 บทที่ 3: สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน
(2) ทวีปยุโรป
ยุโรปมีสัดสวนปริมาณการผลิตรถยนตคิดเปนรอยละ 31.13 ของโลก โดยมีการ วิจัยและพัฒนาประมาณปละ 2 หมื่นลานยูโร และมีอัตราผลประโยชนคืนกลับมา (Turnover Rate) รอยละ 4 โดยเยอรมนีเปนประเทศที่มีปริมาณการผลิตรถยนตมากท่ีสุดในยุโรป โดยในป 2550 มีการผลิต
รถยนต 6.21 ล นค รองลงมาคือฝรั่งเศส ยุโรปกลางและตะวนออก และสเปน ซึ่งมีปริมาณการผลิตเปน
นวย: ลานคัน
5.82
6.21
3.17
3.02
2.39
2.99
2.78
2.89
3.02, 2.99 และ 2.89 ลานคันตามลําดับ (รูปที่ 3.3)
Series
Series
2 Series3
6.80%
-4.70%
25.20%
4.00%
6.10%
10.40%
2549 1 2550
1.65
1.75
1.50
1.66
เยอรมนี
ฝรั่งเศส
ยุโรปกลางและตะวน
ั ออก
สเปน
สหราชอาณาจกร
รัสเซีย
ที่มา: The International Organization of Motor Vehicle Manufacturers, 2008
รูปที่ 3.3: การผลิตรถยนตของประเทศผูผลิตหลักในยุโรปป 2549 - 2550
แนวโนมการผลิตรถยนตของทวีปยุโรปในปจจุบันไดเริ่มหันไปลงทุนในกลุม ประเทศยุโรปตะวันออกและกลุมประเทศใหมที่แยกตัวออกมาจากสหภาพโซเวียต โดยพบวาการผลิต รถยนตของยุโรปป 2550 มีการขยายตัวเกือบทุกประเทศ อาทิ สโลวาเกีย มีการขยายตัวสูงขึ้นเมื่อเทียบ กับป 2549 คิดเปนรอยละ 93.3 สวนฮังการีและยูเครน มีการขยายตัวรอยละ 53.5 และ 39.7 ตามลําดับ
ขณะท่ีฝรั่งเศสเปนประเทศที่เปนฐานการผลิตเดิมประเทศเดียวที่มีปริมาณการผลิตลดลงคือรอยละ 4.7
สวนเยอรมนีและสวีเดนที่ยังคงมีการผลิตเพิ่มขึ้นอยูคือรอยละ 6.8 และ 9.9 ตามลําดับ (OICA, 2008) สาเหตุที่ทําใหประเทศยุโรปตะวันออกมีแรงดึงดูดในการลงทุนจากบริษัทผูผลิตรถยนตตางชาติเกิดจาก ปจจัยหลายประการ เชน คาแรงงานถูก และมีแหลงเงินทุนสนับสนุนการลงทุนใหกับบริษัทตางชาติจาก สถาบันการเงินหลักของยุโรป อาทิ European Central Bank (ECB) และ European Bank for Reconstruction and Development (EBRD) รวมทั้งธนาคารโลก
บทที่ 3 : สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน 3-5
เมื่อพิจารณาปริมาณการผลิตรวมท้ังหมดของทวีปยุโรปในป 2550 พบวาได
เพิ่มข้ึนจากป 2549 คิดเปนรอยละ 6.3 (OICA, 2008) การผลิตที่เพิ่มขึ้นเปนผลมาจากการขยายกลุม สมาชิกประเทศสหภาพยุโรป (EU Enlargement) เปน 25 ประเทศ เม่ือวันที่ 1 พฤษภาคม 2547 และ 27 ประเทศในวันท่ี 1 มกราคม 2550 ทําใหกลุมประเทศยุโรปตะวันออกที่ไดเขาเปนสมาชิก EU บริษัท ผลิตรถยนตและช้ินสวนตางชาติจํานวนมากไดเขามาตั้งฐานการผลิตในประเทศแถบนี้ อาทิ Fiat และ General Motors ในโปแลนด Volkswagen ในสาธารณรฐเช็กและฮังการี และ Suzuki ในฮังการี
(3) ทวีปอเมริกา
สถานะการณอุตสาหกรรมรถยนตทวีปอเมริกาในป 2550 แมวาอเมริกาจะมี สัดสวนการผลิตรถยนตทุกประเภทเปน 26.18 ของโลก แตการผลิตไดอยูในภาวะชะลอตัวมากโดย ปริมาณการผลิตรถยนตโดยรวมไดเพิ่มขึ้นเพียงรอยละ 0.2 เม่ือเทียบกับป 2549 โดยแคนาดาซึ่งจัดเปน อีกประเทศหนึ่งที่มีความเจริญเติบโตและเปนผูนําทางเศรษฐกิจมีปริมาณการผลิตเพิ่มข้ึนเพียงรอยละ
0.3 ขณะท่ีสหรัฐอเมริกากลบมีปริมาณการผลิตรถยนตลดลงรอยละ 4.5 (รูปที่ 3.4) อันเปนผลมาจากการ ชะลอตัวของเศรษฐกิจ ตนทุนคาแรงงาน วัตถุดิบ ประกันสุขภาพ และราคานํ้ามันไดเพิ่มสูงขึ้นขณะที่ วิกฤตของสินเชื่ออสังหาริมทรัพยทําใหผูบริโภคเปลี่ยนพฤติกรรมไปซื้อรถยนตมือสอง รถยนตเล็กที่มี ราคาถูกและประหยัดน้ํามัน ทําใหรถยนตกลุมนี้โดนครองตลาดโดยรถยนตตางชาติโดยเฉพาะจากญี่ปุน เมื่อยอดขายรถยนตลดลงมากทําใหบริษัทรถยนตชั้นนําของสหรัฐอเมริกา 3 บริษัทซึ่งประกอบดวย ฟอรด เจอเนอรัลมอเตอร และเดมเลอรไครสเลอร ประสบกับภาวะการขาดทุนอยางหนักจนถึงขั้นตองมี
การปร
กลยุทธการดําเนินงานของบริษัทรวมทั้งการปดโรงงานดวย
หน วย : รอย ละ
-4.5% สหรัฐอเ มริกา
0.3%
แคน าดา
0.4% เวเน สุเ อลา
2.4%
เ ม็กซิโก
13.8%
บราซิล
26.0%
อารเจน ตินา
45.0%
โคลัมเ บีย
-10%
0%
10%
20%
30%
40%
50%
ที่มา: The International Organization of Motor Vehicle Manufacturers, 2008
รูปที่ 3.4: อตราการเปล่ียนแปลงการผลิตรถยนตของประเทศตางๆ ในอเมริกา
3-6 บทท่ี 3: สถานการณการคา ของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน
ในป 2549 บริษัทฟอรด มอเตอร ไดขาดทุนเปนจํานวนเงิน 12,700 ลาน เหรียญสหรัฐฯ ซ่ึงถือเปนการขาดทุนครั้งใหญท่ีสุดในประวัติศาสตรการดําเนินธุรกิจของบริษัทตลอด 104 ปท่ีผานมา เพ่ือเปนการแกไขปญหาท่ีเกิดขึ้นบริษัทฯ ไดมีแผนปรับโครงสรางโดยปลดพนักงาน 25,000- 30,000 ตําแหนง คิดเปนรอยละ 25 ของแรงงานในภาคอุตสาหกรรมรถยนตทั้งหมดในอเมริกาเหนือ และ
จะทยอยปดโรงงาน 14 แหงในทวีปอเมริกาเหนือโดยการปดโรงงานท้ังหมดจะเสร็จส้ินสมบูรณภายในป
2555 นอกจากน้ี บริษ ยงไดข ายกิจการรถยนตกลุมหรูหราซ่ึงประกอบดวยแลน ดโรเวอร จากัวร แอสตัน
และมาร
ิน เพื่อนํามาใชเปนทุนในการปรบปรุงกิจการอีกดวย (กรุงเทพธุรกิจ, 2549)
สําหรับเจอเนอรัลมอเตอร ซ่ึงเปนบริษัทรถยนตที่ใหญที่สุดในสหรัฐอเมริกาได
ประสบปญหาขาดทุนประมาณ 14,000 ลานบาทในป 2548 ทําใหบริษัทฯ ตองออกแผนปรับปรุงองคกร และระบบการทํางานท้ังหมดเพื่อลดตนทุนประกอบการ และการปดโรงงานก็เปนสวนหนึ่งของแผนงาน ดังกลาวดวย และไดตั้งเปาหมายในการลดตนทุนประกอบการลง 7,000 ลานเหรียญสหรัฐฯ ใหไดภายใน ส้ินป 2549 การปดโรงงานจะสงผลใหมีจํานวนพนักงานท่ีเตรียมถูกปลดประมาณ 30,000 ตําแหนง คิด
เปนรอยละ 10 ของแรงงานเจอเนอรัลมอเตอรทั้งหมดในโลก หรือคิดเปนรอยละ 17 ของจํานวนพนักงาน
รายชั่วโมงและพนักงานประจําในอเมริกาเหนือจํานวนท้ังหมด 173,000 ตําแหนง (มติชน, 2548) ในป
2549 บริษัทเจอเนอรัลมอเตอร ไดมีการผลิตรถยนตรวมทุกประเภทในตลาดสหรัฐอเมริการวม 3.09 ลาน
คัน ซึ่งลดลงจากป 2548 ท่ีผลิตได 3.38 คัน คิดเปนอัตราการลดลงรอยละ 8.5 สําหรับในตลาดแคนาดามี การผลิตรถยนตรวมทุกประเภทลดลงรอยละ 5.1 นอกจากนี้บริษัทฯ ยังไดพยายามแกไขปญหาเพื่อลด ภาวะการขาดทุนโดยพึ่งพาการเติบโตทางเศรษฐกิจของตลาดตางประเทศ อาทิ จีน รัสเซีย ตะวันออก กลาง และแอฟริกา พรอมกับการกระตุนยอดขายของรถยนตรุนใหม (OICA, 2007)
สวนบริษัทเดมเลอรไครสเลอร ในป 2549 ก็ไดประสบกับภาวะการขาดทุนซึ่ง คิดมูลคาประมาณ 1.4 พันลานเหรียญสหรัฐฯ บริษัทฯ จึงไดทําการปดโรงงานผลิตรถยนต 2 แหงใน สหรัฐอเมริกา ลดกําลังการผลิตรถยนตในภูมิภาคอเมริกาเหนือถึงป 2552 ลงจํานวน 400,000 คัน รวมถึงไดปลดพนักงาน 13,000 ตําแหนงในอเมริกาเหนือ ขณะเดียวกันก็ไดปรับแบบแผนการผลิตโดย เนนผลิตรถยนตที่ประหยัดเชื้อเพลิง โดยมีญี่ปุนเปนคูแขงที่สามารถชิงสวนแบงตลาดสวนใหญอีกดวย (กรุงเทพธุรกิจ, 2550)
เม่ือพิจารณาปญหาการขาดทุนของบริษัทรถยนตชั้นนําของอเมริกาทั้ง 3 บริษัท ขางตนในภาพรวม พบวานับต้ังแตป 2548 เปนตนมา บริษัทไดมีการปลดพนักงานในภาคอุตสาหกรรม รถยนตสหรัฐฯ ไปแลวจํานวนประมาณ 285,000 คน ซึ่งนอกจากจะสงผลกระทบตออุตสาหกรรมยานยนต เองแลว ยังไดสงผลกระทบไปสูอุตสาหกรรมผลิตช้ินสวนยานยนตดวย อาทิ บริษัทเดลฟาย ไดปลด พนักงานไปแลวกวา 14,000 คน อยางไรก็ตาม บริษัทรถยนตตางชาติโดยเฉพาะญี่ปุนที่ไดเขาไปทําตลาด ในสหรัฐอเมริกากลับมีสวนแบงการตลาดเพ่ิมมากขึ้น เชน ยอดขายไตรมาสแรกของป 2550 ของ บริษัทผูผลิตรถยนตฮอนดาและโตโยตา มีสวนแบงการตลาดในสหรัฐอเมริการวมกันเปนรอยละ 22 เพิ่มขึ้น มากกวาชวงเดียวกันของป 2549 ที่มีสวนแบงรอยละ 21 ในขณะที่ยอดขายรวมของบริษัทฟอรด เดมเลอร
