Contract
๑
ประกาศ
คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัดนครราชสีมา เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล ขององค์การบริหารส่วนตําบล
..................................................
ด้วยxxxxxxxxxxแห่งราชอาณาจักรไทย ได้xxxxxxxให้องค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่นมีความเป็นxxxxxใน การบริหารงานบุคคลตามความต้องการและความเหมาะสมของxxxxxxxxประกอบกับพระราชบัญญัตxxxxxxx บริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ .ศ.๒๕๔๒ xxxxxxxให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) กําหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลสําหรับพนักงานส่วนตําบลและลูกจ้างของ องค์การบริหารส่วนตําบล ให้เหมาะสมกับลักษณะการบริหารและอํานาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตําบล และจะต้องอยู่ภายใต้มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลสําหรับพนักงานส่วนตําบลและลูกจ้างของ องค์การบริหารส่วนตําบลที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล ( ก.อบต.) กําหนด
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๓ และมาตรา ๑๔ ประกอบมาตรา ๒๕ แห่งพระราช xxxxxxx xxxxxxxบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ประกอบกับมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล ขององค์การบริหารส่วนตําบลที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต) กําหนด คณะกรรมการ พนักงานส่วนตําบลจังหวัดนครราชสีมา ในการประชุมครั้งที่ ๙/๒๕๔๕ เมื่อxxxxxx ๒๑ xxxxxx พ.ศ.๒๕๔๕ ได้ มีมติประกาศกําหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลสําหรับพนักงานส่วนตําบลและ ลูกจ้างขององค์การบริหารส่วนตําบล ไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า“ประกาศคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัดนครราชสีมา เรื่อง
👉ลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริ👉ารงานบุคคลขององค์การบริ👉ารส่วนตําบล พ.ศ.๒๕๔๕”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่xxxxxx ๒๔ เดือนxxxxxx พ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ภายใต้บทกําหนดในมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลสําหรับพนักงานส่วน ตําบลและลูกจ้างขององค์การบริหารส่วนตําบลที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบลกําหนด บรรดากฎ xxxxxxx ข้อบังคับ ประกาศ หรือคําสั่งอื่นใด ที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของพนักงานส่วนตําบลและ ลูกจ้างขององค์การบริหารส่วนตําบลในส่วนที่มีกําหนดไว้แล้วในประกาศนี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบทกําหนด ตามประกาศนี้ ให้ใช้บทกําหนดในประกาศนี้แทน
ข้อ ๔ ในประกาศนี้
“ก.อบต. หมายความว่า คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบลตามกฎหมายว่าด้วยxxxxxxx บริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
๒
“คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต .จังหวัด )” หมายความว่า คณะกรรมการ พนักงานส่วนตําบลจังหวัดนครราชสีมาตามกฎหมายว่าด้วยxxxxxxxบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
“พนักงานส่วนตําบล ” หมายความว่าพนักงานส่วนตําบลซึ่งได้รับบรรจุและแต่งตั้งตาม
ประกาศนี้ ให้รับราชการในองค์การบริหารส่วนตําบลโดยมีตําแหน่งและได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณ หมวดเงินเดือนในองค์การบริหารส่วนตําบล
“พนักงานส่วนท้องถิ่นอื่น ” หมายความว่าพนักงานเทศบาล ข้าราชการกรุงเทพมหานคร
พนักงานเมืองพัทยา ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด และข้าราชการหรือพนักงานขององค์กรxxxxxx ส่วนท้องถิ่นอื่นที่ไม่ใช่พนักงานส่วนตําบล โดยมีกฎหมายจัดตั้งขึ้นซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้ปฏิบัติราช - การโดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนขององค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่น หรือจากเงินงบ ประมาณหมวดเงินอุดหนุนของรัฐบาลที่ให้แก่องค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่น และองค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่น นํามาจัดเป็นเงินเดือนของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น
“ข้าราชการประเภทอื่น หมายความว่า ข้าราชการพลเรือนตามกฎหมายว่าด้วยxxxxxxx
ข้าราชการพลเรือน และข้าราชการประเภทอื่นตามกฎหมายว่าด้วยxxxxxxxข้าราชการประเภทนั้น นอกจาก พนักงานส่วนตําบล และพนักงานส่วนท้องถิ่นอื่น
ข้อ ๕ ให้ประธานกรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัดนครราชสีมาxxxxxxxxตามประกาศนี้ และ ให้มีอํานาจตีความหรือวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามประกาศนี้
ดังต่อไปน
หมวด ๑ คุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม
ข้อ ๖ ผู้ที่จะเข้ารับราชการเป็นพนักงานส่วนตําบลต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
(๑) xxxxxxxxxxxx
(๒) มีอายุไม่ต่ํากว่าสิบแปดปีxxxxxxxx
(๓) เป็นผู้เลื่อมใสในการxxxxxxระบอบxxxxxxxxxxxxxxxxพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
xxxxxx ตามxxxxxxxxxxแห่งราชอาณาจักรไทยด้วยความบริสุทธิ์ใจ
(๔) ไม่เป็นผู้ดํารงตําแหน่งข้าราชการการเมือง
(๕) ไม่เป็นผู้มีxxxทุพพลภาพจนไม่xxxxxxปฏิบัติหน้าที่ได้ ไร้ความxxxxxxหรือจิตฟั่น เฟือนxxxxxxxxxxxหรือเป็นโรคตามที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต)กําหนดดังนี้
(ก) โรคเรื้อนในระยะติดต่อหรือในระยะที่ปรากฏอาการเป็นที่รังเกียจแก่สังคม (ข) วัณโรคในระยะอันตราย
(ค) โรคเท้าช้างในระยะที่ปรากฏอาการเป็นที่รังเกียจแก่สังคม (ง) โรคติดยาเสพติดให้โทษ
(จ) โรคพิษสุราเรื้อรัง
๓
(๖) ไม่เป็นผู้อยู่ในระหว่างถูกสั่งให้xxxราชการหรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนตาม มาตรฐานทั่วไป หรือหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของพนักงานส่วนตําบตามกฎหมาย ว่าด้วยxxxxxxxบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นหรือตามกฎหมายอื่น
(ก) ไม่เป็นผู้บกพร่องในศีลธรรมxxxxxจนเป็นที่รังเกียจของสังคม (ข) ไม่เป็นกรรมการพรรคการเมืองหรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง (ค) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
(ง) ไม่เป็นผู้เคยต้องรับโทษจําxxxโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําxxxเพราะกระทํา ความผิดอาญา เว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิดxxxxxxกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
งานอื่นของรัฐ
(จ) ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วย
(ฉ) ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก หรือปลดออกเพราะกระทําผิดxxxxxตามมาตรฐาน
ทั่วไปหรือหลักเกณฑ์ และวิธีการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของพนักงานส่วนตําบล ตามกฎหมายว่าด้วย xxxxxxxบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นหรือตามกฎหมายอื่น
(ช) ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษไล่ออกเพราะกระทําผิดxxxxxตามมาตรฐานทั่วไปหรือ หลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของพนักงานส่วนตําบล ตามกฎหมายว่าด้วยxxxxxxx บริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น หรือตามกฎหมายอื่น
(ฌ) ไม่เป็นผู้เคยกระทําการทุจริตในการสอบเข้ารับราชการ
ข้อ ๗ ผู้ที่จะเข้ารับราชการเป็นพนักงานส่วนตําบลซึ่งขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้อง ห้ามตาม ข้อ ๖ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) อาจพิจารณายกเว้นให้xxxxxxเข้ารับราชการเป็น พนักงานส่วนตําบลได้ ในกรณี ดังนี้
(๑) ซึ่งขาดคุณสมบัติตามข้อ ๖ (๗) (๙) (๑๐) หรือ (๑๔)
(๒) ผู้ซึ่งขาดคุณสมบัติตามข้อ ๖ (๑๑) หรือ (๑๒) ซึ่งได้ออกจากงานหรือราชการเกินสองปี แล้ว และมิใช่กรณีออกเพราะกระทําผิดในกรณีทุจริตต่อหน้าที่
(๓) ผู้ซึ่งขาดคุณสมบัติตามข้อ ๖ (๑๓) ซึ่งได้ออกจากงานหรือราชการเกินสามปีแล้ว และ มิใช่กรณีออกเพราะกระทําผิดในกรณีทุจริตต่อหน้าที่
ข้อ ๘ ผู้ที่เป็นพนักงานส่วนตําบลต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อ ๖ ตลอด เวลาที่รับราชการ เว้นแต่คุณสมบัติตามข้อ ๖ (๖)หรือได้รับการยกเว้นในกรณีขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะ ต้องห้ามตามข้อ ๗
ข้อ ๙ การพิจารณายกเว้นกรณีการขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตาม ข้อ ๗ ของ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัด ให้พิจารณาถึงความจําเป็นและประโยชน์ของทางราชการที่จะได้รับ และมติของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) ในการประชุมปรึกษายกเว้นคุณสมบัติหรือ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าว ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) ประชุมพิจารณาลงมติโดย จะต้องได้คะแนนเสียงสี่ในห้าของจํานวนกรรมการในที่ประชุม และการลงมติให้กระทําโดยลับ
๔
ข้อ ๑๐ ในการขอยกเว้น และการพิจารณายกเว้นในกรณีการขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะ ต้องห้ามคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด)อาจพิจารณายกเว้นให้เข้ารับราชการได้ดังนี้
(๑) ผู้ซึ่งขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามในการที่จะเข้ารับราชการเป็นพนักงานส่วน
ตําบลและเป็นกรณีที่คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด) อาจพิจารณายกเว้นได้ให้ผู้นั้น ยื่นคํา ขอให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด)พิจารณายกเว้นในกรณีขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะ ต้องห้ามเพื่อจะเข้ารับราชการโดยมีผู้xxxxxxxxxอันควรเชื่อถือxxxxxxน้อยกว่าสองคนเป็นผู้รับรองความประพฤติ ให้ยื่นคําขอและหนังสือรับรองตามแบบท้ายประกาศนี้ พร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้อง
(๒) การขอให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) พิจารณายกเว้นในกรณีขาด คุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้ามเพื่อสมัครหรือกลับเข้ารับราชการเป็นพนักงานส่วนตําบลจะยื่นคําขอต่อ เลขานุการคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) หรือนายกองค์การบริหารส่วนตําบลของ องค์การบริหารส่วนตําบลที่ผู้นั้นxxxxxxxจะเข้ารับราชการก็ได้
(๓) ในกรณีที่มีผู้ยื่นคําขอต่อเลขานุการคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) ให้ส่งเรื่องให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลพิจารณา หรือกรณียื่นต่อนายกองค์การบริหารส่วนตําบลให้นายก องค์การบริหารส่วนตําบลพิจารณาและถ้าต้องการจะรับผู้ยื่นคําขอนั้นเข้ารับราชการ ก็ให้ดําเนินการสอบสวน เพื่อให้ทราบรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติส่วนตัว ประวัติการรับราชการหรือการทําxxxxxxประกอบคุณงาม ความดี ความผิดหรือความเสื่อมเสียและความประพฤติของผู้นั้นโดยให้สอบ สวนจากผู้บังคับบัญชาหรือ หัวหน้างานและผู้xxxxxxxxxซึ่งอยู่ใกล้ชิดอันควรเชื่อถือได้ แล้วพิจารณาอีกชั้นหนึ่งว่ายังต้องการจะรับผู้นั้นเข้า รับราชการหรือไม่ ถ้าต้องการรับก็ให้แจ้งและส่งเรื่องการสอบสวนดังกล่าวพร้อมทั้งเอกสาร หลักฐานการ สอบสวนนั้นให้เลขานุการคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด )ดําเนินการต่อไปและหากนายก องค์การบริหารส่วนตําบลไม่ต้องการรับผู้ยื่นคําขอนั้นเข้ารับราชการให้แจ้งเป็นหนังสือให้ผู้นั้นและเลขานุการ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัดทราบ
(๔) ในกรณีที่นายกองค์การบริหารส่วนตําบลไม่แจ้งผลการพิจารณาตาม (๓) ให้เลขานุการ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด) ทราบภายในหกเดือนนับแต่xxxxxxเลขานุการคณะ กรรมการ พนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด) ส่งเรื่องไปให้xxxxxxองค์การบริหารส่วนตําบลนั้นไม่ต้องการจะรับบรรจุ ให้ เลขานุการคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) ยุติเรื่องและแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ยื่นคําขอทราบ (๕) เมื่อเลขานุการคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) ได้รับเรื่องการสอบ
สวนตาม(๓) เห็นว่าข้อเท็จจริงและเอกสารหลักฐานxxxxxxxxxxจะประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการ พนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) ก็ให้ดําเนินการนําเสนอคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต. จังหวัด) เพื่อพิจารณา
(๖) การขอยกเว้นในกรณีที่ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม เพื่อสมัครสอบแข่งขันหรือ เพื่อเข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงานส่วนตําบล ให้ผู้xxxxxxxจะเข้าเป็นพนักงานส่วนตําบลยื่นคําขอต่อ เลขานุการคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด) และให้เลขานุการคณะกรรมการพนักงานส่วน ตําบล (ก.อบต.จังหวัด) รวบรวมข้อเท็จจริงและเอกสารหลักฐานต่างๆ ให้xxxxxxxxxxจะประกอบการพิจารณา ของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) แล้วดําเนินการนําเสนอคณะกรรมการพนักงานส่วน ตําบล (ก.อบต.จังหวัด) เพื่อพิจารณาลงมติลับตามข้อ ๙
๕
ในกรณีที่คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัด ได้พิจารณาลงมติสําหรับผู้ขอยกเว้นกรณีที่ ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามรายใด และผู้นั้นxxxxxxรับการยกเว้นการขอให้คณะกรรมการพนักงาน ส่วนตําบลจังหวัด พิจารณายกเว้นในกรณีที่ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามอีก ผู้นั้นจะขอได้ต่อเมื่อเวลา ได้ล่วงเลยไปแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งปี นับแต่xxxxxxคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัดลงมติ
หมวด ๒ การกําหนดประเภท จํานวน และอัตราตําแหน่ง
ข้อ ๑๑ ตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลมี ๓ ประเภท ดังนี้ (๑) ตําแหน่งประเภททั่วไป
(๒) ตําแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ ได้แก่ตําแหน่งตั้งแต่ระดับ ๗ ขึ้นไป ซึ่งเป็นตําแหน่ง ที่มีลักษณะงานวิชาชีพซึ่งต้องปฏิบัติโดยผู้สําเร็จการศึกษาในระดับxxxxxxxxxxxxxxxมอบหมายให้ผู้มีคุณวุฒิ อย่างอื่นปฏิบัติงานแทนได้และเป็นงานที่มีผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนอย่างเห็นได้ชัด โดยมี องค์กรตามกฎหมายทําหน้าที่ตรวจสอบกลั่นกรองและรับรองการประกอบวิชาชีพ รวมทั้งลงโทษผู้กระทําผิด กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพดังกล่าว ได้แก่ตําแหน่งดังต่อไปนี้
• วิชาชีพเฉพาะการพยาบาล
• xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
• วิชาชีพเฉพาะสถาปัตยกรรม
(๓) ตําแหน่งประเภทบริหารระดับกลางได้แก่ ตําแหน่งระดับ ๘ xxxxxxxxxและหน้าที่ใน การบริหารงานเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล
ข้อ ๑๒ การกําหนดจํานวนตําแหน่งและอัตราตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลในองค์การบริหารส่วน ตําบลว่าจะมีตําแหน่งใด ระดับใดอยู่ในส่วนราชการใด จํานวนเท่าใด ต้องคํานึงถึงลักษณะหน้าที่ความ รับผิดชอบ ปริมาณงาน คุณภาพและความยากของงานค่าใช้จ่ายด้านบุคคลและงบประมาณรายได้ของ องค์การบริหารส่วนตําบล โดยการกําหนดตําแหน่งดังกล่าวต้องเทียบได้ในมาตรฐานเดียวกันกับข้าราชการพล เรือนสามัญ
ข้อ ๑๓ การกําหนดตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลในส่วนราชการว่าจะมีตําแหน่งใด ระดับใด อยู่ ในส่วนราชการใด จํานวนเท่าใด โดยให้องค์การบริหารส่วนตําบลจัดทําxxxxxxxอัตรากําลังของพนักงานส่วน ตําบล เพื่อเป็นกรอบในการกําหนดตําแหน่ง และการใช้ตําแหน่งพนักงานส่วนตําบล โดยเสนอให้ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล ( ก.อบต.จังหวัด ) พิจารณาให้ความเห็นชอบ
ในการจัดทําแผนอัตรากําลังขององค์การบริหารส่วนตําบลตามวรรคหนึ่ง ให้องค์การบริหารส่วน ตําบลคํานึงถึงภารกิจ อํานาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ ลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติ ความยากคุณภาพของงาน และปริมาณงานตลอดทั้งภาระค่าใช้จ่ายขององค์การบริหารส่วนตําบลที่จะต้องจ่ายในด้านบุคคล
๖
ข้อ ๑๔ การกําหนดตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลตําแหน่งใดเป็นตําแหน่งระดับใด ให้ประเมิน ความยากและคุณภาพของงานในตําแหน่งนั้น แล้วปรับเทียบกับxxxxxxxxxในมาตรฐานกําหนดตําแหน่งที่ คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) จัดทําไว้ตามมาตรฐานทั่วไปเกี่ยว กับอัตราตําแหน่งและ
มาตรฐานของตําแหน่ง การปรับตําแหน่งเทียบกับxxxxxxxxxในมาตรฐานกําหนดตําแหน่ง ให้จัดตําแหน่งที่มี ลักษณะงานอย่างเดียวกันเข้าประเภทและสายงานเดียวกัน และจัดตําแหน่งในสายงานเดียวกันที่มีความยาก และคุณภาพของงานอยู่ในระดับเดียวกันโดยประมาณ เข้ากลุ่มตําแหน่งเดียวกันและระดับเดียวกัน
ข้อ ๑๕ ในการจัดทําแผนอัตรากําลังพนักงานส่วนตําบลขององค์การบริหารส่วนตําบล ให้องค์ การบริหารส่วนตําบลแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทําแผนอัตรากําลังขององค์การบริหารส่วนตําบลประกอบด้วย
(๑) นายกองค์การบริหารส่วนตําบล เป็นประธาน
(๒) ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล เป็นคณะทํางาน (๓) ผู้อํานวยการกองหรือหัวหน้าส่วนราชการ เป็นคณะทํางาน
(๔) พนักงานส่วนตําบล เลขานุการคณะทํางาน
ข้อ ๑๖ ให้คณะกรรมการจัดทําแผนอัตรากําลัง จัดทําแผนอัตรากําลังขององค์การบริหารส่วน ตําบล โดยให้คํานึงถึงภารกิจอํานาจหน้าที่ตามกฎหมายกําหนดแผนและขั้นตอนการxxxxxxอํานาจให้แก่ องค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่น กฎหมายว่าด้วยสภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล ลักษณะงานที่ต้อง ปฏิบัติ ความยากและคุณภาพของงานและปริมาณงานของส่วนราชการต่างๆ ในองค์ การบริหารส่วนตําบล ตลอดทั้งภาระค่าใช้จ่ายขององค์การบริหารส่วนตําบลที่จะต้องจ่ายในด้านบุคคลและการจัดสรรเงิน งบประมาณขององค์การบริหารส่วนตําบลโดยกําหนดxxxxxxxอัตรากําลังขององค์การบริหารส่วนตําบลใน ระยะเวลา ๓ ปี และแผนอัตรากําลังดังกล่าวอย่างน้อยจะต้องประกอบด้วยสาระสําคัญ ดังนี้
(๑) บทศึกษาวิเคราะห์อํานาจหน้าที่และภารกิจความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วน ตําบลในช่วงระยะเวลา ๓ ปี
(๒) บทศึกษาวิเคราะห์ความต้องการกําลังคนทั้งหมดขององค์การบริหารส่วนตําบล ในช่วง ระยะเวลา ๓ ปี ว่าต้องการกําลังคนประเภทใด ระดับใด จํานวนเท่าใด จึงจะxxxxxxปฏิบัติงานตามภารกิจที่ อยู่ในอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๓) บทศึกษาวิเคราะห์ประเมินความต้องการกําลังคนที่มีอยู่ในปัจจุบัน และกําลังคนที่ขาด อยู่และต้องการxxxxxขึ้น อัตราความต้องการกําลังคนxxxxxขึ้นเนื่องจากการขยายงานหรือได้รับมอบหมาย xxxxxขึ้น อัตราการสูญเสียกําลังคนในแต่ละปี
(๔) บทศึกษาวิเคราะห์การวางแผนการใช้กําลังคน เป็นการวางแผนเพื่อให้มีการใช้กําลังคนที่ มีอยู่ในองค์การบริหารส่วนตําบลให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยสํารวจและประเมินความรู้ความxxxxxxของ กําลังคนที่มีอยู่ การพัฒนาหรือฝึกอบรมกําลังคนที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นและใช้กําลังคนที่มีอยู่ให้เหมาะ สมกับความรู้ความxxxxxxของแต่ละคน
(๕) การจัดโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ การกําหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละส่วน ราชการ การแบ่งงานภายในส่วนราชการการกําหนดตําแหน่งและระดับตําแหน่งต่างๆโดยมีหลักเกณฑ์เบื้องต้นดังนี้
๗
(ก) กําหนดโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการขององค์การบริหารส่วนตําบลให้เป็นไปตาม ประกาศกําหนดส่วนราชการขององค์การบริหารส่วนตําบล
(ข) การกําหนดตําแหน่งพนักงานส่วนตําบล และระดับตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลประจํา ในส่วนราชการต่างๆ ตามโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการตาม (ก) โดยพิจารณากําหนดตําแหน่งเป็นตําแหน่ง ใดสายงานใด ระดับใด และมีจํานวนเท่าใด ให้เป็นไปตามแผนอัตรากําลังพนักงานส่วนตําบลที่องค์การบริหาร ส่วนตําบลจัดทําขึ้น โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) แล้ว
(ค) ตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลที่กําหนดในส่วนราชการตาม(ข) ต้องเป็นตําแหน่งสายงาน ที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล ได้จัดทํามาตรฐานกําหนดตําแหน่งไว้แล้วสําหรับตําแหน่ง ผู้ปฏิบัติงานในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๑ ระดับ ๒ หรือระดับ ๓ ทุกตําแหน่งสายงาน ให้กําหนดตําแหน่ง เป็นตําแหน่งระดับควบ เป็นระดับ ๑-๓ ระดับ ๒-๔ หรือระดับ ๓-๕ แล้วแต่กรณี
(ง) การกําหนดตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลตามแผนอัตรากําลังให้กําหนดxxxxxxx อัตรากําลังขององค์การบริหารส่วนตําบลในระยะเวลา ๓ ปี โดยให้แสดงกรอบอัตรากําลังขององค์ การบริหาร ส่วนตําบลทั้งหมดและการกําหนดตําแหน่งxxxxxใหม่เป็นรอบปีที่หนึ่ง ปีที่สอง และปีที่สาม
(๖) ในการกําหนดตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลตามแผนอัตรากําลังขององค์การบริหารส่วน ตําบลที่จัดทําขึ้นในครั้งแรกตามประกาศนี้ ให้องค์การบริหารส่วนตําบลกําหนดเป็นตําแหน่งสายงานในระดับ ใดจํานวนเท่าใด ในส่วนราชการต่างๆ ขององค์การบริหารส่วนตําบล ภายใต้หลักเกณฑ์และเงื่อนไขดังนี้
(ก) องค์การบริหารส่วนตําบลขนาดใหญ่ ให้กําหนดระดับตําแหน่ง ดังนี้
• กําหนดตําแหน่งปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นระดับ๘ หรือระดับ ๗
• อาจกําหนดตําแหน่งรองปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นระดับ ๗ หรือระดับ ๖ ได้
• กําหนดตําแหน่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกองหรือส่วน เป็นระดับ ๗ หรือระดับ ๖ (ข) องค์การบริหารส่วนตําบลxxxxxxxx ให้กําหนดตําแหน่ง ดังนี้
• กําหนดตําแหน่งปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นระดับ ๗ หรือระดับ๖
• อาจกําหนดตําแหน่งรองปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นระดับ ๗ หรือระดับ ๖ ได้
• กําหนดตําแหน่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกองหรือส่วนเป็นระดับ๗ หรือระดับ๖ (ค) องค์การบริหารส่วนตําบลขนาดเล็ก ให้กําหนดตําแหน่ง ดังนี้
• กําหนดตําแหน่งปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล เป็นระดับ ๖
• กําหนดตําแหน่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกองหรือส่วน เป็นระดับ ๖
(ง) การกําหนดตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลตําแหน่งอื่นขององค์การบริหารส่วนตําบล ให้ พิจารณากําหนดได้ตามความเหมาะสม ความจําเป็นตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ ความยากและคุณภาพของงาน และปริมาณงานและให้คํานึงถึงตําแหน่งสายงานของตัวพนักงานส่วนตําบลที่มีอยู่ในปัจจุบันประกอบด้วย
ข้อ ๑๗ ตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลมีชื่อในการบริหารงานตามที่กําหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วย สภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล และมีชื่ออื่นเพื่อประโยชน์ในการบริหารงาน ดังนี้
(๑) ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล
๘
(๒) รองปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล
(๓) หัวหน้าสํานักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล (๔) ผู้อํานวยการกอง หรือ หัวหน้าส่วน
ข้อ ๑๘ ให้องค์การบริหารส่วนตําบลเสนอแผนอัตรากําลังxxxxxxจัดทําขึ้นตามข้อ ๑๖ ให้คณะ กรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) พิจารณาให้ความเห็นชอบ เมื่อคณะกรรมการพนักงานส่วน ตําบล (ก.อบต.จังหวัด) พิจารณาให้ความเห็นชอบแล้วให้องค์การบริหารส่วนตําบลประกาศใช้แผนอัตรากําลัง ดังกล่าว เพื่อเป็นกรอบการกําหนดตําแหน่งและการใช้ตําแหน่งขององค์การบริหารส่วนตําบลตามระยะเวลาที่ กําหนด
เมื่อครบกําหนดรอบระยะเวลาการใช้แผนอัตรากําลังขององค์การบริหารส่วนตําบล ๓ ปีแล้ว ให้ องค์การบริหารส่วนตําบลดําเนินการจัดทําแผนอัตรากําลังขององค์การบริหารส่วนตําบล ตามข้อ ๑๖ เป็น ระยะเวลา ๓ ปี ในรอบถัดไป
ข้อ ๑๙ ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) ตามข้อ ๑๘ หากคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลเห็นว่าแผนอัตรากําลังขององค์การบริหารส่วนตําบลยังไม่ เหมาะสม ให้องค์การบริหารส่วนตําบลดําเนินการปรับปรุงแผนอัตรากําลังดังกล่าว ตามความเห็นของ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) หากองค์การบริหารส่วนตําบลมีความเห็นว่าแผนอัตรา กําลังขององค์การบริหารส่วนตําบลมีความเหมาะสมแล้ว และแจ้งยืนยันแผนอัตรากําลังต่อคณะกรรมการ พนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) เสนอเรื่องพร้อม ความเห็นให้คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบลพิจารณา
ผลการพิจารณาของคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) ตามวรรคหนึ่งเป็น ประการใดให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) และองค์การบริหารส่วนตําบลดําเนิน การ ตามความเห็นของคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.)
ข้อ ๒๐ เมื่อคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) กําหนดให้มีตําแหน่งพนักงาน ส่วนตําบลตําแหน่งใด ระดับใด ในส่วนราชการใด จํานวนเท่าใดตามแผนอัตรากําลังแล้ว ให้คณะกรรมการ พนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) xxxxxxกับองค์การบริหารส่วนตําบล เพื่อจัดสรรเงินงบประมาณในแต่ ละปี สําหรับตั้งจ่ายเป็นอัตราเงินเดือนของตําแหน่งดังกล่าวให้สอดคล้องกัน
ข้อ ๒๑ ในระหว่างการประกาศใช้บังคับแผนอัตรากําลังขององค์การบริหารส่วนตําบล หาก องค์การบริหารส่วนตําบล มีเหตุผลความจําเป็นต้องกําหนดตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลxxxxxใหม่ นอกเหนือจากที่กําหนดในแผนอัตรากําลังเพื่อรองรับภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบลักษณะงานหรือปริมาณ งานที่xxxxxมากขึ้น ซึ่งองค์การบริหารส่วนตําบลไม่xxxxxxปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งโดยปรับเกลี่ยจาก ตําแหน่งอื่นได้และไม่เป็นภาระทางงบประมาณค่าใช้จ่ายด้านบุคคลขององค์การบริหารส่วนตําบล ให้องค์การ บริหารส่วนตําบลเสนอขอกําหนดตําแหน่งxxxxxใหม่ต่อคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัดพิจารณาให้ ความเห็นชอบก่อน
๙
การเสนอขอกําหนดตําแหน่งxxxxxใหม่ให้องค์การบริหารส่วนตําบลชี้แจงเหตุผลความจําเป็นที่ต้อง ขอกําหนดตําแหน่งให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด) พิจารณาโดยมีรายการดังต่อไปนี้
๑. เหตุผลความจําเป็นที่จะต้องกําหนดตําแหน่งxxxxxใหม่
๒. ลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติ ความยากและคุณภาพของงานหรือปริมาณงานที่xxxxxขึ้น จากเดิม ถึงขนาดจําเป็นต้องกําหนดตําแหน่งxxxxxขึ้นใหม่
๓. ชื่อตําแหน่ง สายงานระดับตําแหน่งและจํานวนตําแหน่งที่ขอกําหนดxxxxxใหม่
๔. หน้าที่และความรับผิดชอบของตําแหน่งที่ขอกําหนดxxxxxใหม่
๕. ส่วนราชการที่กําหนดตําแหน่งxxxxxใหม่ โดยให้แสดงกรอบอัตรากําลังที่มีอยู่ตามแผน อัตรากําลังขององค์การบริหารส่วนตําบลและตําแหน่งที่ขอกําหนดxxxxxใหม่
๖. เหตุผลความจําเป็นอื่น
ข้อ ๒๒ กรณีการขอกําหนดตําแหน่งxxxxxใหม่ขององค์การบริหารส่วนตําบลตามข้อ ๒๑ เป็นการ กําหนดตําแหน่งสายงานใหม่ ซึ่งเป็นสายงานที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.) ยังxxxxxxจัดทํา มาตรฐานกําหนดตําแหน่งของตําแหน่งสายงานนั้น ในการขอกําหนดตําแหน่งxxxxxใหม่ดังกล่าวให้องค์การ บริหารส่วนตําบลจัดทําร่างมาตรฐานกําหนดตําแหน่งของตําแหน่งสายงานนั้นเสนอไปพร้อมกันด้วย ทั้งนี้ เพื่อ แสดงให้ทราบถึงประเภทตําแหน่ง ชื่อตําแหน่งสายงาน ลักษณะงานโดยทั่วไป หน้าที่และความรับผิดชอบของ ตําแหน่ง ลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติ คุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งและระดับตําแหน่ง
ในการพิจารณาของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) หากเห็นชอบตามที่องค์ การบริหารส่วนตําบลเสนอ ให้เสนอเรื่องขอกําหนดตําแหน่งxxxxxใหม่ ร่างมาตรฐานกําหนดตําแหน่งพร้อม ความเห็นให้คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) พิจารณาต่อไป
หากคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) มีมติไม่เห็นชอบตามที่องค์การบริหาร ส่วนตําบลเสนอขอกําหนดตําแหน่งxxxxxใหม่ ให้นําความที่กําหนดในข้อ ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ข้อ ๒๓ เมื่อองค์การบริหารส่วนตําบลได้รับความเห็นชอบในการกําหนดตําแหน่งxxxxxใหม่ตามข้อ
๒๑ หรือข้อ ๒๒ แล้วแต่กรณี ให้xxxxxxเป็นการปรับปรุงแผนอัตรากําลังขององค์การบริหารส่วนตําบลนั้นโดย ให้องค์การบริหารส่วนตําบลดําเนินการแก้ไขปรับปรุงรายละเอียดในแผนอัตรากําลังขององค์การบริหารส่วน ตําบลต่อไป
ข้อ ๒๔ ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัด ตรวจสอบการกําหนดตําแหน่งและการใช้ ตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลให้เหมาะสม ในกรณีที่ปรากฏว่าการกําหนดตําแหน่งใดไม่เหมาะสมก็ดีการใช้ ตําแหน่งใดไม่เหมาะสมตามที่คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัดกําหนดก็ดี หรือลักษณะหน้าที่ความ รับผิดชอบ ปริมาณและคุณภาพของงานของตําแหน่งใดที่ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัด กําหนด เปลี่ยนแปลงไปก็ดี คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัด อาจพิจารณาปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งนั้น เสียใหม่ให้เหมาะสม ทั้งนี้ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัด จะมอบหมายให้องค์การบริหารส่วน ตําบลดําเนินการแทนก็ได้
๑๐
ในการปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งตามวรรคหนึ่งคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต. จังหวัด) หรือองค์การบริหารส่วนตําบลที่คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) มอบหมาย มี อํานาจยุบเลิกตําแหน่งหรือเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตําแหน่งพนักงานส่วนตําบล โดยให้องค์การบริหารส่วนตําบล ดําเนินการให้เป็นไปตามมติหรือคําสั่งนั้น
ข้อ ๒๕ การปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลตามข้อ ๒๔ คณะกรรมการ พนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด) หรือองค์การบริหารส่วนตําบลผู้ได้รับมอบหมายมีอํานาจเปลี่ยน แปลง เกี่ยวกับตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลได้
ข้อ ๒๖ การปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งพนักงานส่วนตําบล ตามข้อ ๒๕ xxxxxxกระทําได้ ๕ ประการ ดังนี้
(๑) การปรับระดับตําแหน่งให้สูงขึ้นในตําแหน่งสายงานเดิม (๒) การปรับลดหรือขยายระดับตําแหน่ง
(๓) การปรับเกลี่ยตําแหน่ง โดยไม่เปลี่ยนตําแหน่งสายงาน
(๔) การปรับเกลี่ยตําแหน่ง โดยเปลี่ยนตําแหน่งสายงาน หรือระดับตําแหน่ง (๕) การยุบเลิกตําแหน่ง
ข้อ ๒๗ การปรับระดับตําแหน่งให้สูงขึ้นในตําแหน่งสายงานเดิมเพื่อให้เหมาะสมกับระดับความ ยากและคุณภาพของงานในตําแหน่งที่เปลี่ยนแปลงไปดําเนินการได้ดังนี้
(๑) ตําแหน่งผู้ปฏิบัติงานที่กําหนดเป็นตําแหน่งระดับควบให้องค์การบริหารส่วนตําบลxxxxxx ปรับระดับตําแหน่งให้มีระดับสูงขึ้นในระดับควบได้ เมื่อผู้ดํารงตําแหน่งเป็นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนตาม คุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งนั้นสําหรับการปรับระดับตําแหน่งใดให้สูงขึ้นนอกระดับควบให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการเลื่อนและแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นที่กําหนดในหมวด ๙
(๒) ตําแหน่งผู้บริหารกรณีองค์การบริหารส่วนตําบลเสนอจะขอปรับระดับตําแหน่งให้สูงขึ้น ของตําแหน่งใดให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด)พิจารณาให้ความเห็นชอบ
ข้อ ๒๘ การปรับลดหรือขยายระดับตําแหน่งของตําแหน่งโดยไม่เปลี่ยนตําแหน่งสายงานเพื่อ รองรับการบรรจุบุคคลเข้ารับราชการหรือการแต่งตั้งบุคคลให้ดํารงตําแหน่งในสายงานเริ่มต้นของตําแหน่ง ผู้ปฏิบัติงาน ที่เริ่มต้นจากระดับ ๑ ระดับ ๒ หรือระดับ ๓ แล้วแต่กรณี ให้องค์การบริหารส่วนตําบลมีอํานาจ ปรับลดหรือขยายระดับตําแหน่งดังกล่าว เพื่อรองรับการบรรจุบุคคลเข้ารับราชการหรือการแต่งตั้งบุคคลให้ ดํารงตําแหน่งได้
ข้อ ๒๙ การปรับเกลี่ยตําแหน่งโดยไม่เปลี่ยนตําแหน่งสายงาน เป็นการตัดโอนตําแหน่งในสาย งานใดสายงานหนึ่งในกองหรือฝุายหนึ่ง ไปกําหนดเป็นตําแหน่งในกองอื่นหรือฝุายอื่น โดยไม่เปลี่ยนตําแหน่ง สายงาน ทั้งนี้ เพื่อให้xxxxxxปรับเกลี่ยตําแหน่งในสายงานเดียวกันที่มีอยู่ให้xxxxxxใช้ตําแหน่งให้เกิด ประโยชน์ในองค์การบริหารส่วนตําบลอย่างสูงสุดและมีประสิทธิภาพ โดยให้องค์การบริหารส่วนตําบลเสนอ เรื่องขอปรับเกลี่ยตําแหน่งให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัด(ก.อบต.จังหวัด) พิจารณาให้ความเห็นชอบ
๑๑
ข้อ ๓๐ การปรับเกลี่ยตําแหน่งโดยเปลี่ยนตําแหน่งสายงาน หรือระดับตําแหน่งเป็นการตัดโอน ตําแหน่งในสายงานใดสายงานหนึ่งในส่วนราชการใด ไปกําหนดเป็นตําแหน่งในสายงานอื่นในส่วนราชการ เดียวกัน หรือส่วนราชการอื่นและตําแหน่งที่กําหนดนั้นอาจเปลี่ยนระดับตําแหน่งด้วยก็ได้ ทั้งนี้เพื่อให้ องค์การบริหารส่วนตําบลxxxxxxปรับเกลี่ยตําแหน่งที่มีอยู่ในกรอบอัตรากําลังให้xxxxxxใช้ตําแหน่งให้เกิด ประโยชน์ในองค์การบริหารส่วนตําบลอย่างสูงสุดและมีประสิทธิภาพ โดยให้องค์การบริหารส่วนตําบลเสนอ ขอปรับเกลี่ยตําแหน่ง ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัด(ก.อบต.จังหวัด) พิจารณาให้ความเห็นชอบ
ข้อ ๓๑ การยุบเลิกตําแหน่ง เป็นการยุบเลิกตําแหน่งในสายงานใดๆที่มีอยู่ในกรอบอัตรา กําลัง ขององค์การบริหารส่วนตําบลที่เห็นว่าไม่มีความจําเป็นที่จะต้องใช้ประโยชน์แล้ว โดยให้องค์การบริหารส่วน ตําบลเสนอขอยุบเลิกตําแหน่งให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต .จังหวัด ) พิจารณาให้ความ เห็นชอบ ทั้งนี้ ตําแหน่งที่จะยุบเลิกนั้นต้องเป็นตําแหน่งว่าง
กรณีคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) ได้มีมติไม่ให้ความเห็นชอบตามที่องค์ การบริหารส่วนตําบลเสนอให้ยุบเลิกตําแหน่ง และองค์การบริหารส่วนตําบลยังยืนยันในความเห็นเดิมให้ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) เสนอเรื่องพร้อมความเห็นให้คณะกรรมการกลางพนักงาน ส่วนตําบล(ก.อบต.) พิจารณาและให้ปฏิบัติตามมติคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล
ข้อ ๓๒ การเสนอขอปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งตามข้อ ๒๗ (๒) ข้อ ๒๙ และข้อ๓๐ ให้ องค์การบริหารส่วนตําบลชี้แจงเหตุผลความจําเป็นที่ต้องขอกําหนดตําแหน่ง ให้คณะกรรมการพนัก งานส่วน ตําบล (ก.อบต.จังหวัด) พิจารณาโดยมีรายการดังต่อไปนี้
(๑) เหตุผลความจําเป็นที่จะต้องปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งใหม่
(๒) ลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติ ความยากและคุณภาพของงานหรือปริมาณงานที่xxxxxขึ้น จากเดิมถึงขนาดจําเป็นต้องปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งใหม่
(๓) ชื่อตําแหน่ง สายงาน ระดับตําแหน่งและจํานวนตําแหน่งที่ขอปรับปรุงการกําหนด
ตําแหน่งใหม่
(๔) หน้าที่และความรับผิดชอบของตําแหน่งที่ขอปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งใหม่
(๕) ส่วนราชการที่ขอปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งใหม่ โดยให้แสดงกรอบอัตรากําลังที่ม
อยู่ตามแผนอัตรากําลังขององค์การบริหารส่วนตําบลและตําแหน่งที่ขอปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งใหม่ (๖) เหตุผลความจําเป็นอื่น
การเสนอขอปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งตามวรรคหนึ่งให้พิจารณาถึงเหตุผลและ ความจําเป็น ในด้านปริมาณและคุณภาพของงานเป็นสําคัญ โดยมิให้ขออนุมัติปรับปรุงการกําหนดตําแหน่ง เพื่อเหตุผลด้าน ตัวบุคคล และให้คํานึงถึงจํานวนของลูกจ้างทั้งประจําและชั่วคราวที่ปฏิบัติงานในงานนั้นด้วย ทั้งนี้ เพื่อมิให้ เกิดปัญหาคนล้นงาน และเป็นการประหยัดงบประมาณด้านรายจ่ายด้านบุคคลขององค์การบริหารส่วนตําบล ด้วย และให้พิจารณาถึงความสําคัญ ความเหมาะสม และถูกต้องของกรอบตําแหน่งในงานนั้นด้วย โดยเฉพาะ อย่างยิ่งควรจะให้ตําแหน่งในงานนั้น xxxxxxรองรับความ xxxxxxxxของบุคลากรในงานนั้นได้
๑๒
ข้อ ๓๓ ในกรณีที่ปริมาณและคุณภาพของงานเปลี่ยนแปลงไปมากและได้พิจารณาขออนุมัติปรับ ปรุงการกําหนดตําแหน่งในส่วนราชการใด ควรพิจารณาจัดหาตําแหน่งเพื่อรองรับบุคลากรผู้ครองตําแหน่ง xxxxxxxขออนุมัติปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งด้วย และก่อนที่องค์การบริหารส่วนตําบลจะขออนุมัติปรับปรุง กําหนดตําแหน่งให้องค์การบริหารส่วนตําบลพิจารณาดําเนินการกับตําแหน่งที่ว่าง และมีความจําเป็นน้อย เสียก่อน โดยการปรับเกลี่ยตําแหน่งไปไว้ในงานที่มีความสําคัญและจําเป็นเร่งด่วน
ข้อ ๓๔ ในการพิจารณาของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด )ตามข้อ ๓๒ หาก คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด) เห็นว่าการขอปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งยังไม่เหมาะสม ให้องค์การบริหารส่วนตําบลดําเนินการตามความเห็นของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) หากองค์การบริหารส่วนตําบลมีความเห็นว่าการปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งมีความเหมาะสมแล้ว และแจ้ง ยืนยันการขอปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งต่อคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) ให้เสนอ เรื่องพร้อมความเห็นให้คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบลพิจารณา
ผลการพิจารณาของคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.) ตามวรรคหนึ่งเป็นประการ ใด ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) และองค์การบริหารส่วนตําบลดําเนินการตามความ เห็นของคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.)
