Contract
การxxxxแรงงาน
xxxxxxxxxxxxx xxxxxxx อาจารย์ประจําหลักสูตรxxxxxxxxxx
สัญญาxxxxแรงงานเป็นสัญญาไม่มีแบบ ดังนั้นเมื่อมีการ ตกลงกัน คือ มีคําเสนอและคํา xxxxตรงกัน แม้เพียงจะทํากัน ด้วยวาจา สัญญาก็เกิดขึ้นครบxxxxxxxx
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxx 575 xxxxxxxxxx
"อันxxxxxxxแรงงานนั้น คือ สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า ลูกจ้าง ตกลงจะทํางานให้แก่บุคคล อีกคนหนึ่งเรียกว่านายจ้าง และนายจ้างตกลงจะให้สินจ้างตลอดเวลาที่ทํางานให้
xxxxxxxxxxxxxxxxxx 575 เราควรพิจารณาคือ
1. สัญญาxxxxประกอบด้วยคู่สัญญา 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายนายจ้าง
และฝ่ายลูกจ้าง โดยฝ่ายลูกจ้างจะทํางานให้แก่ฝ่ายนายจ้าง ฝ่ายนายจ้างจะจ่ายสินจ้าง ให้แก่ลูกจ้างเพื่อเป็นการตอบแทน
2. สัญญาxxxxแรงงานเป็นสัญญาแบบไม่มีแบบ หมายxxxxxxกําหนดว่าจะต้องทําเป็นหนังสือ แม้จะทํากันด้วยวาจา สัญญาก็เกิดขึ้นโดยxxxxxxx
3. มีลักษณะเป็นสัญญาเฉพาะตัว เมื่อมีการยินยอมพร้อมใจxxx xxxคู่สัญญาฝ่ายใด ทําการฝ่าฝืน อีกฝ่ายหนึ่งก็จะบอกเลิกเสียก็ได้
4. นายจ้างมีอํานาจในการบังคับบัญชาลูกจ้าง ลูกจ้างมีหน้าที่ ต้องรับฟังคําสั่งและปฏิบัติ ตาม ต่างกับสัญญาxxxxทําของ ซึ่งนายจ้าง ไม่มีอํานาจบังคับลูกจ้าง
5. วัตถุประสงค์ที่สําคัญของสัญญาxxxxแรงงานอยู่ที่ ลูกจ้างจะ ต้องทํางานตามxxxxxxxxxxนั้น จะสําเร็จหรือไม่ ลูกจ้างก็มีxxxxxจะได้รับสินจ้าง
ในกรณีที่สัญญาxxxxแรงงานไม่มีกําหนดระยะเวลาที่แน่นอน ลูกจ้างxxxxxxxxxxออก ได้เพียงแค่บอกนายจ้างก่อนล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือน (หรือ 1 งวดค่าxxxx) เพียงเท่านี้ลูกจ้าง ก็xxxxxxออกจากงานได้ทันทีเมื่อถึงเวลารับค่าxxxxงวดต่อไปโดยไม่จําเป็นต้องได้รับอนุมัติ จากนายจ้าง
ดังนั้น หากลูกจ้างได้xxxxxxxxนายจ้างว่าจะลาออกล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือน (หรือ 1 งวดค่าxxxx) แล้ว แม้นายจ้างจะไม่อนุมัติxxxxออกก็ไม่มีผลกระทบต่อการลาออกของลูกจ้างแต่ อย่างใด
โดยทั่วไปหากลูกจ้างทํางานครบ 120 วันแล้วถูกเลิกxxxx ลูกจ้างเองย่อมมีxxxxxxxxรับ ค่าชดเชยอย่างน้อยเท่ากับค่าxxxx 30 วันสุดท้ายไม่ว่าจะเป็นลูกจ้างประจําหรือลูกจ้างทดลองงาน แต่บางกรณีนายจ้างก็มักหลีกเลี่ยงการจ่ายค่าชดเชยโดยการกําหนดให้ลูกจ้างทดลองงานทํางาน เพียง 119 วันเท่านั้น
อย่างไรก็ดี แม้นายจ้างจะกําหนดให้ลูกจ้างทดลองงาน 119 วัน แต่ถ้านายจ้างจะเลิกxxxx เพราะไม่ผ่านทดลองงานก็ต้องxxxxxxxxล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือน (หรือ 1 งวดการจ่ายค่าxxxx) มิxxxxนั้น นายจ้างต้องจ่ายสินจ้างแทนการxxxxxxxxล่วงหน้าเป็นค่าตกใจให้ลูกจ้างเป็นเงิน 1 งวด ค่าxxxx (มาตรา 17 วรรคสอง พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และ มาตรา 582 xxxxxx กฎหมายแพ่งและพาณิชย์)
อย่างไรก็ตาม การละทิ้งหน้าที่การงาน 3 วันติดต่อกันโดยไม่เหตุผลอันxxxxxย่อมเป็นเหตุ ให้ถูกเลิกxxxxxxxโดยที่นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย แต่ถ้าหยุด 3 วันติดต่อกันโดยมีเหตุผล อันxxxxx xxxx ใช้xxxxxxxxxxxxxx xxกิจ หรือป่วยหนักและมีใบรับรองแพทย์ นายจ้างจะไล่ออก โดยไม่จ่ายค่าชดเชยxxxxxx ซึ่งศาลปกครองสูงสุดได้เคยวินิจฉัยประเด็นเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งเป็น ข้าราชการพลเรือนเรียกรับเงินโดยมิชอบจากผู้มาติดต่อราชการว่า เป็นการปฏิบัติหน้าที่ราชการ โดยมิชอบเพื่อให้ตนเองได้ประโยชน์ที่มิควรได้ซึ่งเป็นการทุจริตต่อหน้าที่ราชการและเป็น การกระทําอันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่วอย่างxxxxxxx xxxเป็นความผิดxxxxxอย่างร้ายแรง คําสั่งลงโทษไล่ออกจึงชอบด้วยกฎหมาย (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. 463/2553)
.....................................................