บทที่ 3 : สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน 3-7
ไครสเลอร และเจอเนอรัลมอเตอร มีสวนแบงตลาดอยูที่รอยละ 56 ลดลงจากชวงเดียวกันของปท่ีผานมาซึ่ง มีสวนแบงรอยละ 58 (กรุงเทพธุรกิจ, 2550)
แมวาบริษัทรถยนตชั้นนําของอเมริกาไดประสบกับภาวะการขาดทุน อยางไรก็ ตาม สหรัฐอเมริกาถือวายังคงเปนประเทศท่ีผลิตรถยนตมากท่ีสุดในภูมิภาคน้ี กลาวคือมีปริมาณการผลิต รถยนตถึง 11.26 ลานคันในป 2549 ในขณะเดียวกันการผลิตรถยนตในสหรัฐอเมริกาก็มีแนวโนมยายฐาน การผลิตไปยังประเทศในอเมริกาใตท่ีมีคาแรงถูกกวา เชน อารเจนตินา บราซิล แม็กซิโก (OICA, 2007)
1.2) การผลิตรถยนต
(1) รถยนตนัง่
ําแนกตามประเภทรถ
(passenger car)
สถานการณการผลิตรถยนตนั่งของโลก พบวาญี่ปุนเปนประเทศท่ีมีการผลิต รถยนตนั่งมากเปนอันดับหนึ่งของโลก โดยในป 2550 ผลิตได 9.94 ลานคัน เพ่ิมข้ึนจากป 2549 รอยละ
2.0 (ตารางที่ 3.1) สําหรับจีนเปนประเทศท่ีมีอัตราการผลิตเพิ่มมากที่สุดโดยในป 2550 โดยมีปริมาณ การผลิตเพิ่มข้ึนรอยละ 21.99 จากป 2549 และภายในระยะเวลาเพียง 3 ป จีนไดขยับจากการเปนผูผลิต อันดับที่ 5 ของโลกในป 2547 ข้ึนมาเปนผูผลิตรถยนตอันดับ 2 ในป 2550 คาดวาภายในป 2553 จีนจะ ผลิตรถยนตได 8 ลานคัน และ17 ลานคันในป 2568 (Detroit of Asia in the 21st century, Thailand Automotive Industry Directory 2005 - 2006) สําหรับประเทศหนึ่งท่ีมีการผลิตรถยนตเพิ่มข้ึนมาก เชนกันคืออินเดียเนื่องจากเปนตลาดที่กําลังไดรับความสนใจจากกลุมบริษัทผลิตรถยนตขามชาติในการ เขาไปลงทุนผลิตรถยนต
ตารางท่ี 3.1: ประเทศที่ผลิตรถยนตน ่งมากที่สุดในโลก 10 อนดับแรกป 2547 – 2550
หนวย : ลานคัน
อันดับ | ประเทศ | 2547 | 2548 | 2549 | 2550 | Δ% 49/50 |
1 | ญี่ปุน | 8.72 | 9.01 | 9.75 | 9.94 | 2.00 |
2 | เยอรมนี | 5.19 | 5.35 | 5.39 | 5.71 | 5.94 |
3 | จีน | 2.48 | 3.93 | 5.23 | 6.38 | 21.99 |
4 | สหรัฐอเมริกา | 4.22 | 4.32 | 4.36 | 3.92 | -10.09 |
5 | เกาหลีใต | 3.12 | 3.35 | 3.48 | 3.72 | 6.90 |
6 | ฝรั่งเศส | 3.66 | 3.11 | 2.72 | 2.55 | -6.25 |
7 | บราซิล | 2.31 | 2.011 | 2.09 | 2.38 | 13.88 |
8 | สเปน | 3.01 | 2.09 | 2.07 | 2.19 | 5.80 |
9 | อินเดีย | 1.51 | 1.26 | 1.47 | 1.70 | 15.65 |
10 | สหราชอาณาจักร | 1.85 | 1.59 | 1.44 | 1.53 | 6.25 |
อื่นๆ | 8.43 | 10.8 | 11.93 | 12.97 | 8.72 | |
รวม | 44.55 | 46.86 | 49.98 | 53.04 | 6.12 |
ที่มา: The International Organization of Motor Vehicle Manufacturers, 2007
3-8 บทที่ 3: สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน
อื่นๆ สหราชอาณาจักร24.47%
3%
ญี่ปุน
18.77%
เยอรมนี
10.77%
อินเดีย
3.21%
สเปน
4.13%
จีน
12.04%
บราซิล
4.49%
สหรฐั อเมริกา
ฝรั่งเศส
4.81%
เกาหลีใต
7.02%
7.40%
ที่มา: The International Organization of Motor Vehicle Manufacturers, 2008
รูปท่ี 3.5: สดสวนการผลิตรถยนตน่ังของโลกในป 2550
(2) รถยนตเพื่อการพาณิชยขนาดเล็ก (Light Commercial Vehicles)
ปจจุบันประเทศที่ผลิตรถยนตเพ่ือการพาณิชยขนาดเล็กจํานวนมากที่สุดในโลก คือสหรัฐอเมริกา โดยในป 2550 ผลิตได 6.54 ลานคัน อันดับสองคือแคนาดา ผลิตได 1.2 ลานคัน อันดับ สามคือจีนผลิตได 1.38 ลานคัน (ตารางที่ 3.2) สําหรับไทยอยูในอันดับที่ 5 ผลิตได 0.91 ลานคันและมี สัดสวนการผลิตรอยละ 5.6 ของการผลิตทั้งหมด ทั้งน้ีประเทศผูผลิตรายสําคัญของโลกซึ่งประกอบดวย สหรัฐอเมริกา แคนนาดา และญ่ีปุน มีสวนแบงการผลิตรวมกันรอยละ 56.53 แตญ่ีปุนและเม็กซิโกมี แนวโนม การผลิตลดลงเมื่อเทียบกบป 2549 ขณะที่ประเทศอ่ืนๆ รวมถึงไทยมีแนวโนมการผลิตเพิ่มขึน้
ตารางที่ 3.2: การผลิตรถพาณิชยขนาดเล็กของโลกป 2547 - 2550
หนวย : ลานคัน
อันดับ | ประเทศ | 2547 | 2548 | 2549 | 2550 | Δ% 49/50 |
1 | สหรัฐอเมริกา | 7.37 | 7.0 | 6.43 | 6.54 | 1.71 |
2 | แคนนาดา | 1.32 | 1.26 | 1.10 | 1.20 | 9.09 |
3 | จีน | 2.3 | 0.98 | 1.05 | 1.38 | 31.43 |
4 | ญี่ปุน | 1.00 | 1.04 | 1.01 | 0.92 | -8.91 |
5 | ไทย | 0.61 | 0.83 | 0.88 | 0.91 | 3.41 |
6 | เม็กซิโก | 0.60 | 0.76 | 0.86 | 0.79 | -8.14 |
7 | สเปน | 0.54 | 0.58 | 0.62 | 0.59 | -4.84 |
8 | ฝรั่งเศส | 0.38 | 0.38 | 0.39 | 0.39 | 0.00 |
9 | บราซิล | 0.32 | 0.36 | 0.38 | 0.40 | 5.26 |
10 | อิตาลี | 0.27 | 0.27 | 0.27 | 0.32 | 18.32 |
อื่นๆ | 2.27 | 2.42 | 2.47 | 2.69 | 8.91 | |
รวม | 16.84 | 16.10 | 15.48 | 16.13 | 4.20 |
ที่มา: The International Organization of Motor Vehicle Manufacturers, 2008
บทที่ 3 : สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน 3-9
อิตาลี อื่นๆ
บราซิล
2.48%
1.98%
16.68%
ฝรง่ เศส
2.42%
สเปน
3.66%
เม็กซิโก
4.90%
สหรฐอเมริกา
40.55%
ไทย
5.64% ญปนุ่ี จนี
5.70% 8.56%
แคนนาดา
7.44%
ที่มา: The International Organization of Motor Vehicle Manufacturers, 2008
รูปที่ 3.6: การผลิตรถยนตเพื่อการพาณิชยขนาดเล็กของโลกป 2550
(3) รถบรรทุกขนาดใหญ (Heavy Truck)
ประเทศท่ีผลิตรถบรรทุกขนาดใหญมากที่สุดในโลกคือจีน โดยในป 2550 ผลิต ได 878,608 คัน เพิ่มขึ้นจากป 2549 รอยละ 25 อันดับสองคือญี่ปุนผลิตได 718,901 คัน อันดับสาม
ไดแก อินเดียผลิตได 288,020 คัน ทั้งน้ีจีนและบราซิลมีการผลิตเติบโตมากที่สุดคือเพิ่มขึ้นรอยละ 25
และ 29.29 ตามลําดับ (ตารางที่ 3.3)
ตารางที่ 3.3: การผลิตรถบรรทุกขนาดใหญของโลกป 2547-2550
หนวย : แสนคัน
อันดับ | ประเทศ | 2547 | 2548 | 2549 | 2550 | Δ% 49/50 |
1 | จีน | 541,813 | 617,293 | 702,870 | 878,608 | 25.00 |
2 | ญี่ปุน | 769,953 | 723,663 | 699,410 | 718,901 | 2.79 |
3 | อินเดีย | 202,435 | 179,476 | 280,237 | 288,020 | 2.78 |
4 | สหรัฐอเมริกา | 357,834 | 422,403 | 461,941 | 279,117 | -39.58 |
5 | เยอรมนี | 193,774 | 205,696 | 209,385 | 243,642 | 16.36 |
6 | บราซิล | 107,338 | 118,000 | 106,001 | 137,052 | 29.29 |
7 | เม็กซิโก | 68,445 | 78,390 | 89,735 | 89,544 | -0.21 |
8 | สเปน | 71,992 | 74,081 | 77,882 | 92,793 | 19.15 |
9 | แคนาดา | 48,578 | 65,012 | 74,925 | 36,088 | -51.83 |
10 | เนเธอรแลนด | 58,442 | 63,643 | 70,202 | 74,649 | 6.33 |
อื่นๆ | 432,260 | 502,517 | 506,481 | 586,973 | 15.89 | |
รวม | 2,852,864 | 3,050,174 | 3,279,069 | 3,425,387 | 4.46 |
ที่มา : The International Organization of Motor Vehicle Manufacturers, 2008
3-10 บทที่ 3: สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน
สหรฐอเมริกา
8.15%
ญ่ีปุน