ข้อ ๓๕ ในระหว่างการประกาศใช้บังคับแผนอัตรากําลังขององค์การบริหารส่วนตําบล หาก องค์การบริหารส่วนตําบลมีเหตุผลความจําเป็นต้องปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งเพื่อรองรับภารกิจหน้าที่ ความรับผิดชอบ ลักษณะงาน หรือปริมาณงานที่xxxxxมากขึ้น ให้องค์การบริหารส่วนตําบลเสนอขอปรับปรุง การกําหนดตําแหน่งต่อคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ
ข้อ ๓๖ กรณีการขอปรับปรุงกําหนดตําแหน่งขององค์การบริหารส่วนตําบลตามข้อ ๓๐ เป็น การกําหนดตําแหน่งสายงานใหม่ ซึ่งเป็นสายงานที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต) ยังxxxxxx จัดทํามาตรฐานกําหนดตําแหน่งของตําแหน่งสายงานนั้น ในการขอปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งดังกล่าว ให้ องค์การบริหารส่วนตําบลจัดทําร่างมาตรฐานกําหนดตําแหน่งของตําแหน่งสายงานนั้น เสนอไปพร้อมกันด้วย ทั้งนี้ เพื่อแสดงให้ทราบถึงประเภทตําแหน่ง ชื่อตําแหน่งสายงาน ลักษณะงานโดยทั่วไป หน้าที่และความ รับผิดชอบของตําแหน่ง ลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติคุณสมบัติ เฉพาะสําหรับตําแหน่งและระดับตําแหน่ง
ในการพิจารณาของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด )หากมีความเห็นชอบ ตามที่องค์การบริหารส่วนตําบลเสนอ ให้เสนอเรื่องขอปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งxxxxxใหม่ ร่างมาตรฐาน กําหนดตําแหน่งพร้อมความเห็นให้คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบลพิจารณาให้ความเห็นชอบ
หากคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) มีมติไม่เห็นชอบตามที่องค์กการบริหารส่วน ตําบลเสนอขอปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งxxxxxใหม่ ให้นําความที่กําหนดในข้อ ๓๔ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ข้อ ๓๗ เมื่อองค์การบริหารส่วนตําบลได้รับความเห็นชอบในการปรับปรุงการกําหนดตําแหน่ง ตามข้อ๒๗ (๒) ข้อ ๒๙ ข้อ ๓๐ หรือข้อ ๓๑ แล้วแต่กรณี ให้xxxxxxเป็นการปรับปรุงแผนอัตรา กําลังของ องค์การบริหารส่วนตําบลนั้น โดยให้องค์การบริหารส่วนตําบลดําเนินการแก้ไขปรับปรุงราย ละเอียดในแผน อัตรากําลังขององค์การบริหารส่วนตําบลต่อไป
๑๓
หมวด ๓ อัตราเงินเดือนและวิธีการจ่ายเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่น
ส่วนที่ ๑ อัตราเงินเดือนและวิธีการจ่ายเงินเดือน
ข้อ ๓๘ อัตราเงินเดือน อัตราเงินประจําตําแหน่งและการรับเงินประจําตําแหน่งของพนักงาน
ส่วนตําบล ให้นํากฎหมายว่าด้วยเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งที่กําหนดสําหรับข้าราชการพลเรือนมาใช้ บังคับโดยอนุโลม
การจ่ายเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งให้แก่พนักงานส่วนตําบล ให้เป็นไปตามกฎหมาย หรือ xxxxxxxxxxกําหนดไว้สําหรับข้าราชการพลเรือนโดยอนุโลม
ข้อ ๓๙ ให้พนักงานส่วนตําบลได้รับเงินเดือนตามตําแหน่ง ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใด ระดับใด ให้ได้รับเงินเดือนในอันดับตามบัญชีอัตราเงินเดือนข้าราชการพลเรือนท้ายพระราชบัญญัติเงินเดือน และเงินประจําตําแหน่ง พ.ศ. ๒๕๓๘ ดังนี้
(๑) ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใดในระดับ ๑ ให้ได้รับเงินเดือนในอันดับ ท ๑ (๒) ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใดในระดับ ๒ ให้ได้รับเงินเดือนในอันดับ ท ๒ (๓) ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใดในระดับ ๓ ให้ได้รับเงินเดือนในอันดับ ท ๓ (๔) ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใดในระดับ ๔ ให้ได้รับเงินเดือนในอันดับ ท ๔ (๕) ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใดในระดับ ๕ ให้ได้รับเงินเดือนในอันดับ ท ๕ (๖) ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใดในระดับ ๖ ให้ได้รับเงินเดือนในอันดับ ท ๖ (๗) ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใดในระดับ ๗ ให้ได้รับเงินเดือนในอันดับ ท ๗ (๘) ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใดในระดับ ๘ ให้ได้รับเงินเดือนในอันดับ ท ๘
ข้อ ๔๐ พนักงานส่วนตําบลผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใด ระดับใด โดยได้รับเงินเดือนใน อันดับใดตามข้อ ๓๙ ให้ได้รับเงินเดือนในขั้นต่ําของอันดับเงินเดือนสําหรับตําแหน่งนั้น เว้นแต่
(๑) ผู้นั้นได้รับเงินเดือนสูงกว่าขั้นต่ําของอันดับนั้นอยู่แล้ว ให้ได้รับเงินเดือนเท่าเดิม
(๒) ผู้นั้นได้รับxxxxxxหรือประกาศนียบัตรการศึกษาหรือวิชาชีพ และ ก .พ.หรือ คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) รับรองว่าxxxxxxหรือประกาศนียบัตรการศึกษาหรือ วิชาชีพนั้น เป็นคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งxxxxxxรับแต่งตั้ง และกําหนดเงินเดือนที่ควรได้รับในอันดับและ ขั้นใด ให้ได้รับเงินเดือนในอันดับและขั้นที่ตามที่กําหนดในข้อ ๔๑
(๓) ผู้นั้นได้รับxxxxxxหรือประกาศนียบัตรการศึกษาหรือวิชาชีพxxxxxขึ้นหรือสูงขึ้น และ ก.พ.หรือคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต) รับรองว่าxxxxxxหรือประกาศนียบัตรการศึกษา หรือวิชาชีพxxxxxxรับxxxxxขึ้นหรือสูงขึ้นนั้น เป็นคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งxxxxxxรับแต่งตั้งและกําหนด เงินเดือนที่ควรได้รับในอันดับและขั้นใด นายกองค์การบริหารส่วนตําบลหรือผู้ซึ่งได้รับมอบ หมายจากนายก องค์การบริหารส่วนตําบล อาจปรับให้ได้รับเงินเดือนในอันดับและขั้นที่ตามที่กําหนดในข้อ ๔๑
(๔) ผู้นั้นได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในสายงานใดที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วน ตําบล(ก.อบต)กําหนดในมาตรฐานกําหนดตําแหน่ง ให้ตําแหน่งในสายงานนั้นได้รับเงินเดือนสูงกว่าขั้นต่ําของ
๑๔ อันดับเงินเดือนสําหรับตําแหน่งระดับนั้น ให้ได้รับเงินเดือนในอันดับและขั้นที่คณะกรรมการกลางพนักงาน ส่วนตําบล (ก.อบต) กําหนด
(๕) ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใดในระดับที่ต่ํากว่าตําแหน่งเดิม โดยเป็นความxxxxxxx
ของตัวพนักงานส่วนตําบลนั้น ให้ได้รับเงินเดือนในอันดับเงินเดือนสําหรับตําแหน่งxxxxxxรับแต่งตั้งในขั้นที่เทียบ ได้ตรงกันกับขั้นเงินเดือนของอันดับเดิม ตามตารางเทียบขั้นเงินเดือนแต่ละอันดับที่พนักงานส่วนตําบลจะ ได้รับ เมื่อได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งท้ายประกาศนี้ แต่ถ้าผู้นั้นได้รับเงินเดือนสูงกว่าขั้นสูงของอันดับ เงินเดือนสําหรับตําแหน่งxxxxxxรับแต่งตั้งอยู่แล้ว ให้ได้รับเงินเดือนในขั้นสูงของอันดับเงินเดือนสําหรับตําแหน่ง xxxxxxรับแต่งตั้ง
(๖) ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นตําแหน่งใด ถ้าได้รับเงินเดือนสูงกว่าขั้น ต่ําของอันดับเงินเดือนสําหรับตําแหน่งxxxxxxรับแต่งตั้งนั้นอยู่แล้ว ให้ได้รับเงินเดือนในอันดับเงินเดือนสําหรับ ตําแหน่งxxxxxxรับแต่งตั้งในขั้นที่เทียบได้ตรงกันกับขั้นเงินเดือนของอันดับเดิม ตามตารางเทียบขั้นเงินเดือนแต่ ละอันดับ ที่พนักงานส่วนตําบลจะได้รับเมื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งท้ายประกาศนี้
ข้อ ๔๑ การกําหนดให้ผู้xxxxxxรับxxxxxxหรือประกาศนียบัตรการศึกษาหรือวิชาชีพตามข้อ ๔๐ (๒) และผู้xxxxxxรับxxxxxxหรือประกาศนียบัตรการศึกษาหรือวิชาชีพxxxxxขึ้นหรือสูงขึ้นตามข้อ ๔๐ (๓) ได้รับ เงินเดือนในอันดับใด และขั้นใด ให้พิจารณาดําเนินการดังนี้
(๑) xxxxxxหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพxxxxxxรับxxxxxขึ้นหรือสูงขึ้น ต้องเป็นxxxxxxหรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพที่ ก.พ.หรือคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต)รับรองว่าเป็นคุณสมบัติ เฉพาะตําแหน่งxxxxxxรับแต่งตั้งโดยให้พิจารณาปรับอัตราเงินเดือนให้ได้รับตามคุณวุฒิxxx xxxว่าพนักงานส่วน ตําบลผู้นั้น จะได้รับxxxxxxหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพดังกล่าวอยู่ก่อน หรือระหว่างเข้ารับราชการ หรืออยู่ ในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ
(๒) การปรับอัตราเงินเดือน ให้ได้รับตามคุณวุฒิไม่มีผลเป็นการปรับปรุงตําแหน่ง หรือ เปลี่ยนระดับตําแหน่ง และต้องให้ได้รับเงินเดือนไม่สูงกว่าระดับและขั้นของอัตราเงินเดือนที่ควรได้รับตาม ตารางกําหนดอัตราเงินเดือนให้ได้รับตามคุณวุฒิ ท้ายประกาศนี้
(๓) การปรับอัตราเงินเดือนให้ได้รับตามคุณวุฒิต้องให้มีผลไม่ก่อนxxxxxxพนักงานส่วนตําบล ผู้นั้นสําเร็จการศึกษาและไม่ก่อนxxxxxxได้รับการแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งที่จะขอปรับอัตราเงินเดือนให้ได้รับตาม คุณวุฒินั้นรวมถึงไม่ก่อนxxxxxx ก .พ.หรือคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบลได้กําหนดให้xxxxxxหรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพxxxxxxรับมาเป็นคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งxxxxxxรับการแต่งตั้ง
ในกรณีพนักงานส่วนตําบลผู้ใดได้รับอนุญาตให้ลาศึกษาเพิ่มเติมการปรับอัตราเงินเดือนให้ได้รับ ตามคุณวุฒิให้มีผลไม่ก่อนxxxxxxผู้นั้นรายงานตัวต่อองค์การบริหารส่วนตําบลหลังสําเร็จการศึกษา
ในกรณีxxxxxxรับxxxxxxหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพxxxxxขึ้นหรือสูงขึ้นก่อนxxxxxxเข้ารับราชการ หรืออยู่ระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ การปรับอัตราเงินเดือนให้ได้รับตามคุณวุฒิต้องมีผลไม่ก่อนวัน พ้นทดลองปฏิบัติหน้าที่ในตําแหน่งxxxxxxรับการแต่งตั้ง
ในกรณีxxxxxxรับxxxxxxหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพxxxxxขึ้นหรือสูงขึ้นหลังวันเข้ารับราชการและ พ้นทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการแล้วโดยมิได้รับอนุญาตให้ลาศึกษาเพิ่มเติมตามวรรคสองการปรับอัตรา เงินเดือนให้ได้รับตามคุณวุฒิให้มีผลไม่ก่อนxxxxxxได้รับxxxxxxหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพxxxxxขึ้นหรือสูงขึ้น
๑๕
(๔) การสั่งปรับอัตราเงินเดือนให้ได้รับตามคุณวุฒิ ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลเป็น ผู้สั่งโดยมิให้ย้อนหลังข้ามปีงบประมาณ
ในกรณีxxxxxxเสนอเรื่องราวไว้ก่อนวันเริ่มต้นปีงบประมาณและไม่xxxxxxสั่งปรับให้ในวันเริ่มต้น ปีงบประมาณ ก็ให้สั่งปรับอัตราเงินเดือนให้ได้รับตามคุณวุฒิได้ตั้งแต่วันเริ่มต้นปีงบประมาณ ทั้งนี้ ให้ปรับ อัตราเงินเดือนให้ได้รับตามวุฒิก่อนการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน
ข้อ ๔๒ พนักงานส่วนตําบลผู้ใด ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งตามที่กําหนดไว้ในหมวดอื่นแห่ง ประกาศนี้ และได้กําหนดการให้ได้รับเงินเดือนเป็นอย่างอื่นไว้โดยเฉพาะ ให้พนักงานส่วนตําบลผู้นั้นได้รับ เงินเดือนตามที่กําหนดในหมวดนั้น
ข้อ ๔๓ กรณีอื่นนอกจากxxxxxxกําหนดในหมวดนี้ ให้เสนอคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก. อบต.จังหวัด) xxxxxxxxxxxxxxเป็นรายๆ ไป
ส่วนที่ ๒ ประโยชน์ตอบแทนอื่น
ข้อ ๔๔ ให้องค์การบริหารส่วนตําบลจัดให้มีประโยชน์ตอบแทนอื่นสําหรับพนักงานส่วนตําบล เพื่อxxxxxxxxxxxxxxxxxขวัญกําลังใจ แรงจูงใจและเป็นสวัสดิการต่างๆ ในการปฏิบัติราชการของพนักงานส่วน ตําบลทั้งนี้ให้เป็นไปตามกฎหมาย หรือxxxxxxxxxxกําหนดไว้สําหรับข้าราชการพลเรือน
ข้อ ๔๕ องค์การบริหารส่วนตําบลที่บริหารจัดการการจ่ายเงินเดือน ค่าxxxxและประโยชน์ตอบ แทนอื่นสําหรับพนักงานส่วนตําบลและลูกจ้างได้ต่ํากว่าที่กําหนดในมาตรา ๓๕ แห่งพระราช xxxxxxxxxxxxxx บริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ และได้บริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ และxxxxxxxxxx ตาม เงื่อนไขและวิธีการที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) กําหนด xxxxxxจัดประโยชน์ตอบแทน อื่นแก่พนักงานส่วนตําบลเป็นพิเศษอีกก็ได้
การกําหนดประโยชน์ตอบแทนอื่นสําหรับพนักงานส่วนตําบลและลูกจ้างขององค์การบริหารส่วน ตําบลตามที่กําหนดในวรรคหนึ่ง ต้องมีลักษณะเป็นค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินและเป็นการจ่ายให้ในลักษณะ ของสวัสดิการสําหรับพนักงานส่วนตําบลและลูกจ้างขององค์การบริหารส่วนตําบล โดยให้นําเงินในส่วนที่ เหลือจากกรณีที่ ค่าใช้จ่าย เงินเดือน และประโยชน์ตอบแทนอื่น ไม่สูงกว่าร้อยละสี่สิบ ตามมาตรา ๓๕ แห่ง พระราชบัญญัติxxxxxxxบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ .ศ. ๒๕๔๒ แต่ทั้งนี้วงเงินค่าประโยชน์ตอบแทนอื่น ของพนักงานส่วนตําบลหรือลูกจ้างขององค์การบริหารส่วนตําบล xxxxxxรับแต่ละคนไม่เกินห้าเท่าของอัตรา เงินเดือนหรือค่าxxxx
ข้อ ๔๖ องค์การบริหารส่วนตําบลอาจกําหนดประโยชน์ตอบแทนอื่นสําหรับพนักงานส่วนตําบล และลูกจ้างขององค์การบริหารส่วนตําบลตาม ข้อ ๔๕ ได้ดังต่อไปนี้
๑๖
(๑) กําหนดประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นรายการxxxxxขึ้นใหม่นอกเหนือจากประเภทตามที่
คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น (ก.ถ.) ประกาศกําหนดและกําหนดอัตราค่าตอบ แทน ตลอดทั้งหลักเกณฑ์และวิธีการจ่ายค่าตอบแทนสําหรับประโยชน์ตอบแทนอื่นประเภทใหม่นั้น
(๒) กําหนดประโยชน์ตอบแทนอื่นในลักษณะที่เป็นเงินxxxxxพิเศษจากรายการประโยชน์ตอบ แทนอื่นที่คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น(ก.ถ)ประกาศกําหนด
ข้อ ๔๗ เมื่อองค์การบริหารส่วนตําบลกําหนดประโยชน์ตอบแทนอื่นตามข้อ ๔๖ แล้วให้เสนอ เรื่องให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) พิจารณา ในการพิจารณาของคณะ กรรมการ พนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) ให้คํานึงถึงxxxxx สวัสดิการของพนักงานส่วนตําบลและลูกจ้างxxxxxxรับ ความจําเป็น ความเหมาะสม งบประมาณรายได้ขององค์การบริหารส่วนตําบล
เมื่อคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) พิจารณาและมีมติให้ความเห็นชอบแล้ว ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลประกาศใช้บังคับต่อไป ทั้งนี้ให้มีผลใช้บังคับไม่ก่อนxxxxxxคณะกรรมการ พนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด)มีมติให้ความเห็นชอบการกําหนดประโยชน์ตอบแทนอื่นนั้น
ข้อ ๔๘ การปรับปรุงการกําหนดประโยชน์ตอบแทนอื่นสําหรับพนักงานส่วนตําบลหรือลูกจ้าง ขององค์การบริหารส่วนตําบลตามข้อ ๔๖ (๑) ให้มีอัตราค่าตอบแทนxxxxxขึ้นหรือลดลงจากที่กําหนดไว้เดิม หรือการยกเลิกการกําหนดประโยชน์ตอบแทนอื่นนั้น ให้องค์การบริหารส่วนตําบลดําเนินการตามที่กําหนดไว้ ในข้อ ๔๗ โดยอนุโลม
ข้อ ๔๙ การปรับปรุงการกําหนดประโยชน์ตอบแทนอื่นสําหรับพนักงานส่วนตําบลหรือลูกจ้าง ขององค์การบริหารส่วนตําบลตามข้อ ๔๖ (๒) ให้มีอัตราค่าตอบแทนxxxxxขึ้นหรือลดลงจากที่กําหนดไว้เดิม ให้องค์การบริหารส่วนตําบลดําเนินการตามที่กําหนดไว้ในข้อ ๔๗ โดยอนุโลม เว้นแต่การกําหนดให้มีอัตรา ค่าตอบแทนลดลงต่ํากว่าอัตราที่กฎหมายหรือxxxxxxxxxxกําหนดไว้สําหรับข้าราชการพลเรือนจะได้รับหรือการ ยกเลิกการกําหนดประโยชน์ตอบแทนอื่นนั้นจะกระทํามิได้
ข้อ ๕๐ ในกรณีที่องค์การบริหารส่วนตําบลกําหนดประโยชน์ตอบแทนอื่นสําหรับพนักงานส่วน ตําบลและลูกจ้างขององค์การบริหารส่วนตําบลตามข้อ ๔๖ แล้ว หากปรากฏว่าองค์การบริหารส่วนตําบลนั้น ไม่xxxxxxบริหารจัดการการจ่ายเงินเดือน ค่าxxxxและประโยชน์ตอบแทนอื่นให้เป็นไปตามที่กฎหมายกําหนด ให้องค์การบริหารส่วนตําบลพิจารณาดําเนินการปรับปรุงหรือยกเลิกการกําหนดประโยชน์ตอบแทนอื่นที่ กําหนดตามข้อ๔๖ (๑) และ (๒) เป็นลําดับแรก เพื่อมิให้ขัดหรือแย้ง และไม่เป็นไปตามที่กฎหมายกําหนด
การปรับปรุงหรือยกเลิกการกําหนดประโยชน์ตอบแทนอื่นตามวรรคหนึ่งให้องค์การบริหาร ส่วน ตําบลดําเนินการตามที่กําหนดไว้ในข้อ ๔๘ หรือข้อ ๔๙ โดยอนุโลม
ข้อ ๕๑ พนักงานส่วนตําบลอาจได้รับเงินxxxxxสําหรับตําแหน่งที่มีเหตุพิเศษตามที่คณะ กรรมการ กลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) กําหนด
ข้อ ๕๒ พนักงานส่วนตําบลอาจได้รับเงินxxxxxxxxxxxxxxxชั่วคราว ตามภาวะเศรษฐกิจ ตามที่ คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) กําหนด
๑๗
ข้อ ๕๓ บําเหน็จบํานาญของพนักงานส่วนตําบล ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญ ข้าราชการส่วนท้องถิ่น
หมวด ๔ การคัดเลือก
ข้อ ๕๔ การคัดเลือก หมายxxx xxxสรรหาบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งพนักงาน ส่วนตําบล และการคัดเลือกพนักงานส่วนตําบลเพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น ให้ดําเนินการได้
๔ วิธีดังนี้
(๑) การสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการและแต่งตั้งให้เป็นพนักงานส่วนตําบลหรือ เพื่อแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลให้ดํารงตําแหน่งในสายงานที่สอบแข่งขันได้ในองค์การบริหารส่วนตําบลนั้น
(๒) การคัดเลือกกรณีที่มีเหตุพิเศษxxxxxxจําเป็นต้องสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ และแต่งตั้งให้เป็นพนักงานส่วนตําบลในองค์การบริหารส่วนตําบลนั้น
(๓) การสอบคัดเลือก เพื่อแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลให้ดํารงตําแหน่งในต่างสายงานหรือ แต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นในสายงานเดียวกัน หรือแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลตําแหน่งผู้ปฏิบัติ งานให้ดํารงตําแหน่งบริหารขององค์การบริหารส่วนตําบล
(๔) การคัดเลือก เพื่อแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นในระดับควบ สําหรับตําแหน่งที่กําหนดเป็นตําแหน่งระดับควบ หรือแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งสูงขึ้นนอกระดับควบสําหรับ ตําแหน่งที่กําหนดเป็นตําแหน่งสําหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ หรือตําแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ หรือ แต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลตําแหน่งผู้บริหารขององค์การบริหารส่วนตําบลให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น
ข้อ ๕๕ การดําเนินการคัดเลือกโดยการสอบแข่งขันการคัดเลือกกรณีที่มีเหตุพิเศษxxxxxx จําเป็นต้องสอบแข่งขัน การสอบคัดเลือกและการคัดเลือกตามที่กําหนดในหมวดนี้ คณะกรรมการพนัก งาน ส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด) หรือผู้xxxxxxรับมอบหมายจากคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) ให้เป็นผู้ดําเนินการแทนต้องดําเนินการอย่างเปิดเผย โปร่งใส xxxxxxตรวจสอบได้ โดยคํานึง ถึงหลักวิชาการ วัดผล ความเป็นธรรม ความxxxxxxx และต้องเปิดโอกาสให้พนักงานส่วนตําบลขององค์การบริหารส่วน ตําบลอื่น ที่มีคุณสมบัติครบถ้วน และมีความxxxxxxxสมัครเข้ารับการคัดเลือก มีxxxxxเข้ารับการคัดเลือกด้วย โดยการประกาศผลการคัดเลือกให้ดําเนินการอย่างเปิดเผย
ส่วนที่ ๑
๑๘
การสอบแข่งขัน
ข้อ ๕๖ การสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้าเป็นพนักงานส่วนตําบลตามข้อ ๕๔ (๑) ให้คณะ กรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด)เป็นผู้ดําเนินการสอบแข่งขันในกรณีที่คณะกรรม การพนักงาน
ส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด) เห็นxxxxxxxxมอบให้องค์การบริหารส่วนตําบลเป็นผู้ดําเนินการแทนก็ได้
ข้อ ๕๗ การสอบแข่งขัน การกําหนดหลักสูตร วิธีการสอบแข่งขัน และวิธีดําเนินการเกี่ยวกับการ สอบแข่งขันตลอดจนเกณฑ์การตัดสิน การขึ้นบัญชีสอบแข่งขันได้ การนํารายชื่อผู้สอบแข่งขันได้ตําแหน่งหนึ่ง ไปขึ้นบัญชีเป็นผู้สอบแข่งขันได้ในตําแหน่งอื่น และการยกเลิกบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ ให้เป็นไปตามที่กําหนด ดังต่อไปนี้
(๑) ให้ผู้ดําเนินการสอบแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินการสอบแข่งขัน (๒) หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันอย่างน้อยต้องมี ๓ ภาค คือ
(ก) ภาคความรู้ความxxxxxxทั่วไป ให้ทดสอบโดยวิธีสอบข้อเขียน
(ข) ภาคความรู้ความxxxxxxxxxใช้เฉพาะสําหรับตําแหน่งให้ทดสอบ โดยวิธีการสอบข้อ เขียน หรือวิธีสอบปฏิบัติ หรือวิธีอื่นใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีก็ได้
(ค) ภาคความเหมาะสมกับตําแหน่ง ให้ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับ
ตําแหน่งหน้าที่
(๓) ผู้สมัครสอบต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติหรือไม่มีลักษณะต้องห้ามสําหรับพนักงานส่วนตําบล
หรือได้รับการยกเว้นจากคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) และต้องมีคุณสมบัติ เฉพาะ สําหรับตําแหน่งตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่ง ที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต) กําหนด
(๔) การประกาศรับสมัครสอบให้ระบุชื่อตําแหน่ง คุณสมบัติทั่วไป คุณสมบัติเฉพาะสําหรับ ตําแหน่งเงินเดือนที่จะได้รับ วันเวลาและสถานที่สอบ เอกสารหลักฐานที่ใช้ในการสอบหลักสูตรและวิธีการ สอบแข่งขัน เกณฑ์การตัดสิน การขึ้นบัญชี และการยกเลิกบัญชี
(๕) เกณฑ์การตัดสินผู้สอบแข่งขันได้ต้องได้คะแนนในแต่ละภาคที่สอบไม่ต่ํากว่าร้อยละหกสิบ (๖) การขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ให้เรียงตามลําดับจากผู้สอบแข่งขันได้คะแนนสูงสุดลงมา
ตามลําดับ และให้บัญชีสอบแข่งขันใช้ได้ไม่เกิน ๒ ปี นับแต่วันขึ้นบัญชี เว้นแต่มีการสอบแข่งขันในตํา แหน่ง เดียวกันนั้น และได้ขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ใหม่แล้ว
ข้อ ๕๘ ให้ผู้ดําเนินการสอบแข่งขันแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินการสอบแข่งขันขึ้นคณะหนึ่ง จํานวนไม่น้อยกว่า ๕ คน ดังนี้
(๑) กรณีคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด) เป็นผู้ดําเนินการสอบ แข่งขัน ให้ แต่งตั้งกรรมการในคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด )เป็นประธานกรรมการ และผู้แทน หน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือพนักงานส่วนตําบลเป็นกรรมการ
(๒) กรณีองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นผู้ดําเนินการสอบแข่งขัน ให้แต่งตั้งผู้แทนหน่วย ราชการที่เกี่ยวข้อง ผู้ทรงคุณวุฒิ และพนักงานส่วนตําบลเป็นกรรมการ โดยคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมเป็น ประธานกรรมการ
๑๙
ข้อ ๕๙ คณะกรรมการดําเนินการสอบแข่งขัน อาจตั้งกรรมการออกข้อสอบ กรรมการประเมิน ความเหมาะสมกับตําแหน่งหรือเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการสอบแข่งขันได้ตามความจําเป็น
ข้อ ๖๐ ให้คณะกรรมการดําเนินการสอบแข่งขันกําหนดวัน เวลา สถานที่สอบและxxxxxxx เกี่ยวกับการสอบได้เท่าที่จําเป็นและไม่ขัดต่อหลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขัน แล้วให้ประธานกรรมการ ประกาศก่อนวันสอบไม่น้อยกว่า ๕ วันทําการ
ข้อ ๖๑ หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการในตําแหน่งระดับต่าง ๆ ให้เป็นไปตามที่กําหนดท้ายประกาศนี้
ข้อ ๖๒ ให้ผู้ดําเนินการสอบแข่งขันประกาศรับสมัครสอบโดยระบุรายละเอียดในเรื่องต่างๆ ดังนี้ (๑) ชื่อตําแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้ง
(๒) คุณสมบัติทั่วไปและคุณสมบัติเฉพาะของผู้มีxxxxxสมัครสอบสําหรับตําแหน่งนั้น (๓) เงินเดือนที่จะได้รับ
(๔) วัน เวลา และสถานที่รับสมัครสอบ
(๕) เอกสารและหลักฐานที่ใช้ในการสมัครสอบ
(๖) หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขัน เกณฑ์การตัดสิน การขึ้นบัญชี และการยกเลิกบัญชี ผู้สอบ แข่งขันได้
(๗) เรื่องอื่นๆ หรือข้อความอื่นที่ผู้สมัครสอบควรทราบ ประกาศรับสมัครสอบนั้นให้ปิดประกาศไว้ในที่เปิดเผย ณ สถานที่รับสมัครสอบก่อนxxxxxxเริ่มรับ
สมัครสอบและจะประกาศทางวิทยุกระจายเสียงหรือทางอื่นใดตามความเหมาะสมด้วยก็ได้
ข้อ ๖๓ ให้ผู้ดําเนินการสอบแข่งขันจัดให้มีเจ้าหน้าที่รับสมัครสอบโดยให้มีกําหนด เวลารับสมัคร สอบไม่น้อยกว่า ๑๕ วันทําการ
ในกรณีที่มีเหตุผลและความจําเป็นต้องขยายกําหนดเวลารับสมัครสอบแข่งขันตามที่ คณะกรรมการดําเนินการสอบแข่งขันเสนอแนะ ผู้ดําเนินการสอบแข่งขันอาจประกาศขยายกําหนดเวลารับ สมัครสอบได้ แต่ทั้งนี้ เวลาที่จะขยายต้องมีเวลาไม่น้อยกว่า ๑๕ วันทําการ นับตั้งแต่วันถัดจากวันสุดท้ายของ การรับสมัครสอบและจะต้องประกาศการขยายเวลานั้นก่อนวันปิดรับสมัครสอบครั้งนั้นด้วย
ข้อ ๖๔ ให้ผู้สมัครสอบเสียค่าธรรมเนียมสอบสําหรับตําแหน่งxxxxxxxxสอบตามอัตราดังนี้
(๑) ตําแหน่งระดับ ๑ หรือระดับ ๒ ตําแหน่งละไม่ต่ํากว่า ๕๐ บาทแต่ไม่เกิน ๑๐๐ บาท (๒) ตําแหน่งระดับ ๓ ขึ้นไป ตําแหน่งละไม่ต่ํากว่า ๑๐๐ บาท แต่ไม่เกิน ๒๐๐ บาท
ค่าธรรมเนียมสอบจะไม่จ่ายคืนให้เมื่อได้ประกาศรายชื่อว่าเป็นผู้มีxxxxxเข้าสอบแล้วเว้นแต่มีการ ยกเลิกการสอบครั้งนั้นทั้งหมด เนื่องจากมีการทุจริตหรือส่อไปในทางทุจริตตามข้อ ๖๙ จึงให้จ่ายคืน ค่าธรรมเนียมสอบแก่ผู้สมัครสอบเฉพาะผู้xxxxxxxxมีส่วนเกี่ยวข้องกับการทุจริตหรือส่อไปในทางทุจริตนั้นได้
ค่าธรรมเนียมสอบที่จัดเก็บได้ตามที่กําหนดในวรรคหนึ่ง ให้ผู้ดําเนินการสอบแข่งขันxxxxxx นําไปเป็นค่าใช้จ่ายในการดําเนินการสอบแข่งขันในคราวนั้นได้
๒๐
ข้อ ๖๕ ในกรณีที่ผู้สมัครสอบแข่งขันผู้ใดเป็นข้าราชการประเภทอื่นหรือข้าราชการส่วนท้องถิ่น อื่น และxxxxxxxจะสมัครสอบแข่งขันในตําแหน่งที่มีระดับไม่สูงกว่าตําแหน่งที่ตนดํารงอยู่ ซึ่งใช้xxxxxxx xxxxเดียวกับตําแหน่งที่ตนดํารงอยู่ จะต้องยื่นหนังสือรับรองจากผู้บังคับบัญชาซึ่งเป็นผู้มีอํานาจสั่งบรรจุ อนุญาตให้มาสมัครสอบแข่งขันได้พร้อมกับใบสมัครสอบ หากไม่มีหนังสือรับรองดังกล่าวผู้นั้นไม่มีxxxxxเข้าสอบ สําหรับการสอบแข่งขันครั้งนั้น
ข้อ ๖๖ ให้ผู้ดําเนินการสอบแข่งขันประกาศรายชื่อผู้มีxxxxxเข้าสอบก่อนวันสอบไม่น้อยกว่า ๕
วันทําการ
ข้อ ๖๗ การตัดสินว่าผู้ใดเป็นผู้สอบแข่งขันได้ ให้ถือเกณฑ์ว่าต้องเป็นผู้สอบได้คะแนนในแต่ละ
ภาคที่สอบตามหลักสูตรไม่ต่ํากว่าร้อยละหกสิบ ทั้งนี้ ให้คํานึงถึงหลักวิชาการวัดผลด้วย
ข้อ ๖๘ ในการสอบแข่งขันจะต้องทําการสอบตามหลักสูตรทุกภาค และคณะกรรมการดําเนิน การสอบแข่งขันจะกําหนดให้ผู้สมัครสอบภาคความรู้ความxxxxxxทั่วไป หรือภาคความรู้ความxxxxxxxxxใช้ เฉพาะตําแหน่งก่อนแล้วจึงให้ผู้ที่สอบได้คะแนนตามเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในข้อ ๖๗ สอบในภาคอื่นต่อไปก็ได้
❖ ข้อ ๖๙ ในกรณีที่ตรวจพบว่าผู้เข้าสอบแข่งขัน มีการทุจริตหรือส่อไปในทางทุจริตอันอาจทําให้ เกิดความไม่เป็นธรรมในระหว่างดําเนินการสอบแข่งขัน ให้คณะกรรมการดําเนินการสอบแข่งขันรายงานให้ องค์การบริหารส่วนตําบลทราบ เพื่อพิจารณาว่าจะxxxxxยกเลิกการสอบครั้งนั้นทั้งหมด หรือยกเลิกการสอบ เฉพาะวิชาหรือเฉพาะภาคที่มีการทุจริตหรือส่อไปในทางทุจริตนั้น หากองค์การบริหารส่วนตําบลได้ยกเลิกการ สอบแข่งขันเฉพาะวิชาใด หรือเฉพาะภาคใดแล้ว ให้ดําเนินการสอบ แข่งขันเฉพาะวิชานั้น หรือเฉพาะภาคนั้น ใหม่ โดยผู้ที่ทุจริตหรือมีส่วนเกี่ยวข้องกับการทุจริตในการสอบ แข่งขันในครั้งนั้น ไม่มีxxxxxเข้าสอบแข่งขันอีก หากตรวจพบการทุจริตหรือส่อไปในทางทุจริต ภายหลังมีการสอบแข่งขันเสร็จสิ้นแล้ว ก่อนประกาศผลการ สอบแข่งขันให้คณะกรรมการดําเนินการสอบแข่งขันสอบข้อเท็จจริง เมื่อxxxxxหลักฐานชัดแจ้งว่าบุคคลหนึ่ง บุคคลใดทุจริตในการสอบแข่งขันหรือมีส่วนร่วมในการทุจริต คณะกรรมการดําเนินการสอบแข่งขันอาจใช้ ดุลยพินิจตัดสิทธิ์ผู้สอบแข่งขันนั้นได้
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๖/ ๒๕๔๘ ลว ๒๙ มิถุนายน ๒๕๔๘
ข้อ ๗๐ เมื่อได้ดําเนินการสอบแข่งขันเสร็จแล้วให้คณะกรรมการดําเนินการสอบแข่งขันรายงาน ผลการสอบต่อผู้ดําเนินการสอบแข่งขัน เพื่อผู้ดําเนินการสอบแข่งขันจะได้ประกาศขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ ต่อไป
ข้อ ๗๑ การขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ ให้เรียงลําดับที่จากผู้สอบได้คะแนนรวมสูงลงมาตามลําดับ ในกรณีที่มีผู้สอบได้คะแนนรวมเท่ากัน ให้ผู้สอบได้คะแนนภาคความเหมาะสมกับตําแหน่งมากกว่าเป็นผู้อยู่ ในลําดับที่สูงกว่า ถ้าได้คะแนนภาคความเหมาะสมกับตําแหน่งเท่ากัน ให้ผู้ได้คะแนนภาคความรู้ความ xxxxxxxxxใช้เฉพาะตําแหน่งมากกว่าเป็นผู้อยู่ในลําดับที่สูงกว่า ถ้าได้คะแนนภาคความรู้ความxxxxxxxxxใช้
๒๑ เฉพาะตําแหน่งเท่ากัน ให้ผู้ได้คะแนนภาษาไทยในภาคความรู้ความxxxxxxทั่วไปมากกว่าเป็นผู้อยู่ในลําดับที่ สูงกว่า ถ้ายังxxได้คะแนนเท่ากันอีกก็ให้ผู้ได้รับเลขประจําตัวสอบก่อนเป็นผู้อยู่ในลําดับที่สูงกว่า
ข้อ ๗๒ บัญชีผู้สอบแข่งขันได้ให้ใช้ได้ไม่เกิน ๒ ปีนับแต่วันขึ้นบัญชี แต่ถ้ามีการสอบแข่ง ขัน อย่างเดียวกันนั้นอีก และได้ขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ใหม่แล้ว บัญชีผู้สอบแข่งขันได้ครั้งก่อนเป็นอันยกเลิก เว้น แต่ในกรณีxxxxxxมีการเรียกตัวผู้สอบแข่งขันได้ผู้ใดให้มารายงานตัวเพื่อรับการบรรจุไปแล้วก่อนบัญชีผู้สอบ แข่งขันได้มีอายุเกิน ๒ ปี หรือxxxxxxการขึ้นบัญชีสอบแข่งขันได้ใหม่แล้วแต่กรณี ก็ให้การขึ้นบัญชีผู้สอบ แข่งขันได้ครั้งก่อนนั้นยังxxมีผลใช้ได้ต่อไป แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกิน ๓๐ วันนับแต่วันถัดจากxxxxxxบัญชีผู้สอบแข่งขัน ได้นั้นมีอายุครบ ๒ ปีหรือxxxxxxขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ใหม่แล้วแต่กรณี
ข้อ ๗๓ ให้ผู้ดําเนินการสอบแข่งขัน เป็นเจ้าของบัญชีสอบแข่งขันxxxxxxดําเนินการ และมีอํานาจ พิจารณาอนุญาตให้องค์การบริหารส่วนตําบลอื่น องค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่นอื่น หรือส่วนราชการอื่นที่มี ความxxxxxxxจะขอใช้บัญชีสอบแข่งขันดังกล่าว เพื่อแต่งตั้งผู้สอบแข่งขันได้ให้ดํารงตําแหน่งสายงานเดียวกัน ในส่วนราชการนั้นโดยให้เรียกบรรจุและแต่งตั้งตามลําดับxxxxxxสอบแข่งขันได้ตามบัญชีการสอบนั้น
ข้อ ๗๔ ผู้ใดได้ขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ ถ้ามีกรณีอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ให้เป็น อันยกเลิก การขึ้นบัญชีผู้นั้นไว้ในบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ คือ
(๑) ผู้นั้นได้ขอสละxxxxxรับการบรรจุและแต่งตั้งในตําแหน่งที่สอบได้
(๒) ผู้นั้นไม่มารายงานตัวเพื่อรับการบรรจุเข้ารับราชการภายในเวลาที่ผู้ดําเนินการสอบ แข่งขัน หรือผู้มีอํานาจสั่งบรรจุและแต่งตั้งกําหนดเว้นแต่มีเหตุจําเป็น และได้มีหนังสือส่งทางไปรษณีย์ ลงทะเบียนแจ้งให้ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า ๑๐ วัน นับแต่xxxxxxที่ทําการไปรษณีย์รับลงทะเบียน
(๓) ผู้นั้นมีเหตุxxxxxxเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการได้ตามกําหนดเวลาที่จะบรรจุและแต่งตั้งใน ตําแหน่งที่สอบได้
(๔) ผู้นั้นxxxxxxxจะรับการบรรจุและแต่งตั้งในตําแหน่งที่สอบแข่งขันได้โดยการโอน แต่ส่วน ราชการที่จะบรรจุไม่รับโอนและได้แจ้งให้ทราบล่วงหน้าแล้วว่าจะไม่รับโอน ผู้นั้นจึงไม่xxxxxxxจะรับการบรรจุ (๕) ผู้นั้นได้รับการบรรจุและแต่งตั้งในตําแหน่งที่สอบได้ไปแล้ว ให้ยกเลิกการขึ้นบัญชีผู้นั้นไว้
ในบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ทุกบัญชีในการสอบครั้งเดียวกัน
ข้อ ๗๕ ผู้ใดถูกยกเลิกการขึ้นบัญชีผู้นั้นไว้ในบัญชีผู้สอบแข่งขันได้บัญชีใดไปแล้ว ถ้าบัญชีนั้นยัง ไม่ยกเลิก และคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) พิจารณาเห็นว่ามีเหตุอันxxxxxจะอนุมัติ ให้ขึ้นบัญชีผู้นั้นไว้ในบัญชีเดิมเป็นลําดับแรกที่จะบรรจุในครั้งต่อไปตามเดิมก็ได้ สําหรับผู้ซึ่งถูกยกเลิกการขึ้น บัญชี เนื่องจากไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร เมื่อออกจากราชการทหารโดย ไม่มีความเสียหาย และxxxxxxxจะเข้ารับราชการในตําแหน่งที่สอบได้ และบัญชีผู้สอบแข่งขันได้นั้นยังไม่ ยกเลิก ให้ขึ้นบัญชีผู้นั้นไว้ในบัญชีเดิมเป็นลําดับแรกที่จะบรรจุในครั้งต่อไป
ข้อ ๗๖ ในการดําเนินการสอบแข่งขัน ให้ผู้ดําเนินการสอบแข่งขันดําเนินการดังต่อไปนี้
๒๒
(๑) ส่งสําเนาคําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินการสอบแข่งขัน ๑ ชุดและสําเนาประกาศรับ สมัครสอบ ๒ ชุด ไปยังสํานักงานคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) ก่อนเริ่มรับสมัครสอบไม่ น้อยกว่า ๗ วันทําการ
(๒) เมื่อการสอบเสร็จสิ้นให้ผู้ดําเนินการสอบแข่งขันรายงานไปยังสํานักงานคณะ กรรมการ กลางพนักงานส่วนตําบล ภายใน ๕ วันทําการนับแต่วันประกาศผลสอบโดยให้ส่งเอกสารดังต่อไปนี้
(ก) บัญชีกรอกคะแนน ๑ ชุด (ข) สําเนาบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ ๑ ชุด
(๓) เมื่อมีการยกเลิกการขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ หรือขึ้นบัญชีไว้ตามเดิมให้รายงานไปยัง
สํานักงานคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต) ภายใน ๗ วันทําการนับแต่วันยกเลิกหรือขึ้นบัญชีนั้น (๔) หากมีการเปลี่ยนแปลงในการประกาศรับสมัครสอบประกาศรายชื่อผู้มีxxxxxเข้าสอบ
กําหนดวัน เวลา และสถานที่สอบ ประกาศผลสอบและอื่นๆ นอกจากที่กําหนดไว้เดิมให้รายงานสํานักงาน คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล ( ก.อบต. ) โดยด่วนที่สุด
ส่วนที่ ๒ การคัดเลือกกรณีที่มีเหตุพิเศษ
ข้อ ๗๗ การคัดเลือกกรณีที่มีเหตุพิเศษxxxxxxจําเป็นต้องสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ
และแต่งตั้งให้เป็นพนักงานส่วนตําบลในองค์การบริหารส่วนตําบลนั้นตามข้อ ๕๔ (๒) ให้คณะกรรมการพนัก - งานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) เป็นผู้ดําเนินการคัดเลือก ในกรณีที่คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก. อบต.จังหวัด) เห็นxxxxxxxxมอบให้องค์การบริหารส่วนตําบล เป็นผู้ดําเนินการแทนก็ได้
ข้อ ๗๘ การคัดเลือกกรณีที่มีเหตุพิเศษxxxxxxจําเป็นต้องสอบแข่งขัน ให้คณะกรรมการพนักงาน ส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) กําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือก อาจพิจารณาดําเนินการโดยวิธีสัมภาษณ์ วิธี สอบข้อเขียน วิธีสอบปฏิบัติ หรือวิธีอื่นใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีก็ได้ตามความเหมาะสมโดยกําหนดดังต่อไปนี้
(๑) ให้ผู้ดําเนินการคัดเลือกแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินการคัดเลือก
(๒) ผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับ ตําแหน่งที่กําหนดไว้ในมาตรฐานกําหนดตําแหน่ง
ข้อ ๗๙ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด )หรือองค์การบริหารส่วนตําบล ใน กรณีที่คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด) xxxxxxx xxxคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้ง ให้ดํารงตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลในกรณีที่มีเหตุพิเศษxxxxxxจําเป็นต้องสอบแข่งขันได้ในกรณีดังนี้
(๑) กรณีการบรรจุและแต่งตั้งผู้ได้รับทุนรัฐบาล ทุนเล่าเรียนหลวงหรือทุนขององค์การ บริหารส่วนตําบล เพื่อศึกษาวิชาในประเทศหรือต่างประเทศ
(๒) กรณีการบรรจุและแต่งตั้งผู้สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่คณะกรรมการพนักงานส่วน ตําบล (ก.อบต.จังหวัด) อนุมัติให้ส่วนราชการใดจัดให้มีการศึกษาขึ้น เพื่อเข้ารับราชการในองค์การบริหารส่วน ตําบลนั้นโดยเฉพาะ
๒๓
(๓) กรณีการบรรจุและแต่งตั้งผู้สําเร็จการศึกษาในxxxxxxxxxxคณะกรรมการกลางพนักงานส่วน ตําบล (ก.อบต.)กําหนดให้คัดเลือกเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นกรณีพิเศษได้ ดังต่อไปนี้
(ก) xxxxxxxxxxกําหนดให้คัดเลือกเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นกรณีพิเศษ
• xxxxxxเอกทุกสาขา
• xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
• xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
• xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
• xxxxxxxxxสถาปัตยกรรมศาสตร์
• xxxxxxทางผังเมือง
(ข) xxxxxxหรือxxxxxxxxxxxxxxxxกําหนดให้คัดเลือกเฉพาะตําแหน่ง
• xxxxxxทางสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ เพื่อเข้ารับราชการในตําแหน่งนักสังคม สงเคราะห์
• xxxxxxทางการพยาบาลเพื่อเข้ารับราชการในตําแหน่งพยาบาลวิชาชีพ
• xxxxxxโททางกฏหมายเพื่อเข้ารับราชการในตําแหน่งนิติกร
• ประกาศนียบัตรทางการพยาบาล หรือทางการพยาบาลและผดุงครรภ์เพื่อเข้ารับ ราชการในตําแหน่งพยาบาลเทคนิค
• ประกาศนียบัตรทางช่างทันตกรรมเพื่อเข้ารับราชการในตําแหน่งช่างทันตกรรม ๒ หรือทันตสาธารณสุข ๒
(ค) คุณวุฒิการศึกษาxxxxxxxxxxxxxxxxxอันดับหนึ่ง คุณวุฒิการศึกษาxxxxxxxxxxxxxxxxxอันดบหน่ึงของทุกสาขาวิชาจากสถาบันการ ศึกษา
ที่ ก.พ.รับรองและคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.)ได้กําหนดให้คุณวุฒิการศึกษาในสาขาวิชา นั้นเป็นคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งในมาตรฐานกําหนดตําแหน่ง เพื่อเข้ารับราชการและแต่งตั้งให้ดํารง ตําแหน่งในระดับ ๓ หรือระดับ ๔
(๔) กรณีการบรรจุและแต่งตั้งผู้สอบแข่งขันได้ ซึ่งไม่xxxxxxรับการบรรจุได้เมื่อถึงลําดับxxxxxx สอบได้ เนื่องจากอยู่ในระหว่างการรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร และได้มา รายงานตัวขอรับการบรรจุ เมื่อบัญชีผู้สอบแข่งขันxxxxxxผู้นั้นสอบได้ถูกยกเลิกไปแล้ว
(๕) กรณีการบรรจุและแต่งตั้งผู้สอบแข่งขันได้ ซึ่งถูกยกเลิกการขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ เนื่องจากได้มารายงานตัวเพื่อขอรับการบรรจุแล้ว แต่มีเหตุผลxxxxxxอาจเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการในตําแหน่งที่ สอบแข่งขันได้ตามกําหนดเวลาที่ทางราชการจะบรรจุและแต่งตั้ง
(๖) กรณีการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลที่มีความรู้ ความxxxxxxและความชํานาญสูง เข้ารับ ราชการในฐานะผู้ชํานาญการ
ข้อ ๘๐ การคัดเลือกเพื่อบรรจุและแต่งตั้งผู้ได้รับทุนรัฐบาล ทุนเล่าเรียนหลวงหรือทุนของ องค์การบริหารส่วนตําบล เพื่อศึกษาวิชาในประเทศหรือต่างประเทศ ตามข้อ ๗๙ (๑) หรือผู้สําเร็จการศึกษา
๒๔ ตามหลักสูตรที่คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) อนุมัติให้ส่วนราชการใดจัดให้มีการศึกษา ขึ้นเพื่อเข้ารับราชการในองค์การบริหารส่วนตําบลนั้นโดยเฉพาะตามข้อ ๗๙ (๒) ให้ผู้ดําเนินการคัดเลือก
ดําเนินการดังนี้
(๑) ให้ผู้xxxxxxxจะขอรับการบรรจุ ยื่นใบสมัครตามแบบที่กําหนด พร้อมหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่คณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกกําหนด
(๒) ให้ผู้ดําเนินการคัดเลือก แต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกขึ้นคณะหนึ่งจํานวนไม่ น้อยกว่า ๕ คนดังนี้
(ก) กรณีคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด )เป็นผู้ดําเนินการให้แต่ง ตั้ง กรรมการในคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) เป็นประธานกรรมการ และผู้แทนหน่วย ราชการที่เกี่ยวข้อง หรือพนักงานส่วนตําบลเป็นกรรมการ
(ข) กรณีองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นผู้ดําเนินการ ให้แต่งตั้งปลัดองค์การบริหารส่วน ตําบลเป็นประธานกรรมการและผู้แทนหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องหรือพนักงานส่วนตําบลเป็นกรรมการ
(๓) ให้คณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกพิจารณาคัดเลือกจากใบสมัคร หลักฐานการ ศึกษา และเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่คณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกกําหนดนอกจากนี้อาจใช้วิธีสัมภาษณ์ เพิ่มเติมอีกก็ได้ และในการจัดลําดับผู้ได้รับคัดเลือกเพื่อบรรจุเข้ารับราชการและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใดใน องค์การบริหารส่วนตําบล คณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกอาจพิจารณากําหนดให้ผู้มีคะแนนผลการเรียน เฉลี่ยตลอดหลักสูตรสูงเป็นผู้อยู่ในลําดับต้น xxxxxxxxxรับการบรรจุเข้ารับราชการก่อน หรือพิจารณาบรรจุ ตามองค์ประกอบอื่นที่คณะกรรมการเห็นxxxxxxxxxx
ข้อ ๘๑ การคัดเลือกผู้สําเร็จการศึกษาในxxxxxxxxxxคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก. อบต) กําหนดให้คัดเลือกเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นกรณีพิเศษได้ตามข้อ ๗๙ (๓) ให้ผู้ดําเนินการ คัดเลือกดําเนินการ ดังนี้
(๑) ประกาศรับสมัครคัดเลือก ให้ระบุรายละเอียดในเรื่อง ชื่อตําแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้ง คุณสมบัติทั่วไปและคุณสมบัติเฉพาะของผู้มีxxxxxสมัครเข้ารับการคัดเลือกสําหรับตําแหน่งนั้น เงินเดือนที่จะ ได้รับ วันเวลา และสถานที่รับสมัคร แบบใบสมัคร คุณวุฒิการศึกษา เอกสาร และหลักฐานที่ใช้ในการสมัคร ทั้งนี้ การประกาศรับสมัครคัดเลือกนั้นให้ปิดไว้ในที่เปิดเผย ณ สถานที่รับสมัครก่อนxxxxxxเริ่มรับสมัคร คัดเลือกและจะประกาศทางวิทยุกระจายเสียงหรือทางอื่นใดตามความเหมาะสมด้วยก็ได้
(๒) ให้ผู้xxxxxxxจะขอรับการบรรจุยื่นใบสมัครตามแบบที่กําหนดพร้อมหลักฐานการ ศึกษา และเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่คณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกกําหนด โดยให้ผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือก เสียค่าธรรมเนียมเข้ารับการคัดเลือก สําหรับตําแหน่งxxxxxxxxตามอัตรา ดังนี้
(ก)ตําแหน่งระดับ๑ หรือระดับ๒ ตําแหน่งละไม่ต่ํากว่า ๕๐ บาท แต่ไม่เกิน ๑๐๐บาท (ข)ตําแหน่งระดับ๓ ขึ้นไป ตําแหน่งละไม่ต่ํากว่า ๑๐๐ บาท แต่ไม่เกิน ๒๐๐ บาท
ค่าธรรมเนียมสมัครเข้ารับการคัดเลือกนี้จะไม่จ่ายคืนให้เมื่อได้มีการรับสมัครเสร็จเรียบร้อยถูกต้องแล้ว (๓) ให้ผู้ดําเนินการคัดเลือก แต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกขึ้นคณะหนึ่งจํานวนไม่
น้อยกว่า ๕ คนดังนี้
๒๕
(ก) กรณีคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) เป็นผู้ดําเนินการให้แต่งตั้ง กรรมการในคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) เป็นประธานกรรมการ และผู้แทนหน่วย ราชการที่เกี่ยวข้อง หรือพนักงานส่วนตําบลเป็นกรรมการ