20.99%
อินเดีย
8.41%
เยอรมนี
7.11%
บราซิล
4.00%
เม็กซิโก
2.61%
สเปน
2.71%
จีน
25.65%
อ่ืนๆ แคนาดา
1.05%
17.14%
เนเธอแลนด
2.18%
ที่มา: The International Organization of Motor Vehicle Manufacturers, 2008
รูปที่ 3.7: สัดสวนการผลิตรถบรรทุกขนาดใหญของโลกป 2550
(4) รถโดยสาร (Bus)
จีนเปนประเทศที่ผลิตรถโดยสารมากที่สุดในโลก โดยในป 2550 จีนมีปริมาณ การผลิต 242,022 คัน เพิ่มขึ้นจากป 2549 รอยละ 23.90 รองลงมาคืออินเดีย ผลิตได 61,070 คัน
อันดับสามไดแก บราซิล ซึ่งมีปริมาณการผลิต 39,087 ค (ตารางที่ 3.4)
ตารางที่ 3.4: ประเทศที่ผลิตรถโดยสารมากที่สุดในโลก 5 อนดับแรกป 2548 - 2550
หนวย : คัน
อันดับ | ประเทศ | 2548 | 2549 | 2550 | Δ% 49/50 |
1 | จีน | 175,390 | 195,333 | 242,022 | 23.90 |
2 | อินเดีย | 30,347 | 58,227 | 61,070 | 4.88 |
3 | บราซิล | 35,387 | 33,809 | 39,087 | 15.61 |
4 | เกาหลีใต | 115,015 | 13,386 | 16,378 | 22.35 |
5 | ญ่ีปุน | 11,763 | 11,063 | 11,516 | 4.09 |
6 | เยอรมนี | 8,790 | 9,290 | 9,085 | -2.21 |
7 | สวีเดน | 9,224 | 9,100 | 8,806 | -3.23 |
8 | ยูเครน | 4,051 | 6,830 | 8,654 | 26.71 |
9 | โปแลนด | 5,400 | 6,200 | 3,600 | -41.94 |
10 | อียิปต | 2,828 | 5,633 | 6,430 | 14.15 |
อ่ืนๆ | 61,236 | 65,263 | 96,560 | 47.96 | |
รวม | 459,431 | 416,683 | 503,208 | 20.77 |
ที่มา : The International Organization of Motor Vehicle Manufacturers, 2008
บทที่ 3 : สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน 3-11
อียิปต
1.28%
โปแลนด
0.72%
ยูเครน
1.72%
สวีเดน
1.75%
อ่ืนๆ
19.19%
จีน
48.10%
เยอรมนี
1.81%
ญ่ีปุน
2.29%
บราซิล
7.77%
อินเดีย
12.14%
เกาหลีใต
3.25%
ที่มา: The International Organization of Motor Vehicle Manufacturers, 2008
รูปท่ี 3.8: สัดสวนการผลิตรถโดยสารของโลกป 2550
1.3) การผลิตรถยนต ําแนกตามกลุมบริษัทผูผลิต
สถานการณการผลิตรถยนตจําแนกตามกลุมบริษัทผูผลิต พบวา กลุมบริษัทที่ ผลิตรถยนตรวมทุกประเภทมากที่สุดของโลกคือกลุมบริษัทเจเนอรัลมอเตอร โดยในป 2549 มีปริมาณ การผลิตรถยนตรวมทุกประเภท 8.9 ลานคัน รองลงมาคือบริษัทโตโยตา ซึ่งมีการผลิตรถยนตรวมทุก
ประเภท 8 ลานคัน อันดับสามคือบริษ
ฟอร
ซ่ึงผลิตรถยนตรวมทุกประเภทจํานวน 6.3 ล
นคัน
เมื่อพิจารณาปริมาณการผลิตของกลุมบริษัทผูผลิตตามประเภทของรถยนต พบวา กลุมผูผลิตท่ีผลิตรถยนตนั่งไดมากท่ีสุดคือบริษัทโตโยตา ซ่ึงผลิตได 6,800,228 คัน รองลงมาคือ บริษัทเจเนอรัลมอเตอร และอันดับสามไดแก โฟลคสวาแกน ขณะที่รถยนตเพื่อการพาณิชยขนาดเล็ก กลุมบริษัทผูผลิตที่ผลิตไดมากที่สุดคือบริษัทเจเนอรัลมอเตอร มีปริมาณการผลิต 3,156,888 คัน รองลงมาไดแกบริษัทฟอรด มีปริมาณการผลิต 2,386,296 คัน และอันดับสามคือบริษัทเด็มเลอรไคส เลอร มีปริมาณการผลิต 1,834,299 คัน
สําหรับรถยนตบรรทุกขนาดใหญ กลุมผูผลิตที่ผลิตไดมากที่สุดคือบริษัทฮุนได ผลิตได 122,569 คัน รองลงมาคือบริษัทนิสสันผลิตได 134,874 คัน และอันดับสามไดแกบริษัทโตโยตา ผลิตได 122,569 คัน สวนรถโดยสารนั้น กลุมบริษัทผูผลิตที่ผลิตไดมากท่ีสุดคือบริษัทฮุนไดผลิตได 85,278 คัน รองมาคือบริษัทโตโยตาผลิตได 63,868 คัน และอันดับสามคือบริษัทเจเนอรัลมอเตอรผลิต
ได 17,396 คัน
3-12 บทที่ 3: สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน
ตารางท่ี 3.5: กลุมบริษัทผลิตรถยนตที่มีการผลิตมากที่สุด 10 อันดับแรกในป 2549
หนวย: คัน
อันดับ | ผูผลิต | รถยนตน ั่ง | รถยนตเพื่อ การพาณิชย ขนาดเล็ก | รถบรรทุก ขนาดใหญ | รถโดยสาร | รวม |
1 | เจเนอรัลมอเตอร | 5,708,038 | 3,156,888 | 43,838 | 17,396 | 8,926,160 |
2 | โตโยตา | 6,800,228 | 1,049,345 | 122,569 | 63,868 | 8,036,010 |
3 | ฟอรด | 3,800,633 | 2,386,296 | 81,264 | 0 | 6,268,193 |
4 | โฟลคสวาแกน | 5,429,896 | 219,537 | 29,175 | 5,995 | 5,684,603 |
5 | ฮอนดา | 3,549,787 | 119,727 | 0 | 0 | 3,669,514 |
6 | กลุม PSA | 2,961,437 | 395,422 | 0 | 0 | 3,356,859 |
7 | นิสสัน | 2,512,519 | 570,136 | 134,874 | 5,843 | 3,223,372 |
8 | เดมเลอรไครสเลอร | 710,291 | 1,834,299 | 0 | 0 | 2,544,590 |
9 | เรโนล | 2,085,837 | 406,633 | 0 | 0 | 2,492,470 |
10 | ฮุนได | 2,231,313 | 966 | 145,120 | 85,278 | 2,462,677 |
อ่ืนๆ | 16,163,255 | 3,048,439 | 2,293,393 | 170,769 | 21,675,856 | |
รวม | 51,953,234 | 13,187,688 | 2,850,233 | 349,149 | 68,340,304 |
ท่ีมา: The International Organization of Motor Vehicle Manufacturers, 2007
2) การตลาด
ภาวะการตลาดรถยนตของโลก พบวามีการขยายตวเพ่ิมขึนโดยในป 2549 ตลาดรถยนต โลกมีการขยายตัวเมื่อเทียบกบป 2548 รอยละ 3.2 มีการจําหนายรถยนตนั่งและรถยนตเพื่อการพาณิชย
65.3 ลานคัน ขณะท่ีรถยนตเพื่อการพาณิชยมียอดจําหนายขยายตัวรอยละ 6 ภาวะการตลาดรถยนตใน ยุโรปตะวันตก (รูปที่ 3.9) พบวาตลาดมีการขยายตัวรอยละ 1.3 มียอดจําหนายรถยนตรวม 16.7 ลานคัน ตลาดสําคัญ 3 ประเทศคืออังกฤษ ฝรั่งเศส และสเปน มียอดจําหนายลดลงรอยละ 3.3, 1.9 และ 0.4 ตามลําดับ ขณะที่เยอรมนีกับอิตาลียังคงมียอดจําหนายเพิ่มขึ้นโดยเยอรมนีมีการขยายตัวรอยละ 4.2 และอิตาลีขยายตัวรอยละ 3.8
ตลาดยุโรปกลางและตะวันออก พบวายอดจําหนายในป 2549 มีจํานวน 3.7 ลานคัน เพ่ิมขึนจากป 2548 รอยละ 13.8 โดยตลาดหลักในยุโรปตอนกลาง ไดแก โปแลนด ฮังการี สาธารณรัฐเช็ค สโลวีเนีย โครเอเชีย และสโลวาเกีย ทั้งหมดมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 2.2 ซ่ึงตลาดที่มีการขยายตัว มากท่ีสุดในกลุมนี้คือรัสเซีย ซึ่งมียอดจําหนายรถยนตเพิ่มข้ึนรอยละ 20.1 ในจํานวนนี้ยอดขายของ
รถยนต
างชาติมียอดจําหนายเพิ่มรอยละ 65.8 ขณะที่ยอดขายของรถร
เซียเองกลับลดลงลงรอยละ 9.6
บทที่ 3 : สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน 3-13
สําหรับตลาดเอเชียและแปซิฟกมียอดจําหนาย 18.4 ลานคัน ขยายตัวรอยละ 6.5 ตลาด ใหญท่ีสุดและขยายตัวมากท่ีสุดคือจีน โดยมีปริมาณการจําหนายรถยนตประมาณ 4.2 ลานคัน ขยายตัว รอยละ 32.2 อินเดียมีการขยายตัวรอยละ 20 ในขณะเดียวกันตลาดสําคัญคือญ่ีปุนกลับมียอดขายลดลง
เหลือ 4.6 ลานคัน ลดลงรอยละ 2 สําหรับไทยลดลงรอยละ 3.1 ขณะท่ีเวียดนามขยายตวรอยละ 1.5
ในสวนตลาดรถยนตในอเมริกาพบวารถยนตในสหรัฐอเมริกามียอดจําหนายรถยนตในป
2549 จํานวน 17.1 ลานคัน ลดลงจากป 2548 รอยละ 1.7 ขณะที่อเมริกาใตมียอดจําหนาย 4.6 ลานคัน
ในป 2549 เพิ่มขึ้นจากป 2548 รอยละ 11.9 โดยตลาดที่สําคัญในอเมริกาใต ไดแก อารเจนตินาซึ่งมี
ยอดจําหนายเพ่ิมข้ึน 16.2 บราซิลมียอดจําหนายเพิ่มข้ึนรอยละ 13 เม็กซิโกมียอดจําหนายเพิ่มขึ้นรอย
ละ 0.9 สวนตลาดรถยนตในแอฟริกาและตะวันออกกลาง พบวามียอดจําหนาย 3.7 ลานคันในป 2549
เพิ่มขึ้นจากป 2548 รอยละ 5.3
จากขอมูลการตลาดขางตนแสดงใหเห็นวาประเทศท่ีอุตสาหกรรมรถยนตมีการขยายตัว มากท่ีสุดสวนใหญเปนตลาดเกิดใหม ไดแก จีน (ขยายตัวรอยละ 32.2) อินเดีย (รอยละ 20) รัสเซีย (รอย ละ 20.1) และอเมริกาใต (รอยละ 11.9) สาเหตุที่ทําใหประเทศในกลุมตลาดเกิดใหมมีการขยายตัวของ ตลาดรถยนตคือการมีสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจตางๆ เอ้ืออํานวย เชน การที่ชนชั้นกลางมีรายได เพ่ิมขึนจากสภาพเศรษฐกิจที่ดีขึ้นและสามารถหาซือรถคันแรกของตนเองได การใชรถยนตยังอยูในระดบั ต่ําเม่ือเทียบกับประเทศที่พัฒนาแลวจึงทําใหตลาดมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น ขณะที่ตลาดหลักของโลก เชน อังกฤษ ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส ยอดขายกลับลดลงเนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจซบเซาและประกอบ กบน้ํามันเชื้อเพลิงยงมีราคาสูงขึ้นอีกดวย
จีน รัสเซีย
อินเดีย ยุโรปตะวันออก
อเมริกาใต เอเชียแปซิฟค
แอฟริกา
โลก เวียดนาม ยุโรปตะวนดก สหรฐอเมริกา
ญ่ีปุน ไทย
-5
0
5
10
15
20
25
30
35
การเปลี่ยนแปลงยอดจําหนายรถยนตป 2549 / 2548 (%)
ที่มา: รวบรวมจาก PSA Peugeot Citroen 2006 Annual Report, DaimlerChrysler 2006 Annual Report, Vietnam Automobile Manufacturers’ Association (VAMA), 2007 และกลุม อุตสาหกรรมยานยนต สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย, 2007
รูปที่ 3.9: อัตราการเปลี่ยนแปลงยอดจําหนายรถยนตในป 2549 เทียบกับป 2548
3-14 บทที่ 3: สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน
เมื่อพิจารณายอดจําหนายของกลุมผูผลิตรถยนตแตละบริษัท (ตารางที่ 3.6) พบวา บริษัทผูผลิตที่มียอดจําหนายสูงท่ีสุดในโลกในป 2549 คือเจเนอรัลมอเตอร ซึ่งสามารถจําหนายรถยนต ได 9.1 ลานคัน ลดลงจากป 2548 รอยละ 0.7 อันดับสองคือโตโยตา ซึ่งมียอดจําหนาย 7.97 ลานคัน เพ่ิมขึนจากป 2548 รอยละ 7.6 ทั้งน้ี เจเนอรัลมอเตอรเปนกลุมผูผลิตรถยนตที่มียอดจําหนายเปนอันดับ 1 ของโลกมาตั้งแต ป 2473 (ค.ศ.1930) หรือสามารถครองอันดับ 1 ของโลกไดนานถึง 76 ป
สําหรับกลุมบริษัทที่จําหนายไดมากเปนอันดับ 3 ของโลกคือ ฟอรด โดยมีปริมาณ จําหนาย 6.59 ลานคัน ลดลงจากป 2548 รอยละ 2.5 สําหรับกลุมบริษัทที่มียอดจําหนายขยายตัวมาก
ท่ีสุด ไดแก ฮอนดา โดยในป 2549 มียอดจําหนาย 3.65 ลานคัน เพิ่มขึ้นจากป 2548 รอยละ 12.65 โดย
อินเดียเปนตลาดที่ฮอนดามีการขยายตัวมากท่ีสุดคือ รอยละ 40.3 รองลงมาคือขยายตัวรอยละ 25.9
บทที่ 3 : สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน 3-15
ตารางท่ี 3.6: ยอดจําหนายรถยนตทุกประเภทตามภูมิภาคตางๆ ของบริษัทที่ผลิตรถยนตมากท่ีสุด 10 อันดับแรกของป 2548 - 2549
หนวย : ลานคัน
กลุมบริษทั | อเมริกาเหนือ | ยุโรป | เอเชีย | ภูมิภาคอื่นๆ1 | ทั่วโลก | ||||||||||
2548 | 2549 | % Δ | 2548 | 2549 | % Δ | 2548 | 2549 | % Δ | 2548 | 2549 | % Δ | 2548 | 2549 | % Δ | |
เจเนอรัลมอเตอร | (4.50)2 | (4.10)2 | (- 8.80)2 | 2.68 | 2.71 | +1.00 | 1.11 | 1.26 | +13.51 | 0.88 | 1.03 | +17.0 | 9.17 | 9.10 | - 0.70 |
โตโยตา | 2.27 | 2.55 | +12.50 | 0.97 | 1.02 | +4.50 | 3.21 | 3.24 | + 0.93 | 0.94 | 1.15 | + 22.00 | 7.40 | 7.97 | +7.60 |
ฟอรด | 3.41 | 3.05 | -10.50 | 1.75 | 1.84 | +5.40 | 0.50 | 0.58 | +16.00 | 0.33 | 0.38 | +13.7 | 6.76 | 6.59 | -2.50 |
โฟลคสวาแกน | 3.43 | 3.66 | +6.90 | 0.52 | 0.53 | +1.60 | 0.69 | 0.84 | +22.50 | 0.59 | 0.68 | +14.9 | 5.24 | 5.73 | +9.40 |
ฮอนดา | 1.57 | 1.78 | +13.30 | 0.26 | 0.32 | +23.07 | 1.22 | 1.29 | +5.73 | 0.17 | 0.24 | +41.17 | 3.24 | 3.65 | +12.65 |
กลุม PSA | 0 | 0 | 0 | (2.34)3 | (2.31)3 | (-1.70)3 | 0.17 | 0.24 | +36.80 | 0.35 | 0.37 | 5.71 | 3.07 | 3.11 | +1.30 |
นิสสนั | (1.07)2 | (1.03)2 | (-3.73)2 | 0.54 | 0.60 | 11.20 | (0.84)4 | (0.74)4 | (-1.90)4 | N/A | N/A | N/A | 3.56 | 3.48 | -2.40 |
เดมเลอรไ ครสเลอร | N/A | N/A | N/A | N/A | N/A | N/A | N/A | N/A | N/A | N/A | N/A | N/A | 1.21 | 1.25 | +3.00 |
เรโน | (1.65) | (1.86) | (+12.70)2 | (1.85)3 | (1.69)3 | (-8.60)3 | (1.80)5 | (1.75)5 | (- 2.80)5 | N/A | N/A | N/A | 2.53 | 2.43 | - 4.00 |
ฮุนได | N/A | N/A | N/A | N/A | N/A | N/A | N/A | N/A | N/A | N/A | N/A | N/A | 2.53 | 2.66 | +5.10 |
หมายเหตุ : 1. ภูมิภาคอื่นๆ ประกอบดวยอเมริกากลาง อเมริกาใต โอเชียเนีย และแอฟริกา
2. เฉพาะสหรัฐอเมริกา 3. เฉพาะยุโรปตะวันตก 4. เฉพาะญี่ปุน 5. รวมเอเชียกับแอฟริกา ที่มา: Annual Report 2006 ของบริษัทตางๆ
บทที่ 3: สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน 3-16
3) การคาและการลงทุน
3.1) การคา
สถานการณการคาในอุตสาหกรรมรถยนตของโลกโดยพิจารณาจากมูลคาการ สงออกและนําเขารถยนตของประเทศตางๆ ซึ่งเม่ือพิจารณาจากขอมูลการสงออกรถยนตท่ัวโลก (ตารางท่ี 3.7) พบวา ในป 2549 ประเทศท่ีมีการสงออกรถยนตน่ังมากท่ีสุดคือเยอรมนี ซ่ึงมูลคาการสงออก 117.85 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสวนแบงรอยละ 25.09 รองลงมาคือญ่ีปุน มีมูลคาการสงออก 94.48 ลาน เหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสวนแบงรอยละ 20.11 อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาตามขนาดของรถยนตแลว ญี่ปุน เปนประเทศที่มีการสงออกรถยนตน่ังขนาดเล็ก (ไมเกิน 1,500 ซีซี) เปนอันดับหนึ่งของโลก และในป 2550 เยอรมนีมีมูลคาการสงออกรถยนต 138.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ โดยมีมูลคาการสงออกเพ่ิมขึ้นรอยละ
17.77
ตารางที่ 3.7: การสงออกรถยนตนั่งของโลกในป 2545 - 2550
มูลคา : พนเหรียญสหรัฐฯ
ประเทศ | 2545 | 2546 | 2547 | 2548 | 2549 | Δ%48/49 | %share 49 | 2550 | Δ% 49/50 |
เยอรมนี | 74,080 | 91,509 | 101,376 | 108,663 | 117,857 | 8.43 | 25.09 | 138,802 | 17.77 |
ญี่ปุน | 62,582 | 68,293 | 74,692 | 79,577 | 94,485 | 18.47 | 20.11 | N/A | N/A |
แคนาดา | 31,908 | 31,174 | 36,427 | 36,993 | 37,808 | 1.64 | 8.05 | 37,647 | -0.43 |
สหรัฐฯ | 20,800 | 22,385 | 24,771 | 30,835 | 35,401 | 13.46 | 7.54 | 44,792 | 26.53 |
ฝรั่งเศส | 24,862 | 30,118 | 35,156 | 33,873 | 30,767 | -9.19 | 6.55 | 30,988 | 0.72 |
อื่นๆ | 123,798 | 149,328 | 182,067 | 194,607 | 153,451 | -20.70 | 32.67 | N/A | N/A |
รวม | 338,033 | 392,809 | 454,491 | 484,551 | 469,770 | -3.05 | 100.00 | N/A | N/A |
หมายเหตุ : 1. พิกัดศุลกากร 8703
2. เปนตัวเลขการสงออกที่ไมรวมรถ Snowmobiles และรถ golf
ที่มา: International Trade Centre, 2550
สําหรับสถานการณดานการนําเขารถยนตนั่งพบวาในป 2549 ประเทศที่มีมูลคา การนําเขามากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา โดยมูลคาการนําเขา 137.48 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสวนแบง รอยละ 30.95 และลดลงเล็กนอยในป 2550 ที่มีการน้ําเขา 134.51 ลานเหรียญสหรัฐฯ รองลงมาคือ เยอรมนี และสหราชอาณาจักร โดยมีมูลคาการนําเขา 44.19 และ 43.47 ลานเหรียญสหรัฐฯ และคิดเปน สวนแบงตลาดรอยละ 9.21 และ 8.15 ตามลําดับ ขณะที่ในป 2550 นําเขาเพิ่มข้ึน รอยละ 8.05 หรือคิด