(ข) กรณีองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นผู้ดําเนินการให้แต่งตั้งปลัดองค์การบริหารส่วน ตําบลเป็นประธานกรรมการและผู้แทนหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องหรือพนักงานส่วนตําบลเป็นกรรมการ
(๔) คณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกอาจพิจารณาคัดเลือกโดยวิธีสัมภาษณ์วิธีสอบข้อเขียน วิธีสอบปฏิบัติหรือวิธีอื่นใด วิธีหนึ่งหรือหลายวิธีก็ได้ตามความเหมาะสมในการนี้ คณะกรรม การดําเนินการ คัดเลือกอาจตั้งกรรมการสัมภาษณ์ กรรมการออกข้อสอบหรือกรรมการทดสอบการปฏิบัติงานหรือกรรมการ อื่นหรือเจ้าหน้าที่ให้ดําเนินการในเรื่องต่างๆได้ตามความจําเป็น
(๕) เมื่อได้ดําเนินการคัดเลือกเสร็จแล้ว ให้คณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกรายงานผลการ คัดเลือกต่อผู้ดําเนินการคัดเลือก โดยจัดทําบัญชีรายชื่อผู้ที่ผ่านการคัดเลือกและจัดเรียงลําดับตามผลคะแนน ตาม (๔) เพื่อผู้ดําเนินการคัดเลือกจะได้ประกาศผลการคัดเลือกและบรรจุและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งที่ คัดเลือกตามลําดับต่อไป
(๖) ในกรณีที่มีผู้ผ่านการคัดเลือกมากกว่าจํานวนตําแหน่งว่าง และภายหลังมีตําแหน่งว่างxxxxx อีกก็อาจบรรจุและแต่งตั้งผู้ผ่านการคัดเลือกที่เหลืออยู่ในลําดับที่ถัดไปตามประกาศผลการคัดเลือกนั้นหรือ อาจดําเนินการคัดเลือกใหม่ก็ได้ ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัด
ข้อ ๘๒ การคัดเลือกผู้สอบแข่งขันได้ ซึ่งไม่xxxxxxรับการบรรจุได้เมื่อถึงลําดับxxxxxxสอบได้ เนื่องจากอยู่ในระหว่างการรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหารและได้มารายงานตัว ขอรับการบรรจุ เมื่อบัญชีผู้สอบแข่งขันxxxxxxผู้นั้นสอบได้ถูกยกเลิกไปแล้ว ตามข้อ ๗๙ (๔) ให้คณะกรรมการ พนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) มอบให้องค์การบริหารส่วนตําบลเป็นผู้ดําเนินการคัดเลือกดังต่อไปนี้
(๑) ให้ผู้xxxxxxxจะขอรับการบรรจุยื่นใบสมัคร และหนังสือรับรองประวัติการรับราชการ ทหารตามแบบที่กําหนด พร้อมด้วยสําเนาหลักฐานการศึกษาและสําเนาหลักฐานการรับราชการทหารตาม กฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร
(๒) เมื่อองค์การบริหารส่วนตําบลได้พิจารณาแล้วเห็นว่าผู้นั้นพ้นจากราชการทหารโดยไม่มี ความเสียหายและมารายงานตัวเพื่อขอรับการบรรจุเข้ารับราชการภายใน ๑๘๐ วันนับแต่วันพ้นจากราชการทหาร (๓) หากองค์การบริหารส่วนตําบลนั้นมีตําแหน่งที่ผู้นั้นสอบแข่งขันได้ว่างอยู่ให้ดําเนิน การ
สั่งบรรจุและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งนั้นได้
ข้อ ๘๓ การคัดเลือกผู้สอบแข่งขันได้ ซึ่งถูกยกเลิกการขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้เนื่องจากได้มา รายงานตัวเพื่อขอรับการบรรจุแล้ว แต่มีเหตุผลxxxxxxอาจเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการในตําแหน่งที่สอบแข่งขันได้ ตามกําหนดเวลาที่ทางราชการจะบรรจุและแต่งตั้งตามข้อ ๗๙ (๕) ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก. อบต.จังหวัด) มอบให้องค์การบริหารส่วนตําบลเป็นผู้ดําเนินการดังต่อไปนี้
(๑) ให้ผู้xxxxxxxจะขอรับการบรรจุยื่นหนังสือแสดงความจํานงขอบรรจุเข้ารับราชการและ เข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการภายใน ๑๕ วันนับแต่วันครบกําหนดเวลาที่ทางราชการจะบรรจุและแต่งตั้ง
(๒) เมื่อองค์การบริหารส่วนตําบลได้พิจารณาแล้วเห็นxxxxxxxxจะบรรจุผู้นั้นเข้ารับราชการ
๒๖
(๓) หากองค์การบริหารส่วนตําบลนั้นมีตําแหน่งที่ผู้นั้นสอบแข่งขันได้ว่างอยู่ ให้ดําเนินการสั่ง บรรจุและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งนั้นได้
ข้อ ๘๔ การคัดเลือกบุคคลที่มีความรู้ ความxxxxxxและความชํานาญสูง เพื่อบรรจุเข้ารับ ราชการในฐานะผู้ชํานาญการในองค์การบริหารส่วนตําบล ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต. จังหวัด) มอบให้องค์การบริหารส่วนตําบลเป็นผู้ดําเนินการคัดเลือก โดยดําเนินการตามที่กําหนดใน หมวด ๕ ข้อ ๑๑๑ ถึงข้อ ๑๑๕
ข้อ ๘๕ เมื่อได้มีการดําเนินการคัดเลือก ตามที่กําหนดในประกาศนี้ให้คณะกรรมการพนักงาน ส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) ดําเนินการดังต่อไปนี้
(๑) ส่งสําเนาคําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินการคัดเลือก ๑ ชุด และสําเนาประกาศรับ สมัครคัดเลือก ๒ ชุด ไปยังสํานักงานคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) ก่อนเริ่มรับสมัคร คัดเลือกไม่น้อยกว่า ๗ วันทําการ
(๒) เมื่อการคัดเลือกเสร็จสิ้น ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) รายงาน ไปยังสํานักงาน คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) ภายใน ๕ วันทําการนับแต่วันประกาศผล การคัดเลือกหรือดําเนินการคัดเลือกแล้วเสร็จ โดยให้ส่งสําเนาบัญชีผู้ได้รับการคัดเลือก ๑ ชุด หรือรายงานผล การคัดเลือก ๑ ชุด
(๓) หากมีการเปลี่ยนแปลงในการประกาศรับสมัครประกาศผลการคัดเลือกและอื่นๆ นอกจากที่กําหนดไว้เดิมให้รายงานสํานักงานคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.)โดยด่วนที่สุด
ส่วนที่ ๓ การสอบคัดเลือก
❖ ข้อ ๘๖ การสอบคัดเลือกตามข้อ ๑ (๓) เพื่อแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลให้ดํารงตําแหน่ง บริหาร
ต่างสายงานหรือตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลตําแหน่งผู้บริหารงานให้ดํารงตําแหน่งบริหารขององค์การบริหาร ส่วนตําบล หรือแต่งตั้งพนักงานครูองค์การบริหารส่วนตําบลให้ดํารงตําแหน่งสายงานผู้บริหารสถานศึกษาให้ องค์การบริหารส่วนตําบลหรือกรมxxxxxxxxการxxxxxxxxxxxxxx หรือจังหวัดที่กรามxxxxxxxxการxxxxxx xxxxxxxxมอบหมายเป็นผู้ดําเนินการ
หลักสูตรวิธีการสอบคัดเลือก คุณสมบัติผู้มีxxxxxสอบคัดเลือก เกณฑ์การตัดสิน การขึ้นบัญชีและ การยกเลิกบัญชีผู้สอบคัดเลือกได้ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบลกําหนด
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙ / ๒๕๕๐ ลว ๒๔ กันยายน ๒๕๕๐
ข้อ ๘๗ ให้ผู้ดําเนินการสอบคัดเลือกแต่งตั้งคณะกรรมการสอบคัดเลือกขึ้นคณะหนึ่งจํานวนไม่ น้อยกว่า ๗ คน ดังนี้
(๑) กรณีคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) เป็นผู้ดําเนินการสอบคัด เลือก ให้แต่งตั้งนายกองค์การบริหารส่วนตําบล ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้แทนหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องเป็นกรรมการ โดย
๒๗ คัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมจาก ๓ ฝุาย คือฝุายผู้แทนxxxxxxxx ฝุายผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้แทนหน่วยราชการที่ เกี่ยวข้องคนหนึ่งเป็นประธานกรรมการ
(๒) กรณีองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นผู้ดําเนินการสอบคัดเลือก ให้แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิ
ผู้แทนหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องและพนักงานส่วนตําบลเป็นกรรมการโดยคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมจาก ๓ ฝุาย คือฝุายผู้แทนxxxxxxxx ฝุายผู้ทรงคุณวุฒิและผู้แทนหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องคนหนึ่งเป็นประธานกรรมการ
ข้อ ๘๘ คณะกรรมการดําเนินการสอบคัดเลือกอาจตั้งกรรมการออกข้อสอบ กรรมการประเมิน ความเหมาะสมกับตําแหน่งหรือกรรมการหรือเจ้าหน้าที่ดําเนินการในเรื่องการกรอกคะแนนหรือเรื่องอื่นๆที่ เกี่ยวกับการสอบคัดเลือกได้ตามความจําเป็น
ข้อ ๘๙ ให้คณะกรรมการดําเนินการสอบคัดเลือกกําหนดวันเวลาสถานที่สอบข้อเขียน สัมภาษณ์ และxxxxxxxเกี่ยวกับการสอบได้เท่าที่จําเป็นและไม่ขัดต่อหลักสูตรและวิธีการดําเนินการเกี่ยวกับการสอบ คัดเลือกนี้แล้ว ให้ประธานกรรมการประกาศก่อนวันสอบไม่น้อยกว่า ๕ วันทําการ
ข้อ ๙๐ หลักสูตรและวิธีการสอบคัดเลือก ให้เป็นไปตามที่กําหนดท้ายประกาศนี้
ข้อ ๙๑ ให้ผู้ดําเนินการสอบคัดเลือก ประกาศรับสมัครสอบ โดยระบุชื่อตําแหน่งที่จะแต่งตั้ง คุณสมบัติของผู้มีxxxxxสมัครสอบหลักสูตรและวิธีการสอบคัดเลือกและข้อความอื่นที่ผู้สมัครสอบควรทราบ
ข้อ ๙๒ ให้ผู้ดําเนินการสอบคัดเลือกจัดให้มีเจ้าหน้าที่รับสมัครสอบโดยให้มีกําหนด เวลารับใบ สมัครสอบไม่น้อยกว่า ๑๐ วันทําการ
ข้อ ๙๓ ผู้มีxxxxxสมัครสอบคัดเลือกจะต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่กําหนดในประกาศรับ สมัครสอบคัดเลือก ตามข้อ ๙๑ ในวันรับสมัครสอบคัดเลือก
ข้อ ๙๔ ให้ผู้ดําเนินการสอบคัดเลือกประกาศรายชื่อผู้มีxxxxxเข้าสอบก่อนวันสอบไม่น้อยกว่า ๕
วันทําการ
ข้อ ๙๕ การตัดสินว่าผู้ใดเป็นผู้สอบคัดเลือกได้ให้ถือเกณฑ์ว่าต้องเป็นผู้สอบได้คะแนน ในแต่ละ
ภาคที่สอบตามหลักสูตรไม่ต่ํากว่าร้อยละหกสิบ ทั้งนี้ให้คํานึงถึงหลักวิชาวัดผลด้วย
ข้อ ๙๖ การสอบคัดเลือกจะต้องสอบตามหลักสูตรทุกภาค แต่คณะกรรมการดําเนินการสอบ คัดเลือกจะกําหนดให้ผู้สมัครสอบสอบภาคความรู้ความxxxxxxทั่วไปหรือภาคความรู้ความ xxxxxxxxxใช้ เฉพาะตําแหน่งก่อน แล้วจึงให้ผู้สอบได้คะแนนตามเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในข้อ ๙๕ สอบในภาคอื่นต่อไปก็ได้
ข้อ ๙๗ ในกรณีที่ปรากฏว่ามีการทุจริตหรือส่อไปในทางทุจริตอันอาจทําให้เกิดความไม่เป็นธรรม ในการสอบคัดเลือกให้คณะกรรมการดําเนินการสอบคัดเลือกรายงานให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก. อบต.จังหวัด) ทราบ เพื่อพิจารณาว่าจะxxxxxยกเลิกการสอบคัดเลือกครั้งนั้นทั้งหมดหรือจะพิจารณายกเลิก การสอบภาคxxxxxxxxxxทุจริตหรือส่อไปในทางทุจริตตามแต่จะเห็นxxxxx xxxหากคณะกรรมการพนักงานส่วน
๒๘ ตําบล(ก.อบต.จังหวัด) ให้ยกเลิกการสอบคัดเลือกเฉพาะภาคใดแล้วก็ให้ดําเนินการสอบคัดเลือกเฉพาะภาค นั้นใหม่สําหรับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทุจริตหรือส่อไปในทางทุจริตไม่มีxxxxxเข้าสอบอีกต่อไป
ข้อ ๙๘ เมื่อได้ดําเนินการสอบคัดเลือกเสร็จแล้วให้คณะกรรมการดําเนินการสอบคัดเลือก รายงานผลการสอบต่อผู้ดําเนินการสอบคัดเลือก เพื่อจะได้ประกาศรายชื่อผู้สอบคัดเลือกได้ต่อไป
ข้อ ๙๙ การขึ้นบัญชีผู้สอบคัดเลือกได้ ให้เรียงลําดับที่จากผู้สอบได้คะแนนรวมสูงลงมาตาม ลําดับ ในกรณีที่มีผู้สอบได้คะแนนรวมเท่ากัน ให้ผู้สอบได้คะแนนภาคความเหมาะสมกับตําแหน่งมากกว่าเป็น ผู้อยู่ในลําดับที่สูงกว่า ถ้าได้คะแนนภาคความเหมาะสมกับตําแหน่งเท่ากัน ให้ผู้ได้คะแนนภาคความรู้ความ xxxxxxxxxใช้เฉพาะตําแหน่งมากกว่าเป็นผู้อยู่ในลําดับที่สูงกว่า ถ้าได้คะแนนภาคความรู้ความxxxxxxxxxใช้ เฉพาะตําแหน่งเท่ากัน ให้ผู้ได้รับเลขประจําตัวสอบก่อนเป็นผู้อยู่ในลําดับที่สูงกว่า
ข้อ ๑๐๐ บัญชีผู้สอบคัดเลือกได้ให้ใช้ได้ไม่เกิน ๒ ปีนับตั้งแต่วันขึ้นบัญชีแต่ถ้ามีการสอบคัดเลือก อย่างเดียวกันนั้นอีก และได้ขึ้นบัญชีผู้สอบคัดเลือกได้ใหม่แล้วบัญชีผู้สอบคัดเลือกได้ครั้งก่อนเป็นอันยกเลิก
ข้อ ๑๐๑ ในการดําเนินการสอบคัดเลือกให้ผู้ดําเนินการสอบคัดเลือกดําเนินการดังต่อไปนี้
(๑) ส่งสําเนาคําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินการสอบคัดเลือก ๑ ชุด และสําเนาประกาศ รับสมัครสอบ ๓ ชุดไปยังสํานักงานคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) ก่อนวันเริ่มต้นรับสมัคร สอบไม่น้อยกว่า ๗ วันทําการ
(๒) เมื่อการสอบเสร็จสิ้นแล้วให้ส่งเอกสารไปยังสํานักงานคณะกรรมการกลางพนักงานส่วน ตําบล (ก.อบต.) ภายใน ๕ วันทําการนับตั้งแต่วันประกาศผลสอบดังต่อไปนี้
(ก) ข้อสอบภาคความรู้ความxxxxxxxxxใช้เฉพาะตําแหน่ง ๑ ชุด (ข) บัญชีกรอกคะแนน ๑ ชุด
(ค) สําเนาบัญชีผู้สอบคัดเลือกได้ ๒ ชุด
(๓) เมื่อมีการยกเลิกการขึ้นบัญชีสอบคัดเลือกได้ หรือขึ้นบัญชีผู้ใดไว้ตามเดิมให้รายงานไปยัง สํานักงานคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) ภายใน ๗ วันทําการนับตั้งแต่วันยกเลิกหรือขึ้น บัญชีผู้นั้น
หากมีการเปลี่ยนแปลงในการประกาศรับสมัครสอบ ประกาศรายชื่อผู้มีxxxxxเข้าสอบ กําหนดวัน เวลา และสถานที่สอบประกาศผลสอบหรืออื่นๆ นอกจากที่กําหนดไว้เดิม ให้รายงานไปยังสํานักงาน คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) ทราบโดยด่วนที่สุด
ส่วนที่ ๔
๒๙
การคัดเลือก
❖ ข้อ ๑๐๒ การคัดเลือกตามข้อ ๑ (๔) เพื่อแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลให้ดํารงตําแหน่งบริหารใน ระดับที่สูงขึ้น ให้องค์การบริหารส่วนตําบลหรือกรมxxxxxxxxการxxxxxxxxxxxxxxหรือจังหวัดที่กรมxxxxxxxxการ
xxxxxxxxxxxxxxมอบหมายเป็นผู้ดําเนินการ
การคัดเลือกอาจดําเนินการโดยวิธีการสัมภาษณ์ วิธีสอบข้อเขียน วิธีการสอบปฏิบัติ วิธีการ ประเมิน หรือวิธีอื่นใด วิธีใดวิธีหนึ่ง หรือหลายวิธีก็ได้ตามความเหมาะสมโดยคํานึงถึงผลงาน ความรู้ ความxxxxxx ความประพฤติ ประวัติการรับราชการและผลการปฏิบัติงานประกอบด้วย ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่ คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบลกําหนด
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/๒๕๕๐ ลว ๒๔ กันยายน ๒๕๕๐
ข้อ ๑๐๓ การคัดเลือกพนักงานส่วนตําบลเพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น ให้ ดําเนินการได้ ๔ กรณี ดังนี้
(๑) คัดเลือกพนักงานส่วนตําบลเพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับสูงขึ้นในระดับควบ สําหรับตําแหน่งที่กําหนดเป็นตําแหน่งระดับควบ
(๒) การคัดเลือกพนักงานส่วนตําบลเพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับสูงขึ้นนอกระดับควบ สําหรับตําแหน่งที่กําหนดเป็นตําแหน่งผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์
(๓) การคัดเลือกพนักงานส่วนตําบลเพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับสูงขึ้นนอกระดับ ควบสําหรับตําแหน่งที่กําหนดเป็นตําแหน่งวิชาชีพเฉพาะหรือสายงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(๔) การคัดเลือกพนักงานส่วนตําบลตําแหน่งผู้บริหารขององค์การบริหารส่วนตําบล เพื่อ แต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งผู้บริหารในระดับที่สูงขึ้น
ข้อ ๑๐๔ การคัดเลือกเพื่อแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลให้ดํารงตําแหน่งในระดับสูงขึ้นในระดับ ควบ สําหรับตําแหน่งที่กําหนดเป็นตําแหน่งระดับควบ ตามข้อ ๑๐๓ (๑) ให้องค์การบริหารส่วนตําบลเป็น ผู้ดําเนินการคัดเลือก การคัดเลือกตามวรรคหนึ่งให้องค์การบริหารส่วนตําบลดําเนินการตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขดังนี้
(๑) พนักงานส่วนตําบลผู้นั้นเป็นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่ง ตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่งที่จะแต่งตั้ง ตามที่กําหนดในหมวด ๙ ว่าด้วยการเลื่อนและแต่งตั้งพนักงานส่วน ตําบลให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น
(๒) ให้ดําเนินการคัดเลือกโดยวิธีการประเมินบุคคลและประเมินผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา ของพนักงานส่วนตําบลผู้นั้น
(๓) ให้องค์การบริหารส่วนตําบลกําหนดแบบประเมินบุคคลและประเมินผลการปฏิบัติงาน ตาม (๒) โดยต้องมีรายการดังต่อไปนี้
(ก) ข้อมูลเกี่ยวกับผู้รับการประเมิน
(ข) หน้าที่ความรับผิดชอบและความรู้ความxxxxxxxxxต้องการของตําแหน่งที่จะประเมิน (ค) การประเมินการปฏิบัติงานและคุณลักษณะของบุคคลเพื่อเลื่อนตําแหน่ง
(ง) สรุปความเห็นในการประเมินของผู้บังคับบัญชาตามลําดับชั้น
๓๐
(๔) เกณฑ์การตัดสินการประเมินว่าพนักงานส่วนตําบลที่จะผ่านการประเมินเพื่อแต่งตั้งให้ ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นต้องมีมาตรฐานเทียบxxxxxxต่ํากว่าที่ ก .พ.กําหนดไว้เป็นมาตรฐานสําหรับ ข้าราชการพลเรือน
(๕) ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลพิจารณาแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับสูงขึ้น โดย ความ เห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด)
ข้อ ๑๐๕ การคัดเลือกเพื่อแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นนอกระดับ ควบสําหรับตําแหน่งที่กําหนดเป็นตําแหน่งผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ตาม ข้อ ๑๐๓ (๒) ให้คณะกรรมการ พนักงานส่วนตําบล (ก.อบต .จังหวัด )เป็นผู้ดําเนินการหรืออาจมอบให้องค์การบริหารส่วนตําบลเป็น ผู้ดําเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัดกําหนดภายใต้เงื่อนไขดังนี้
(๑) พนักงานส่วนตําบลผู้นั้นเป็นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่ง ตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่งที่จะแต่งตั้งตามที่กําหนดใน หมวด ๙ ว่าด้วยการเลื่อนและแต่งตั้งพนักงานส่วน ตําบลให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น
(๒) ให้แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลงานจํานวนไม่น้อยกว่า ๕ คน กรณีคณะ กรรมการ พนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด )เป็นผู้ดําเนินการ ให้มีคณะกรรมการประกอบด้วยผู้ทรง คุณวุฒิเป็น ประธานกรรมการ ผู้แทนส่วนราชการ นายกองค์การบริหารส่วนตําบล พนักงานส่วนตําบล หรือพนักงานส่วน xxxxxxxxผู้มีประสบการณ์เป็นกรรมการ โดยให้ข้าราชการพลเรือนหรือพนักงานส่วนตําบลคนหนึ่งเป็น เลขานุการ กรณีที่องค์การบริหารส่วนตําบลเป็นผู้ดําเนินการ ให้ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นประธาน ผู้อํานวยการกองหรือหัวหน้าส่วนราชการระดับกองเป็นกรรมการ โดยให้หัวหน้าสํานักงานปลัดองค์การ บริหารส่วนตําบลเป็นกรรมการและเลขานุการ
(๓) ให้ดําเนินการคัดเลือกโดยการพิจารณาคุณสมบัติของบุคคล ประเมินคุณ ลักษณะของ บุคคลและประเมินผลงานที่ผ่านมาของพนักงานส่วนตําบลผู้นั้น
(๔) ให้คณะกรรมการประเมินผลงานตาม (๒) ดําเนินการประเมินคุณสมบัติของบุคคล คุณลักษณะของบุคคล และประเมินผลงานตาม (๓) ตามแบบประเมินท้ายประกาศนี้
(๕) พนักงานส่วนตําบลที่จะได้รับการแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น ต้องเป็นผู้ที่ ผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่กําหนดในแบบประเมินตาม (๔)
(๖) ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบล พิจารณาแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นโดย ความเห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด)
ข้อ ๑๐๖ การคัดเลือกเพื่อแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นนอกระดับ ควบสําหรับตําแหน่งที่กําหนดเป็นตําแหน่งวิชาชีพเฉพาะหรือสายงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตามข้อ
๑๐๓ (๓) ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) เป็นผู้ดําเนินการ การคัดเลือกตามวรรคหนึ่งให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด ) ดําเนินการตาม
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขดังนี้
๓๑
(๑) พนักงานส่วนตําบลผู้นั้นเป็นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่ง ตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่งที่จะแต่งตั้งตามที่กําหนดในหมวด ๙ ว่าด้วยการเลื่อนและแต่งตั้งพนักงาน ส่วนตําบลให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น
(๒) ให้แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลงาน จํานวนไม่น้อยกว่า ๕ คน ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด) เป็นประธานกรรมการ ผู้แทนส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้องและพนักงานส่วนตําบลหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นผู้มีประสบการณ์เป็นกรรมการ โดยให้ข้าราชการ พลเรือน หรือพนักงานส่วนตําบลคนหนึ่งเป็นเลขานุการ
(๓) ให้ดําเนินการคัดเลือกโดยการพิจารณาคุณสมบัติของบุคคล ประเมินคุณลักษณะของ บุคคลและประเมินผลงานของพนักงานส่วนตําบลผู้นั้น
(๔) ให้คณะกรรมการประเมินผลงานตาม (๒) กําหนดแบบและวิธีการประเมินคุณ xxxxxxของ บุคคล คุณลักษณะของบุคคล และประเมินผลงานตาม (๓) โดยต้องมีรายการดังต่อไปนี้
(ก)ข้อมูลเกี่ยวกับผู้รับการประเมิน
(ข) หน้าที่ความรับผิดชอบและความรู้ความxxxxxxxxxต้องการของตําแหน่งที่จะประเมิน (ค) การประเมินการปฏิบัติงานและคุณลักษณะของบุคคลเพื่อเลื่อนตําแหน่ง
(ง) เอกสารแสดงผลงานทางวิชาการในตําแหน่งวิชาชีพเฉพาะ (จ) สรุปความเห็นในการประเมินของคณะกรรมการประเมิน
(๕) เกณฑ์การตัดสินการประเมินว่าพนักงานส่วนตําบลที่จะผ่านการประเมินเพื่อแต่งตั้งให้ ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น ต้องมีมาตรฐานเทียบxxxxxxต่ํากว่าที่ ก .พ.กําหนดไว้เป็นมาตรฐานสําหรับ ข้าราชการพลเรือน
(๖) ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลพิจารณาแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นโดย ความเห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด)
❖ ข้อ ๑๐๗ การคัดเลือกเพื่อแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลให้ดํารงตําแหน่งที่สูงขึ้นสําหรับตําแหน่งที่ สูงขึ้นสําหรับตําแหน่งผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตําบลตามข้อ ๑๐๓ (๔) ให้คณะกรรมการพนักงานส่วน ตําบล (ก.อบต.จังหวัด) เป็นผู้ดําเนินการคัดเลือกตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะ กรรมการพนักงานส่วน ตําบล (ก.อบต.จังหวัด) กําหนดดังนี้
๑. แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือก จํานวนไม่น้อยกว่า ๗ คน ประกอบด้วยผู้ทรง คุณวุฒิใน คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) ผู้แทนส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง และนายกองค์การบริหาร ส่วนตําบล หรือผู้แทนพนักงานส่วนตําบลเป็นกรรมการ โดยให้ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพนักงานส่วน ตําบลคนหนึ่งเป็นประธานกรรมการ และให้แต่งตั้งข้าราชการพลเรือนคนหนึ่งเป็นเลขานุการ
๒. หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือก ให้ดําเนินการโดยวิธีการสัมภาษณ์วิธีการประเมินหรือวิธี อื่นใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีตามความเหมาะสม โดยกําหนดรายการดังต่อไปนี้
๒.๑ เกณฑ์ในการคัดเลือก
เกณฑ์ในการคัดเลือกควรจะพิจารณาว่าผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกแต่ละคนมีความรู้ ความxxxxxx ทักษะ ประสบการณ์และผลงานในอดีต วิสัยทัศน์การปฏิบัติงานในตําแหน่งที่จะเข้ารับการ คัดเลือก ประวัติการรับราชการตลอดจนมีพฤติกรรมหรือคุณลักษณะต่างๆ อย่างไร โดยให้ผู้มีxxxxxเข้ารับการ
๓๒ คัดเลือก จัดทําและนําเสนอวิสัยทัศน์ในการเข้าดํารงตําแหน่งที่เข้ารับการคัดเลือก และนําเสนอผลงานในอดีต ที่ประสบความสําเร็จอันเกินจากการบริหารงานของผู้เข้ารับการคัดเลือกมาแล้ว ซึ่งกําหนดเกณฑ์การให้
คะแนนดังนี้
๒.๑.๑.สมรรถนะหลักทางการบริหารการปฏิบัติงานในหน้าที่ความประพฤติและ คุณลักษณะอื่นๆ จํานวน ๑๐๐ คะแนน โดยพิจารณาจากวิสัยทัศน์และผลงานที่ประสบความสําเร็จในอดีต จํานวน ๔๐ คะแนน
ความรอบรู้งานในหน้าที่ พิจารณาจากความรู้งานในหน้าที่ของตําแหน่งที่จะแต่งตั้ง รวมทั้งความรู้เกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันทางเศรษฐกิจสังคมและการเมืองโดยพิจารณาจาก
(ก) วิสัยทัศน์ในการปฏิบัติงานในตําแหน่งที่ขอรับการคัดเลือกจํานวน ๒๐ คะแนน วิสัยทัศน์ในการปฏิบัติงานในตําแหน่งที่จะขอรับการคัดเลือกผู้เข้ารับการคัดเลือกจะต้องจัดทําเอกสารเพื่อ แสดงวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติงานในตําแหน่งที่ขอรับการคัดเลือกโดยควรจะนําเสนอข้อมูลด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ข้อมูลส่วนบุคคล
๒. แนวคิดในการปฏิบัติงานในตําแหน่งที่ขอรับการคัดเลือก
๓. แนวทางพัฒนางานในหน้าที่
๔. แนวทางพัฒนาองค์การบริหารส่วนตําบลหากได้รับการคัดเลือก (ข) ผลงานที่ประสบความสําเร็จในอดีต จํานวน ๒๐ คะแนน
ผู้เข้ารับการคัดเลือกจะต้องจัดทําเอกสารแสดงผลงานที่ประสบความสําเร็จมาแล้ว และ xxxxxxดีและเป็นประโยชน์ต่อทางราชการ xxxxxxxxxจะนําไปเป็นตัวอย่างแก่ผู้อื่นหรือหน่วยงานส่วนราชการ อื่นxxx xxxx การจัดโครงการใหม่ๆ ที่ประชาชนได้รับประโยชน์จํานวนมากๆ หรือการคิดค้นแนวทางบริหารงาน ใหม่ๆ และxxxxxxนําไป ปฏิบัติจนประสบผลสําเร็จได้ผลดียิ่ง โดยให้จัดทําเป็นเอกสารนําเสนอคณะ กรรมการคัดเลือก (อาจจัดทําร่วมกับวิสัยทัศน์ก็ได้)
(๑) ความxxxxxxในการบริหาร ๓๐ คะแนน พิจารณาจาก
(ก) ความรู้ในการบริหาร จํานวน ๑๐คะแนน xxxx หลักการบริหารสมัยใหม่การ บริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารเชิงกลยุทธ์ เทคนิคการบริหารต่าง ๆ
(ข) ความxxxxxxในการบริหารอย่างมืออาชีพ จํานวน ๑๐ คะแนน พิจารณาจากการตัดสินใจ การคิดเชิงกลยุทธ์ ความเป็นผู้นํา xxxxxxxxxxxxxความxxxxxxในการแก้ไข ปัญหาต่างๆ ปัญหาเฉพาะหน้าของผู้เข้ารับการคัดเลือก
(ค) ความxxxxxxในการบริหารงานบุคคล จํานวน ๑๐ คะแนน พิจารณาจาก การยืดหยุ่นและปรับตัว ทักษะในการสื่อสาร การxxxxxxงานกับส่วนอื่น
(๒) บุคลิกภาพและภาวะผู้นํา ๓๐ คะแนน โดยพิจารณาจาก
(ก) ความประพฤติและค่าxxxxสร้างสรรค์ที่จําเป็นสําหรับนักบริหาร จํานวน ๕ คะแนน พิจารณาจากการมีพฤติกรรมที่เหมาะสมกับตําแหน่งหน้าที่และภารกิจของส่วนราชการ xxxx มุ่ง ประโยชน์ของส่วนรวม มีความxxxxxxxxx xxxxxx ครองคน ครองงาน โดยธรรม กล่าวคือ กล้าคิด กล้าทํา กล้า นํา กล้าเปลี่ยน มีความโปร่งใส
๓๓
(ข) ความxxxxxxx จํานวน ๕ คะแนน พิจารณาจากความมีxxxxxxxxและเอา ใจใส่หน้าที่การงานxxxxxxxxxxxxในการปฏิบัติงานอุทิศเวลาให้กับทางราชการ มีความxxxxxxxxxxxxxx
(ค) มนุษย์xxxxxxxx จํานวน ๕ คะแนน พิจารณาจากความ xxxxxxในการ ปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ยอมรับในความ xxxxxxของ ผู้ร่วมงานทุกระดับแก้ไขและลดข้อขัดแย้งอันอาจจะเป็นอุปสรรคต่องานราชการและหรือความxxxxxxในการ สร้างความxxxxxxxxxxxxxกับประชาชนผู้มาติดต่อรวมxxxxxxxxxxในการให้ความช่วยเหลือและบริการผู้มาติดต่อ
(ง) ความxxxxxxในการสื่อความหมาย จํานวน ๕ คะแนน พิจารณาจาก ความxxxxxxในการแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวกับการปฏิบัติxxx xxxสื่อสารกับผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับ บัญชา และเพื่อนร่วมงาน ความxxxxxxในการใช้ภาษาอย่างเหมาะสม
(จ) ความมั่นคงในxxxxxx จํานวน ๕ คะแนน พิจารณาจากความหนักแน่นของ
สภาวะอารมณ
(ฉ) xxxxxxxxxxxxx จํานวน ๕ คะแนน พิจารณาจากความxxxxxxในการ
ตัดสินใจแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างxxxxxxxxx และมีเหตุผลเป็นที่ยอมรับได้
๒ .๑.๒ คุณสมบัติของผู้สมัครคัดเลือก คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน ได้แก่ (๑) การได้รับเงินเดือน ๒๐ คะแนน
(๒) xxxxxxxศึกษา ๑๕ คะแนน (๓) ระยะเวลาการดํารงตําแหน่ง ๒๐ คะแนน
(๔) อายุราชการ ๑๕ คะแนน (๕) การรักษาxxxxx (ย้อนหลัง ๕ ปี) ๑๕ คะแนน (๖) ความดีความชอบ (ย้อนหลัง ๕ ปี) ๑๕ คะแนน
๒.๒. วิธีการคัดเลือก
กําหนดวิธีการที่ใช้ในการประเมิน โดยอาจใช้วิธีสัมภาษณ์ หรืออาจใช้วิธีการอื่นเพิ่มเติม เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จะแสดงออกถึงความรู้ ความxxxxxx ความเหมาะสมของผู้สมัครตามที่ประกาศไว้ใน ประกาศรับสมัครคัดเลือก โดยกําหนดให้ผู้เข้ารับการคัดเลือกจะต้องจัดทําเอกสารในเรื่องวิสัยทัศน์ในการ ปฏิบัติงานในตําแหน่งที่ขอรับการคัดเลือก ตลอดจนจัดทําเอกสารแสดงผลงานที่ประสบความสําเร็จโดยต้อง ยื่นเอกสารตามจํานวนชุดที่กําหนดไว้ในประกาศรับสมัครต่อคณะกรรมการคัดเลือกในวันรับสมัครตามที่ กําหนดไว้ในประกาศรับสมัครและให้ผู้เข้ารับการคัดเลือกนําเสนอวิสัยทัศน์และผลงานที่ประสบความสําเร็จ ต่อคณะกรรมการคัดเลือกในxxxxxxเข้ารับการคัดเลือกตามที่กําหนดไว้ในประกาศรับสมัคร
๒.๓. ขั้นตอนการคัดเลือก
เมื่อจะมีการคัดเลือกเพื่อแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นสําหรับ ตําแหน่งผู้บริหารขององค์การบริหารส่วนตําบลให้องค์การบริหารส่วนตําบลที่มีตําแหน่งว่างแจ้งชื่อตําแหน่ง เลขที่ตําแหน่งและข้อมูลต่างๆ สําหรับใช้ประกอบการxxxxxxx xxxx หน้าที่ความรับผิดชอบ ลักษณะงานที่ ปฏิบัติ ความรู้ความxxxxxxxxxต้องการของแต่ละตําแหน่ง เป็นต้น (ตามแบบแนบท้าย )ไปยัง ก .อบต.จังหวัด เพื่อส่งต่อให้คณะกรรมการคัดเลือกที่ ก.อบต.จังหวัดแต่งตั้ง วิเคราะห์งานในตําแหน่งที่ว่างหรือจะว่าง กําหนด ความรู้ความxxxxxx คุณลักษณะที่จําเป็นในการปฏิบัติงานสําหรับตําแหน่งหรือเป็นการกําหนดว่าพฤติกรรม
๓๔ แบบใดหรือคุณลักษณะแบบใดของผู้เข้ารับการคัดเลือก ที่จะxxxxxxทํางานนั้นได้ประสบความสําเร็จซึ่งได้แก่ สมรรถนะหลักทางการบริหาร การปฏิบัติงานในหน้าที่ ความประพฤติ ประวัติการรับราชการ และ
คุณลักษณะที่จําเป็นในการปฏิบัติงาน ซึ่งอาจพิจารณาแนวคิดทัศนคติ ค่าxxxxสร้างสรรค์ของนักบริหารที่พึงมี
การปฏิบัติงานที่จําเป็นต้องดําเนินการตามหลักการบริหารจัดการบ้านเมืองและสังคมxxxxxxxxxจนแรงxxxxxxxx จะเป็นแรงขับให้xxxxxxปฏิบัติงานได้สําเร็จเป็นต้น
คณะกรรมการคัดเลือกกําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ขั้นตอนในการคัดเลือกพนักงานส่วนตําบลเพื่อ แต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งที่ว่างให้สอดคล้องกับหลักสูตรและวิธีการคัดเลือกคุณสมบัติมีxxxxxเข้ารับการคัดเลือก และประกาศให้ทราบทั่วกันดังนี้
(๑) กําหนดหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกว่าแต่ละพฤติการณ์หรือคุณลักษณะต่างๆนั้น ควรจะ พิจารณาจากข้อมุลใดประกอบการพิจารณาเพื่อให้ทราบถึงความรู้ความxxxxxx ทักษะของผู้บริหาร xxxx การพิจารณาประวัติการทํางาน ประวัติส่วนบุคคล ประสบการณ์ การฝึกอบรม และดูงานผลการปฏิบัติงาน ตามเปูาหมายในอดีตด้านการบริหารการจัดการ วิสัยทัศน์ เป็นต้น
(๒) กําหนดวิธีที่ใช้ในการประเมิน โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ หรืออาจใช้วิธีการอื่นเพิ่มเติม โดย ให้ผู้เข้ารับการคัดเลือกนําเสนอวิสัยทัศน์ และผลงานที่ประสบความสําเร็จที่ผ่านมาเพื่อให้ได้ข้อมูลที่จะ แสดงออกถึงความรู้ความxxxxxxและความเหมาะสมของบุคคลในตําแหน่งที่เปิดคัดเลือก ทั้งนี้ ให้ระบุจํานวน เอกสารที่ต้องจัดส่ง กําหนดวันส่งเอกสารวิสัยทัศน์และผลงานและกําหนดเสนอวิสัยทัศน์และผลงานในวัน คัดเลือก (สัมภาษณ์)
(๓) ให้ประกาศกําหนดวัน เวลา สถานที่รับสมัคร โดยมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๑๕ วันทําการ และให้ประกาศรายชื่อผู้มีxxxxxเข้ารับการคัดเลือกและให้ประกาศกําหนดวัน เวลา สถานที่ดําเนินการคัดเลือก xxxxxxxหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกก่อนวันดําเนินการคัดเลือกไม่น้อยกว่า ๕ วันทําการ
(๔) การประกาศรับสมัครและรับสมัครให้กําหนดวันคัดเลือกให้พร้อมกันทั่วประเทศปีละไม่
เกิน ๔ ครั้ง ดังน
(๑) ครั้งที่ ๑ วันเสาร์ที่สองของเดือนเดือนมีนาคม (๒) ครั้งที่ ๒ วันเสาร์ที่สองของเดือนเดือนมิถุนายน (๓) ครั้งที่ ๓ วันเสาร์ที่สองของเดือนเดือนกันยายน (๔) ครั้งที่ ๔ วันเสาร์ที่สองของเดือนเดือนธันวาคม
ให้ผู้เข้ารับการคัดเลอกเสนอเอกสารวิสัยทัศน์และผลงานที่ประสบความสําเร็จตามจํานวนที่ กําหนดไว้ในประกาศรับสมัครต่อคณะกรรมการคัดเลือกในวันรับสมัครเพื่อให้คณะกรรมการคัดเลือกได้ศึกษา พิจารณาก่อน
ในการดําเนินการคัดเลือกให้เลขานุการคณะกรรมการคัดเลือกเสนอรายชื่อพนักงานส่วนตําบลxxx xxxxxเข้ารับการคัดเลือกในตําแหน่งที่จะแต่งตั้ง ซึ่งมีคุณสมบัติครบถ้วนและอยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะเลื่อนขึ้น ดํารงตําแหน่งที่จะแต่งตั้งได้ต่อคณะกรรมการคัดเลือก โดยข้อมูลดังกล่าวจะต้องประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้
(ก) รายละเอียดเกี่ยวกับหน้าที่ความรับผิดชอบและความต้องการของตําแหน่งที่จะแต่งตั้ง xxxx ขอบเขตของงานในหน้าที่ของตําแหน่งลักษณะงานเทคนิคและวิธีการทําxxxxxxควบคุมบังคับบัญชา ความxxxxxxxxกับตําแหน่งอื่นและข้อมูลอื่นๆ เกี่ยวกับงานของตําแหน่งที่จะแต่งตั้งอันจะเป็นประโยชน์ต่อการ
๓๕ ใช้ดุลพินิจของคณะกรรมการคัดเลือกตลอดจนคุณลักษณะของบุคคลที่จะxxxxxxทํางานได้อย่างม ประสิทธิภาพหรือคุณลักษณะที่พึงxxxxxxx และจําเป็นต่อการปฏิบัติงานในตําแหน่ง เป็นต้น
(ข) ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับประวัติการรับราชการและประวัติส่วนตัวของผู้เข้ารับการคัดเลือก
เสนอชื่อเพื่อรับการพิจารณาความเหมาะสมทุกคน รวมทั้งประวัติการศึกษา การฝึกอบรม ดูงาน ประสบ การณ์ ความxxxxxx ความชํานาญหรือคุณลักษณะพิเศษ ผลงานสําคัญพิเศษหรือผลงานที่เป็นxxxxxxxxxxxใน ความxxxxxxของข้าราชการประวัติทางxxxxxในอดีตของพนักงานผู้นั้นซึ่งควรเป็นข้อมูลที่เก็บอย่างเป็นระบบ และได้รับการแก้ไขเพิ่มเติมให้xxxxxxxและทันสมัยอยู่เสมอ
(ค) ข้อมูลย้อนหลัง ๒ ปีเกี่ยวกับผลการปฏิบัติงานประจําปีของผู้สมัครเข้ารับการคัด เลือกทุกคน
๒.๔ ให้คณะกรรมการคัดเลือกรวมคะแนนจากการดําเนินการคัดเลือกแล้วจัดลําดับจากผู้xxx
xxxคะแนนสูงสุดไปหาผู้xxxxxxคะแนนต่ําสุดและให้พิจารณาผู้ที่มีอยู่ในลําดับxxxxxกว่าจะได้รับการแต่งตั้งก่อนผู้ที่ อยู่ในลําดับถัดไปและหากคะแนนของแต่ละบุคคลปรากฏว่าคะแนนรวมเท่ากันให้จัดลําดับผู้ที่คะแนนเท่ากัน ดังนี้
๑) ถ้าคะแนนรวมเท่ากันให้พิจารณาจากคะแนนสัมภาษณ์ก่อน
๒) ถ้าคะแนนสัมภาษณ์เท่ากันให้พิจารณาจากผู้ใดได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใน ตําแหน่งระดับปัจจุบันก่อน
๓) ถ้าได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในตําแหน่งและระดับพร้อมกันให้พิจารณาจาก
เงินเดือนมากกว่า
๔) ถ้าเงินเดือนเท่ากันให้พิจารณาจากอายุราชการ
๕) ถ้าอายุราชการเท่ากันให้พิจารณาจากเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงกว่า
๖) ถ้าได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นเดียวกันให้พิจารณาผู้ใดได้รับก่อน
๗) ถ้าได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในชั้นเดียวกันพร้อมกันให้พิจารณาผู้ใดมีอายุมากกว่า
๒.๕ เมื่อได้ดําเนินการคัดเลือกเสร็จแล้ว ให้คณะกรรมการคัดเลือกรายงานผลการ คัดเลือก ต่อ ก.อบต.จังหวัด โดยจัดทําบัญชีรายชื่อผู้ที่ผ่านการคัดเลือกและจัดเรียงลําดับตามผลคะแนนรวมโดยให้ระบุ
คะแนนxxxxxxไว้ในประกาศด้วย เพื่อจะได้ประกาศผลการคัดเลือกและแจ้งให้องค์การบริหารส่วนตําบลแต่งตั้งผู้ xxxxxxรับการคัดเลือกให้ดํารงตําแหน่งที่คัดเลือกตามลําดับต่อไป
ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลแต่งตั้งผู้ได้รับคัดเลือกให้ดํารงตําแหน่งตามลําดับที่ใน ประกาศผลการคัดเลือก โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล
ในกรณีที่มีผู้ผ่านการคัดเลือกมากกกว่าจํานวนตําแหน่งว่าง และภายหลังมีตําแหน่งว่างxxxxx อีก องค์การบริหารส่วนตําบลอาจขอความเห็นชอบการแต่งตั้งผู้ได้รับการคัดเลือกที่อยู่ในลําดับที่ถัดไปตาม ประกาศผลการคัดเลือกนั้นให้ดํารงตําแหน่งได้ หรืออาจดําเนินการคัดเลือกใหม่ก็ได้ทั้งนี้ให้อยู่ในxxxxxxxxxxของ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด)
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙ / ๒๕๔๖ ลว ๒๖ กันยายน ๒๕๔๖
ข้อ ๑๐๘ เมื่อได้มีการดําเนินการคัดเลือกตามที่กําหนดในประกาศนี้ ให้คณะกรรมการพนักงาน ส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) ดําเนินการดังต่อไปนี้
๓๖
(๑) ส่งสําเนาคําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือก ๑ ชุด และสําเนาประกาศรับสมัครเข้ารับ การคัด เลือก ๒ ชุด ไปยังสํานักงานคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.) ก่อนเริ่มรับสมัครไม่น้อย กว่า ๗ วันทําการ
(๒) เมื่อการคัดเลือกเสร็จสิ้นให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) รายงาน ไปยังสํานักงานคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) ภายใน ๕ วันทําการนับแต่วัน เลื่อนและ แต่งตั้งผู้ได้รับคัดเลือกตาม ข้อ ๑๐๔ ข้อ ๑๐ ๕ หรือข้อ ๑๐ ๖ หรือวัน ประกาศผล การคัดเลือกตามข้อ ๑๐๗ โดยให้ส่งเอกสารดังต่อไปนี้
(ก) สําเนาคําสั่งเลื่อนและแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบล ๑ ชุด (ข) สําเนาบัญชีการกรอกคะแนน ๑ ชุด
(ค) สําเนาประกาศผลการคัดเลือก ๑ ชุด
(๓) หากมีการเปลี่ยนแปลงในการประกาศรับสมัครเข้ารับการคัดเลือก ประกาศรายชื่อผู้มี xxxxxเข้ารับการคัดเลือก กําหนดวัน เวลา และสถานที่ ดําเนินการคัดเลือก ประกาศผลการคัดเลือกและอื่นๆ นอกจากที่กําหนดไว้เดิมให้รายงานสํานักงานคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต) โดยด่วนที่สุด
หมวด ๕ การบรรจุและแต่งตั้ง
❖ ข้อ ๑๐๙ การบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นพนักงานส่วนตําบล เพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใดใน
องค์การบริหารส่วนตําบลให้บรรจุและแต่งตั้งจากผู้สอบแข่งขันได้ในตําแหน่งนั้น หรือตําแหน่งอื่นที่เกี่ยวข้อง และxxxxxxxxกัน ซึ่งกําหนดคุณวุฒิตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งตรงกันกับxxxxxxxxxxผู้xxxxxxสมัคร สอบแข่งขัน
การร้องขอให้ดําเนินการสอบแข่งขัน การดําเนินการสอบแข่งขัน การขึ้นบัญชีการสอบ แข่งขัน การ ใช้บัญชีการสอบแข่งขัน การขอใช้บัญชีและการบรรจุและแต่งตั้งจากบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ให้เป็นไปตามที่ คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบลกําหนด มิให้นําความในวรรคหนึ่งมาบังคับใช้ในการกรณีการบรรจุและแต่งตั้งตามข้อ ๑๑๑ ข้อ๑๑๖ ข้อ
๑๑๗ ข้อ ๑๒๓ และข้อ ๑๓๓
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙ / ๒๕๕๐ ลว ๒๔ กันยายน ๒๕๕๐
ข้อ ๑๑๐ ผู้สอบแข่งขันได้ ซึ่งอยู่ในลําดับxxxxxxจะได้รับบรรจุ และแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใด ถ้า ปรากฏว่าขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม โดยxxxxxxรับการยกเว้นในกรณีที่ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะ ต้องห้ามตามที่กําหนดในหมวด ๑ ว่าด้วยคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามเบื้องต้น หรือขาดคุณสมบัติเฉพาะ สําหรับตําแหน่ง โดยxxxxxxรับอนุมัติยกเว้นจากคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) อยู่ก่อนหรือ ภายหลังการสอบแข่งขันจะบรรจุและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งนั้นxxxxxx
ข้อ ๑๑๑ ในกรณีที่มีเหตุผลและความจําเป็นอย่างยิ่ง เพื่อประโยชน์แก่ราชการ องค์การบริหาร ส่วนตําบลโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) อาจบรรจุบุคคลที่มี ความรู้ความxxxxxx และความชํานาญสูงเข้ารับราชการในฐานะผู้ชํานาญการในองค์การบริหารส่วนตําบล
๓๗
ข้อ ๑๑๒ องค์การบริหารส่วนตําบลที่จะเสนอขอให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัด พิจารณาให้ความเห็นชอบ เพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการในฐานะผู้ชํานาญการจะต้องมีลักษณะต่อไปนี้
ลักษณะหน้าที่ ความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตําบล มีความจําเป็นที่จะต้องใช้บุคลากร ผู้ที่มีความรู้ ความxxxxxxและความชํานาญงานในระดับผู้ชํานาญการหรือผู้ที่มีความรู้ ความxxxxxxและ ความชํานาญงานเทียบได้ในระดับเดียวกัน
มีการกําหนดตําแหน่งผู้ชํานาญการ เพื่อรองรับลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบตาม (๑) โดย พิจารณากําหนดระดับตําแหน่งให้เหมาะสมกับความยากและคุณภาพของงานในตําแหน่งนั้น เป็นตําแหน่ง ระดับ ๖ ระดับ ๗ หรือระดับ ๘
ข้อ ๑๑๓ กรณีองค์การบริหารส่วนตําบลมีความจําเป็นอย่างยิ่งเพื่อประโยชน์แก่ราชการที่ จะต้องบรรจุบุคคลเข้ารับราชการในฐานะผู้ชํานาญการในองค์การบริหารส่วนตําบล ให้เสนอเหตุผลและความ จําเป็น คําชี้แจง ประวัติและผลงานของผู้ที่จะบรรจุเข้ารับราชการ ซึ่งจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความxxxxxx และความชํานาญงานสูงในระดับผู้ชํานาญการแล้วแต่กรณี และมีความเหมาะสมกับลักษณะงานในตําแหน่งที่ ขอบรรจุและแต่งตั้ง โดยพิจารณาจากคุณวุฒิการศึกษา ประวัติการทํางาน และผลงานxxxxxxปฏิบัติมาตามแบบ ที่กําหนดท้ายประกาศนี้ ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) พิจารณา
ในเหตุผลคําชี้แจงตามวรรคหนึ่ง ให้แสดงรายละเอียดดังนี้
(๑) บุคคลที่จะบรรจุเข้ารับราชการ คุณวุฒิ ตําแหน่งที่จะบรรจุและระดับตําแหน่ง (๒) รายละเอียดหน้าที่ความรับผิดชอบ และปริมาณงานของตําแหน่งที่จะบรรจุ (๓) เหตุผลความจําเป็นในการขอบรรจุบุคคลผู้นี้
(๔) ประโยชน์ที่ทางราชการจะได้รับจากการบรรจุบุคคลผู้นี้
ข้อ ๑๑๔ กรณีที่องค์การบริหารส่วนตําบลขอบรรจุบุคคลเข้ารับราชการตามข้อ ๑๑๓ แต่ยัง มิได้กําหนดตําแหน่งผู้ชํานาญการตามที่กําหนดในข้อ ๑๑๒ (๒) ให้องค์การบริหารส่วนตําบลเสนอขอกําหนด ตําแหน่งผู้ชํานาญการขึ้นใหม่หรือปรับเกลี่ยจากตําแหน่งอื่น ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต. จังหวัด )พิจารณาให้ความเห็นชอบก่อน ทั้งนี้ให้ดําเนินการตามที่กําหนดในหมวด ๒ ว่าด้วยการกําหนด ตําแหน่งหรือการปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลแล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๑๕ เมื่อคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) ได้เห็นชอบการบรรจุบุคคลใด เข้ารับราชการในฐานะผู้ชํานาญการ ในตําแหน่งใด ระดับใดแล้ว ให้กําหนดอันดับเงินเดือนและขั้นเงินเดือนที่ จะให้ได้รับ โดยขั้นเงินเดือนที่จะให้ได้รับดังกล่าวให้ได้รับในxxxxxxxxxxต่ํากว่าจุดxxxxxxxxระหว่างขั้นสูงและขั้นต่ํา ของอันดับเงินเดือนที่ผู้นั้นได้รับ
ข้อ ๑๑๖ ในกรณีที่มีเหตุพิเศษที่คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัดเห็นว่าไม่จําเป็นต้อง ดําเนินการสอบแข่งขัน อาจคัดเลือกบรรจุบุคคลเข้ารับราชการและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งได้ในกรณีดังนี้
(๑) การบรรจุและแต่งตั้งผู้ได้รับทุนรัฐบาล ทุนเล่าเรียนหลวงหรือทุนขององค์การบริหารส่วน ตําบล เพื่อศึกษาวิชาในประเทศหรือต่างประเทศ
๓๘
(๒) การบรรจุและแต่งตั้งผู้สําเร็จการศึกษาในxxxxxxxxxxคณะกรรมการกลางพนักงานส่วน ตําบล (ก.อบต.) กําหนดให้คัดเลือก เพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นกรณีพิเศษ
(๓) การบรรจุและแต่งตั้งผู้สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) อนุมัติให้ส่วนราชการใดจัดให้มีการศึกษาขึ้นเพื่อเข้ารับราชการในองค์การบริหารส่วนตําบล โดยเฉพาะ
(๔) การบรรจุและแต่งตั้งผู้สอบแข่งขันได้ ซึ่งไม่xxxxxxมารับการบรรจุได้ เมื่อถึงลําดับxxxxxx สอบได้ เนื่องจากอยู่ในระหว่างการรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหารและได้มาราย งานตัวขอรับการบรรจุเมื่อบัญชีผู้สอบแข่งขันxxxxxxผู้นั้นสอบได้ถูกยกเลิกไปแล้ว
(๕) การบรรจุและแต่งตั้งผู้สอบแข่งขันได้ ซึ่งถูกยกเลิกการขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ เนื่องจาก ได้มารายงานตัวเพื่อขอรับการบรรจุแล้วแต่มีเหตุxxxxxxอาจเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการในตําแหน่งที่สอบแข่งขันได้ ตามกําหนดเวลาที่ทางราชการจะบรรจุและแต่งตั้ง
ข้อ ๑๑๗ พนักงานส่วนตําบลผู้ใดถูกสั่งให้ออกจากราชการเพื่อไปรับราชการทหารตามกฎหมาย ว่าด้วยการรับราชการทหาร เมื่อผู้นั้นพ้นจากราชการทหารโดยมิได้กระทําการใดๆในระหว่างรับราชการทหาร อันเสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรงหรือได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง และผู้นั้นไม่เป็นผู้ขาด คุณสมบัติ และมีลักษณะต้องห้ามตามที่กําหนดใน หมวด ๑ หากxxxxxxxจะเข้ารับราชการเป็นพนักงานส่วน ตําบลในองค์การบริหารส่วนตําบลเดิม ภายในกําหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันพ้นจากราชการทหารให้สั่ง บรรจุและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในองค์การบริหารส่วนตําบลได้
พนักงานส่วนตําบล ซึ่งได้รับบรรจุเข้ารับราชการตามวรรคหนึ่ง ให้มีxxxxxxxxนับวันรับราชการก่อน ถูกสั่งให้ออกจากราชการ รวมกับวันรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร และวันรับ ราชการเมื่อได้รับบรรจุกลับเข้ารับราชการเป็นเวลาราชการติดต่อกันเพื่อประโยชน์ตามประกาศนี้ และตาม กฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญข้าราชการส่วนท้องถิ่นเสมือนว่าผู้นั้นมิได้เคยถูกสั่งให้ออกจากราชการ
ข้อ ๑๑๘ เมื่อพนักงานส่วนตําบลผู้ใดออกจากราชการไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วย การรับราชการทหาร ให้องค์การบริหารส่วนตําบลสงวนตําแหน่งในระดับเดียวกันไว้สําหรับบรรจุผู้นั้นกลับเข้า รับราชการ
ข้อ ๑๑๙ พนักงานส่วนตําบลผู้xxxxxxออกจากราชการไปรับราชการทหารตามข้อ ๑๑๘ หากผู้นั้น xxxxxxxจะขอกลับเข้ารับราชการในองค์การบริหารส่วนตําบลเดิม จะต้องยื่นคําขอพร้อมด้วยหนังสือรับรอง ประวัติการรับราชการทหารตามแบบที่กําหนดท้ายประกาศนี้ ภายใน ๑๘๐ วัน นับแต่วันพ้นจากราชการ ทหาร
ข้อ ๑๒๐ ให้องค์การบริหารส่วนตําบลตรวจสอบเอกสารและประวัติการรับราชการทหารตาม ข้อ ๑๑๙ หากเห็นว่าเป็นเอกสารที่ถูกต้องและผู้นั้นได้พ้นจากราชการทหารโดยมิได้กระทําการใดๆในระหว่าง รับราชการทหารอันเสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง หรือได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรงและผู้นั้นไม่ เป็นผู้ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม อีกทั้งผู้นั้นได้ยื่นคําขอบรรจุกลับเข้ารับราชการภายใน ๑๘๐ วัน
๓๙ นับแต่วันพ้นจากราชการทหาร ก็ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลสั่งบรรจุผู้นั้นกลับเข้ารับราชการเป็น พนักงานส่วนตําบลและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับxxxxxxxสงวนไว้ โดยให้ได้รับเงินเดือนดังนี้
(๑) ในกรณีที่ผู้กลับจากราชการทหารมีเวลารับราชการทหารตั้งแต่ ๖ เดือนขึ้นไปแต่ไม่ถึง ๑
ปี ให้สั่งบรรจุผู้นั้นกลับเข้ารับราชการเป็นพนักงานส่วนตําบล โดยให้รับเงินเดือนในอันดับเดิมและในขั้นที่สูง กว่าเดิมxxxxxxเกินครึ่งขั้น
ถ้ามีเศษของ ๖ เดือนที่ไปรับราชการทหาร เมื่อนําเศษที่เหลือไปรวมกับระยะ เวลาในการ ปฏิบัติงานของครึ่งปีที่แล้วมาของผู้นั้นก่อนออกไปรับราชการทหารแล้วได้ครบ ๖ เดือน ก็ให้สั่งบรรจุผู้นั้นกลับ เข้ารับราชการโดยให้ได้รับเงินเดือนในอันดับเดิมและในขั้นที่สูงกว่าเดิมได้อีกไม่เกินครึ่งขั้น
(๒) ในกรณีที่ผู้กลับจากราชการทหาร มีเวลารับราชการทหารครบ ๑ ปี ให้ผู้มีอํานาจสั่งบรรจุ ผู้นั้นกลับเข้ารับราชการเป็นพนักงานส่วนตําบล โดยให้ได้รับเงินเดือนในอันดับเดิมและในขั้นที่สูงกว่าเดิมxxx xxxเกินปีละหนึ่งขั้น
(๓) ในกรณีที่ผู้กลับจากราชการทหารมีเวลารับราชการทหารตั้งแต่ ๑ ปีขึ้นไป เศษของปีที่ไป รับราชการทหารที่เหลือจากการพิจารณาตามเกณฑ์ (๒) แล้วหากมีระยะเวลาเหลือครบ ๖ เดือน ให้สั่งบรรจุ ผู้นั้นโดยให้ได้รับเงินเดือนในอันดับเดิมและในขั้นที่สูงกว่าเดิม xxxxxจาก (๒) ได้อีกไม่เกินครึ่งขั้นสําหรับ ระยะเวลาที่คํานวณได้ครบ ๖ เดือน และหากยังมีเศษที่เหลือจากการคํานวณครั้งสุดท้ายแต่ไม่ครบ ๖ เดือน ให้พิจารณาคํานวณตามเกณฑ์ (๑) วรรคสอง
ทั้งนี้ การให้ได้รับเงินเดือนสูงกว่าเดิมตาม (๑)(๒) หรือ (๓) นั้น จะต้องxxxxxxรับประโยชน์มากกว่า ผู้xxxxxxxxออกจากราชการไปรับราชการทหารและต้องไม่เกินขั้นสูงของอันดับเงินเดือนสําหรับตําแหน่งระดับเดิม
ข้อ ๑๒๑ ในการบรรจุผู้ไปรับราชการทหารกลับเข้ารับราชการ หากผู้ใดไม่เคยได้รับการบรรจุ และแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๓ ขึ้นไปซึ่งต้องใช้วุฒิxxxxxxตรีหรือเทียบxxxxxxต่ํา กว่านี้ขึ้นไปเป็นคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งxxxxxx หากจะแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในสายงานดังกล่าวผู้ นั้นจะต้องอยู่ในเกณฑ์ที่กําหนดในหมวด ๖ ว่าด้วยการย้ายพนักงานส่วนตําบลด้วย
ข้อ ๑๒๒ พนักงานส่วนตําบลที่ออกจากราชการไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับ ราชการทหาร ก่อนxxxxxxประกาศนี้มีผลใช้บังคับ หากพ้นจากราชการทหารโดยไม่มีความเสีย-หายและxxxxxxx จะเข้ารับราชการเป็นพนักงานส่วนตําบลในองค์การบริหารส่วนตําบลเดิม ภายในกําหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวัน นับแต่วันพ้นจากราชการทหาร ให้นําความที่กําหนดไว้ใน ข้อ ๑๑๙ และ ข้อ ๑๒๐ มาใช้บังคับแก่พนักงาน ส่วนตําบลที่กล่าวถึงโดยอนุโลม
ข้อ ๑๒๓ พนักงานส่วนตําบลผู้ใดได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีให้ออกจากราชการไปปฏิบัติงาน ใดๆ ซึ่งให้นับเวลาระหว่างนั้นสําหรับการคํานวณบําเหน็จบํานาญเหมือนเต็มเวลาราชการตามกฎหมายว่าด้วย บําเหน็จบํานาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น ถ้าผู้นั้นกลับเข้ารับราชการภายในกําหนดเวลาที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติ แต่ไม่เกินสี่ปีนับแต่วันไปปฏิบัติงานดังกล่าว ให้สั่งบรรจุและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในองค์การบริหารส่วน ตําบลได้
๔๐
ข้อ ๑๒๔ เมื่อคณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้พนักงานส่วนตําบลผู้ใดออกจากราชการไปปฏิบัติงานใดๆ ซึ่งให้นับเวลาระหว่างนั้นสําหรับการคํานวณบําเหน็จบํานาญเหมือนเต็มเวลาราชการตามกฎหมายว่าด้วย บําเหน็จบํานาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น ให้พิจารณากําหนดตําแหน่งในระดับเดียวกันสําหรับบรรจุผู้นั้นกลับ เข้ารับราชการภายในกําหนดเวลาที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติ แต่ไม่เกินสี่ปีนับแต่วันไปปฏิบัติงานดังกล่าว
ข้อ ๑๒๕ ผู้xxxxxxxจะขอกลับเข้ารับราชการกรณีได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีให้ออกจาก ราชการไปปฏิบัติงานใดๆ ซึ่งให้นับเวลาระหว่างนั้นสําหรับการคํานวณบําเหน็จบํานาญเหมือนเต็มเวลา ราชการตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น ในองค์การบริหารส่วนตําบลเดิมจะต้อง ยื่นคําขอบรรจุกลับพร้อมหนังสือรับรองประวัติการทํางานตามแบบที่กําหนด ก่อนวันสิ้นสุดกําหนดเวลาที่ คณะรัฐมนตรีอนุมัติให้ไปปฏิบัติงานใดๆ ไม่น้อยกว่า ๓๐ วัน
ข้อ ๑๒๖ ให้องค์การบริหารส่วนตําบลตรวจสอบเอกสารและประวัติการทํางานตามข้อ ๑๒๕ หากเห็นว่าเป็นเอกสารที่ถูกต้องและผู้นั้นมีประวัติในการทํางานที่ไปปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีโดยไม่มีความ เสียหายและยื่นคําขอบรรจุกลับภายในกําหนดให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลสั่งบรรจุผู้นั้นกลับเข้ารับ ราชการเป็นพนักงานส่วนตําบลและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับเดิมโดยให้ได้รับเงินเดือนดังนี้
(๑) ในกรณีที่ผู้กลับจากการไปปฏิบัติงานตามมติคณะรัฐมนตรีมีเวลาปฏิบัติงานดังกล่าวตั้งแต่
๖ เดือนขึ้นไป แต่ไม่ถึง ๑ ปี ให้สั่งบรรจุผู้นั้นกลับเข้ารับราชการเป็นพนักงานส่วนตําบล โดยให้รับเงินเดือนใน อันดับเดิมและในขั้นที่สูงกว่าเดิมxxxxxxเกินครึ่งขั้น ถ้ามีเศษของ ๖ เดือน ที่ไปปฏิบัติงานเมื่อนําเศษที่เหลือไป รวมกับระยะเวลาในการปฏิบัติงานของครึ่งปีที่แล้วมาของผู้นั้นก่อนออกไปปฏิบัติงานแล้วได้ครบ ๖ เดือน ก็ ให้สั่งบรรจุผู้นั้นกลับเข้ารับราชการโดยให้ได้รับเงินเดือนในอันดับเดิมและในขั้นที่สูงกว่าเดิมได้อีกไม่เกินครึ่งขั้น
(๒) ในกรณีที่ผู้กลับจากการไปปฏิบัติงานตามมติคณะรัฐมนตรีมีเวลาปฏิบัติงานดังกล่าวครบ
๑ ปี ให้ผู้มีอํานาจสั่งบรรจุผู้นั้นกลับเข้ารับราชการเป็นพนักงานส่วนตําบล โดยให้ได้รับเงินเดือนในอันดับเดิม และในขั้นที่สูงกว่าเดิมxxxxxxเกินปีละหนึ่งขั้น
(๓) ในกรณีที่ผู้กลับจากการไปปฏิบัติงานตามมติคณะรัฐมนตรีมีเวลาปฏิบัติงานดังกล่าว ตั้งแต่ ๑ ปีขึ้นไป เศษของปีที่ไปปฏิบัติงานที่เหลือจากการพิจารณาตามเกณฑ์ข้อ (๒) แล้วหากมีระยะเวลา เหลือครบ ๖ เดือน ให้สั่งบรรจุผู้นั้นโดยให้ได้รับเงินเดือนในอันดับเดิมและในขั้นที่สูงกว่าเดิม xxxxxจากข้อ (๒) ได้อีกไม่เกินครึ่งขั้นสําหรับระยะเวลาที่คํานวณได้ครบ ๖ เดือน และหากยังมีเศษที่เหลือจากการคํานวณครั้ง สุดท้ายแต่ไม่ครบ ๖ เดือน ให้พิจารณาคํานวณตามเกณฑ์ข้อ(๑)วรรคสอง
ทั้งนี้ การให้ได้รับเงินเดือนสูงกว่าเดิม ตามข้อ (๑) ข้อ (๒) และ ข้อ (๓) นั้น จะต้องxxxxxxรับ ประโยชน์มากกว่าผู้xxxxxxxxออกจากราชการไปปฏิบัติงานตามมติคณะรัฐมนตรี และต้องไม่เกินขั้นสูงของอันดับ เงินเดือนสําหรับตําแหน่งระดับเดิม
ข้อ ๑๒๗ ในการบรรจุผู้ไปปฏิบัติงานตามมติคณะรัฐมนตรี กลับเข้ารับราชการหากผู้ใดไม่เคย ได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๓ ขึ้นไป ซึ่งต้องใช้วุฒิxxxxxxตรี หรือเทียบxxxxxxต่ํากว่านี้ขึ้นไปเป็นคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งxxxxxx หากจะแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใน สายงานดังกล่าว ผู้นั้นจะต้องอยู่ในเกณฑ์ที่กําหนดในหมวด ๖ ว่าด้วยการย้ายพนักงานส่วนตําบลด้วย
๔๑
ข้อ ๑๒๘ พนักงานส่วนตําบลที่ออกจากราชการไปปฏิบัติงานตามมติคณะรัฐมนตรีก่อนxxxxxx
ประกาศนี้มีผลใช้บังคับหากออกจากงานที่ไปปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีโดยไม่มีความเสียหาย และxxxxxxx จะเข้ารับราชการเป็นพนักงานส่วนตําบลในองค์การบริหารส่วนตําบลเดิมภายในกําหนดเวลาที่คณะรัฐมนตรี อนุมัติ แต่ไม่เกินสี่ปีนับแต่วันไปปฏิบัติงานดังกล่าว ให้นําความที่กําหนดไว้ในข้อ ๑๒๕ และข้อ ๑๒๖ มาใช้ บังคับแก่ข้าราชการ ที่กล่าวถึงโดยอนุโลม
ข้อ ๑๒๙ พนักงานส่วนตําบลผู้ใดออกจากราชการไปแล้วและไม่ใช่เป็นกรณีออกจากราชการใน ระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ ถ้าสมัครเข้ารับราชการและองค์การบริหารส่วนตําบลต้องการจะรับผู้นั้น เข้ารับราชการ ให้ผู้สมัครกลับเข้ารับราชการต้องยื่นคําขอตามแบบและเอกสารประกอบดังนี้
๑ . ใบรับรองแพทย์ ซึ่งรับรองไว้ไม่เกิน ๖๐ วันนับแต่xxxxxxออกใบรับรองถึงxxxxxxยื่นขอกลับ เข้ารับราชการ
๒. สําเนาทะเบียนประวัติข้าราชการ
๓. หนังสือรับรองความรู้ ความxxxxxx และความประพฤติของผู้บังคับบัญชาเดิม ซึ่งม ตําแหน่งตั้งแต่ระดับผู้อํานวยการกองหรือเทียบเท่าขึ้นไป
๔. สําเนาปริญญาบัตร หรือxxxxxxxxxxxxxxxxเกี่ยวข้องกับตําแหน่งที่จะบรรจุ
๕. สําเนาทะเบียนบ้าน
๖. สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน
๗. สําเนาหนังสือสําคัญการสมรส หลักฐานอนุญาตให้เปลี่ยนชื่อตัว xxxxxxxx หรือหนังสือ รับรองว่าเป็นบุคคลคนเดียวกัน (ถ้ามี)
๘. สําเนาคําสั่งอนุญาตให้ออกจากราชการ
ข้อ ๑๓๐ ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลตรวจสอบเอกสารตามข้อ ๑๒๙ และประวัติการรับ ราชการและการทํางานทุกแห่งของผู้สมัคร และให้สอบถามไปยังส่วนราชการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ ได้รายละเอียดข้อเท็จจริงมากที่สุดxxxxxxxxการพิจารณา
ข้อ ๑๓๑ การพิจารณาเพื่อบรรจุผู้ที่ออกจากราชการไปแล้วกลับเข้ารับราชการ ให้พิจารณาตาม หลักเกณฑ์ดังนี้
(๑) ผู้สมัครกลับเข้ารับราชการต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม หรือได้รับการ ยกเว้นในกรณีที่ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามสําหรับพนักงานส่วนตําบล
(๒) ผู้สมัครกลับเข้ารับราชการต้องมีคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งที่จะบรรจุ และ แต่งตั้งตามที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) กําหนด ไว้ในมาตรฐานกําหนดตําแหน่งหรือ ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล ( ก.อบต. )
(๓) กรณีบรรจุและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก. อบต) กําหนดให้เป็นตําแหน่งที่มีระดับควบในสายงานใด ต้องไม่มีผู้สอบแข่งขันได้หรือผู้สอบคัดเลือกได้ใน ตําแหน่งระดับใดระดับหนึ่งที่เป็นระดับควบในสายงานนั้นขึ้นบัญชีรอการบรรจุหรือเลื่อนระดับตําแหน่งอยู่ และกรณีบรรจุและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) มิได้กําหนดให้
๔๒ เป็นตําแหน่งที่มีระดับควบ ต้องไม่มีผู้สอบคัดเลือกได้ในตําแหน่งนั้นขึ้นบัญชีรอการเลื่อนระดับตําแหน่งอยู่ เว้นแต่ผู้ที่จะกลับเข้ารับราชการนั้นเป็นผู้ที่ออกจากราชการไปดํารงตําแหน่งทางการเมือง หรือสมัครรับ
เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาxxxxxxxx หรือผู้บริหารxxxxxxxx หรือลาออกจาก
ราชการเพื่อติดตามคู่สมรสไปรับราชการ ณ ต่างประเทศ หรือเป็นผู้ที่ออกจากราชการไปเพราะถูกยุบเลิก ตําแหน่ง
ข้อ ๑๓๒ การบรรจุและแต่งตั้งผู้สมัครกลับเข้ารับราชการตามที่ประกาศนี้ให้นายกองค์การ บริหารส่วนตําบล โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) สั่งบรรจุและ แต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับxxxxxxสูงกว่าเดิม และให้ได้รับเงินเดือนไม่สูงกว่าขั้นที่เคยได้รับอยู่เดิมก่อนออก จากราชการ
ข้อ ๑๓๓ การบรรจุและแต่งตั้งจากข้าราชการประเภทอื่น หรือพนักงานส่วนท้องถิ่นอื่นผู้ขอโอน มาเป็นพนักงานส่วนตําบลให้เป็นไปตามที่กําหนดในหมวด ๘
ข้อ ๑๓๔ ผู้ได้รับการแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลตําแหน่งใด ต้องมีคุณ xxxxxxตรง ตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งในมาตรฐานกําหนดตําแหน่งที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) กําหนด
xxxxxx ประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิใดเป็นคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งให้หมายถึง xxxxxx ประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือ xxxxxxxxxx ก.พ. ก.ค.หรือคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบลรับรอง กรณีมีเหตุผลความจําเป็น คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) อาจอนุมัติให้
แต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลที่มีคุณสมบัติต่างไปจากคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งตามที่กําหนดไว้ใน มาตรฐานกําหนดตําแหน่งก็ได้
❖ ข้อ ๑๓๕ ผู้ได้รับบรรจุข้าราชการเป็นพนักงานส่วนตําบลและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใดใน องค์การบริหารส่วนตําบลหากภายหลังปรากฏว่าขาดคุณสมบัติหรือลักษณะต้องห้ามเบื้องต้นโดยxxxxxxรับการ ยกเว้น ในกรณีที่ขาดคุณ xxxxxxตามที่กําหนดในมาตรฐานทั่วเกี่ยวกับคุณสมบัติ และลักษณะต้องห้ามเบื้องต้น ของพนักงานส่วนตําบลหรือขาดคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งนั้นอยู่ก่อนก็ดี หรือมีกรณีต้องหาอยู่ก่อน และภายหลังเป็นผู้ขาดคุณสมบัติเนื่องจากกรณีต้องหานั้นก็ดีหรือกรณีบรรจุ และแต่งตั้งจากบัญชีผู้ สอบแข่งขันได้ในตําแหน่งอื่นxxxxxxเกี่ยว ข้องxxxxxxxxกันก็ได้ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลสั่งให้ผู้นั้นออก จากราชการโดยxxxxโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล แต่ทั้งนี้ไม่xxxxxxxxxxxxxxxx xxxใดที่ผู้นั้นได้ปฏิบัติไปตามอํานาจและหน้าที่และการรับเงินเดือนหรือxxxxx xxxxxอื่นใดที่จะได้รับหรือมี xxxxxจะได้รับจากทางราชการxxxxxxคําสั่งให้ออกนั้นและถ้าการเข้ารับราชการเป็นไปโดยxxxxxxแล้วให้xxxxxxเป็น การสั่งให้ออกเพื่อรับบําเหน็จบํานาญเหตุxxxxxตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙ / ๒๕๕๐ ลว ๒๔ กันยายน ๒๕๕๐
ข้อ ๑๓๖ การบรรจุและแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลให้ดํารงตําแหน่งที่คณะกรรมการพนักงาน ส่วนตําบล ( ก.อบต.จังหวัด ) ยังมิได้กําหนดตําแหน่งจะกระทํามิได้
๔๓
ข้อ ๑๓๗ การบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นพนักงานส่วนตําบลและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใน องค์การบริหารส่วนตําบล ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นผู้มีอํานาจสั่งบรรจุและแต่งตั้งโดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล ( ก.อบต.จังหวัด )
ข้อ ๑๓๘ ผู้ใดได้รับการบรรจุเข้ารับราชการเป็นพนักงานส่วนตําบล ให้มีการทดลองปฏิบัติ หน้าที่ราชการของพนักงานส่วนตําบล โดยให้มีระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๖ เดือน แต่ไม่เกิน ๙ เดือน และการ ประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการต้องดําเนินการในรูปคณะกรรมการ ในกรณีxxxxxxผ่านการประเมิน และมีความเห็นว่าไม่ควรให้รับราชการต่อไป ก็ให้สั่งให้ผู้นั้นออกจากราชการได้โดยได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด)
ผู้ใดถูกสั่งให้ออกจากราชการตามวรรคหนึ่ง ให้ถือเสมือนว่าผู้นั้นไม่เคยเป็นพนักงานส่วนตําบล แต่ทั้งนี้ไม่xxxxxxxxxxxxxxxxxxxปฏิบัติหน้าที่ราชการ หรือการรับเงินเดือนหรือxxxxxxxxxxอื่นใดxxxxxxรับ จากราชการในระหว่างที่ผู้นั้นอยู่ระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ
ข้อ ๑๓๙ ให้ผู้ได้รับการบรรจุจากผู้สอบแข่งขันได้หรือผู้ได้รับคัดเลือกในกรณีที่มีเหตุพิเศษxxxxxx จําเป็นต้องสอบแข่งขันเข้ารับราชการและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลและข้าราชการประเภท อื่น หรือพนักงานส่วนท้องถิ่นอื่นที่อยู่ในระหว่างทดลองปฏิบัติงานซึ่งโอนมาบรรจุและแต่งตั้งเป็นพนักงานส่วน ตําบลต้องทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการในตําแหน่งxxxxxxรับแต่งตั้ง
ข้อ ๑๔๐ ภายใต้บังคับข้อ ๑๔๙ (๒) ให้ผู้ได้รับบรรจุและแต่งตั้งเป็นพนักงานส่วนตําบลตามข้อ
๑๓๙ ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการในตําแหน่งxxxxxxรับแต่งตั้งเป็นเวลาหกเดือนนับแต่วันเข้าปฏิบัติหน้าที่เป็น ต้นไป
ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาดําเนินการในเรื่องการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการอย่างจริงจังมีความ xxxxxxxxxxและได้มาตรฐานในอันที่จะให้การทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการเป็นกระบวนการเลือกสรรบุคคลเข้า รับราชการอย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ ๑๔๑ ให้องค์การบริหารส่วนตําบลกําหนดรายการประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าที่ ราชการได้ตามความเหมาะสม แต่อย่างน้อยต้องประกอบด้วยความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ ความ xxxxxx ในการปฏิบัติงาน ปริมาณงาน คุณภาพของงาน ความxxxxxxx ความรับผิดชอบ ความ xxxxxxในการ ปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น ความสนใจที่จะพัฒนาตนเอง คุณธรรม การปฏิบัติตนตามกรอบของจรรยาบรรณและ การรักษาxxxxx
วิธีการประเมินและมาตรฐานหรือเกณฑ์การประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เป็นไป ตามที่องค์การบริหารส่วนตําบลกําหนดแล้วรายงานให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด) ทราบ
ข้อ ๑๔๒ ให้ผู้บังคับบัญชาหรือผู้xxxxxxรับมอบหมายเป็นผู้มีหน้าที่ดูแลการทดลองปฏิบัติหน้าที่
ราชการ
ให้ผู้มีหน้าที่ดูแลการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ มอบหมายงานให้ผู้ทดลองปฏิบัติหน้าที่
ราชการปฏิบัติและแจ้งให้ผู้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการทราบอย่างชัดเจนเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติxxx xxx
๔๔ ประพฤติตนรายการประเมินวิธีการประเมินและมาตรฐานหรือเกณฑ์การประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าที่ ราชการ
ข้อ ๑๔๓ ให้ผู้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการทํารายงานการปฏิบัติหน้าที่ราชการของตนเสนอผู้มี หน้าที่ดูแลการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการตามแบบและวิธีการที่องค์การบริหารส่วนตําบลกําหนด
ข้อ ๑๔๔ ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการทดลองปฏิบัติ หน้าที่ราชการประกอบด้วยประธานกรรมการและกรรมการอีกจํานวนสองคน ซึ่งอย่างน้อยต้องแต่งตั้งจากผู้มี หน้าที่ดูแล การทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการหนึ่งคนพนักงานส่วนตําบลผู้เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของผู้ ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการอีกหนึ่งคน
ข้อ ๑๔๕ ให้คณะกรรมการทําหน้าที่ประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการของผู้ทดลอง ปฏิบัติหน้าที่ราชการตามรายการประเมิน วิธีการประเมิน และมาตรฐานหรือเกณฑ์การประเมินที่กําหนดไว้ ในข้อ ๑๔๑ ทําการประเมินสองครั้ง โดยประเมินครั้งแรกเมื่อทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการมาแล้วเป็นเวลา สามเดือน และประเมินครั้งที่สองเมื่อทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการครบหกเดือน เว้นแต่คณะกรรมการxxxxxx ประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการในแต่ละครั้งได้อย่างชัดแจ้ง เนื่องจากผู้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ ราชการxxxxxคลอดบุตร ลาปุวยซึ่งจําเป็นต้องรักษาตัวเป็นเวลานานลาปุวยเพราะประสบอันตรายในขณะ ปฏิบัติราชการตามหน้าที่หรือในขณะเดินทางไปหรือกลับจากปฏิบัติราชการตามหน้าที่ หรือลาเข้ารับการ ตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพลคณะกรรม การจะประเมินผลรวมเมื่อทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการครบหก เดือนแล้วก็ได้
ในกรณีที่มีการขยายระยะเวลาทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการตามข้อ๑๔๙ (๒) เมื่อครบกําหนด ระยะเวลาที่ขยายแล้วให้ประเมินอีกครั้งหนึ่ง
ข้อ ๑๔๖ ผลการประเมินของคณะกรรมการให้เป็นไปตามเสียงข้างมากและในกรณีมีกรรมการxxx xxxเห็นด้วยอาจทําความเห็นแย้งรวมไว้ก็ได้
ข้อ ๑๔๗ เมื่อคณะกรรมการได้ดําเนินการตามข้อ ๑๔๕แล้ว ให้ประธานกรรมการประเมิน ผล ฯ รายงานผลการประเมินต่อนายกองค์การบริหารส่วนตําบล ตามแบบรายงานท้ายประกาศนี้
(๑) ในกรณีที่ผลการประเมินไม่ต่ํากว่าเกณฑ์หรือมาตรฐานที่กําหนดไว้ในข้อ ๑๔๑ ให้รายงาน เมื่อทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการครบหกเดือนแล้ว หรือเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาที่ขยายตาม ข้อ ๑๔๙ (๒) แล้ว
(๒) ในกรณีที่ผลการประเมินต่ํากว่าเกณฑ์หรือมาตรฐานที่กําหนดไว้ในข้อ ๑๔๑ ให้รายงาน เมื่อเสร็จสิ้นการประเมินแต่ละครั้ง
ข้อ ๑๔๘ เมื่อนายกองค์การบริหารส่วนตําบลได้รับรายงานตามข้อ ๑๔๗ (๑) แล้ว ให้ประกาศ ว่าผู้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการนั้นเป็นผู้ผ่านการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการพร้อมแจ้งให้ผู้นั้นทราบ และ รายงานตามแบบรายงานท้ายประกาศนี้ ไปยังคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) ภายในห้า วันทําการนับแต่วันประกาศ
๔๕
ข้อ ๑๔๙ เมื่อนายกองค์การบริหารส่วนตําบลได้รับรายงานตามข้อ๑๔๗(๒) ให้ดําเนินการดังนี้ (๑) ในกรณีที่เห็นควรให้ผู้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการออกจากราชการให้นายกองค์การ
บริหารส่วนตําบลแสดงความเห็นในแบบรายงานตามข้อ ๑๔๗ และมีคําสั่งให้ผู้นั้นออกจากราชการโดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) ภายในห้าวันทําการนับแต่xxxxxxได้รับรายงาน พร้อมกับแจ้งให้ผู้นั้นทราบ และส่งสําเนาคําสั่งให้ออกไปยังคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล ( ก.อบต. จังหวัด ) ภายในห้าวันทําการนับแต่xxxxxxมีคําสั่ง
(๒) ในกรณีที่เห็นควรให้ผู้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการต่อไปจน ครบหกเดือน หรือควรขยายเวลาทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการต่อไปอีกระยะหนึ่งเป็นเวลาสามเดือนแล้วแต่ กรณี ให้แสดงความเห็นในแบบรายงาน แล้วแจ้งให้ผู้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ ผู้มีหน้าที่ดูแลการทดลอง ปฏิบัติหน้าที่ราชการ และคณะกรรมการทราบ เพื่อทําการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการและประเมินผลการ ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการต่อไป
ในกรณีที่ผู้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการได้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการจนสิ้นสุดระยะเวลาที่ขยาย แล้ว และนายกองค์การบริหารส่วนตําบลได้รับรายงานว่าผลการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการของผู้นั้นยังต่ํา กว่าเกณฑ์หรือมาตรฐานอีก ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลมีคําสั่งให้ผู้นั้นออกจากราชการ โดยนําความ ใน (๑) มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ข้อ ๑๕๐ การนับเวลาทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการเป็นเดือนตามประกาศนี้ ให้นับxxxxxxผู้ทดลอง ปฏิบัติหน้าที่ราชการxxxxxxมาปฏิบัติงานรวมเป็นเวลาทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วย และให้นับวันเข้าปฏิบัติ หน้าที่ราชการวันแรกเป็นวันเริ่มต้น และนับวันก่อนหน้าจะถึงxxxxxxตรงกับวันเริ่มต้นนั้นของเดือนสุดท้ายแห่ง ระยะเวลาเป็นวันสิ้นสุดระยะเวลาถ้าไม่มีวันตรงกันในเดือนสุดท้าย ให้ถือเอาวันสุดท้ายของเดือนนั้นเป็นวัน สิ้นสุดระยะเวลา
ข้อ ๑๕๑ พนักงานส่วนตําบลซึ่งอยู่ในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ ผู้ใดได้รับแต่งตั้งให้ ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นตามวุฒิ ย้าย โอนหรือออกจากราชการไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วย การรับราชการทหารแล้วได้รับบรรจุกลับเข้ารับราชการเป็นพนักงานส่วนตําบลอีก ให้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ ราชการและนับเวลาทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ ดังนี้
(๑) กรณีได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับสูงขึ้นในสายงานเดิมตามxxxxxxxได้รับxxxxxขึ้นหรือ สูงขึ้น ให้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการและนับเวลาทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการต่อเนื่องไปกับตําแหน่งเดิม ถ้า ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับสูงขึ้นในต่างสายงานให้เริ่มทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการและนับเวลา ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการใหม่
(๒) กรณีย้ายไปดํารงตําแหน่งในสายงานเดิม ให้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการและนับเวลาทดลอง ปฏิบัติหน้าที่ราชการต่อเนื่องกับตําแหน่งเดิม ถ้าย้ายไปดํารงตําแหน่งในต่างสายงานให้เริ่มทดลองปฏิบัติหน้าที่ ราชการและนับเวลาทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการใหม่
(๓) กรณีโอนมาดํารงตําแหน่งใหม่ ให้เริ่มทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการและนับเวลาทดลองปฏิบัติ หน้าที่ราชการใหม่ เว้นแต่กรณีโอนโดยบทบัญญัติของกฎหมายให้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการและนับเวลาทดลอง ปฏิบัติหน้าที่ราชการต่อเนื่องกับตําแหน่งเดิม
๔๖
(๔) กรณีออกจากราชการไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหารเมื่อ ได้รับบรรจุและแต่งตั้งเป็นพนักงานส่วนตําบล ไม่ว่าในสายงานเดิมหรือต่างสายงาน ให้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ ราชการและนับเวลาทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการต่อเนื่องกับตําแหน่งเดิม
ข้อ ๑๕๒ พนักงานส่วนตําบลผู้ใดได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใดแล้ว หากภายหลังปรากฏว่า เป็นผู้มีคุณสมบัติไม่ตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งนั้น ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลแต่งตั้งผู้ นั้นให้กลับไปดํารงตําแหน่งเดิมหรือตําแหน่งอื่นในระดับเดียวกับตําแหน่งxxxxxxxผู้นั้นมีคุณสมบัติตรงตาม คุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งโดยxxxx โดยความเห็นชอบของคณะ กรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต. จังหวัด) แต่ทั้งนี้ ไม่xxxxxxxxxxxxxxxxxxxใดที่ผู้นั้นได้ปฏิบัติไปตามอํานาจหน้าที่และการรับเงินเดือนหรือ xxxxxxxxxxอื่นใดxxxxxxรับ หรือมีxxxxxจะได้รับจากทางราชการในระหว่างxxxxxxรับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งที่ผู้นั้น มีคุณสมบัติไม่ตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่ง
ผู้xxxxxxรับแต่งตั้งให้กลับไปดํารงตําแหน่งเดิม หรือตําแหน่งอื่นตามวรรคหนึ่ง ให้รับเงินเดือนในขั้น ที่พึงจะได้รับตามสถานภาพเดิม และให้xxxxxxผู้นั้นไม่มีสถานภาพอย่างใดในการxxxxxxรับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่ง ที่ตนมีคุณสมบัติไม่ตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งนั้น
❖ข้อ ๑๕๓ ในกรณีที่องค์การบริหารส่วนตําบลมีตําแหน่งบริหาร และสายงานผู้บริหาร สถานศึกษาว่างลงหรือตําแหน่งว่างเนื่องจากการกําหนดขึ้นใหม่ ให้องค์การบริหารส่วนตําบลรายงานตําแหน่ง ว่างนั้นให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลทราบภายใน ๗ วัน นับตั้งแต่xxxxxxมีตําแหน่งว่างและให้องค์การ บริหารส่วนตําบลดําเนินการสรรหาบุคคล เพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งที่ว่างภายใน ๖๐ วันนับแต่xxxxxx ตําแหน่งนั้นว่างลง
ในการดําเนินการสรรหาบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งผู้บริหารและสายงานผู้บริหารสถานศึกษา ที่ว่างตามวรรคหนึ่ง ให้องค์การบริหารส่วนตําบลพิจารณาดําเนินการวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีดังต่อไปนี้
(๑) รับโอนพนักงานส่วนตําบลตําแหน่ง และระดับเดียวกับตําแหน่งที่ว่างจากองค์การบริหาร
ส่วนตําบลอื่นหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นประเภทอื่นที่อยู่ในสายงานนักบริหารในตําแหน่งและระดับเดียวกัน (๒) สอบคัดเลือกหรือการคัดเลือกเพื่อเลื่อนระดับสูงขึ้นแทนตําแหน่งที่ว่างตาม ข้อ ๘๖ หรือ
ข้อ ๑๐๒ แล้วแต่กรณี
(๓) คัดเลือกเพื่อรับโอนข้าราชการประเภทอื่นหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นประเภทอื่น ซึ่งดํารง ตํา แหน่งที่มีลักษณะงานเทียบเคียงได้กับตําแหน่งบริหารที่จะรับ โอนโดยมีหนังสือรับรองจากส่วนราชการต้น สังกัดและผู้จะขอให้รับโอนจะต้องมีระดับตําแหน่งไม่ต่ํากว่าตําแหน่งที่จะแต่งตั้งนั้นตามข้อ ๑๗๙ ทั้งนี้ ต้อง เปิดโอกาสให้พนักงานส่วนตําบลตําแหน่งและระดับเดียวกับตําแหน่งที่ว่างจากองค์การบริหารส่วนตําบลอื่นที่ อยู่ในสายงานนักบริหารในตําแหน่งและระดับเดียวกันเข้ารับการคัดเลือกด้วย
(๔) รายงานคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) หรือรายงานคณะ กรรมการ กลางพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.) แล้วแต่กรณี เพื่อขอใช้บัญชีในตําแหน่งที่อยู่ในประเภทและระดับเดียวกัน โดยไม่ต้องเรียงลําดับxxx
00
กรณีที่องค์การบริหารส่วนตําบลมีตําแหน่งบริหาร และสายงานผู้บริหารสถานศึกษาว่างลง หรือ ตําแหน่งว่างเนื่องจากการกําหนดขึ้นใหม่ว่างลงเกินกว่า ๖๐ วัน โดยที่องค์การบริหารส่วนตําบลมิได้ ดําเนินการสรรหาบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งผู้บริหารและสายงานผู้บริหารสถานศึกษาที่ว่างตามวรรค สองโดยไม่มีเหตุผลอันxxxxxหรือกรณีที่องค์การบริหารส่วนตําบลได้ดําเนินการตามวรรคสองแล้วแต่ยังไม่ xxxxxxสรรหาผู้มาดํารงตําแหน่งได้ ภายใน ๑๕๐ วันนับแต่xxxxxxตําแหน่งว่างหรือตําแหน่งว่างเนื่องจากการ กําหนดตําแหน่งขึ้นใหม่ ให้xxxxxxการดําเนินการที่แล้วมาเป็นอันยกเลิกและให้คณะ กรรมการพนักงานส่วน ตําบล(ก.อบต.จังหวัด) หรือคณะ กรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) แล้วแต่กรณี ส่งบัญชีผู้สอบ คัดเลือก หรือคัดเลือกได้ของจังหวัด หรือของกรมxxxxxxxxการxxxxxxxxxxxxxxให้องค์การบริหารส่วนตําบล ดําเนินการบรรจุแทนตําแหน่งที่ว่างภายใน ๓๐ วัน นับแต่xxxxxxได้รับหนังสือส่งตัวผู้สอบคัดเลือกหรือคัดเลือก ได้นั้นให้ผู้บริหารxxxxxxxxประเมินผลการปฏิบัติงานและความประพฤติในรอบ ๖ เดือนของพนัก งานส่วน ตําบลที่คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด)หรือคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล(ก. อบต.) ส่งมาบรรจุแทนตําแหน่งที่ว่างหากผลการประเมินปรากฏว่าการปฏิบัติราชการไม่มีประสิทธิภาพหรือมี ความประพฤติไม่เหมาะสม ให้รายงานคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด) พิจารณาดําเนินการ ตามข้อ ๑๗๖
ในกรณีที่พนักงานส่วนตําบลถูกดําเนินการตามวรรคสี่ตั้งแต่ ๒ ครั้งติดต่อกันโดยเหตุ เกิดจาก การปฏิบัติราชการไม่มีประสิทธิภาพหรือมีความประพฤติไม่เหมาะสม ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก. อบต.จังหวัด) พิจารณาเรียกตัวพนักงานส่วนตําบลรายดังกล่าวเข้ารับการฝึกอบรมเพื่อฟื้นฟูสมรรถนะการ ปฏิบัติงานตามที่คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.) กําหนด
กรณีนายกองค์การบริหารส่วนตําบลไม่ดําเนินการบรรจุแต่งตั้งตามวรรคสาม โดยไม่มีเหตุผลอัน xxxxxให้xxxxxxxxxxxxxxปฏิบัติตามหรือปฏิบัติการไม่ชอบด้วยอํานาจหน้าที่ตามกฎหมายให้คณะกรรมการ พนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด)แจ้งผู้กํากับดูแลพิจารณาดําเนินการตามอํานาจหน้าที่ต่อไป
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๐ ลว ๒๔ กันยายน ๒๕๕๐
ในการดําเนินการสรรหาบุคคล เพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งผู้บริหารที่ว่างตามวรรคหนึ่งหาก คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) พิจารณาเห็นว่ามีเหตุผล ความจําเป็นและเพื่อประโยชน์ ต่อราชการขององค์การบริหารส่วนตําบล จะดําเนินการสรรหาบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งที่ว่าง โดยใช้ วิธีการใดวิธีการหนึ่งหรือหลายวิธี ซึ่งไม่เป็นไปตามลําดับตามที่กําหนดในวรรคสองก็ได้ โดยให้คณะกรรมการ พนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) รายงานคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) เพื่อให้ คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) เห็นชอบก่อน
กรณีที่คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) ไม่xxxxxxดําเนินการสรรหาบุคคล เพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งที่ว่างให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กําหนดในวรรคหนึ่ง ให้คณะ กรรมการ พนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) ร้องขอคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.)ภายใน ๑๕ วัน นับแต่xxxxxxครบกําหนดเวลา ๙๐ วัน นับแต่xxxxxxตําแหน่งว่างเพื่อพิจารณา และเมื่อมีมติเป็นประการใดให้ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล ( ก.อบต.จังหวัด ) และนายกองค์การบริหารส่วนตําบลที่เกี่ยวข้อง ดําเนินการให้เป็นไปตามมติของคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) นั้น
๔๘
หมวด ๖ การย้าย
ข้อ ๑๕๔ การย้ายพนักงานส่วนตําบลผู้ดํารงตําแหน่งหนึ่ง ไปแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งอีกตําแหน่ง
หนึ่งในองค์การบริหารส่วนตําบลเดียวกัน ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นผู้สั่งแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่ง ในระดับเดียวกัน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) และพนักงาน ส่วนตําบลผู้นั้นต้องมีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งนั้น ตามที่คณะกรรมการกลาง พนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) กําหนดไว้ในมาตรฐานกําหนดตําแหน่ง
ข้อ ๑๕๕ การย้ายพนักงานส่วนตําบลให้พิจารณาถึงเหตุผลความจําเป็นเพื่อประโยชน์ของทาง ราชการ การพัฒนาพนักงานส่วนตําบลเป็นหลัก และความจําเป็นอื่นๆ ที่ต้องใช้ในการปฏิบัติงานของราชการ ประกอบด้วย
ข้อ ๑๕๖ การย้ายพนักงานส่วนตําบลผู้ดํารงตําแหน่งหนึ่ง ไปแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในสายงาน เดิม ให้สั่งย้ายไปแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับเดิม และให้ได้รับเงินเดือนในขั้นเดิม ทั้งนี้ ให้พิจารณาถึง เหตุผลและความจําเป็นตามข้อ ๑๕๕
ข้อ ๑๕๗ การย้ายพนักงานส่วนตําบลไปดํารงตําแหน่งใด ต้องมีคุณสมบัติเฉพาะสําหรับ ตําแหน่งนั้น ตามที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) กําหนดไว้ในมาตรฐานกําหนดตําแหน่ง กรณีxxxxxxทราบแน่ชัดว่าxxxxxxxศึกษาใดเป็นคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งxxxxxxงานที่จะแต่งตั้งใหม่ หรือไม่ ให้หารือคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต) ทุกกรณี
ข้อ ๑๕๘ การย้ายพนักงานส่วนตําบลผู้ดํารงตําแหน่งใดไปแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งอื่นในสายงาน ผู้ปฏิบัติ ให้พนักงานส่วนตําบลที่จะขอแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในสายงานอื่นจะต้องดํารงตําแหน่งในระดับ เดียวกันและต้องมีคุณวุฒิตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งที่จะแต่งตั้งใหม่ โดยไม่จําเป็นต้องเป็นผู้ได้ ปฏิบัติราชการเกี่ยวกับงานนั้นหรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องxxxxxx แต่ให้คํานึงถึงxxxxxของพนักงานส่วนตําบลในการ เลื่อนระดับในตําแหน่งสําหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์(เลื่อนไหล) ด้วย ซึ่งอาจทําให้พนักงานส่วนตําบลมี ระยะเวลาในการดํารงตําแหน่งในสายงานไม่ครบตามหลักเกณฑ์การเลื่อนระดับดังกล่าวได้โดยมีหลักเกณฑ์ดังนี้
(๑) การย้ายพนักงานส่วนตําบลไปดํารงตําแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับเดียวกันต้อง แต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับเดียวกันและต้องมีคุณวุฒิตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่ง
(๒) การย้ายพนักงานส่วนตําบลไปดํารงตําแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นต่างระดับกัน และมิใช่ เป็นการแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๓ ให้ดําเนินการดังนี้
(๑)ให้พนักงานส่วนตําบลผู้xxxxxxxจะขอรับการแต่งตั้งเสนอคําร้องขอย้ายไปดํารง ตําแหน่งในสายงานอื่น
(๒) ให้พิจารณาแต่งตั้งจากพนักงานส่วนตําบลขององค์การบริหารส่วนตําบลนั้นก่อนเป็นลําดับ แรกหากไม่มีผู้xxxxxxxจะขอย้ายจึงพิจารณาจากพนักงานส่วนตําบลขององค์การบริหารส่วนตําบลอื่นเป็น ลําดับถัดไป
๔๙
(ก) ให้ผู้บังคับบัญชาของผู้ขอรับการแต่งตั้ง ได้แก่ผู้อํานวยการกองหรือเทียบเท่าปลัด องค์การบริหารส่วนตําบลและนายกองค์การบริหารส่วนตําบลประเมินบุคคลเพื่อความเหมาะสมกับตําแหน่ง xxxxxxงานที่จะแต่งตั้งใหม่ตามแบบประเมิน
(ข) ผู้ที่จะได้รับการแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในสายงานอื่น จะต้องได้คะแนนจากผล การประเมินของผู้บังคับบัญชาแต่ละคนไม่ต่ํากว่าร้อยละ ๖๐
(ค) กรณีมีผู้ขอรับการแต่งตั้งเกินกว่าจํานวนตําแหน่งว่างให้นําคะแนนผลการประเมิน ของผู้บังคับบัญชาทุกคนรวมกันแล้วจัดทําบัญชีเรียงตามลําดับคะแนนรวมเสนอคณะกรรมการพนักงานส่วน ตําบล(ก.อบต.จังหวัด ) หากคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) เห็นควรกําหนดรายการ ประเมินเพิ่มเติม xxxx การสัมภาษณ์ การทดสอบก็อาจพิจารณากําหนดเพิ่มเติมได้ กรณีมีคะแนนเท่ากันให้ จัดเรียงตามลําดับอาวุโสในราชการ บัญชีดังกล่าวให้มีอายุ ๑ ปีนับแต่xxxxxxคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล จังหวัดเห็นชอบการแต่งตั้งให้แต่งตั้งเรียงลําดับที่ในบัญชีดังกล่าว
(ง) การแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลให้ดํารงตําแหน่งในสายงานอื่นโดยการโอน ให้ องค์การบริหารส่วนตําบลต้นสังกัดของผู้ขอโอนเป็นผู้ประเมินแล้วส่งผลการประเมินให้องค์การบริหารส่วน ตําบลที่จะรับโอนดําเนินการต่อไป
(๕) การย้ายพนักงานส่วนตําบลให้ดํารงตําแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๓ ขึ้นไป ให้ดําเนินการโดยวิธีการสอบคัดเลือก หลักเกณฑ์และวิธีการสอบให้เป็นไปตาม ข้อ ๘๖ ถึง ข้อ ๑๐๑ ยกเว้น กรณีดังต่อไปนี้
(ก) การย้ายผู้ดํารงตําแหน่งหรือเคยดํารงตําแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๓ ขึ้น ไปหรือสายงานนักบริหารงาน ให้ดํารงตําแหน่งในสายงานอื่นซึ่งเป็นสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๓ ขึ้นไป จะต้องดํารงตําแหน่งในระดับเดียวกัน และมีคุณวุฒิตรงตามที่กําหนดไว้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่ง xxxxxxงานที่จะแต่งตั้งใหม่