เปนมูลคานําเขา 44.19 ลา นเหรียญสหรัฐ (ตารางที่ 3.8)
บทที่ 3: สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน 3-17
ตารางที่ 3.8: การนําเข
รถยนต
ั่งของโลกในป 2545 - 2550
มูลคา : พันเหรียญสหรัฐฯ
ประเทศ | 2545 | 2546 | 2547 | 2548 | 2549 | %share 49 | 2550 | Δ% 49/50 |
สหรัฐอเมริกา | 115,629 | 115,967 | 123,977 | 125,289 | 137,487 | 30.95 | 134,518 | -2.16 |
เยอรมนี | 25,667 | 32,806 | 38,940 | 36,664 | 40,897 | 9.21 | 44,190 | 8.05 |
สหราชอาณาจักร | 27,551 | 30,981 | 35,226 | 35,326 | 40,897 | 8.15 | 43,472 | 19.96 |
อิตาลี | 20,719 | 26,041 | 30,112 | 30,537 | 31,685 | 7.13 | N/A | N/A |
ฝรั่งเศส | 17,488 | 21,143 | 25,199 | 26,572 | 28,341 | 6.38 | 34,735 | 22.56 |
อื่นๆ | 131,230 | 161,252 | 197,692 | 223,869 | 169,577 | 38.18 | N/A | N/A |
รวม | 338,287 | 388,193 | 451,150 | 478,259 | 444,170 | 100.00 | N/A | N/A |
หมายเหตุ: เปนตวเลขการสงออกท่ีไมรวมรถ Snowmobiles และรถ golf ขอมูลลาสุดป 2550
ที่มา: International Trade Centre, 2550
ในดานการสงออกรถยนตเพื่อการพาณิชย (พิกัดศุลกากร 8704) (ตารางที่ 3.9)
ในป 2549 ประเทศที่มีการสงออกมากท่ีสุดคือสหรัฐอเมริกา โดยมีมูลคาการสงออกทั้งส้ิน 11.58 ลาน
เหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสวนแบงตลาดรอยละ 12.86 และมูลคาการสงออกไดเพ่ิมขึ้นเปน 13.70 ลานเหรียญ สหรัฐฯ ในป 2550 สําหรับประเภทของรถยนตที่สหรัฐอเมริกาสงออกมากที่สุดคือรถบรรทุกประเภทที่มี เครื่องยนตสันดาปภายในแบบลูกสูบที่จุดระเบิดดวยประกายไฟ (Gas powered trucks with a GVW) ที่มี ขนาดไมเกิน 5 ตัน ขณะท่ีประเทศแคนนาดาและเยอรมนีท่ีเปนผูสงออกรถบรรทุกขนาดเล็กประเภทดีเซล ไมเกิน 5 ตัน และขนาดใหญเกิน 20 ตัน เปนอันดับ 1 ของโลก สําหรับรถบรรทุกขนาดกลาง 5-20 ตัน นั้น ประเทศท่ีเปนผูสงออกอนดับ 1 ของโลกคือญี่ปุน
ตารางท่ี 3.9: การสงออกรถยนตเพื่อการพาณิชยของโลกในป 2545 - 2550
มูลคา : พันเหรียญสหรัฐฯ
ประเทศ | 2545 | 2546 | 2547 | 2548 | 2549 | %share2549 | 2550 | Δ%48/49 |
สหรัฐอเมริกา | 6,077 | 7,282 | 8,713 | 10,049 | 11,587 | 15.88 | 13,706 | 15.31 |
เยอรมนี | 5,754 | 7,229 | 8,806 | 9,764 | 10,036 | 13.71 | 12,983 | 18.67 |
แคนาดา | 9,153 | 9,135 | 9,002 | 9,961 | 8,938 | 12.25 | 9,221 | 16.32 |
แม็กซิโก | 6,349 | 6,638 | 6,668 | 7,135 | 8,510 | 11.66 | N/A | 19.27 |
ญี่ปุน | 5,927 | 6,679 | 8,071 | 7,578 | 8,293 | 11.37 | N/A | 9.44 |
อื่นๆ | 22,183 | 26,589 | 32,745 | 37,510 | 25,630 | 35.13 | N/A | -31.67 |
รวม | 55,445 | 63,555 | 74,007 | 81,999 | 72,966 | 15.88 | N/A | -11.02 |
หมายเหตุ : รถยนตเพื่อการพาณิชยอยูในพิกัดศุลกากร HS 8704
ที่มา: International Trade Centre, 2550
3-18 บทที่ 3: สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซยน
สําหรับการนําเขารถยนตเพื่อการพาณิชยของโลก พบวาในป 2549 ประเทศที่มี การนําเขามากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา โดยมีมูลคาการนําเขา 19.15 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสวนแบง การตลาดรอยละ 25 และในป 2550 การนําเขาไดเพิ่มข้ึนเปน 19.50 ลานเหรียญสหรัฐฯ โดยเปนการ
นําเข รถเพ่ือการพาณิชยมากที่สุดในทุกประเภท ยกเวนรถบรรทุกขนาดเล็กไมเกิน 5 ตัน โดยฝร่ังเศสม
การนําเข
มากท่ีสุดและรถ Gas ขนาดเกิน 5 ตัน แคนนาดาเปนผ
ําเขามากที่สุด
ตารางท่ี 3.10: การนําเข
รถยนตเพื่อการพาณิชยของโลกในป 2545 - 2550
มูลคา : พันเหรีญสหรัฐฯ
ประเทศ | 2545 | 2546 | 2547 | 2548 | 2549 | % share2549 | 2550 | Δ%48/49 |
สหรัฐอเมริกา | 16,665 | 17,217 | 17,422 | 18,378 | 19,156 | 25.00 | 19,505 | 4.23 |
แคนาดา | 4,926 | 6,114 | 6,801 | 7,715 | 9,035 | 11.79 | 10,737 | 17.12 |
ฝรั่งเศส | 3,673 | 4,250 | 5,390 | 5,944 | 6,369 | 8.31 | 6,957 | 7.14 |
สหราชอาณาจักร | 3,245 | 3,827 | 4,636 | 4,917 | 5,421 | 7.07 | 6,573 | 10.25 |
เยอรมนี | 3,174 | 3,801 | 3,735 | 3,805 | 4,408 | 5.75 | 6,047 | 15.82 |
อื่นๆ | 27,383 | 31,285 | 39,763 | 46,671 | 32,239 | 42.07 | N/A | -30.92 |
รวม | 59,068 | 66,497 | 77,749 | 87,433 | 76,630 | 100.00 | N/A | -12.36 |
ท่ีมา: International Trade Centre, 2550
3.2) การลงทุน
ผลจากการที่ยอดจําหนายรถยนตไดเพิ่มข้ึนในกลุมตลาดใหมท่ีกําลังมีการ
ขยายต ทางเศรษฐกิจรอนแรง ทําใหกลุมบริษัทผูผลิตรถยนตขามชาติตางๆ ใหค วามสนใจในการเขาไป
ลงทุนการผลิตและขยายกําลังการผลิตรถยนตในประเทศเหลาน้ีเปนจํานวนมาก เนื่องจากประเทศที่เปน ตลาดใหม มีลักษณะเดนในดานคาแรงงานถูก คนระดับกลางมีรายไดสูงขึ้นมาก มีระบบโครงสรางพื้น
ฐานรองรับในระดับหนึ่ง การยายฐานการผลิตไปยังกลมประเทศที่เปนตลาดใหมจะทําให ีตนทุนการผลิต
ต่ําลง ความตองการของตลาดในประเทศอยูในระดับสูงจึงมีโอกาสของการขยายตลาดในประเทศและยัง สามารถทําเปนฐานการผลิตเพื่อสงออกไดดวย นอกจากนี้ ผลจากการรวมรวบขอมูลการลงทุนตั้ง โรงงานผลิตรถยนตใหมของกลุมบริษัทผูผลิตรถยนตขามชาติจํานวน 10 ราย ที่จะเริ่มทําการผลิต ระหวางป 2550 - 25531 พบวา กลุมบริษัทผูผลิตรถยนตขามชาตินิยมเขาไปลงทุนผลิตรถยนตใน ประเทศ เชน อินเดีย จีน และรัสเซีย โดยสามารถสรุปไดดังนี้
1 สํารวจจากกลุมบริษัทผูผลิตรถยนตขามชาติที่มีการผลิตรถยนตมากที่สุด 10 อันดับแรกของโลก
บทที่ 3: สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน 3-19
(1) ประเทศจนี
ในสวนของจีนพบวา การลงทุนสรางโรงงานผลิตรถยนตแหงใหมในจีนที่จะเปด ดําเนินการระหวางป 2549 - 2553 มีกลุมบริษัทผูผลิตรถยนตขามชาติเขาไปลงทุน 10 ราย (ตารางที่ 3.11) ไดแก Ford, GM, Fiat, Toyota, PSA, BMW, DaimlerChrysler, Nissan, Volkswagen และ Renault ซ่ึงในป 2549 จีนมีตลาดรถยนตสูงเปนอันดับ 3 ของโลก รองจากสหรัฐอเมริกาและเยอรมนี สําหรับป 2549 ยอดจําหนายในจีนมี 4.1 ลานคัน ตลาดสวนใหญ 2 ใน 3 เปนรถยนตน่ังขนาดเล็กซึ่งมี ราคาถูกไปจนถึงขนาดกลาง อยางไรก็ตาม อัตราการใชรถยนตของคนจีนยังตํ่ามากกลาวคือประชาชน 1,000 คน มีรถยนตใชเพียง 24 คน (ประเทศในกลุม G7 มี 749 คันตอประชากร 1,000 คน) ซึ่งสวนแบง การตลาดสวนใหญรอยละ 75 ยังเปนของรถยนตตางชาติ เชน General Motors และ Volkswagen สําหรบรถยนตสญชาติจีน เชน Geely และ Cherry ฯลฯ ครองสวนแบงการตลาดเพียงรอยละ 25 เทานั้น นอกจากนี้ จีนยังไดทําการสงออกรถยนตตั้งแตป 2548 เปนตนมา ขณะที่ตัวเลขการสงออกก็มีแนวโนม เพ่ิมขึ้นอยางรวดเร็วโดยครึ่งปแรกของป 2550 จีนสงออกรถยนตจํานวน 241,000 คัน เพิ่มข้ึนจากชวง
เดียวกันของป 2549 ถึงรอยละ 71.2 คิดเปนมูลคาที่เพิ่มข้ึนรอยละ 110.7 ในจํานวนนี้เปนรถยนตเพื่อ