(ข) การย้ายพนักงานส่วนตําบลที่มีxxxxxxxxxxคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) กําหนดไว้ตาม ข้อ ๗๙
(ค) การย้ายพนักงานส่วนตําบลxxxxxxรับคุณวุฒิxxxxxขึ้นและไม่เคยดํารงตําแหน่งในสาย งานที่เริ่มต้นจากระดับ ๓ ผู้นั้นต้องเป็นผู้สอบแข่งขันได้ในตําแหน่งที่อยู่ในสายงานที่จะย้าย และบัญชีการ สอบแข่งขันได้ยังไม่ถูกยกเลิก
(๖) การย้ายพนักงานส่วนตําบลไปแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งที่กําหนดเป็นตําแหน่งผู้ปฏิบัติ งานที่มีประสบการณ์ (เลื่อนไหล) พนักงานส่วนตําบลผู้นั้นจะต้องผ่านการประเมินบุคคลและการปฏิบัติงาน ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการเลื่อนและแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบล
ข้อ ๑๕๙ การย้ายพนักงานส่วนตําบลผู้ดํารงตําแหน่งใด ให้ดํารงตําแหน่งในสายงานผู้บริหารให้ กระทําได้ดังนี้
(๑) การย้ายพนักงานส่วนตําบลผู้ดํารงตําแหน่งในสายผู้บริหารไปดํารงตําแหน่งในสาย ผู้บริหารตําแหน่งอื่น จะต้องย้ายไปดํารงตําแหน่งในระดับเดียวกับตําแหน่งxxxxxxงานที่จะแต่งตั้งใหม่และ ต้องมีคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งxxxxxxงานที่จะแต่งตั้งใหม่
๕๐
(๒) การแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลผู้ดํารงตําแหน่งในสายผู้ปฏิบัติงานไปดํารงตําแหน่งใน สายผู้บริหารให้ดําเนินการโดยวิธีการณ์สอบคัดเลือกตามข้อ ๘๖ ถึงข้อ ๑๐๑
ข้อ ๑๖๐ การย้ายพนักงานส่วนตําบลผู้ดํารงตําแหน่งผู้บริหารขององค์การบริหารส่วนตําบลไป แต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในต่างสายงาน ผู้นั้นจะต้องดํารงตําแหน่งในระดับเดียวกับตําแหน่งxxxxxxงานที่จะ แต่งตั้งใหม่ และต้องมีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งของตําแหน่งสายงานที่จะแต่งตั้งใหม่
ข้อ ๑๖๑ การย้ายพนักงานส่วนตําบลผู้ดํารงตําแหน่งใดไปแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในสายงานที่ ต่ํากว่าตําแหน่งสายงานเดิม หรือมีระดับต่ํากว่าเดิม หรือย้ายพนักงานส่วนตําบลในตําแหน่งสายผู้บริหารไป แต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งสายผู้ปฏิบัติงาน ให้กระทําได้ต่อเมื่อพนักงานส่วนตําบลผู้นั้นสมัครใจ และได้รับความ เห็นชอบจากคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด)
ในการย้ายพนักงานส่วนตําบลตามวรรคหนึ่งคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) ต้องพิจารณาโดยคํานึงถึงเหตุผลความจําเป็นและประโยชน์ที่ทางราชการจะได้รับ โดยให้ได้รับเงินเดือนใน อันดับเงินเดือนสําหรับตําแหน่งxxxxxxรับแต่งตั้งในขั้นที่เทียบได้ตรงกันกับขั้นเงินเดือนของอันดับเดิมตามตาราง เทียบขั้นเงินเดือนแต่ละอันดับที่พนักงานส่วนตําบลจะได้รับ เมื่อได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งท้ายประกาศนี้ แต่ถ้าผู้นั้นได้รับเงินเดือนสูงกว่าขั้นสูงของอันดับเงินเดือนสําหรับตําแหน่งxxxxxxรับแต่งตั้งอยู่แล้วให้ได้รับ เงินเดือนในขั้นสูงของอันดับเงินเดือนสําหรับตําแหน่งxxxxxxรับแต่งตั้ง
ข้อ ๑๖๒ ในการสั่งย้ายพนักงานส่วนตําบลไปแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในต่างสายงาน ให้คํานึงถึง โอกาสในความxxxxxxxxของพนักงานส่วนตําบลในการเลื่อนระดับสูงขึ้นในตําแหน่งที่กําหนดสําหรับผู้ปฏิบัติงานที่ม ประสบการณด์ ้วย ซึ่งอาจทําให้พนักงานส่วนตําบลผู้นั้นมีระยะเวลาในการดํารงตําแหน่งในสายงานที่แต่งตั้ง ใหม่ไม่ครบตามหลักเกณฑ์การเลื่อนระดับดังกล่าวได้
ข้อ ๑๖๓ เมื่อมีคําสั่งย้ายพนักงานส่วนตําบลไปแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใดแล้ว ให้ผู้บังคับ บัญชา แจ้งหน้าที่ และความรับผิดชอบของตําแหน่งดังกล่าว ให้พนักงานส่วนตําบลผู้นั้นทราบในxxxxxxไปรายงาน ตัวรับมอบหน้าที่ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติงานในตําแหน่งนั้นต่อไป
หมวด ๗ การโอน
❖ ข้อ ๑๖๔ การโอนพนักงานส่วนตําบลจากองค์การบริหารส่วนตําบลหนึ่ง ไปแต่งตั้งให้ดํารง ตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลในองค์การบริหารส่วนตําบลอีกแห่งหนึ่งให้โอนและแต่งตั้งจากพนักงานส่วนตําบล ในกรณีใดกรณีหนึ่งดังนี้
(๑) ผู้สอบแข่งขันได้ หรือผู้สอบคัดเลือกได้ในตําแหน่งที่จะแต่งตั้งนั้นหรือผู้ได้รับการคัดเลือก เพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นนั้น ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการกลางพนักงาน ส่วนตําบล (ก.อบต.) กําหนด
๕๑
(๒) ผู้ขอโอนตําแหน่งบริหารและสายงานผู้บริหารสถานศึกษาภายใน ๖๐ วันนับแต่xxxxxx ตําแหน่งว่าง ตามข้อ ๑๗๑
(๓) ผู้ขอโอนโดยการสับเปลี่ยนตําแหน่งในตําแหน่งเดียวกัน และระดับเดียวกันระหว่าง
องค์การบริหารส่วนตําบลหรือผู้ขอโอนมาแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งปฏิบัติงานในองค์การบริหารส่วนตําบลตาม ข้อ ๑๗๕
(๔) ผู้ที่คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล ได้มีมติให้โอนจากองค์การบริหารส่วนตําบลหนึ่งไป ดํารงตําแหน่งในอีกองค์การบริหารส่วนตําบลหนึ่งในจังหวัดเดียวกันตามข้อ ๑๗๕ หรือข้อ ๑๗๖
(๕) ผู้ที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล ได้มีมติให้โอนจากองค์การบริหารส่วนตําบล หนึ่งไปดํารงตําแหน่งในอีกองค์การบริหารส่วนตําบลหนึ่ง ตามข้อ ๑๕๓ หรือ ข้อ ๑๗๖ วรรคสาม
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/๒๕๕๐ ลว ๒๔ กันยายน ๒๕๕๐
ข้อ ๑๖๕ ในการบรรจุและแต่งตั้งผู้สอบแข่งขันได้หรือผู้ได้รับคัดเลือกในกรณีพิเศษxxxxxx จําเป็นต้องสอบแข่งขันเพื่อเข้ารับราชการเป็นพนักงานส่วนตําบลหรือการแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลผู้สอบ คัดเลือกได้หรือผู้ได้รับคัดเลือกให้ดํารงตําแหน่งใดในองค์การบริหารส่วนตําบล และผู้สอบแข่งขันได้ ผู้ได้รับ คัดเลือกกรณีที่มีเหตุพิเศษxxxxxxจําเป็นต้องสอบแข่งขัน ผู้สอบคัดเลือกได้ หรือผู้ได้รับการคัดเลือกนั้นเป็น พนักงานส่วนตําบลในสังกัดองค์การบริหารส่วนตําบลอื่น ให้องค์การบริหารส่วนตําบลที่จะบรรจุหรือแต่งตั้ง นั้น เสนอเรื่องการขอรับโอนพนักงานส่วนตําบลผู้นั้นเพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งที่สอบแข่งขันxxx xxxรับ คัดเลือกในกรณีพิเศษxxxxxxจําเป็นต้องสอบแข่งขันสอบคัดเลือกได้หรือได้รับคัดเลือก แล้วแต่กรณีให้ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด) พิจารณาให้ความเห็นชอบ
ข้อ ๑๖๖ ในการโอนพนักงานส่วนตําบลผู้สอบแข่งขันได้ผู้ได้รับคัดเลือกในกรณีพิเศษxxxxxx จําเป็นต้องสอบแข่งขัน ผู้สอบคัดเลือกได้ หรือผู้ได้รับคัดเลือกให้ดําเนินการดังนี้ กรณีการโอนภายในจังหวัดเดียวกันให้องค์การบริหารส่วนตําบลที่จะรับโอนมีหนังสือแจ้งความ xxxxxxxจะรับโอนให้องค์การบริหารส่วนตําบลของผู้ที่จะโอนทราบ และให้องค์การบริหารส่วนตําบลของผู้ที่ จะโอน เสนอเรื่องการให้โอนพนักงานส่วนตําบลนั้น ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) พิจารณาให้ความเห็นชอบ
กรณีการโอนต่างจังหวัดกันให้องค์การบริหารส่วนตําบลที่จะรับโอนมีหนังสือแจ้งหนังสือแจ้ง ความxxxxxxxจะรับโอนโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) ให้องค์การ บริหารส่วนตําบลของผู้ที่จะโอนทราบและให้องค์การบริหารส่วนตําบลของผู้ที่จะโอน เสนอเรื่องการให้โอน พนักงานส่วนตําบลให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัดพิจารณาให้ความเห็นชอบ
ข้อ ๑๖๗ ในการออกคําสั่งรับโอนพนักงานส่วนตําบลขององค์การบริหารส่วนตําบลที่จะรับโอน และการออกคําสั่งให้พนักงานส่วนตําบลพ้นจากตําแหน่งและหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตําบลสังกัดเดิม ตามมติของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) ของแต่ละแห่ง ตามข้อ ๑๖๕ และข้อ ๑๖๖ ให้องค์การบริหารส่วนตําบลทั้งสองแห่งxxxxxxกัน เพื่อออกคําxxxxxxxรับโอนพนักงานส่วนตําบลและการให้ พนักงานส่วนตําบลพ้นจากตําแหน่งและหน้าที่โดยกําหนดให้มีผลในวันเดียวกัน
๕๒
ข้อ ๑๖๘ ให้พนักงานส่วนตําบลxxxxxxรับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งที่สอบแข่งขันได้ หรือได้รับ คัดเลือกในกรณีที่มีเหตุพิเศษxxxxxxจําเป็นต้องดําเนินการสอบแข่งขัน ได้รับเงินเดือน ดังนี้
(๑) กรณีแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับเดิม และผู้นั้นได้รับเงินเดือนต่ํากว่าหรือเท่าคุณวุฒิ ให้ได้รับเงินเดือนตามวุฒิแต่หากผู้นั้นได้รับเงินเดือนสูงกว่าคุณวุฒิให้ได้รับเงินเดือนในxxxxxxxxxxรับอยู่เดิม
(๒) กรณีแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงกว่าเดิมและผู้นั้นได้รับเงินเดือนต่ํากว่าหรือเท่า คุณวุฒิ ให้ได้รับเงินเดือนตามคุณวุฒิ แต่หากผู้นั้นได้รับเงินเดือนสูงกว่าคุณวุฒิ ให้ได้รับเงินเดือนในอันดับ เงินเดือนสําหรับตําแหน่งที่สอบแข่งขันได้หรือได้รับคัดเลือกในกรณีที่มีเหตุพิเศษไม่จําเป็นต้องดําเนินการ สอบแข่งขันในขั้นที่เทียบได้ตรงกันกับขั้นเงินเดือนของอันดับเดิมตามตารางเทียบขั้นเงินเดือนแต่ละอันดับที่ พนักงานส่วนตําบลจะได้รับเมื่อได้รับการแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งท้ายประกาศนี้
(๓) กรณีแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับต่ํากว่าเดิม และผู้นั้นได้รับเงินเดือนสูงกว่าคุณวุฒิ ให้ได้รับเงินเดือนในอันดับเงินเดือนสําหรับตําแหน่งที่สอบแข่งขันได้ หรือได้รับคัดเลือกในกรณีที่มีเหตุพิเศษxxx xxxจําเป็นต้องดําเนินการสอบแข่งขันในขั้นที่เทียบได้ตรงกันกับขั้นเงินเดือนของอันดับเดิม ตามตารางเทียบ ขั้นเงินเดือนแต่ละอันดับที่พนักงานส่วนตําบลจะได้รับเมื่อได้รับการแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งท้ายประกาศนี้ และหากผู้นั้นได้รับเงินเดือนสูงกว่าขั้นสูงของอันดับเงินเดือนสําหรับตําแหน่งที่สอบแข่งขันได้หรือได้รับ คัดเลือกในกรณีที่มีเหตุพิเศษ xxxxxxจําเป็นต้องดําเนินการสอบแข่งขัน ให้ได้รับเงินเดือนในขั้นสูงของอันดับ เงินเดือนสําหรับตําแหน่งที่สอบแข่งขันได้ หรือได้รับคัดเลือกในกรณีที่มีเหตุพิเศษxxxxxxจําเป็นต้องดําเนินการ สอบแข่งขันนั้น
ข้อ ๑๖๙ ในกรณีที่มีเหตุผลความจําเป็นนายกองค์การบริหารส่วนตําบลจะดําเนินการให้พนัก - งานส่วนตําบลxxxxxxรับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งที่สอบแข่งขันได้ หรือได้รับคัดเลือกในกรณีที่มีเหตุพิเศษxxxxxx จําเป็นต้องดําเนินการสอบแข่งขัน ซึ่งได้รับเงินเดือนสูงกว่าคุณวุฒิ ให้ได้รับเงินเดือนตามคุณวุฒิก็ได้ หากมี การระบุเงื่อนไขการให้ได้รับเงินเดือนตามคุณวุฒิไว้ในประกาศสอบแข่งขันหรือคัดเลือกในกรณีที่มีเหตุพิเศษxxx xxxจําเป็นต้องสอบแข่งขันในครั้งนั้น
ข้อ ๑๗๐ ให้พนักงานส่วนตําบลxxxxxxรับการแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งที่สอบคัดเลือกได้หรือได้ รับ คัดเลือกที่มิใช่กรณีที่มีเหตุพิเศษxxxxxxจําเป็นต้องสอบแข่งขัน ได้รับเงินเดือนตามที่กําหนดในหมวด ๓ ว่าด้วย อัตราเงินเดือนและวิธีการจ่ายเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่นแล้วแต่กรณี
❖ ข้อ ๑๗๑ ภายใต้ข้อบังคับข้อ ๑๕๓ และข้อ ๑๖๔ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาพนักงานส่วนตําบล และให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตําบลเป็นส่วนรวมเมื่อคณะกรรมการ พนักงานส่วนตําบลมีมติให้ความเห็นชอบให้รับโอนพนักงานส่วนตําบลจากองค์การบริหารส่วนตําบลอื่นที่ xxxxxxxขอโอนมาเป็นพนักงานส่วนตําบลในตําแหน่งบริหารและสายงานผู้บริหารสถานศึกษาที่ว่างของ องค์การบริหารส่วนตําบลนั้นโดยนายกองค์การบริหารส่วนตําบลที่เกี่ยวข้องได้ตกลงยินยอมในการโอนนั้นแล้ว และองค์การบริหารส่วนตําบลxxxxxxรับโอนได้เสนอความ เห็นชอบต่อคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลภายใน
๖๐ วันนับแต่xxxxxxตําแหน่งนั้นว่างลง เมื่อคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลได้พิจารณาให้ความเห็นชอบแล้ว
๕๓ ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลออกคําสั่งแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับxxxxxxสูงกว่าเดิมและได้รับเงินเดือน ไม่สูงกว่าเดิม
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๐ ลว ๒๔ กันยายน ๒๕๕๐
ข้อ ๑๗๒ ในการพิจารณาการโอนพนักงานส่วนตําบลตามข้อ ๑๗๑ ให้คณะกรรมการพนักงาน ส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกเพื่อรับโอนจํานวนไม่น้อยกว่า ๗ คนดังนี้
(๑) กรรมการในคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล เป็นประธานกรรมการ (ก.อบต.จังหวัด) ที่คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล
(ก.อบต.จังหวัด) เห็นxxxxx
(๒) นายกขององค์การบริหารส่วนตําบลที่มีตําแหน่งว่างหรือผู้แทน เป็นกรรมการ (๓) ผู้แทนหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องจํานวนไม่น้อยกว่า ๒ คน เป็นกรรมการ (๔) ผู้ทรงคุณวุฒิ ไม่น้อยกว่า ๓ คน เป็นกรรมการ
ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) แต่งตั้งข้าราชการหรือพนักงานส่วนตําบล คนหนึ่งเป็นเลขานุการ
ในกรณีที่นายกองค์การบริหารส่วนตําบลไม่xxxxxxxเป็นกรรมการตาม (๒) ให้แต่งตั้งผู้ที่นายก องค์การบริหารส่วนตําบลมอบหมายเป็นกรรมการแทน
กรรมการคัดเลือกเพื่อพิจารณารับโอนที่แต่งตั้งจากผู้แทนหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องตาม (๓) ให้ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) พิจารณาแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการประจําจังหวัด ซึ่ง เป็นส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานขององค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่นหรือข้าราชการที่มีตําแหน่ง ตั้งแต่ระดับ ๗ ขึ้นไป ในสังกัดส่วนราชการนั้น หรือนายอําเภอในจังหวัดนั้น
กรรมการคัดเลือกเพื่อพิจารณารับโอนที่แต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิตาม (๔) ให้คณะกรรม การ พนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด)พิจารณาแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก. อบต.จังหวัด)หรือผู้ทรง คุณวุฒิอื่นที่มีความรู้ความxxxxxx หรือผู้มีประสบการณ์ในด้านการบริหารงานบุคคล การบริหารการxxxxxx ด้านกฎหมายและงานxxxxxxxxxxxx ซึ่งอาจเป็นข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น หรือบุคคลทั่วไปที่มีความรู้ความxxxxxxดังกล่าว
เลขานุการคณะกรรมการคัดเลือกเพื่อพิจารณารับโอนให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก. อบต.จังหวัด) พิจารณาแต่งตั้งจากข้าราชการพลเรือน หรือพนักงานส่วนตําบลตําแหน่งไม่ต่ํากว่าผู้อํานวยการ กอง หรือหัวหน้าส่วนราชการที่เทียบxxxxxxต่ํากว่านี้
ให้เลขานุการคณะกรรมการคัดเลือกเพื่อพิจารณารับโอน ทําหน้าที่ในงานด้านxxxxxxต่างๆ ของ คณะกรรมการคัดเลือกเพื่อพิจารณารับโอนและงานอื่นๆที่เกี่ยวข้องและxxxxxxรับมอบหมาย
ข้อ ๑๗๓ หลักเกณฑ์การคัดเลือก วิธีการคัดเลือกและการกําหนดคุณสมบัติของผู้ที่มีxxxxxเข้ารับ การคัดเลือกเพื่อโอน ให้นําหลักเกณฑ์และวิธีการที่กําหนดไว้สําหรับการคัดเลือกผู้ดํารงตําแหน่งบริหารเพื่อ แต่งตั้งให้มีระดับสูงขึ้นตามที่กําหนดในหมวด ๔ ว่าด้วยการคัดเลือกมาใช้บังคับโดยอนุโลม
๕๔
ข้อ ๑๗๔ ให้คณะกรรมการคัดเลือกดําเนินการคัดเลือกผู้มีคุณสมบัติตามที่กําหนดและได้แจ้ง ความxxxxxxxสมัครเข้ารับการคัดเลือกตามหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือก แล้วประกาศผลการคัดเลือกเสนอ ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) พิจารณารับโอน
ข้อ ๑๗๕ ภายใต้บังคับข้อ ๑๖๔ เพื่อประโยชน์แก่ราชการองค์การบริหารส่วนตําบล อาจโอน สับเปลี่ยนตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลในตําแหน่งเดียวกันได้ โดยความสมัครใจของพนักงานส่วนตําบลผู้โอน และนายกองค์การบริหารส่วนตําบลขององค์การบริหารส่วนตําบลที่เกี่ยวข้อง ได้ตกลงยินยอมในการโอน ดังกล่าวแล้ว ให้องค์การบริหารส่วนตําบลที่เกี่ยวข้องเสนอขอความเห็นชอบต่อ คณะ กรรมการพนักงานส่วน ตําบล(ก.อบต.จังหวัด) เมื่อคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด) ได้พิจารณาให้ความเห็นชอบ แล้ว ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลออกคําสั่งแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับxxxxxxสูงกว่าเดิม และได้รับ เงินเดือนในxxxxxxxxxxสูงกว่าเดิม
การโอนพนักงานส่วนตําบลอื่น มาแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งผู้ปฏิบัติงานในองค์การบริหารส่วน ตําบล อาจกระทําได้โดยความสมัครใจของผู้จะขอโอนและได้รับความยินยอมจากนายกองค์การบริหารส่วน ตําบลขององค์การบริหารส่วนตําบลที่จะรับโอนนั้น เมื่อคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด)ได้ พิจารณาให้ความเห็นชอบแล้วให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลออกคําสั่งแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับxxx xxxสูงกว่าเดิมและได้รับเงินเดือนในxxxxxxxxxxสูงกว่าเดิม
การโอนพนักงานส่วนตําบลตามวรรคxxxxxดํารงตําแหน่งในระดับต่ํากว่าเดิมอาจกระทําได้ ต่อเมื่อพนักงานส่วนตําบลผู้นั้นสมัครใจ และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก. อบต.จังหวัด) ในการนี้ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) ต้องพิจารณาโดยคํานึงถึงเหตุผล ความจําเป็นและประโยชน์ที่ทางราชการจะได้รับ โดยกําหนดให้ได้รับเงินเดือนในขั้นที่เทียบได้ตรงกันกับขั้น เงินเดือนของอันดับเดิม ตามตารางเปรียบเทียบขั้นเงินเดือนแต่ละอันดับที่พนักงานส่วนตําบลจะได้รับ เมื่อ ได้รับการแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งท้ายประกาศนี้ แต่หากผู้นั้นได้รับเงินเดือนสูงกว่าขั้นสูงของอันดับเงินเดือน สําหรับตําแหน่งนั้น ให้ได้รับเงินเดือนในขั้นสูงของอันดับสําหรับตําแหน่งนั้น
❖กรณีพนักงานส่วนตําบลผู้ใดได้รับอนุญาตจากนายกองค์การบริหารส่วนตําบลให้ไปสอบแข่งขัน สอบคัดเลือก หรือคัดเลือกที่องค์การบริหารส่วนตําบลอื่นหรือองค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่นอื่นแล้ว เมื่อ xxxxxxxจะโอนไปดํารงตําแหน่งที่สอบแข่งขัน สอบคัดเลือก หรือคัดเลือกได้นั้น นายกองค์การบริหารส่วน ตําบลต้องเสนอคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลเพื่อให้ความเห็นชอบให้พ้นตําแหน่ง โดยออกคําสั่งให้พ้น จากตําแหน่งวันเดียวกับคําสั่งขององค์การบริหารส่วนตําบลอื่นหรือองค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่นอื่นที่รับโอน เว้นแต่ผู้นั้นอยู่ระหว่างถูกดําเนินการทางxxxxxอย่างร้ายแรงหรือกรณีอื่นที่คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล เห็นxxxxxให้xxxการโอน
กรณีตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลxxxxxxมีมติเห็นชอบให้นายกองค์การ บริหารส่วนตําบลออกคําสั่งให้พ้นจากตําแหน่งและหน้าที่ทันทีเมื่อได้รับคําสั่งรับโอนจากองค์การบริหารส่วน ตําบลอื่นหรือองค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่นอื่นที่จะรับโอน โดยไม่ต้องขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการ พนักงานส่วนตําบลทุกครั้งแล้วรายงานคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลทราบ
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๑/ ๒๕๔๖ ลว ๑๐ xxxxxx ๒๕๔๘
๕๕
❖ ข้อ ๑๗๖ กรณีความxxxxxต่อคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด ) ว่ามีเหตุผล ความจําเป็น เพื่อให้การบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตําบล และการปฏิบัติราชการของพนักงานส่วน ตําบล เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ หรือแก้ไขปัญหาความxxxxxxxxxxเกิดขึ้นในพื้นที่ระหว่างพนักงานส่วนตําบล ผู้บริหาร ผู้นําชุมชน และไม่xxxxxxดําเนินการโอนพนักงานส่วนตําบลระหว่างองค์การบริหารส่วนตําบล ภายในจังหวัดตามหลักความสมัครใจได้ให้ดําเนินการดังนี้
(๑) ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต .จังหวัด ) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ พิจารณาแก้ไขปัญหาในการโอนย้ายประกอบด้วย
- รองผู้ว่าราชการที่ผู้ว่าราชการมอบหมาย เป็นประธานอนุกรรมการ
- ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) จํานวน ๓ คน อนุกรรมการ
- ผู้แทนนายกองค์การบริหารส่วนตําบลในคณะกรรมการ พนักงานส่วนตําบล ( ก.อบต.จังหวัด ) จํานวน ๓ คน อนุกรรมการ
- ผู้แทนพนักงานส่วนตําบลในคณะกรรมการ
พนักงานส่วนตําบล ( ก.อบต.จังหวัด ) จํานวน ๓ คน อนุกรรมการ
- xxxxxxxxตําบลจังหวัด อนุกรรมการและเลขานุการ คณะอนุกรรมการมีหน้าที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงสอบถามความเห็นของผู้บริหารxxxxxxxxและสรุป ความเห็นตลอดจนแนวทางแก้ไขปัญหาเสนอคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด )ภายใน ๔๕ วันนับแต่xxxxxxรับทราบคําสั่ง
(๒) เมื่อคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต .จังหวัด ) พิจารณาผลตรวจสอบ ข้อเท็จจริงแล้ว หากปรากฏว่ามีเหตุผลความจําเป็นอันxxxxx ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต. จังหวัด) มีมติให้พนักงานส่วนตําบลโอนไปสังกัดองค์การบริหารส่วนตําบลอื่นได้ เมื่อคณะ กรรมการพนักงาน ส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) มีมติเป็นประการใดให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลที่เกี่ยงข้องดําเนินการให้ เป็นไปตามมตินั้นภายใน ๔๕ วัน
(๓) มติคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด)ตาม(๒)ให้ถือเป็นที่สุด
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๔ / ๒๕๕๓ ลว ๒๓ เมษายน ๒๕๕๓
ข้อ ๑๗๗ กรณีมีปัญหาขัดแย้งระหว่างพนักงานส่วนตําบลกับนายกองค์การบริหารส่วนตําบล และไม่xxxxxxดําเนินการโอนพนักงานส่วนตําบลระหว่างองค์การบริหารส่วนตําบลภายในจังหวัดเดียวกันได้ ตามข้อ ๑๗๖ ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) ร้องขอให้คณะกรรมการกลางพนักงาน ส่วนตําบล (ก.อบต.) เพื่อพิจารณา
ในกรณีมีตําแหน่งบริหารขององค์การบริหารส่วนตําบลว่างลงหลายตําแหน่งพร้อมกันในหลาย องค์การบริหารส่วนตําบลและในหลายจังหวัด เพื่อประโยชน์ของราชการขององค์การบริหารส่วนตําบล โดยรวมและเพื่อให้พนักงานส่วนตําบลขององค์การบริหารส่วนตําบลแต่ละแห่งมีโอกาสโอนไปปฏิบัติหน้าที่ ราชการในระหว่างองค์การบริหารส่วนตําบลด้วยกันได้ คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) อาจ พิจารณาและมีมติตามที่คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) และนายกองค์การบริหารส่วน
๕๖ ตําบลร้องขอในการโอนพนักงานส่วนตําบล โดยให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) และ นายกองค์การบริหารส่วนตําบลปฏิบัติตามมตินั้น
ในการพิจารณาของคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต) ตามวรรคหนึ่ง และวรรค
สองให้พิจารณาถึงเหตุผลความจําเป็นประโยชน์ขององค์การบริหารส่วนตําบล เหตุผลความxxxxxxxของนายก องค์การบริหารส่วนตําบลและพนักงานส่วนตําบลที่เกี่ยวข้องแล้วแต่กรณี โดยให้คณะกรรมการพนักงานส่วน ตําบล (ก.อบต.จังหวัด) เป็นผู้รับเรื่องราว และตรวจสอบข้อเท็จจริงดังกล่าวแล้วเสนอให้คณะกรรมการกลาง พนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) พิจารณา
ข้อ ๑๗๘ การโอนพนักงานส่วนตําบล ตามข้อ ๑๖๔ ข้อ ๑๗๑ ข้อ ๑๗๕ ข้อ ๑๗๖ และข้อ ๑๗๗ ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลมีคําสั่งรับโอนและแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลดังกล่าว ให้ดํารงตําแหน่งที่ สอบแข่งขันได้ สอบคัดเลือกได้ หรือได้รับคัดเลือกตามข้อ ๑๖๔หรือตําแหน่งที่คณะ กรรมการพนักงานส่วน ตําบล (ก.อบต.จังหวัด) มีมติให้ความเห็นชอบให้รับโอนและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใด ตามข้อ ๑๗๑ ข้อ ๑๗๕ ข้อ ๑๗๖ และข้อ ๑๗๗ และให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลขององค์การบริหารส่วนตําบลสังกัดเดิมมีคําสั่ง ให้พนักงานส่วนตําบลผู้นั้นพ้นจากตําแหน่ง ทั้งนี้ ให้กําหนดxxxxxxในคําสั่งรับโอนและคําสั่งให้พ้นจากตําแหน่ง ให้มีผลในวันเดียวกัน
การสั่งโอนพนักงานส่วนตําบลและการสั่งให้พนักงานส่วนตําบลพ้นจากตําแหน่งตามวรรคหนึ่ง ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด)
หมวด ๘ การรับโอน
❖ ข้อ ๑๗๙ การรับโอนพนักงานส่วนท้องถิ่นอื่นและการรับโอนข้าราการประเภทอื่น xxxxxxใช้ ข้าราชการการ เมืองหรือข้าราชการวิสามัญ มาบรรจุและแต่งตั้งเป็นพนักงานส่วนตําบลให้รับโอนและแต่งตั้ง เป็นพนักงานส่วนตําบลจากผู้สอบแข่งขันได้ ผู้ได้รับการคัดเลือกในตําแหน่งที่จะแต่งตั้งโดยกรณีพิเศษตามข้อ
๑๑๖(๒) โดยให้ดํารงตําแหน่งที่สอบแข่งขันได้หรือได้รับการคัดเลือกนั้น และให้ได้รับเงินเดือนตามคุณวุฒิ สําหรับตําแหน่งนั้น เว้นแต่ผู้นั้นได้รับเงิน เดือนสูงกว่าคุณวุฒิ ให้ได้รับเงินเดือนเท่ากับเงินเดือนxxxxxxรับอยู่เดิม แต่ถ้า ไม่มีขั้นเงินเดือนเท่ากับเงินเดือนxxxxxxรับอยู่เดิม ให้ได้รับเงินเดือนสําหรับตําแหน่งที่สอบแข่งขันได้ หรือ ได้รับการคัดเลือกในขั้นที่เทียบได้ตรงกันกับขั้นเงินเดือนxxxxxxรับอยู่เดิม ตามหลักเกณฑ์การให้พนักงานส่วน ตําบลได้รับเงินเดือน แต่ถ้าเทียบแล้วผู้นั้นได้รับเงินเดือนสูงกว่าขั้นสูงของอันดับเงินเดือนสําหรับตําแหน่งที่ สอบแข่งขันได้หรือได้รับการคัดเลือก ให้ได้รับเงินเดือนในขั้นที่สูงของอันดับเงิน เดือนสําหรับตําแหน่งนั้น
การรับโอนข้าราชการประเภทอื่นxxxxxxใช้ข้าราชการการเมืองหรือข้าราชการวิสามัญมาบรรจุและ แต่งตั้งเป็นพนักงานส่วนตําบลในตําแหน่งบริหาร และสายงานผู้บริหารสถานศึกษาให้รับโอน และแต่งตั้งเป็น พนักงานส่วนตําบลจากผู้ได้รับการคัดเลือก โดยให้มาดํารงตําแหน่งในระดับxxxxxxสูงกว่าเดิมและให้ได้รับ เงินเดือนในxxxxxxxxxxสูงกว่าเดิม
๕๗
หลักเกณฑ์การคัดเลือกและวิธีการคัดเลือกเพื่อรับโอน ให้นําหลักเกณฑ์และวิธีการที่กําหนดไว้ สําหรับการคัดเลือกผู้ดํารงตําแหน่งบริหารเพื่อแต่งตั้งให้มีระดับสูงขึ้นตามที่กําหนดในหมวด ๔ ว่าด้วยการ คัดเลือก มาใช้บังคับโดยอนุโลม
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/๒๕๕๐ ลว ๒๔ กันยายน ๒๕๕๐
ข้อ ๑๘๐ ในกรณีองค์การบริหารส่วนตําบลมีเหตุผลและความจําเป็นอย่างยิ่งเพื่อประโยชน์แก่ ราชการองค์การบริหารส่วนตําบลอาจขอรับโอนพนักงานส่วนท้องถิ่นอื่น หรือข้าราชการประเภทอื่น ที่ไม่ใช่ ข้าราชการการเมืองหรือข้าราชการวิสามัญ ที่มีความxxxxxxxจะขอโอนมาแต่งตั้งเป็นพนักงานส่วนตําบลใน ตําแหน่งผู้ปฏิบัติงาน ให้องค์การบริหารส่วนตําบลเสนอคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด) โดยให้ชี้แจงเหตุผลความจําเป็น ความรู้ความxxxxxx ประสบการณ์การทํางาน และความชํานาญการของผู้ที่ จะขอโอนและประโยชน์ที่ทางราชการจะได้รับ เมื่อคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) ได้ พิจารณาให้ความเห็นชอบแล้วให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลสั่งรับโอน และแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งเป็น พนักงานส่วนตําบลส่วนจะบรรจุและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับใด และจะให้ได้รับเงินเดือนเท่าใดให้ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด)เป็นผู้กําหนด แต่จะต้องไม่สูงกว่าพนักงานส่วนตําบลที่มี คุณวุฒิ ความxxxxxxและความชํานาญในระดับเดียวกัน
ข้อ ๑๘๑ การรับโอนพนักงานส่วนท้องถิ่นอื่นหรือการรับโอนข้าราชการประเภทอื่นมาบรรจุและ แต่งตั้งเป็นพนักงานส่วนตําบลตามข้อ ๑๗๙ และข้อ ๑๘๐ ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลมีคําสั่งให้รับ โอนและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลแล้ว ให้มีหนังสือแจ้งการรับโอนให้ส่วนราชการสังกัดเดิม ของผู้ที่จะโอนออกคําสั่งให้ผู้นั้นพ้นจากตําแหน่งและหน้าที่ ทั้งนี้ ให้กําหนดxxxxxxในคําสั่งรับโอนและคําสั่งให้ พ้นจากตําแหน่งเป็นวันเดียวกัน
การออกคําสั่งรับโอนและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในองค์การบริหารส่วนตําบลตามวรรคหนึ่ง ให้ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) ให้ความเห็นชอบก่อน
ข้อ ๑๘๒ การรับโอนพนักงานส่วนท้องถิ่นอื่นหรือการรับโอนข้าราชการประเภทอื่นมาบรรจุ และแต่งตั้งเป็นพนักงานส่วนตําบลต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ดังนี้
(๑) ตําแหน่งที่จะนํามาใช้ในการรับโอนต้องเป็นตําแหน่งว่างที่มีอัตราเงินเดือน
(๒) ผู้ได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใด ต้องมีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติ เฉพาะสําหรับตําแหน่งตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานกําหนดตําแหน่งนั้น
(๓) ผู้ใดไม่เคยได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งที่ใช้วุฒิตั้งแต่ระดับxxxxxxตรี หรือเทียบxxxxxxต่ํากว่านี้ขึ้นไปเป็นคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งxxxxxx หรือไม่เคยได้รับแต่งตั้งโดยผลการ สอบแข่งขันหรือการคัดเลือกในกรณีที่มีเหตุพิเศษxxxxxxจําเป็นต้องสอบแข่งขันให้ดํารงตําแหน่งที่ต้องใช้วุฒิ ตั้งแต่xxxxxxตรีหรือเทียบxxxxxxต่ํากว่านี้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งxxxxxx หากจะแต่งตั้งให้ดํารง ตําแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๓ ขึ้นไป ผู้นั้นจะต้องเป็นผู้สอบ แข่งขันได้ในตําแหน่งสายงานที่จะรับ โอน และบัญชีสอบแข่งขันนั้นยังไม่ยกเลิก
๕๘
(๔) การรับโอนเพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งที่ต้องดําเนินการคัดเลือกหรือต้องประเมินบุคคล ผู้ขอโอนจะต้องผ่านการคัดเลือกหรือผ่านการประเมินบุคคลก่อน
(๕) การรับโอนเพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในสายงานใด ต้องไม่มีผู้สอบแข่งขันได้ใน ตําแหน่งสายงานนั้นขึ้นบัญชีรอการบรรจุอยู่หรือไม่มีผู้สอบคัดเลือกได้ หรือผู้ได้รับคัดเลือกในตําแหน่งสาย งานนั้นขึ้นบัญชีรอการแต่งตั้งอยู่
❖ ข้อ ๑๘๒ ทวิ กรณีการโอนพนักงานส่วนตําบลเป็นข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นประเภท อื่นหรือข้าราชการประเภทอื่น เมื่อองค์การบริหารส่วนตําบลได้รับแจ้งการรับโอนพนักงานส่วนตําบลผู้นั้น จากองค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่นประเภทอื่นหรือส่วนราชการอื่น ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลรายงาน คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล เพื่อขอความเห็นชอบให้พ้นจากตําแหน่ง โดยกําหนดวันออกคําสั่งให้พ้น จากตําแหน่งเป็นวันเดียวกันกับวันรับโอน เมื่อมีคําสั่งรับโอนแล้วให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลรายงาน ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลทราบ
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม.ในการประชุมครั้งที่ ๑๒/๒๕๔๖ ลว ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๖
ข้อ ๑๘๓ เพื่อประโยชน์ในการนับเวลาราชการให้xxxxxxเวลาราชการหรือเวลาทํางานของผู้ที่โอน มาตามที่กําหนดในหมวดนี้ ในขณะที่เป็นพนักงานส่วนท้องถิ่นอื่น หรือข้าราชการประเภทอื่นนั้นเป็นเวลา ราชการของพนักงานส่วนตําบล
หมวด ๙ การเลื่อนระดับ
ข้อ ๑๘๔ การเลื่อนพนักงานส่วนตําบลขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นให้เลื่อนและ แต่งตั้งจากผู้สอบแข่งขันได้หรือผู้สอบคัดเลือกเพื่อดํารงตําแหน่งนั้นได้หรือจากผู้ได้รับคัดเลือกเพื่อดํารง ตําแหน่งนั้น
ข้อ ๑๘๕ การเลื่อนและแต่งตั้งผู้สอบแข่งขันได้ หรือผู้สอบคัดเลือกได้ ให้เลื่อนและแต่งตั้ง ตามลําดับที่ในบัญชีสอบแข่งขันหรือบัญชีสอบคัดเลือกนั้นแล้วแต่กรณี สําหรับการเลื่อนและแต่งตั้งจากผู้ ได้รับคัดเลือก ให้เลื่อนและแต่งตั้งตามความเหมาะสมโดยคํานึงถึงความรู้ความxxxxxx ความประพฤติและ ประวัติการรับราชการซึ่งจะต้องเป็นผู้มีผลงานเป็นxxxxxxxxxxxในความxxxxxxแล้ว
ข้อ ๑๘๖ การเลื่อนและแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบล ให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น จากผู้ สอบแข่งขันได้ ให้เลื่อน และแต่งตั้งได้ ดังนี้
(๑) เลื่อนและแต่งตั้งผู้ซึ่งได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือxxxxxxตรงตามคุณสมบัติ เฉพาะ
สําหรับตําแหน่งในระดับ ๒ ระดับ ๓ หรือระดับ ๔ และสอบแข่งขันเพื่อดํารงตําแหน่งนั้นได้ ให้ดํารงตําแหน่งนั้น (๒) การเลื่อนกรณีดังกล่าวจะเลื่อนขึ้นแต่งตั้งได้ต่อเมื่อถึงลําดับxxxxxxผู้นั้นสอบแข่งขันได้
ตามลําดับที่ในบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ สําหรับเงินเดือนxxxxxxรับให้เป็นไปตามxxxxxxxxxxประกาศรับสมัคร
(๓) หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขัน ให้ดําเนินการตามที่กําหนดในหมวด ๔ ว่าด้วยการคัดเลือก
๕๙
(๔) ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นผู้สั่งเลื่อนและแต่งตั้งตามลําดับที่ในบัญชีผ สอบแข่งขันได้โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด)
ข้อ ๑๘๗ การเลื่อนและแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นจากผู้สอบ คัดเลือกได้ ให้เลื่อนและแต่งตั้งได้ดังนี้
(๑)หลักเกณฑ์การเลื่อนและแต่งตั้งผู้ดํารงตําแหน่งในสายงานผู้ปฏิบัติให้ดํารงตําแหน่งในสาย ผู้บริหารต้องเป็นผู้ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้นต่ําของอันดับเงินเดือนสําหรับตําแหน่งที่จะแต่งตั้ง
(๒)คุณสมบัติเป็นผู้มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งที่คณะกรรม xxx xxxxพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.)กําหนดไว้ในมาตรฐานกําหนดตําแหน่งในระดับที่จะแต่งตั้ง
(๓) วิธีการหลักสูตรและวิธีการสอบคัดเลือกให้ถือปฏิบัติตามข้อ๘๖ ถึง ข้อ๑๐๑
(๔) การแต่งตั้ง ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นผู้สั่งเลื่อนและแต่งตั้งตามลําดับที่ใน บัญชีผู้สอบคัดเลือกได้โดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด)
ข้อ ๑๘๘ การเลื่อนและแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นสําหรับ ตําแหน่งที่กําหนดเป็นตําแหน่งระดับควบจากผู้ได้รับคัดเลือก
(๑) เลื่อนและแต่งตั้งในระดับควบขั้นต้น ได้แก่ เลื่อนและแต่งตั้งผู้xxxxxxรับเงินเดือนยังไม่ถึงขั้น ต่ําและผู้xxxxxxรับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้นต่ําของอันดับเงินเดือนสําหรับตําแหน่งที่จะเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารง ตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นโดยxxxxxxxxxxxxxงานดังต่อไปนี้
(ก) เลื่อนผู้ดํารงตําแหน่งระดับ ๑ xxxxxxงานใดที่เริ่มต้นจากระดับ ๑ ขึ้นดํารงตําแหน่ง ระดับ ๒ xxxxxxงานนั้น
(ข) เลื่อนผู้ดํารงตําแหน่งระดับ ๒ xxxxxxงานใดที่เริ่มต้นจากระดับ ๒ ขึ้นดํารง ตําแหน่งระดับ ๓ xxxxxxงานนั้น
(ค) เลื่อนผู้ดํารงตําแหน่งระดับ ๓ xxxxxxงานใดที่เริ่มต้นจากระดับ ๓ ขึ้นดํารง ตําแหน่งระดับ ๔ xxxxxxงานนั้น
(๒) เลื่อนและแต่งตั้งในระดับควบขั้นสูงได้แก่ เลื่อนและแต่งตั้งผู้xxxxxxรับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้น ต่ําของอันดับเงินเดือนสําหรับตําแหน่งที่จะเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นโดยxxxxxxxxxxxxx งาน ดังต่อไปนี้
(ก) เลื่อนผู้ดํารงตําแหน่งระดับ ๒ xxxxxxงานใดที่เริ่มต้นจากระดับ ๑ ขึ้นดํารง ตําแหน่งระดับ ๓ xxxxxxงานนั้น
(ข) เลื่อนผู้ดํารงตําแหน่งระดับ ๓ xxxxxxงานใดที่เริ่มต้นจากระดับ ๒ ขึ้นดํารง ตําแหน่งระดับ ๔ xxxxxxงานนั้น
(ค) เลื่อนผู้ดํารงตําแหน่งระดับ ๔ xxxxxxงานใดที่เริ่มต้นจากระดับ ๓ ขึ้นดํารง ตําแหน่งระดับ ๕ xxxxxxงานนั้น
(๓) เป็นผู้มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งที่คณะกรรมการกลางพนักงาน ส่วนตําบล ( ก.อบต.) กําหนดไว้ในมาตรฐานกําหนดตําแหน่งในระดับที่จะแต่งตั้ง
๖๐
(๔) ให้ดําเนินการคัดเลือกโดยการประเมินบุคคลและการปฏิบัติงานตามวิธีการและแบบ ประเมินท้ายประกาศกําหนดนี้
(๕) ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นผู้สั่งเลื่อนและแต่งตั้งโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) และให้มีผลไม่ก่อนxxxxxxผู้บังคับบัญชาชั้นต้นบันทึก ความเห็นว่าควรเลื่อนระดับได้
ในการดําเนินงานตามวรรคแรก ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบล มีคําสั่งเลื่อนและแต่งตั้งให้ ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น กรณีที่มีความเห็นว่าxxxxxxเลื่อนระดับสูงขึ้นได้ กําหนดเวลาหนึ่งเดือนนับ จากผู้ขอเลื่อนระดับเสนอเรื่องต่อผู้บังคับบัญชาชั้นต้น
ข้อ ๑๘๙ การเลื่อนและแต่งตั้งผู้ที่ดํารงตําแหน่งระดับ ๑ ระดับ ๒ ระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ซึ่ง เป็นผู้xxxxxxรับการคัดเลือกในกรณีที่มีเหตุพิเศษxxxxxxจําเป็นต้องสอบแข่งขันให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น
(๑) ได้รับxxxxxxxตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น โดยได้รับทุนรัฐบาล ทุนเล่าเรียนหลวง หรือทุนขององค์การบริหารส่วนตําบลตามข้อ ๑๑๖ (๑)
(๒) ได้รับxxxxxxxคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล ( ก.อบต. ) กําหนดให้คัดเลือกเพื่อ บรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นกรณีพิเศษตามข้อ ๑๑๖ (๒)
(๓)หลักสูตรและวิธีการคัดเลือก ให้ดําเนินการตามที่กําหนดในหมวด ๔ว่าด้วยการคัดเลือก (๔)ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นผู้สั่งเลื่อน และแต่งตั้งโดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล ( ก.อบต.จังหวัด )
ข้อ ๑๙๐ การเลื่อนและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นสําหรับตําแหน่งที่กําหนด เป็น ตําแหน่งผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ ในตําแหน่งสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๑ และระดับ ๒
(๑) ตําแหน่งในกลุ่มงานxxxxxxหรือบริการทั่วไปและกลุ่มงานที่ปฏิบัติภารกิจหลักของส่วนราชการ ตามบัญชีรายการจําแนกกลุ่มงานตําแหน่งฯ ท้ายประกาศให้กําหนดตําแหน่งได้ถึงระดับ ๕ หรือระดับ ๖ ดังนี้
(ก) ตําแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๑ กําหนดเป็นตําแหน่งระดับ๑–๓ หรือระดับ
๔ สําหรับระดับ ๕ ให้มีการประเมินเพื่อปรับปรุงการกําหนดตําแหน่ง
(ข) ตําแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๒ อาจปรับเป็นตําแหน่งระดับ ๒ –๔ หรือ ระดับ ๕ สําหรับระดับ ๖ ให้มีการประเมินเพื่อปรับปรุงการกําหนดตําแหน่ง
(๒) ตําแหน่งในกลุ่มงานเทคนิคเฉพาะด้านและกลุ่มงานที่ใช้ทักษะและความชํานาญเฉพาะตัว ตามบัญชีจําแนกกลุ่มงานตําแหน่งฯ ท้ายประกาศนี้ให้กําหนดตําแหน่งได้ถึงระดับ ๕ หรือ ๖ ดังนี้
(ก) ตําแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ๑ กําหนดเป็นตําแหน่งระดับ ๑–๓ หรือระดับ
๔ หรือ ๕
ระดับ ๕ หรือ ๖
(ข) ตําแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๒ กําหนดเป็นตําแหน่งระดับ ๒–๔ หรือ
ทั้งนี้ การกําหนดตําแหน่งตาม (๑) และ (๒) ระดับตําแหน่งที่จะปรับปรุงต้องไม่สูงกว่าระดับ ตําแหน่งของหัวหน้าหน่วยงานระดับกองหรือเทียบเท่าที่ตําแหน่งนั้นสังกัด
๖๑
(๓) คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด )เห็นชอบกําหนดตําแหน่งและระดับ ตําแหน่งตาม (๑) และ (๒) ตามกรอบและแผนอัตรากําลังขององค์การบริหารส่วนตําบลยกเว้นการจะปรับ ตําแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๑ ให้เป็นระดับ ๕ และตําแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๒ ให้ เป็นระดับ ๖ ตาม (๑) ให้ดําเนินการได้เมื่อผู้ดํารงตําแหน่งนั้นเป็นผู้มีผลงานและมีคุณสมบัติครบถ้วนที่จะ แต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งสูงขึ้นดังกล่าว และลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบ ปริมาณและคุณภาพของงานของ ตําแหน่งนั้นเปลี่ยนไปจากเดิมในสาระสําคัญxxxxxxxxxxจะต้องปรับระดับตําแหน่งตามมาตรฐานกําหนด ตําแหน่งที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต) กําหนด
(๔) การปรับระดับตําแหน่งให้สูงขึ้นให้ดําเนินการได้ครั้งละไม่เกิน ๑ ระดับ การจะพิจารณา ปรับระดับตําแหน่งใดให้หน่วยxxxxxxเจ้าหน้าที่ศึกษาและวิเคราะห์หน้าที่ความรับผิดชอบของตําแหน่งเพื่อ เสนอคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) พิจารณาโดยใช้แบบประเมินตําแหน่งสําหรับ ผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ (สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๑ และระดับ ๒ ) ซึ่งใช้สําหรับการปรับระดับ ตําแหน่งxxxxxxงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๑ ขึ้นเป็นระดับ ๕ และตําแหน่งxxxxxxงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๒ ขึ้นเป็นระดับ ๖ เท่านั้น
(๕) ในการดําเนินการเพื่อศึกษาวิเคราะห์ดังกล่าว ในชั้นแรกต้องมีคําบรรยายลักษณะงานของ ตําแหน่งที่กําหนดไว้เดิมและที่กําหนดใหม่และหากรายละเอียดของข้อมูลไม่ชัดเจนอาจต้องศึกษาข้อมูล เพิ่มเติม โดยการสัม ภาษณ์ตัวพนักงานส่วนตําบลหรือผู้บังคับบัญชาโดยตรงการสังเกตการทํางานจริงในพื้นที่ การศึกษาจากเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานที่พนักงานส่วนตําบลผู้นั้นรับผิดชอบหรือโดยวิธีการอื่นๆ
(๖) หลักเกณฑ์การเลื่อนและแต่งตั้ง ให้xxxxxxดําเนินการได้ ดังนี้
(ก) เลื่อนผู้ดํารงตําแหน่งระดับ ๓ xxxxxxงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๑ ขึ้นดํารงตําแหน่ง ระดับ ๔ xxxxxxงานนั้น
(ข) เลื่อนผู้ดํารงตําแหน่งระดับ ๔ xxxxxxงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๑ ขึ้นดํารงตําแหน่ง ระดับ ๕ xxxxxxงานนั้น
(ค) เลื่อนผู้ดํารงตําแหน่งระดับ ๔ xxxxxxงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๒ ขึ้นดํารงตําแหน่ง ระดับ ๕ xxxxxxงานนั้น
(ง) เลื่อนผู้ดํารงตําแหน่งระดับ ๕ xxxxxxงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๒ ขึ้นดํารงตําแหน่ง ระดับ ๖ xxxxxxงานนั้น