การพาณิชย รอยละ 65 ซ่ึงตลาดสงออกใหญท่ีสุด ได
ก ร
เซีย (Xinhua People’s Daily, 2007)
ตารางท่ี 3.11: การลงทุนของกลุมบริษัทผูผลิตรถยนตขามชาติในประเทศจีน
ผูผลิต | รายละเอียดการลงทุน |
Ford | Ford Motor Company's China รวมทุนกบั Changan Ford Mazda Automobile (CFMA) ตั้ง โรงงานผลิตที่มณฑล Nanjing ทําการผลิตรถยนตขนาดเล็กในยี่หอของ Ford และ Mazda มูลคา การลงทุน 510 ลานเหรียญสหรัฐฯ กําลังการผลิต 160,000 คัน เมื่อรวมกับกําลังการผลิตเดิม แลวเทากับ 410,000 คัน เริ่มทําการผลิตป 2550 รุนที่ทําการผลิต เชน Mazda2, Ford Fiesta ที่มา: http://www.ford.com/about-ford/news-announcements/featured-stories/featured-stories- detail/fs-20070924-ford-china-plant |
GM | รวมทุนกับ Shanghai Automotive Industry Corp (SAIC) มีเงินลงทุนประมาณ 263 ลานเหรียญ สหรัฐฯ เปดโรงงานผลิตเครื่องยนตแหงใหมท่ีเมือง Liuzhou มีกําลังการผลิต 300,000 คัน รวม กับกําลังการผลิตเดิมเทากับ 700,000 คัน จะเริ่มการผลิตเดือนสิงหาคม 2550 ที่มา: http://www.chinacarforums.com/forum/showthread.php?t=2763 |
Fiat | รวมทุนกับ Cherry ผลิตรถยนต Fiat และ Alfaromeo กําลังการผลิต 175,000 คัน เพื่อ จําหนายภายในประเทศ จะทําการผลิตไดในป 2552 |
Toyota | ยังอยูในระหวางการเตรียมการลงทุนครง้ ใหมในจีน โดยมีแผนจะเปดโรงงานที่เมือง Guangzhou มีกําลังผลิต 100,000 คันตอป ผลิตรถยนต เชน Yaris, Camry, RAV4, Highlander และ SUVs ที่มา: http://www.motorauthority.com/news/industry/toyota-to-build-new-plants-in-india-and-china |
PSA | PSA, Peugeot, Citroen รวมทุนกับ Dongfeng Motor Corp ลงทุนมูลคา 311.6 ลานเหรียญ สหรฐฯ ตั้งโรงงานผลิตรถยนตที่มณฑล Hubei เริ่มการผลิตเม่ือป 2549 กําลังการผลิต |
3-20 บทที่ 3: สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซยน
ผูผลิต | รายละเอียดการลงทุน |
220,000 และ 300,000 ในป 2550 ทงั น้บริษทั ฯ ไดตังเปายอดจําหนายไวท่ี 300,000 คัน ในป 2551 และ 1 ลานคนในป 2558 ท่ีมา: China Daily 2006-04-04, http://www.chinadaily.com.cn/bizchina/2006- 04/04/content_559165.htm | |
DaimlerChrysler | DaimlerChrysler AG ไดร วมทุนกบั Beijing Automotive Industry Holding Corp ในการสราง โรงงานผลิตรถยนตแหงใหมบริเวณ Beijing Development Area (BDA) กรุงปกกิ่ง รถยนตรุนท่ี ผลิตไดแก Mercedes-Benz E-Class และ Chrysler 300 C รวมกําลงการผลิตรวม 2 รุน 105,000 คันตอป เริ่มทําการผลิตตง้ แตธันวาคม 2549 ท่ีมา: http://www.daimlerchrysler.com/dซีซี om/0-5-7153-1-639076-1-0-0-0-0-0-8-7145-0-0-0-0-0- 0-1.html |
Nissan | Nissan รวมทุนกับ Dongfeng ผลิตรถยนตขนาดเลก็ 2 รุน ไดแก Nissan SUV Qashqai และ X-Trail จะเริ่มทําการผลิตในป 2551 |
Volkswagen | ในป 2546 Volkswagen มีแผนการลงทุนในจีนภายใน 5 ปมูลคา 6,840 ลานเหรียญสหรฐฯ โดย มีแผนการผลิตรถยนต 300,000 คันตอป Volkswagen AG สรางโรงงานแหงที่ 2 ในเมือง Jilin ดวยมูลคาการลงทุน 1.03 หม่ืนลานเหรียญสหรัฐฯ เมื่อป 2548 ที่มา: http://www.uschina.org/statistics/2005foreigninvestment.html |
(2) ประเทศอินเดีย
อินเดียไดมีการลงทุนสรางโรงงานผลิตรถยนตแหงใหมท่ีจะเปดดําเนินการ ระหวางป 2549-2553 โดยมีกลุมบริษัทผูผลิตรถยนตขามชาติเขาไปลงทุนจํานวน 11 ราย ไดแก Ford, GM, Honda, Fiat, DaimlerChrysler, Toyota, Suzuki, Nissan, Renault, Volkswagen, Hyundai และ BMW ซ่ึงตลาดรถยนตในอินเดียเติบโตข้ึนอยางรวดเร็วประมาณรอยละ 20 ในป 2549 และคาดวาจะ
เติบโตถึงรอยละ 25 และคาดวาจะมียอดจําหนายในประเทศประมาณ 2 ลานคันภายในป 2553 ซ่ึง
ประมาณ 2 ใน 3 สวนเปนตลาดรถยนตขนาดเล็ก โดยรถยนตของผูผลิตอินเดียมีสวนแบงการตลาดเกิน รอยละ 50 คือ Maruti Udyog รองลงมาคือ Tata การเติบโตของตลาดรถยนตเกิดขึ้นเนื่องจากสภาพ เศรษฐกิจภายในประเทศซ่ึงเติบโตประมาณรอยละ 9 กลุมชนชั้นกลางมีรายไดเพ่ิมขึ้น ระบบการกูเงิน สะดวกสบายมากขึ้น การประกาศนโยบายสนับสนุนอุตสาหกรรมยานยนตของรัฐบาลอินเดีย (Automotive Mission Plan) ที่อนุญาตใหบริษัทผูผลิตรถยนตจากตางชาติไดสิทธิเปนเจาของโรงงานใน ทองถิ่นไดรอยละ 100 และเมื่อพิจารณาสถิติการใชรถยนตของอินเดียในป 2550 ปรากฏวายังอยูในระดับ ตํ่ามากคือประชากร 1,000 คน มีรถยนตใชเพียง 7 คน จึงมีแนวโนมที่จะขยายตัวอยางตอเนื่องใน อนาคตซึ่งคาดวาจะเพิ่มเปน 11 คนตอ 1,000 คน ในป 2553 (BBC News, 2007) แมวาปจจุบันระบบ โครงสรางสาธารณูปโภคพื้นฐานของอินเดียยังไดรับการพัฒนาไมมากนักเม่ือเทียบกับไทย แตอยางไรก็
ตาม อินเดียกําลังอยูระหวางการพัฒนาโครงสร งสาธารณูปโภคพื้นฐานเพ่อรองรับกับการบริโภครถยนต
บทที่ 3: สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน 3-21
ที่กําลังจะเพ่ิมขึ้นในอนาคต เชน การสรางทางดวน และการสรางทางหลวง 8 ชองทางเช่ือมเมืองสําคัญ
ซ่ึงขณะน ําลงอยูระหวางการกอสราง
ตารางท่ี 3.12: การลงทุนของกลุมบริษัทผูผลิตรถยนตขามชาติในประเทศอินเดีย
ผูผลิต | รายละเอียดการลงทุน |
Ford | ขณะนี้ยังไมมีการลงทนเพ่ิมเติม แตกําลงขยายตลาดรถยนตขนาดเล็กในอินเดียดวยการเพ่ิม ตัวแทนจําหนายใหมากขึน้ ที่มา: http://www.domain- b.com/companies/companies f/ford_motor/20070908 _ _launch.html |
GM | GM ลงทุนมูลคา 279.3 ลานเหรียญสหรัฐฯ สรางโรงงานแหงใหมในอินเดียที่เมือง Talegaon ทําการผลิตรถยนตขนาดเล็ก มีกําลังผลิต 140,000 คนตอป กําลังการผลิตรวมกับโรงงานเดิม เทากับ 220,000 คันตอป กําหนดเปดดําเนินการปลายป 2552 ที่มา: http://www.industryweek.com/ReadArticle.aspx?ArticleID=12446 |
Honda | Honda ลงทุนมูลคา 230 ลานเหรียญสหรัฐฯ สรางโรงงานรถยนตแหงที่ 2 ทําการผลิตรถยนต ขนาดเล็กและขนาดกลาง (Honda Jazz) กําหนดเปดดําเนินการปลายป 2552 มีกําลังผลิต 60,000 คนตอป สงผลใหในป 2553 ฮอนดาจะมกี ําลังผลิตจากโรงงานท้งั 2 แหง รวมกนั 150,000 คนตอป |
Fiat | Fiat รวมทุนกับ Tata มีแผนการลงทุน 660 ลานยูโรภายใน 5 ปขางหนา โดยในขั้นแรกจะ ลงทุนต้ังโรงงานผลิตรถยนตมูลคา 150 ลานยูโร ผลิตรถยนตขนาดเล็ก Grande Punto และ Fiat Linea มีกําลังการผลิต 100,000 คัน / ป นอกจากนี้ยังทําการผลิตเครื่องยนตโดยมีกําลัง การผลิต 200,000 เครื่อง / ป จะเร่ิมทําการผลิตไดในป 2552 ที่มา: http://www.indiaabc.com/ibbinternet/byFCompany.aspx?fcompany=Fiat |
DailmerChrysler | ลงทุนมูลคา 50 ลานยูโร สรางโรงงานผลิตรถยนตที่เมือง Pune โดยมีกําลังการผลิต 5,000 คัน ตอป ทําการผลิตรถยนตน่งั C-Class, E-Class และ S-class จะเริ่มทําการผลิตไดในป 2552 |
Toyota | ยงอยูในระหวางการตดสินใจสรางโรงงานแหงใหมซ่ึงคาดวาจะสรา งที่อินเดีย โดยโรงงานแหง ใหมจะทําการผลิตรถยนตน่งขนาดเล็ก ปจจุบัน Toyota มีโรงงานที่อินเดีย 1 แหงทําการผลิต รถยนตนั่งรุนใหญ คือ Corolla, Camry และ Innova ที่มา: http://www.freep.com/apps/pbcs.dll/article?AID=/20070822/BUSINESS01/70822020 |