(๗) เป็นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนนับถึงวันยื่นแบบประเมิน ดังนี้
(ก) เป็นผู้มีคุณวุฒิและคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งที่คณะกรรม xxx xxxxพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.)กําหนดไว้ในมาตรฐานกําหนดตําแหน่งในระดับที่จะแต่งตั้ง และ
(ข) เป็นผู้ดํารงตําแหน่งและปฏิบัติหน้าที่ในตําแหน่งสายงานที่จะเลื่อนขึ้นแต่งตั้งในระดับที่ ต่ํากว่าระดับของตําแหน่งที่จะเลื่อนขึ้นแต่งตั้ง ๑ ระดับติดต่อกันมาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ปี โดยxxxxxxนํา ระยะเวลาดํารงตําแหน่งในสายงานอื่นมานับxxxxxxxxxxx xxxx จะเลื่อนเป็นนายช่างโยธา ๖ ต้องเป็นนายช่าง โยธา ๕ มาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ปี เป็นต้น ในกรณีที่ระยะเวลาติดต่อกันไม่ครบ ๒ ปี แต่นับรวมหลายๆ ช่วงเวลาแล้วครบ ๒ ปี คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.) อนุโลมให้นับเวลาการดํารงตําแหน่ง ดังกล่าวได้ และ
๖๒
(ค) มีระยะเวลาขั้นต่ําในการดํารงตําแหน่งหรือเคยดํารงตําแหน่งในสายงานที่ แต่งตั้งตาม คุณวุฒิของบุคคล และระดับตําแหน่งที่จะเลื่อนขึ้นแต่งตั้ง ดังนี้
คุณวุฒิ | เลื่อนขึ้นดํารงตําแหน่ง | ||
ระดับ ๔ | ระดับ ๕ | ระดับ ๖ | |
ตําแหน่งในสายที่เริ่มต้นจากระดับ ๑ หรือระดับ ๒ - ม.๓ / ม.ศ.๓ / ม.๖ หรือเทียบxxxxxxต่ํากว่านี้ - ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (วิชาอาชีพ๑) หรือ เทียบxxxxxxต่ํากว่านี้ - ปวช.หรือประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย(วิชาอาชีพ๒) หรือเทียบ xxxxxxต่ํากว่านี้ | ๙ ปี ๘ ปี ๖ ปี | ๑๑ ปี ๑๐ ปี ๘ ปี | ๑๓ ปี ๑๒ ปี ๑๐ ปี |
ตําแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๒ - ปวท.หรืออนุปริญญา ๒ ปี หรือเทียบxxxxxxต่ํากว่านี้ ปวส.หรืออนุปริญญา ๓ ปี หรือเทียบxxxxxxต่ํากว่านี้ | ๗ ปี ๖ ปี | ๙ ปี ๘ ปี |
- การนับระยะเวลาตาม (ค) อาจนําระยะเวลาในการดํารงตําแหน่งหรือเคยดํารง ตําแหน่งในสายงานอื่น ซึ่งเป็นงานที่มีลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวข้องและxxxxxxxxกัน ตามที่ คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล ( ก.อบต. ) กําหนดมานับรวมเป็นระยะเวลาขั้นต่ําดังกล่าวได้ตาม บัญชีกําหนดกลุ่มตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลที่มีลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวข้องและxxxxxxxxกัน
การพิจารณาคุณวุฒิตาม (ค)ต้องเป็นคุณวุฒิทางการศึกษาที่ตรงตามคุณสมบัติ เฉพาะ สําหรับตําแหน่งที่จะแต่งตั้งตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่งนั้นเท่านั้น และให้พิจารณาจากวุฒิทางการศึกษาที่ ระบุไว้ในบัตรประวัติพนักงานส่วนตําบล เป็นหลักในกรณีผู้ได้รับคุณวุฒิเพิ่มเติมภายหลังจากการบรรจุเข้ารับ ราชการจะต้องยื่นขอบันทึกxxxxxลงใน ก.พ.๗ ก่อนจึงจะนําxxxxxxxxxxxxxใช้ในการxxxxxxxxxx
(ง) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าอัตราเงินเดือน ดังต่อไปนี้
- เลื่อนระดับ ๔ ต้องได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ํากว่าขั้น ๗ ,๒๖๐ บาท และได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณที่แล้วมาไม่ต่ํากว่าขั้น ๖,๘๙๐ บาท
- เลื่อนระดับ ๕ ต้องได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ํากว่าขั้น ๘,๘๗๐ บาท และได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณที่แล้วมาไม่ต่ํากว่าขั้น ๘,๔๓๐ บาท
- เลื่อนระดับ ๖ ต้องได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ํากว่าขั้น ๑๐,๙๑๐บาท และได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณที่แล้วมาไม่ต่ํากว่าขั้น ๑๐,๙๑๐ บาท
(๘) วิธีการเลื่อนและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งสูงขึ้น
(ก) ตําแหน่งที่ต้องมีการปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งให้เสนอคณะกรรมการพนักงาน ส่วนตําบล ( ก.อบต.จังหวัด ) เพื่อพิจารณาอนุมัติปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งเมื่อผู้ดํารงตําแหน่งนั้นเป็นผู้มี ผลงานและมีคุณสมบัติครบถ้วนที่จะแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งสูงขึ้นดังกล่าวและลักษณะหน้าที่และความ
๖๓
รับผิดชอบ ปริมาณและคุณภาพของงานของตําแหน่งนั้นเปลี่ยนไปจากเดิมในสาระสําคัญxxxxxxxxxxจะต้อง
ปรับระดับตําแหน่งตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่งที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.) กําหนด (ข) ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด)แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผล
งานเพื่อคัดเลือกพนักงานส่วนตําบลเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นตําแหน่งสําหรับ ผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ ประกอบด้วยปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล เป็นประธานและผู้อํานวยการกอง หรือหัวหน้าส่วนราชการที่เทียบเท่ากองเป็นกรรมการ โดยมีหัวหน้าสํานักปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลเป็น กรรมการและเลขานุการ ให้คณะกรรมการฯ มีอํานาจหน้าที่
พิจารณากําหนดแนวทางในการดําเนินการประเมินผลงาน กําหนดประเภทจํานวนผลงาน ลักษณะของผลงานและวิธีการสัมภาษณ์ที่จะนํามาใช้ประเมินในแต่ละตําแหน่งให้สอดคล้องกับลักษณะการ ปฏิบัติงานของตําแหน่งที่จะได้รับการแต่งตั้ง
- พิจารณาคุณสมบัติและประเมินผลงานของบุคคลที่จะได้รับการคัดเลือกแต่งตั้งให้ดํารง
ตําแหน่งที่สูงขึ้น
- ปฏิบัติงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินบุคคลตามที่คณะกรรมการพนักงานส่วน
ตําบล ( ก.อบต.จังหวัด ) มอบหมาย
(ค) การปรับปรุงการกําหนดตําแหน่ง การประเมินบุคคลและผลงานให้เป็นไปตามวิธีการ และแบบประเมินแนบท้ายหลักเกณฑ์นี้
ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบล เป็นผู้สั่งเลื่อนและแต่งตั้งโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ พนักงานส่วนตําบล( ก.อบต.จังหวัด ) และให้มีผลไม่ก่อนxxxxxxผ่านการประเมินของคณะกรรมการประเมินผล งานฯ ภายในกําหนด ๑ เดือน หลังจากที่ ก.อบต.จังหวัดให้ความเห็นชอบ
ข้อ ๑๙๑ การเลื่อนและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นสําหรับตําแหน่งที่กําหนดเป็น ตําแหน่งผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ ในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๓
❖ (๑) ตําแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๓ กําหนดเป็นตําแหน่งระดับ ๓ - ๕ หรือ ๖ (ว)หรือ ๗ (วช) สําหรับระดับ ๗ (ว) ให้มีการประเมินเพื่อปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งก่อน ทั้งนี้ การกําหนด ระดับตําแหน่งที่จะปรับปรุงต้องไม่สูงกว่าระดับตําแหน่งของหัวหน้าหน่วยงานระดับกองหรือเทียบเท่าที่ พนักงานส่วนตําบลแห่งนั้นสังกัด ยกเว้นกรณีที่องค์การบริหารส่วนตําบลใดเห็นว่าเห็นว่าผู้ดํารงตําแหน่งใน สายงานผู้ปฎิบัติในระดับ ๖ว ผู้ใดเป็นผู้มีผลงานและคุณสมบัติครบถ้วนที่จะแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งที่สูงขึ้น เป็นระดับ ๗ว หรือระดับ ๗ วช ให้องค์การบริหารส่วนตําบลเสนอขอปรับปรุงระดับตําแหน่งต่อคณะกรรม การพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด) เป็นการเฉพาะราย แม้ว่าเมื่อปรับปรุงระดับตําแหน่งแล้วจะมีระดับ ตําแหน่งที่สูงกว่าหัวหน้าหน่วยงานระดับกองหรือเทียบเท่า
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๔๖ ลว ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖
(๒) คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) เห็นชอบกําหนดตําแหน่งและระดับ ตําแหน่งตามข้อ (๑) ตามกรอบและแผนอัตรากําลังขององค์การบริหารส่วนตําบล ยกเว้นการจะปรับตําแหน่ง ใดให้เป็นระดับ ๗ (ว) ให้ดําเนินการได้เมื่อผู้ดํารงตําแหน่งนั้นเป็นผู้มีผลงานและมีคุณสมบัติครบถ้วนที่จะ แต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งสูงขึ้นดังกล่าว และลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบ ปริมาณและคุณภาพของงานของ
๖๔ ตําแหน่งนั้นเปลี่ยนไปจากเดิมในสาระสําคัญxxxxxxxxxxจะต้องปรับระดับตําแหน่งตามมาตรฐานกําหนด ตําแหน่งที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) กําหนด
(๓) การปรับระดับตําแหน่งให้สูงขึ้นให้ดําเนินการได้ครั้งละไม่เกิน ๑ ระดับ การจะพิจารณา
ปรับระดับตําแหน่งใด ให้หน่วยxxxxxxเจ้าหน้าที่ศึกษาและวิเคราะห์หน้าที่ความรับผิดชอบของตําแหน่ง เพื่อเสนอคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) พิจารณาโดยใช้แบบประเมินตําแหน่งสําหรับ ผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ (สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๓ ) ซึ่งใช้สําหรับการปรับระดับตําแหน่งxxxxxx งานที่เริ่มต้นจากระดับ ๓ ขึ้นเป็นระดับ ๗(ว) เท่านั้น
(๔) ในการดําเนินการเพื่อศึกษาวิเคราะห์ดังกล่าวในชั้นแรกต้องมีคําบรรยายลักษณะงาน ของตําแหน่งที่กําหนดไว้เดิมและที่กําหนดใหม่และหากรายละเอียดของข้อมูลไม่ชัดเจนอาจต้องศึกษาข้อมูล เพิ่มเติม โดยการสัมภาษณ์ตัวพนักงานส่วนตําบลหรือผู้บังคับบัญชาโดยตรงการสังเกตการทํางานจริงในพื้นที่ การศึกษาจากเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานที่พนักงานส่วนตําบลผู้นั้นรับผิดชอบหรือโดยวิธีการอื่นๆ
(๕) หลักเกณฑ์การเลื่อนและแต่งตั้ง ให้xxxxxxดําเนินการได้ ดังนี้
(ก) เลื่อนผู้ดํารงตําแหน่งระดับ ๕ xxxxxxงานใดที่เริ่มต้นจากระดับ ๓ ขึ้นดํารง ตําแหน่งระดับ ๖ (ว) xxxxxxงานนั้น
(ข) เลื่อนผู้ดํารงตําแหน่งระดับ ๖ xxxxxxงานใดที่เริ่มต้นจากระดับ ๓ ขึ้นดํารง ตําแหน่งระดับ ๗ (ว) xxxxxxงานนั้น
(๖) เป็นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนนับถึงวันยื่นแบบประเมิน ดังนี้
(ก) เป็นผู้มีคุณวุฒิและคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งตามที่ คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) กําหนดไว้ในมาตรฐานกําหนดตําแหน่งที่จะแต่งตั้งและ
(ข) มีระยะเวลาขั้นต่ําในการดํารงตําแหน่งหรือเคยดํารงตําแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง ตามคุณวุฒิและระดับตําแหน่งที่จะแต่งตั้งดังนี้
คุณวุฒิ | เลื่อนขึ้นดํารงตําแหน่ง | |
ระดับ ๖ | ระดับ ๗ | |
- คุณวุฒิxxxxxxตรีหรือเทียบเท่า - คุณวุฒิxxxxxxโทหรือเทียบเท่า - คุณวุฒิxxxxxxเอกหรือเทียบเท่า | ๖ ปี ๔ ปี ๒ ปี | ๗ ปี ๕ ปี ๓ ปี |
- การนับระยะเวลาตามข้อ (ข) อาจนําระยะเวลาในการดํารงตําแหน่ง หรือเคยดํารง ตําแหน่งในสายงานอื่นซึ่งเป็นงานที่มีลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวข้องและxxxxxxxxกันตามที่ คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล ( ก.อบต.)กําหนด มานับรวมเป็นระยะเวลาขั้นต่ําดังกล่าวได้ตามบัญชี กําหนดกลุ่มตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลที่มีลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวข้องและxxxxxxxxกัน
- การพิจารณาคุณวุฒิตามข้อ (ข) ต้องเป็นคุณวุฒิทางการศึกษาที่ตรงตามคุณ xxxxxxเฉพาะ สําหรับตําแหน่งที่จะแต่งตั้งตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่งนั้นเท่านั้นและให้พิจารณาจากวุฒิทางการศึกษาที่ระบุไว้ ในบัตรประวัติพนักงานส่วนตําบล เป็นหลักในกรณีผู้ได้รับคุณวุฒิเพิ่มเติมภายหลังจากการบรรจุเข้ารับราชการ จะต้องยื่นขอบันทึกxxxxxลงในบัตรประวัติพนักงานส่วนตําบลก่อนจึงจะนําxxxxxxxxxxใช้ในการxxxxxxxxxx
๖๕
(ค) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าอัตราเงินเดือน ดังน
- เลื่อนระดับ ๖ ต้องได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ํากว่าขั้น ๑๐ ,๙๑๐ บาท และได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณที่แล้วมาไม่ต่ํากว่าขั้น ๑๐,๙๑๐ บาท
- เลื่อนระดับ ๗ ต้องได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณปัจจุบันไม่ต่ํากว่าขั้น ๑๓ ,๔๒๐ บาทและได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณที่แล้วมาไม่ต่ํากว่าขั้น ๑๓,๔๒๐ บาท
(๗) วิธีการเลื่อนและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งสูงขึ้น
(ก) ตําแหน่งที่ต้องมีการปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งให้เสนอ คณะกรรมการพนักงาน ส่วนตําบล ( ก.อบต.จังหวัด ) เพื่อพิจารณาอนุมัติปรับปรุงการกําหนดตําแหน่งเมื่อผู้ดํารงตําแหน่งนั้นเป็นผู้มี ผลงานและมีคุณสมบัติครบถ้วนที่จะแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งสูงขึ้นดังกล่าวและลักษณะหน้าที่และความ รับผิดชอบ ปริมาณและคุณภาพของงานของตําแหน่งนั้นเปลี่ยนไปจากเดิมในสาระสําคัญxxxxxxxxxxจะต้อง ปรับระดับตําแหน่ง ตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่งที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.) กําหนด
(ข) ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต .จังหวัด )แต่งตั้งคณะ กรรมการ ประเมินผลงานเพื่อคัดเลือกพนักงานส่วนตําบล เลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นตําแหน่ง สําหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ จํานวนไม่น้อยกว่า ๕ คน กรณีคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) เป็นผู้ดําเนินการ ให้มีคณะกรรมการประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธานกรรมการผู้แทน ส่วนราชการ นายกองค์การบริหารส่วนตําบล และพนักงานส่วนตําบลหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นผู้มีประสบ - การณ์ ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นกรรมการ โดยให้ข้าราชการพลเรือนหรือพนักงานส่วนตําบลคนหนึ่ง เป็นเลขานุการ กรณีที่องค์การบริหารส่วนตําบลเป็นผู้ดําเนินการ ให้ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลเป็น ประธาน และผู้อํานวยการกองหรือหัวหน้าส่วนราชการที่เทียบเท่ากองเป็นกรรมการ โดยมีหัวหน้าสํานักงาน ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นกรรมการและเลขานุการ ให้คณะกรรมการฯ มีอํานาจหน้าที่
- พิจารณากําหนดแนวทางในการดําเนินการประเมินผลงาน กําหนดประเภท จํานวน ผลงาน ลักษณะของผลงานและวิธีการสัมภาษณ์ที่จะนํามาใช้ประเมินในแต่ละตําแหน่งให้สอดคล้องกับ ลักษณะการปฏิบัติงานของตําแหน่งที่จะได้รับการแต่งตั้ง
- พิจารณาคุณสมบัติและประเมินผลงานของบุคคลที่จะได้รับการคัดเลือกแต่งตั้งให้
ดํารงตําแหน่งที่สูงขึ้น
- ปฏิบัติงานอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการประเมินบุคคลตามที่คณะกรรมการพนักงานส่วน
ตําบล (ก.อบต.จังหวัด) มอบหมาย
(ค) การปรับปรุงการกําหนดตําแหน่ง การประเมินบุคคลและผลงานให้เป็นไปตาม วิธีการและแบบประเมินแนบท้ายประกาศนี้
(๘) ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นผู้สั่งเลื่อน และแต่งตั้งโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด ) และให้มีผลไม่ก่อนxxxxxxผ่านการประเมินของคณะกรรม การประเมินผลงานฯภายในกําหนดหนึ่งเดือนหลังจากที่คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด ) ให้ ความเห็นชอบ
๖๖
ข้อ ๑๙๒ การเลื่อนและแต่งตั้งผู้ดํารงตําแหน่งผู้บริหารให้ดํารงตําแหน่งผู้บริหารในระดับที่สูงขึ้น ในองค์การบริหารส่วนตําบล ให้เลื่อนและแต่งตั้งได้เมื่อมีตําแหน่งในระดับนั้นว่าง โดยวิธีการคัดเลือกตามที่ กําหนดในหมวด ๔ ว่าด้วยการคัดเลือก
ข้อ ๑๙๓ การเลื่อนและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งผู้บริหารระดับ ๖ ให้เลื่อนและแต่งตั้งได้ตาม หลักเกณฑ์ดังนี้
(๑) ตําแหน่งผู้บริหารระดับ ๗
(ก) มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งที่จะแต่งตั้งตามที่กําหนดไว้ใน มาตรฐานกําหนดตําแหน่ง
(ข) ต้องได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้นต่ําของอันดับเงินเดือนในระดับ ๗
(ค) ได้ดํารงตําแหน่งและปฏิบัติหน้าที่ในตําแหน่งผู้บริหารมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ปี (ง) ได้ผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงานจากผู้บังคับบัญชา
(๒) ตําแหน่งผู้บริหารระดับ ๘
(ก) มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งที่จะแต่งตั้งตามที่กําหนดไว้ใน มาตรฐานกําหนดตําแหน่ง
(ข) ต้องได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้นต่ําของอันดับเงินเดือนในระดับ ๘
(ค) ได้ดํารงตําแหน่งและปฏิบัติหน้าที่ในตําแหน่งผู้บริหารมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ปี (ง) ได้ผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงานจากผู้บังคับบัญชาในระดับดีขึ้นไป
ข้อ ๑๙๔ หลักสูตรและวิธีการคัดเลือกเพื่อเลื่อนและแต่งตั้งผู้ดํารงตําแหน่งผู้บริหารให้ดํารง ตําแหน่งผู้บริหารในระดับที่สูงขึ้นในองค์การบริหารส่วนตําบล ให้ดําเนินการตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการ คัดเลือกที่กําหนดในหมวด ๔ สําหรับการประเมินผลการปฏิบัติงานให้ใช้แบบประเมินฯ ตามหลักเกณฑ์และ เงื่อนไขการประเมินประสิทธิภาพและxxxxxxxxxxการปฏิบัติงานของพนักงานส่วนตําบลที่กําหนดในหมวด
๑๒
ข้อ ๑๙๕ การแต่งตั้งผู้ดํารงตําแหน่งผู้บริหารให้ดํารงตําแหน่งผู้บริหารในระดับที่สูงขึ้นใน องค์การบริหารส่วนตําบลตามข้อ ๑๙๒ ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นผู้เลื่อนและแต่งตั้ง โดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด)และให้มีผลไม่ก่อนxxxxxxผ่านการคัดเลือก
ข้อ ๑๙๖ การกําหนดให้ได้รับเงินเดือนสําหรับพนักงานส่วนตําบลxxxxxxรับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่ง ในระดับที่สูงขึ้นให้เป็นตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการให้พนักงานส่วนตําบลได้รับเงินเดือนที่กําหนดในหมวด
๓
ข้อ ๑๙๗ การเลื่อนพนักงานส่วนตําบลที่มีคําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนว่ากระทําผิดxxxxx อย่างร้ายแรง หรือมีคําสั่งลงโทษทางวินัยหรือถูกฟูองร้องคดีอาญาขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งที่สูงขึ้น ให้เลื่อน และแต่งตั้งได้ตั้งแต่xxxxxxผู้บังคับบัญชาอาจเลื่อนขั้นเงินเดือนให้แก่พนักงานส่วนตําบลผู้นั้นได้เป็นต้นไป
หมวด ๑๐
๖๗
การเลื่อนขั้นเงินเดือน
ข้อ ๑๙๘ พนักงานส่วนตําบลผู้ใดปฏิบัติตนเหมาะสมต่อตําแหน่งหน้าที่และปฏิบัติราชการมี
ประสิทธิภาพและเกิดxxxxxxxxxxในระดับอันเป็นที่xxxxของทางราชการ xxxxxxผู้นั้นมีความชอบจะได้รับบํา - เหน็จความชอบซึ่งอาจเป็นคําxxxxx เครื่องxxxxxxเกียรติ รางวัล หรือการได้เลื่อนขั้นเงินเดือน xxxxxxแก่กรณี
ข้อ ๑๙๙ การเลื่อนขั้นเงินเดือนพนักงานส่วนตําบล ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาโดยคํานึงถึง คุณภาพและปริมาณงานประสิทธิภาพและxxxxxxxxxxของงานxxxxxxปฏิบัติความxxxxxxและความxxxxxxxใน การปฏิบัติงาน ความมีคุณธรรมและจริยธรรมตลอดจนการรักษาxxxxxและการปฏิบัติตนเหมาะสมกับการเป็น พนักงานส่วนตําบล
ข้อ ๒๐๐ การเลื่อนขั้นเงินเดือนให้พนักงานส่วนตําบล ที่อยู่ในหลักเกณฑ์ตามที่กําหนดในหมวด นี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้xxxxxxxxxxxxxxจะพิจารณา
ในกรณีxxxxxxเลื่อนขั้นเงินเดือนให้พนักงานส่วนตําบลผู้ใด ให้ผู้บังคับบัญชาแจ้งให้ผู้นั้นทราบพร้อม ทั้งเหตุผลxxxxxxเลื่อนขั้นเงินเดือนให้
❖ ข้อ ๒๐๑ ในหมวดนี้
" ปี " หมายความว่า ปีงบประมาณ
" ครึ่งปีแรก " หมายความว่า ระยะเวลาตั้งแต่xxxxxx ๑ xxxxxx ถึงxxxxxx ๓๑ มีนาคม " ครึ่งปีหลัง " หมายความว่า ระยะเวลาตั้งแต่xxxxxx ๑ เมษายน ถึงxxxxxx ๓๐ กันยายน " ครึ่งปีที่แล้วมา " หมายความว่าระยะเวลาครึ่งปีแรกหรือครึ่งปีหลังที่ผ่านมาแล้วแต่กรณี
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๑/ ๒๕๕๔ ลว ๒๕ xxxxxx ๒๕๔๘
❖ ข้อ ๒๐๒ ให้ผู้บังคับบัญชาและผู้xxxxxxรับมอบหมาย ประเมินประสิทธิภาพและxxxxxxxx xx การปฏิบัติงานของพนักงานส่วนตําบลปีละสองครั้ง ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการพนักงานส่วน ตําบล (ก.อบต.จังหวัด) กําหนด
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๑/ ๒๕๕๔ ลว ๒๕ xxxxxx ๒๕๔๘
❖ ข้อ ๒๐๓ การเลื่อนขั้นเงินเดือนพนักงานส่วนตําบล ให้เลื่อนปีละสองครั้ง ดังนี้
(๑) ครั้งที่หนึ่ง เป็นการเลื่อนขั้นเงินเดือนสําหรับการปฏิบัติราชการในครึ่งปีแรก โดยให้ เลื่อนในxxxxxx ๑ เมษายนของปีxxxxxxเลื่อน
(๒) ครั้งที่สองเป็นการเลื่อนขั้นเงินเดือนสําหรับการปฏิบัติราชการในครึ่งปีหลัง โดยให้ เลื่อนในxxxxxx ๑ xxxxxxของปีถัดไป
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๔ ลว ๒๕ xxxxxx ๒๕๔๘
❖ ข้อ ๒๐๔ การเลื่อนขั้นเงินเดือนพนักงานส่วนตําบล ให้เลื่อนxxxxxxเกินขั้นสูงของอันดับเงินเดือน สําหรับตําแหน่งxxxxxxรับแต่งตั้งนั้น
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๔ ลว ๒๕ xxxxxx ๒๕๔๘
๖๘
❖ ข้อ ๒๐๕ พนักงานส่วนตําบลซึ่งจะได้รับการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนครึ่งขั้นในแต่ละครั้งต้อง อยู่ในหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
(๑) ในครึ่งปีที่แล้วมาได้ปฏิบัติงานตามหน้าที่ของตนด้วยความxxxxxx และด้วยความ xxxxxxxจนxxxxxxดีหรือความxxxxxxxxแก่ราชการ ซึ่งผู้บังคับบัญชาได้พิจารณาประเมินตามข้อ ๒๐๒ แล้ว เห็นว่าอยู่ในเกณฑ์ที่xxxxxจะได้เลื่อนขั้นเงินเดือนครึ่งขั้น
(๒) ในครึ่งปีที่แล้ว ต้องไม่ถูกสั่งลงxxxxxxxxxxxxxxหนักกว่าโทษภาคทัณฑ์ หรือไม่ถูกศาล พิพากษาในคดีอาญาให้ลงโทษในความผิดที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ราชการ หรือความผิดที่ทําให้เสื่อมเสีย xxxxxxxxxxxxxของตําแหน่งหน้าที่ราชการของตน ซึ่งมิใช่ความผิดxxxxxxกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๓) ในครึ่งปีที่แล้วมาต้องไม่ถูกสั่งxxxราชการเกินกว่าสองเดือน (๔) ในครึ่งปีที่แล้วมาต้องไม่ขาดราชการโดยไม่มีเหตุผลอันxxxxx
(๕) ในครึ่งปีที่แล้วมาได้รับบรรจุเข้ารับราชการมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่าxxxxxxxx หรือได้ ปฏิบัติราชการมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่าxxxxxxxxก่อนถึงแก่ความตาย
(๖) ในครึ่งปีที่แล้วมา สําหรับผู้ได้รับอนุญาตให้ไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงานหรือปฏิบัติงานวิจัย ในประเทศหรือต่างประเทศ ต้องมีเวลาปฏิบัติหน้าที่ราชการไม่น้อยกว่าxxxxxxxx
(๗) ในครึ่งปีที่แล้วมา สําหรับผู้ได้รับอนุญาตให้ลาติดตามคู่สมรสไปปฏิบัติหน้าที่ราชการ หรือปฏิบัติงานในต่างประเทศ ต้องมีเวลาปฏิบัติหน้าที่ราชการไม่น้อยกว่าxxxxxxxx
(๘) ในครึ่งปีที่แล้วมาต้องxxxxx หรือมาทํางานสายเกินจํานวนครั้งที่นายกองค์การบริหาร ส่วนตําบลหรือผู้ได้รับมอบหมายกําหนดเป็นหนังสือไว้ก่อนแล้ว โดยคํานึงถึงลักษณะงานและสภาพxxxxxxxอัน เป็นที่ตั้งของแต่ละส่วนราชการหรือหน่วยงาน
(๙) ในครึ่งปีที่แล้วมาต้องมีเวลาปฏิบัติราชการหกเดือน โดยมีxxxxxxxxเกินยี่สิบสามวัน แต่ไม่ รวมถึงxxxxx ตาม (๖) หรือ (๗) และxxxxxดังต่อไปนี้
(ก) ลาอุปสมบท หรือลาไปประกอบพิธีฮัจย์ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดิ อาระเบีย เฉพาะวันxxxxxมีสิทธิ์ได้รับเงินเดือนระหว่างลาตามกฎหมายว่าด้วยการจ่ายเงินเดือน
(ข) ลาคลอดบุตรไม่เกินเก้าสิบวัน
(ค) ลาปุวยซึ่งจําเป็นต้องรักษาตัวเป็นเวลานานไม่ว่าคราวเดียวหรือหลายคราวรวม กันไม่เกินหกสิบวันทําการ
(ง) ลาปุวยเพราะประสบอันตรายในขณะปฏิบัติราชการตามหน้าที่หรือในขณะ เดินทางไปหรือกลับจากปฏิบัติราชการตามหน้าที่
(จ) ลาพักผ่อน
(ฉ) ลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล (ช) ลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ
การนับจํานวนxxxxxxxxเกินยี่สิบสามวันสําหรับxxxxxกิจส่วนตัว และxxxxxปุวยที่ไม่ใช่xxxxxปุวย ตาม(๙) (ง) ให้นับเฉพาะวันทําการ
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๔ ลว ๒๕ xxxxxx ๒๕๔๘
๖๙
❖ ข้อ ๒๐๖ พนักงานส่วนตําบลซึ่งจะได้รับการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนหนึ่งขั้นในแต่ละครั้ง ต้องเป็นผู้อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะได้รับการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนครึ่งขั้นตามข้อ ๒๐๕ และอยู่ในหลักเกณฑ์ ประการใดประการหนึ่งหรือหลายประการดังต่อไปนี้ด้วย
(๑) ปฏิบัติงานตามหน้าที่ได้ผลxxxxxx มีประสิทธิภาพและxxxxxxxxxxอันก่อให้เกิดประโยชน์และ ผลดียิ่งต่อทางราชการและสังคมจนถือเป็นตัวอย่างxxxxxได้
(๒) ปฏิบัติงานโดยมีความคิดริเริ่มในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือได้ค้นคว้า หรือxxxxxxxxสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อทางราชการเป็นพิเศษ และทางราชการได้ดําเนินการตามความคิดริเริ่ม หรือได้รับรองให้ใช้การ ค้นคว้าหรือสิ่งxxxxxxxxนั้น
(๓) ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่มีสถานการณ์ตรากตรําเสี่ยงอันตรายมาก หรือมีการต่อสู้ที่เสี่ยงต่อ ความปลอดภัยของชีวิตเป็นกรณีพิเศษ
(๔) ปฏิบัติงานที่มีภาระหน้าที่หนักเกินกว่าระดับตําแหน่งจนเกิดประโยชน์ต่อทางราชการเป็น พิเศษ และปฏิบัติงานในตําแหน่งหน้าที่ของตนเป็นผลดีด้วย
(๕) ปฏิบัติงานตามตําแหน่งหน้าที่ด้วยความตรากตรําเหน็ดเหนื่อยยากลําบากเป็นพิเศษและ งานนั้นได้ผลดียิ่งเป็นประโยชน์ต่อทางราชการและสังคม
(๖) ปฏิบัติงานxxxxxxรับมอบหมายให้กระทํากิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งจนสําเร็จเป็นผลดียิ่งแก่
xxxxxxxxxx
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๔ ลว ๒๕ xxxxxx ๒๕๔๘
❖ ข้อ ๒๐๗ การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนพนักงานส่วนตําบลตามข้อ ๒๐๕ และข้อ ๒๐๖ ให้ ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นหรือผู้ได้รับมอบหมายนําผลการประเมินประสิทธิภาพและxxxxxxxxxxการปฏิบัติงานxxxxxx ดําเนินการตามข้อ ๒๐๒ มาเป็นหลักในการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง โดยพิจารณา ประกอบกับข้อมูลการลา พฤติกรรมการมาทําxxx xxxรักษาxxxxx การปฏิบัติตนเหมาะสมกับการเป็น ข้าราชการและข้อควรพิจารณาอื่นๆ ของผู้นั้น แล้วรายงานผลการพิจารณานั้น พร้อมด้วยข้อมูลดังกล่าวต่อ ผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไปตามลําดับจนถึงนายกองค์การบริหารส่วนตําบล
ในการพิจารณารายงานตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือแต่ละระดับxxxxxxรับรายงาน เสนอความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของนายกองค์การบริหารส่วนตําบลด้วย
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๔ ลว ๒๕ xxxxxx ๒๕๔๘
❖ ข้อ ๒๐๘ การพิจารณาผลการปฏิบัติงานและxxxxxxxxxxของงานให้นับช่วงเวลาการปฏิบัติ ราชการและการปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศตามข้อ ๒๐๕(๙) ในครึ่งปีที่แล้วมาเป็นเกณฑ์ เว้นแต่ผู้ อยู่ในหลักเกณฑ์ตามข้อ ๒๐๕ (๕) หรือ (๖) หรือ (๗) ให้นับช่วงเวลาปฏิบัติราชการไม่น้อยกว่าxxxxxxxxเป็น เกณฑ์พิจารณา
ในกรณีที่พนักงานส่วนตําบลผู้ใดโอน เลื่อนตําแหน่ง ย้าย สับเปลี่ยนหน้าที่ไปช่วยราชการใน หน่วยราชการอื่น ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานนอกเหนือหน้าที่หรืองานพิเศษอื่นใด หรือลาไปปฏิบัติงานใน องค์การระหว่างประเทศตามข้อ ๒๐๕(๘) (ช) ในครึ่งปีที่แล้วมาให้นําผลการปฏิบัติราชการและการปฏิบัติงาน ของผู้นั้นทุกตําแหน่งและxxxxxxxxxxxxxxxการพิจารณาด้วย
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๔ ลว ๒๕ xxxxxx ๒๕๔๘
๗๐
❖ ข้อ ๒๐๙ ในการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนแต่ละครั้ง นายกองค์การบริหารส่วนตําบล
พิจารณารายงานผลจากผู้บังคับบัญชาตามข้อ ๒๐๗ ถ้าเห็นว่าพนักงานส่วนตําบลผู้ใดอยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะ ได้รับการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนครึ่งขั้นตามข้อ ๒๐๕ และปฏิบัติตนเหมาะสมกับการเป็นข้าราชการให้ เลื่อนขั้นเงินเดือนให้แก่ผู้นั้นครึ่งขั้น ถ้าเห็นว่าพนักงานส่วนตําบลผู้นั้นมีผลการปฏิบัติงานอยู่ในหลักเกณฑ์ตาม ข้อ ๒๐๖ ให้เลื่อนขั้นเงินเดือนให้แก่ผู้นั้นหนึ่งขั้น
ในกรณีที่พนักงานส่วนตําบลผู้ใดได้รับการเลื่อนขั้นเงินเดือนครึ่งปีแรกไม่ถึงหนึ่งขั้น ถ้าในการพิจารณา เลื่อนขั้นเงินเดือนครึ่งปีหลัง นายกองค์การบริหารส่วนตําบลได้พิจารณาผลการปฏิบัติงานครึ่งปีแรกกับครึ่งปีหลัง รวมกันแล้วเห็นว่ามีมาตรฐานสูงกว่าการที่จะได้รับการเลื่อนขั้นเงินเดือนหนึ่งขั้นสําหรับปีนั้น นายกองค์การบริหาร ส่วนตําบลอาจมีคําสั่งให้เลื่อนขั้นเงินเดือนรวมทั้งปีของพนักงานส่วนตําบลผู้นั้นเป็นจํานวนหนึ่งขั้นครึ่งได้ แต่ผลการ ปฏิบัติงานทั้งปีของพนักงานส่วนตําบลผู้นั้นจะต้องอยู่ในหลักเกณฑ์ประการใดประการหนึ่งหรือหลายประการ ดังต่อไปนี้ด้วย
(๑) ปฏิบัติงานตามหน้าที่ได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อันก่อให้เกิดประโยชน์และผลดีต่อ ทางราชการและสังคม
(๒) ปฏิบัติงานโดยมีความคิดริเริ่มในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือได้ค้นคว้าหรือประดิษฐ์ สิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่ง เป็นประโยชน์ต่อทางราชการ
(๓) ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่มีสถานการณ์ตรากตรําเสี่ยงอันตราย หรือมีการต่อสู้ที่เสี่ยงต่อความ ปลอดภัยของชีวิต
(๔) ปฏิบัติงานที่มีภาระหน้าที่หนักเกินกว่าระดับตําแหน่งจนเกิดประโยชน์ต่อทางราชการและ ปฏิบัติงานในตําแหน่งหน้าที่ของตนเป็นผลดีด้วย
(๕) ปฏิบัติงานตามตําแหน่งหน้าที่ด้วยความตรากตรําเหน็ดเหนื่อยยากลําบากและงานนั้นได้ผลดี เป็นประโยชน์ต่อทางราชการและสังคม
(๖) ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายให้กระทํากิจการอย่างใดอย่างหนึ่งจนสําเร็จเป็นผลดีแก่
ประเทศชาติ
ในกรณีที่พนักงานส่วนตําบลผู้ใดมีผลการปฏิบัติงานอยู่ในเกณฑ์ที่ควรจะได้รับการเลื่อนขั้น
เงินเดือนครึ่งปีแรกหนึ่งขั้น แต่ไม่อาจสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนหนึ่งขั้นให้ได้ เพราะมีข้อจํากัดเกี่ยวกับจํานวนเงินที่ จะใช้เลื่อนขั้นเงินเดือนของส่วนราชการนั้น ถ้าในการเลื่อนขั้นเงินเดือนครึ่งปีหลัง พนักงานส่วนตําบลผู้นั้นมี ผลการปฏิบัติงานอยู่ในเกณฑ์ได้รับการเลื่อนขั้นเงินเดือนหนึ่งขั้นอีก และไม่มีข้อจํากัดเกี่ยวกับจํานวนเงินที่จะ ใช้เลื่อนขั้นเงินเดือนในคราวนั้น นายกองค์การบริหารส่วนตําบลอาจมีคําสั่งให้เลื่อนขั้นเงินเดือนรวมทั้งปีของ พนักงานส่วนตําบลผู้นั้นเป็นจํานวนสองขั้นได้
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๔ ลว ๒๕ มกราคม ๒๕๔๘
❖ ข้อ ๒๑๐ การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนครึ่งปีให้แก่พนักงานส่วนตําบล ซึ่งในครึ่งปีที่แล้ว มาได้รับอนุญาตให้ลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศตามข้อ ๒๐๕ (๙) (ช) ให้นายกองค์การบริหาร ส่วนตําบลพิจารณาสั่งเลื่อนได้ครั้งละไม่เกินครึ่งขั้นเมื่อผู้นั้นกลับมาปฏิบัติหน้าที่ราชการ โดยให้สั่งเลื่อน ย้อนหลังไปในแต่ละครั้งที่ควรจะได้เลื่อน ทั้งนี้ ให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่นายกองค์การบริหารส่วนตําบลกําหนด
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๔ ลว ๒๕ มกราคม ๒๕๔๘
๗๑
❖ ข้อ ๒๑๑ นายกองค์การบริหารส่วนตําบล จะนําเอาเหตุที่พนักงานส่วนตําบลผู้ใดถูกแต่งตั้ง คณะกรรมการสอบสวนในกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทําผิดวินัยอย่างร้ายแรงหรือถูกฟูองคดีอาญามาเป็นเหตุใน การไม่พิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนให้พนักงานส่วนตําบลผู้นั้นไม่ได้
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๔ ลว ๒๕ มกราคม ๒๕๔๘
❖ ข้อ ๒๑๒ ในกรณีที่พนักงานส่วนตําบลผู้ใดถูกสั่งลงโทษทางวินัยที่หนักกว่าโทษภาคทัณฑ์ และถูกศาลพิพากษาในคดีอาญาในความผิดที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือความผิดที่ทําให้เสื่อมเสีย เกียรติศักดิ์ของตําแหน่งหน้าที่ราชการของตน ซึ่งมิใช่ความผิดที่ได้กระทําโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ และเป็นการถูกลงโทษจากการกระทําความผิดเดียวกัน ถ้าถูกสั่งไม่เลื่อนขั้นเงินเดือนมาแล้ว เพราะเหตุที่ถูก ลงโทษทางวินัยหรือถูกศาลพิพากษาในคดีอาญาให้ลงโทษจะสั่งไม่เลื่อนขั้นเงินเดือนซ้ําอีกครั้งหนึ่งเพราะเหตุ จากการกระทําความผิดเดียวกันนั้นไม่ได้
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๔ ลว ๒๕ มกราคม ๒๕๔๘
❖ ข้อ ๒๑๓ ในกรณีที่ผลพิจารณาทางวินัยหรือโทษทางอาญาที่ถึงที่สุดแล้ว มีผลทําให้ การ เลื่อนขั้นเงินเดือนของพนักงานส่วนตําบลผู้ใดไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศกําหนดนี้ ให้ นายกองค์การบริหารส่วนตําบลพิจารณาสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนพนักงานส่วนตําบลผู้นั้นเสียใหม่ ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศกําหนดนี้
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๔ ลว ๒๕ มกราคม ๒๕๔๘
❖ ข้อ ๒๑๔ ในกรณีที่นายกองค์การบริหารส่วนตําบลพิจารณาเห็นสมควรเลื่อนขั้นเงินเดือนให้ พนักงานส่วนตําบลผู้ใดแต่ผู้นั้นจะต้องพ้นจากราชการไปเพราะเหตุเกษียณอายุตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จ บํานาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนเพื่อประโยชน์ในการ คํานวณบําเหน็จบํานาญให้ผู้นั้นในวันที่ ๓๐ กันยายนของครึ่งปีสุดท้ายก่อนที่จะพ้นจากราชการ
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๔ ลว ๒๕ มกราคม ๒๕๔๘
❖ ข้อ ๒๑๕ ในกรณีที่นายกองค์การบริหารส่วนตําบลพิจารณาเห็นสมควรเลื่อนขั้นเงินเดือนให้ พนักงานส่วนตําบลผู้ใด แต่ผู้นั้นได้ตายในหรือหลังวันที่ ๑ เมษายน หรือวันที่ ๑ ตุลาคมหรือออกจากราชการ ไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ หลังวันที่ ๑ เมษายนหรือวันที่ ๑ ตุลาคม แต่ก่อนที่จะมีคําสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนในแต่ละครั้ง ผู้มีอํานาจสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนจะสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนให้ผู้นั้นย้อนหลังไปถึงวันที่ ๑ เมษายนหรือวันที่ ๑ ตุลาคมครึ่งปีที่จะได้เลื่อนนั้นก็ได้ แต่ถ้าผู้นั้นได้พ้นจากราชการเพราะเหตุเกษียณอายุตามกฎหมายว่าด้วย บําเหน็จบํานาญข้าราชการส่วนท้องถิ่นไปก่อนที่จะมีคําสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนเพื่อประโยชน์ในการคํานวณ บําเหน็จบํานาญ นายกองค์การบริหารส่วนตําบลจะสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนให้ผู้นั้นย้อนหลังไปถึงวันที่ ๓๐ กันยายนของครึ่งปีสุดท้ายที่จะได้เลื่อนนั้นก็ได้
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๔ ลว ๒๕ มกราคม ๒๕๔๘
❖ ข้อ ๒๑๖ พนักงานส่วนตําบลผู้ใดไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะเลื่อนขั้นเงินเดือนได้ครึ่งขั้น ตาม ข้อ ๒๐๕ เนื่องจากขาดคุณสมบัติเกี่ยวกับระยะเวลาการปฏิบัติราชการ การลาหรือการมาทํางานสายตามที่
๗๒ กําหนด แต่นายกองค์การบริหารส่วนตําบลพิจารณาเห็นสมควรเลื่อนขั้นเงินเดือนให้ โดยมีเหตุผลเป็นกรณี พิเศษให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลเสนอคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด) เพื่อพิจารณา
อนุมัติให้สั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนเป็นการเฉพาะราย
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๔ ลว ๒๕ มกราคม ๒๕๔๘
ข้อ ๒๑๗ การเลื่อนขั้นเงินเดือนพนักงานส่วนตําบล ให้ดําเนินการตามข้อ ๑๙๙ โดยให้องค์การ บริหารส่วนตําบลตั้งคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่งเพื่อพิจารณาตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในหมวดนี้และให้นายก องค์การบริหารส่วนตําบลเป็นผู้มีอํานาจสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนพนักงานส่วนตําบลทุกตําแหน่ง ตามความเห็น ของคณะกรรมการ ดังกล่าว
ข้อ ๒๑๘ ในการกําหนดโควต้าการเลื่อนขั้นเงินเดือนกรณีพิเศษ กําหนดวงเงินที่ใช้ในการเลื่อน ขั้นเงินเดือนและการกําหนดเงินตอบแทนพิเศษสําหรับพนักงานส่วนตําบล ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ กลางพนักงานส่วนตําบล ( ก.อบต. ) กําหนด
ข้อ ๒๑๙ พนักงานส่วนตําบลผู้ใดถึงแก่ความตายเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ราชการ ให้องค์การ บริหารส่วนตําบลพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนให้ผู้นั้นเป็นกรณีพิเศษ เพื่อประโยชน์ในการคํานวณบําเหน็จ บํานาญ ทั้งนี้ ให้นํากฎหมายหรือระเบียบที่กําหนดไว้สําหรับข้าราชการพลเรือนมาใช้บังคับโดยอนุโลม
ข้อ ๒๒๐ ให้ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นของพนักงานส่วนตําบลผู้ถึงแก่ความตายเนื่องจากการปฏิบัติ หน้าที่ราชการเป็นผู้มีหน้าที่รายงานและเสนอขอให้พิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนเป็นกรณีพิเศษ โดยรวบรวม เอกสารที่เกี่ยวข้อง แล้วเสนอให้ผู้บังคับบัญชาตามลําดับจนถึงนายกองค์การบริหารส่วนตําบล
ในการรายงานและการเสนอขอให้พิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนเป็นกรณีพิเศษ ตามวรรคหนึ่งให้ กําหนดรายละเอียดดังนี้
๑ .ชื่อพนักงานส่วนตําบลผู้ถึงแก่ความตาย และประวัติการรับราชการของพนักงานส่วน ตําบลผู้ถึงแก่ความตาย
๒. รายงานเหตุที่พนักงานส่วนตําบลผู้นั้นถึงแก่ความตายเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ราชการ
๓. ความเห็นในการเสนอขอให้พิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนเป็นกรณีพิเศษเพื่อประโยชน์ใน การคํานวณบําเหน็จบํานาญ
๔ . สําเนาเอกสารของทางราชการที่ออกเกี่ยวกับการตาย และสาเหตุการตาย
๕ . เอกสารอื่น ๆ ที่มีความจําเป็นเพื่อประกอบการพิจารณา
ข้อ ๒๒๑ เมื่อนายกองค์การบริหารส่วนตําบลได้รับรายงานดังกล่าวแล้ว ให้นายกองค์การ บริหารส่วนตําบลแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่งจํานวนไม่เกิน ๓ คนประกอบด้วยปลัดองค์การบริหาร ส่วนตําบล และผู้อํานวยการกองหรือหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อพิจารณารายงานการขอเลื่อนขั้นเงินเดือนกรณี พิเศษของพนักงานส่วนตําบลผู้ถึงแก่ความตายเพื่อประโยชน์ในการคํานวณบําเหน็จบํานาญ
๗๓
ข้อ ๒๒๒ ในการพิจารณาของคณะกรรมการ ให้พิจารณารายงานการขอเลื่อนขั้นเงินเดือนกรณี พิเศษตามข้อ ๒๒๐ โดยให้พิจารณาดังนี้
พนักงานส่วนตําบลผู้นั้นถึงแก่ความตายเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ราชการ เหตุที่ทําให้ถึงแก่ความตาย มิได้เกิดจากความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของผู้ตาย หรือจาก
ความผิดของผู้ตาย
ความเห็นในการพิจารณาสมควรเลื่อนขั้นเงินเดือนให้เป็นกรณีพิเศษเพื่อประโยชน์ในการคํานวณ บําเหน็จบํานาญ
ข้อ ๒๒๓ เมื่อคณะกรรมการได้พิจารณาตามข้อ ๒๒๒ แล้ว ให้เสนอความเห็นในการพิจารณา การเลื่อนขั้นเงินเดือนให้พนักงานส่วนตําบลผู้ถึงแก่ความตายเป็นกรณีพิเศษเพื่อประโยชน์ในการคํานวน บําเหน็จบํานาญต่อนายกองค์การบริหารส่วนตําบลเพื่อพิจารณา
ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบล เสนอเรื่องการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนกรณีพิเศษและ ความเห็นตามวรรคหนึ่งให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) พิจารณาให้ความเห็นชอบ
ข้อ ๒๒๔ การสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนเป็นกรณีพิเศษสําหรับพนักงานส่วนตําบล ผู้ถึงแก่ความตาย เนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ราชการดังกล่าวให้นายกองค์การ บริหารส่วนตําบลเป็นผู้มีอํานาจสั่งตาม มติของ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) ตามข้อ ๒๒๓ โดยให้มีผลเพื่อประโยชน์ในการคํานวณ บําเหน็จบํานาญเท่านั้น
หมวด ๑๑ ระเบียบเกี่ยวกับการบริหารและการปฏิบัติงาน
ข้อ ๒๒๕ ให้กําหนดขนาดองค์การบริหารส่วนตําบล ดังนี้
(ก) องค์การบริหารส่วนตําบลชั้น ๑ กําหนดให้เป็นองค์การบริหารส่วนตําบลขนาดใหญ่ (ข) องค์การบริหารส่วนตําบลชั้น ๒ และชั้น ๓ กําหนดให้เป็นองค์การบริหารส่วนตําบล
ขนาดกลาง
(ค) องค์การบริหารส่วนตําบลชั้น ๔ และชั้น ๕ กําหนดให้เป็นองค์การบริหารส่วนตําบล ขนาดเล็ก
ข้อ ๒๒๖ ให้องค์การบริหารส่วนตําบลมีอํานาจหน้าที่ตามที่กําหนดในกฎหมายว่าด้วยสภาตําบล และองค์การบริหารส่วนตําบลกฎหมายว่าด้วยการกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นและกฎหมายอื่นที่กําหนดอํานาจหน้าที่ให้แก่องค์การบริหารส่วนตําบล
ในการกําหนดโครงสร้างส่วนราชการตามวรรคหนึ่งให้คํานึงถึงความต้องการ และความเหมาะสม ขององค์การบริหารส่วนตําบล โดยให้มีการแบ่งส่วนราชการ ดังต่อไปนี้
(๑) สํานักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล (๒) กอง หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น
ให้ส่วนราชการตาม (๑) มีฐานะเป็นกองหรือเป็นส่วน
๗๔
ข้อ ๒๒๗ ให้องค์การบริหารส่วนตําบลประกาศกําหนด กองหรือ ส่วนราชการ ที่เรียกชื่ออย่าง อื่น ตามข้อ ๒๒๖ วรรคสอง (๒) ซึ่งถือว่าเป็นส่วนราชการหลักขององค์การบริหารส่วนตําบล ดังนี้
(๑) กองคลัง หรือส่วนการคลัง (๒) กองช่าง หรือส่วนโยธา
ส่วนราชการที่องค์การบริหารส่วนตําบลอาจประกาศกําหนดได้ตามความเหมาะสมของแต่ละ องค์การบริหารส่วนตําบล ได้แก่
(๑) กองหรือส่วนส่งเสริมการเกษตร
(๒) กองหรือส่วนการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (๓) กองหรือส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
(๔) กองหรือส่วนราชการอื่นตามความต้องการและความเหมาะสมขององค์การบริหาร
ส่วนตําบล
ข้อ ๒๒๘ ภายใต้บังคับข้อ ๒๒๙ องค์การบริหารส่วนตําบล อาจประกาศกําหนด กองหรือ ส่วน
ราชการ อื่นได้ ตามความเหมาะสมและความจําเป็นขององค์การบริหารส่วนตําบลโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล ( ก.อบต.จังหวัด )
ข้อ ๒๒๙ ในการประกาศกําหนดกองหรือส่วนราชการตามข้อ ๒๓๑ ให้องค์การบริหารส่วน ตําบล จัดทําเป็นประกาศองค์การบริหารส่วนตําบล โดยให้กําหนดอํานาจหน้าที่ความรับผิดชอบของกองหรือ ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นภายในกรอบที่กําหนด ดังนี้
(๑) สํานักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล ให้มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับราชการ ทั่วไปขององค์การบริหารส่วนตําบล และราชการxxxxxxxxกําหนดให้เป็นหน้าที่ของกอง หรือส่วนราชการ ใดใน องค์การบริหารส่วนตําบลโดยเฉพาะ รวมทั้งกํากับและเร่งรัดการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในองค์การ บริหารส่วนตําบลให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทางและแผนการปฏิบัติราชการขององค์การบริหารส่วนตําบล
(๒) กองคลังหรือส่วนการคลัง มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับxxxxxxจ่าย การรับ การนําส่ง เงิน การเก็บxxxxxxxxxและเอกสารทางการเงิน การตรวจสอบใ บสําคัญ xxxxงานเกี่ยวกับเงินเดือนค่าxxxx ค่าตอบแทน เงินบําเหน็จบํานาญ เงินอื่นๆ งานเกี่ยวกับการจัดทํางบประมาณ ฐานะทางการเงิน การจัดสรร เงินต่างๆ การจัดทําบัญชีทุกประเภท ทะเบียนxxxxxxxรายได้และรายจ่ายต่างๆ การควบคุมการเบิกจ่าย งาน ทํางบทดลองประจําเดือนประจําปี งานเกี่ยวกับการพัสดุขององค์การบริหารส่วนตําบลและงานอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องและxxxxxxรับมอบหมาย
(๓) xxxxxxx หรือส่วนโยธา มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการสํารวจออกแบบการจัดทํา ข้อมูลทางด้านวิศวกรรม การจัดเก็บและทดสอบคุณภาพวัสดุ งานออกแบบและเขียนแบบ การตรวจสอบ การก่อสร้าง xxxxxxควบคุมอาคารตามxxxxxxxกฎหมาย งานแผนการปฏิบัติ xxxxxxก่อสร้างและซ่อมบํารุง การควบคุมการก่อสร้างและซ่อมบํารุง งานแผนงานด้านวิศวกรรมxxxxxxxxxxxกล การรวบรวมประวัติติดตาม ควบคุมการปฏิบัติงานxxxxxxxxxxxกล การควบคุม การบําxxxxxxxxxxxxxxx xxxxกลและxxxพาหนะ งานเกี่ยวกับ แผนงาน ควบคุม เก็บxxxxx xxxเบิกจ่ายวัสดุ อุปกรณ์ อะไหล่ น้ํามันเชื้อเพลิง และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องและ ทไี่ ด้รับมอบหมาย
๗๕
ข้อ ๒๓๐ การกําหนดอํานาจหน้าที่ความรับผิดชอบของสํานักงานปลัดองค์การบริหารส่วน ตําบล กองหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่องค์การบริหารส่วนตําบลประกาศจัดตั้งขึ้น ให้กําหนดให้ ครอบคลุมภารกิจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตําบล ตามที่กฎหมายกําหนดหรือภารกิจหน้าที่ที่องค์การ บริหารส่วนตําบลต้องปฏิบัติ และการกําหนดอํานาจหน้าที่ความรับผิดชอบดังกล่าวต้องมีความชัดเจนและไม่ ซ้ําซ้อนระหว่างกองหรือส่วนราชการต่างๆ ในองค์การบริหารส่วนตําบล นั้น
ข้อ ๒๓๑ การแบ่งส่วนราชการภายในสํานักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล กองหรือส่วน ราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น ให้องค์การบริหารส่วนตําบลจัดทําเป็นประกาศองค์การบริหารส่วนตําบลจัดแบ่ง ส่วนราชการภายในได้ตามความเหมาะสมและความจําเป็นของแต่ละองค์การบริหารส่วนตําบลดังนี้
(๑) การจัดแบ่งส่วนราชการภายในให้พิจารณาจัดแบ่งตามความเหมาะสม และความจําเป็น ตามภารกิจหน้าที่และปริมาณงานของส่วนราชการนั้น โดยจัดแบ่งฝุายกลุ่มหรือชื่องานอื่นใดเป็นจํานวนเท่าใด ตามที่เห็นxxxxxและเป็นที่เข้าใจได้ถึงภารกิจหน้าที่ของฝุายหรือกลุ่มงานนั้น
(๒) การกําหนดอํานาจหน้าที่ความรับผิดชอบของส่วนราชการภายในxxxxxxจัดแบ่งนั้น จะต้อง กําหนดให้มีความxxxxxx xxxซ้ําซ้อนกับส่วนราชการอื่นและต้องอยู่ภายในกรอบอํานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ ของกองหรือส่วนราชการนั้น
ข้อ ๒๓๒ การประกาศกําหนดส่วนราชการขององค์การบริหารส่วนตําบล กําหนดอํานาจหน้าที่ ความรับผิดชอบของส่วนราชการและการจัดแบ่งส่วนราชการภายใน ตามข้อ ๒๒๙ และข้อ ๒๓๑ ให้องค์การ บริหารส่วนตําบล จัดทําเป็นร่างประกาศองค์การบริหารส่วนตําบล แล้วเสนอให้คณะกรรม การพนักงานส่วน ตําบลจังหวัดให้ความเห็นชอบ เมื่อคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) พิจารณาให้ความ เห็นชอบแล้ว ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบล ลงนามในประกาศใช้บังคับต่อไป
ข้อ ๒๓๓ การจัดตั้งกองหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นขึ้นใหม่ เพื่อรองรับภารกิจหน้าที่ของ องค์การบริหารส่วนตําบล หรือการปรับปรุงการกําหนดส่วนราชการขององค์การบริหารส่วนตําบล ซึ่งมีการ จัดตั้งกอง หรือส่วนราชการขึ้นใหม่ ให้องค์การบริหารส่วนตําบลเสนอเหตุผลความจําเป็น และร่างประกาศ องค์การบริหารส่วนตําบลกําหนดกองหรือส่วนราชการขึ้นใหม่ เพื่อให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก. อบต.จังหวัด) พิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยให้มีรายการดังนี้
(๑) เหตุผล ความจําเป็นที่ต้องจัดตั้งกองหรือส่วนราชการขึ้นใหม่ (๒) ชื่อกองหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น
(๓) อํานาจหน้าที่ความรับผิดชอบของกองหรือส่วนราชการ นั้น
(๔) ลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติตาม (๓) คุณภาพและปริมาณงานถึงขนาดต้องจัดตั้งเป็น หน่วยงานระดับกองและกําหนดอัตรากําลังพนักงานส่วนตําบลในส่วนราชการนั้น
(๕) ร่างประกาศองค์การบริหารส่วนตําบล กําหนดส่วนราชการที่ปรับปรุงใหม่โดยกําหนด อํานาจหน้าที่ความรับผิดชอบกองหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและการจัดแบ่งส่วนราชการภายในตาม ข้อ ๒๓๒
๗๖
ในการพิจารณาของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด) ให้คํานึงถึงภารกิจอํานาจ หน้าที่ความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตําบลตามที่กฎหมายกําหนดลักษณะงาน คุณภาพของงาน ปริมาณงาน และความจําเป็นความเหมาะสม ตลอดทั้งอัตรากําลังของพนักงานส่วนตําบล และงบประมาณ ค่าใช้จ่ายต่างๆ ขององค์การบริหารส่วนตําบล
ข้อ ๒๓๔ เมื่อคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) ได้พิจารณาการขอจัดตั้งหรือ ปรับปรุงการกําหนดส่วนราชการตามข้อ ๒๓๓ แล้ว ให้ดําเนินการดังนี้
(๑) กรณีมีมติเห็นชอบการจัดตั้งหรือปรับปรุงการกําหนดส่วนราชการใหม่ และอัตรา กําลัง พนักงานส่วนตําบลที่กําหนดในกองหรือส่วนราชการที่จัดตั้งขึ้นใหม่ เป็นการปรับเกลี่ยมาจากกองหรือส่วน ราชการอื่นภายในองค์การบริหารส่วนตําบลโดยไม่xxxxxอัตรากําลัง ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลลงนาม ในประกาศใช้บังคับและดําเนินการตามมติคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด)
(๒) กรณีมีมติเห็นชอบการจัดตั้งหรือปรับปรุงการกําหนดส่วนราชการใหม่ และอัตรากําลัง พนักงานส่วนตําบลที่กําหนดในกองหรือส่วนราชการที่จัดตั้งขึ้นใหม่ ซึ่งเป็นการกําหนดตําแหน่งxxxxxใหม่ ให้ นายกองค์การบริหารส่วนตําบลลงนามในประกาศใช้บังคับและดําเนินการตามมติคณะกรรมการพนักงานส่วน ตําบล ( ก.อบต.จังหวัด )
(๓) กรณีมีมติเป็นประการอื่นใดให้องค์การบริหารส่วนตําบลดําเนินการตามมติของคณะ กรรมการพนักงานส่วนตําบล ( ก.อบต.จังหวัด ) นั้น
ข้อ ๒๓๕ อํานาจหน้าที่ของนายกองค์การบริหารส่วนตําบล ในการควบคุมและรับผิดชอบการ บริหารกิจการขององค์การบริหารส่วนตําบล ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยสภาตําบลและองค์การบริหารส่วน ตําบล
ข้อ ๒๓๖ ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยสภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล ให้ปลัดองค์การ บริหารส่วนตําบลมีอํานาจหน้าที่ดังนี้
(๑) รับผิดชอบควบคุมการปฏิบัติราชการประจําในองค์การบริหารส่วนตําบลกําหนดแนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการขององค์การบริหารส่วนตําบล และลําดับความสําคัญของแผนการปฏิบัติราชการ ประจําปีของส่วนราชการในองค์การบริหารส่วนตําบล ให้เป็นไปตามนโยบายของนายกองค์การบริหารส่วน ตําบล รวมทั้งกํากับเร่งรัดติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในองค์การบริหารส่วน ตําบล
(๒) เป็นผู้xxxxxxบังคับบัญชาพนักงานส่วนตําบล และลูกจ้างขององค์การบริหารส่วนตําบล รองจากนายกองค์การบริหารส่วนตําบล
ในการปฏิบัติราชการของปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล จะให้มีรองปลัดองค์การบริหารส่วน ตําบลเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการด้วยก็ได้
ในกรณีที่มีรองปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลให้รองปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลเป็น ผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการรองจากปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล
ให้รองปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลมีอํานาจหน้าที่ตามที่ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลมอบหมาย
๗๗
ข้อ ๒๓๗ ให้สํานักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลมีหัวหน้าสํานักงานปลัดองค์การบริหาร ส่วนตําบลคนหนึ่ง เป็นผู้xxxxxxบังคับบัญชาพนักงานส่วนตําบลและลูกจ้างและรับผิดชอบในการปฏิบัติ ราชการของสํานักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลนั้น
ข้อ ๒๓๘ ในกองหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นมีผู้อํานวยการกองหรือหัวหน้าส่วนราชการ ที่เรียกชื่ออย่างอื่นคนหนึ่งเป็นผู้xxxxxxบังคับบัญชาพนักงานส่วนตําบลและลูกจ้างและรับผิดชอบในการ ปฏิบัติราชการของกองหรือส่วนราชการนั้น
ข้อ ๒๓๙ ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยสภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล การกําหนดให้ ตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลตําแหน่งใดxxxxxxxxกําหนดไว้ตามประกาศนี้ บังคับบัญชาพนักงานส่วนตําบลในส่วน ราชการใด ฐานะใดให้เป็นไปตามที่นายกองค์การบริหารส่วนตําบลมอบหมายโดยทําเป็นหนังสือ
ข้อ ๒๔๐ นายกองค์การบริหารส่วนตําบลอาจมอบอํานาจในการxxxxxxxอนุญาต การอนุมัติ หรือ การปฏิบัติกิจการที่นายกองค์การบริหารส่วนตําบลจะพึงปฏิบัติ หรือดําเนินการตามกฎหมายใด ให้ผู้ดํารง ตําแหน่งใดในองค์การบริหารส่วนตําบลปฏิบัติราชการแทนก็ได้ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยสภาตําบล และองค์การบริหารส่วนตําบล
ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยสภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล อํานาจในการxxxxxxxอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการ หรือการดําเนินการอื่นที่ผู้ดํารงตําแหน่งใดจะพึงปฏิบัติ หรือดําเนินการตามกฎหมาย xxxxxxx ข้อบังคับหรือคําสั่งใดหรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องใด ถ้ากฎหมายxxxxxxxข้อบังคับ หรือคําสั่งใด หรือ มติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องนั้น มิได้กําหนดเรื่องการมอบอํานาจไว้เป็นอย่างอื่น หรือมิได้ห้ามเรื่องการมอบอํานาจไว้ ผู้ดํารงตําแหน่งนั้นอาจมอบอํานาจให้ผู้ดํารงตําแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทนได้ ดังนี้
(๑)นายกองค์การบริหารส่วนตําบลอาจมอบให้รองนายกองค์การบริหารส่วนตําบล ปลัด
องค์การบริหารส่วนตําบล รองปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล ผู้อํานวยการกองหรือหัวหน้าส่วนราชการที่ เรียกชื่ออย่างอื่น
(๒) ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลอาจมอบให้รองปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล ผู้อํานวย การกอง หรือหัวหน้าส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น
(๓) ผู้อํานวยการกอง หรือหัวหน้าส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น อาจมอบให้พนักงานส่วน ตําบลในกองหรือส่วนราชการนั้น
การมอบอํานาจให้ปฏิบัติราชการแทนตามวรรคสองให้ทําเป็นหนังสือ
ข้อ ๒๔๑ เมื่อมีการมอบอํานาจตามข้อ ๒๔๐ โดยชอบแล้ว ผู้รับมอบอํานาจมีหน้าที่ต้องรับมอบ อํานาจนั้น และจะมอบอํานาจนั้นให้แก่ผู้ดํารงตําแหน่งอื่นต่อไปxxxxxx
ข้อ ๒๔๒ ในการมอบอํานาจตามข้อ ๒๔๐ วรรคสอง (๑) และ (๒) ให้ผู้มอบอํานาจxxxxxxxxxx xxxอํานวยความสะดวกแก่ประชาชนความรวดเร็วในการปฏิบัติราชการ การxxxxxxความรับผิดชอบตาม สภาพของตําแหน่งของผู้มอบอํานาจและผู้รับมอบอํานาจต้องปฏิบัติหน้าที่xxxxxxรับมอบอํานาจตาม วัตถุประสงค์ของการมอบอํานาจดังกล่าว
๗๘
เมื่อได้รับมอบอํานาจแล้ว ผู้มอบอํานาจมีหน้าที่กํากับติดตามผลการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบ อํานาจ และให้มีอํานาจแนะนําและแก้ไขการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอํานาจได้
ข้อ ๒๔๓ การรักษาราชการแทนนายกองค์การบริหารส่วนตําบล ในกรณีที่นายกองค์การบริหาร ส่วนตําบลไม่อยู่หรือไม่xxxxxxปฏิบัติราชการได้ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยสภาตําบลและองค์การบริหาร ส่วนตําบล
ข้อ ๒๔๔ ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยสภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล ในกรณีที่ไม่มี ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลหรือมีแต่ไม่xxxxxxปฏิบัติราชการได้ ให้รองปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลเป็น ผู้รักษาราชการแทน ถ้ามีรองปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลหลายคน ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบล แต่งตั้งรองปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดํารงตําแหน่งรอง ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล หรือมีแต่ไม่xxxxxxปฏิบัติราชการได้ ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบล แต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลในองค์การบริหารส่วนตําบลซึ่งดํารงตําแหน่งไม่ต่ํากว่าผู้อํานวยการกองหรือหัวหน้า ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นเป็นผู้รักษาราชการแทน
ในกรณีที่ไม่มีรองปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลหรือมีแต่ไม่xxxxxxปฏิบัติราชการได้นายก องค์การบริหารส่วนตําบลจะแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลในองค์การบริหารส่วนตําบลซึ่ง
ข้อ ๒๔๕ ภายใต้บังคับดํารงตําแหน่งไม่ต่ํากว่าผู้อํานวยการกองหรือหัวหน้าส่วนราชการที่ เรียกชื่ออย่างอื่นเป็นผู้รักษาราชการแทนก็ได้กฎหมายว่าด้วยสภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล ในกรณี ที่ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่งผู้อํานวยการกอง หรือหัวหน้าส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น ให้นายกองค์การบริหาร ส่วนตําบลแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลในกองหรือส่วนราชการนั้นคนใดคนหนึ่งที่เห็นxxxxxให้เป็นผู้รักษา ราชการแทนได้ แต่เพื่อความเหมาะสมแก่การรับผิดชอบการปฏิบัติราชการในกองหรือส่วนราชการนั้น นายก องค์การบริหารส่วนตําบลอาจแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลคนใดคนหนึ่งซึ่งดํารงตําแหน่งไม่ต่ํากว่าผู้อํานวยการ กองหรือหัวหน้าส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นเป็นผู้รักษาราชการแทนก็ได้
ข้อ ๒๔๖ ให้ผู้รักษาราชการแทนมีอํานาจหน้าที่xxxxเดียวกับผู้xxxxxxxxx ในกรณีที่มีผู้ดํารงตําแหน่งใด หรือผู้รักษาราชการแทนผู้ดํารงตําแหน่งนั้นมอบหมาย หรือมอบ
อํานาจให้ผู้ดํารงตําแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทน ให้ผู้ปฏิบัติราชการแทนมีอํานาจหน้าที่xxxxเดียวกับผู้ซึ่ง มอบหมายหรือมอบอํานาจ
ในกรณีที่มีกฎหมายอื่นแต่งตั้งให้ผู้ดํารงตําแหน่งใดเป็นกรรมการหรือให้มีอํานาจหน้าที่อย่างใด ให้ผู้รักษาราชการแทนหรือผู้ปฏิบัติราชการแทน มีอํานาจหน้าที่เป็นกรรมการหรือมีอํานาจหน้าที่xxxxเดียวกับ ผู้ดํารงตําแหน่งนั้นในการรักษาราชการแทน หรือปฏิบัติราชการแทนด้วยแล้วแต่กรณี
ข้อ ๒๔๗ การเป็นผู้รักษาราชการแทนตามที่กําหนดในประกาศนี้xxxxxxxxxxxxxxxxอํานาจ นายกองค์การบริหารส่วนตําบล ซึ่งเป็นผู้xxxxxxxxxxxxxxจะแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบลอื่น เป็นผู้รักษาราชการ แทนตามอํานาจหน้าที่ที่มีอยู่ตามกฎหมาย
๗๙
ในกรณีที่มีการแต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ดํารงตําแหน่งรองหรือผู้ช่วยพ้นจาก ความเป็นผู้รักษาราชการแทนนับแต่เวลาที่ผู้ได้รับการแต่งตั้งตามวรรคหนึ่งเข้ารับหน้าที่
ข้อ ๒๔๘ ในกรณีที่ตําแหน่งพนักงานส่วนตําบลตําแหน่งอื่นว่างลง หรือผู้ดํารงตําแหน่งไม่ xxxxxxปฏิบัติราชการได้ และเป็นกรณีxxxxxxxxมีการกําหนดไว้เกี่ยวกับการปฏิบัติราชการแทนและการรักษา ราชการแทน ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบล มีอํานาจสั่งให้พนักงานส่วนตําบลที่เห็นxxxxxโดยให้ พิจารณาถึงความรู้ความxxxxxxความเหมาะสมและเป็นประโยชน์ต่อทางราชการสูงสุดให้xxxxxxxxใน ตําแหน่งนั้น
ผู้xxxxxxxxในตําแหน่งตามวรรคหนึ่ง ให้มีอํานาจหน้าที่ตามตําแหน่งที่xxxxxxxxนั้น ในกรณีที่ม กฎหมายอื่น กฎ xxxxxxx ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี มติคณะกรรมการตามกฎหมาย หรือคําสั่งผู้บังคับ บัญชาแต่งตั้งให้ผู้ดํารงตําแหน่งนั้นเป็นกรรมการ หรือให้มีอํานาจหน้าที่ใด ก็ให้ผู้xxxxxxxxในตําแหน่งทํา หน้าที่กรรมการหรือมีอํานาจหน้าที่อย่างนั้น ในระหว่างที่xxxxxxxxในตําแหน่ง แล้วแต่กรณี
หมวด ๑๒ การบริหารงานบุคคล ส่วนที่ ๑
การสั่งพนักงานส่วนตําบลประจําองค์การบริหารส่วนตําบล
ข้อ ๒๔๙ ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลโดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการพนักงานส่วน ตําบล(ก.อบต.จังหวัด)มีอํานาจสั่งพนักงานส่วนตําบลให้ประจําองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นการชั่วคราว โดย ให้พ้นจากตําแหน่งหน้าที่เดิมได้ ในกรณีที่มีเหตุผลความจําเป็น ดังต่อไปนี้
(๑) เมื่อพนักงานส่วนตําบลมีกรณีถูกกล่าวหาหรือมีกรณีเป็นที่สงสัยว่ากระทําผิดxxxxx อย่างร้ายแรง หรือถูกฟูองคดีอาญา หรือต้องหาว่ากระทําความผิดอาญา เว้นแต่เป็นความผิดxxxxxxกระทําโดย ประมาทหรือความผิดลหุโทษ หรือกรณีที่ถูกฟูองนั้น พนักงานอัยการรับเป็นทนายxxxxxxxให้และถ้าให้ผู้นั้นxx อยู่ในตําแหน่งหน้าที่เดิมต่อไปจะเป็นอุปสรรคต่อการสืบสวนสอบสวนหรืออาจxxxxxxxเสียหายแก่ราชการ
(๒) เมื่อพนักงานส่วนตําบลกระทําหรือละเว้นกระทําการใดจนต้องคําพิพากษาถึงที่สุดว่า เป็นผู้กระทําความผิดอาญา และผู้มีอํานาจดังกล่าวพิจารณาเห็นว่าข้อเท็จจริงที่ปรากฏตามคําพิพากษาถึง ที่สุดนั้นได้ความxxxxxxxxชัดอยู่แล้วว่าการกระทําหรือละเว้นกระทําการนั้นเป็นความผิดxxxxxxxxxxxx
(๓) เมื่อพนักงานส่วนตําบลละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการ และผู้บังคับบัญชาได้ ดําเนินการสืบสวนแล้วเห็นว่าไม่มีเหตุผลอันxxxxxและการละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการนั้นเป็นเหตุให้ เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง
(๔) เมื่อพนักงานส่วนตําบลกระทําผิดxxxxxอย่างร้ายแรง และได้รับสารภาพเป็นหนังสือต่อ ผู้บังคับบัญชา หรือให้ถ้อยคํารับสารภาพต่อผู้มีหน้าที่สืบสวนหรือคณะกรรมการสอบสวนตามมาตรฐานทั่วไป เกี่ยวกับxxxxx การรักษาxxxxx และการดําเนินการทางxxxxxและได้มีการบันทึกถ้อยคํารับสารภาพเป็นหนังสือ
๘๐
(๕) เมื่อพนักงานส่วนตําบลมีกรณีถูกแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นทําการสอบสวนในกรณีถูก กล่าวหาหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นผู้ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามสําหรับพนักงานส่วนตําบล
(๖) เมื่อพนักงานส่วนตําบลมีกรณีถูกแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นทําการสอบสวน หรือมีการ ใช้สํานวนการสอบสวนพิจารณาดําเนินการในกรณีถูกกล่าวหา หรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าหย่อนความxxxxxx ในอันที่จะปฏิบัติราชการบกพร่องในหน้าที่ราชการหรือประพฤติตน ไม่เหมาะสมกับตําแหน่งหน้าที่ราชการ หรือมีกรณีที่ปรากฏชัดแจ้งตามมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับxxxxx การรักษาxxxxx และการดําเนินการทางxxxxx
(๗) เมื่อพนักงานส่วนตําบลผู้ดํารงตําแหน่งใดมีกรณีถูกกล่าวหา หรือมีกรณีเป็นที่สงสัยว่า มีxxxxxxxxxxxxเหมาะสมที่จะปฏิบัติหน้าที่ราชการในตําแหน่งนั้นซึ่งผู้บังคับบัญชาได้สืบสวนแล้วเห็นว่ากรณีxx xxxและถ้าให้ผู้นั้นxxอยู่ในตําแหน่งเดิมต่อไปอาจxxxxxxxเสียหายแก่ราชการ
(๘) เมื่อพนักงานส่วนตําบลได้รับอนุญาตให้ลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ (๙) เมื่อพนักงานส่วนตําบลได้รับอนุญาตให้ลาติดตามคู่สมรสซึ่งไปปฏิบัติหน้าที่ราชการ
หรือไปปฏิบัติงานในต่างประเทศ
(๑๐) เมื่อพนักงานส่วนตําบลได้รับทุนรัฐบาลหรือทุนขององค์การบริหารส่วนตําบลให้ไป ศึกษาหรือฝึกอบรมในประเทศ หรือต่างประเทศ
(๑๑) กรณีอื่นที่มีเหตุผลความจําเป็นพิเศษเพื่อประโยชน์แก่ราชการ โดยได้รับความ เห็นชอบจากคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด)
ข้อ ๒๕๐ ในการเสนอขอให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) พิจารณาให้ ความเห็นชอบการสั่งพนักงานส่วนตําบลให้ประจําองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นการชั่วคราว ให้แสดง รายละเอียดในคําเสนอขอ ดังต่อไปนี้
(๑) คําชี้แจง เหตุผลความจําเป็นและประโยชน์แก่ราชการ และระยะเวลาที่จะสั่งพนักงาน ส่วนตําบลให้ประจําองค์การบริหารส่วนตําบล ทั้งนี้ ต้องไม่เกินหกเดือน เว้นแต่การสั่งประจําองค์ การบริหาร ส่วนตําบลตามข้อ ๒๔๙ (๘) (๙) และ(๑๐) ให้สั่งxxxxxxเกินระยะเวลาที่ผู้นั้นได้รับอนุญาตให้ลา
(๒) หน้าที่และความรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการที่จะมอบหมายแก่ผู้ถูกสั่งให้ประจํา องค์การบริหารส่วนตําบล ยกเว้นกรณีตามข้อ ๒๔๙ (๘) (๙) และ (๑๐)
ข้อ ๒๕๑ การสั่งพนักงานส่วนตําบลให้ประจําองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นการชั่วคราว ให้ นายกองค์การบริหารส่วนตําบลสั่งได้ตามมติของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด ) เป็นเวลา ไม่เกินหกเดือนนับแต่xxxxxxถูกสั่งให้ประจํา เว้นแต่กรณีสั่งประจําองค์การบริหารส่วนตําบลตามข้อ ๒๔๙ (๘) (๙) และ (๑๐) ให้สั่งxxxxxxเกินระยะเวลาที่ผู้นั้นได้รับอนุญาตให้ลา เมื่อมีการสั่งพนักงานส่วนตําบลผู้ใดให้ ประจําองค์การบริหารส่วนตําบลแล้ว และถ้านายกองค์การบริหารส่วนตําบลเห็นว่ายังมีเหตุผลความจําเป็น พิเศษที่จะต้องสั่งให้ผู้นั้นประจําต่อไปอีกเกินกําหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง ให้ขอความเห็นชอบขยายเวลาต่อ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด )ได้อีกไม่เกินหนึ่งปี ทั้งนี้ ให้ขอขยายเวลาก่อนวันครบ กําหนดเวลาเดิมไม่น้อยกว่าสามสิบวันเว้นแต่กรณีที่มีเหตุผลความจําเป็นพิเศษ อาจขอความเห็นชอบขยาย เวลาต่อคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) ก่อนวันครบกําหนดเวลาเดิมน้อยกว่าสามสิบxxxxxx
๘๑
การขอความเห็นชอบขยายเวลาตามวรรคสองให้นําความตามข้อ ๒๕๒ (๑) และ (๒) มาใช้บังคับ โดยอนุโลม
ข้อ ๒๕๒ ในการเสนอขอให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) พิจารณาให้ ความเห็นชอบการสั่งพนักงานส่วนตําบลให้ประจําองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นการชั่วคราวตามข้อ ๒๔๙ (๘) (๙) (๑๐) หรือ (๑๑) หากองค์การบริหารส่วนตําบลเห็นว่า เพื่อประโยชน์ต่อการบริหารราชการขององค์การ บริหารส่วนตําบล และให้มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานxxxxxในตําแหน่งผู้ที่ถูกสั่งให้ประจําองค์การบริหารส่วน ตําบล ให้องค์การบริหารส่วนตําบลดําเนินการตามข้อ ๒๕๐ (๑) และ (๒)และให้เสนอขอกําหนดตําแหน่ง ประจําองค์การบริหารส่วนตําบลxxxxxใหม่ เพื่อรองรับพนักงานส่วนตําบล ผู้ถูกสั่งให้ประจําดังกล่าวเป็นการ เฉพาะตัว โดยให้กําหนดเป็นเงื่อนไขว่า หากตําแหน่งประจําองค์การบริหารส่วนตําบลว่างลงให้ยุบเลิก ตําแหน่งได้
เมื่อคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) ได้พิจารณาให้ความเห็นชอบตามวรรค หนึ่งแล้ว ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลสั่งพนักงานส่วนตําบลผู้นั้น ให้ประจําองค์การบริหารส่วนตําบล ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) และให้นําความที่กําหนดในข้อ
๒๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ข้อ ๒๕๓ เมื่อนายกองค์การบริหารส่วนตําบลสั่งผู้ใดให้ประจําองค์การบริหารส่วนตําบลโดยมี เหตุผลความจําเป็นในกรณีใดแล้ว เมื่อหมดความจําเป็นหรือครบกําหนดเวลาตามข้อ ๒๕๑ ให้นายกองค์การ บริหารส่วนตําบล โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) สั่งให้ผู้นั้นดํารง ตําแหน่งเดิม หรือแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับเดียวกับที่ผู้นั้นมีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับ ตําแหน่งนั้น
ข้อ ๒๕๔ การให้พ้นจากตําแหน่ง การให้ได้รับเงินเดือน การแต่งตั้ง การเลื่อนxxxxxxxx เดือนการ ดําเนินการทางxxxxx และการออกจากราชการของพนักงานส่วนตําบลที่ถูกสั่งให้ประจําองค์การบริหารส่วน ตําบลเป็นการชั่วคราวให้ถือเสมือนว่าผู้ถูกสั่งนั้นดํารงตําแหน่งเดิม
ส่วนที่ ๒ การสั่งพนักงานส่วนตําบลไปช่วยปฏิบัติราชการ
ข้อ ๒๕๕ นายกองค์การบริหารส่วนตําบลมีอํานาจสั่งให้พนักงานส่วนตําบลในส่วนราชการหนึ่ง ไปช่วยปฏิบัติราชการในอีกส่วนราชการหนึ่งในองค์การบริหารส่วนตําบลเดียวกันเป็นการชั่วคราวได้ โดยไม่ ขาดจากหน้าที่ในตําแหน่งเดิม
การสั่งให้พนักงานส่วนตําบลไปช่วยปฏิบัติราชการตามวรรคหนึ่ง ให้คํานึงถึงภารกิจหน้าที่ที่ต้อง ไปปฏิบัติว่ามีความเหมาะสม สอดคล้องกับความรู้ความxxxxxxและตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่งของ พนักงานส่วนตําบลผู้นั้นด้วย
๘๒
ข้อ ๒๕๖ ห้ามสั่งให้พนักงานส่วนตําบลไปช่วยปฏิบัติราชการในองค์การบริหารส่วนตําบลอื่น ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่นอื่น เว้นแต่กรณีมีความจําเป็นและสําคัญ อย่างยิ่งเพื่อประโยชน์ของทางราชการโดยรวม นายกองค์การบริหารส่วนตําบลอาจสั่งให้พนักงานส่วนตําบล ไปช่วยปฏิบัติราชการในองค์การบริหารส่วนตําบลอื่น ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือ ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นได้ โดยให้พิจารณาถึงผลกระทบxxxxxxเกิดความเสียหายกับองค์การบริหารส่วนตําบล ต้นสังกัดเป็นหลักและต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขดังนี้
(๑) องค์การบริหารส่วนตําบลและหน่วยงานที่จะขอยืมตัวพนักงานส่วนตําบลได้ทําความ ตกลงกันโดยทําเป็นหนังสือ
(๒) พนักงานส่วนตําบลผู้ที่จะถูกสั่งให้ไปช่วยปฏิบัติราชการจะต้องสมัครใจที่จะไปช่วย ปฏิบัติราชการในหน่วยราชการอื่นนั้น โดยมีหนังสือยินยอม
(๓) พนักงานส่วนตําบลผู้นั้นต้องเป็นผู้มีความรู้ความxxxxxxในงานตามภารกิจที่ไปช่วย ปฏิบัติราชการนั้น และตรงตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่งของพนักงานส่วนตําบลผู้นั้นด้วย
(๔) การสั่งให้พนักงานส่วนตําบลไปช่วยปฏิบัติราชการ ให้สั่งได้เป็นการชั่วคราวครั้งละไม่ เกิน ๖ เดือนและในกรณีเกี่ยวเนื่องกันให้สั่งช่วยปฏิบัติราชการxxxxxxเกิน ๒ ครั้ง และเมื่อครบกําหนดแล้ว ให้ ส่งตัวพนักงานส่วนตําบลผู้นั้นคืนองค์การบริหารส่วนตําบลต้นสังกัดโดยเร็ว
ข้อ ๒๕๗ การขอยืมตัวข้าราชการ พนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่นมาช่วยปฏิบัติราชการในองค์การบริหารส่วนตําบล ให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยสภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล
ส่วนที่ ๓ การพัฒนาพนักงานส่วนตําบล
ข้อ ๒๕๘ ให้องค์การบริหารส่วนตําบลมีการพัฒนาผู้ได้รับการบรรจุเข้ารับราชการเป็นพนักงาน ส่วนตําบลก่อนมอบหมายหน้าที่ให้ปฏิบัติเพื่อให้xxxxxxxxxxแบบแผนของทางราชการ หลักและวิธีปฏิบัติ ราชการ บทบาท และหน้าที่ของพนักงานส่วนตําบลในระบอบxxxxxxxxxxxxxxxxพระมหากษัตริย์ทรงเป็น xxxxxxและแนวทางปฏิบัติตนเพื่อเป็นพนักงานส่วนตําบลxxxxx
ข้อ ๒๕๙ การพัฒนาพนักงานส่วนตําบล ตามข้อ ๒๕๘ ต้องดําเนินการพัฒนาให้ครบ ถ้วนตาม หลักสูตรที่คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัดกําหนด xxxx การพัฒนาด้านความรู้พื้นฐานในการปฏิบัติ ราชการให้ใช้วิธีการฝึกอบรมในห้องฝึกอบรม การฝึกอบรมทางไกลหรือการพัฒนาตนเองก็ได้
หากองค์การบริหารส่วนตําบลมีความxxxxxxxจะพัฒนาเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับความจําเป็นใน การพัฒนาของแต่ละองค์การบริหารส่วนตําบลก็ให้กระทําได้ ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนตําบลที่จะดําเนินการ จะต้องใช้หลักสูตรที่คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) กําหนดเป็นหลักสูตรหลักและเพิ่มเติม หลักสูตรตามความจําเป็นที่องค์การบริหารส่วนตําบลพิจารณาเห็นว่ามีความเหมาะสมต่อไป
๘๓
ข้อ ๒๖๐ การพัฒนาพนักงานส่วนตําบลเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในหน้าที่ ให้องค์การบริหารส่วน ตําบลxxxxxxเลือกใช้วิธีการพัฒนาอื่นๆ xxx xxxx การพัฒนาโดยผู้บังคับบัญชาและการฝึกภาคสนาม
ข้อ ๒๖๑ การพัฒนาพนักงานส่วนตําบลนี้ อาจกระทําได้โดยสํานักงานคณะกรรมการกลาง พนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) สํานักงานคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) องค์การบริหาร ส่วนตําบลต้นสังกัด หรือสํานักงานคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด ) ร่วมกับองค์การบริหาร ส่วนตําบลต้นสังกัด หรือองค์การบริหารส่วนตําบลต้นสังกัดร่วมกับส่วนราชการอื่นหรือภาคเอกชนก็ได้
ข้อ ๒๖๒ การดําเนินการพัฒนาพนักงานส่วนตําบลผู้ได้รับการบรรจุเข้ารับราชการใหม่นี้ ให้ กระทําภายในระยะเวลาที่พนักงานส่วนตําบลผู้นั้นยังอยู่ในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ
ข้อ ๒๖๓ การพัฒนาพนักงานส่วนตําบลผู้ได้รับการบรรจุเข้ารับราชการใหม่ให้ดําเนินการดังนี้ (๑) การปฐมนิเทศ ให้กระทําในระยะแรกของการบรรจุเข้ารับราชการ
(๒) หลักสูตรการพัฒนาให้เป็นไปตามหลักสูตรที่คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก. อบต.จังหวัด) กําหนด ประกอบด้วยการพัฒนาความรู้พื้นฐานในการปฏิบัติราชการสําหรับพนักงานส่วนตําบล บรรจุใหม่และการพัฒนาเกี่ยวกับงานในหน้าที่ความรับผิดชอบของพนักงานส่วนตําบล
(๓) การเลือกวิธีการพัฒนาพนักงานส่วนตําบล ให้เลือกวิธีการใดวิธีการหนึ่ง หรือหลาย วิธีการควบคู่กันไปแล้วแต่ความเหมาะสมของแต่ละองค์การบริหารส่วนตําบล xxxx การงบประมาณสื่อการ ฝึกอบรม วิทยากร ระยะเวลา กําลังคนที่รับผิดชอบการฝึกอบรมและกลุ่มเปูาหมายที่จะเข้ารับการอบรม
(๔) ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) ประเมินผลและติดตามผลการ พัฒนาพนักงานส่วนตําบล โดยประเมินความรู้และทักษะตลอดจนทัศนคติของผู้เข้ารับการพัฒนาและติดตาม การนําผลไปใช้ในการปฏิบัติงาน
ข้อ ๒๖๔ ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่พัฒนาผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาเพื่อเพิ่มพูนความรู้ทักษะ ทัศนคติ xxxxx คุณธรรม และจริยธรรม อันจะทําให้ปฏิบัติหน้าที่ราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ ๒๖๕ ให้ผู้บังคับบัญชาทุกระดับมีหน้าที่รับผิดชอบในการควบคุม ดูแล และการพัฒนาผู้อยู่ ใต้xxxxxxxxxxxxxxอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาโดยตรง รวมทั้งผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาxxxxxxxxย้ายหรือโอนมาดํารง ตําแหน่ง ซึ่งอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของตน
ข้อ ๒๖๖ การพัฒนาผู้อยู่ใต้บังคับบัญชานั้น ผู้บังคับบัญชาอาจเป็นผู้ดําเนินการเองหรือ มอบหมายให้ผู้ที่เหมาะสมดําเนินการโดยเลือกวิธีที่เหมาะสมกับการพัฒนาผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาเป็นรายบุคคล หรือเป็นกลุ่ม ซึ่งอาจใช้วิธีการฝึกอบรมหรือวิธีการพัฒนาอื่นๆ โดยพิจารณาดําเนินการหาความจําเป็นในการ พัฒนาจากการวิเคราะห์ปัญหาในการปฏิบัติxxx xxxจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลหรือข้อเสนอของผู้อยู่ใต้ บังคับบัญชาเอง
๘๔
ข้อ ๒๖๗ การพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชานั้น ต้องพัฒนาทั้ง ๕ ด้านได้แก่
(๑) ด้านความรู้ทั่วไปในการปฏิบัติงาน ได้แก่ ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน โดยทั่วไปxxxx xxxxxxxกฏหมาย นโยบายสําคัญของรัฐบาล สถานที่ โครงสร้างของงานนโยบายต่างๆเป็นต้น
(๒) ด้านความรู้และทักษะเฉพาะของงานในแต่ละตําแหน่ง ได้แก่ ความรู้ความxxxxxxในการ ปฏิบัติงานของตําแหน่งหนึ่งตําแหน่งใดโดยเฉพาะ xxxx งานฝึกอบรม งานพิมพ์ดีดงานxxxxxxxx
(๓) ด้านการบริหาร ได้แก่ รายละเอียดที่เกี่ยวกับการบริหารงานและการบริการประชาชน xxxx ใน เรื่องการวางแผน การxxxxxxxxxx xxxจูงใจ การxxxxxxงาน เป็นต้น
(๔) ด้านคุณสมบัติส่วนตัว ได้แก่ การช่วยเสริมบุคลิกภาพxxxxx xxxxxxxxให้xxxxxxปฏิบัติงาน ร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างxxxxxxx และมีประสิทธิภาพ xxxx มนุษยสัมพันธ์การทําxxx xxxสื่อสารและสื่อความหมาย การxxxxxxxxxxสุขภาพอนามัย เป็นต้น
(๕) ด้านศีลธรรมคุณธรรม และจริยธรรม ได้แก่ การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการ ปฏิบัติงาน xxxx จริยธรรมในการปฏิบัติxxx xxxพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติxxx xxx ปฏิบัติงานอย่างxxxxxxxxx
ข้อ ๒๖๘ ขั้นตอนการพัฒนาผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา แบ่งได้ดังนี้ (๑) การเตรียมการและการวางแผน ให้กระทําดังนี้
(ก) การหาความจําเป็นในการพัฒนาผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาแต่ละคน หมายxxxxxxศึกษา วิเคราะห์ดูว่า ผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ละคนxxxxxจะต้องได้รับการพัฒนาด้านใดบ้าง จึงจะปฏิบัติงานได้สําเร็จ อย่างมีประสิทธิภาพและปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานที่กําหนดไว้
(ข) ประเภทของความจําเป็นได้แก่ ด้านความรู้ทั่วไปในการปฏิบัติงานด้านความรู้และ ทักษะเฉพาะของงานในแต่ละตําแหน่งด้านการบริหาร ด้านคุณสมบัติส่วนตัวและด้านคุณธรรมและจริยธรรม
(๒) การดําเนินการพัฒนาให้กระทําดังนี้
(ก) การเลือกวิธีพัฒนาผู้อยู่ใต้xxxxxxxxxxxxxxเหมาะสม เมื่อผู้บังคับบัญชาได้ข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาจากการหาความจําเป็นในการพัฒนาแล้ว ผู้บังคับบัญชาควรนําข้อมูล เหล่าxxxxxxพิจารณากําหนดกลุ่มเปูาหมายและเรื่องที่ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาจําเป็นต้องได้รับการพัฒนา ได้แก่ การ คัดเลือกกลุ่มบุคคลที่xxxxxจะได้รับการพัฒนา และเลือกประเด็นที่จะให้มีการพัฒนาโดยxxxxxxเลือกแนวทางหรือ วิธีการพัฒนาได้หลายรูปแบบตามความเหมาะสม xxxxการให้ความรู้ การสับเปลี่ยนหน้าที่ความรับผิดชอบการ ฝึกอบรม การxxxxx xxxประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเป็นต้น
(ข) วิธีการพัฒนาผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา ผู้บังคับบัญชาxxxxxxพัฒนาผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา โดย เลือกแนวทางการพัฒนาได้หลายอย่าง โดยอาจจัดทําเป็นโครงการเพื่อดําเนินการเองหรือเข้าร่วมสมทบกับหน่วย ราชการอื่น หรือxxxxxxxองค์กรเอกชนที่มีความรู้ความชํานาญเฉพาะด้านเป็นผู้ดําเนินการ
(๓) การติดตามและประเมินผลให้ผู้บังคับบัญชาหมั่นติดตามการพัฒนาอย่างใกล้ชิดและ
ให้มีการประเมินผลการพัฒนาเมื่อผ่านการประเมินผลแล้วxxxxxxผู้นั้นได้รับการพัฒนาแล้ว
ข้อ ๒๖๙ ให้องค์การบริหารส่วนตําบลจัดทําแผนการพัฒนาพนักงานส่วนตําบล เพื่อเพิ่ม พูน ความรู้ ทักษะ ทัศนคติxxxxx คุณธรรมและจริยธรรม อันจะทําให้ปฏิบัติ หน้าที่ราชการในตําแหน่งนั้นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
๘๕
ในการจัดทําแผนการพัฒนาพนักงานส่วนตําบลตามวรรคหนึ่ง ต้องกําหนดตามกรอบของแผน แม่บทการพัฒนาพนักงานส่วนตําบลที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) กําหนด โดยให้ กําหนดเป็นแผนการพัฒนาพนักงานส่วนตําบลมีระยะเวลา ๓ ปี ตามกรอบของแผนอัตรากําลังขององค์การ บริหารส่วนตําบลนั้น
ข้อ ๒๗๐ ในการจัดทําแผนการพัฒนาพนักงานส่วนตําบล ให้องค์การบริหารส่วนตําบลแต่งตั้ง คณะกรรมการจัดทําแผนการพัฒนาพนักงานส่วนตําบล ประกอบด้วย
(๑) นายกองค์การบริหารส่วนตําบล เป็นประธานกรรมการ
(๒) ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล เป็นกรรมการ (๓) ผู้อํานวยการกอง และหัวหน้าส่วนราชการอื่น เป็นกรรมการ
(๔) หัวหน้าสํานักปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล เป็นกรรมการ /เลขานุการ
ข้อ ๒๗๑ แผนการพัฒนาพนักงานส่วนตําบล อย่างน้อยต้องประกอบด้วย
(๑) หลักการและเหตุผล
(๒) วัตถุประสงค์และเปูาหมายการพัฒนา (๓) หลักสูตรการพัฒนา
(๔) วิธีการพัฒนาและระยะเวลาดําเนินการพัฒนา (๕) งบประมาณในการดําเนินการพัฒนา
(๖) การติดตามและประเมินผล
ข้อ ๒๗๒ หลักการและเหตุผลในการจัดทําแผนการพัฒนา เป็นการหาความจําเป็นในการ พัฒนาพนักงานส่วนตําบล การศึกษาวิเคราะห์ถึงความจําเป็นที่จะต้องพัฒนาพนักงานส่วนตําบลตําแหน่ง ต่างๆ ทั้งในฐานะตัวบุคคล และฐานะตําแหน่งตามที่กําหนดในส่วนราชการตามแผนอัตรา กําลังขององค์การ บริหารส่วนตําบล ตลอดทั้งความจําเป็นในด้านความรู้ความxxxxxxทั่วไปในการปฏิบัติงาน ด้านความรู้ ความxxxxxxและทักษะเฉพาะของงานในแต่ละตําแหน่ง ด้านการบริหาร และด้านคุณธรรมและจริยธรรม
ข้อ ๒๗๓ เปูาหมายในการพัฒนาพนักงานส่วนตําบลต้องกําหนดให้มีความชัดเจน และครอบ คลุมพนักงานส่วนตําบลทุกคน และตําแหน่งตามแผนอัตรากําลังขององค์การบริหารส่วนตําบลทุกตําแหน่ง โดยกําหนดให้พนักงานส่วนตําบลต้องได้รับการพัฒนาทุกตําแหน่งภายในรอบระยะเวลา ๓ ปีของแผนแม่บท การพัฒนาพนักงานส่วนตําบล
ข้อ ๒๗๔ หลักสูตรการพัฒนาสําหรับพนักงานส่วนตําบลแต่ละตําแหน่งต้องได้รับการพัฒนา อย่างน้อยในหลักสูตรหนึ่งหรือหลายหลักสูตร ดังนี้
(๑) หลักสูตรความรู้พื้นฐานในการปฏิบัติราชการ
(๒) หลักสูตรการพัฒนาเกี่ยวกับงานในหน้าที่รับผิดชอบ
(๓) หลักสูตรความรู้และทักษะเฉพาะของงานในแต่ละตําแหน่ง (๔) หลักสูตรด้านการบริหาร
(๕) xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
๘๖
ข้อ ๒๗๕ วิธีการพัฒนาพนักงานส่วนตําบลให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) ดําเนินการเองหรืออาจมอบให้องค์การบริหารส่วนตําบลหรือผู้ที่เหมาะสมดําเนินการหรือดําเนินการร่วมกับ สํานักงานคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) ส่วนราชการ หรือหน่วยงานอื่น โดยวิธีการพัฒนา วิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีก็ได้ ตามความจําเป็นความเหมาะสม ดังนี้
(๑) การปฐมนิเทศ (๒) การฝึกอบรม
(๓) การศึกษา หรือดูงาน
(๔) การประชุมเชิงปฏิบัติการ หรือการสัมมนา
(๕) การสอนxxx xxxให้คําปรึกษาหรือวิธีการอื่นที่เหมาะสม
ระยะเวลาดําเนินการพัฒนาพนักงานส่วนตําบล ต้องกําหนดให้เหมาะสมกับกลุ่มเปูาหมายที่เข้า รับการพัฒนา วิธีการพัฒนา และหลักสูตรการพัฒนาแต่ละหลักสูตร
ข้อ ๒๗๖ งบประมาณในการดําเนินการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตําบลต้องจัดสรรงบประมาณ สําหรับการพัฒนาพนักงานส่วนตําบล ตามแผนแม่บทการพัฒนาพนักงานส่วนตําบลอย่างชัดเจน แน่นอน เพื่อให้การพัฒนาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ ๒๗๗ การติดตามและประเมินผลการพัฒนา องค์การบริหารส่วนตําบลต้องจัดให้มีระบบ การตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการพัฒนาพนักงานส่วนตําบล เพื่อให้ทราบถึงความสําเร็จของการ พัฒนา ความรู้ความxxxxxxในการปฏิบัติงาน และผลการปฏิบัติงานของผู้เข้ารับการพัฒนา
ข้อ ๒๗๘ ให้องค์การบริหารส่วนตําบลจัดทําแผนการพัฒนาพนักงานส่วนตําบลตามข้อ ๒๗๑ แล้วเสนอให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) พิจารณาให้ความเห็นชอบ
ในการพิจารณาของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต .จังหวัด ) ตามวรรคหนึ่ง ให้ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด) พิจารณาถึงความจําเป็นในการพัฒนา กลุ่มเปูาหมายที่เข้ารับการ พัฒนา หลักสูตรการพัฒนา วิธีการพัฒนาและระยะเวลาการพัฒนา งบประมาณที่องค์การบริหารส่วนตําบลจัดสรร สําหรับการพัฒนา เมื่อคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) พิจารณามีมติเห็นชอบแล้วให้องค์การ บริหารส่วนตําบลประกาศใช้บังคับเป็นแผนการพัฒนาพนักงานส่วนตําบลต่อไป
เมื่อครบกําหนดรอบระยะเวลาการใช้แผนการพัฒนาพนักงานส่วนตําบล ๓ ปีแล้ว ให้องค์การบริหาร ส่วนตําบลดําเนินการจัดทําแผนการพัฒนาพนักงานส่วนตําบลตามข้อ ๒๗๑ เป็นระยะเวลา ๓ ปี ในรอบถัดไป ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามระยะเวลาของแผนอัตรากําลังพนักงานส่วนตําบลด้วย
ข้อ ๒๗๙ ในการพิจารณาของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.จังหวัด ) ตามข้อ ๒๗๘ หากคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด )เห็นว่าแผนการพัฒนาพนักงานส่วนตําบลยังไม่ เหมาะสม ให้องค์การบริหารส่วนตําบลดําเนินการปรับปรุงแผนการพัฒนาพนักงานส่วนตําบลดังกล่าวตาม ความเห็นของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) หากองค์การบริหารส่วนตําบลมีความเห็นว่า แผนการพัฒนาพนักงานส่วนตําบลมีความเหมาะสมแล้วและได้แจ้งยืนยันแผนการพัฒนาพนักงานส่วน ตําบลต่อ
๘๗ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัด ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) เสนอเรื่อง พร้อมความเห็นให้คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.) พิจารณา
ผลการพิจารณาของคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล(ก.อบต.) ตามวรรคหนึ่งเป็นประการ
ใด ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด ) และองค์การบริหารส่วนตําบลดําเนินการตาม ความเห็นของคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.)
ข้อ ๒๘๐ ให้คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล ( ก.อบต.จังหวัด ) ตรวจสอบและกํากับดูแลให้ องค์การบริหารส่วนตําบลดําเนินการพัฒนาพนักงานส่วนตําบล ตามแผนการพัฒนาพนักงานส่วนตําบลxxxxxx ประกาศใช้บังคับ ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนตําบลต้องจัดสรรงบประมาณเพื่อให้xxxxxxดําเนินการตาม แผนการพัฒนาพนักงานส่วนตําบลดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ ๒๘๑ การพัฒนาพนักงานส่วนตําบลโดยการให้ไปศึกษาเพิ่มเติมในประเทศ หมายxxx xxx เพิ่มพูนความรู้ ด้วยการเรียนหรือการวิจัยตามหลักสูตรของสถาบันการศึกษาในประเทศโดยใช้เวลาในการ ปฏิบัติราชการ เพื่อให้ได้มาซึ่งxxxxxxหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ข้อ ๒๘๒ ผู้บังคับบัญชาผู้มีอํานาจอนุมัติให้พนักงานส่วนตําบลไปศึกษาเพิ่มเติมในประเทศ ให้ นายกองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นผู้มีอํานาจอนุมัติ
การให้พนักงานส่วนตําบลไปศึกษาเพิ่มเติมในประเทศตามวรรคหนึ่ง ให้นายกองค์การบริหาร ส่วนตําบลพิจารณาถึงอัตรากําลังพนักงานส่วนตําบลที่มีอยู่ โดยให้มีผู้ปฏิบัติงานxxxxxxx xxxให้เสียหายแก่ ราชการและไม่ต้องตั้งอัตรากําลังxxxxx
ข้อ ๒๘๓ พนักงานส่วนตําบลที่จะไปศึกษาเพิ่มเติมในประเทศ ต้องมีคุณสมบัติดังนี้ (๑) เป็นผู้ที่พ้นกําหนดเวลาทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการแล้ว
(๒) ผู้ไปศึกษาขั้นต่ํากว่าxxxxxxตรี ต้องมีอายุไม่เกิน ๓๕ ปี ผู้ไปศึกษาขั้นxxxxxxตรีต้อง มีอายุไม่เกิน ๔๐ ปี ผู้ไปศึกษาขั้นที่สูงกว่าxxxxxxตรี ต้องมีอายุไม่เกิน ๔๕ ปีนับถึงวันเริ่มต้นเปิดxxx xxxศึกษาเว้นแต่จะได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) เป็นกรณีพิเศษเฉพาะราย
(๓) เป็นผู้ที่ผู้บังคับบัญชาตั้งแต่ผู้อํานวยการกองหรือเทียบเท่าขึ้นไปรับรองว่าเป็นผู้ที่มี ความxxx xxxxxx และตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ราชการ
(๔) เป็นผู้xxxxxxอยู่ในระหว่างถูกตั้งกรรมการสอบสวนทางxxxxxหรือถูกฟูองคดีอาญา เว้น แต่กรณีถูกฟูองคดีอาญาในความผิดxxxxxxอยู่ในข่ายต้องรอการเลื่อนขั้นเงินเดือน ตามประกาศกําหนดการเลื่อน ขั้นเงินเดือนสําหรับพนักงานส่วนตําบล
(๕) สําหรับผู้xxxxxxได้รับอนุมัติไปศึกษาตามประกาศนี้หรือxxxxxxxอื่นมาแล้วจะต้อง xxxxxxปฏิบัติราชการภายหลังจากสําเร็จการศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ปี
ข้อ ๒๘๔ การให้พนักงานส่วนตําบลไปศึกษาเพิ่มเติมในประเทศ ให้พิจารณาตามแนวทาง
ดังต่อไปนี้
๘๘
(๑) สาขาวิชาและระดับการศึกษาโดยxxxxจะต้องสอดคล้องหรือเป็นประโยชน์กับ
มาตรฐานกําหนดตําแหน่งที่ดํารงอยู่ตามที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต) กําหนดเว้นแต่ พนักงานส่วนตําบลต้องการไปศึกษาเพื่อพัฒนาตนเองและนายกองค์การบริหารส่วนตําบลเห็นชอบด้วย
(๒) จะต้องไปศึกษาในสถาบันการศึกษาที่ทบวงมหาวิทยาลัยหรือกระทรวง ศึกษาธิการ ให้การรับรองมาตรฐานหลักสูตรแล้ว
ข้อ ๒๘๕ พนักงานส่วนตําบลที่จะไปศึกษาเพิ่มเติมในประเทศจะต้องยื่นเอกสารดังต่อไปนี้ ประกอบการพิจารณาด้วย
(๑) บันทึกแสดงเหตุผลและความจําเป็นที่จะไปศึกษาเพิ่มเติม
(๒) หลักสูตรหรือแนวการศึกษาของสถาบันการศึกษาที่จะไปศึกษาพร้อมหนังสือตอบรับ จากสถาบันการศึกษานั้นๆ
(๓) หลักฐานการศึกษาของผู้ที่จะไปศึกษา
(๔) คํารับรองของผู้บังคับบัญชาตามข้อ ๒๘๓ (๓)
ข้อ ๒๘๖ พนักงานส่วนตําบลxxxxxxรับอนุมัติให้ไปศึกษาเพิ่มเติมในประเทศจะต้องศึกษาให้สําเร็จ ภายในระยะเวลาที่สถาบันการศึกษานั้น ๆ กําหนดไว้ในแต่ละหลักสูตรการศึกษา
หากศึกษาไม่สําเร็จภายในระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง นายกองค์การบริหารส่วนตําบลอาจพิจารณา ขยายเวลาการศึกษาได้ตามเหตุผลความจําเป็นเฉพาะกรณีครั้งละ ๑ xxxxxxศึกษา รวมแล้วไม่เกิน ๒ ครั้ง หรือไม่เกิน ๑ ปีการศึกษา และเมื่อครบกําหนดเวลาที่ขยายดังกล่าวแล้วหากมีเหตุผลความจําเป็นอาจขยาย เวลาการศึกษาได้อีกโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต.จังหวัด)
ข้อ ๒๘๗ พนักงานส่วนตําบลxxxxxxรับอนุมัติให้ไปศึกษาเพิ่มเติมในประเทศจะต้องรายงานผล การศึกษาให้ผู้บังคับบัญชาระดับผู้อํานวยการกองหรือเทียบเท่าขึ้นไปทราบทุกxxxxxxศึกษา หากพนักงาน ส่วนตําบลไม่รายงานผลการศึกษาโดยไม่มีเหตุอันxxxxx นายกองค์การบริหารส่วนตําบลอาจพิจารณาให้ยุติ การศึกษาหรือดําเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งxxxxxxแก่กรณีก็ได้
ข้อ ๒๘๘ ให้องค์การบริหารส่วนตําบลทําสัญญาให้พนักงานส่วนตําบลที่ไปศึกษาเพิ่มเติมใน ประเทศxxxxxxปฏิบัติราชการ เป็นเวลาไม่น้อยกว่าระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา
พนักงานส่วนตําบลผู้ใดxxxxxxxxxปฏิบัติราชการxxxxxxxx ต้องชดใช้เงินเดือน ทุนxxxxxxรับ ระหว่างศึกษาและเงินที่ทางราชการจ่ายช่วยเหลือ กับให้ใช้เงินอีกจํานวนหนึ่งเท่ากับจํานวนเงินเดือน ทุน และเงินที่ทางราชการจ่ายช่วยเหลือดังกล่าวให้เป็นเบี้ยปรับแก่ทางราชการอีกด้วย
ในกรณีที่ผู้ไปศึกษาเพิ่มเติมในประเทศxxxxxxปฏิบัติราชการไม่ครบกําหนดxxxxxxxx ก็ให้ลด จํานวนเงินที่จะต้องชดใช้ลงตามส่วน
การทําสัญญาให้เป็นไปตามแบบและวิธีการที่กระทรวงการคลังกําหนด ตามxxxxxxxว่าด้วยการ ให้ข้าราชการไปศึกษา ฝึกอบรม ปฏิบัติการวิจัย และดูงาน ณ ต่างประเทศ โดยอนุโลม
๘๙ ข้อ ๒๘๙ พนักงานส่วนตําบลxxxxxxรับอนุมัติให้ไปศึกษาเพิ่มเติมในประเทศ เมื่อครบกําหนดเวลาxxx xxxรับอนุมัติหรือเสร็จจากการศึกษาแล้ว จะต้องรีบรายงานตัวกลับเข้าปฏิบัติราชการโดยเร็ว ทั้งนี้ต้องไม่เกิน
๗ วัน นับตั้งแต่วันถัดจากxxxxxxสําเร็จการศึกษา หรือxxxxxxครบกําหนดเวลาxxxxxxรับอนุมัติ แล้วแต่กรณี
สําหรับผู้ที่สําเร็จการศึกษาในขั้นที่สูงกว่าxxxxxxตรี จะต้องมอบวิทยานิพนธ์ หรือผลงานวิจัยให้ องค์การบริหารส่วนตําบลต้นสังกัดด้วย
ข้อ ๒๙๐ เมื่อองค์การบริหารส่วนตําบลต้นสังกัดมีความจําเป็นที่จะต้องให้พนักงานส่วนตําบลที่ ไปศึกษาเพิ่มเติมในประเทศกลับเข้าปฏิบัติราชการก่อนครบกําหนดเวลาxxxxxxรับอนุมัติไม่ว่าในกรณีใด ๆ ให้ พนักงานส่วนตําบลผู้นั้นกลับเข้าปฏิบัติราชการตามคําสั่งทันที
ข้อ ๒๙๑ การรับเงินเดือนของพนักงานส่วนตําบลxxxxxxรับอนุมัติไปศึกษาเพิ่มเติมในประเทศให้ เป็นไปตามกฎหมายที่กําหนดไว้สําหรับข้าราชการพลเรือนมาใช้บังคับโดยอนุโลม
ข้อ ๒๙๒ พนักงานส่วนตําบลผู้ใดได้รับอนุมัติให้ไปศึกษาเพิ่มเติมในประเทศก่อนวันใช้บังคับตาม ประกาศนี้ให้เป็นอันใช้ได้และให้xxxxxxพนักงานส่วนตําบลผู้นั้นได้รับอนุมัติให้ไปศึกษาเพิ่มเติมตามประกาศนี้
ข้อ ๒๙๓ การพัฒนาพนักงานส่วนตําบลโดยให้ไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติ การวิจัยใน ต่างประเทศ ให้เป็นไปตามxxxxxxxว่าด้วยการให้ข้าราชการไปศึกษา ฝึกอบรม และดูงานในต่างประเทศที่ คณะรัฐมนตรีกําหนด โดยกําหนดให้ส่วนราชการที่เป็นกรมที่กําหนดไว้ในxxxxxxxดังกล่าว ให้หมาย ความถึง องค์การบริหารส่วนตําบลด้วย
ข้อ ๒๙๔ ผู้บังคับบัญชาผู้มีอํานาจการอนุมัติให้พนักงานส่วนตําบลไปศึกษาฝึกอบรมดูงาน หรือ ปฏิบัติการวิจัยในต่างประเทศ ให้เป็นอํานาจของนายกองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นผู้มีอํานาจอนุมัติ
ข้อ ๒๙๕ การอนุมัติให้พนักงานส่วนตําบลผู้ใดไปศึกษา ฝึกอบรม หรือดูงานในต่าง ประเทศก่อน วันประกาศนี้ใช้บังคับ หากเป็นไปโดยถูกต้องตามxxxxxxxวิธีการที่ใช้อยู่ในขณะนั้น ก็ให้เป็นอันใช้ได้ และให้ ดําเนินการเรื่องการอยู่ศึกษา ฝึกอบรม หรือดูงานต่อพนักงานส่วนตําบลผู้นั้นตามxxxxxxxวิธีการนั้นต่อไป แต่ ทั้งนี้ สําหรับกรณีศึกษาและฝึกอบรม ต้องอยู่ในจํานวนอัตราร้อยละตามที่กําหนดในxxxxxxxว่าด้วยการให้ ข้าราชการไปศึกษา ฝึกอบรม และดูงาน ณ ต่างประเทศ ที่คณะรัฐมนตรีกําหนด
ส่วนที่ ๔ การประเมินประสิทธิภาพและxxxxxxxxxxการปฏิบัติงาน
ข้อ ๒๙๖ การประเมินผลการปฏิบัติงานให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ของผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อประกอบการพิจารณาแต่งตั้ง เลื่อนขั้นเงินเดือน พัฒนาพนักงานส่วนตําบล เพิ่มพูน ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการและมีหน้าที่xxxxxxxxxxแรงจูงใจให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตน ให้เหมาะสม กับการเป็นพนักงานส่วนตําบลและปฏิบัติราชการมีประสิทธิภาพและเกิดxxxxxxxxxx
๙๐
การประเมินผลการปฏิบัติงาน ให้คํานึงถึงคุณภาพและปริมาณงาน ประสิทธิภาพและxxxxxxxxxxของ งานxxxxxxปฏิบัติมา ความxxxxxxและความxxxxxxxในการปฏิบัติงาน ความมีคุณธรรมและจริยธรรม ตลอดจนการ รักษาxxxxxxxxเหมาะสมกับการเป็นพนักงานส่วนตําบล โดยจัดทําการประเมินอย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง และเปิดโอกาสให้ ผู้ถูกประเมินชี้แจง หรือขอคําปรึกษาด้วย
ข้อ ๒๙๗ การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานส่วนตําบลตามประกาศนี้ มีxxxxxxxxxxจะ ประเมินประสิทธิภาพ และxxxxxxxxxxการปฏิบัติงานบนพื้นฐานของผลสําเร็จและxxxxxxxxxxของงานเป็นหลัก
ข้อ ๒๙๘ การประเมินผลการปฏิบัติงานนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาใช้เป็นเครื่องมือ ในการปรับปรุงประสิทธิภาพและxxxxxxxxxxการปฏิบัติงานของพนักงานส่วนตําบล และนําผลการประเมินไป ใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาในเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
(๑) การเลื่อนขั้นเงินเดือน การให้รางวัลประจําปี และค่าตอบแทนอื่น ๆ (๒) การพัฒนา และการแก้ไขการปฏิบัติงาน
(๓) การแต่งตั้งพนักงานส่วนตําบล (๔) การให้ออกจากราชการ
(๕) การให้รางวัลจูงใจและการบริหารงานบุคคลเรื่องอื่น ๆ
ข้อ ๒๙๙ การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานส่วนตําบล ให้ประเมินจากผลงานและ คุณลักษณะการปฏิบัติงาน โดยการประเมินผลงานให้พิจารณาจากองค์ประกอบดังต่อไปนี้
(๑) xxxxxxxxx
(๒) คุณภาพของผลงาน (๓) ความทันเวลา
(๔) ผลลัพธ์ ประโยชน์ในการนําไปใช้ และxxxxxxxxxxของงาน (๕) การประหยัดทรัพยากรหรือความคุ้มค่าของผลงาน
ส่วนการประเมินคุณลักษณะการปฏิบัติงานให้พิจารณาจากองค์ประกอบดังต่อไปนี้
(๑) ความxxxxxxและความxxxxxxxในการปฏิบัติงาน (๒) การรักษาxxxxx
(๓) การปฏิบัติตนเหมาะสมกับการเป็นพนักงานส่วนตําบล องค์การบริหารส่วนตําบลอาจกําหนดให้มีองค์ประกอบการประเมินอื่นๆ เพิ่มเติมได้ตามความ
เหมาะสมของลักษณะภารกิจและxxxxxxxปฏิบัติงานของพนักงานส่วนตําบลในตําแหน่งต่างๆ ทั้งนี้โดยกําหนดให้มี สัดส่วนคะแนนของผลงานไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐
สําหรับแบบประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานส่วนตําบลองค์การบริหารส่วนตําบลพิจารณาใช้ ตามแบบที่กําหนดท้ายประกาศนี้ หรือปรับใช้ตามความเหมาะสมของลักษณะงานได้
ข้อ ๓๐๐ ให้มีการกําหนดข้อตกลงเกี่ยวกับผลการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างผู้ประเมินและผู้รับการ ประเมิน xxxx แผนงาน โครงการ หรือ ผลงานที่กําหนดในการมอบหมายงาน เป็นต้น ทั้งนี้ให้พิจารณาจากข้อตกลง การบริหารงานของส่วนราชการ หรือภารกิจหลักxxxxxxมีการกําหนดไว้ตามที่คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก. อบต.จังหวัด) กําหนดขึ้นด้วย
๙๑
ข้อ ๓๐๑ ให้ประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานส่วนตําบลปีละ ๒ ครั้งตามรอบปี งบประมาณ คือ
(๑) ครั้งที่ ๑ ระหว่างxxxxxx ๑ xxxxxx ถึง ๓๑ มีนาคม ของปีถัดไป
(๒) ครั้งที่ ๒ ระหว่างxxxxxx ๑ เมษายน ถึง ๓๐ กันยายน ของปีเดียวกัน
ข้อ ๓๐๒ การประเมินครั้งที่ ๑ ตามข้อ ๓๐๓ ให้ผู้บังคับบัญชาหรือผู้ประเมินจัดลําดับผลการ ประเมินเรียงลําดับจากผู้ที่มีผลการประเมินxxxxxx ผลการประเมินเป็นที่ยอมรับได้และผลการประเมินต้อง ปรับปรุงไว้ให้ชัดเจนเพื่อพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนและให้จัดทําบัญชีรายชื่อผู้มีผลการประเมินxxxxxx และผล การประเมินเป็นที่ยอมรับได้ไว้ เพื่อประกอบการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนครั้งที่๒
ข้อ ๓๐๓ ให้นําระบบเปิดมาใช้ในการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนตามมติคณะรัฐมนตรีที่กําหนด สําหรับข้าราชการพลเรือน ทั้งนี้ ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลหรือผู้บังคับบัญชาxxxxxxรับมอบหมาย ประกาศรายชื่อผู้ที่มีผลการประเมินอยู่ในระดับxxxxxxในที่เปิดเผยให้พนักงานส่วนตําบลได้ทราบโดยทั่วกัน
ข้อ ๓๐๔ ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลแต่งตั้งคณะกรรมการ เพื่อวัตถุประสงค์ในการ พิจารณากลั่นกรองผลการประเมินให้เกิดมาตรฐานและความเป็นธรรมในการใช้ดุลยพินิจของผู้บังคับ บัญชา หรือผู้ประเมินก่อนที่จะเสนอผลการประเมินต่อผู้มีอํานาจสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือน โดยมีองค์ประ กอบตามที่ องค์การบริหารส่วนตําบลเห็นxxxxxเพื่อให้การพิจารณาเป็นไปตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว
ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนตําบลอาจกําหนดให้มีคณะกรรมการช่วยพิจารณากลั่นกรอง เพื่อให้เกิด ความเป็นธรรมในระดับกอง หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นในองค์การบริหารส่วนตําบลด้วยก็ได้
ข้อ ๓๐๕ ให้นําผลการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานส่วนตําบลไปใช้เป็นข้อมูล ประกอบการพิจารณาในเรื่องต่างๆ ที่กําหนดในข้อ ๒๙๘ ด้วย
ข้อ ๓๐๖ เมื่อเสร็จสิ้นการประเมินผลการปฏิบัติงานแต่ละครั้งแล้วผู้บังคับบัญชาซึ่งเป็นผู้ ประเมินต้องนําผลการประเมินไปใช้ประกอบการให้คําปรึกษาแนะนําแก่ผู้รับการประเมิน เพื่อให้มีการแก้ไข ปรับปรุงการปฏิบัติงาน และกําหนดแผนการพัฒนาผู้รับการประเมินให้มีสมรรถนะและxxxxxxxxxxของงานดียิ่งขึ้น
ข้อ ๓๐๗ ให้องค์การบริหารส่วนตําบลวางระบบการจัดเก็บผลการประเมินเพื่อนําไปใช้ตาม วัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้ต่อไปxxxx ผลการประเมินครั้งที่ ๑ xxxxxxxที่ผู้บังคับบัญชา ผลการประเมิน ครั้งที่ ๒ ภายหลังจากการให้คําปรึกษาแนะนําแก่ผู้รับการประเมินแล้วให้เก็บสรุปผลการประเมินไว้ในแฟูมประวัติ พนักงานส่วนตําบลหรือองค์การบริหารส่วนตําบลจะกําหนดรูปแบบการจัดเก็บเป็นอย่างอื่นตามที่เหมาะสมก็ได้
ข้อ ๓๐๘ ให้ใช้การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานส่วนตําบลตามที่กําหนดนี้ สําหรับ พนักงานส่วนตําบลทุกระดับ
๙๒
ข้อ ๓๐๙ กรณีอื่นๆที่มีเหตุผลและความจําเป็นคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล (ก.อบต. จังหวัด) และองค์การบริหารส่วนตําบลอาจร่วมกันกําหนดหลักเกณฑ์หรือวิธีการเพิ่มเติมตามลักษณะงาน xxxxxxxปฏิบัติงานและอื่นๆ ได้
ส่วนที่ ๕ การลา
ข้อ ๓๑๐ ในส่วนน
❖ " เข้ารับการตรวจเลือก " หมายความว่า เข้ารับการตรวจเลือกเพื่อรับราชการเป็นทหาร กองประจําการตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร
❖ " เข้ารับการเตรียมพล " หมายความว่า เข้ารับการระดมพล เข้ารับการตรวจสอบพล เข้ารับการฝึกวิชาทหาร หรือเข้ารับการทดลองความxxxxxxxxxx ตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร
❖ " ลาติดตามคู่สมรส " หมายความว่า ลาติดตามสามีหรือภริยาโดยชอบด้วยกฎหมายที่ เป็นข้าราชการ หรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ ซึ่งไปปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือไปปฏิบัติงานในต่างประเทศ หรือ
ทางราชการสั่งให้ไปปฏิบัติงานในต่างประเทศตั้งแต่ ๑ ปีขึ้นไป ตามความต้องการของทางราชการตามตาม พระราชกฤษฎีกาเกี่ยวกับการกําหนดหลักเกณฑ์การสั่งให้ไปทําการซึ่งให้นับเวลาระหว่างนั้นเหมือนเต็มเวลา ราชการ แต่ไม่รวมถึงกรณีxxxxxxสมรสไปศึกษา ฝึกอบรม ปฏิบัติการวิจัย หรือดูงาน ณ ต่างประเทศ
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๑๑ การลาทุกประเภทตามxxxxxxxxxx ถ้ามีกฎหมาย xxxxxxxหรือมติคณะรัฐมนตรี กําหนดเกี่ยวกับการลาประเภทใดไว้เป็นพิเศษ ผู้ลาและผู้มีอํานาจพิจารณาหรืออนุญาตจะต้องปฏิบัติตาม กฎหมาย xxxxxxxหรือมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการลาประเภทนั้นด้วย
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๑๒ ผู้มีอํานาจพิจารณาหรืออนุญาตการลา และการใช้อํานาจพิจารณาหรืออนุญาตการ ลาสําหรับพนักงานส่วนตําบล ให้เป็นไปตามตารางที่กําหนดไว้ท้ายประกาศนี้ กรณีที่ผู้มีอํานาจหรืออนุญาต การลาตามประกาศนี้ไม่อยู่ หรือไม่xxxxxxปฏิบัติราชการได้ และมีเหตุจําเป็นเร่งด่วนxxxxxxรอขออนุญาต จากผู้มีอํานาจได้ ให้ผู้ลาเสนอหรือจัดส่งxxxxต่อผู้มีอํานาจอนุญาตการลาชั้นเหนือขึ้นไปเพื่อพิจารณา และ เมื่ออนุญาตแล้วให้แจ้งผู้มีอํานาจอนุญาตตามประกาศนี้ทราบด้วย
ผู้มีอํานาจพิจารณาหรืออนุญาตการลาจะมอบหมายหรือมอบอํานาจโดยทําเป็นหนังสือให้แก่ผู้ ดํารงตําแหน่งใดเป็นผู้พิจารณาอนุญาตแทนก็ได้ โดยให้คํานึงถึงระดับตําแหน่งและความรับผิดชอบของ ผู้รับผิดชอบเป็นสําคัญ
การลาของพนักงานส่วนตําบลในช่วงก่อนและหลังวันหยุดราชการประจําสัปดาห์หรือ วันหยุดราชการประจําปีเพื่อให้มีวันหยุดต่อเนื่องกัน ให้ผู้มีอํานาจพิจารณาหรืออนุญาตใช้ดุลยพินิจตามความ เหมาะสมและจําเป็นที่จะอนุญาตให้xxxxx โดยมิให้เสียหายแก่การปฏิบัติราชการ
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
๙๓
❖ ข้อ ๓๑๓ พนักงานส่วนตําบลผู้ใดได้รับคําสั่งให้ไปช่วยราชการ ณ หน่วยงานอื่นใดของทาง
ราชการหากxxxxxxxจะลาปุวย ลาคลอดบุตร ลากิจส่วนตัว ลาพักผ่อน หรือลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้า รับการเตรียมพลในระหว่างเวลาที่ไปช่วยราชการ ให้เสนอขออนุญาตลาต่อผู้บังคับบัญชาของหน่วยงานที่ไป ช่วยราชการ แล้วให้หน่วยงานนั้นรายงานจํานวนxxxxxให้หน่วยงานต้นสังกัดของผู้นั้นทราบอย่างน้อยปีละครั้ง
การลาประเภทอื่นนอกจากที่ระบุไว้ในวรรคหนึ่ง ให้เสนอขออนุญาตลาต่อส่วนราชการเจ้าสังกัด ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดสําหรับการลาประเภทนั้น
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๑๔ การนับxxxxxตามประกาศนี้ให้นับตามปีงบประมาณ การนับxxxxxเพื่อประโยชน์ในการเสนอหรือจัดส่งxxxx อนุญาตให้ลาและคํานวณxxxxx ให้นับ
ต่อเนื่องกัน โดยนับวันหยุดราชการที่อยู่ในระหว่างxxxxxประเภทเดียวกันรวมเป็นxxxxxด้วย เว้นแต่การนับ เพื่อประโยชน์ในการคํานวณxxxxxสําหรับxxxxxปุวยที่มิใช่xxxxxปุวยตามกฏหมายว่าด้วยการสงเคราะห์ พนักงานส่วนตําบลผู้ได้รับอันตรายหรือการปุวยเจ็บเพราะเหตุปฏิบัติราชการ xxxxxไปช่วยเหลือxxxxxxxxคลอด บุตรxxxxxกิจส่วนตัว และxxxxxพักผ่อนให้นับเฉพาะวันทําการ
การลาปุวยหรือลากิจส่วนตัวซึ่งมีระยะเวลาต่อเนื่องกัน จะเป็นในปีเดียวกันหรือไม่ก็ตาม ให้นับ xxxxxxxxxครั้งหนึ่ง ถ้าจํานวนxxxxxครั้งหนึ่งรวมกันเกินอํานาจของผู้มีอํานาจอนุญาตระดับใด ให้นําxxxx เสนอขึ้นไปตามลําดับจนถึงผู้มีอํานาจอนุญาต
พนักงานส่วนตําบลxxxxxxรับอนุญาตให้ลาไปช่วยเหลือxxxxxxxxคลอดบุตร ลากิจส่วนตัวซึ่งxxxxxxxกิจ ส่วนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตรตามข้อ ๓๒๓ หรือลาพักผ่อน ซึ่งได้หยุดราชการไปยังไม่ครบกําหนดถ้ามีราชการจําเป็น ที่เกิดขึ้น ผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีอํานาจอนุญาตจะเรียกตัวมาปฏิบัติราชการระหว่างการxxxxxxx
การลาของพนักงานส่วนตําบลที่ถูกเรียกxxxxxxปฏิบัติราชการระหว่างการลา ให้xxxxxxสิ้นสุดก่อน
วันมาปฏิบัติราชการเว้นแต่ผู้มีอํานาจอนุญาตเห็นว่าการเดินทางต้องใช้เวลาให้xxxxxxสิ้นสุดก่อนวันเดินทางกลับ การลาครึ่งวันในตอนเช้าหรือตอนบ่าย ให้นับxxxxxxxxxครึ่งวันตามประเภทของการลานั้นๆ
พนักงานส่วนตําบลซึ่งได้รับอนุญาตให้ลา หากxxxxxxxจะยกเลิกวันxxxxxยังxxxxxxหยุดราชการให้เสนอขอยกเลิก xxxxxต่อผู้บังคับบัญชาตามลําดับจนถึงผู้มีอํานาจอนุญาตให้ลา และให้xxxxxxการลาเป็นอันสิ้นสุดก่อนวันมา ปฏิบัติราชการ
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๑๕ เพื่อควบคุมให้เป็นไปตามประกาศนี้ ให้องค์การบริหารส่วนตําบลจัดทําบัญชีลงเวลา การ ปฏิบัติราชการของพนักงานส่วนตําบลในสังกัด โดยมีสาระสําคัญตามตัวอย่างท้ายประกาศนี้ หรือจะใช้ เครื่องบันทึกเวลาการปฏิบัติราชการแทนก็ได้
ในกรณีจําเป็นนายกองค์การบริหารส่วนตําบลจะกําหนดวิธีลงเวลาปฏิบัติราชการ หรือวิธีควบคุม การปฏิบัติราชการของพนักงานส่วนตําบลที่มีการปฏิบัติราชการในลักษณะพิเศษเป็นอย่างอื่นตามเห็นxxxxx xxxxx แต่ทั้งนี้ต้องมีหลักฐานให้xxxxxxตรวจสอบxxxxx เวลาการปฏิบัติราชการได้ด้วย
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
๙๔
❖ ข้อ ๓๑๖ การลาให้ใช้xxxxตามแบบท้ายประกาศนี้ เว้นแต่ในกรณีจําเป็นหรือรีบด่วนจะใช้xxxx xxxมีข้อความไม่ครบถ้วนตามแบบหรือจะลาโดยวิธีการอย่างอื่นก็ได้แต่ต้องส่งxxxxตามแบบในวันแรกที่มา ปฏิบัติราชการ องค์การบริหารส่วนตําบลอาจนําระบบอิเล็กทรอนิกส์มาประยุกต์ใช้ในการเสนอxxxx อนุญาต ให้ลา และยกเลิกxxxxx สําหรับการลาปุวย ลาพักผ่อน หรือลากิจส่วนตัวซึ่งxxxxxxxกิจส่วนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตร ตามข้อ ๓๒๓ ก็ได้ ทั้งนี้ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าวจะต้องเป็นระบบที่มีความปลอดภัย xxxxxx xxxxxx ตรวจสอบตัวบุคคล และเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการลาเป็นหลักฐานในราชการได้
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕ ๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๑๗ พนักงานส่วนตําบลซึ่งxxxxxxxจะไปต่างประเทศในระหว่างการลาตามประกาศนี้ หรือ ในระหว่างวันหยุดราชการ ให้เสนอขออนุญาตต่อผู้บังคับบัญชาตามลําดับจนถึงนายกองค์การบริหารส่วนตําบล
การอนุญาตของนายกองค์การบริหารส่วนตําบลตามวรรคหนึ่ง เมื่ออนุญาตแล้วให้รายงาน คณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล ( ก.อบต.จังหวัด ) ทราบด้วย
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๑๘ การขออนุญาตไปต่างประเทศซึ่งอยู่ติดxxxxxxประเทศไทย ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดและ นายอําเภอในxxxxxxxxxxมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศนั้นมีอํานาจอนุญาตให้พนักงานส่วนตําบลในราชการ บริหารส่วนภูมิภาคในสังกัดจังหวัดหรืออําเภอนั้นๆ ไปประเทศนั้นได้ครั้งหนึ่งไม่เกิน ๗ วัน และ ๓ วันตามลําดับ
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๑๙ พนักงานส่วนตําบลผู้ใดไม่xxxxxxมาปฏิบัติราชการได้ อันเนื่องมาจากพฤติการณ์ พิเศษ ซึ่งเกิดขึ้นกับบุคคลทั่วไปในxxxxxxxนั้น หรือพฤติการณ์พิเศษซึ่งเกิดขึ้นกับพนักงานส่วนตําบลผู้นั้นและ มิได้เกิดจากความประมาทเลินเล่อหรือความผิดของพนักงานส่วนตําบลผู้นั้นเอง โดยพฤติการณ์พิเศษดังกล่าว ร้ายแรงจนเป็นเหตุขัดขวางทําให้ไม่xxxxxxมาปฏิบัติราชการ ณ สถานที่ตั้งตามxxxx ให้พนักงานส่วนตําบลผู้ นั้นรีบรายงานxxxxxxxxxxxxเกิดขึ้นรวมทั้งอุปสรรคxxxxxxxxxxทําให้มาปฏิบัติราชการxxxxxxต่อผู้บังคับบัญชา ตามลําดับจนถึงนายกองค์การบริหารส่วนตําบลทันทีในวันแรกที่มาปฏิบัติราชการ
ในกรณีที่นายกองค์การบริหารส่วนตําบลเห็นว่าการที่พนักงานส่วนตําบลผู้นั้นไมxxxxxxมา ปฏิบัติราชการได้เป็นเพราะพฤติการณ์พิเศษตามวรรคหนึ่ง ให้สั่งให้การหยุดราชการของพนักงานส่วนตําบลผู้ นั้น ไม่นับเป็นxxxxxตามจํานวนxxxxxxไม่xxxxxxมาปฏิบัติราชการได้อันเนื่องมาจากพฤติการณ์พิเศษดังกล่าว ถ้าเห็นว่าไม่เป็นพฤติการณ์พิเศษ
❖ ข้อ ๓๒๐ การให้ได้รับเงินเดือนระหว่างลา ให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาเกี่ยวกับการจ่าย เงินเดือน เงินปี บําเหน็จ บํานาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๒๑ การลาแบ่งออกเป็น ๑๑ ประเภท ดังต่อไปนี้ (๑) การลาปุวย
๙๕
(๒) การลาคลอดบุตร
(๓) การลาไปช่วยเหลือxxxxxxxxคลอดบุตร (๔) การลากิจส่วนตัว
(๕) การลาพักผ่อน
(๖) การลาอุปสมบทหรือการลาไปประกอบพิธีฮัจย์
(๗) การลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล (๘) การลาไปศึกษา ฝึกอบรม ปฏิบัติการวิจัย หรือดูงาน (๙) การลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ
(๑๐) การลาติดตามคู่สมรส
(๑๑) การลาไปฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๒๒ พนักงานส่วนตําบลซึ่งxxxxxxxจะลาปุวยเพื่อรักษาตัว ให้เสนอหรือจัดส่งxxxxต่อ
ผู้บังคับบัญชาตามลําดับจนถึงผู้มีอํานาจอนุญาตก่อนหรือในxxxxxxลา เว้นแต่ในกรณีจําเป็นจะเสนอหรือจัดส่ง xxxxในวันแรกที่มาปฏิบัติราชการก็ได้
ในกรณีที่พนักงานส่วนตําบลผู้xxxxมีอาการปุวยจนไม่xxxxxxจะลงชื่อในxxxxxxx จะให้ผู้อื่นลา แทนก็ได้ แต่เมื่อxxxxxxลงชื่อได้แล้วให้เสนอหรือจัดส่งxxxxโดยxxxx
xxxลาปุวยตั้งแต่ ๓๐ วันขึ้นไปต้องมีใบรับรองแพทย์ซึ่งเป็นผู้xxxxxxขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแนบไปกับxxxxด้วย ในกรณีจําเป็นหรือเห็นxxxxxผู้มีอํานาจอนุญาตจะสั่งให้ ใช้ใบรับรองแพทย์อื่นซึ่งผู้มีอํานาจอนุญาตเห็นชอบแทนก็ได้
การลาปุวยไม่ถึง ๓๐ xxxxxxว่าจะxxxxxxxxxครั้งเดียวหรือหลายครั้งติดต่อxxx xxxผู้มีอํานาจ อนุญาตเห็นxxxxxจะสั่งให้มีใบรับรองแพทย์ตามวรรคสามประกอบxxxx หรือสั่งให้ผู้ลาไปรับการตรวจจาก แพทย์ของทางราชการเพื่อประกอบการพิจารณาอนุญาตก็ได้
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๒๓ พนักงานส่วนตําบลซึ่งxxxxxxxจะลาคลอดบุตร ให้เสนอหรือจัดส่งxxxxต่อผู้ บังคับ บัญชาตามลําดับจนถึงผู้มีอํานาจอนุญาตก่อนหรือในxxxxxxลา เว้นแต่ไม่xxxxxxจะลงชื่อในxxxxxxx จะให้ผู้อื่น ลาแทนก็ได้ แต่เมื่อxxxxxxลงชื่อได้แล้วให้เสนอหรือจัดส่งxxxxโดยเร็ว โดยไม่ต้องมีใบรับรองแพทย์
การลาคลอดบุตรจะลาในxxxxxxคลอด ก่อน หรือหลังxxxxxxคลอดก็ได้แต่เมื่อรวมxxxxxแล้วต้องไม่
เกิน ๙๐ วัน
พนักงานส่วนตําบลxxxxxxรับอนุญาตให้ลาคลอดบุตรและได้หยุดราชการไปแล้ว แต่xxxxxxคลอดบุตร
ตามกําหนด หากxxxxxxxจะขอถอนxxxxxคลอดxxxxxxxหยุดไปให้ผู้มีอํานาจอนุญาตอนุญาตให้ยกเลิกxxxxx คลอดบุตรได้โดยให้xxxxxxxxxxxxได้หยุดราชการไปแล้วเป็นxxxxxกิจส่วนตัว
การลาคลอดบุตรคาบเกี่ยวกับการลาประเภทใดซึ่งยังไม่ครบกําหนดxxxxxของการลาประเภทนั้น ให้xxxxxxการลาประเภทนั้นสิ้นสุดลง และให้นับxxxxxxxxxคลอดบุตรตั้งแต่วันเริ่มxxxxxคลอดบุตร
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
๙๖
❖ ข้อ ๓๒๔ พนักงานส่วนตําบลซึ่งxxxxxxxจะลาไปช่วยเหลือภริยาโดยชอบด้วยกฎหมายที่คลอด บุตร ให้เสนอหรือจัดส่งxxxxต่อผู้บังคับบัญชาตามลําดับจนถึงผู้มีอํานาจอนุญาต ก่อน หรือในxxxxxxลาภายใน ๙๐ วัน นับแต่xxxxxxลาคลอดบุตร และให้มีxxxxxxxไปช่วยเหลือxxxxxxxxคลอดบุตรครั้งหนึ่งติดต่อกันxxxxxxเกิน ๑๕ วันทําการ
ผู้มีอํานาจอนุญาตตามวรรคหนึ่งอาจให้แสดงหลักฐานประกอบการพิจารณาอนุญาตด้วยก็ได้
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๒๕ พนักงานส่วนตําบลซึ่งxxxxxxxจะลากิจส่วนตัว ให้เสนอหรือจัดส่งxxxxต่อผู้ บังคับ บัญชาตามลําดับจนถึงผู้มีอํานาจอนุญาต และเมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึงจะหยุดราชการได้ เว้นแต่มีเหตุจําเป็น ไม่xxxxxxรอรับอนุญาตได้ทัน จะเสนอหรือจัดส่งxxxxพร้อมระบุเหตุจําเป็นไว้แล้วหยุดราชการไปก่อนก็ได้แต่ จะต้องชี้แจงเหตุผลให้ผู้มีอํานาจอนุญาตทราบโดยเร็ว
ในกรณีมีเหตุพิเศษxxxxxxอาจเสนอหรือจัดส่งxxxxก่อนตามวรรคหนึ่งได้ ให้เสนอหรือจัดส่งxxxxพร้อม ทั้งเหตุผลความจําเป็นต่อผู้บังคับบัญชาตามลําดับจนถึงผู้มีอํานาจอนุญาตทันทีในวันแรกที่มาปฏิบัติราชการ
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๒๖ พนักงานส่วนตําบลxxxxxคลอดบุตรตามข้อ ๓๒๓ แล้ว หากxxxxxxxจะลากิจส่วนตัวเพื่อ เลี้ยงดูบุตร ให้มีxxxxxxxต่อเนื่องจากการลาคลอดบุตรxxxxxxเกิน ๑๕๐ วันทําการ
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๒๗ พนักงานส่วนตําบลมีxxxxxxxพักผ่อนประจําปีในปีงบประมาณหนึ่งได้ ๑๐ วันทําการ
เว้นแต่พนักงานส่วนตําบลดังต่อไปนี้ ไม่มีxxxxxxxพักผ่อนประจําปีในปีxxxxxxรับบรรจุเข้ารับราชการยังไม่ถึง ๖ เดือน
(๑) ผู้ซึ่งได้รับบรรจุเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครั้งแรก
(๒) ผู้xxxxxxออกจากราชการเพราะเหตุส่วนตัวแล้วต่อมาได้บรรจุเข้ารับราชการอีก
(๓) ผู้xxxxxxออกจากราชการเพื่อดํารงตําแหน่งทางการเมืองหรือเพื่อสมัครรับเลือกตั้งแล้วต่อมา ได้รับบรรจุเข้ารับราชการอีกหลัง ๖ เดือน นับแต่วันออกจากราชการ
(๔) ผู้ซึ่งถูกสั่งให้ออกจากราชการในกรณีอื่น นอกจากกรณีไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่า ด้วยการรับราชการทหาร และในกรณีไปปฏิบัติงานใด ๆ ตามความxxxxxxxของทางราชการแล้วต่อมาได้รับการ บรรจุเข้ารับราชการอีก
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๒๘ ถ้าในปีใดพนักงานส่วนตําบลผู้ใดมิได้ลาพักผ่อนประจําปี หรือลาพักผ่อนประจําปีxxxx xxxxxxครบ ๑๐ วันทําการ ให้สะสมxxxxxxมิได้ลาในปีนั้นรวมเข้ากับปีต่อๆ ไปได้ แต่xxxxxพักผ่อนสะสมรวมกับ xxxxxพักผ่อนในปีปัจจุบันจะต้องไม่เกิน ๒๐ วันทําการ
สําหรับผู้xxxxxxรับราชการติดต่อกันมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี ให้มีxxxxxนําxxxxxพักผ่อนสะสมรวม กับxxxxxพักผ่อนประจําปีในปีปัจจุบันxxxxxxเกิน ๓๐ วันทําการ
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๒๙ พนักงานส่วนตําบลซึ่งxxxxxxxจะลาพักผ่อน ให้เสนอหรือจัดส่งxxxxต่อผู้บังคับ บัญชา ตามลําดับจนถึงผู้มีอํานาจอนุญาต และเมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึงจะหยุดราชการได้
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
๙๗
❖ ข้อ ๓๓๐ การอนุญาตให้ลาพักผ่อน ผู้มีอํานาจอนุญาตจะอนุญาตให้ลาครั้งเดียวหรือหลายครั้งก็ ได้ โดยมิให้เสียหายแก่ราชการ
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๓๑ ผู้xxxxxxรับอนุญาตให้ลาพักผ่อนซึ่งหยุดราชการไปยังไม่ครบกําหนด ถ้ามีราชการจําเป็น เกิดขึ้น ผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีอํานาจอนุญาตจะเรียกตัวมาปฏิบัติราชการก็ได้
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๓๒ พนักงานส่วนตําบลซึ่งxxxxxxxจะลาอุปสมบทในพระพุทธศาสนาหรือพนักงานส่วน ตําบลxxxxxxxxxศาสนาอิสลามซึ่งxxxxxxxจะลาไปประกอบพิธีฮัจย์ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย ให้ เสนอหรือจัดส่งxxxxต่อผู้บังคับบัญชาตามลําดับจนถึงผู้มีอํานาจพิจารณาหรืออนุญาตก่อนวันอุปสมบทหรือ ก่อนวันเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ไม่น้อยกว่า ๖๐ วัน
ในกรณีมีเหตุพิเศษxxxxxxเสนอหรือจัดส่งxxxxก่อนตามวรรคหนึ่ง ให้ชี้แจงเหตุผลความจําเป็น ประกอบการลา และให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้มีอํานาจที่จะพิจารณาให้ลาหรือxxxxxxxx
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๓๒ พนักงานส่วนตําบลซึ่งxxxxxxxจะลาอุปสมบทในพระพุทธศาสนา หรือข้าราชการxxxxxx xxxศาสนาอิสลามซึ่งxxxxxxxจะลาไปประกอบพิธีฮัจย์ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย ให้เสนอหรือ จัดส่งxxxxต่อผู้บังคับบัญชาตามลําดับจนถึงผู้มีอํานาจพิจารณาหรืออนุญาตก่อนวันอุสมบทหรือก่อนวัน เดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ ไม่น้อยกว่า ๖๐ วัน
ในกรณีมีเหตุพิเศษxxxxxxเสนอหรือจัดส่งxxxxก่อนตามวรรคหนึ่ง ให้ชี้แจงเหตุผลความจําเป็น ประกอบการลา และให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้มีอํานาจพิจารณาหรืออนุญาตที่จะพิจารณาให้ลาหรือxxxxxxxx
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๓๓ พนักงานส่วนตําบลxxxxxxรับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ลาอุปสมบทหรือได้รับ อนุญาตให้ลาไปประกอบพิธีฮัจย์ตามข้อ ๓๓๒ แล้ว จะต้องอุปสมบทหรือออกเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ ภายใน ๑๐ วัน นับแต่วันเริ่มลา และจะต้องxxxxxxรายงานตัวเข้าปฏิบัติราชการภายใน ๕ วันนับแต่xxxxxxลา สิกขา หรือxxxxxxเดินทางกลับถึงประเทศไทยหลังจากการเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ ทั้งนี้ จะต้องนับรวมอยู่ ภายในระยะเวลาxxxxxxรับอนุญาต
พนักงานส่วนตําบลxxxxxxรับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ลาอุปสมบทหรือได้รับอนุญาตให้ลาไป ประกอบพิธีฮัจย์และได้หยุดราชการไปแล้ว หากxxxxxว่ามีปัญหาอุปสรรคทําให้ไม่xxxxxxอุปสมบทหรือไป ประกอบพิธีฮัจย์ตามxxxxxxxไว้ เมื่อได้รับรายงานตัวกลับเข้าปฏิบัติราชการตามxxxxและขอยกเลิกxxxxx ให้ผู้มี อํานาจตามข้อ ๓๓๒ พิจารณาหรืออนุญาตให้ยกเลิกxxxxxอุปสมบทหรือไปประกอบพิธีฮัจย์ได้ โดยให้xxxxxxxxxxxxได้ หยุดราชการไปแล้วเป็นxxxxxกิจส่วนตัว
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๓๔ พนักงานส่วนตําบลxxxxxxรับหมายเรียกเข้ารับการตรวจเลือกให้รายงานตัวต่อ ผู้บังคับบัญชาก่อนวันเข้ารับการตรวจเลือกไม่น้อยกว่า ๔๘ ชั่วโมง ส่วนพนักงานส่วนตําบลxxxxxxรับหมายเรียก
๙๘ เข้ารับการเตรียมพลให้รายงานตัวต่อผู้บังคับบัญชาภายใน ๔๘ ชั่วโมง นับแต่เวลารับหมายเรียกเป็นต้นไป และให้ไปเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพลตามวันเวลาในหมายเรียกนั้นโดยไม่ต้องรอรับคําสั่ง
อนุญาต และให้ผู้บังคับบัญชาเสนอรายงานลาไปตามลําดับจนถึงนายกองค์การบริหารส่วนตําบล
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๓๕ เมื่อพนักงานส่วนตําบลxxxxxนั้นพ้นจากการเข้ารับการตรวจเลือก หรือเข้ารับการเตรียม พลแล้ว ให้มารายงานตัวกลับเข้าปฏิบัติราชการตามxxxxต่อผู้บังคับบัญชาภายใน ๗ วัน เว้นแต่กรณีที่มีเหตุ จําเป็นนายกองค์การบริหารส่วนตําบลอาจขยายเวลาให้ได้รวมแล้วไม่เกิน ๑๕ วัน
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๓๖ พนักงานส่วนตําบลซึ่งxxxxxxxจะลาไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงานหรือปฏิบัติการวิจัย ณ ต่างประเทศ ให้เสนอหรือจัดส่งxxxxต่อผู้บังคับบัญชาตามลําดับจนถึงนายกองค์การบริหารส่วนตําบล เพื่อ พิจารณาอนุญาต
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๓๗ พนักงานส่วนตําบลซึ่งxxxxxxxจะลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศให้เสนอ หรือจัดส่งxxxxต่อผู้บังคับบัญชาตามลําดับจนถึงนายกองค์การบริหารส่วนตําบลเพื่อพิจารณา โดยถือปฏิบัติ ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในส่วนนี้
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๓๘ พนักงานส่วนตําบลที่ไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ ที่มีระยะเวลาไม่เกิน ๑ ปี เมื่อปฏิบัติงานแล้วเสร็จ ให้รายงานตัวเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการภายใน ๑๕ วันนับแต่xxxxxxครบกําหนดเวลา และให้รายงานผลเกี่ยวกับการลาไปปฏิบัติงานให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลทราบภายใน ๓๐ วันนับแต่ xxxxxxxxxxxxปฏิบัติหน้าที่ราชการ
การรายงานผลเกี่ยวกับการลาไปปฏิบัติงานตามวรรคหน่ึง ให้ใช้แบบรายงานตามที่กําหนดไว้ ท้ายxxxxxxxxxx
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๓๙ พนักงานส่วนตําบลซึ่งxxxxxxxจะลาติดตามคู่สมรส ให้เสนอหรือจัดส่งxxxxต่อ ผู้บังคับบัญชาตามลําดับจนถึงนายกองค์การบริหารส่วนตําบล เพื่อพิจารณาอนุญาตให้xxxxxไม่เกิน ๒ ปี และ ในกรณีจําเป็นอาจอนุญาตให้ลาต่อได้อีกไม่เกิน ๒ ปี แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน ๔ ปี ถ้าเกิน ๔ ปี ให้ลาออก จากราชการ
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๔๐ พนักงานส่วนตําบลที่xxxxxติดตามคู่สมรส ครบกําหนดตามข้อ ๓๓๖ ผู้มีอํานาจอนุญาต จะอนุญาตให้ลาครั้งเดียวหรือหลายครั้งก็ได้โดยมิให้เสียหายแก่ราชการ แต่รวมกันแล้วจะต้องไม่เกิน ระยะเวลาตามที่กําหนดในข้อ ๓๓๙ ปี และจะต้องเป็นคู่สมรสที่อยู่ปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือปฏิบัติงานใน
๙๙ ต่างประเทศเป็นระยะเวลาติดต่อกัน ไม่ว่าจะอยู่ปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือปฏิบัติงานในประเทศเดียวกัน หรือไม่
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๔๑ เมื่อองค์การบริหารส่วนตําบลได้มีคําสั่งให้พนักงานส่วนตําบลไปปฏิบัติงานตามข้อ
๓๓๖ ในระหว่างเวลาxxxxxxสมรสอยู่ปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือหรือปฏิบัติงานในต่างประเทศติดต่อกันคราวหนึ่ง แล้ว ไม่มีxxxxxxxxxติดตามคู่สมรสอีก เว้นแต่คู่สมรสจะxxxxxxxxxปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือปฏิบัติงานประจํา ในประเทศไทยแล้วต่มาได้รับคําสั่งให้ปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือไปปฏิบัติงานในต่างประเทศอีกจึงจะมีxxxxxxx xxติดตามคู่สมรสตามข้อ ๓๓๙ ได้ใหม่
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๔๒ พนักงานส่วนตําบลผู้ใดได้รับอันตรายหรือปุวยเจ็บเพราะเหตุปฏิบัติราชการในหน้าที่ หรือถูกประทุษร้ายเพราะเหตุกระทําตามหน้าที่จนทําให้ตกเป็นผู้ทุพพลภาพหรือพิการ หากข้าราชการผู้นั้น xxxxxxxจะลาไปเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จําเป็นต่อการปฏิบัติหน้าที่ ราชการ หรือจําเป็นต่อการประกอบอาชีพ แล้วแต่กรณี มีxxxxxxxไปฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพครั้งหนึ่งได้ ตามระยะเวลาที่กําหนดไว้ในหลักสูตรที่xxxxxxxจะxx xxxไม่เกิน ๑๒ เดือน
พนักงานส่วนตําบลxxxxxxรับอันตรายหรือการปุวยเจ็บจนทําให้ตกเป็นผู้ทุพพลภาพหรือพิการ เพราะเหตุอื่นนอกจากที่กําหนดไว้ในวรรคหนึ่ง และผู้มีอํานาจสั่งบรรจุพิจารณาแล้วเห็นว่ายังxxxxxxรับ ราชการต่อไปได้หากข้าราชการผู้นั้นxxxxxxxจะลาไปเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับการฟื้นฟู สมรรถภาพที่จําเป็นต่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ ให้ผู้มีอํานาจพิจารณาหรืออนุญาตพิจารณาให้ลาไปฟื้นฟู สมรรถภาพด้านอาชีพดังกล่าวครั้งหนึ่งได้ตามระยะเวลาที่กําหนดไว้ในหลักสูตรที่xxxxxxxจะxx xxxไม่เกิน ๑๒ เดือน
หลักสูตรตามวรรคหนึ่ง และวรรคสอง ต้องเป็นหลักสูตรที่ส่วนราชการ หน่วยงานอื่นของรัฐ
องค์กรการxxxxอันเป็นสาธารณะ หรือสถาบันxxxxxxรับการรับรองจากหน่วยงานของทางราชการเป็นผู้จัดหรือร่วมจัด
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๔๓ พนักงานส่วนตําบลที่xxxxxxxจะลาไปฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพตามข้อ ๓๓๙ให้เสนอ หรือจัดส่งxxxxต่อผู้บังคับบัญชาตามลําดับจนถึงผู้มีอํานาจพิจารณาอนุญาตพร้อมแสดงหลักฐานเกี่ยวกับ หลักสูตรที่xxxxxxxจะลา และเอกสารที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) เพื่อพิจารณาอนุญาต และเมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึง หยุดราชการเพื่อไปฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพได้
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๔๔ กรณีมีเหตุพิเศษ xxxxxยกเว้นการปฏิบัติตามที่กําหนดในส่วนนี้ให้นําเสนอคณะ กรรมการพนักงานส่วนตําบลจังหวัดนครราชสีมา (ก.อบต.จังหวัด) เพื่อพิจารณาเป็นรายๆไป
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕
❖ ข้อ ๓๔๖ - ๓๔๗ ยกเลิก
❖ แก้ไขตามมติ ก.อบต.จ.นม. ในการประชุมครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ลว ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