Suzuki | Suzuki Powertrain India Limited รวมทุนกับ Maruti Udyog Limited รถที่ทําการผลิตคือ รถยนตนั่งขนาดเล็ก Suzuki Swift มีเปาหมายการผลิต 150,000 คนั สงออก 100,000 คัน และขายในประเทศ 50,000 คนั จะเริ่มทําการผลิตในเดือนตุลาคม 2550 ที่มา: http://www.domain-b.com/automotive/2007/20070103_overdrive.htm |
Nissan + Renault + Mahindra | Nissan รวมทุนกบั Renault และ Mahindra ผูผลิตรถยนตอ ินเดีย ลงทุนมูลคา 900 ลาน เหรียญสหรัฐฯ สรา งโรงงานผลิตรถยนต โดยมีกําลังการผลิต 400,000 คันตอป ทําการผลิต รถยนตนั่งและรถอเนกประสงคจะเริ่มการผลิตไดในป 2552 |
3-22 บทที่ 3: สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซยน
ผูผลิต | รายละเอียดการลงทุน |
Volkswagen | ลงทุนมูลคา 530 ลานเหรียญสหรัฐฯ สรางโรงงานผลิตรถยนตแหงแรกในอินเดียที่เมือง Maharashtra มีกําลงการผลิต 110,000 คันตอป โรงงานจะสามารถเร่ิมการผลิตไดในป 2553 ที่มา: http://www.autonews24h.com/Auto-Industry/Volkswagen/1456.html |
Hyundai | ลงทุนสรา งโรงงานผลิตรถยนตแหงที่สองในอินเดียมูลคา 700 ลานเหรียญสหรัฐฯ มีกําลังผลิต 3 แสนคนตอป รวมกบโรงงานเดิม Hyundai จะมีกําลังการผลิตในอินเดีย 6 แสนคัน รถที่ทําการ ผลิตคือรถยนตนั่ง โรงงานจะเริ่มการผลิตในป 2550 ท่ีมา: http://www.thehindubusinessline.com/2006/09/19/stories/2006091901850200.htm |
BMW | ลงทุนมูลคา 26.5 ลานเหรียญสหรฐฯ สรางโรงงานผลิตรถยนตน่งในเมือง Tamil Nadu ทําการ ผลิตรถยนตน่ัง Serie 3 และ Serie 5 โดยมีกําลงการผลิต1,700 คันตอป โรงงานจะเริ่มการผลิต ในป 2550 ท่ีมา: http://english.people.com.cn/200703/29/eng20070329_362251.html |
(3) กลุมอเมริกาใต
ในสวนของอเมริกาใตไดการลงทุนสรางโรงงานผลิตรถยนตแหงใหมที่จะเปด ดําเนินการระหวางป 2549 - 2553 โดยมีกลุมบริษัทผูผลิตรถยนตขามชาติเขาไปลงทุน 6 ราย ไดแก Ford, GM, Honda, Fiat, PSA และ DaimlerChrysler โดยมีบราซิล อารเจนตินา และเม็กซิโก เปน ศูนยกลางการผลิตรถยนตที่สําคัญ สําหรับตลาดรถยนตท่ีเติบโตเร็วที่สุดคือเปรู ซ่ึงประเทศท่ีมีอัตราการ ใชรถยนตต่ํามากคือประชากร 1,000 คน มีรถยนตใช 24 คน ดังนั้นความตองการของตลาดในประเทศ อยูในระดับสูงจึงมีโอกาสของการขยายตลาดในประเทศ
ตารางท่ี 3.13: รายละเอียดการลงทุนในอเมริกาใตของกลุมบริษัทผูผลิตรถยนตขามชาติ
ผูผลิต | รายละเอียดการลงทุน | |||
Ford | ลงทุนมูลคา 156 ลานเหรียญสหรฐฯ และพฒนาโรงงานประกอบรถยนตที่มีอยูเดิม และทํา การพฒนารถยนตรุนใหมออกจําหนาย รถที่ผลิตเปนรถยนตน ั่ง Ford Focus และรถกระบะ Ford Ranger โดยการผลิตดังกลาวเปนการผลิตเพื่อสงออกไปจําหนายในประเทศทั่วทวีป อเมริกาใต โรงงานจะเริ่มการผลิตในป 2551 ที่มา: http://www.autosavant.net/2007/08/ford-will-invest-1565-million-in.html | |||
Honda | ลงทุนมูลคา 100 ลานเหรียญสหรัฐฯ สรางโรงงานผลิตรถยนตแหงใหมในอารเจนตินา เพื่อ ผลิตรถยนตขนาดคอมแพ็กต มีกําลังผลิต 30,000 คันตอป โดยจะเร่ิมดําเนินงานไดในป 2552 วางแผนทําตลาดในอารเจนตินาและประเทศในกลุมทวีปอเมริกาใต ที่มา: http://www.theautochannel.com/news/2007/09/09/061385.html และ | |||
GM | ลงทุนในอาเจนตินามูลคา 350 ลานเหรียญสหรัฐฯ เพื่อสรา งโรงงานผลิตรถยนต โดยเนน การผลิตรถยนตขนาดเล็ก โรงงานจะเริ่มดําเนินการไดในป 2552 นอกจากนี้ยังไดลงทุนใน บราซิลอีกมูลคา 150 ลานเหรียญสหรฐฯ เพื่อกอตั้งศูนยวิจัยและพฒนา | |||
บทที่ 3: สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน | 3-23 |
ผูผลิต | รายละเอียดการลงทุน |
Fiat | ลงทุนมูลคา 60 ลานเหรียญสหรัฐฯ ทําการผลตใน Cordoba ประเทศอารเจนตินา รุนที่ทํา การผลิตคือ Siena เริ่มทําการผลิตเดือนมกราคม 2551 มีกําลังการผลิต 50,000 คนตอป นอกจากนี้ยังลงทุนรวมกบั Tata (อินเดีย) สรา งโรงงานประกอบรถกระบะใน Cordoba ประเทศอารเจนตินา ดวยเงินลงทุน 100 ลานเหรียญสหรัฐฯ ท้งน้ี Fiat วางแผนการลงทุน ในอเมริกาใตประมาณ 1 พันลานเหรียญสหรัฐฯ ภายในป 2553 โดยตง้ เปาหมายครองสวน แบงการตลาดรอยละ 15 ของตลาดรถในอเมริกาใต |
PSA | มีแผนการลงทุนในอเมริกาใต 500 ลานเหรียญสหรฐฯ ในอีก 3 ปขางหนา โดยจะทําการ ผลิตรถยนตร ุนใหม 12 รุนภายในป 2553 ที่มา: http://www.tmcnet.com/usubmit/2007/09/27/2972662.htm และ |
DaimlerChrysler | มีแผนจะสรางโรงงานแหงที่สามที่ Virrey del Pino อารเจนตินา |
(4) ประเทศรสั เซยี
รัสเซียไดมีการลงทุนสรางโรงงานผลิตรถยนตแหงใหมท่ีจะเปดดําเนินการใน รัสเซียระหวางป 2549 - 2553 มีกลุมบริษัทผูผลิตรถยนตขามชาติเขาไปลงทุน 14 ราย ไดแก Ford, GM, Fiat, DailmerChrysler, Toyota, PSA, Susuki, Hyundai, Renault, Nissan, Volkswagen, SsangYong (เกาหลีใต), Scania และ Great Wall (จีน) มีมูลคาการลงทุนรวม 27,016 ลานเหรียญ สหรฐฯ (มูลคาการลงทุนรวม 12 บริษัท) มีกําลังการผลิตรวม 1.08 ลานคัน ปจจุบันสภาวะเศรษฐกิจของ รสั เซียเติบโตอยางรวดเร็วการเติบโตของสภาพเศรษฐกิจทําใหความตองการรถยนตเพิ่มขึ้นไปดวย หาก เปรียบเทียบอัตราสวนการใชรถยนตทุกประเภทของคนรัสเซียตอคน 1,000 คนแลวพบวา มีประชากรที่ มีรถใชประมาณ 178 คน ซึ่งยังต่ํากวาอัตราสวนของยุโรป2 นอกจากนี้ ภาครัฐปจจุบันก็มีมาตรการ สนับสนุนใหผูผลิตรถยนตจากตางชาติเขามาลงทุน รวมท้ังดานการเงินก็มีผูใหบริการสินเชื่อซึ่งทําให ประชาชนสามารถซื้อรถยนตไดงายกวาในอดีต โดยในไตรมาสแรกของป 2550 รถยนตจากตางชาติใน รสั เซียมียอดจําหนายเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 74 คาดวาตลาดรถยนตในป 2550 น้ีจะเติบโตรอยละ 10-20 และ
จะมียอดจําหนายท่ี 1.7 ลานคนั
2 ยุโรปตะวันตกประมาณ 500 คันตอ 1,000 คน
3-24 บทที่ 3: สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซยน
ตารางที่ 3.14: รายละเอียดการลงทุนของกลุมบริษ ผ ลิตรถยนตขามชาติในประเทศรัสเซีย
ผูผลิต | รายละเอียดการลงทุน |
Ford | ลงทุนมูลคา 100 ลานเหรียญสหรัฐฯ สรางโรงงานผลิตรถยนตแหงใหมในรัสเซีย มีกําลังการ ผลิต 53,000 ตอป เม่ือรวมกับกําลังการผลิตเดิมจะมี 125,000 คันตอป รถยนตที่ผลิตคือ Ford Focus และ Ford Mondeo โรงงานจะเร่ิมทําการผลิตในป 2552 |
GM | ลงทุนมูลคา 115 ลานเหรียญสหรัฐฯ สรางโรงงานผลิตรถยนตแหงใหมในรัสเซีย มีกําลังการ ผลิต 25,000 ตอป รถยนตท่ีผลิตคือ Chevrolet Captiva และรถ sport utility โรงงานจะ เร่ิมทําการผลิตในป 2551 ที่มา: http://in.news.yahoo.com/ 060613/137/651gz.html |
Fiat | รวมทุนกับ Severstal Avto ลงทุนมูลคา 150 ลานเหรียญสหรัฐฯ สรางโรงงานผลิตรถยนตใน รัสเซียมีกําลังการผลิต 50,000 คันตอป รถรุนที่ทําการผลิตไดแก C Class, FIAT Linea โดยมีแผนจะวางจําหนายทังในประเทศและสงออกไปยังยุโรปตะวันออกและจีน ที่มา: http://www.kommersant.com/p805131/ Car_Industry_Foreign_Deals/ |
DailmerChrysler | รวมมือกบั Avtovaz (รัสเซีย) และ Magna (แคนนาดา) มีแผนการท่จะลงทุนมูลคา 22,600 ลานเหรียญสหรัฐฯ สรา งโรงงานผลิตรถยนตในรัสเซีย โดยมีกําลังการผลิต 480,000 คันตอป รถที่ทําการผลิตไดแก New Lada Model และ Daimler Premium-Class อยางไรก็ตาม ขณะนีย้ งเปนเพียงการวางแผนการเทานนั คาดวาโรงงานจะเริ่มสรางในป 2553 ท่ีมา: http://www.russianspy.org/2006/12/07/daimlerchrysler-may-build-plant-in-russia/ |
Toyota | เร่ิมสรา งโรงงานผลิตรถยนตแหงแรกในรสั เซียมูลคา 15 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในเมือง St. Petersburg มีกําลังการผลิต 50,000 คันตอป รุนที่ทําการผลิตคือ Toyota Camry โรงงาน จะเริ่มทําการผลิตในป 2550 |
PSA | ลงทุนมูลคา 332 ลานเหรียญสหรัฐฯ ลงทุนสรางโรงงานผลิตรถยนตในรัสเซียมีกําลังการผลิต 75,000 คนตอป รุนที่จะทําการผลิตไดแก Peugeot 307 และ Citroen C4 โรงงานจะเริ่มทํา การผลิตไดประมาณป 2551 - 2553 ทั้งนียอดขายของ Peugeot ในรัสเซียเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 60 ในป 2549 ท่ีมา: http://www.automotiveworld.com/WAM/content.asp?contentid=61292 |
Susuki | ลงทุนมูลคา 117 ลานเหรียญสหรัฐฯ สรางโรงงานผลิตรถยนตในรัสเซยี มีกําลังการผลิต 30,000 คันตอป รถที่ทําการผลิต ไดแ ก Susuki Grand Vitara 4WD รถ terrain ประเภท ตางๆ และ crossover โรงงานจะเริ่มทําการผลิตในป 2552 ที่มา: http://www.mnweekly.ru/business/20070614/55258018.html |
Hyundai | มีแผนการจะสรางโรงงานใหมในรัสเซีย โดยปจจุบัน Hyundai มียอดจําหนายเปนอันดับ 3 ในรัสเซีย ในป 2549 มียอดจําหนายประมาณ 100,000 คัน ที่มา: http://uk.reuters.com/article/basicIndustries/idUKL0782848820070607 |
Renault | ลงทุน 2502 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในป 2548 สรางโรงงานในรัสเซีย ตอมาในป 2550 ไดลงทุน เพ่ิมอีก 150 ลานเหรียญสหรัฐฯ เพื่อเพิ่มกําลังการผลิตเปน 160,000 คันตอป รถที่ทําการ ผลิตคือรถยนตนั่งชื่อวา Logan ซึ่งเปนรถยนตน่ังขนาดเล็กท่ีขายดีเปนอันดับสองรองจาก |
บทที่ 3: สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน 3-25
ผูผลิต | รายละเอียดการลงทุน |
Ford Focus | |
Nissan | ลงทุนมูลคา 200 ลานเหรียญสหรัฐฯ สรา งโรงงานใหมในรัสเซียโดยมีกําลังการผลิต 50,000 คนตอป รถท่ีทําการผลิตไดแ ก รถอเนกประสงคประเภทตางๆ (SUV) และรถยนตน ่งั (sedan) โรงงานจะเร่ิมทําการผลิตในป 2552 |
Volkswagen | ขณะนมี้ ีแผนการที่จะสรางโรงงานแหงใหมในรสั เซีย มูลคา 500 ลานเหรียญสหรฐฯ โดยมี กําลังการผลิต 50,000 คนตอป ปจจุบันมีโรงงานเดิมมีกําลงการผลิต 115,000-150,000 ตอป ที่มา: http://www.kommersant.com/p805131/Car_Industry_Foreign_Deals/ |
SsangYong (เกาหลีใต) | |
Scania | สรา งโรงงานประกอบรถบรรทุกหนักในรัสเซีย โดยมีกําลังการผลิต 10,000 คันตอป จะเริ่ม ผลิตไดในป 2552 ท่ีมา: http://www.kommersant.com/p790925/Scania_assembly_truck/ |
Great Wall (จีน) | ลงทุนมูลคา 85 ลานเหรียญสหรัฐฯ สรา งโรงงานผลิตรถยนตแหงแรกในรัสเซีย ที่มา: http://www.siteselection.com/features/2006/nov/russiaCIS/ |
เมื่อพิจารณาถึงแนวโนมของการลงทุนและการผลิตรถยนตในอนาคต ขอมูล ดานการลงทุนโดยกลุมบริษัทผูผลิตตางชาติโดยสวนใหญจะเปนรถยนตขนาดเล็กซึ่งกําลังไดรับความ
นิยมอยางสูงจากผูบริโภค เนื่องจากรถยนตขนาดเล็กประหยัดนํ มันเชื้อเพลิงและมีราคาถูกกวา ประเทศ
ไทยก็มีนโยบายสนับสนุนการลงทุน เชน การผลิตรถยนตขนาดเล็กหรืออีโคคาร นอกจากการลงทุนของ กลุมบริษัทรถยนตขามชาติในการสรางโรงงานผลิตรถยนตแหงใหมในเอเชีย รัสเซีย และอเมริกาใตแลว กลุมบริษัทรถยนตขามชาติยังไดลงทุนสรางศูนยวิจัยและพัฒนาอีกดวยโดยเฉพาะอยางยิ่งในทวีปเอเชีย จากรายงาน World Investment Report ของ UNCTAD ระบุวาในป 2548 มีการลงทุนเพื่อสรางศูนยวิจัย และพัฒนาในทวีปเอเชียในทุกอุตสาหกรรมถึง 315 โครงการ โดยรอยละ 80 ตั้งอยูในจีนและอินเดีย ผูผลิตที่ทําการลงทุนดานการวิจัยและพัฒนาในเอเชีย ไดแก GM, Volkswagen, Nissan,
DaimlerChrysler, Honda, Hyundai และ Toyota
ในดานเทคโนโลยีการผลิตที่กําลังพัฒนาโดยคายผูผลิตรถยนตคือเทคโนโลยี รถยนตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมโดยการหันมาใชพลังงานทดแทนชนิดตางๆ เชน Biodiesel, CNG, Electric Battery Powered, Ethanol, Hydrogen, LPG, Hybrid Car และ Fuelcell โดยเทคโนโลยีที่ กําลังไดรับความสนใจจากกลุมผูผลิตรถยนต ไดแก
3-26 บทที่ 3: สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซยน
(1) Hybrid Car ซ่ึงเปนรถยนตที่มีการใชแหลงพลังงานตั้งแต 2 ชนิดข้ึนไป โดยรถยนตไฮบริดนั้นมีทั้งแบบท่ีใชพลังงานจากเคร่ืองยนตเบนซินกับพลังงานไฟฟา และเครื่องยนต ดีเซลกบพลังงานไฟฟา
(2) Fuel Cell Car หรือรถเซลลเช้ือเพลิงหรือรถพลังงาน Hydrogen ซึ่งใช พลังงานจากกระแสไฟฟาซ่ึงเกิดจากการทําปฏิกิริยาเคมีระหวาง Oxygen และ Hydrogen กระแสไฟฟา ที่ไดจากเซลลเช้ือเพลิงเปนรอยๆ ช้ินในเครื่องยนตจะนํามารวมกันเพ่ือสรางแรงขับเคลื่อนใหกับรถยนต โดยมีประสิทธิภาพมากกวาและสะอาดกวาพลังงานจากน้ํามัน ปจจุบันการพัฒนายังมีปญหาอยู 4 ดาน ดวยกัน คือถังเก็บไฮโดรเจนที่ตองคงสภาพความเย็นอยูตลอดเวลาเพื่อทําใหไฮโดรเจนคงสภาพเปน ของเหลวตลอด หากไดรับความรอนไฮโดรเจนจะระเหยเปนไอ นอกจากน้ียังมีปญหาเรื่องราคา ความ ทนทาน โครงสรางพื้นฐานของรถ และสถานีใหบริการเชื้อเพลิงจากไฮโดรเจน ซึ่งอาจจะตองใชเวลาอีก 20 ถึง 30 ปในการพัฒนารถพลงงานไฮโดรเจนใหไ ดมาตรฐาน
3.1.2 อุตสาหกรรมรถจักรยานยนต
1) การผลิต
ตลาดรถจักรยานยนตท่ีสําคัญของโลกคือตลาดในเอเชียเนื่องจากการผลิตกวารอยละ 90 ของโลกผลิตอยูที่เอเชีย (ตารางท่ี 3.15) โดยเฉพาะประเทศจีนซึ่งเปนตลาดรถจักรยานยนตที่ใหญที่สุดใน เอเชียและใหญที่สุดในโลก ขอมูลการผลิตในป 2548 พบวา ทั่วโลกมีการผลิตรถจักรยานยนต 39.31 ลาน คัน ตอมาในป 2549 ปริมาณการผลิตไดเพ่ิมขึ้นเปน 44.15 ลานคัน ซ่ึงมีอัตราเพ่ิมขึ้นรอยละ 12.3 ขณะที่
การผลิตในป 2549 อยูในภูมิภาคเอเชีย 40.92 ลานคัน หรือรอยละ 92 ของปริมาณการผลิตทั้งหมด และ
ในจํานวนน้ีผลิตที่ประเทศจีนถึง 21.4 ลานคัน (รูปที่ 3.10) ปจจุบันประชากรจีนมีรถจักรยานยนตใช ประมาณ 50 ลานคัน โดยมีผูผลิตรถจักรยานยนตรวมทุกประเภทจํานวน 813 ราย3 นอกจากนี้ตลาด รถจักรยานยนตในจีนยังมีโอกาสขยายตัวไดอีกมาก พิจารณาไดจากขอมูลสัดสวนการใชรถจักรยนตของ ประชากรในป 2549 ซ่ึงประชากร 1,000 คน มีรถจักรยานยนตใชเพียง 40 คนเทานั้น ซึ่งถือวาเปนสัดสวน ที่ตํ่าเมื่อเทียบกับไตหวันท่ีประชากร 1,000 คน มีรถจักรยานยนตใชถึง 500 คน รายงานของ China Automobile Industry Association ไดระบุวาอุตสาหกรรมรถจักรยานยนตของจีนทํากําไรเพิ่มขึ้นรอยละ
4.16 ในป 2549 ซึ่งเปนอุตสาหกรรมเดียวในกลุมอุตสาหกรรมยานยนต ง้ หมด 5 กลุมที่มกี ําไรเพิ่มขึ้น
3 http://www.made-in-china.com
บทที่ 3: สถานการณการคาของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในตลาดโลกและอาเซียน 3-27