3.2 Quad-cell PSPD 31
คู่มือปฏิบัติงานประกอบการประเมินเพื่อต่อสัญญาxxxx
พนักงานมหาวิทยาลัย
xxxxxxxxxx xxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxปฏิบัติการ
เอกสารประกอบการประเมินเพื่อต่อสัญญาxxxxมหาวิทยาลัย ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ สํานักงานxxxxxxxxบริหารงานวิจัย บริการวิชาการและทํานุ บํารุงศิลปวัฒนธรรม สํานักงานอธิการบดี
มหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx 2561
คํานํา
เอกสารประกอบการประเมินทดลองปฏิบัติงานของพนักงานมหาวิทยาลัยจัดทําขึ้นเพื่อใช้ประกอบการ พิจารณาการประเมินต่อสัญญาxxxxตําแหน่งนักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ เอกสารนี้เป็นรายงานการปฏิบัติงาน ในช่วงระหว่างเดือนสิงหาคม 2559 – กรกฎาคม 2561 เนื้อหาประกอบด้วยประวัติความเป็นมามหาวิทยาลัย สํานักงานอธิการบดี สํานักงานxxxxxxxxบริหารงานวิจัย บริการวิชาการและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผลการดําเนินงาน ปัญหาอุปสรรคและ แนวทางในการแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงาน
ผู้จัดทําxxxxว่า เอกสารประกอบการพิจารณาเพื่อประเมินต่อสัญญาxxxxพนักงานมหาวิทยาลัยเล่มนี้จะ เป็นข้อมูลสําหรับผู้ประเมิน หากมีข้อแนะนําหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทําขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
xxxxxxxxxx xxxxxxx กรกฎาคม 2561
สารบัญ | ||
เรื่อง | หน้า | |
คํานํา | ก | |
สารบัญ | ข | |
สารบัญรูป | ค | |
สารบัญตาราง | ง | |
บทที่ 1 บทนํา | 1 |
1.1 มหาวิทยาลัยราชธานี 1
1.2 สํานักงานอธิการบดี 3
1.3 สํานักงานxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxวิชาการและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 8
1.4 ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 13
1.5 มาตรฐานกําหนดตําแหน่ง 21
1.6 ภาระงานxxxxxxรับมอบหมาย 22
บทที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน 24
บทที่ 3 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 25
บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 44
บทที่ 5 การอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน 90
บทที่ 6 ปัญหาอุปสรรคและแนวทางในการแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงาน 93
สารบัญรูป
รูปที่ หน้า
1.1 ตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย 3
1.2 โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการและส่วนงานภายในมหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx 4
1.3 โครงสร้างการบริหารงานมหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx 5
1.4 โครงสร้างการแบ่งส่วนงานภายในสํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx 7
1.5 โครงสร้างการแบ่งส่วนงานภายในสํานักงานxxxxxxxxบริหารงานวิจัย 10
บริการวชาการและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม
1.6 โครงสร้างการบริหารงานสํานักงานxxxxxxxxบริหารงานวิจัย 11
บริการวชาการและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม
1.7 อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ณ ปัจจุบัน 14
1.8 แผนที่ตั้งอาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx 15
1.9 โครงสร้างการแบ่งส่วนงานภายในศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 17
1.10 โครงสร้างบุคลากรศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 19
3.1 ขั้นตอนการขอรับบริการ ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 26
3.2 Quad-cell XXXX 31
3.3 ภาพแสดงระดับสีของเครื่องวัดสี 32
3.4 แผนผังขั้นตอนการxxxxxxxxxxxxใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 37
3.5 แผนผังขั้นตอนการให้คําแนะนําการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 38
4.1 จํานวนครั้งการให้บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์xxxxxxรับมอบหมาย 44
4.2 จํานวนตัวอย่างที่รับวิเคราะห์ 45
4.3 หน้าเว็บไซต์ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 47
4.4 หน้าเว็บไซต์เครือข่ายศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ประเทศไทย 47
4.5 การลงนามความร่วมมือโครงการเครือข่ายศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ประเทศไทย 49
(Thailand Scientific Equipment Center Network : TSEN)
4.6 จํานวนครั้งการให้บริการไนโตรเจนเหลว 49
4.7 จํานวนครั้งการxxxxxxxxxxxxใช้งานเครื่องมือวิทยาศาสตร์ 50
4.8 หน้าเว็บไซต์โครงสร้างพื้นฐานภาครัฐด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 53
4.9 หลังคาโรงจอดรถและการปรับภูมิทัศน์รอบอาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 54
4.10 หน้าเว็บไซต์ระบบจองใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ประจําศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 55
4.11 หน้าเว็บไซต์ระบบจองใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ Equipment Management System 57
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
1.1 อัตรากําลังของสํานักงานxxxxxxxxบริหารงานวิจัย บริการวิชาการ 13
และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม
1.2 การให้บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ 16
1.3 บุคลากร 20
1.4 แผนอัตรากําลังที่ต้องการxxxxx 21
3.1 ตารางแผนการดําเนินงานโครงการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับห้องปฏิบัติการมาตรฐาน 34
เพื่อวิเคราะห์สารพิษตกค้างกลุ่มออร์แกโนฟอสเฟตในผักสด ISO/IEC 17025:2017
3.2 ตารางแผนการดําเนินงานโครงการตามแผนงานxxxxxxxxxxxxxxxxxxการวิจัยและพัฒนา 38
ประจําปีงบประมาณ 2560
3.3 ตารางแผนการดําเนินงานโครงการตามแผนงานxxxxxxxxxxxxxxxxxxการวิจัยและพัฒนา 40
ประจําปีงบประมาณ 2561
4.1 การเข้าร่วมประชาสัมพันธ์การให้บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ ประจําปีงบประมาณ 2561 45
4.2 รายการครุภัณฑ์xxxxxxรับจัดสรรประจําปีงบประมาณ 2560 และดําเนินการส่งมอบ 51
และตรวจรับเรียบร้อยแล้ว
4.3 ผลการดําเนินงานใช้จ่ายงบประมาณเพื่อการxxxxxxxจัดซื้อรายการครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์ 52
ประจําปีงบประมาณ 2561
4.4 อัตราค่าบริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 58
ประจําปีงบประมาณ 2559
4.5 อัตราค่าบริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 65
ประจําปีงบประมาณ 2560
4.6 รายการจุดชําxxxxxxยังไม่ดําเนินการซ่อมแซมของอาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 85
4.7 รายการปรับปรุงศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ระยะที่ 2 86
4.8 การเข้าร่วมกิจกรรมของเครือข่ายศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย (TSEN) 89
5.1 อบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน 90
6.1 ปัญหา อุปสรรคและแนวทางในการแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงาน 93
บทที่ 1 บทนํา
1.1 มหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx
1.1.1 ประวัติและความเป็นมาของมหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx
มหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ เปิดทําการเรียนการสอนครั้งแรกในปี การศึกษา 2531 ภายใต้ชื่อ "วิทยาลัยxxxxxxxxxxx" สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยเปิดทําการสอนใน สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ ต่อมาในปีพุทธศักราช 2533 รัฐบาลสมัย พลเอกxxxxxxx ชุณห วัณ ได้มีมติยกฐานะวิทยาลัยxxxxxxxxxxx เป็น “มหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx” ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลําดับที่ 19 สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx พ.ศ. 2533 ประกาศในxxxxxxxx นุเบกษา เมื่อxxxxxx 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ต่อมาสภามหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxxได้แต่งตั้งให้xxxxxxxxxxxxxx xxxxxxx xxxxxxxx ดํารงตําแหน่งอธิการบดีเป็นคนแรกของมหาวิทยาลัย รายชื่ออธิการบดีมหาวิทยาลัย xxxxxxxxxxxตั้งแต่คนแรกจนถึงปัจจุบันมีรายนามดังต่อไปนี้
1. xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx ดํารงตําแหน่งอธิการบดี พ.ศ. 2534 – 2542
2. xxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxx ดํารงตําแหน่งอธิการบดี พ.ศ. 2542 – 2545
3. ศาสตราจารย์ประกอบ xxxxxxxxx ดํารงตําแหน่งอธิการบดี พ.ศ. 2545 – 2553
4. xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx ดํารงตําแหน่งอธิการบดี พ.ศ. 2553 – ปัจจุบัน
1.1.2 xxxxxxของมหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx “สร้างสติและxxxxxแก่สังคม บนพื้นฐานความพอเพียง”
1.1.3 วิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx “องค์กรแห่งคุณภาพที่เป็นศูนย์กลางของข้อมูลและสารสนเทศ ด้านนโยบายและแผน เพื่อ
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx”
1.1.4 อัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx “สร้างสรรค์ xxxxxxx สําxxxxxต่อสังคม”
1.1.5 xxxxxxxxxของมหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx “xxxxxxxxxแห่งxxxxxxxลุ่มน้ําโขง”
1.1.6 พันธกิจของมหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx
1. อํานวย xxxxxx xxxxxx วิเคราะห์และจัดทําแผนพัฒนามหาวิทยาลัย
2. จัดทําและเสนอแนวทางการจัดสรรงบประมาณตามนโยบายและแผนพัฒนามหาวิทยาลัย
3. วิเคราะห์และเสนอแนวทางเพื่อประกอบการพิจารณากําหนดนโยบายและการตัดสินใจของ
ผู้บริหาร
4. xxxxxxxxและสนับสนุนการจัดทําวิจัยสถาบัน
5. ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณตามนโยบาย และแผนพัฒนามหาวิทยาลัย
6. นําผลxxxxxxจากการดําเนินงานและองค์ความรู้xxxxxxจากการศึกษาวิจัยไปสู่การปรับปรุงและ พัฒนาระบบกระบวนการทํางาน โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีคุณภาพ
1.1.7 xxxxxxxxxxของมหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx
1. ผลิตxxxxxxxxxมีความเป็นเลิศทางวิชาการและxxxxxxxxxในทักษะวิชาชีพ เป็นที่ยอมรับในระดับ xxxx xxxxxxดํารงชีพในxxxxxxxxx 21 บนพื้นฐานความพอเพียง เพื่อเป็นกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศ และxxxxxxxลุ่มน้ําโขง
2. พัฒนางานวิจัยแบบมุ่งเป้าเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรม ที่มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชนและสังคมในxxxxxxxลุ่มน้ําโขงอย่างยั่งยืน
3. สร้างความเป็นเลิศด้านการบริการวิชาการอย่างมีส่วนร่วม เพื่อxxxxxxxxxxความxxxxxxxxและ xxxxxศักยภาพของชุมชนและสังคม บนพื้นฐานความพอเพียง
4. xxxxxxxx สืบสาน ประเพณีxxxxxxxx และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม และxxxxxxxxx xxxxxxxxในxxxxxxxลุ่มน้ําโขง
5. บริหารจัดการภายใต้หลักxxxxxxxxxx xxxxxxปรับตัวให้ทันกับxxxxxxการเปลี่ยนแปลงทาง สังคม สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และการทํางานอย่างxxxxxxxxx และยกระดับคุณภาพให้เป็น มาตรฐานxxxx
6. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีประสิทธิภาพ มีสมรรถนะ ปฏิบัติงานอย่างxxxxxxxxx และมีความ ผูกพันกับองค์กร
7. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารxxxxxxxxxx มั่นคง ปลอดภัย และนําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อสนับสนุน การเรียนรู้แบบอิเล็กทรอนิกส์ การบริการทางการศึกษา การบริหารจัดการ และยกระดับความxxxxxxของนักศึกษาและบุคลากรในการใช้ ICT เพื่อพัฒนาสู่การเป็น มหาวิทยาลัยดิจิตอล
1.1.8 xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
ตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย (รูปที่ 1.1) มีลักษณะเป็นรูปเจดีย์แบบล้านช้าง ซึ่งหมายถึง ภาค ตะวันออกxxxxxxxxxxภายในมีxxxxxxxxxxประดิษฐานอยู่บนแท่นรองรับของเส้น 3 เส้น และด้านล่างของฐานมี คําว่า “มหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx” ดอกบัวมีสีกลีบบัว หมายถึงสัญลักษณ์ของจังหวัดxxxxxxxxxxx และเส้นที่ เป็นฐานรองรับดอกบัว 3 เส้น หมายถึง แม่น้ําสายสําคัญของภาคตะวันออกxxxxxxxxxx คือ แม่น้ําโขง แม่น้ําชี และแม่น้ํามูล ลักษณะของดอกบัวเป็นประเภทบัวเหนือน้ําที่พร้อมจะเบ่งบาน ให้ความดีงามแก่มหาชนxxxxxxxxx ส่วนกลีบด้านล่างสองกลีบหมายถึง คุณธรรมและxxxxxอันเปลือกหุ้มสถาบันสําหรับดอกบัวตูมสามกลีบ หมายถึง องค์พระรัตนตรัย สีน้ําเงินเป็นขอบเส้นของตรามหาวิทยาลัยนั้น หมายถึง ความมั่นคง แข็งแรง และ xxxxxxxxxxxxxxที่เป็นพื้น หมายถึง สีประจํามหาวิทยาลัย
รูปที่ 1.1 ตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย
1.1.9 สีประจํามหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx สีประจํามหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx คือสีxxxxxx
1.1.10 โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการและส่วนงานภายในมหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx การแบ่งส่วนราชการภายในมหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxxประกอบด้วยหน่วยงานสนับสนุนการ
ดําเนินงาน และหน่วยงานจัดการเรียนการสอน ดังรายละเอียดในดังรูปที่ 1.2
1.1.11 โครงสร้างการบริหารงานมหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx
การบริหารงานส่วนราชการภายในมหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx บริหารงานโดยมีสภา มหาวิทยาลัยเป็นผู้กําหนดนโยบายและทิศทาง ผ่านอธิการบดี คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย คณะกรรมการบริหารงานบุคคล คณบดีหรือผู้อํานวยการสําxxx xxxอธิการบดีฝ่ายต่างๆ และผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายต่างๆ เป็นผู้ปฏิบัติงาน ดังแสดงในรูปที่ 1.3
1.2 สํานักงานอธิการบดี
1.2.1 ประวัติและความเป็นมาของสํานักงานอธิการบดี
สํานักงานอธิการบดี เป็นส่วนราชการสังกัดมหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx ซึ่งมีการแบ่งส่วนราชการ ตามพระราชกฤษฎีกา จัดตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx ทบวงมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2534 เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2534 เพื่อเป็นหน่วยงานสนับสนุนเพื่อให้การดําเนินกิจกรรมต่างๆ ของมหาวิทยาลัยบรรลุตาม วัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย กิจกรรมสนับสนุนทุกพันธกิจ ส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นเกี่ยวข้องในด้านระบบการ บริหารจัดการ การจัดทําสารสนเทศที่ช่วยในการดําเนินงาน การให้บริการแก่บุคลากรทั้งอาจารย์ นักศึกษา และ บุคลากรทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
รูปที่ 1.2 โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการและส่วนงานภายในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
รูปที่ 1.3 โครงสร้างการบริหารมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
1.2.2 วิสัยทัศน์ของสํานักงานอธิการบดี
“เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสนับสนุนภารกิจของสํานักงานอธิการบดี”
1.2.3 พันธกิจของสํานักงานอธิการบดี
1. พัฒนาระบบสนับสนุนและกํากับดูแลหน่วยงานหลักในสังกัดมหาวิทยาลัย ให้สามารถบริหาร จัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วยลักษณะการทํางานเชิงรุก
2. พัฒนาองค์กรของตัวเองให้มีความเป็นเลิศอย่างต่อเนื่อง
3. พัฒนาสู่ความเป็นศูนย์กลางข้อกลางข้อมูลด้านการบริหารและประกันคุณภาพของ
มหาวิทยาลัย
4. พัฒนาวัฒนธรรมองค์กรของตนเองให้มีความเป็นเลิศโดยยึดหลักธรรมาภิบาล
1.2.4 ค่านิยมร่วมของสํานักงานอธิการบดี “ความเป็นมืออาชีพและสามารถพึ่งพิงได้อย่างแท้จริง”
1.2.5 สมรรถนะหลัก
1. วิเคราะห์งาน (Work Flow Analysis)
2. การทํางานเป็นทีมแก้ปัญหา (Quality Circle Team)
3. ความชัดเจนเรื่องกฎระเบียบต่างๆ
4. การวิเคราะห์นโยบายสู่การปฏิบัติ
1.2.6 โครงสร้างการแบ่งส่วนงานภายในสํานักงานอธิการบดี
รูปที่ 1.4 โครงสร้างการแบ่งส่วนงานภายในสํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
1.3 สํานักงานส่งเสริมบริหารงานวิจัย บริการวิชาการและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม
1.3.1 ประวัติและความเป็นมาของสํานักงานส่งเสริมบริหารงานวิจัยฯ สํานักงานส่งเสริมบริหารงานวิจัยฯ บริการวิชาการและทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม เป็นหน่วยงาน
สังกัดสํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จัดตั้งโดยประกาศสภามหาวิทยาลัย ลงวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2555 มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสนับสนุนดําเนินการจัดทําระบบบริหารงานที่สามารถเชื่อมโยงภารกิจด้าน การวิจัยกับภารกิจด้านการผลิตบัณฑิต การบริการวิชาการและการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมในรูปแบบการ บูรณาการพันธกิจทั้ง 4 ด้านดังกล่าว ให้สอดคล้องไปในทางเดียวกัน มีการประกาศขั้นตอน กระบวนการ ปฏิบัติงานที่มีความเชื่อมโยงตั้งแต่ระดับมหาวิทยาลัยไปจนถึงคณะและหน่วยงานเทียบเท่าและดําเนินการตาม ระบบที่กําหนด
1.3.2 วิสัยทัศน์ของสํานักงานส่งเสริมบริหารงานวิจัย บริการวิชาการและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม “เป็นองค์กรต้นแบบการบริหารจัดการที่ดี เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนวิจัย การบริการวิชาการ
และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมที่ตอบสนองต่อความต้องการของสังคมทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติและ นานาชาติ”
1.3.3 พันธกิจของสํานักงานส่งเสริมบริหารงานวิจัย บริการวิชาการและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม
1. อํานวยการ ประสาน ประมวล วิเคราะห์ เสนอแนะ จัดทํา และปรับปรุงแผนแม่บทงานวิจัย บริการวิชาการและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย ให้มีทิศทางที่ชัดเจน สอดคล้องกับแผนพัฒนาใน ระดับต่าง ๆ
2. อํานวยการ ประสานการเสนอของบประมาณ และแนวทางการจัดสรรด้านงานวิจัย บริการ วิชาการและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับแผนแม่บท
3. ร่วมพัฒนา ปรับปรุง หลักเกณฑ์ แนวปฏิบัติที่ดีให้มีความชัดเจนเพื่อเป็นต้นแบบการ ดําเนินงานให้กับคณะ หน่วยงาน
4. ส่งเสริมพัฒนาทักษะนักวิจัย ให้สามารถทําวิจัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5. สนับสนุน ส่งเสริม ให้คําปรึกษาแนะนํา อํานวยความสะดวกการดําเนินงานวิจัย บริการ วิชาการและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมของคณะ หน่วยงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้การดําเนินงานบรรลุเป้าหมาย
6. สนับสนุน ส่งเสริมการนําผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ไปใช้ประโยชน์
1.3.4 ยุทธศาสตร์ของสํานักงานส่งเสริมบริหารงานวิจัย บริการวิชาการและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ยุทธศาสตร์ที่สนับสนุนการดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย ระยะ 5 ปี (พ.ศ.
2560 – 2564) มีดังนี้
1. พัฒนางานวิจัยแบบมุ่งเป้าเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชนและสังคมในภูมิภาคลุ่มน้ําโขงอย่างยั่งยืน (กลยุทธ์มหาวิทยาลัยฯ ที่ 2)
2. สร้างความเป็นเลิศด้านการบริการวิชาการอย่างมีส่วนร่วม เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและ เพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม บนพื้นฐานความพอเพียง (กลยุทธ์มหาวิทยาลัยฯ ที่ 3)
3. อนุรักษ์ สืบสาน ประเพณีท้องถิ่น และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญา ท้องถิ่นในภูมิภาคลุ่มน้ําโขง (กลยุทธ์มหาวิทยาลัยฯ ที่ 4)
1.3.5 ภาระงานของหน่วยงาน
สํานักงานส่งเสริมบริหารงานวิจัยฯ เป็นส่วนราชการสังกัดภายใต้สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี ซึ่งมีการแบ่งส่วนราชการตามประกาศมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เรื่องโครงการจัดตั้งส่วนราชการภายใน สํานักงานอธิการบดี ณ วันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2549 ทําหน้าที่ส่งเสริมสนับสนุนดําเนินการจัดทําระบบบริหารงานที่ สามารถเชื่อมโยงภารกิจด้านการวิจัยกับภารกิจด้านการผลิตบัณฑิต การบริการวิชาการและการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมในรูปแบบการบูรณาการพันธกิจทั้ง 4 ด้าน ให้สอดคล้องไปในทางเดียวกัน มีการประกาศขั้นตอน กระบวนการปฏิบัติงานที่มีความเชื่อมโยงตั้งแต่ระดับมหาวิทยาลัยไปจนถึงคณะและหน่วยงานเทียบเท่าและ ดําเนินการตามระบบที่กําหนด
สํานักงานส่งเสริมบริหารงานวิจัยฯ แบ่งส่วนงานภายในออกเป็น 6 งาน คือ งานบริหารทั่วไป งาน ส่งเสริมและประสานงานวิจัย งานบริการวิชาการแก่สังคมและถ่ายทอดเทคโนโลยี งานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม งาน อุทยานวิทยาศาสตร์ และงานศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีโครงสร้างดังรูปที่ 1.5
1. งานบริหารทั่วไป
งานบริหารทั่วไป มีภารกิจหลักและรับผิดชอบในงานบริหารงานเอกสาร โดยเป็นศูนย์กลางงาน สาร บรรณของสํานักงาน มีกระบวนการรับ – ส่งเอกสารโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ซึ่งพัฒนาโดยบุคลากรของ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี โดยมีศูนย์ข้อมูลเพื่ออ้างอิงเรื่องเดิมและการติดตามเอกสารตลอดเวลา
2. งานส่งเสริมและประสานงานวิจัย
งานส่งเสริมและประสานงานวิจัย มีภารกิจหลักและรับผิดชอบในงานนโยบายและแผนการส่งเสริม งานวิจัย พัฒนางานวิจัยและจัดการผลการวิจัย พร้อมทั้งควบคุมดูแลเรื่องจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ การเลี้ยงและใช้ สัตว์ทดลอง ความปลอดภัยทางชีวภาพระดับสถาบัน จรรยาบรรณนักวิจัย สารสนเทศเพื่อการวิจัย การเผยแพร่ ผลงาน วิชาการ วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
3. งานบริการวิชาการแก่สังคมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
งานบริการวิชาการแก่สังคมและถ่ายทอดเทคโนโลยี มีภารกิจหลักและรับผิดชอบในการให้บริการวิชาการ และถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนในเขตอีสานใต้และภูมิภาคลุ่มแม่น้ําโขง โดย เสริมสร้างความเข้มแข็งของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะและบริการสุขภาพ และสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชนทุกภาคส่วน พร้อมทั้งควบคุมดูแลเครือข่ายความร่วมมือและสารสนเทศด้าน บริการวิชาการ การฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน
รูปที่ 1.5 โครงสร้างการแบ่งส่วนงานภายในสํานักงานส่งเสริมบริหารงานวิจัย บริการวิชาการและทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม
รูปที่ 1.6 โครงสร้างการบริหารงานสํานักงานส่งเสริมบริหารงานวิจัย บริการวิชาการและทํานุบํารุง
ศิลปวัฒนธรรม
4. งานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม
งานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม มีภารกิจหลักและรับผิดชอบในการพัฒนาระบบและกลไกการ บริหารงานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดการบูรณาการกับการวิจัย การเรียนการสอน และกิจกรรมนักศึกษา ศึกษา ค้นคว้า วิจัย รวบรวมและเผยแผ่องค์ความรู้และภูมิปัญญาด้านศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและประเพณี โดยเน้นภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างและภูมิภาคลุ่มน้ําโขงและประเทศใน อาเซียน ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษาและบุคลากรตระหนักถึงคุณค่าของขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมอัน ดีงาม และมีสุนทรียภาพทางศิลปะตลอดจนรู้เท่าทันวัฒนธรรมของประเทศต่างๆ พร้อมทั้งควบคุมดูแลเครือข่าย ความร่วมมือด้านศิลปวัฒนธรรม อุทยานศิลปวัฒนธรรม
5. งานอุทยานวิทยาศาสตร์
งานอุทยานวิทยาศาสตร์ มีภารกิจหลักและรับผิดชอบในการบริหารสํานักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี ทํา หน้าที่ในการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญาและส่งเสริมการอนุญาตให้ใช้สิทธิเทคโนโลยี เพื่อประโยชน์เชิง พาณิชย์ ซึ่งทรัพย์สินทางปัญญาเกิดจากผลงานการวิจัยและพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของ มหาวิทยาลัยรวมถึงบุคคลภายนอก และหน่วยบ่มเพาะธุรกิจ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ทําหน้าที่ บ่มเพาะธุรกิจหรือเป็นพี่เลี้ยงในการเริ่มธุรกิจ เพื่อให้เกิดผู้ประกอบการใหม่ที่เข้มแข็ง และเติบโตได้ในระยะยาว
6. งานศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ มีภารกิจหลักเพื่อเป็นศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์กลาง ให้บริการเครื่องมือ วิทยาศาสตร์รองรับการดําเนินงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของนักศึกษา นักวิจัยและคณาจารย์ใน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี สนับสนุนให้เกิดงานวิจัยที่เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ/นานาชาติ และเป็นศูนย์ ปฏิบัติการ การบริการวิชาการ ถ่ายทอดความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งให้บริการห้องปฏิบัติการและ ห้องประชุม ไนโตรเจนเหลว น้ํากลั่น น้ําปราศจากไอออน เป็นต้น โดยให้บริการแก่บุคลากรภายในมหาวิทยาลัย บุคคลและหน่วยงานอื่นในพื้นที่โดยรอบ
1.3.6 กรอบอัตรากําลังของหน่วยงาน
สํานักงานส่งเสริมบริหารงานวิจัย บริการวิชาการและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม มีอัตรากําลังบุคลากร ภายในหน่วยงานเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย จํานวน 11 อัตรา และลูกจ้างชั่วคราวโครงการอุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จํานวน 17 อัตรา ดังรายละเอียดในตารางที่ 1.1
ตารางที่ 1.1 อัตรากําลังของสํานักงานส่งเสริมบริหารงานวิจัย บริการวิชาการและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม
ลําดับ | ตําแหน่ง | ระดับ | ประเภทบุคลากร | ลูกจ้าง โครงการ | รวม (คน) | ประจํา | |
ข้าราชการ | พนักงาน มหาวิทยาลัย |
1 | นักวิเคราะห์นโยบายและแผน | ชํานาญการ | 0 | 2 | 0 | 2 | สนง. บริหาร งานวิจัยฯ อาคารสํานักงาน อธิการบดี (หลังเก่า) |
2 | นักวิเคราะห์นโยบายและแผน | ปฏิบัติการ | 0 | 1 | 0 | 1 | |
3 | นักวิชาการศึกษา | ปฏิบัติการ | 0 | 1 | 0 | 1 | |
4 | เจ้าหน้าที่วิจัย | ปฏิบัติการ | 0 | 1 | 0 | 1 | |
5 | เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป | ปฏิบัติการ | 0 | 1 | 0 | 1 | |
6 | ผู้ปฏิบัติงานบริหาร | ปฏิบัติการ | 0 | 1 | 0 | 1 | |
7 | นักวิทยาศาสตร์ | ปฏิบัติการ | 0 | 4 | 0 | 4 | ศูนย์เครื่องมือ วิทยาศาสตร์ |
8 | เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป | 0 | 0 | 2 | 2 | โครงการอุทยาน วิทยาศาสตร์ (อาคารศูนย์ เครื่องมือ วิทยาศาสตร์) | |
9 | เจ้าหน้าที่พัสดุ | 0 | 0 | 1 | 1 | ||
10 | เจ้าหน้าที่ช่างเทคนิคและซ่อมบํารุง | 0 | 0 | 1 | 1 | ||
11 | เจ้าหน้าที่ออกแบบนวัตกรรม | 0 | 0 | 3 | 3 | ||
12 | เจ้าหน้าที่พัฒนาธุรกิจ | 0 | 0 | 4 | 4 | ||
13 | เจ้าหน้าที่ประสานงานโครงการ startup | 0 | 0 | 1 | 1 | ||
14 | เจ้าหน้าที่ประสานงาน ภาคอุตสาหกรรม | 0 | 0 | 3 | 3 | ||
15 | เจ้าหน้าที่ทรัพย์สินทางปัญญา | 0 | 0 | 2 | 2 | ||
รวม | 0 | 11 | 17 | 26 |
1.4 ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
1.4.1 ประวัติและความเป็นมาของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยได้กําหนดนโยบายให้มีการใช้ทรัพยากรด้านการวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ร่วมกันเพื่อให้คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด ตลอดจนลดงบประมาณค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อ จัดหา และ บํารุงรักษา เครื่องมือ อุปกรณ์ อาคารสถานที่ และห้องปฏิบัติการ โดยได้มอบหมายให้สํานักงานส่งเสริมบริหาร งานวิจัย ฯ เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบเตรียมการ เริ่มตั้งแต่ปี 2557 และได้ดําเนินการจัดซื้อจัดหาครุภัณฑ์ วิทยาศาสตร์ ติดตั้งไว้ที่อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์พร้อมทั้งจัดวางระบบและกลไกในการให้บริการแก่ อาจารย์ นักวิจัย และนักศึกษา เริ่มตั้งแต่ เมษายน พ.ศ. 2559 เป็นต้นมา
รูปที่ 1.7 อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ณ ปัจจุบัน
มหาวิทยาลัยได้จัดตั้งศูนย์เครื่องมือกลางและห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพขึ้นในปี พ.ศ. 2552 โดย ใช้ชื่อ “ศูนย์เครื่องมือกลางและปฏิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพ (UNIVERSITY BIOTECHNOLOGY AND CENTRAL LABORATORY)” แต่เนื่องจากชื่อภาษาอังกฤษไม่สอดคล้องกับชื่อภาษาไทย ดังนั้น จึงขออนุมัติ เปลี่ยนชื่อของศูนย์ที่มีภารกิจเป็นแหล่งการให้บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และให้บริการห้องปฏิบัติการที่มี หลากหลายสาขา เช่น ห้องปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์ ห้องปฏิบัติการเคมีกายภาพ ห้องปฏิบัติการชีวภาพ ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพ เป็นต้น และได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 1 พ.ย. 2559 โดยให้เปลี่ยนชื่อเป็นศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ (SCIENTIFIC EQUIPMENT CENTER; SEC)
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ตั้งอยู่ ณ บริเวณกิโลเมตรที่ 10 ถนนวารินเดชอุดม ตําบลเมืองศรีไค อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี เส้นทางการคมนาคมเชื่อมโยงสู่ อําเภอวารินชําราบและอําเภอเมือง โดยมีระยะห่างจากสนามบินจังหวัดอุบลราชธานีประมาณ 20 กิโลเมตร และห่างจากสถานีรถไฟอําเภอวารินวารินชําราบ ประมาณ 10 กิโลเมตร โดยมีแผนที่ตั้งดังรูปที่ 1.8 และมีข้อมูล การติดต่อ ดังนี้ เลขที่ 85 ถ.สถลมาร์ค ต.เมืองศรีไค อ.วารินชําราบ จ.อุบลราชธานี 34190 หมายเลขโทรศัพท์ 045-353079 http://www.ubu.ac.th/web/sec และ Facebook ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี
รูปที่ 1.8 แผนที่ตั้งอาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
1.4.2 วิสัยทัศน์ของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
เป็นองค์กรต้นแบบการบริหารจัดการที่ดี เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย การบริการวิชาการ และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมที่ตอบสนองต่อความต้องการของสังคมทั้งในระดับท้องถิ่นระดับชาติและนานาชาติ
1.4.3 พันธกิจของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
1. อํานวยการ ประสาน ประมวล วิเคราะห์ เสนอแนะ จัดทําและปรับปรุงแผนแม่บทงานวิจัย บริการวิชาการและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย ให้มีทิศทางที่ชัดเจน สอดคล้องกับแผนพัฒนาใน ระดับต่างๆ
2. อํานวยการ ประสานการเสนอของบประมาณ และแนวทางการจัดสรรด้านงานวิจัย บริการ วิชาการและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับแผนแม่บท
3. ร่วมพัฒนา ปรับปรุง หลักเกณฑ์ แนวปฏิบัติที่ดีให้มีความชัดเจนเพื่อเป็นต้นแบบการ ดําเนินงานให้กับคณะ หน่วยงาน
4. ส่งเสริมพัฒนาทักษะนักวิจัย ให้สามารถทําวิจัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5. สนับสนุน ส่งเสริม ให้คําปรึกษาแนะนํา อํานวยความสะดวกการดําเนินงานวิจัย บริการ วิชาการและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมของคณะ หน่วยงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้การดําเนินงานบรรลุเป้าหมาย สนับสนุน ส่งเสริมการนําผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ไปใช้ประโยชน์
1.4.4 วัตถุประสงค์ของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
1. เพื่อเป็นศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์รองรับงานวิจัย การเรียนการสอน ของนักศึกษา นักวิจัย
และคณาจารย์
2. เพื่อเป็นศูนย์ปฏิบัติการ วิเคราะห์ ทดสอบ และการบริการวิชาการ ถ่ายทอดความรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1.4.5 โครงสร้างการแบ่งส่วนงานภายในศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ แบ่งส่วนงานภายในเป็น 2 ส่วน คือส่วนห้องปฏิบัติการและส่วน สนับสนุนห้องปฏิบัติการ รายละเอียดดังรูปที่ 1.9
1. ส่วนห้องปฏิบัติการ มีขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้ ให้บริการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์และห้องปฏิบัติการ เพื่อรองรับการดําเนินงานวิจัยและการ
จัดการเรียนการสอนของนักศึกษา นักวิจัยและคณาจารย์ในมหาวิทยาลัย รวมทั้งให้บริการวิชาการแก่หน่วยงาน อื่นๆทั้งภาครัฐและเอกชน โดยเปิดให้บริการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์และห้องปฏิบัติการ รายละเอียดดังตาราง ที่ 1.2
ตารางที่ 1.2 การให้บริการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ในงานวิเคราะห์ต่างๆ
บริการงานวิเคราะห์ | เครื่องมือวิทยาศาสตร์ |
1. บริการงานวิเคราะห์ทางเคมี | เครื่องวิเคราะห์สารด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี-แมสสเปคโทรเมทรี, เครื่องวิเคราะห์ขนาดอนุภาคและศักย์ซีต้า, เครื่องตรวจวัดทาง เคมีไฟฟ้า, เครื่องวิเคราะห์ปริมาณธาตุด้วยเทคนิค ICP-OES, เครื่อง วิเคราะห์และแยกสารของเหลวด้วยความดันสูง, เครื่องวิเคราะห์ ลิควิดโครมาโทกราฟี-แมสสเปคโตรมิเตอร์, ชุดวิเคราะห์ปริมาณธาตุ โดยการดูดกลืนแสงของอะตอม และเครื่องย่อยสารด้วยระบบคลื่น ไมโครเวฟ เป็นต้น |
2. บริการงานวิเคราะห์โปรตีน | เครื่องขยายปริมาณสารพันธุกรรมชนิดปฏิกิริยาจริงอัตโนมัติ, เครื่องวัด การดูดกลืนแสงชนิดนาโน และเครื่องแยกสารพันธุกรรมและโปรตีน ด้วยกระแสไฟฟ้า เป็นต้น |
3. บริการงานวิเคราะห์ทาง จุลทรรศน์ | กล้องจุลทรรศน์แรงอะตอม, กล้องจุลทรรศน์ 3 กระบอกตา เทคนิค ฟลูออเรสเซนต์ และกล้องจุลทรรศน์สําหรับงานพื้นมืด พร้อมชุดถ่าย ระบบดิจิตอล เป็นต้น |
4. บริการงานวิเคราะห์ทาง กายภาพ | เครื่องไมโครเพลทรีดเดอร์, เครื่องวัดการเรืองแสงของสาร, เครื่อง วิเคราะห์ความหนืด และเครื่องวัดลักษณะเนื้อสัมผัส เป็นต้น |
5. บริการงานทดสอบตัวอย่าง อาหารและผลิตภัณฑ์ทางการ เกษตร | เครื่องวิเคราะห์องค์ประกอบน้ํานม และเครื่องวัดปริมาณน้ํา เป็นต้น |
6. บริการงานเตรียมตัวอย่างและ ทดสอบทั่วไป | เครื่องปั่นเหวี่ยงประสิทธิภาพสูงยิ่งยวดแบบตั้งพื้น, เครื่องทําแห้งแบบ พ่นฝอย, เครื่องชั่ง 6 ตําแหน่ง, เครื่องทําแห้งภายใต้ความเย็นและ สุญญากาศ, เครื่องสกัดไขมัน และเตาเผาอุณหภูมิสูง เป็นต้น |
7. การให้บริการห้องประชุม | ห้องประชุม 200 ที่นั่ง (SEC201) ห้องประชุม 40 ที่นั่ง (SEC202, SEC203, SEC205) |
8. บริการอื่นๆ | จําหน่ายไนโตรเจนเหลว จําหน่ายน้ํากลั่น และน้ําปราศจากไอออน เป็นต้น |
2. ส่วนสนับสนุนห้องปฏิบัติการ มีขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้
รับผิดชอบการจัดจัดจ้างจัดซื้อครุภัณฑ์ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานอื่น การออกผล ปฏิบัติการ การเก็บเอกสาร การค้นหาเอกสาร การจัดหาพัสดุ การรับรองผลการวิเคราะห์ สร้างระบบประกัน คุณภาพ มาตรฐานห้องปฏิบัติการ และบํารุงรักษาเครื่องมือวิทยาศาสตร์ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน รวมทั้งดูแล รักษาความปลอดภัย เป็นต้น
รูปที่ 1.9 โครงสร้างการแบ่งส่วนงานภายในศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
1.4.6 คณะกรรมการประจําศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
โครงสร้างการบริหารงานของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ประกอบด้วย คณะกรรมการอํานวยการศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ และคณะกรรมการบริหารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ (รูปที่ 2) รายละเอียดดังต่อไปนี้
1. คณะที่ปรึกษา ประกอบด้วย
1. อธิการบดีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประธานที่ปรึกษา
2. รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพันธกิจสังคม รองประธานที่ปรึกษา
3. คณบดีคณะเกษตรศาสตร์ ที่ปรึกษา
4. คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ ที่ปรึกษา
5. คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ ที่ปรึกษา
6. คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ ที่ปรึกษา
7. คณบดีวิทยาลัยแพทศาสตร์และการสาธารณสุข ที่ปรึกษา
8. ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายปฏิบัติการวิจัย เลขานุการ
2. คณะกรรมการอํานวยการศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ซึ่งอธิการบดีแต่งตั้ง มีอํานาจและหน้าที่ใน การให้คําปรึกษานโยบายและทิศทางการบริหารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ และมีคณะกรรมการอํานวยการ ประกอบด้วย
1. รองอธิการบดีที่อธิการบดีมอบหมาย ประธานกรรมการ
2. คณบดีคณะเกษตรศาสตร์หรือรองคณบดีที่ได้รับมอบหมาย กรรมการ
3. คณบดีคณะวิทยาศาสตร์หรือรองคณบดีที่ได้รับมอบหมาย กรรมการ
4. คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์หรือรองคณบดีที่ได้รับมอบหมาย กรรมการ
5. คณบดีคณะเภสัชศาสตร์หรือรองคณบดีที่ได้รับมอบหมาย กรรมการ
6. คณบดีวิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุขหรือ กรรมการ รองคณบดีที่ได้รับมอบหมาย
7. ผู้อํานวยการอุทยานวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี กรรมการ
8. ผู้ช่วยอธิการบดีที่อธิการบดีมอบหมาย กรรมการและ เลขานุการ
9. หัวหน้าสํานักงานส่งเสริมบริหารงานวิจัยฯ ผู้ช่วยเลขานุการ
3. คณะกรรมการบริหารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ซึ่งอธิการบดีแต่งตั้ง มีอํานาจและหน้าที่ในการ กําหนดรับผิดชอบตลอดจนกํากับนโยบายและทิศทางการบริหารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ และมีคณะกรรมการ บริหาร ประกอบด้วย
1. ผู้ช่วยอธิการบดีที่อธิการบดีมอบหมาย ประธานกรรมการ
2. ประธานคณะอนุกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพ กรรมการ
3. ผู้อํานวยการอุทยานวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี กรรมการ
4. ตัวแทนอาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ จํานวนไม่น้อยกว่า 2 คน กรรมการ
5. ตัวแทนอาจารย์คณะเกษตรศาสตร์ จํานวนไม่น้อยกว่า 2 คน กรรมการ
6. ตัวแทนอาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ จํานวนไม่น้อยกว่า 2 คน กรรมการ
7. ตัวแทนอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ จํานวนไม่น้อยกว่า 2 คน กรรมการ
8. ตัวแทนอาจารย์วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข กรรมการ จํานวนไม่น้อยกว่า 2 คน
9. หัวหน้าสํานักงานส่งเสริมบริหารงานวิจัยฯ เลขานุการ
10. นักวิทยาศาสตร์จํานวน 1 คน ผู้ช่วยเลขานุการ
1.4.7 บุคลากร ประกอบด้วย
โครงสร้างบุคลากรของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ มีอธิการบดีเป็นที่ปรึกษา รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย และพันธกิจสังคม และผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายปฏิบัติการวิจัย ทําหน้าที่ในการกลั่นกรอง จัดทําและสรุปนโยบายและทิศ ทางการบริหารงาน รวมทั้งกํากับและติดตามการดําเนินงานของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ หัวหน้าสํานักงาน ส่งเสริมบริหารงานวิจัยฯ ประสานการดําเนินงานในส่วนของงานวิจัยที่ต้องใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ และ นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติงานด้านวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือวิทยาศาสตร์ ดังรูปที่ 1.10
1. ข้าราชการ | จํานวน | 3 | อัตรา |
2. ลูกจ้างประจํา | จํานวน | – | อัตรา |
รูปที่ 1.10 โครงสร้างบุคลากรของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ โดยมีอัตรากําลังรวมทั้งหมด จํานวน 8 อัตรา จําแนกตามประเภทดังนี้
3. พนักงานมหาวิทยาลัย | จํานวน | 5 | อัตรา |
4. พนักงานราชการ | จํานวน | – | อัตรา |
5. พนักงานเงินรายได้ของหน่วยงาน | จํานวน | 2 | อัตรา |
รายละเอียดบุคลากร ดังตารางที่ 1.3
ตารางที่ 1.3 บุคลากร
ลําดับ | ชื่อ - สกุล | ตําแหน่ง | วุฒิ | หมายเหตุ |
ผู้บริหาร | ||||
1. | รองศาสตราจารย์นงนิตย์ ธีระวัฒนสุข | อธิการบดี | ปริญญาเอก | ข้าราชการ |
2. | รองศาสตราจารย์ชวลิต ถิ่นวงศ์พิทักษ์ | รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและ พันธกิจสังคม | ปริญญาเอก | ข้าราชการ |
3. | ผู้ช่วยศาสตราจารย์อัญชลี สําเภา | ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่าย ปฏิบัติการวิจัย | ปริญญาเอก | ข้าราชการ |
4. | นางสาวนาวินี สุตัญตั้งใจ | หัวหน้าสํานักงานส่งเสริม บริหารงานวิจัยฯ | ปริญญาโท | พนักงานมหาวิทยาลัย |
นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ | ||||
1. | นางสาวญชาภา ภัททิยพุทธพงษ์ | นักวิทยาศาสตร์ | ปริญญาโท | พนักงานมหาวิทยาลัย |
2. | นางสาว สมพร สาระวัน | นักวิทยาศาสตร์ | ปริญญาโท | พนักงานมหาวิทยาลัย |
3. | นางสาวคัทลียา ยุรยาตร์ | นักวิทยาศาสตร์ | ปริญญาโท | พนักงานมหาวิทยาลัย |
4. | นางสาวณัฐศิริ วงษ์แสง | นักวิทยาศาสตร์ | ปริญญาโท | พนักงานมหาวิทยาลัย |
5. | นางสาวเบญจกาญจน์ บุญวร | นักวิทยาศาสตร์ | ปริญญาโท | พนักงานเงินรายได้ของ หน่วยงาน |
6. | นายวรภัสม์ แป้นจันทร์ | นักวิทยาศาสตร์ | ปริญญาตรี | พนักงานเงินรายได้ของ หน่วยงาน |
1.4.8 แผนอัตรากําลังการแบ่งงานศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ในการดําเนินการงานศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ มีความต้องการบุคลากรนักวิทยาศาสตร์เพื่อมา
ดําเนินงานปฏิบัติงานด้านวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีแผนอัตรากําลังในระยะเวลา 5 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564) รายละเอียดดังตารางที่ 1.4
ตารางที่ 1.4 แผนอัตรากําลังที่ต้องการเพิ่มในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2564
สํานักงานส่งเสริม บริหารงานวิจัยฯ | ปีงบประมาณ (อัตรา) | รวมทั้งหมด | |||||
2559 | 2560 | 2561 | 2562 | 2563 | 2564 | ||
ฝ่ายสนับสนุน ห้องปฏิบัติการ - ธุรการ/พัสดุ - ช่างซ่อมบํารุง | - - | - - | 1 1 | - - | - - | - - | 1 1 |
ฝ่ายห้องปฏิบัติการ - นักวิทยาศาสตร์ | 2 (2)* | 3 | 3 | 2 | 3 | 2 | 15 (2) |
หมายเหตุ (*) จ้างเหมาบริการ
1.5 มาตรฐานกําหนดตําแหน่ง
ตําแหน่ง : นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ
หน้าที่และความรับผิดชอบ (ตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่ง คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนใน สถาบันอุดมศึกษา (กพอ.) พ.ศ. 2553)
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถทางวิชาการในการทํางาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายใต้การกํากับ แนะนํา ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ (ตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่ง คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (กพอ.) พ.ศ. 2553)
1.5.1 ด้านการปฏิบัติการ
1. ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิเคราะห์ข้อมูล และร่วมดําเนินการวิจัย เผยแพร่ผลงานด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อสร้างองค์ความรู้และพัฒนาอุตสาหกรรม
2. วิเคราะห์ ทดสอบ ตรวจสอบ ตรวจวัด ตรวจพิสูจน์ วินิจฉัย ทางวิทยาศาสตร์ของวัตถุตัวอย่าง สอบเทียบเครื่องมือ อุปกรณ์วัด เพื่อนําข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ ยวข้อง จัดทําฐานข้อมูล ห้องปฏิบัติการ ส่งเสริมพัฒนาห้องปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
3. ให้บริการด้านต่างๆ เช่น ให้คําปรึกษา แนะนํา ในการปฏิบัติงานแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา และแก่นักศึกษาที่มาฝึกปฏิบัติงาน ตอบปัญหาและชี้แจงเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ เพื่อให้สามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง
1.5.2 ด้านการวางแผน
วางแผนการทํางานที่รับผิดชอบ ร่วมวางแผนการทํางานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การ ดําเนินงานบรรลุตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กําหนด
1.5.3 ด้านการประสานงาน
1. ประสานการทํางานร่วมกันระหว่างทีมงานหรือหน่วยงานทั้งภายในและภายนอก เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กําหนดไว้
2. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อ สร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดําเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
1.5.4 ด้านการบริการ
1. ให้คําปรึกษา แนะนําเบื้องต้น เผยแพร่ ถ่ายทอดความรู้ ทางด้านการวิจัยและวิเคราะห์ รวมทั้ง ตอบปัญหาและชี้แจงเรื่องต่างๆเกี่ยวกับงานในหน้าที่ เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับทราบข้อมูลความรู้ต่างๆที่เป็น ประโยชน์
2. จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น และให้บริการข้อมูลทางวิชาการ เกี่ยวกับการวิจัยและวิเคราะห์ เพื่อให้ บุคลากรทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน นักศึกษา ตลอดจนผู้รับบริการ ได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่างๆ ที่เป็น ประโยชน์ สอดคล้อง และสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน และใช้ประกอบการพิจารณากําหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่างๆ
1.6 ภาระงานที่ได้รับมอบหมาย
1.6.1 งานประจําตามที่ได้รับมอบหมาย
6.1.1.1 ด้านการปฏิบัติการ
1. ให้บริการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์สําหรับบุคลากรภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย รวมทั้งดูแลรักษาเครื่องมือวิทยาศาสตร์
6.1.1.2 ด้านการวางแผน
1. วางแผนการดําเนินโครงการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ สารพิษตกค้างกลุ่มออร์แกโนฟอสเฟตในผักสดตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 ประจําปีงบประมาณ 2561
2. วางแผนการประชาสัมพันธ์การให้บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์
3. วางแผนการประชาสัมพันธ์การให้บริการไนโตรเจน
6.1.1.3 ด้านประสานงาน
1. ประสานงานการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่ได้รับมอบหมาย
2. ประสานงานการจัดซื้อจัดจ้างและติดตั้งเครื่องมือวิทยาศาสตร์ ประจําปีงบประมาณ 2560-2561
6.1.1.4 ด้านการบริการ
1. ให้บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์พร้อมกับบริการให้คําแนะนําข้อมูลการใช้เครื่องมือแก่ ผู้รับบริการ
2. บริการการน้ํากลั่น น้ําปราศจากไอออน ไนโตรเจนเหลว
3. บริการยืมคืนเครื่องแก้วทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพ
1.6.2 งานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย
1.6.2.1 ติดตามและประสานการจัดซื้อจัดจ้างครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ประจําปีงบประมาณ 2560- 2561 มีขั้นตอนการดําเนินงาน
1.6.2.2 ประสานการลงฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานภาครัฐด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1.6.2.3 จัดทําอัตราค่าบริการการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ประจําศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
1.6.2.4 ประสานงานและติดตามการดําเนินงานการก่อสร้างหลังคาโรงจอดรถและการปรับภูมิทัศน์ อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
1.6.2.5 ประสานงานการซ่อมแซมอาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
1.6.2.6 ประสานงานการแยกมิเตอร์ไฟของห้องปฏิบัติการทางการเกษตร วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และเภสัชศาสตร์ ประจําศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
1.6.2.7 ประสานงานการจัดทําระบบการจองใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์
1.6.2.8 ประสานงานการจัดทําระบบการจองใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ผ่านระบบ EMS
1.6.2.9 ประสานงานการปรับปรุงศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ระยะ ที่ 2
1.6.2.10 ประสานงานระหว่างเครือข่ายศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย (TSEN)
บทที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
2.1 ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
2.1.1 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2550
2.1.2 ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554
2.1.3 พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
2.1.4 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. 2533
2.1.5 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ว่าด้วยคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. 2543
2.2 ประกาศมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
2.2.1 ประกาศมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการ การทดลองปฏิบัติงานสําหรับ พนักงานสังกัดมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. 2555
2.2.2 ประกาศมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เรื่อง การกําหนดชื่อตําแหน่งและมาตรฐานกําหนดตําแหน่ง สําหรับพนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2555
2.2.3 ประกาศมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เรื่อง อัตราค่าบริการและระเบียบปฏิบัติในการขอรับบริการ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
บทที่ 3 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
3.1 งานประจําตามที่ได้รับมอบหมาย
3.1.1 ด้านปฏิบัติการ
1. ให้บริการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์สําหรับบุคลากรภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
การให้บริการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์สําหรับบุคลากรภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ของ ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ มีขั้นตอนการบริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ ดังนี้
(1) ติดต่อขอรับแบบฟอร์มการขอรับบริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ (SEC01-1) ที่สํานักงาน ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ห้อง SEC 122 ชั้น 1 หรือสอบถามได้ที่หมายเลขโทรศัพท์ 045 353 079
(2) ตรวจสอบตารางการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ และกรอกข้อมูลในแบบฟอร์มการขอรับ บริการให้ครบถ้วนเพื่อรักษาสิทธิ์ในการขอรับบริการทุกครั้ง
(3) ยื่นแบบฟอร์มการขอรับบริการที่สํานักงานศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ เพื่อขออนุมัติใช้ บริการอย่างน้อย 3 วันทําการ หรือบันทึกการจองใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ผ่านระบบการจองเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ออนไลน์ที่เว็บไซต์ https://ems.nstda.or.th/ubu
(4) รอผลการพิจารณาจากผู้บริหารสูงสุดของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
(5) เมื่อได้รับอนุมัติแล้ว ผู้ขอรับบริการต้องเข้าใช้บริการตามวันเวลาที่กําหนด หากมีเหตุผล ความจําเป็นที่ไม่สามารถเข้าใช้บริการตามวันเวลาที่กําหนด ขอให้แจ้งยกเลิกหรือเลื่อนวันต่อเจ้าหน้าที่ของศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์หรือยกเลิกผ่านระบบจองเครื่องมือวิทยาศาสตร์ออนไลน์ เป็นการล่วงหน้าอย่างน้อย 1 วัน ทําการ
(6) เมื่อผู้ขอรับบริการเข้าใช้เครื่องมือตามเวลาที่กําหนดแล้ว ต้องกรอกแบบฟอร์มตรวจสอบ ค่าบริการ (SEC01-2) และนักวิทยาศาสตร์ตรวจสอบข้อมูลการใช้บริการและแจ้งผู้ใช้บริการให้ทราบ
(7) เมื่อได้ใบตรวจสอบค่าบริการ ผู้ขอรับบริการต้องชําระเงินที่กองคลัง ชั้น 1 สํานักงาน อธิการบดี ภายใน 1-2 วัน โดยมีขั้นตอนดังแผนภาพที่ 3.1
รูปที่ 3.1 ขั้นตอนการขอรับบริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่ได้รับมอบหมาย ได้แก่
1. เครื่องวิเคราะห์สารด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี (Gas Chromatography Spec-trometer)
2. เครื่องวิเคราะห์สารด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟีแมสสเปคโทรเมทรี (Gas Chro-matography Mass Spectrometer)
3. เครื่องวิเคราะห์และแยกสารของเหลวด้วยความดันสูง (High Performance Liquid Chromatography)
4. เครื่องขยายปริมาณสารพันธุกรรมชนิดปฏิกิริยาจริงอัตโนมัติ (Real Time PCR)
5. กล้องจุลทรรศน์แรงอะตอม (Atomic Force Microscope)
6. เครื่องวัดสี (Color Meter)
7. เครื่องวิเคราะห์ความหนืด (Viscometer)
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ดังนี้
1. เครื่องวิเคราะห์สารด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี (Gas Chromatography Spectrometer)
หลักการของเครื่องวิเคราะห์สารด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี ใช้เทคนิคการแยกสาร โดยอาศัยความ แตกต่างของอัตราการเคลื่อนที่ของแต่ละสารเมื่อผ่านเฟสคงที่ (Stationary phase) เมื่อมีการพาด้วยเฟส เคลื่อนที่ (Mobile phase) เฟสเคลื่อนที่ใช้ เช่น แก๊สฮีเลียม แก๊สไนโตรเจน เป็นต้น เมื่อสารที่ต้องการวิเคราะห์ ผ่านเข้าสู่เครื่อง GC สารดังกล่าวจะถูกเปลี่ยนสถานะจากของเหลว (Liquid) เป็นแก๊ส (Gas) ภายใต้สภาวะที่ กําหนด อาศัยความแตกต่างของน้ําหนักโมเลกุล จุดเดือด โครงสร้างของสาร และสมบัติทางเคมีในการทํา ปฏิกิริยากับสารที่อยู่ภายในคอลัมน์
1.1 ขั้นตอนเริ่มต้น นําขวดตัวอย่างใส่ในช่องวิเคราะห์ และใส่สารละลายที่จะล้างเข็มในขวดใส่สารละลาย และวางในตําแหน่ง Wash
1.2 ต่อคอลัมน์ที่จะใช้วิเคราะห์ให้ตรงกับชุดตรวจรับสัญญาณที่ต้องการ โดยเครื่องมี Channel A ต่อกับ FID Detector และ Channel B ต่อกับ ECD Detector
1.3 เปิดเครื่องตามลําดับขั้นตอนดังนี้
- เครื่องสํารองไฟ
- แก๊สไนโตรเจน อาร์กอน ฮีเลียม แอร์
- เปิดเครื่อง GC
- เปิด HS-Injector
- คอมพิวเตอร์ และโปรแกรม
1.3 ทําการเปิด Software โดยคลิกไอคอน TCNav จะแสดงหน้าต่าง Totalchrom
1.4 ทําการตั้งค่า Parameter ต่างๆ
- สร้างวิธีทดสอบของ GC โดยไปที่ฟังก์ชั้น Method และใส่ค่าข้อมูลการทดสอบตามสภาวะที่ ต้องการที่แถบ Autosampler Oven/inlets Carrier Detectors และ instrument timed event
- สร้าง Sequences ที่ไปที่ฟังก์ชั้น Sequences แล้วเลือก GC method ที่สร้างไว้ ตามด้วยกรอก ข้อมูลตัวอย่าง ตําแหน่งขวดสารที่จะวิเคราะห์ และค่าอื่นๆที่ต้องการแสดงผล จากนั้นบันทึกการตั้งค่า
- การ Setup เครื่อง ไปที่ฟังก์ชั้น Instrument Setup เลือกวิธีวิเคราะห์ และใส่ของมูล Method ที่ สร้างไว้หรือใส่ข้อมูล Sequences ขั้นอยู่กับวิธีการสั่งงาน
1.5 เริ่มทําการวิเคราะห์ โดยไปที่ฟังก์ชั้น RUN เครื่องจะเริ่มการวิเคราะห์ หากต้องการดูผลการวิเคราะห์ ขณะนั้น ให้คลิกเลือกฟังก์ชัน Real Time
1.6 เมื่อสิ้นสุดการวิเคราะห์ ทําการปิดอุณหภูมิของ Injector, Oven และ Detector ของเครื่อง GC โดย อุณหภูมิของ Injector และ Detector ต้องต่ํากว่า 100°C และอุณหภูมิของ Oven ต้องต่ํากว่า 45°C
1.7 ทําการลดอุณหภูมิของ HS-Injector (ในกรณีที่มาการใช้งาน HS-Injector) โดยที่หน้าจอ Touch screen ของ HS-Injector เลือก Tool >> Method >> Cool Down รอให้อุณหภูมิของแต่ละส่วนของ HS- Injector ลดลงเหลือ 60°C
1.8 วิเคราะห์ข้องมูลทดสอบที่ฟังก์ชัน Chromatogram
1.9 เมื่อวิเคราะห์ผลเสร็จเรียบร้อยแล้ว ทําการปิดเครื่องตามลําดับขั้นตอน ดังนี้ โปรแกรม คอมพิวเตอร์ HS-Injector เครื่อง GC ระบบแก๊ส และเครื่องสํารองไฟ ตามลําดับ
2. เครื่องวิเคราะห์สารด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟีแมสสเปคโทรเมทรี (Gas Chromatography Mass Spectrometer)
2.1 ขั้นตอนเริ่มต้น นําขวดตัวอย่างใส่ในช่องวิเคราะห์ และใส่สารละลายที่จะล้างเข็มในขวดใส่สารละลาย และวางในตําแหน่ง Wash
2.2 ต่อคอลัมน์ที่จะใช้วิเคราะห์ให้ตรงกับระบบฉีดและชุดตรวจรับสัญญาณที่ต้องการ โดยระบบฉีดมี 2 Channel คือ Channe A และ B และชุดตรวจรับสัญญาณ 3 ชุด คือ MS Detector, FID Detector และ ECD Detector
2.3 เปิดเครื่องตามลําดับขั้นตอน ดังนี้ เครื่องสํารองไฟ ระบบแก๊สที่ใช้งาน เปิดเครื่อง MS เปิดเครื่อง GC เปิด HS-Injector คอมพิวเตอร์ และโปรแกรม ตามลําดับ
2.4 ทําการเปิด Software โดยคลิกไอคอน TurboMass
2.5 ทําระบบ MS ให้เป็นสุญญากาศ โดยคลิกที่ไอคอนหน้าต่าง Tune page คลิกที่ Option แล้วเลือก Pump/Vacuum system on ปั๊มจะเริ่มทํางานโดยสังเกตตรง Vacuum gauge รอให้ความดันของระบบต่ํา กว่า 1x10-4 tor (Vacuum gauge อยู่ในโซนสีเขียว) ควรเปิดก่อนการใช้งานเป็นเวลา 1 ชั่วโมง
2.6 ทําการตรวจสอบความชื้นและการรั่วของระบบ โดยสังเกตค่า Mass ที่ 4 (Helium) --> ควรมีค่า 100%
18 (Water) --> ควรมีค่าต่ํากว่า 10%
28 (Nitrogen) --> ควรมีค่าไม่เกิน 25% ของ water
32 (Oxygen) --> ควรมีค่าไม่เกิน 25% ของ water
2.7 การ Tune และ Calibrate เครื่อง MS ก่อนการวิเคราะห์ทุกครั้ง
2.8 การตั้งค่า Parameter ที่หน้าต่าง TurboMass
(1) สร้าง Method ของ GC โดยไปที่ แถบ GC และใส่ค่า Parameter ต่างๆ ที่แถบ Autosampler Oven/inlets Carrier Detectors และ instrument timed event และบันทึกค่า
(2) MS ที่ต้องการใช้ในการวิเคราะห์ โดยไปที่ แถบ MS โดยเลือกโหมดที่จะใช้ คือ MS Scan/SIR และใส่ค่าต่างๆ ได้แก่ ช่วงเวลา solvent delay, ช่วง Mass Scan, ช่วงเวลาการเก็บข้อมูล จากนั้นบันทึกค่า
(3) สร้าง Sequences ที่หน้าต่าง TurboMass โดยใส่ชื่อข้อมูลตัวอย่าง GC method MS method ตําแหน่งขวดสารที่จะวิเคราะห์ และค่าอื่นๆที่ต้องการแสดงผล จากนั้นบันทึกการตั้งค่า
2.9 เริ่มทําการวิเคราะห์โดยไปที่หน้า Sequences เลือกแถบเมนู RUN และระบบจะเริ่มทํางาน
2.10 หลังจากสิ้นสุดการวิเคราะห์ ทําการลดอุณหภูมิ Inlet line และ Ion source ของเครื่อง MS ให้ต่ํา กว่า 100ºC
2.11 ทําการ Vent ระบบ MS โดยคลิกที่ Option แล้วเลือก Vent/Vacuum system off รอให้เข็ม ความดันของ Vacuum gauge อยู่ในโซนสีแดง
2.12 ทําการปิดอุณหภูมิของ Injector, Oven และ Detector ของเครื่อง GC โดยอุณหภูมิของ Injector และ Detector ต้องต่ํากว่า 100ºC และอุณหภูมิของ Oven ต้องต่ํากว่า 45ºC
2.13 ทําการลดอุณหภูมิของ HS-Injector (ในกรณีที่มาการใช้งาน HS-Injector) โดยไปที่หน้าจอ Touch screen ของ HS-Injector เลือก Tool >> Method >> Cool Down รอให้อุณหภูมิของแต่ละส่วนของ HS- Injector ลดลงเหลือ 60ºC
2.14 ทําการปิดเครื่องตามลําดับขั้นตอน ดังนี้ โปรแกรม คอมพิวเตอร์ HS-Injector เครื่อง GC เครื่อง MS ถังแก๊ส และเครื่องสํารองไฟ ตามลําดับ
3. เครื่องวิเคราะห์และแยกสารของเหลวด้วยความดันสูง (High Performance Liquid
Chromatography)
ใช้หลักการการแยกสารโดยอาศัยการพาของเฟสเคลื่อนที่ (Mobile phase) ผ่านเฟสคงที่ (Stationary phase) หรือคอลัมน์ ด้วยแรงดันจากปั๊ม การแยกสารผสมออกจากกันใช้คุณสมบัติความสามารถการเข้ากับได้ ของสารผสมกับเฟสเคลื่อนที่ (like dissolves like) ผ่านเครื่องตรวจวัดสัญญาณ ขั้นตอนการเตรียมตัวอย่างและ การใช้งานเครื่อง ดังนี้
3.1 การเตรียมเฟสเคลื่อนที่ (Mobile phase) และสารละลายตัวอย่าง (Sample) เฟสเคลื่อนที่ต้องผ่าน การกรองด้วยแผ่นเมมเบรนที่มีขนาดรูพรุน 0.2- 0.45 µm เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการอุดตันของ Column หลังจากนั้นนําไปเข้าเครื่อง Ultrasonic Bath 15-30 นาที เพื่อไล่ฟองอากาศ
3.2 สารละลายตัวอย่าง ต้องผ่านการกรองด้วยแผ่นเมมเบรนที่มีขนาดรูพรุน 0.2- 0.45 µm เพื่อป้องกัน ไม่ให้เกิดการอุดตันของ Column
3.3 เฟสเคลื่อนที่Line A และ B เป็น organic solvent, Line C เป็น buffer และ Line D น้ํา DI
3.4 ทําการเปิดเครื่องตามลําดับขั้นตอน ดังนี้ สวิตซ์ควบคุม เครื่องสํารองไฟ สวิตซ์ควบคุม ปั๊ม ที่ฉีด ตัวอย่าง คอลัมน์ เครื่องตรวจวัดผล และคอมพิวเตอร์ ตามลําดับ รอให้เครื่อง HPLC ทําการ Initialize เสร็จ สมบูรณ์ (ประมาณ 1 นาที) สัญญาณไฟที่ตัวเครื่องด้านซ้ายมือจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ยกเว้น Detector จะยังคง เป็นสีแดง
3.5 เปิด Chromeleon Server Monitor แล้วกด Start รอจนกระทั่งหน้าจอเปลี่ยนเป็น Chromeleon Server is running idle.
3.6 เปิด Chromeleon Program โดยหน้าจอจะอยู่ที่หน้า Browser
3.7 เปิดหน้าจอควบคุมเครื่อง (Control panel) ไปที่ View เลือก Default Panel Tab set เลือก +my computer และเลือก Chromeleon Server กด Ok
3.8 หน้าควบคุมเครื่อง (Control panel) ประกอบไปด้วยแถบ Home, Sequence Control, Pump (PG), Sampler, Column Compartment และ DAD
3.9 ทําการ priming ระบบ HPLC (ไล่ฟองอากาศ) โดยไปที่แถบ Pump (PG)
3.10 ทําการล้างระบบ Line A B C และ D เป็น 100 % จากนั้นกด Purge On ตามลําดับ
3.11 ทําการ Run ระบบด้วย เฟสเคลื่อนที่ ที่ต้องการใช้วิเคราะห์ โดยใส่อัตราส่วนใน Line ที่จะใช้งาน จากนั้น ใส่ Flow rate และ enter เพื่อเป็นการปรับสมดุลคอลัมน์ ประมาณ 30 นาที
3.12 ก่อนการวิเคราะห์ ทุกระบบของเครื่องต้องแสดงสถานะพร้อม ดังนี้
- ความดัน Pump ต้องคงที่
- Column ต้องอิ่มตัวด้วยเฟสเคลื่อนที่ที่ต้องการใช้ในการวิเคราะห์
- Chromatogram ต้องแสดง Baseline เรียบ
- สถานะของเครื่องได้แก่ Autosampler, Pump, Column และ Detector เป็นสีเหลือง
3.13 ตั้งค่าการทํางานโดยไปที่แถบ Browser ไปที่ File >> New >> Program File >> เลือก My computer >> เลือก Ultimate 3000 จากนั้นตั้งค่า parameter ตามสภาวะที่ใช้วิเคราะห์ เสร็จแล้ว กด Finish
3.14 ไปที่ File >> New >> เลือก Method File >> Ok >> File >> Save as
3.15 ไปที่ File >> New >> เลือก Sequence (Using wizard) >> Next >> Ok
3.16 ตั้งค่า Sequence >> File >> Save as
3.17 การสั่ง Run ไปที่ Run >> Check ready >> Ok >> Start
3.18 หลังจากวิเคราะห์เสร็จแล้ว ทําการปิด Software และปิดเครื่องตามลําดับขั้นตอน ดังนี้ เครื่องตรวจ วัดผล คอลัมน์ ที่ฉีดตัวอย่าง ปั๊ม คอมพิวเตอร์ ปิดสวิตซ์ควบคุมเครื่อง เครื่องสํารองไฟ และสวิตซ์ควบคุมเครื่อง สํารองไฟ
3.19 ดูแลรักษาเครื่องมือวิทยาศาสตร์เครื่องวิเคราะห์และแยกสารของเหลวด้วยความดันสูง (High Performance Liquid Chromatography, HPLC) ข้อควรปฏิบัติหลังการวิเคราะห์ ทําการล้างระบบ ดังนี้
(1) Run ระบบด้วย น้ํา DI 100% เป็นเวลา 30 นาที (หากใช้เฟสเคลื่อนที่ในการวิเคราะห์เป็น สารละลายบัฟเฟอร์ ต้องทําการล้างระบบด้วยน้ํา DI 100% เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง)
(2) Run ระบบด้วย 100% Acetonitrile เป็นเวลา 30 นาที
(3) Run ระบบด้วย 80% Acetonitrile (80% Acetonitrile + 20% H2O) เป็นเวลา 30 นาที
4. เครื่องขยายปริมาณสารพันธุกรรมชนิดปฏิกิริยาจริงอัตโนมัติ (Real Time PCR)
เป็นเครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการเพิ่มปริมาณดีเอนเอที่สนใจในหลอดทดลอง โดยการทําปฏิกิริยา Oligonucleotide Primers, SYBR Green PCR master mix TaqPolymerase และ target gene โดย PCR product ที่ได้จะนําไปทําการทดลองต่อไป ขึ้นอยู่กับผู้ใช้งาน และขั้นตอนการใช้งานเครื่องขยายปริมาณสาร พันธุกรรมชนิดปฏิกิริยาจริงอัตโนมัติ มีดังนี้
4.1 เปิดเครื่องขยายปริมาณสารพันธุกรรมชนิดปฏิกิริยาจริงอัตโนมัติ
4.2 เปิดคอมพิวเตอร์ และเปิดโปรแกรม 7500 software
4.3 เลือกแถบเมนู New Experiment
4.4 จากนั้นใส่ข่อมูลการวิเคราะห์ในแถบข้อมูล setup ดังนี้
- Experiment properties
- Plate setup
- Run method
4.5 ขั้นตอนการเริ่มทํางานเครื่องไปที่แถบเมนู RUN บันทึกข้อมูล อุณหภูมิ ช่วงเวลาลงในขั้นตอนการ ทํางาน
4.6 ใส่ plate ตัวอย่างเข้าในเครื่องและเลือก start run เครื่องจะเริ่มทํางานและแสดงผลในรูปแบบกราฟ ณ ขณะนั้น
4.7 ขั้นตอนการปิดเครื่องดังนี้ ปิดโปรแกรม 7500 software ปิดคอมพิวเตอร์ และปิดเครื่องขยายปริมาณ สารพันธุกรรมชนิดปฏิกิริยาจริงอัตโนมัติ ตามลําดับ
4.8 ข้อควรระวัง ควรเลือกขนาดหลอดใส่ตัวอย่างให้เหมาะสมกับ Plate เนื่องจากตัวเครื่องต้องใช้ขนาด หลอดที่จําเพาะเท่านั้น และในขณะใส่ตัวอย่างเข้าไปในเครื่องควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าถาดตัวอย่างลงได้พอดีกับ เครื่อง
5. กล้องจุลทรรศน์แรงอะตอม (Atomic Force Microscope, AFM)
กล้องจุลทรรศน์แรงอะตอม (Atomic Force Microscope) หรือ AFM เป็นกล้องจุลทรรศน์ชนิดหัวอ่าน ส่องกราด (Scanning Probe Microscopes, SPMs) หลักการทํางานโดยวัดแรงดึงดูดหรือแรงผลักที่เกิดขึ้น ระหว่างหัวเข็มกับพื้นผิวตัวอย่าง โดยเมื่อกดหัวอ่านลงบนผื้นผิวที่จะตรวจวัด จะเกิดแรงที่กระทําต่อก้าน (cantilever) ของหัวอ่าน จะทําให้หัวอ่านเอียงด้วยมุมต่างๆ กันตามสภาพความสูงต่ําของพื้นผิวซึ่งจะสามารถ ตรวจวัดได้จากมุมสะท้อนของลําแสงเลเซอร์ที่ยิงลงไปยังก้านของหัวอ่านสะท้อนไปยัง PSPD Detector (Position Sensitive Photo Detector) จากนั้นคอมพิวเตอร์ก็จะแปลงสัญญาณออกมาเป็นภาพของพื้นผิวที่ ต้องการตรวจสอบได้ และขนาดภาพสแกนใหญ่ที่สุดไม่เกิน 100 ไมโครเมตร มีขั้นตอนการใช้งานเครื่องมือดังนี้
5.1 เสียบปลั๊กไฟฟ้า >> เปิดสวิตซ์ควบคุมไฟฟ้า >> เปิด SPM Controller ประมาณ 30 นาที >> เปิด Light Bank และปรับความเข้มแสง
5.2 เลือกโหมดการวิเคราะห์
(1) Atomic Force Microscope: Contact Mode เป็นโหมดสําหรับวัดคุณสมบัติทางด้านกายภาพ พื้นผิวภายนอกของตัวอย่าง หัววัดสัมผัสกับผิวของตัวอย่างโดยมีแรงอะตอมที่กระทําต่อกัน เหมาะกับลักษณะผิว ตัวอย่างที่แข็ง เช่น ฟิล์มบาง เป็นต้น สามารถวิเคราะห์ค่า Ra (roughness), friction Force, particle & grain analysis, pitch & height measurement
(2) Atomic Force Microscope: Non contact Mode เป็นโหมดสําหรับวัดคุณสมบัติทางด้าน กายภาพโดยที่หัววัดจะไม่สัมผัสกับผิวของตัวอย่าง เหมาะกับลักษณะผิวตัวอย่างที่อ่อนนุ่ม เช่น พอลิเมอร์ เป็น ต้น สามารถวิเคราะห์หาค่า Ra (Roughness), phase Analysis, particle & grain analysis, pitch & height measurementใส่ cantilever บริเวณหัววัด >> ใสตัวอย่าง บนวัสดุรองตัวอย่าง
5.3 ขั้นตอนการเปิดเครื่องเปิดคอมพิวเตอร์ เปิดโปรแกรม XEP โปรแกรมตั้งค่าการใช้งาน เปิดโปรแกรม XEC โปรแกรมกล้อง
5.4 เปิดเลเซอร์ที่ ตัวกล้อง หรือในโปรแกรม XEP
5.5 ปรับโฟกัสหาภาพ cantilever ที่แถบ Focus stage
5.6 เมื่อได้ภาพ cantilever ชัดแล้ว ปรับตําแหน่งเลเซอร์ให้อยู่ในตําแหน่งปลาย Tip หรือตรงกลางของ Quad-cell PSPD (รูปที่ 3.2) ค่า A + B ต้องมากกว่า 5 และค่า A – B ต้องน้อยกว่า 1
5.7 ไปที่ Frequency sweep ที่ Tool bar เพื่อปรับค่า Drive ความถี่การวัด สามารถ กด Refresh เพื่อให้ได้กราฟ รูประฆังคว่ํา พร้อมกับใส่ค่า Drive ที่ต้องการ และกด Done
5.8 ปรับ Lift Z ลงมา แต่ระวังอย่าให้ใกล้ตัวอย่างมากเกินไป
5.9 ปรับโฟกัส ที่ Focus stage เพื่อหาภาพตัวอย่าง และปรับให้ชัด
5.10 ไปที่ แถบเมนู Set up เลือก Input Config และเลือกค่าที่จะแสดง
5.11 ตั้งค่า parameter ต่างๆและเลือกโหมดการวัดที่ แถบ Scan control
c | a |
d | b |
รูปที่ 3.2 Quad-cell PSPD
5.12 จากนั้นเมื่อโฟกัสหาปลาย Tip ชัดแล้ว เลื่อน Lift Z ลงมา 2-3 step และ กด Approach เพื่อให้ ปลาย Tip เข้าใกล้ตัวอย่างโดยอัตโนมัติ
5.13 ตรวจสอบการตั้งค่าต่างๆ และกด Scan On และ Scan Here ตามลําดับ
5.14 เมื่อ Scan ภาพเสร็จแล้ว ในกด Scan OFF และ ยก Lift Z ขึ้นให้สามารถเอาตัวอย่างออกได้
5.15 ถอด cantilever เก็บไว้
5.16 คลิกขวาที่ภาพที่สนใจ เลือก Sent to XEI เพื่อปรับภาพ
5.17 เมื่อเสร็จจากการใช้งานให้ปิดเลเซอร์
5.18 การปิดเครื่องมีขั้นตอนดังนี้ ปิดโปรแกรม XEI ปิดโปรแกรม XEC ปิดโปรแกรม XEP ปิด คอมพิวเตอร์ ปรับความเข้มแสงลดลง และปิดสวิตซ์ Light Bank ปิดสวิตซ์ SPM Controller ปิดสวิตซ์ควบคุม ไฟฟ้า ถอดปลั๊ก
5.19 ข้อควรระวัง
(1) จับหัววัดด้วยความระมัดระวัง
(2) การใส่ Cantilever ควรใช้เข็มคีบ และใส่ที่หัววัดด้วยความระมัดระวัง
(3) การปรับภาพ ควร กด Approach หลังจากจากที่ปรับโฟกัสชัดแล้ว เพราะถ้าระยะโฟกัส คลาดเคลื่อน อาจทําให้ปลาย Tip หัก
6. เครื่องวัดสี (Color Meter)
ใช้หลักการการมองเห็นสี โดยมีระบบ L a b ซึ่งเป็นระบบการบรรยายสีแบบ 3 มิติ โดยที่แกน L* จะ บรรยายถึงความสว่าง (lightness) จากค่า +L แสดงถึงสีขาว จนไปถึง –L แสดงถึงสีดํา แกน a จะบรรยายถึง แกนสีจากเขียว (-a) ไปจนถึงแดง (+a) ส่วนแกน b จะบรรยายถึงแกนสีจากน้ําเงิน (-b) ไปเหลือง (+b) ลักษณะ การบรรยายสีของ CIE แสดงได้ดังรูปที่ รูปที่ 3.3 และมีขั้นตอนการใช้งานดังนี้
รูปที่ 3.3 ภาพแสดงระดับสีของเครื่องวัดสี (Jerry Shurso,2011)
6.1 เปิดเครื่องสํารองไฟ เปิดเครื่องวัดสี เปิดคอมพิวเตอร์ อุ่นเครื่องไว้ประมาณ 15 – 20 นาที จากนั้น เปิดโปรแกรม EasyMatchQC
6.2 เลือกแถบเมนู Sensor เลือก Set modes และเลือกโหมดการใช้งานดังนี้
- RSIN (Reflectance specular Included) วัดสีโดยไม่รวมลักษณะพื้นผิว
- RSEX (Reflectance specular Excluded) วัดสีโดยรวมลักษณะพื้นผิวที่มีค่าต่อสีเหมือนตามนุษย์
มองเห็น
- TTRAN (Total Transmission) วัดของเหลวใสที่มีสีเหมือนตามนุษย์มองเห็น
- RTRAN (Regular Transmission) วัดของเหลวใสที่ไม่มีสารแขวนลอย
6.3 ทํา Standardize โดยเลือกแถบเมนู Sensor เลือก standardize จากนั้นโปรแกรมจะให้ใส่แถบสี มาตรฐานเพื่อทําการทดสอบเครื่องก่อน
6.4 การวัดตัวอย่างให้กําหนดที่เก็บไฟล์งานโดย เลือก New Job จากนั้นใส่ตัวอย่าง แล้วกด F2 เมื่อ ต้องการวัด โดยผลที่ได้จะแสดงค่าเป็น L a b และนําข้อมูลนั้นไปใช้ต่อไป
6.5 ขั้นตอนการปิดเครื่องปิด ปิดคอมพิวเตอร์ ปิดเครื่องวัดสีและปิดเครื่องสํารองไฟ
6.6 ข้อควรระวัง
(1) การใส่ตัวอย่างที่เป็นของเหลวไม่ควรใส่จนล้นเกินไป โดยอาจทําให้บริเวณใส่ตัวอย่างปนเปื้อนได้ และอาจมีผลต่อการวัด
(2) ขณะวัดควรใช้เครื่องอย่างระมัดระวัง
7. เครื่องวิเคราะห์ความหนืด (Viscometer)
เป็นเครื่องวิเคราะห์เพื่อหาค่าความหนืด (η) หรือความเสียดทานที่ต้านการเคลื่อนที่ของของไหล ความ หนืดที่ได้หน่วยของความหนืดในระบบ SI เป็นนิวตันวินาทีต่อตารางเมตร (N•s/m2) หรือปาสคาลวินาที (Pa•s) ในการวัดจะเป็นการบรรจุของเหลวลงในถาดตัวอย่าง (Plate) และใช้หัววัดหมุนในความเร็วของการหมุนที่ ต้องการโดยขึ้นอยู่กับหัววัดที่ใช้ด้วย และความคุมอุณหภูมิที่ถาดตัวอย่าง ขั้นตอนการใช้งาน ดังนี้
7.1 ลําดับการเปิดดังนี้ สวิตซ์ไฟ เครื่องสํารองไฟ ระบบหล่อเย็น ปั๊ม เครื่องวัดความหนืด คอมพิวเตอร์ และโปรแกรม Job manager ตามลําดับ
7.2 เชื่อมต่อระบบระหว่างคอมพิวเตอร์และเครื่องวัดความหนืด และเลือก Mar III จากนั้นไปที่ Edite แล้วกด Scan เลือกเครื่องที่จะเชื่อมต่อแล้วกด OK
7.3 สร้าง Method เลือก New Job, Create New และใส่รายละเอียดค่าที่ต้องการที่แถบ element เช่น อุณหภูมิ อัตราการไหลของตัวอย่าง และรูปแบบการวัด หลังจากนั้นบันทึกข้อมูล
7.4 ใส่หัววัดที่ต้องการ และใส่ถาดตัวอย่าง (Plate)
7.5 จากนั้นเลือก Zero point เพื่อปรับระยะตําแหน่งหัววัดกับถาดใส่ตัวอย่างและยกหัววัดขึ้น
7.6 ใส่ตัวอย่างที่ถาดตัวอย่าง ปริมาตรตามที่เลือกใช้หัววัดซึ่งจะแสดงค่าที่หน้าจอ
7.7 จากนั้น Start และเครื่องจะสั่งให้ทํางาน โดยจะมีข้อความแจ้งว่าขั้นตอนต่อไปให้ทําอย่างไร ขณะ ทํางานเครื่องจะแสดงผลเป็นกราฟและตารางผลความหนืดของตัวอย่าง
7.9 เมื่อวัดตัวอย่างเสร็จแล้ว เครื่องจะแจ้งเตือนสถานะทํางาน ว่าให้ใส่ตัวอย่างถัดไป
7.10 เมื่อวิเคราะห์ผลเสร็จแล้วทําความสะอาดให้เรียบร้อยและปิดเครื่อง ดังนี้ โปรแกรม Job manager คอมพิวเตอร์ เครื่องวัดความหนืด ปั๊ม ระบบหล่อเย็น เครื่องสํารองไฟ และสวิตซ์ไฟ ตามลําดับ
7.11 ข้อควรระวัง
(1) เมื่อวัดเสร็จแล้วควรทําความสะอาดถาดใส่ตัวอย่างทันที เนื่องจากตัวอย่างมีความหนืดอาจทํา ให้เกาะติดที่ถาดใส่ตัวอย่างได้ง่าย
(2) ความเลือกใช้หัววัดให้เมาะสมกับตัวอย่าง
(3) ควรตรวจสอบน้ําที่เครื่องปั๊มทุกครั้งก่อนใช้งาน หากพบว่ามีน้ําในกระเปาะให้ถอดและเอาน้ํา ออกก่อนใช้งาน
(4) การใส่หัววัด ให้ใส่ในแนวตรงและต้องมั่นใจว่าใส่ได้พอดีกับตัวเชื่อมต่อ
3.1.2 ด้านการวางแผน
1. วางแผนการดําเนินโครงการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับห้องปฏิบัติการวิเคราะห์สารพิษตกค้าง กลุ่มออร์แกโนฟอสเฟตในผักสดตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ดัง ตารางที่ 3.1
ตารางที่ 3.1 แผนการดําเนินโครงการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับห้องปฏิบัติการห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ สารพิษตกค้างกลุ่มออร์แกโนฟอสเฟตในผักสดตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025
วัน/เดือน/ปี | กิจกรรมการดําเนินงาน | ผู้รับผิดชอบ |
1 พ.ค. - 30 ธ.ค. 61 | เข้าร่วมอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับระบบ ISO/IEC 17025:2017 - สถิติและการประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ - การอ่านและประเมินผลในรายงานผลการทดสอบความชํานาญของห้องปฏิบัติการ - ความรู้เบื้องต้นการสอบเทียบเครื่องมือวัด และการแปลความหมายในใบรับรองผล การสอบเทียบ - การเตรยมตัวอย่างควบคุมสําหรบงานทดสอบอาหารด้านเคมี (QC sample) - การประกันคุณภาพผลการทดสอบทางเคมี - การประมาณค่าความไม่แน่นอนของผลทดสอบทางเคมี - การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธทดสอบทางเคมี - การตรวจตดตามคุณภาพภายใน ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025:2017 | ฝ่ายบรหาร/ ฝ่ายวิชาการ |
1 - 31 พ.ค.- 61 | แต่งตั้งผู้จัดการคุณภาพ ผู้จัดการวิชาการ ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัตหน้าที่แทนตําแหน่ง สําคัญ รวมถึงแต่งตั้งคณะทํางานเพื่อจัดทําระบบฯโดยผู้บริหารสูงสดของห้องปฏิบัติการ | ฝ่ายบรหาร |
1 - 31 พ.ค.- 61 | ประกาศนโยบายคุณภาพตามข้อกําหนด ISO/IEC 17025:2017 โดยผู้บริหารสูงสุดของ ห้องปฏิบัติการ | ฝ่ายบรหาร |
1 - 30 ก.ค.- 61 | กําหนดหน้าที่ความรับผดชอบของแต่ละตําแหน่ง (Job description, JD) | ฝ่ายบรหาร |
9 - 12 ก.ค.- 61 | เข้าร่วมอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับระบบ ISO/IEC 17025:2017 - ข้อกําหนดทั่วไปว่าด้วยความสามารถห้องปฏิบัติการทดสอบ และห้องปฏิบัติการ สอบเทียบ ISO/IEC 17025:2017 - การประกันคุณภาพผลการทดสอบทางเคมี | ฝ่ายบรหาร/ ฝ่ายวิชาการ |
13 ก.ค. 61 | ที่ปรึกษาเก็บข้อมูลที่ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | ฝ่ายบรหาร/ ฝ่ายวิชาการ |
16 ก.ค. - 30 ก.ย. 61 | จัดทําและประกาศใช้เอกสารในระบบคุณภาพ ได้แก่ 1. คู่มือคุณภาพ (Quality manual, QM) 2. ขั้นตอนการดําเนินงาน (Quality procedure, QP) 3. การกําหนดรูปแบบเอกสาร | ฝ่ายบรหาร |
16 ก.ค. - 31 ธ.ค. 61 | จัดทําเอกสารในระบบคุณภาพ ได้แก่ - วิธีปฏิบัติงาน (Work instruction, WI หรือ Standard operating procedure, SOP) - วิธีทดสอบ (Test method; TM) - แบบฟอร์ม (Form; FM) - เอกสารสนับสนุนเช่น แบบบันทึกต่างๆที่เกี่ยวข้อง และอบรมให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง (Support Document; SD) - จัดทําสมุดบันทึกต่างๆ (Book; BK) | ฝ่ายวิชาการ |
1 ส.ค. - 31 ธ.ค. 61 | กําหนดความต้องการอบรมและจัดทําแผนการอบรมบุคลากร รวมทั้งดําเนินการอบรม | ฝ่ายบรหาร |
วัน/เดือน/ปี | กิจกรรมการดําเนินงาน | ผู้รับผิดชอบ |
เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในหลักสูตรต่างๆ เช่น การวิเคราะห์โดยเครื่องมือพิเศษ ได้แก่ ICP และ GCMS เป็นต้น | ||
1 ส.ค. - 31 ธ.ค. 61 | จัดซื้อเครื่องมือ วัสดุและจัดซื้อสารเคมี | ฝ่ายวิชาการ |
1 ส.ค. - 31 ธ.ค. 61 | จัดทําประวัติเครื่องมือ แผนการสอบเทียบ/ทวนสอบ การตรวจสอบระหว่างใช้งาน(ถ้า จําเป็น) การบํารุงรักษา เครื่องมือที่จําเป็น | ฝ่ายวิชาการ |
1 - 30 ก.ย. 61 | อบรมวิธีการทดสอบความใช้ได้ของวิธี (Method Validation) จากที่ปรึกษา | ฝ่ายบรหาร/ ฝ่ายวิชาการ/ ที่ปรึกษา |
1 ส.ค. - 30 ก.ย. 61 | On the job training | ฝ่ายวิชาการ |
1 ส.ค. - 30 ก.ย. 61 | พัฒนาวิธีการทดสอบ ได้แก่ - พัฒนา วิธีการจัดการตัวอย่าง - พัฒนาวิธีการสกัดตัวอย่าง - พัฒนาสภาวะที่ใช้ทดสอบสารมาตรฐาน | ฝ่ายวิชาการ |
1 ต.ค. - 31 ธ.ค. 61 | สอบเทียบเครื่องมือ | ฝ่ายวิชาการ |
25 - 31 ต.ค. 61 | ประชุมแจ้งผลการดําเนินงานห้องปฏิบัติการทดสอบสารพิษตกค้าง ครั้งที่ 1/2561 | ฝ่ายบรหาร/ ฝ่ายวิชาการ |
1 - 30 ต.ค. 61 | จัดทําแบบฟอร์มที่เกี่ยวข้องกับวิธีทดสอบ | ฝ่ายวิชาการ |
1 ต.ค. - 31 ธ.ค. 61 | ปรับปรุงสถานท/ี่ ห้องปฏิบัติการตาม Standard method | ฝ่ายวิชาการ |
1 ต.ค. - 31 ธ.ค. 61 | ทดสอบความใช้ได้ของวิธี (Method Validation) | ฝ่ายวิชาการ |
1 - 30 พ.ย. 61 | สอน implement ให้กับ QM กับ TM จากที่ปรึกษา | ฝ่ายบรหาร/ ฝ่ายวิชาการ/ที่ ปรึกษา |
1 - 31 ม.ค 62 | จัดทําเอกสารวิธีทดสอบ (Test Method) - การกําหนดตัวอย่าง - การเตรยมสาร - วิธีสกัดตัวอย่าง - วิธีทดสอบ - วิธีการแปรผลทดสอบ | ฝ่ายวิชาการ |
25 - 31 ม.ค. 62 | ประชุมแจ้งผลการดําเนินงานห้องปฏิบัติการทดสอบสารพิษตกค้าง ครั้งที่ 1/2562 | ฝ่ายบรหาร |
1 - 10 ก.พ 62 | ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับ 1. วิธีการควบคุมคุณภาพภายใน (Internal quality control) - Repeatability - QC Check (Standard ) - Control chart : RT, Peak area (Intermediate check) - Reagent blank | ฝ่ายวิชาการ |
วัน/เดือน/ปี | กิจกรรมการดําเนินงาน | ผู้รับผิดชอบ |
- Fortified sample 2. การควบคุมคุณภาพภายนอก (External quality control - Inter Lab - PT Program - CRM | ||
1 ก.พ 62 เป็นต้นไป | เก็บข้อมูล QC Check เพื่อไปทํา Control chart : RT, Peak area (Intermediate check) | ฝ่ายวิชาการ |
1 - 30 มี.ค. 62 | ศึกษาและทดสอบ CRM | ฝ่ายวิชาการ |
25 - 30 เม.ย. 62 | ประชุมแจ้งผลการดําเนินงานห้องปฏิบัติการทดสอบสารพิษตกค้าง ครั้งที่ 2/2562 | ฝ่ายบรหาร/ ฝ่ายวิชาการ |
1 - 31 พ.ค. 62 | เข้าร่วมกิจกรรมทดสอบความชํานาญหรือเปรียบเทียบผลระหว่างห้องปฏิบัติการตามที่ กําหนด (PT) | ฝ่ายวิชาการ |
1 - 31 พ.ค. 62 | ทดสอบเจ้าหน้าที่หลักและเจ้าหน้าที่รองให้ได้ผลการทดสอบเป็นไปตามเกณฑ์ที่กําหนด | ฝ่ายวิชาการ |
25 - 31 พ.ค. 62 | ตรวจติดตามคุณภาพภายในและทบทวนบริหาร | ฝ่ายบรหาร/ ฝ่ายวิชาการ/ที่ ปรึกษา |
1 - 31 มิ.ย. 62 | เขียนรายงาน (จากผลการศึกษาความใช้ได้ของวิธี) - Method validate - วิเคราะห์หา Accuracy จาก CRM - ผลการเข้าร่วมโปรแกรม PT | ฝ่ายวิชาการ |
1 - 10 ก.ค. 62 | สรุปวิธีทดสอบ | ฝ่ายวิชาการ |
10 - 20 ก.ค. 62 | ประชุมแจ้งผลการดําเนินงานห้องปฏิบัติการทดสอบสารพิษตกค้าง ครั้งที่ 3/2562 | ฝ่ายบรหาร/ ฝ่ายวิชาการ |
20 - 31 ก.ค. 62 | ประเมินความเสี่ยงที่มีผลต่อผลการทดสอบโดยใช้ข้อมูลทางสถิติ | ฝ่ายวิชาการ |
31 ก.ค.- 31 ธ.ค. 62 | ดําเนินงานปฏิบัติให้เป็นไปตามระบบ ISO/IEC 17025:2017 | ฝ่ายบรหาร/ ฝ่ายวิชาการ |
25 - 31 ต.ค. 62 | ประชุมแจ้งผลการดําเนินงานห้องปฏิบัติการทดสอบสารพิษตกค้าง ครั้งที่ 4/2562 | ฝ่ายบรหาร/ ฝ่ายวิชาการ |
1 - 31 ธ.ค. 62 | ยื่นขอรับรองระบบความสามารถห้องปฏิบัติการทดสอบ และห้องปฏิบัติการสอบเทียบ ISO/IEC 17025:2017 | ฝ่ายบรหาร |
2. วางแผนการประชาสัมพันธ์การให้บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์
- สืบค้นข้อมูลกลุ่มผู้ใช้บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ทั้งหน่วยงานภายในและหน่วยงาน ภายนอกมหาวิทยาลัย
- ทําบันทึกข้อความประชาสัมพันธ์ไปยังหน่วยงานต่างๆ พร้อมทั้งเพิ่มช่องทางการประชา พันธ์ เช่น เว็บไซต์ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ เฟสบุ๊ค เป็นต้น
- ประชาสัมพันธ์ไปยังเครือข่ายศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย (TSEN)
3. วางแผนการประชาสัมพันธ์การให้บริการไนโตรเจน
- สืบค้นข้อมูลกลุ่มเป้าหมายผู้ใช้ไนโตรเจนเหลว เช่น ศูนย์ผสมเทียม กลุ่มผลิตน้ําเชื้อโคกระบือ หรือ งานทางด้านวิจัย การใช้เครื่องมือบางประเภทที่ต้องใช้ไนโตรเจน
- ทําบันทึกข้อความประชาสัมพันธ์ไปยังหน่วยงานต่างๆ
- ประชาพันธ์ทางโทรศัพท์บางกลุ่มผู้ใช้บริการ
- ประชาพันธ์แผ่นพับบริเวณกลุ่มผู้ใช้บริการทางกลุ่มผลิตน้ําเชื้อโคกระบือ
3.1.3 ด้านประสานงาน
1. ประสานงานการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่ได้รับมอบหมาย
การเข้าใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ที่ประจําศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ มีขั้นตอนการขอใช้บริการ ดัง
รูปที่ 3.4
รูปที่ 3.4 แผนผังขั้นตอนการประสานงานการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์
2. ประสานงานการติดตั้งเครื่องมือวิทยาศาสตร์ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2560-2561 ผู้ประสานงานศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ต้องดําเนินการประสานงานการติดตั้งเครื่องมือ
วิทยาศาสตร์ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2560-2561 โดยการดําเนินการร่วมกับคณะกรรมการกําหนด รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะครุภัณฑ์เพื่อส่งเอกสารจัดซื้อจัดจ้างให้พัสดุดําเนินการจัดทําประกาศการจัดซื้อจัด
จ้างครุภัณฑ์โดยมีคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาร่วมจัดทํา เมื่อได้ผู้ชนะการจัดซื้อจัดจ้างผู้ ประสานงานศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ต้องดําเนินการประสานกับคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเพื่อทําการตรวจ รับครุภัณฑ์ที่จะติดตั้งที่อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
3.1.4 ด้านบริการ
1) ให้บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์พร้อมกับบริการให้คําแนะนําข้อมูลการใช้เครื่องมือแก่ ผู้รับบริการ (รูปที่ 3.5)
รูปที่ 3.5 แผนผังขั้นตอนการให้คําแนะนําการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์
2) บริการการน้ํากลั่น น้ําปราศจากไอออน ไนโตรเจนเหลว
3) บริการยืมคืนเครื่องแก้วทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพ
3.2 งานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย
3.2.1 ติดตามและประสานการจัดซื้อจัดจ้างครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ประจําปีงบประมาณ 2560-2561 มี ขั้นตอนการดําเนินงาน ดังตารางที่ 3.2 และ 3.3
ตารางที่ 3.2 ตารางแผนการดําเนินงานโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการวิจัย ประจําปีงบประมาณ 2560
วัน/เดือน/ปี | รายละเอียดกิจกรรม | ผู้รับผิดชอบ |
25 - 31 ก.ค. 59 | เตรียมความพร้อมเพื่อจัดให้มีการนําเสนอครุภัณฑ์ ดังนี้ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดซื้อจัดจ้างครุภัณฑ์ 1.1 คณะกรรมการกําหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ ครุภณั ฑ์ | ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ |
วัน/เดือน/ปี | รายละเอียดกิจกรรม | ผู้รับผิดชอบ |
1.2 คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา 1.3 คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ 2. ประสานงานคณะกรรมการกําหนดรายละเอียดคณุ ลักษณะ เฉพาะครภัณฑ์ เพื่อพิจารณาครภณั ฑ์วิทยาศาสตร์ให้ เหมาะสมกับงานที่ต้องการ 3. ประสานงานบริษัทเพื่อนําเสนอครุภัณฑ์ 4. จัดเตรียมสถานที่ เครื่องดื่ม อาหารว่าง เพื่อนําเสนอครุภณั ฑ์ | ||
29 ก.ค. 59 | ประชุมชี้แจงการจัดซื้อจัดจ้างครุภณั ฑ์ ปีงบประมาณ 2560 | 1. ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 2. คณะกรรมการจัดซื้อจัดจ้าง 3. พัสดุกลาง มหาวิทยาลัยฯ |
8 – 15 ส.ค. 59 | คณะกรรมการพิจารณาครุภณั ฑ์ที่มานําเสนอจากตัวแทนบริษัท | 1. คณะกรรมการกําหนดรายละเอียด คุณลักษณะเฉพาะครภัณฑ์ 2. ตัวแทนบริษัทต่างๆ |
5 - 19 ส.ค. 59 | ร่างรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะครุภัณฑ์ และรวบรวมส่งให้ผู้ ประสานงานของแต่ละคณะที่รับผิดชอบ | ประธานกรรมการกําหนดคณุ ลักษณะ เฉพาะครภัณฑ์ |
19 - 26 ส.ค. 59 | ตรวจสอบและตรวจทานความถูกต้อง แล้วส่งข้อมูลให้ผู้ ประสานงานของศูนย์เครื่องมือกลางฯ เอกสารประกอบด้วย 1. ร่างรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะครุภณั ฑ์ (ประธานลงนาม รับรอง) 2. ไฟล์ข้อมูลร่างรายละเอียดคุณลกษณะเฉพาะครภัณฑ์ 3. เอกสารใบเสนอราคากลาง | 1. ผู้ประสานงานคณะที่รับผิดชอบ 2. ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ |
26 ส.ค. - 2 ก.ย. 59 | ตรวจสอบความถูกต้องของร่างรายละเอียดคุณลักษณะครุภณั ฑ์ และเอกสารประกอบต่างๆ | ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ |
2 - 9 ก.ย. 59 | จัดทําเอกสารจัดซื้อจัดจ้างครุภณั ฑ์ ประกอบด้วย 1. บันทึกข้อความขออนุมัติจัดซื้อจัดจ้าง เสนอต่ออธิการบดีเพื่อ ลงนามอนุมัติ 2. รายงานผลการกําหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ ครุภณั ฑ์และกําหนดราคากลาง | 1. ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 2. งานพัสดุกลาง มหาวิทยาลัยฯ |
10 ก.ย. - 30 พ.ย. 59 | 1. ดําเนินการประกาศประกวดราคาเพื่อจัดซื้อจัดจ้างครุภัณฑ์ 2. พิจารณาผลการประกวดราคา | 1. คณะกรรมการพิจารณาผลการ ประกวดราคา 2. งานพัสดุกลาง มหาวิทยาลัยฯ |
1 ธ.ค. 59 - 28 ก.พ. 60 | ส่งมอบครุภณั ฑ์ ติดตั้งครุภณั ฑ์ และดําเนินการตรวจรับครภัณฑ์ ตามลาดับ | 1. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ 2. ตัวแทนบริษัท 3. ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 4. งานพัสดุกลาง มหาวิทยาลัยฯ |
ก่อน 31 มี.ค. 60 | เบิกจ่ายให้แล้วเสร็จ | งานพัสดุกลาง มหาวิทยาลัยฯ |
วัน/เดือน/ปี | รายละเอียดกิจกรรม | ผู้รับผิดชอบ |
1 เม.ย. 60 เป็นต้น ไป | 1. จัดฝึกอบรมการใช้งานเครื่องมือวิทยาศาสตร์ 2. เปิดให้บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ | 1. ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 2. วิทยากรผู้เชี่ยวชาญการใช้เครื่องมือ จากบริษัท 3. บุคลากรที่สนใจ |
31 มี.ค. 60 | รายงานความก้าวหน้าโครงการ รอบ 6 เดือน | หัวหน้าโครงการแตล่ ะโครงการ |
1 เม.ย. 60 เป็นต้น ไป | 1. จัดฝึกอบรมการใช้งานเครื่องมือวิทยาศาสตร์ 2. เปิดให้บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ | 1. ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 2. วิทยากรผู้เชี่ยวชาญการใช้เครื่องมือ จากบริษัท 3. บุคลากรที่สนใจ |
31 ส.ค. 60 | นําเสนอโครงการวิจัย พร้อมรูปเลมสมบูรณ์ | หัวหน้าโครงการแตล่ ะโครงการ |
ก่อน 31 ก.ย. 60 | รวบรวมโครงการสมบูรณส์ ่งกองแผนงาน สํานักงานอธิการบดี | ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ |
ตารางที่ 3.3 ตารางแผนการดําเนินงานโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการวิจัย ประจําปีงบประมาณ
2561
วัน/เดือน/ปี | รายละเอียดกิจกรรม | ผู้รับผิดชอบ |
11 พ.ค. 60 | ประชุมคณะกรรมการอํานวยการศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | 1. คณะกรรมการอํานวยการศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 2. งานวิจัยฯ |
26 - 31 พ.ค. 60 | ขอรายชื่อกรรมการจัดซื้อจัดจ้างครุภัณฑ์ | ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ |
8 มิ.ย. 60 | ประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | 1. คณะกรรมการบริหารศูนย์เครื่องมือ วิทยาศาสตร์ 2. ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ |
1 - 22 มิ.ย. 60 | เตรียมความพร้อมเพื่อจัดให้มีการนําเสนอครุภัณฑ์ ดังนี้ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดซื้อจัดจ้างครุภัณฑ์ 1.1 คณะกรรมการกําหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะครุภัณฑ์ 1.2 คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา 1.3 คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ 2. ประสานงานคณะกรรมการกําหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ ครุภัณฑ์ เพื่อพิจารณาครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์ให้เหมาะสมกับงานที่ ต้องการ 3. ประสานงานบริษัทเพื่อนําเสนอครุภัณฑ์ | ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ |
25 ก.ค. 60 | ประชุมชี้แจงการจัดซื้อจัดจ้างครุภัณฑ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 | 1. ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 2. คณะกรรมการจัดซื้อจัดจ้าง 3. พัสดุกลาง มหาวิทยาลัยฯ |
31 ก.ค. - 4 ส.ค. 60 | คณะกรรมการพิจารณาครุภัณฑ์ที่มานําเสนอจากตัวแทนบริษัทต่างๆ | 1. คณะกรรมการกําหนดรายละเอียด คุณลักษณะเฉพาะครุภัณฑ์ 2. ตัวแทนบริษัทต่างๆ |
7 – 1๘ ส.ค. 60 | ร่างรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะครุภัณฑ์ และรวบรวมส่งให้ผู้ ประสานงานของแต่ละคณะที่รับผิดชอบ | ประธานกรรมการกําหนดคุณลักษณะ เฉพาะครุภัณฑ์ |
วัน/เดือน/ปี | รายละเอียดกิจกรรม | ผู้รับผิดชอบ |
19 - 24 ส.ค. 60 | ตรวจสอบและตรวจทานความถูกต้อง แล้วส่งข้อมูลให้ผู้ประสานงาน ของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ เอกสารประกอบด้วย 1. ร่างรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะครุภัณฑ์ (ประธานลงนามรับรอง) 2. ไฟล์ข้อมูลร่างรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะครุภัณฑ์ 3. เอกสารใบเสนอราคากลาง | 1. ผู้ประสานงานคณะที่รับผิดชอบหลัก 2. ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ |
25 - 31 ส.ค. 60 | ตรวจสอบความถูกต้องของร่างรายละเอียดคุณลักษณะครุภัณฑ์และ เอกสารประกอบต่างๆ | ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ |
1 - 8 ก.ย. 60 | จัดทําเอกสารจัดซื้อจัดจ้างครุภัณฑ์ ประกอบด้วย 1. บันทึกข้อความขออนุมัติจัดซื้อจัดจ้าง เสนอต่ออธิการบดีเพื่อลงนาม อนุมัติ 2. รายงานผลการกําหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะครุภัณฑ์และ กําหนดราคากลาง | 1. ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 2. งานพัสดุกลาง มหาวิทยาลัยฯ |
11 ก.ย. – 3. พ.ย. 60 | 1. ดําเนินการประกาศประกวดราคาเพื่อจัดซื้อจัดจ้างครุภัณฑ์ 2. พิจารณาผลการประกวดราคา | 1. คณะกรรมการพิจารณาผลการ ประกวดราคา 2. งานพัสดุกลาง มหาวิทยาลัยฯ |
1 พ.ย. 60 - 28 ก.พ. 61 | ส่งมอบครุภัณฑ์ ติดตั้งครุภัณฑ์ และดําเนินการตรวจรับครุภัณฑ์ ตามลําดับ | 1. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ 2. ตัวแทนบริษัท 3. ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 4. งานพัสดุกลาง มหาวิทยาลัยฯ |
1 - 31 มี.ค. 61 | 1. อบรมการใช้งานเครื่องมือวิทยาศาสตร์ 2. เปิดให้บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ | 1. ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 2. วิทยากรผู้เชี่ยวชาญการใช้เครื่องมือ จากบริษัท 3. บุคลากรที่สนใจ |
ภายใน 31 มี.ค. 61 | เบิกจ่ายให้แล้วเสร็จ | งานพัสดุกลาง มหาวิทยาลัยฯ |
ภายใน 30 ก.ย. 61 | ส่งรายงานการดําเนินงานฉบับสมบูรณ์ ให้กองแผนงาน สํานักงาน อธิการบดี | ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ |
3.2.2 ประสานการลงฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานภาครัฐด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ได้ลงฐานข้อมูลรายการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่เปิดให้บริการสําหรับ
บุคลากรภายในและบุคคลภายนอกผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ http://stdb.most.go.th/ ในโครงสร้างพื้นฐาน ภาครัฐด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology Infrastructure Databank, STDB)
3.2.3 จัดทําอัตราค่าบริการการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ประจําศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ จัดทําอัตราค่าบริการการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ สําหรับบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย และอัตรา
สําหรับบุคคลประเภทอื่นๆ เช่น อัตราสําหรับการเรียนการสอน บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานให้กับ ศูนย์เครื่องมือกลางฯ บุคลากรภายในและหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย หน่วยงานราชการ บุคลภายนอกมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีและหน่วยงานเอกชน
3.2.4 ประสานงานและติดตามการดําเนินงานการก่อสร้างหลังคาโรงจอดรถและการปรับภูมิทัศน์อาคารศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ประจําปี 2560 ในการปรับปรุงอาคารระบบ ประกอบอาคารและบริเวณโดยรอบกลุ่มอาคารคณะวิชาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ และศูนย์เครื่องมือ วิทยาศาสตร์ จะดําเนินการก่อสร้างหลังคาโรงจอดรถพร้อมปรับปรุงภูมิทัศน์รอบอาคารศูนย์เครื่องมือ วิทยาศาสตร์ โดยมีสํานักงานบริหารกายภาพและสิ่งแวดล้อมเป็นผู้ควบคุมการดําเนินงาน
3.2.5 ประสานงานการซ่อมแซมอาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ประสานงานการซ่อมแซมอาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์กับสํานักงานบริหารกายภาพและ
สิ่งแวดล้อมผู้ควบคุมการดําเนินงาน ให้บริษัทผู้รับเหมาเข้ามาซ่อมแซมจุดชํารุดภายในและภายนอกอาคารศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์
3.2.6 ประสานงานการแยกมิเตอร์ไฟของห้องปฏิบัติการทางการเกษตร วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และ เภสัชศาสตร์ ประจําศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
3.2.7 ประสานงานการจัดทําระบบการจองใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ระบบจองเครื่องมือวิทยาศาสตร์จัดทําร่วมกับสํานักคอมพิวเตอร์และเครือข่ายผ่านระบบอินเตอร์เน็ต
โดยให้ผู้ขอใช้บริการจองผ่านระบบ เพื่อลดระยะเวลาการส่งเอกสารการขอใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ประจําศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ พร้อมทั้งผู้ขอใช้ยังสามารถตรวจสอบตารางการจองเครื่องมือวิทยาศาสตร์ได้
3.2.8 ประสานงานการจัดทําระบบการจองใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ผ่านระบบ EMS ระบบจองเครื่องมือวิทยาศาสตร์ผ่านระบบ EMS จัดทําร่วมกับศูนย์บริการวิเคราะห์ทดสอบ สวทช.
(NCTC) โดยให้ผู้ขอใช้บริการจองผ่านระบบ เพื่อลดระยะเวลาการส่งเอกสารการขอใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ประจําศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ พร้อมทั้งผู้ขอใช้ยังสามารถตรวจสอบตารางการจองเครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่ สนใจได้ได้ ทั้งนี้ ศูนย์บริการวิเคราะห์ทดสอบ สวทช. (NCTC) ได้ให้ความอนุเคราะห์เป็นวิทยากรบรรยายและ ฝึกสอนปฏิบัติการใช้ระบบการจองในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 ที่ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
3.2.9 ประสานงานการปรับปรุงศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ระยะ ที่ 2 ประสานงานการปรับปรุงศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ระยะ ที่ 2 กับสํานักงานบริหารกายภาพและ
สิ่งแวดล้อมผู้ควบคุมการดําเนินงาน ให้บริษัทผู้รับเหมาเข้ามาประเมินงานภายในและภายนอกอาคารศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์โดยมีรายงานการปรับปรุงดังนี้
(1) งานก่อสร้างหลังคาคลุมถังไนโตรเจนเหลว
(2) งานซ่อมแซมรอยรั่วภายในอาคาร
(3) งานปรับปรุงห้องปฏิบัติการเกษตรอินทรีย์
(4) งานปรับปรุงห้องปฏิบัติงานผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายปฏิบัติการวิจัย
(5) งานติดตั้งวัสดุกรองแสง
(6) งานก่อสร้างทางเดิน คอนกรีต
3.2.10 ประสานงานระหว่างเครือข่ายศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย (TSEN)
โดยศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้เข้าร่วมลงนามบันทึกข้อตกลง ว่าด้วย ความร่วมมือเครือข่ายศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ประเทศไทย (Thailand Scientific Equipment Center Network : TSEN) ในวันอังคารที่ 13 กันยายน 2559 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จังหวัดปทุมธานี โดย มีผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑามาส จิตต์เจริญ รองอธิการบดีฝ่ายแผนและกิจการสภามหาวิทยาลัย ได้รับหมอบหมาย จากอธิการบดีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ให้เป็นผู้ลงนามในบันทึกข้อตกลงดังกล่าว โดยบันทึกข้อตกลงมี วัตถุประสงค์ คือ
1. เป็นศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ของศูนย์เครื่องมือภายในประเทศในด้าน ต่างๆ อันได้แก่ การบริหารจัดการ การดําเนินการ การวิเคราะห์ทดสอบ สอบเทียบและบริการวิชาการ การ พัฒนามาตรฐานห้องปฏิบัติการ การซ่อมบํารุงรักษาเครื่องมือวิทยาศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร การสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา
2. สนับสนุนการใช้ประโยชน์ของเครื่องมือและการบริหารจัดการทรัพยากรร่วมกันระหว่างสมาชิก เครือข่ายทุกฝ่าย
3. พัฒนาค่านิยม จริยธรรม จรรยาบรรณ และแนวทางการปฏิบัติร่วมกันในระหว่าง สมาชิกเครือข่าย
ทุกฝ่าย
4. ร่วมกันเสนอแนะแนวทาง และนโยบายต่อภาครัฐในด้านเครื่องมือวิทยาศาสตร์
5. สร้างความเชื่อมโยง ประสานงานกับหน่วยงานหรือเครือข่ายที่มีลักษณะคล้ายกันทั้งในและ
ต่างประเทศ
6. ร่วมมือกันวิจัยและพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อนําผลประโยชน์ไปใช้ในการ พัฒนาประเทศ
โดยมีขอบเขตความร่วมมือของสมาชิกเครือข่ายแต่ละฝ่าย ในการร่วมมือกันจัดตั้งกลุ่มพัฒนาในด้าน ต่างๆ ร่วมกัน ดังนี้
1). กลุ่มวิจัยเชิงพาณิชย์
2). กลุ่มพัฒนามาตรฐานห้องปฏิบัติการและวิธีวิเคราะห์
3). กลุ่มบริหารจัดการความรู้การจัดหาครุภัณฑ์
4). กลุ่มฐานข้อมูลทางด้านความสามารถของห้องปฏิบัติการ
5). กลุ่มซ่อมบํารุงรักษาเครื่องมือวิทยาศาสตร์
6). กลุ่มส่งเสริมกิจกรรมเครือข่ายและพัฒนาบุคลากร
7). กลุ่มความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ
บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน
ภาระงานที่ได้ปฏิบัติประจําศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2559 – 31 กรกฎาคม 2561 ประกอบด้วย งานประจําตามที่ได้รับมอบหมาย และงานอื่นๆ
4.1 งานประจําตามที่ได้รับมอบหมาย
4.1.1 ด้านปฏิบัติการ
4.1.1.1 ให้บริการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์สําหรับบุคลากรภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
140
120
100
80
60
40
20
0
เครื่องมือวิทยาศาสตร์
จํานวนครั้งการให้บริการ (ครั้ง)
สถิติการใช้บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์สําหรับบุคลากรภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย อุบลราชธานี ที่ได้รับมอบหมาย ทั้งหมด 483 ครั้ง โดยเครื่องวิเคราะห์และแยกสารของเหลวด้วยความดันสูง (High Performance Liquid Chromatography, HPLC) ให้บริการใช้เครื่องมือมากที่สุด จํานวน 119 ครั้ง เครื่องวิเคราะห์ความหนืด (Viscometer) จํานวน 95 ครั้ง เครื่องวิเคราะห์สารด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี- แมสสเปคโทรเมทรี (Gas Chromatography-Mass Spectrometer, GC-MS) ให้บริการจํานวน 65 ครั้ง และ เครื่องเพิ่มจํานวนสารพันธุกรรม (PCR) 53 ครั้ง ตามลําดับ ดังรูปที่ 4.1
รูปที่ 4.1 จํานวนครั้งการให้บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่ได้รับมอบหมาย
ทั้งนี้ ยังให้บริการรับวิเคราะห์ตัวอย่าง ทั้งหมด 831 ตัวอย่าง โดยเครื่องวิเคราะห์สารด้วยเทคนิคแก๊ส โครมาโทกราฟี-แมสสเปคโทรเมทรี (Gas Chromatography-Mass Spectrometer, GC-MS) ให้บริการรับ วิเคราะห์ตัวอย่างมากที่สุด จํานวน 256 ตัวอย่าง เครื่องวิเคราะห์สารด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี (Gas Chromatography, GC) ให้บริการรับวิเคราะห์ตัวอย่าง จํานวน 190 ตัวอย่าง เครื่องวัดสี (Color meter)
300
250
200
150
100
50
0
เครื่องมือวิทยาศาสตร์
จํานวนตัวอย่างการให้บริการ (ตัวอย่าง)
ให้บริการรับวิเคราะห์ตัวอย่าง จํานวน 101 ตัวอย่าง และกล้องจุลทรรศน์แรงอะตอม (AFM) จํานวน 92 ตัวอย่าง ตามลําดับ ดังรูปที่ 4.2
รูปที่ 4.2 จํานวนตัวอย่างที่รับวิเคราะห์
4.1.2 ด้านการวางแผน
เข้าร่วมประชาสัมพันธ์การให้บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ น้ํากลั่น น้ําปราศจากไอออน ไนโตรเจนเหลวของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ แก่หน่วยงานภายนอก ดังตารางที่ 4.1
ตารางที่ 4.1 การเข้าร่วมประชาสัมพันธ์การให้บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ ประจําปีงบประมาณ 2561
วันที่ | การเข้าร่วมประชาสัมพันธ์ |
26 ก.ค. 2561 | ประชาสมพันธ์ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ที่ มหาวิทยาลัยสรนารี |
วันที่ | การเข้าร่วมประชาสัมพันธ์ |
1 ก.พ. 2561 | ประชาสมพันธ์การบริการให้ผู้ประกอบการ ภายในเขตจังหวัดอุบลราชธานี กับโครงการ อุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาอบลราชธานี และศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม ภาคที่ 7 เพื่อ พัฒนา และต่อยอดผลตภณั ฑ์ |
21 มี.ค. 2561 | โครงการประชาสมพันธ์ศูนย์เครื่องมือ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประจําปีงบประมาณ 2561 ครั้งที่1 ณ. บริษัท เอส เอส การสุรา จํากัด อ.สว่างวีระ วงศ์ จ.อุบลราชธานี |
16 พ.ค. 2561 | โครงการประชาสมพันธ์ศูนย์เครื่องมือ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประจําปีงบประมาณ 2561 ครั้งที่ 2 ณ บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จํากัด จ. อุบลราชธานี |
6 มิ.ย. 2561 | โครงการประชาสมพันธ์ศูนย์เครื่องมือ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประจําปีงบประมาณ 2561 ครั้งที่ 3 ณ บริษัท ก้าวหน้าโภคภณั ฑ์ จํากัด จ. อุบลราชธานี |
6 มิ.ย. 2561 | โครงการประชาสมพันธ์ศูนย์เครื่องมือ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประจําปีงบประมาณ 2561 ครั้งที่ 4 ณ โรงแรมสุนีย์แกรนด์ จ.อุบลราชธานี |
วันที่ | การเข้าร่วมประชาสัมพันธ์ |
12 มิ.ย. 2561 | ประชาสัมพันธ์ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ณ ศูนย์ ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 7 |
15 มิ.ย. 2561 | ประชาสัมพันธ์ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ณ โรงแรมสุนีย์แกรนด์ ในโครงการ “วิทย์-สัญจร” |
4.1.2.1 วางแผนการดําเนินโครงการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับห้องปฏิบัติการวิเคราะห์สารพิษ ตกค้างกลุ่มออร์แกโนฟอสเฟตในผักสดตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 ประจําปีงบประมาณ 2561
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับห้องปฏิบัติการวิเคราะห์สารพิษตกค้างกลุ่มออร์แกโน ฟอสเฟตในผักสด ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 ได้เข้าร่วมอบรพหลักสูตรสําหรับการเตรียมความ พร้อมดังนี้
(1) สถิติและการประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์
(2) การประกันคุณภาพผลการทดสอบทางเคมี
(3) การประมาณค่าความไม่แน่นอนของผลทดสอบทางเคมี
(4) การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีทดสอบทางเคมี
(5) การตรวจติดตามคุณภาพภายใน ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025:2017 และการดําเนินงานอยู่ในช่วงการทดสอบความใช้ได้ของวิธีทดสอบสารพิษตกค้างกลุ่มออร์
แกโนฟอสเฟตในผักสด
4.1.2.2 วางแผนการประชาสัมพันธ์การให้บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์
การประชาสัมพันธ์การให้บริการเครื่องมือโดนทําบันทึกข้อความไปยังคณะต่างๆภายใน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีและหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ยังประชาพันธ์ผ่านเว็บไซต์ศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ (รูปที่ 4.3) เฟสบุ๊ค และการเข้าร่วมความร่วมมือโครงการเครือข่ายศูนย์เครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย (Thailand Scientific Equipment Center Network : TSEN) ระหว่าง สํานักงาน
พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ โดยศูนย์บริการวิเคราะห์ทดสอบ ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี กับ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ซึ่งเป็นสมาชิกเครือข่าย (รูปที่ 4.4 และ 4.5 ) เป็นต้น
รูปที่ 4.3 หน้าเว็บไซต์ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
รูปที่ 4.4 หน้าเว็บไซต์เครือข่ายศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ประเทศไทย (Thailand Scientific Equipment Center Network : TSEN)
รูปที่ 4.5 การลงนามความร่วมมือโครงการเครือข่ายศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ประเทศไทย (Thailand
Scientific Equipment Center Network : TSEN)
4.1.2.3 วางแผนการประชาสัมพันธ์การให้บริการไนโตรเจน
ประชาสัมพันธ์การให้บริการไนโตรเจนเหลวผู้ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผลิตน้ําเชื้อโค กระบือจังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดศรีษะเกษ และจังหวัดยโสธร ส่วนหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย เช่น คณะ วิทยาศาสตร์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข ตามลําดับ และการให้บริการเติมไนโตรเจนเหลว พบว่า ในช่วงไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 ให้บริการมากที่สุดจํานวน 33 ครั้ง และช่วงไตรมาสที่ 3 และ 4
35
30
25
20
15
10
5
0
ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส
4-59 1-60 2-60 3-60 4-60 1-61 2-61 3-61
การให้บริการไนโตรเจนเหลว (ไตรมาส/ปีงบประมาณ)
จํานวนการให้บริการ (ครั้ง)
ปีงบประมาณ 2560 ให้บริการไตรมาสละ 27 ครั้ง ตามลําดับ ดังรูปที่ 4.6
รูปที่ 4.6 จํานวนครั้งการให้บริการไนโตรเจนเหลว
4.1.3 ด้านประสานงาน
4.1.3.1 ประสานงานการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่ได้รับมอบหมาย ได้มีการประสานงานการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่ได้รับมอบหมายทั้งหมดใน ช่วงตั้งแต่ 1
สิงหาคม 2559 – 27 กรกฎาคม 2561 จํานวน 483 ครั้ง โดยเครื่องวิเคราะห์และแยกสารของเหลวด้วยความดัน สูง (High Performance Liquid Chromatography, HPLC) ประสานงานการใช้เครื่องมือมากที่สุด จํานวน
140
120
100
80
60
40
20
0
เครื่องมือวิทยาศาสตร์
จํานวนครั้งการให้บริการ (ครั้ง)
119 ครั้ง เครื่องวิเคราะห์ความหนืด (Viscometer) จํานวน 95 ครั้ง เครื่องวิเคราะห์สารด้วยเทคนิคแก๊สโคร มาโทกราฟี-แมสสเปคโทรเมทรี (Gas Chromatography-Mass Spectrometer, GC-MS) จํานวน 65 ครั้ง และเครื่องเพิ่มจํานวนสารพันธุกรรม (PCR) จํานวน 53 ครั้ง ตามลําดับ ดังรูปที่ 4.7 โดยการประสานงานจะมี แนวโน้มเป็นไปในทิศทางเดียวกับกับการให้บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์
รูปที่ 4.7 จํานวนครั้งการประสานงานการใช้งานเครื่องมือวิทยาศาสตร์
4.1.4 ด้านบริการ
1) ให้บริการให้คําแนะนําข้อมูลการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์โดยการสอบถามพบว่าข้อมูลส่วนใหญ่ที่ ผู้ขอรับบริการสอบถามเป็นความสามารถของเครื่องมือวิทยาศาสตร์นั้นๆกับสารตัวอย่างที่จะวิเคราะห์ อุปกรณ์ ประกอบที่ใช้กับการวิเคราะห์ตัวอย่างและอัตราค่าบริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์
2) ให้บริการการน้ํากลั่น น้ําปราศจากไอออน ไนโตรเจนเหลว ทั้งบุคลากรภายในและบุคลภายนอก หมาวิทยาลัยอุบลราชธานี
3) บริการยืมคืนเครื่องแก้วทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพ
4.2 งานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย
4.2.1 ติดตามการดําเนินโครงการโครงสร้างพื้นฐานงานวิจัย ประจําปีงบประมาณ 2560-2561
ปีงบประมาณ 2560 โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการวิจัย แผนงานยุทธศาสตร์ส่งเสริมการ วิจัยและพัฒนาได้รับอนุมัติงบประมาณ จํานวน 31,158,200 บาท นั้น เพื่อจัดซื้อจัดจ้างครุภัณฑ์จํานวน 36 รายการ โดยครุภัณฑ์ส่งมอบและตรวจรับเรียบร้อยแล้ว ดังตารางที่ 4.2
ตารางที่ 4.2 รายการครุภัณฑ์ที่ได้รับจัดสรรประจําปีงบประมาณ 2560 และดําเนินการส่งมอบและตรวจรับ เรียบร้อยแล้ว
ลําดับ ที่ | รายการ | หน่วยนับ | จํานวน | ราคาต่อ หน่วย | งบประมาณ |
ราคาเกิน 2,000,000 | |||||
1 | เครื่องกําเนิดไฟฟ้า ขนาดไม่น้อยกว่า 625 kVA | เครื่อง | 1 | 5,560,000 | 5,560,000 |
2 | ชุดสอบเทียบมวล | ชุด | 1 | 2,800,000 | 2,800,000 |
3 | ชุดสอบเทียบด้านมิเตอร์ไฟฟ้า | ชุด | 1 | 2,085,000 | 2,085,000 |
4 | เครื่องโครมาโตกราฟีของเหลวสมรรถนะสูง | เครื่อง | 1 | 2,500,000 | 2,500,000 |
5 | เครื่องวิเคราะห์ไอออน | เครื่อง | 1 | 2,442,800 | 2,442,800 |
ราคาเกิน 100,000 | |||||
6 | เครื่องวัดความหนืดมูนนี่ | ชุด | 1 | 1,900,000 | 1,900,000 |
7 | เครื่องผสมแบบปิด | ชุด | 1 | 1,600,000 | 1,600,000 |
8 | เครื่องวัดขนาดและความผดปกติของเมล็ดธัญพืช | ชุด | 1 | 1,647,800 | 1,647,800 |
9 | เครื่องย่อยด้วยคลื่นไมโครเวฟ | เครื่อง | 1 | 1,950,000 | 1,950,000 |
10 | ชุดสอบเทียบอุณหภูมิ | ชุด | 1 | 500,000 | 500,000 |
11 | เครื่องกลั่นระเหยระบบสุญญากาศ | เครื่อง | 4 | 200,000 | 800,000 |
12 | ชุดทดสอบสมบัติเชิงกลของยางวลั คาไนซ์ | ชุด | 1 | 995,100 | 995,100 |
13 | เครื่องอัดรีดยางแบบสกรูเดี่ยว | ชุด | 1 | 700,000 | 700,000 |
14 | เครื่องทําแห้ง | ชุด | 1 | 650,000 | 650,000 |
15 | เครื่องวัดความชื้นเมล็ดธัญพืชแบบไม่ทําลายตัวอย่าง | เครื่อง | 1 | 315,700 | 315,700 |
16 | เครื่องวัดความขาวของแป้ง | เครื่อง | 1 | 213,900 | 213,900 |
17 | เครื่องวัดความขาวของข้าว | เครื่อง | 1 | 187,100 | 187,100 |
18 | เครื่องวัดความเป็นกรดด่าง | เครื่อง | 4 | 45,000 | 180,000 |
19 | เครื่องดูดถ่ายสารละลายอัตโนมัติ | ชุด | 2 | 60,000 | 120,000 |
20 | อ่างควบคุมอุณหภมิ | เครื่อง | 2 | 79,200 | 158,400 |
21 | อ่างควบคุมอุณหภมิแบบเขย่า | เครื่อง | 1 | 250,000 | 250,000 |
22 | เครื่องกวนสารละลายพร้อมให้ความร้อน | เครื่อง | 4 | 45,000 | 180,000 |
23 | เครื่องวัดความนําไฟฟ้า | เครื่อง | 1 | 120,000 | 120,000 |
24 | เครื่องเขย่าโดยใช้เสยง | เครื่อง | 1 | 400,000 | 400,000 |
25 | ตู้ดูดความชื้น | ตู้ | 4 | 36,000 | 144,000 |
26 | เตาหลุมให้ความร้อนด้วยไฟฟ้า | เตา | 5 | 24,000 | 120,000 |
ลําดับ ที่ | รายการ | หน่วยนับ | จํานวน | ราคาต่อ หน่วย | งบประมาณ |
27 | เครื่องระเหยแบบสุญญากาศ | เครื่อง | 1 | 500,000 | 500,000 |
28 | เครื่องทําน้ํากลั่น | เครื่อง | 1 | 450,000 | 450,000 |
29 | ตู้อบร้อน | ตู้ | 2 | 200,000 | 400,000 |
30 | ตู้เก็บสารเคมีแบบมีท่อปล่อยไอ | ตู้ | 6 | 140,000 | 840,000 |
31 | อ่างน้ําสแตนเลส | ใบ | 4 | 30,000 | 120,000 |
ราคาต่ํากว่า 100,000 | |||||
32 | ตู้แช่ | ตู้ | 2 | 32,000 | 64,000 |
33 | เครื่องผสมสารละลาย | เครื่อง | 2 | 14,000 | 28,000 |
34 | ตะเกียงบุนเสน | อัน | 4 | 24,600 | 98,400 |
35 | โถดูดความชื้นขนาดเล็ก | โถ | 6 | 11,000 | 66,000 |
36 | เครื่องกวนสารละลายชนิดสนามแม่เหล็ก | เครื่อง | 4 | 18,000 | 72,000 |
รวม | 31,158,200 |
ปีงบประมาณ 2561 ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ได้รับอนุมัติจัดสรรงบประมาณ ในโครงการพัฒนา ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ หมวดครุภัณฑ์ เป็นเงินงบประมาณทั้งสิ้น 47,121,000 บาท (สี่สิบเจ็ดล้านหนึ่งแสน สองหมื่นหนึ่งพันบาทถ้วน) ในการจัดซื้อจัดจ้างครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์จํานวน 22 รายการ ศูนย์เครื่องมือ วิทยาศาสตร์ได้ดําเนินการตามแผนการดําเนินงานของโครงการ ดังข้อมูลในตารางที่ 4.3 โดยการใช้จ่าย งบประมาณเพื่อการจัดซื้อจัดจ้างรายการครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทั้งหมด จํานวน 22 รายการ และดําเนินการตรวจ รับครุภัณฑ์เสร็จสิ้น จํานวน 21 รายการ
ตารางที่ 4.3 ผลการดําเนินงานใช้จ่ายงบประมาณเพื่อการจัดจ้างจัดซื้อรายการครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ประจําปี
งบประมาณ 2561
รายการ | ครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์ | งบประมาณ (บาท) | วิธีจัดซื้อจัดจ้าง | ตรวจรับ ครุภัณฑ์ |
1 | ชุดแยกโปรตีนด้วยกระแสไฟฟ้า 2 มิติ (2-Dimension Electrophoresis) | 215,000.00 | เฉพาะเจาะจง | √ |
2 | เครื่องวัดก๊าซชีวมวล (Biomass Analyzer) | 880,000.00 | เชิญชวน (bidding) | √ |
3 | เครื่องอ่านปฏิกิรยาบนไมโครเพลท (Absorbance, Fluorescence, Luminescence, BRET และ FRET) | 2,500,000.00 | เชิญชวน (bidding) | √ |
4 | ถังปฏิกรณ์ชีวภาพ (Bioreactor) | 2,000,000.00 | เชิญชวน (bidding) | √ |
5 | กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบสองกราดชนิดฟิลด์อิมิสชั่น (Field Emission Scanning Electron Microscope) | 20,000,000.00 | เชิญชวน (bidding) | - |
6 | เครื่องชั่ง 4 ตําแหน่ง (Analytical Balance) | 160,000.00 | เฉพาะเจาะจง | √ |
7 | เครื่องวิเคราะห์ธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และไนโตรเจน | 4,500,000.00 | เชิญชวน (bidding) | √ |
รายการ | ครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์ | งบประมาณ (บาท) | วิธีจัดซื้อจัดจ้าง | ตรวจรับ ครุภัณฑ์ |
(CHN Analyzer) | ||||
8 | กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโอ (Stereoscopic Microscope) | 1,400,000.00 | เชิญชวน (bidding) | √ |
9 | เครื่องวิเคราะห์ธาตุแบบเอ็กซเรยฟลูออเรสเซนต์ (X-ray Fluorescence spectrometer, XRF) | 8,000,000.00 | เชิญชวน (bidding) | √ |
10 | เครื่องชั่ง 2 ตําแหน่ง (Precision Balance) | 130,000.00 | เฉพาะเจาะจง | √ |
11 | เครื่องควบคุมความชื้น (Dehumidifier) | 385,000.00 | เฉพาะเจาะจง | √ |
12 | เครื่องโครมาโตกราฟีของเหลวสมรรถนะสูง (HPLC with Electrochemical Detection) | 3,200,000.00 | เชิญชวน (bidding) | √ |
13 | ตู้ปลอดเชื้อ Class II (Biosafety Cabinet Class II ) | 1,230,000.00 | เชิญชวน (bidding) | √ |
14 | เครื่องล้างเครื่องแก้ว (Glassware Washer) | 650,000.00 | เชิญชวน (bidding) | √ |
15 | หัววัดอุณหภูมิสูง (Thermocouple Probe) | 30,000.00 | เฉพาะเจาะจง | √ |
16 | เครื่องนับจํานวนจุลินทรีย์ (Colony Counter) | 120,000.00 | เฉพาะเจาะจง | √ |
17 | เครื่องตีตัวอย่าง (Stomacher) | 150,000.00 | เฉพาะเจาะจง | √ |
18 | อุปกรณ์ประกอบเครื่องวัดการเรืองแสงของสาร | 511,000.00 | เชิญชวน (bidding) | √ |
19 | เครื่องแยกสารด้วยกระแสไฟฟ้าในแนวดิ่ง (Vertical Electrophoresis) พร้อม Power Supply | 160,000.00 | เฉพาะเจาะจง | √ |
20 | เครื่องวัดอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ (Temperature and Humidity Data Logger) | 180,000.00 | เฉพาะเจาะจง | √ |
21 | เครื่องวัดก๊าซชีวภาพ (Biogas Analyzer) | 320,000.00 | เฉพาะเจาะจง | √ |
22 | เครื่องกรองแบบอัลตราฟิลเตรชัน (Ultrafiltration, UF) | 400,000.00 | เฉพาะเจาะจง | √ |
รวม | 47,121,000.00 |
หมายเหตุ ข้อมูล ณ วันที่ 5 มิถุนายน 2561
4.2.2 ประสานการลงฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานภาครัฐด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ได้ลงฐานข้อมูลรายการเครื่องมือวิทยาศาสตร์จํานวน 88 รายการที่เปิด
ให้บริการสําหรับบุคลากรภายในและบุคคลภายนอกผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ http://stdb.most.go.th/ ใน โครงสร้างพื้นฐานภาครัฐด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology Infrastructure Databank, STDB) ดังรูปที่ 4.8
รูปที่ 4.8 หน้าเว็บไซต์โครงสร้างพื้นฐานภาครัฐด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย
4.2.3 จัดทําอัตราค่าบริการการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ประจําศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ จัดทําอัตราค่าบริการการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ สําหรับบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย และอัตรา
สําหรับบุคคลประเภทอื่นๆ เช่น อัตราสําหรับการเรียนการสอน บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานให้กับ ศูนย์เครื่องมือกลางฯ บุคลากรภายในและหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย หน่วยงานราชการ บุคลภายนอกมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีและหน่วยงานเอกชน ดัง ตารางที่ 4.4 หลังจากนั้น ปีงบประมาณ 2560 ได้ปรับอัตราค่าบริการใหม่โดยเพิ่มอัตราการรับวิเคราะห์ตัวอย่าง ดังตารางที่ 4.5 และได้จัดทําประกาศมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เรื่อง อัตราค่าบริการ และระเบียบปฏิบัติใน การขอรับบริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ลงวันที่ 8 ส.ค. 2560
4.2.4 ประสานงานและติดตามการดําเนินงานการก่อสร้างหลังคาโรงจอดรถและการปรับภูมิทัศน์อาคารศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ประจําปี 2560 ในการปรับปรุงอาคารระบบ ประกอบอาคารและบริเวณโดยรอบกลุ่มอาคารคณะวิชาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ และศูนย์เครื่องมือ วิทยาศาสตร์ จะดําเนินการก่อสร้างหลังคาโรงจอดรถพร้อมปรับปรุงภูมิทัศน์รอบอาคารศูนย์เครื่องมือ วิทยาศาสตร์ โดยมีสํานักงานบริหารกายภาพและสิ่งแวดล้อมเป็นผู้ควบคุมการดําเนินงาน ดังรูปที่ 4.9 ทั้งนี้การ ดําเนินงานเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว
รูปที่ 4.9 หลังคาโรงจอดรถและการปรับปรุงภูมิทัศน์รอบอาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
4.2.5 ประสานงานการซ่อมแซมอาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ประสานงานการซ่อมแซมอาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์กับสํานักงานบริหารกายภาพและ
สิ่งแวดล้อมผู้ควบคุมการดําเนินงาน โดยให้บริษัทผู้รับเหมาเข้ามาซ่อมแซมจุดชํารุดภายในและภายนอกอาคาร ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ การดําเนินงานของบริษัทผู้รับเหมาในการซ่อมแซมจุดชํารุด ในระหว่างเดือน สิงหาคม 2559 – มกราคม 2560 ช่างของบริษัทผู้รับเหมาได้ดําเนินการซ่อมแซมจุดชํารุดบริเวณภายในอาคาร และเครื่องทําความเย็น ชั้นที่ 1 และ 2 อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ส่วนจุดชํารุดที่ยังไม่ดําเนินการ ซ่อมแซม ดังตารางที่ 4.6 ทั้งนี้ผลการดําเนินงานซ่อมแซมจุดชํารุดดังกล่าวได้เสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว
4.2.6 ประสานงานการแยกมิเตอร์ไฟของห้องปฏิบัติการทางการเกษตร วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และเภสัชศาสตร์ ประจําศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
การแยกมิเตอร์ไฟฟ้าของห้องปฏิบัติการทางการเกษตร วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และเภสัช ศาสตร์ ได้ดําเนินการติดตั้งเรียบร้อยแล้ว
4.2.7 ประสานงานการจัดทําระบบการจองใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์
ระบบจองเครื่องมือวิทยาศาสตร์จัดทําร่วมกับสํานักคอมพิวเตอร์และเครือข่ายผ่านระบบ อินเตอร์เน็ต โดยให้ผู้ขอใช้บริการจองผ่านระบบ เพื่อลดระยะเวลาการส่งเอกสารการขอใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ประจําศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ พร้อมทั้งผู้ขอใช้ยังสามารถตรวจสอบตารางการจองเครื่องมือวิทยาศาสตร์ได้ โดยขั้นตอนแรกผู้ขอใช้บริการต้องสมัครสมาชิกก่อนเข้าใช้งาน หลังจากนั้นสามารถเข้าระบบและเลือกเครื่องมือ ที่จะใช้งาน ดังรูปที่ 4.10
รูปที่ 4.10 หน้าเว็บไซต์ระบบจองใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ประจําศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
รูปที่ 4.10 หน้าเว็บไซต์ระบบจองใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ประจําศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร
4.2.8 ประสานงานการจัดทําระบบการจองใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ผ่านระบบ EMS ระบบจองเครื่องมือวิทยาศาสตร์ผ่านระบบ EMS จัดทําร่วมกับศูนย์บริการวิเคราะห์ทดสอบ สวทช.
(NCTC) โดยให้ผู้ขอใช้บริการจองผ่านระบบ ดังรูปที่ 4.11 เพื่อลดระยะเวลาการส่งเอกสารการขอใช้เครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประจําศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ พร้อมทั้งผู้ขอใช้ยังสามารถตรวจสอบตารางการจองเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ที่สนใจได้ได้ ทั้งนี้ ศูนย์บริการวิเคราะห์ทดสอบ สวทช. (NCTC) ได้ให้ความอนุเคราะห์เป็นวิทยากร บรรยายและฝึกสอนปฏิบัติการใช้ระบบการจองในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 ที่ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
รูปที่ 4.11 หน้าเว็บไซต์ระบบจองใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ Equipment Management System (EMS)
ตารางที่ 4.4 อัตราค่าบริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ประจําปีงบประมาณ 2559
ที่ | รายการ | อัตราค่าบริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ | ||||||||||
อัตรา ต้นทุน | อัตรา ค่าบริการ | อัตรา ค่าบริการ | อัตรา 1 | อัตรา 2 | อัตรา 3 | อัตรา 4 | อัตรา 5 | อัตรา 6 | อัตรา 7 | หมายเหตุ | ||
ค่า PM | (คํานวณ) | (ประกาศ) | 35% | 40% | 50% | 60% | 70% | 100% | 200% | |||
บาท/ชม. | ||||||||||||
1. บริการงานวิเคราะห์ทางเคมี | ||||||||||||
1 | เครื่องวิเคราะห์สารด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี (Gas Chromatography Spectrometer, GC) | 253 | 487 | 500 | 175 | 200 | 250 | 300 | 350 | 500 | 1000 | |
2 | เครื่องวิเคราะห์สารด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี-แมสสเปคโทรเมทรี (Gas Chromatography-Mass Spectrometer, GC-MS) | 295 | 626 | 650 | 230 | 260 | 325 | 390 | 450 | 650 | 1300 | |
3 | เครื่องวิเคราะห์ขนาดอนุภาคและศักย์ซต้า (Zetasizer) | 212 | 459 | 400 | 140 | 160 | 200 | 240 | 280 | 400 | 800 | |
4 | เครื่องตรวจวัดทางเคมีไฟฟ้า (Potentiostat/Galvanostat/Impedance analyzer) | 140 | 356 | 250 | 80 | 100 | 125 | 150 | 175 | 250 | 500 | |
5 | เครื่องวิเคราะห์ปริมาณธาตุด้วยเทคนิค ICP-OES (Inductively Coupled Plasma-Optical Emission Spectrometer, ICP- OES) | 717 | 1180 | 1200 | 420 | 480 | 600 | 720 | 840 | 1200 | 2400 | เปิดเครื่อง 350 บาทต่อครั้ง |
6 | เครื่องวิเคราะห์และแยกสารด้วยเทคนิคแคปิลลารี อิเล็กโทรโฟรีซิส (Capillary Electrophoresis, CE) | 278 | 425 | 500 | 175 | 200 | 250 | 300 | 350 | 500 | 1000 | |
7 | เครื่องวิเคราะห์กรดอะมิโน (Amino Acid Analyzer, AAA) | 217 | 562 | 600 | 210 | 240 | 300 | 360 | 420 | 600 | 1200 | เปิดเครื่อง 600 บาท/ครั้ง |
8 | เครื่องวิเคราะห์และแยกสารของเหลวด้วยความดันสูง (High Performance Liquid Chromatography, HPLC) ยี่ห้อ DIONEX รุ่น Ultimate 3000 | 250 | 508 | 500 | 175 | 200 | 250 | 300 | 350 | 500 | 1000 |
ที่ | รายการ | อัตราค่าบริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ | ||||||||||
อัตรา ต้นทุน | อัตรา ค่าบริการ | อัตรา ค่าบริการ | อัตรา 1 | อัตรา 2 | อัตรา 3 | อัตรา 4 | อัตรา 5 | อัตรา 6 | อัตรา 7 | หมายเหตุ | ||
ค่า PM | (คํานวณ) | (ประกาศ) | 35% | 40% | 50% | 60% | 70% | 100% | 200% | |||
บาท/ชม. | ||||||||||||
9 | เครื่องวิเคราะห์และแยกสารของเหลวด้วยความดันสูง (High Performance Liquid Chromatography, HPLC) ยี่ห้อ Agilent รุ่น 1260 | 240 | 388 | 400 | 140 | 160 | 200 | 240 | 280 | 400 | 800 | |
10 | เครื่องวิเคราะห์พลังงานความร้อน (Bomb Calorimeter) | 337 | 574 | 400 | 140 | 160 | 200 | 240 | 280 | 400 | 800 | |
11 | เครื่องวิเคราะห์พื้นที่ผิวและคุณสมบัติของรูพรุน (Surface Area and Pore Size Analyzer) | 250 | 678 | 900 | 315 | 360 | 450 | 540 | 630 | 900 | 1800 | เตรียมตัวอย่าง 500 บาท/ครั้ง |
12 | เครื่องวิเคราะห์ลิควิดโครมาโทกราฟี-แมสสเปคโตรมิเตอร์ (Liquid Chromatography Mass spectrometer, LC-MS,MS) | 850 | 1911 | 2000 | 700 | 800 | 1000 | 1200 | 1400 | 2000 | 4000 | |
แมสสเปคโตรมิเตอร์ (Mass spectrometer, MS) | 650 | 1499 | 1500 | 525 | 600 | 750 | 900 | 1050 | 1500 | 3000 | ||
13 | เครื่องวิเคราะห์หาปริมาณไนโตรเจนและโปรตีน (Nitrogen/Protein analyzer) 13.1 เครื่องย่อยไนโตรเจน | 162 | 342 | 150 | 75 | 75 | 75 | 100 | 100 | 150 | 300 | |
13.2 เครื่องกลั่นไนโตรเจน | 162 | 342 | 300 | 150 | 150 | 150 | 200 | 200 | 300 | 600 | ||
14 | เครื่องวิเคราะห์ปริมาณสารด้วยคลื่นแสงในย่านใกล้อินฟราเรด (Near Infrared Spectrophotometer, NIR) | 179 | 388 | 400 | 140 | 160 | 200 | 240 | 280 | 400 | 800 | |
15 | ชุดวิเคราะห์ปริมาณธาตุโดยการดูดกลืนแสงของอะตอม (Atomic absorption spectrophotometer) | |||||||||||
วิเคราะห์ด้วยเทคนิค Flame | 250 | 611 | 500 | 175 | 200 | 250 | 300 | 350 | 500 | 1000 | ||
วิเคราะห์ด้วยเทคนิค Graphite Furnace | 300 | 720 | 600 | 210 | 240 | 300 | 360 | 420 | 600 | 1200 |
ที่ | รายการ | อัตราค่าบริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ | ||||||||||
อัตรา ต้นทุน | อัตรา ค่าบริการ | อัตรา ค่าบริการ | อัตรา 1 | อัตรา 2 | อัตรา 3 | อัตรา 4 | อัตรา 5 | อัตรา 6 | อัตรา 7 | หมายเหตุ | ||
ค่า PM | (คํานวณ) | (ประกาศ) | 35% | 40% | 50% | 60% | 70% | 100% | 200% | |||
บาท/ชม. | ||||||||||||
วิเคราะห์ด้วยเทคนิค Hydride Generation | 200 | 448 | 450 | 158 | 180 | 225 | 270 | 315 | 450 | 900 | ||
16 | ชุดวิเคราะห์หาองค์ประกอบทางโครงสร้างเคมีของสารโดยใช้ความยาวคลื่น ช่วง Infrared (FT-IR) | 200 | 360 | 400 | 140 | 160 | 200 | 240 | 280 | 400 | 800 | |
17 | เครื่องย่อยสารด้วยระบบคลื่นไมโครเวฟ (Microwave Digestion) ปริมาตร10 ml | 150 | 328 | 200 | 150 | 150 | 150 | 180 | 180 | 200 | 400 | บาท/ตัวอย่าง |
เครื่องย่อยสารด้วยระบบคลื่นไมโครเวฟ (Microwave Digestion) ปริมาตร 35 ml | 150 | 328 | 250 | 180 | 180 | 180 | 200 | 200 | 250 | 500 | บาท/ตัวอย่าง | |
2. บริการงานวิเคราะห์โปรตีน | ||||||||||||
20 | เครื่องขยายปริมาณสารพันธุกรรมชนิดปฏิกิริยาจริงอัตโนมัติ (Real Time PCR) | 262 | 481 | 500 | 175 | 200 | 250 | 300 | 350 | 500 | 1000 | |
21 | เครื่องเคลื่อนย้ายสารพันธุกรรมและโปรตีนแบบกึ่งแห้ง (Semi Dry Blotter) | 118 | 176 | 150 | 50 | 60 | 75 | 90 | 105 | 150 | 300 | |
22 | เครื่องถ่ายภาพและวิเคราะห์สารพันธกุ รรม (Gel-Documentation) | 118 | 194 | 20 | 35 | 40 | 50 | 60 | 70 | 100 | 200 | |
23 | เครื่องเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรม (PCR Machine) | 118 | 181 | 150 | 50 | 60 | 75 | 90 | 105 | 150 | 300 | |
24 | เครื่องวัดการดูดกลืนแสงชนิดนาโน (Nano drop) | 118 | 201 | 150 | 50 | 60 | 75 | 90 | 105 | 150 | 300 | |
25 | เครื่องแยกสารพันธกุ รรมและโปรตีนด้วยกระแสไฟฟา้ (Gel Electrophoresis) | 118 | 35 | 50 | 15 | 20 | 25 | 30 | 35 | 50 | 100 | |
3. บริการงานวิเคราะห์ทางจุลทรรศน์ | ||||||||||||
26 | กล้องจุลทรรศน์ 3 กระบอกตา เทคนิคฟลูออเรสเซนต์สําหรับชุด FISH (Trinocular Fluorescence in Situ Hybridyzation Microscope) | 155 | 235 | 250 | 80 | 100 | 125 | 150 | 175 | 250 | 500 |
ที่ | รายการ | อัตราค่าบริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ | ||||||||||
อัตรา ต้นทุน | อัตรา ค่าบริการ | อัตรา ค่าบริการ | อัตรา 1 | อัตรา 2 | อัตรา 3 | อัตรา 4 | อัตรา 5 | อัตรา 6 | อัตรา 7 | หมายเหตุ | ||
ค่า PM | (คํานวณ) | (ประกาศ) | 35% | 40% | 50% | 60% | 70% | 100% | 200% | |||
บาท/ชม. | ||||||||||||
27 | กล้องจุลทรรศน์ 3 กระบอกตา สําหรับการจัดเรียงโครโมโซม (Trinocular Microscope with Chromosomal Karyotyping) | 155 | 235 | 250 | 80 | 100 | 125 | 150 | 175 | 250 | 500 | |
28 | กล้องจุลทรรศน์สําหรับงานพื้นมืด พร้อมชุดถ่ายระบบดิจิตอล (Dark Field Microscope) | 118 | 52 | 100 | 35 | 40 | 50 | 60 | 70 | 100 | 200 | |
29 | กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง พร้อมชุดถ่ายระบบดิจิตอล (Bright Field Microscope) | 118 | 52 | 100 | 35 | 40 | 50 | 60 | 70 | 100 | 200 | |
30 | กล้องจุลทรรศน์หัวกลับ (Inverted Microscope) | 155 | 162 | 150 | 50 | 60 | 75 | 90 | 105 | 150 | 300 | |
31 | กล้องจุลทรรศน์แรงอะตอม (Atomic Force Microscope, AFM) | 100 | 392 | 250 | 80 | 100 | 125 | 150 | 175 | 250 | 500 | |
4. บริการงารวิเคราะห์ทางกายภาพ | ||||||||||||
32 | เครื่องไมโครเพลทรีดเดอร์ (Microplate Reader) | 118 | 73 | 150 | 50 | 60 | 75 | 90 | 100 | 150 | 300 | |
33 | เครื่องวัดการเรืองแสงของสาร (Spectrofluorometer) | 100 | 243 | 150 | 50 | 60 | 75 | 90 | 100 | 150 | 300 | |
34 | เครื่องวัดการดูดกลืนแสงช่วงยูวี-วิสิเบิ้ล (UV-Visible Spectrophotometer) | 128 | 207 | 100 | 35 | 40 | 50 | 60 | 70 | 100 | 200 | |
35 | เครื่องวัดการดูดกลืนแสงช่วงยูวี-วิสิเบิ้ลชนิดลําแสงคู่ (UV-Visible Double Beam Spectrophotometer) | 138 | 216 | 100 | 35 | 40 | 50 | 60 | 70 | 100 | 200 | |
36 | เครื่องวัดความขุ่นและคลอรีน (Turbidity and Total Chlorine Meter) | 118 | 187 | 50 | 15 | 20 | 25 | 30 | 35 | 50 | 100 | |
37 | เครื่องวิเคราะห์ความหนืด (Viscometer) | 200 | 284 | 100 | 35 | 40 | 50 | 60 | 70 | 100 | 200 | |
38 | เครื่องวัดความหนืดแบบรวดเร็ว (Rapid Visco Analyser) | 121 | 211 | 100 | 35 | 40 | 50 | 60 | 70 | 100 | 200 | |
39 | เครื่องวัดลักษณะเนื้อสัมผัส (Texture Analyser) | 121 | 195 | 100 | 35 | 40 | 50 | 60 | 70 | 100 | 200 |
ที่ | รายการ | อัตราค่าบริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ | ||||||||||
อัตรา ต้นทุน | อัตรา ค่าบริการ | อัตรา ค่าบริการ | อัตรา 1 | อัตรา 2 | อัตรา 3 | อัตรา 4 | อัตรา 5 | อัตรา 6 | อัตรา 7 | หมายเหตุ | ||
ค่า PM | (คํานวณ) | (ประกาศ) | 35% | 40% | 50% | 60% | 70% | 100% | 200% | |||
บาท/ชม. | ||||||||||||
40 | เครื่องวัดสี (Color Meter) | 118 | 138 | 100 | 35 | 40 | 50 | 60 | 70 | 100 | 200 | |
41 | เครื่องวิเคราะห์หาความชื้นโดยใช้รังสีอินฟาเรด (Infrared Moisture Analyzer) | 118 | 189 | 100 | 35 | 40 | 50 | 60 | 70 | 100 | 200 | |
42 | เครื่องวิเคราะห์เยื่อใย (Fiber Analyzer) | 118 | 223 | 450 | 300 | 300 | 300 | 350 | 350 | 450 | 900 | บาทต่อตัวอย่าง |
5. บริการงานทดสอบตัวอยา่ งอาหารและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร | ||||||||||||
43 | เครื่องวัดปริมาณน้ํา (Water Activity) | 121 | 75 | 100 | 35 | 40 | 50 | 60 | 70 | 100 | 200 | |
44 | เครื่องวิเคราะห์องค์ประกอบน้ํานม (Milk Analyzer) | 140 | 283 | 150 | 50 | 60 | 75 | 90 | 100 | 150 | 300 | |
6. บริการงานเตรียมตัวอย่างและทดสอบทั่วไป | ||||||||||||
45 | เครื่องปั่นเหวี่ยงประสิทธิภาพสูงยิ่งยวดแบบตั้งพื้น (Ultracentrifuge) | 140 | 290 | 150 | 50 | 60 | 75 | 90 | 100 | 150 | 300 | |
46 | เครื่องทําแห้งแบบพ่นฝอย (Mini Spray Dryer) | 200 | 196 | 150 | 50 | 60 | 75 | 90 | 100 | 150 | 300 | |
47 | เครื่องชั่ง 6 ตําแหน่ง (Micro Balance) | 73 | 152 | 100 | 35 | 40 | 50 | 60 | 70 | 100 | 200 | |
48 | เครื่องเตรียมเนื้อเยื่อ (Embedding) | 73 | 126 | 50 | 15 | 20 | 25 | 30 | 35 | 50 | 100 | |
49 | เครื่องทําแห้งภายใต้ความเย็นและสุญญากาศ (Freeze Dryers) | 77 | 206 | 100 | 35 | 40 | 50 | 60 | 70 | 100 | 200 | |
50 | เครื่องทําให้เซลล์แตกโดยใช้ความดันสูง (High Pressure Homogenizer) | 28 | 179 | 100 | 35 | 40 | 50 | 60 | 70 | 100 | 200 | |
51 | เครื่องไมโครเอนแคปซูเลเตอร์ (Microencapsulator) | 73 | 267 | 150 | 50 | 60 | 75 | 90 | 100 | 150 | 300 | |
52 | เครื่องระเหย (Evaporator) | 95 | 140 | 100 | 35 | 40 | 50 | 60 | 70 | 100 | 200 | |
53 | เครื่องสกัดไขมัน (Fat Extraction) | 73 | 134 | 100 | 35 | 40 | 50 | 60 | 70 | 100 | 200 | |
54 | ตู้ชีวนิรภัย (Biological cabinet) | 28 | 65 | 50 | 15 | 20 | 25 | 30 | 35 | 50 | 100 |
ที่ | รายการ | อัตราค่าบริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ | ||||||||||
อัตรา ต้นทุน | อัตรา ค่าบริการ | อัตรา ค่าบริการ | อัตรา 1 | อัตรา 2 | อัตรา 3 | อัตรา 4 | อัตรา 5 | อัตรา 6 | อัตรา 7 | หมายเหตุ | ||
ค่า PM | (คํานวณ) | (ประกาศ) | 35% | 40% | 50% | 60% | 70% | 100% | 200% | |||
บาท/ชม. | ||||||||||||
55 | ตู้แช่แข็งอุณหภูมิติดลบ (Deep Freezer) | 28 | 52 | 50 | 15 | 20 | 25 | 30 | 35 | 50 | 100 | บาท/ลูกบาศก์ฟุต/วัน |
56 | ตู้บ่มเชื้อ (Ambient Incubator) | 28 | 49 | 50 | 15 | 20 | 25 | 30 | 35 | 50 | 100 | บาท/ลูกบาศก์ฟุต/วัน |
57 | ตู้บ่มเชื้อแบบควบคุมอุณหภูมิต่ําได้ (Refrigerated Incubator) | 28 | 54 | 50 | 15 | 20 | 25 | 30 | 35 | 50 | 100 | บาท/ลูกบาศก์ฟุต/วัน |
58 | ตู้บ่มเพาะเชื้อภายใต้กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 Incubator) | 69 | 105 | 100 | 25 | 30 | 40 | 45 | 50 | 75 | 150 | บาท/ลูกบาศก์ฟุต/วัน |
59 | ตู้ปลอดเชื้อ (Biosafety Cabinet ) | 28 | 52 | 50 | 15 | 20 | 25 | 30 | 35 | 50 | 100 | |
60 | ตู้ปลอดเชื้อปล่อยลมแนวนอน (Horizontal Laminar Air Flow) | 44 | 75 | 50 | 15 | 20 | 25 | 30 | 35 | 50 | 100 | |
61 | ตู้เย็น -40 องศาเซลเซียส (Deep Freezer -40 °C) | 28 | 43 | 50 | 15 | 20 | 25 | 30 | 35 | 50 | 100 | บาท/ลูกบาศก์ฟุต/วัน |
62 | ตู้อบลมร้อน (Hot Air Oven) | 28 | 45 | 50 | 15 | 20 | 25 | 30 | 35 | 50 | 100 | |
63 | เตาเผาอุณหภูมิสูง (Chamber Furnaces) | 106 | 158 | 150 | 50 | 60 | 75 | 90 | 105 | 150 | 300 | เปิดเครื่อง 450 บาท/ครั้ง |
64 | เตาเผาอุณหภูมิสูง (Tube Furnace) | 95 | 169 | 200 | 70 | 80 | 100 | 120 | 140 | 200 | 400 | เปิดเครื่อง 450 บาท/ครั้ง |
65 | เครื่องบ่มเขย่าแบบควบคุมอุณหภูมิ (Incubator Shaker) | 28 | 39 | 50 | 15 | 20 | 25 | 30 | 35 | 50 | 100 | |
66 | เครื่องปั่นเหวี่ยงควบคุมอุณหภูมิ (Refrigerated Centrifuge) | 28 | 83 | 50 | 15 | 20 | 25 | 30 | 35 | 50 | 100 | |
67 | เครื่องนึ่งฆ่าเชื้อด้วยไอน้ํา (Autoclave) | 28 | 59 | 50 | 35 | 40 | 50 | 60 | 70 | 100 | 200 | |
68 | เครื่องกวนให้ความร้อน (Hot Plate Stirrer) | 28 | 37 | 30 | - | - | - | - | - | - | - | |
69 | เครื่องเขย่าแบบวงกลม (Orbital Multi Shaker) | 28 | 42 | 30 | - | - | - | - | - | - | - | |
70 | เครื่องเขย่าสาร (Vortex Mixer) | 28 | 34 | 30 | - | - | - | - | - | - | - | |
71 | เครื่องเขย่าสารโดยใช้เสียงความถี่สูง (Ultrasonic Sonicator) | 28 | 45 | 30 | - | - | - | - | - | - | - | |
72 | เครื่องควบคุมอุณหภูมิแบบแห้ง (Heating Block) | 28 | 36 | 30 | - | - | - | - | - | - | - |
ที่ | รายการ | อัตราค่าบริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ | ||||||||||
อัตรา ต้นทุน | อัตรา ค่าบริการ | อัตรา ค่าบริการ | อัตรา 1 | อัตรา 2 | อัตรา 3 | อัตรา 4 | อัตรา 5 | อัตรา 6 | อัตรา 7 | หมายเหตุ | ||
ค่า PM | (คํานวณ) | (ประกาศ) | 35% | 40% | 50% | 60% | 70% | 100% | 200% | |||
บาท/ชม. | ||||||||||||
73 | เครื่องบด (Grinder) | 28 | 36 | 50 | - | - | - | - | - | - | - | |
74 | เครื่องวัดกรดด่าง (pH Meter) | 28 | 35 | 30 | - | - | - | - | - | - | - | |
75 | เครื่องหลอมพาราฟิน (Paraffin Dispenser) | 28 | 38 | 50 | - | - | - | - | - | - | - | |
76 | เครื่องเหวี่ยงแบบ Swing out (Swing out Refrigerated Centrifuge) | 28 | 42 | 30 | - | - | - | - | - | - | - | |
77 | เครื่องเหวี่ยงสารให้ตกตะกอน (Table-top Centrifuge) | 28 | 37 | 30 | - | - | - | - | - | - | - | |
78 | เครื่องอัลตร้าโซนิก (Ultrasonic Bath) | 28 | 38 | 30 | - | - | - | - | - | - | - | |
79 | เครื่องโฮโมจิไนเซอร์ (Homogenizer ) | 28 | 41 | 30 | - | - | - | - | - | - | - | |
80 | อ่างควบคุมอุณหภูมิ (Water Bath) | 28 | 36 | 50 | - | - | - | - | - | - | - | |
7. อื่นๆ | ||||||||||||
81 | น้ําปราศจากไอออน (Deionization Water) | 20 บาท/ลิตร | 40 บาท/ลิตร | |||||||||
82 | น้ํากลั่น (Distilled Water) | 10 บาท/ลิตร | 20 บาท/ลิตร | |||||||||
83 | ไนโตรเจนเหลว (Liquid Nitrogen) | 50 บาท/กิโลกรัม | 50 บาท/กิโลกรัม |
หมายเหตุ อัตรา 1 หมายถึง อัตราสําหรับการเรียนการสอน
อัตรา 2 หมายถึง อัตราค่าบริการสําหรับบุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานให้กับศูนย์เครื่องมือกลางฯ อัตรา 3 หมายถึง อัตราค่าบริการสําหรับบุคลากรภายในและหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อัตรา 4 หมายถึง อัตราค่าบริการสําหรับเครือข่ายเครื่องมือวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
อัตรา 5 หมายถึง อัตราค่าบริการสําหรับหน่วยงานราชการ
อัตรา 6 หมายถึง อัตราค่าบริการสําหรับบุคลภายนอกมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีและหน่วยงานเอกชน อัตรา 7 หมายถึง อัตราเร่งด่วน
ตารางที่ 4.5 อัตราค่าบริการของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ฉบับปรับปรุง ประจําปีงบประมาณ 2560
อัตราค่าบริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ แบ่งงานบริการเป็น 8 ประเภท ดังนี้
1. บริการงานวิเคราะห์ทางเคมี
2. บริการงานวิเคราะห์โปรตีน
3. บริการงานวิเคราะห์ทางกล้องจุลทรรศน์
4. บริการงานวิเคราะห์ทางกายภาพ
5. บริการงานทดสอบตัวอย่างอาหารและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
6. บริการงานทดสอบด้านเทคโนโลยีการยางและพอลิเมอร์
7. บริการงานเตรียมตัวอย่างและทดสอบทั่วไป
8. บริการอื่นๆ
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
1. บริการงานวิเคราะห์ทางเคมี | ||||||
1.1 เครื่องวิเคราะห์สารด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี (Gas Chromatography, GC) 1.1.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 1.1.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอย่าง) | 200 | 300 | 400 | 500 | 160 | 160 |
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
1.1.2.1 วิเคราะห์เชิงคุณภาพ กรณี 1 component - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ กรณีตั้งแต่ 2 components ขึ้นไป - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ 1.1.2.2 วิเคราะห์เชิงปริมาณ กรณี 1 component - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ กรณีตั้งแต่ 2 components ขึ้นไป - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ หมายเหตุ 1. สารมาตรฐานต้องเตรียมมาเอง 2. วิเคราะห์ภายใต้สภาวะเดียวกัน 3. อัตรานี้ไม่รวมการเตรียมตัวอยา่ ง 4. กรณีต้องการหาสภาวะการวิเคราะห์ให้คิดอัตราการวิเคราะห์ แบบ “อัตราบาทต่อชั่วโมง” | 900 500 1,200 700 1,200 800 1,600 1,000 | 900 500 1,200 700 1,200 800 1,600 1,000 | 900 500 1,200 700 1,200 800 1,600 1,000 | 900 500 1,200 700 1,200 800 1,600 1,000 | 900 500 1,200 700 1,200 800 1,600 1,000 | - - - - - - - - |
1.2 เครื่องวิเคราะห์สารด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี-แมสสเปคโทรเมทรี (Gas Chromatography-Mass Spectrometry, GC-MS) 1.2.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 1.2.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอย่าง) 1.2.2.1 วิเคราะห์เชิงคุณภาพ กรณี 1 component | 300 | 450 | 600 | 750 | 240 | 240 |
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
- ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ กรณีตั้งแต่ 2 components ขึ้นไป - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ 1.2.2.2 วิเคราะห์เชิงปริมาณ กรณี 1 component - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ กรณีตั้งแต่ 2 components ขึ้นไป - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ หมายเหตุ 1. สารมาตรฐานต้องเตรียมมาเอง 2. วิเคราะห์ภายใต้สภาวะเดียวกัน 3. อัตรานี้ไม่รวมการเตรียมตัวอยา่ ง 4. กรณีต้องการหาสภาวะการวิเคราะห์ให้คิดอัตราการวิเคราะห์ แบบ “อัตราบาทต่อชั่วโมง” | 1,400 800 1,700 1,000 1,900 1,000 2,500 1,800 | 1,400 800 1,700 1,000 1,900 1,000 2,500 1,800 | 1,400 800 1,700 1,000 1,900 1,000 2,500 1,800 | 1,400 800 1,700 1,000 1,900 1,000 2,500 1,800 | 1,400 800 1,700 1,000 1,900 1,000 2,500 1,800 | - - - - - - - - |
1.3 เครื่องวิเคราะห์และแยกสารของเหลวด้วยความดันสูง (Ultra-High Performance Liquid Chromatography, UHPLC) ยี่ห้อ DIONEX รุ่น Ultimate 3000, Detectors: Diode Array/ Fluorescence/Refractive Index 1.3.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 1.3.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอย่าง) 1.3.2.1 วิเคราะห์เชิงคุณภาพ | 200 | 300 | 400 | 500 | 160 | 160 |
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
กรณี 1 component - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ กรณีตั้งแต่ 2 components ขึ้นไป - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ 1.3.2.2 วิเคราะห์เชิงปริมาณ กรณี 1 component - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ กรณีตั้งแต่ 2 components ขึ้นไป - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ หมายเหตุ 1. สารมาตรฐานต้องเตรียมมาเอง 2. วิเคราะห์ภายใต้สภาวะเดียวกัน 3. อัตรานี้ไม่รวมการเตรียมตัวอยา่ ง 4. กรณีต้องการหาสภาวะการวิเคราะห์ให้คิดอัตราการวิเคราะห์ แบบ “อัตราบาทต่อชั่วโมง” | 1,000 800 1,500 1,000 1,500 800 2,000 1,400 | 1,000 800 1,500 1,000 1,500 800 2,000 1,400 | 1,000 800 1,500 1,000 1,500 800 2,000 1,400 | 1,000 800 1,500 1,000 1,500 800 2,000 1,400 | 1,000 800 1,500 1,000 1,500 800 2,000 1,400 | - - - - - - - - |
1.4 เครื่องวิเคราะห์และแยกสารของเหลวด้วยความดันสูง (High Performance Liquid Chromatography, HPLC) ยี่ห้อ Agilent รุ่น 1260, Detector: UV 1.4.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 1.4.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอย่าง) 1.4.2.1 วิเคราะห์เชิงคุณภาพ | 150 | 225 | 300 | 375 | 120 | 120 |
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
กรณี 1 component - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ กรณีตั้งแต่ 2 components ขึ้นไป - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ 1.4.2.2 วิเคราะห์เชิงปริมาณ กรณี 1 component - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ กรณีตั้งแต่ 2 components ขึ้นไป - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ หมายเหตุ 1. สารมาตรฐานต้องเตรียมมาเอง 2. วิเคราะห์ภายใต้สภาวะเดียวกัน 3. อัตรานี้ไม่รวมการเตรียมตัวอยา่ ง 4. กรณีต้องการหาสภาวะการวิเคราะห์ให้คิดอัตราการวิเคราะห์ แบบ “อัตราบาทต่อชั่วโมง” | 1,000 800 1,500 1,000 1,500 800 2,000 1,400 | 1,000 800 1,500 1,000 1,500 800 2,000 1,400 | 1,000 800 1,500 1,000 1,500 800 2,000 1,400 | 1,000 800 1,500 1,000 1,500 800 2,000 1,400 | 1,000 800 1,500 1,000 1,500 800 2,000 1,400 | - - - - - - - - |
1.5 เครื่องวิเคราะห์และแยกไอออน (Ion Chromatography) 1.5.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 1.5.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอย่าง) 1.5.2.1 วิเคราะห์เชิงคุณภาพ กรณีไอออนเดี่ยว - ตัวอย่างแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ | 150 400 200 | 225 400 200 | 300 400 200 | 375 400 200 | 120 400 200 | 120 - - |
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
กรณีตั้งแต่ 2 ไอออน ขึ้นไป - ตัวอย่างแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ 1.5.2.2 วิเคราะห์เชิงปริมาณ กรณีไอออนเดี่ยว - ตัวอย่างแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอยา่ งละ กรณีตั้งแต่ 2 ไอออน ขึ้นไป - ตัวอย่างแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอยา่ งละ หมายเหตุ 1. สารมาตรฐานต้องเตรียมมาเอง 2. วิเคราะห์ภายใต้สภาวะเดียวกัน 3. อัตรานี้ไม่รวมการเตรียมตัวอยา่ ง 4. กรณีต้องการหาสภาวะการวิเคราะห์ให้คิดอัตราการวิเคราะห์ แบบ “อัตราบาทต่อชั่วโมง” | 600 200 900 400 1,100 600 | 600 200 900 400 1,100 600 | 600 200 900 400 1,100 600 | 600 200 900 400 1,100 600 | 600 200 900 400 1,100 600 | - - - - - - |
1.6 เครื่องลิควิดโครมาโทกราฟี-แมสสเปคโทรมิเตอร์ (Liquid Chromatography-Mass Spectrometer, LC- MS/MS) 1.6.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 1.6.1.1 แมสสเปคโทรมิเตอร์ (Mass Spectrometer, MS) 1.6.1.2 ลิควิดโครมาโทกราฟี-แมสสเปคโทรมิเตอร์ (Liquid Chromatography-Mass Spectrometer, LC- MS/MS) 1.6.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอย่าง) 1.6.2.1 Mass Spectrometer (Infusion : ESI/APCI) เทคนิค MS กรณี 1 spectrum | 750 500 | 1,125 750 | 1,500 1,000 | 1,875 1,250 | 600 400 | 600 400 |
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
- ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอยา่ งละ เทคนิค MS/MS กรณี 1 fragment - ตัวอย่างแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอยา่ งละ 1.6.2.2 LC-MS/MS วิเคราะห์เชิงคุณภาพ กรณี 1 component - ตัวอย่างแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ กรณีตั้งแต่ 2 components ขึ้นไป - ตัวอย่างแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ วิเคราะห์เชิงปริมาณ กรณี 1 component - ตัวอย่างแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ กรณีตั้งแต่ 2 components ขึ้นไป - ตัวอย่างแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ หมายเหตุ 1. สารมาตรฐานต้องเตรียมมาเอง 2. วิเคราะห์ภายใต้สภาวะเดียวกัน 3. อัตรานี้ไม่รวมการเตรียมตัวอยา่ ง 4. กรณีต้องการหาสภาวะการวิเคราะห์ให้คิดอัตราการวิเคราะห์ | 1,000 500 1,200 600 2,500 1,500 3,000 2,000 3,500 1,500 4,000 2,500 | 1,000 500 1,200 600 2,500 1,500 3,000 2,000 3,500 1,500 4,000 2,500 | 1,000 500 1,200 600 2,500 1,500 3,000 2,000 3,500 1,500 4,000 2,500 | 1,000 500 1,200 600 2,500 1,500 3,000 2,000 3,500 1,500 4,000 2,500 | 1,000 500 1,200 600 2,500 1,500 3,000 2,000 3,500 1,500 4,000 2,500 | - - - - - - - - - - - - |
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
แบบ “อัตราบาทต่อชั่วโมง” 5. กรณีที่ต้องการแตก fragment เพิ่ม คิดเพิ่มจาก fragment แรก fragment ละ 200 บาท | ||||||
1.7 เครื่องวิเคราะห์กรดอะมิโน (Amino Acid Analyzer, AAA) 1.7.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 1.7.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอย่าง) กรณี 1 - 5 components - ตัวอย่างแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ กรณี 6 - 17 components - ตัวอย่างแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ หมายเหตุ 1. สารมาตรฐานต้องเตรียมมาเอง 2. วิเคราะห์ภายใต้สภาวะเดียวกัน 3. อัตรานี้ไม่รวมการเตรียมตัวอยา่ ง | 350 3,000 1,000 4,000 1,500 | 525 3,000 1,000 4,000 1,500 | 700 3,000 1,000 4,000 1,500 | 875 3,000 1,000 4,000 1,500 | 280 3,000 1,000 4,000 1,500 | 280 - - - - |
1.8 เครื่องวิเคราะห์และแยกสารด้วยเทคนิคแคปปิลลารีอิเล็กโทรโฟรีซิส (Capillary Electrophoresis, CE) 1.8.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 1.8.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) 1.8.2.1 วิเคราะห์เชิงคุณภาพ กรณี 1 component - ตัวอย่างแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ กรณีตั้งแต่ 2 components ขึ้นไป - ตัวอย่างแรก | 150 400 200 600 | 225 400 200 600 | 300 400 200 600 | 375 400 200 600 | 120 400 200 600 | 120 - - - |
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
- ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ 1.8.2.2 วิเคราะห์เชิงปริมาณ กรณี 1 component - ตัวอย่างแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ กรณีตั้งแต่ 2 components ขึ้นไป - ตัวอย่างแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ หมายเหตุ 1. สารมาตรฐานต้องเตรียมมาเอง 2. วิเคราะห์ภายใต้สภาวะเดียวกัน 3. อัตรานี้ไม่รวมการเตรียมตัวอยา่ ง 4. กรณีต้องการหาสภาวะการวิเคราะห์ให้คิดอัตราการวิเคราะห์ แบบ “อัตราบาทต่อชั่วโมง” | 200 900 400 1,100 600 | 200 900 400 1,100 600 | 200 900 400 1,100 600 | 200 900 400 1,100 600 | 200 900 400 1,100 600 | - - - - - |
1.9 เครื่องวิเคราะห์ปริมาณโลหะด้วยเทคนิคอะตอมมิคแอบซอร์พชันสเปคโทรโฟ- โทเมทรี (Atomic Absorption Spectrophotometry, AAS) 1.9.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | ||||||
1.9.1.1 วิเคราะห์ด้วยเทคนิค Flame | 250 | 375 | 500 | 625 | 200 | 200 |
1.9.1.2 วิเคราะห์ด้วยเทคนิค Flameless (Graphite Furnace) | 300 | 450 | 600 | 750 | 240 | 240 |
1.9.1.3 วิเคราะห์ด้วยเทคนิค Hydride Generation | 225 | 340 | 450 | 560 | 180 | 180 |
1.9.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ งต่อธาตุ) 1.9.2.1 เทคนิค Flame - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอยา่ งละ 1.9.2.2 เทคนิค Flameless (Graphite Furnace) - ตัวอยา่ งแรก | 600 350 800 | 600 350 800 | 600 350 800 | 600 350 800 | 600 350 800 | - - - |
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
- ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอยา่ งละ 1.9.2.3 เทคนิค Hydride Generation - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอยา่ งละ หมายเหตุ 1. วิเคราะห์ภายใต้สภาวะเดียวกัน 2. อัตรานี้ไม่รวมการเตรียมตัวอยา่ ง | 500 1,000 800 | 500 1,000 800 | 500 1,000 800 | 500 1,000 800 | 500 1,000 800 | - - - |
1.10 เครื่องย่อยสารด้วยคลื่นไมโครเวฟ (Microwave Digester) 1.10.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | ||||||
1.10.1.1 ย่อยตัวอยา่ งปริมาตร 10 mL | 200 | 300 | 400 | 500 | 160 | 160 |
1.10.1.2 ย่อยตัวอยา่ งปริมาตร 35 mL | 250 | 375 | 500 | 625 | 200 | 200 |
1.10.1.3 ย่อยตัวอยา่ งแบบ Low Temperature (จํานวน 24 Vessels) | 600 | 900 | 1,200 | 1,500 | 480 | 480 |
1.10.1.4 ย่อยตัวอยา่ งแบบ High Temperature (จํานวน 12 Vessels) 1.10.2 ค่าย่อยตัวอย่าง (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 800 200 | 1,200 200 | 1,600 200 | 2,000 200 | 640 200 | 640 - |
1.11 เครื่องวิเคราะห์ปริมาณโลหะด้วยเทคนิคอินดักทีฟลี่คับเพิลพลาสมา- ออฟติคอลอิมิสชันสเปคโทรเมทรี (Inductively Coupled Plasma-Optical Emission Spectrometry, ICP-OES) | ||||||
1.11.1 เปิดเครื่อง (บาทต่อครั้ง) | 350 | 350 | 350 | 350 | 350 | 350 |
1.11.2 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 600 | 900 | 1,200 | 1,500 | 480 | 480 |
1.11.3 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอย่าง) 1.11.3.1 วิเคราะห์เชิงคุณภาพ - ตัวอย่างแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ 1.11.3.2 วิเคราะห์เชิงปริมาณ | 1,800 500 | 1,800 500 | 1,800 500 | 1,800 500 | 1,800 500 | - - |
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
กรณี 1 – 10 ธาตุ - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอยา่ งละ กรณี 10 ธาตุ ขึ้นไป - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอยา่ งละ หมายเหตุ 1. วิเคราะห์ภายใต้สภาวะเดียวกัน 2. อัตรานี้ไม่รวมการเตรียมตัวอยา่ ง | 1,500 500 1,800 500 | 1,500 500 1,800 500 | 1,500 500 1,800 500 | 1,500 500 1,800 500 | 1,500 500 1,800 500 | - - - - |
1.12 เครื่องวิเคราะห์พลังงานความร้อน (Bomb Calorimeter) 1.12.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 1.12.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอย่าง) - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ | 100 800 400 | 150 800 400 | 200 800 400 | 250 800 400 | 80 800 400 | 80 - - |
1.13 เครื่องวิเคราะห์พื้นที่ผิวและขนาดของรูพรุน (Surface Area and Pore Size Analyzer) | ||||||
1.13.1 เตรียมตัวอย่าง (บาทต่อครั้ง) | 500 | 500 | 500 | 500 | 500 | 500 |
1.13.2 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 1.13.3 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอย่าง) 1.13.3.1 วิเคราะห์พื้นที่ผิว ตัวอย่างละ 1.13.3.2 วิเคราะห์ขนาดของรูพรุน ตัวอยา่ งละ 1.13.3.3 วิเคราะห์พื้นที่ผิวและขนาดของรูพรุน ตัวอย่างละ | 450 1,000 500 1,500 | 675 1,000 500 1,500 | 900 1,000 500 1,500 | 1,125 1,000 500 1,500 | 360 1,000 500 1,500 | 360 - - - |
1.14 เครื่องวิเคราะห์หาปริมาณไนโตรเจนและโปรตีน (Nitrogen/Protein Analyzer) 1.14.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 75 | 110 | 150 | 190 | 60 | 60 |
1.14.1.1 เครื่องย่อยไนโตรเจน |
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
1.14.1.2 เครื่องกลั่นไนโตรเจน 1.14.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอย่าง) - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ | 150 500 400 | 225 500 400 | 300 500 400 | 375 500 400 | 120 500 400 | 120 - - |
1.15 เครื่องวิเคราะห์องค์ประกอบทางโครงสร้างเคมีของสารด้วยเทคนิคฟูเรียร์ ทรานส์ฟอร์มเนียร์อินฟราเรดสเปคโทรสโกปี (Fourier Transform Near Infrared Spectroscopy, FT-NIR) 1.15.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 1.15.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอย่าง) - ตัวอย่างแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอยา่ งละ หมายเหตุ 1. สารมาตรฐานต้องเตรียมมาเอง 2. วิเคราะห์ภายใต้สภาวะเดียวกัน 3. อัตรานี้ไม่รวมการเตรียมตัวอยา่ ง 4. กรณีต้องการหาสภาวะการวิเคราะห์ให้คิดอัตราการวิเคราะห์แบบ “อัตราบาทต่อชั่วโมง” | 100 400 200 | 150 400 200 | 200 400 200 | 250 400 200 | 80 400 200 | 80 - - |
1.16 เครื่องวิเคราะห์องค์ประกอบทางโครงสร้างเคมีของสารด้วยเทคนิคฟูเรียร์ ทรานส์ฟอร์มอินฟราเรดสเปคโทรสโกปี (Fourier Transform Infrared Spectroscopy, FT-IR) 1.16.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 1.16.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอย่าง) 1.16.2.1 วิเคราะห์ด้วย KBr - ตัวอย่างแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอยา่ งละ | 100 200 100 | 150 200 100 | 200 200 100 | 250 200 100 | 80 200 100 | 80 - - |
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
1.16.2.2 วิเคราะห์ด้วย ATR - ตัวอย่างแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอยา่ งละ | 100 50 | 100 50 | 100 50 | 100 50 | 100 50 | - - |
1.17 เครื่องวิเคราะห์ขนาดอนุภาคและศักย์ซีต้า (Zetasizer) 1.17.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 1.17.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอย่าง) 1.17.2.1 วัดขนาดอนุภาค - ตัวอย่างแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ 1.17.2.2 วัดศักย์ซีต้า - ตัวอย่างแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ หมายเหตุ * ราคานี้รวมเซลล์สําหรับวิเคราะห์ตัวอย่างแล้ว | 75 400 200 900* 100 | 110 400 200 900* 100 | 150 400 200 900* 100 | 190 400 200 900* 100 | 60 400 200 900* 100 | 60 - - - - |
1.18 เครื่องตรวจวัดทางเคมีไฟฟ้า (Potentiostat/Galvanostat/Impedance Analyzer) 1.18.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 1.18.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอย่าง) 1.18.2.1 วิเคราะห์ด้วยเทคนิค Voltammetry วิเคราะห์เชิงคุณภาพ - ตัวอย่างแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอยา่ งละ วิเคราะห์เชิงปริมาณ (ประเมินจากการใช้งานจริง) 1.18.2.2 วิเคราะห์ด้วยเทคนิค Electrochemical Impedance Spectroscopy (EIS) - ตัวอย่างแรก | 50 200 100 200 | 75 200 100 200 | 100 200 100 200 | 125 200 100 200 | 40 200 100 200 | 40 - - - |
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
- ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ 1.18.2.3 วิเคราะห์การกัดกร่อน - ตัวอย่างแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ หมายเหตุ 1. การวิเคราะห์เชิงปริมาณให้คิดอัตราการวิเคราะห์แบบ “อัตรา บาทต่อชั่วโมง” 2. สารมาตรฐานต้องเตรียมมาเอง 3. อัตราค่าบริการ (บาทต่อชั่วโมง) ยังไม่รวมค่าแก๊ส | 100 1,000 500 | 100 1,000 500 | 100 1,000 500 | 100 1,000 500 | 100 1,000 500 | - - - |
1.19 เครื่องวัดการเรืองแสงของสาร (Spectrofluorometer) 1.19.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 1.19.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอย่าง) 1.19.2.1 วิเคราะห์เชิงคุณภาพ - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ 1.19.2.2 วิเคราะห์เชิงปริมาณ - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ หมายเหตุ 1. สารมาตรฐานต้องเตรียมมาเอง 2. วิเคราะห์ภายใต้สภาวะเดียวกัน | 75 250 125 500 250 | 110 250 125 500 250 | 150 250 125 500 250 | 190 250 125 500 250 | 60 250 125 500 250 | 60 - - - - |
1.20 เครื่องวัดการดูดกลืนแสงช่วงยูวี-วสิเบิล (UV-Visible Spectrophotometer) 1.20.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 1.20.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอย่าง) 1.20.2.1 วิเคราะห์เชิงคุณภาพ (scan λ max) - ตัวอยา่ งแรก | 50 200 | 75 200 | 100 200 | 125 200 | 40 200 | 40 - |
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
- ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ 1.20.2.2 วิเคราะห์เชิงปริมาณ - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ หมายเหตุ 1. สารมาตรฐานต้องเตรียมมาเอง 2. วิเคราะห์ภายใต้สภาวะเดียวกัน | 100 400 200 | 100 400 200 | 100 400 200 | 100 400 200 | 100 400 200 | - - - |
1.21 เครื่องวัดความขุ่นและคลอรีน (Turbidity and Free/Total Chlorine Meter) 1.21.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 1.21.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอย่าง) | 25 200 | 40 200 | 50 200 | 60 200 | 20 200 | 20 - |
2. บริการงานวิเคราะห์โปรตีน | ||||||
2.1 เครื่องขยายปริมาณสารพันธกุ รรมชนิดปฏิกิริยาจริงอัตโนมัติ (Real Time PCR Machine) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 150 | 225 | 300 | 375 | 120 | 120 |
2.2 เครื่องเคลื่อนย้ายสารพันธุกรรมและโปรตีนแบบกึ่งแห้ง (Semi Dry Blotter) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 50 | 75 | 100 | 125 | 40 | 40 |
2.3 เครื่องถ่ายภาพและวิเคราะห์สารพันธุกรรม (Gel-Documentation) 2.3.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 2.3.2 ค่าวิเคราะห์ต่อตัวอย่าง (บาทต่อแผ่นเจล) | 50 50 | 75 50 | 100 50 | 125 50 | 40 50 | 40 - |
2.4 เครื่องเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรม (PCR Machine) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 75 | 110 | 150 | 190 | 60 | 60 |
2.5 เครื่องวัดการดูดกลืนแสงชนิดนาโน (Nano Drop) 2.5.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 2.5.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอย่าง) | 50 100 | 75 100 | 100 100 | 125 100 | 40 100 | 40 - |
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
2.6 เครื่องแยกสารพันธุกรรมและโปรตีนด้วยกระแสไฟฟ้า (Gel Electrophoresis) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 25 | 40 | 50 | 60 | 20 | 20 |
3. บริการงานวิเคราะห์ทางกล้องจุลทรรศน์ | ||||||
3.1 กล้องจุลทรรศน์แรงอะตอม (Atomic Force Microscope, AFM) 3.1.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 3.1.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) - วิเคราะห์ด้วย Contact Cantilever - วิเคราะห์ด้วย Non-Contact Cantilever | 150 500 500 | 225 500 500 | 300 500 500 | 375 500 500 | 120 500 500 | 120 - - |
3.2 กล้องจุลทรรศน์ 3 กระบอกตา เทคนิคฟลูออเรสเซนต์สําหรับ FISH (Trinocular Fluorescence in Situ Hybridization Microscope) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 100 | 150 | 200 | 250 | 80 | 80 |
3.3 กล้องจุลทรรศน์ 3 กระบอกตา สําหรับการจัดเรียงโครโมโซม (Trinocular Microscope with Chromosomal Karyotyping) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 100 | 150 | 200 | 250 | 80 | 80 |
3.4 กล้องจุลทรรศน์สําหรับงานพื้นมืด (Dark Field Microscope) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 50 | 75 | 100 | 125 | 40 | 40 |
3.5 กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (Bright Field Microscope) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 50 | 75 | 100 | 125 | 40 | 40 |
3.6 กล้องจุลทรรศน์หัวกลับ (Inverted Microscope) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 75 | 110 | 150 | 190 | 60 | 60 |
4. บริการงานวิเคราะห์ทางกายภาพ | ||||||
4.1 เครื่องไมโครเพลทรีดเดอร์ (Microplate Reader) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 50 | 75 | 100 | 125 | 40 | 40 |
4.2 เครื่องวิเคราะห์ความหนืด (Viscometer) |
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
4.2.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 4.2.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 50 200 | 75 200 | 100 200 | 125 200 | 40 200 | 40 - |
4.3 เครื่องวัดความหนืดแบบรวดเร็ว (Rapid Visco Analyzer) 4.3.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 4.3.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 50 300 | 75 300 | 100 300 | 125 300 | 40 300 | 40 - |
4.4 เครื่องวัดลักษณะเนื้อสัมผัส (Texture Analyzer) 4.4.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 4.4.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 50 150 | 75 150 | 100 150 | 125 150 | 40 150 | 40 - |
4.5 เครื่องวัดสี (Color Meter) 4.5.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 4.5.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 50 100 | 75 100 | 100 100 | 125 100 | 40 100 | 40 - |
4.6 เครื่องวิเคราะห์หาความชื้นโดยใช้รังสีอินฟาเรด (Infrared Moisture Analyzer) 4.6.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 4.6.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 50 100 | 75 100 | 100 100 | 125 100 | 40 100 | 40 - |
5. บริการงานทดสอบตัวอย่างอาหารและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร | ||||||
5.1 เครื่องวัดปริมาณน้ํา (Water Activity Meter) 5.1.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 5.1.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 50 100 | 75 100 | 100 100 | 125 100 | 40 100 | 40 - |
5.2 เครื่องวิเคราะห์องค์ประกอบน้ํานม (Milk Analyzer) 5.2.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 5.2.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 75 250 | 110 250 | 150 250 | 190 250 | 60 250 | 60 - |
5.3 เครื่องวัดความขาวของข้าว (Rice Whiteness Tester) 5.3.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 5.3.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 50 100 | 75 100 | 100 100 | 125 100 | 40 100 | 40 - |
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
5.4 เครื่องวัดความขาวของแป้ง (Powder Whiteness Tester) 5.4.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 5.4.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 50 100 | 75 100 | 100 100 | 125 100 | 40 100 | 40 - |
5.5 เครื่องวัดความชื้นของเมล็ดธัญพืชแบบไม่ทําลายตัวอยา่ ง (Grain Moisture Meter) 5.5.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 5.5.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 50 100 | 75 100 | 100 100 | 125 100 | 40 100 | 40 - |
5.6 เครื่องวัดขนาดและความผิดปกติของเมล็ดธัญพืช (Seed Counter) 5.6.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 5.6.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 100 200 | 150 200 | 200 200 | 250 200 | 80 200 | 80 - |
5.7 เครื่องทําตัวอย่างให้แห้ง (Fluidized Bed Dryer) 5.7.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 5.7.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 75 100 | 110 100 | 150 100 | 190 100 | 60 100 | 60 - |
5.8 เครื่องวิเคราะห์ปริมาณเยื่อใย (Fiber Analyzer) 5.8.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 5.8.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) - ตัวอย่างแรก - ตัวอย่างที่ 2 ขึ้นไป ตัวอยา่ งละ | 125 800 600 | 190 800 600 | 250 800 600 | 310 800 600 | 100 800 600 | 100 - - |
6. บริการงานทดสอบด้านเทคโนโลยีการยางและพอลิเมอร์ | ||||||
6.1 เครื่องวัดความต้านทานต่อการขัดถู Akron 6.1.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 6.1.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 50 800 | 75 800 | 100 800 | 125 800 | 40 800 | 40 - |
6.2 เครื่องทดสอบการสึกหรอของยางแบบ DIN 6.2.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 6.2.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 50 400 | 75 400 | 100 400 | 125 400 | 40 400 | 40 - |
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
6.3 เครื่องวัดความต้านทานแรงกระแทก (Impact strength tester) 6.3.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 6.3.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 50 300 | 260 300 | 100 300 | 440 300 | 40 300 | 40 - |
6.4 เครื่องวัดการกระจายตัวของเขม่าดํา (Carbon black dispersion grader) 6.4.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 6.4.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 50 400 | 75 400 | 100 400 | 125 400 | 40 400 | 40 - |
6.5 เครื่องอัดรีดสกรูเดี่ยว (Single screw extruder) 6.5.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 6.5.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 150 400 | 225 400 | 300 400 | 375 400 | 120 400 | 120 - |
6.6 เครื่องบดผสมยางแบบปิด (Internal mixer) 6.6.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 6.6.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 200 400 | 300 400 | 400 400 | 500 400 | 160 400 | 160 - |
6.7 เครื่องวัดความหนืดมูนนี่ (Mooney viscometer) 6.7.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 6.7.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 100 400 | 150 400 | 200 400 | 250 400 | 80 400 | 80 - |
6.8 บริการบดผสมยาง 6.8.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 6.8.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 200 500 | 300 500 | 400 500 | 500 500 | 160 500 | 160 - |
6.9 บริการหาเวลาในการขึ้นรูป 6.9.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 6.9.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 150 400 | 225 400 | 300 400 | 375 400 | 120 400 | 120 - |
6.10 บริการขึ้นรูปยางวัลคาไนซ์ 6.10.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 6.10.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอย่าง) | 150 200 | 260 200 | 300 200 | 440 200 | 120 200 | 120 - |
7. บริการงานเตรียมตัวอย่างและทดสอบทั่วไป |
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
7.1 เครื่องปั่นเหวี่ยงประสิทธิภาพสูงยิ่งยวดแบบตั้งพื้น (Ultracentrifuge) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 75 | 110 | 150 | 190 | 60 | 60 |
7.2 เครื่องทําแห้งแบบพ่นฝอย (Mini Spray Dryer) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 75 | 110 | 150 | 190 | 60 | 60 |
7.3 เครื่องชั่ง 6 ตําแหน่ง (Micro Balance) 7.3.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 7.3.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 50 50 | 75 50 | 100 50 | 125 50 | 40 50 | 40 - |
7.4 เครื่องเตรียมเนื้อเยื่อ (Embedding) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 25 | 40 | 50 | 60 | 20 | 20 |
7.5 เครื่องทําแห้งภายใต้ความเย็นและสุญญากาศ (Freeze Dryer) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 50 | 75 | 100 | 125 | 40 | 40 |
7.6 เครื่องทําให้เซลล์แตกโดยใช้ความดันสูง (High Pressure Homogenizer) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 50 | 75 | 100 | 125 | 40 | 40 |
7.7 เครื่องไมโครเอนแคปซูเลเตอร์ (Microencapsulater) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 75 | 110 | 150 | 190 | 60 | 60 |
7.8 เครื่องกลั่นระเหยแบบหมุนสุญญากาศ (Rotary Evaporator) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 50 | 75 | 100 | 125 | 40 | 40 |
7.9 เครื่องสกัดไขมัน (Fat Extraction) 7.9.1 ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 7.9.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอยา่ ง) | 50 400 | 75 400 | 100 400 | 125 400 | 40 400 | 40 - |
7.10 ตู้ชีวนิรภัย (Biological cabinet) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 25 | 40 | 50 | 60 | 20 | 20 |
7.11 ตู้แช่แข็งอุณหภูมิติดลบ (Deep Freezer) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 25 | 40 | 50 | 60 | 20 | 20 |
7.12 ตู้บ่มเชื้อ (Ambient Incubator) | 25 | 40 | 50 | 60 | 20 | 20 |
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | ||||||
7.13 ตู้บ่มเชื้อแบบควบคุมอุณหภูมิต่ําได้ (Refrigerated Incubator) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 25 | 40 | 50 | 60 | 20 | 20 |
7.14 ตู้บ่มเพาะเชื้อภายใต้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon Dioxide Incubator) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 35 | 50 | 70 | 90 | 28 | 28 |
7.15 ตู้เย็น -40 องศาเซลเซียส (Deep Freezer -40 °C) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 25 | 40 | 50 | 60 | 20 | 20 |
7.16 ตู้อบลมร้อน (Hot Air Oven) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 25 | 40 | 50 | 60 | 20 | 20 |
7.17 เตาเผาอุณหภูมิสูง (Chamber Furnace: อุณหภูมิสูงสุด 1,100 °C ) | ||||||
7.17.1 ค่าบริการเครื่องมือ - เปิดเครื่อง (บาทต่อครงั้ ) | 450 | 450 | 450 | 450 | 450 | 450 |
- ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 7.17.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอย่าง) - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ | 100 700 200 | 150 700 200 | 200 700 200 | 250 700 200 | 80 700 200 | 80 - - |
7.18 เตาเผาอุณหภูมิสูงแบบท่อ (Tube Furnace: อุณหภูมิสูงสุด 1,500 °C) | ||||||
7.18.1 ค่าบริการเครื่องมือ - เปิดเครื่อง (บาทต่อครงั้ ) | 450 | 450 | 450 | 450 | 450 | 450 |
- ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) 7.18.2 ค่าวิเคราะห์ (บาทต่อตัวอย่าง) - ตัวอยา่ งแรก - ตัวอยา่ งที่ 2 ขึ้นไป ตัวอย่างละ | 125 900 200 | 190 900 200 | 250 900 200 | 310 900 200 | 100 900 200 | 100 - - |
7.19 เครื่องบ่มเขย่าแบบควบคุมอุณหภมิ (Incubator Shaker) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 25 | 40 | 50 | 60 | 20 | 20 |
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
7.20 เครื่องนึ่งฆ่าเชื้อด้วยไอน้ํา (Autoclave) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 50 | 75 | 100 | 125 | 40 | 40 |
7.21 ตู้ปลอดเชื้อ (Biosafety Cabinet ) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 25 | 40 | 50 | 60 | 20 | 20 |
7.22 ตู้ปลอดเชื้อปล่อยลมแนวนอน (Horizontal Laminar Air Flow) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 25 | 40 | 50 | 60 | 20 | 20 |
7.23 เครื่องปั่นเหวี่ยงควบคุมอุณหภูมิ (Refrigerated Centrifuge) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 25 | 40 | 50 | 60 | 20 | 20 |
7.24 เครื่องวัดความนําไฟฟ้า (Conductivity) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | 25 | 40 | 50 | 60 | 20 | 20 |
7.25 เครื่องกวนให้ความร้อน (Hot Plate Stirrer) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | - | - | - | - | - | - |
7.26 เครื่องเขย่าแบบวงกลม (Orbital Multi Shaker) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | - | - | - | - | - | - |
7.27 เครื่องเขย่าสาร (Vortex Mixer) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | - | - | - | - | - | - |
7.28 เครื่องเขย่าสารโดยใช้เสียงความถี่สูง (Ultrasonic Sonicator) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | - | - | - | - | - | - |
7.29 เครื่องควบคุมอุณหภูมิแบบแห้ง (Heating Block) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | - | - | - | - | - | - |
7.30 เครื่องบด (Grinder) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | - | - | - | - | - | - |
7.31 เครื่องวัดกรดด่าง (pH Meter) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | - | - | - | - | - | - |
7.32 เครื่องหลอมพาราฟิน (Paraffin Dispenser) | - | - | - | - | - | - |
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | บุคลากร ภายใน | เครือข่ายเครื่องมือ วิทยาศาสตร์ประเทศไทย | มหาวิทยาลัยอื่นๆและ หน่วยงานราชการ | บุคคลภายนอกและ หน่วยงานเอกชน | บุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิงานให้กับศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ | การเรียนการสอน |
ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | ||||||
7.33 เครื่องเหวี่ยงสารให้ตกตะกอน (Centrifuge) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | - | - | - | - | - | - |
7.34 เครื่องโฮโมจิไนเซอร์ (Homogenizer) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | - | - | - | - | - | - |
7.35. อ่างอัลตร้าโซนิก (Ultrasonic Bath) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | - | - | - | - | - | - |
7.36 อ่างควบคุมอุณหภูมิ (Water Bath) ค่าบริการเครื่องมือ (บาทต่อชั่วโมง) | - | - | - | - | - | - |
8. บริการอื่นๆ | ||||||
8.1 น้ําปราศจากไอออน (Deionized Water) (บาทต่อลิตร) | 20 | 40 | 40 | 40 | 20 | 20 |
8.2 น้ํากลั่น (Distilled Water) (บาทต่อลิตร) | 10 | 20 | 20 | 20 | 10 | 10 |
8.3 ไนโตรเจนเหลว (Liquid Nitrogen) (บาทต่อกิโลกรัม) | 50 | 50 | 50 | 50 | 50 | 50 |
8.4 ห้องประชุม | ||||||
8.4.1 ห้องประชุม 60 ที่นั่ง | ||||||
- ค่าบริการ (บาทต่อชั่วโมง) | 100 | 200 | 200 | 200 | 100 | 100 |
- ค่าบริการ (บาทต่อวัน) | 600 | 1,200 | 1,200 | 1,200 | 600 | 600 |
8.4.2 ห้องประชุม 200 ที่นั่ง | ||||||
- ค่าบริการ (บาทต่อชั่วโมง) | 300 | 600 | 600 | 600 | 300 | 300 |
- ค่าบริการ (บาทต่อวัน) | 2,000 | 4,000 | 4,000 | 4,000 | 2,000 | 2,000 |
หมายเหตุ กรณีใช้บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ (บาทต่อชั่วโมง)
1. ผู้ขอรับบริการต้องทดสอบและวิเคราะห์ด้วยตนเอง โดยผ่านการสอนใช้งานเครื่องมือวิทยาศาสตร์จากนักวิทยาศาสตร์ประจําศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์หรือผู้เชี่ยวชาญจนสามารถใช้งานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
2. อัตราค่าบริการไม่รวมสารเคมีและวัสดุวิทยาศาสตร์
3. กรณีใช้งานเครื่องมือวิทยาศาสตร์นอกเหนือเวลาราชการ คิดอัตราเพิ่มขึ้น 2 เท่าจากอัตราที่ประกาศ
ตารางที่ 4.6 รายการจุดชํารุดดําเนินการซ่อมแซมของอาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
ลําดับ | ห้อง | สาเหตุ |
1 | ห้องสํานักงาน | เพดานรั่ว |
2 | CTB 101 FCU-163-105-101 | เครื่องปรับอากาศเปิดไม่ตดิ |
3 | CTB 205 เครื่องปรับอากาศ | เครื่องปรับอากาศเปิดไม่ตดิ |
4 | CTB 113 (ห้องคณะเกษตร) | หลอดไฟไม่ติด 1 หลอด |
5 | CTB 113 (ห้องคณะเกษตร) | ฝ้าทะลุ |
6 | CTB 114 (ห้องคณะเกษตร) | น้ํารั่วซึม ฝ้าเพดาน |
7 | CTB 115 ห้องประชุมย่อย | หลอดไฟไม่ติด 3 หลอด |
8 | CTB 116 (ห้องคณะวิทย์) | ฝ้าทะลุ น้ํารั่วซึม เพดานถูกเจาะ |
9 | CTB 121 (ห้องคณะวิศวฯ) | ห้องอ่างล้างเครื่องแก้ว ฝ้าเพดานมีคราบน้ํา |
10 | ห้องน้ําชาย ชั้น 1 ด้านหน้าตึก | ฝ้าทะลุ |
11 | CTB 117 | ล๊อคกุญแจไม่ได้ น้ํามันไหลออก |
12 | ห้องครัวอุทยาน | มีน้ําไหล กระจกไม่มีซิลโคน |
13 | CTB 124 wash room | มีคราบน้ํา |
14 | ห้องตรงข้าม NMR RM0 | เพดานทะลตรงโคมไฟ |
15 | ประตูทางออกฝั่งถังไนโตรเจน | มีน้ํามันรั่วซึม |
16 | CTB 233 Glass store Rm. | ประตูเปิดปิดยาก บานกระจกไม่มซิลิโคล |
17 | ห้อง glass washer RM CTB 232 | ฝ้ามีรอยคราบน้ํา |
18 | ห้องน้ําชาย ชั้น 2 ด้านหน้าตึก | ฝ้าชํารุด |
19 | CTB 211 Foyer room | ระบบไฟไม่มีเบรกเกอร์ทิป |
20 | CTB 218 ชีวสมมูล | ฝ้ามีรอยคราบน้ํา |
21 | CTB 219 อณูชีววิทยา | น้ําไหลจากเครื่องแอร์ |
22 | CTB 221 Centrifuge RM. | เครื่องปรับอากาศเปิดไม่ตดิ คอมเพรสเซอร์ไม่ทํางาน |
23 | CTB 227 Automate DNA | เครื่องปรับอากาศเสียงดัง |
24 | CTB 239 virus Lab | คอมเพรสเซอร์เครื่องปรับอากาศไม่ทํางาน |
25 | CTB 238 Air lock | ประตูเปิดปิดยาก |
26 | CTB 226 Flow RM. | ฝ้ามีรอยคราบน้ํา |
27 | CTB 223 ห้องเก็บสารเคมี | วาล์วน้ําไม่มีช่อง service |
28 | ทางเดินชั้น 2 | หลอดไฟไม่ติด |
29 | หน้าลิฟต์ชั้น 3 | หลอดไฟไม่ติด |
30 | CTB 312 A, B INTRU RM. | ฝ้ามีรอยคราบน้ํา |
31 | CTB 313 ห้องพักนักวิจัย | ฝ้าชํารุด |
32 | CTB 315 | เครื่องปรับอากาศ FCU 326 และ 322 เสียงดัง |
33 | CTB 318 ห้องน้ํากลั่น | ท่อน้ําทิ้งอุดตัน |
34 | ห้องน้ําชายชั้น 3 | ฝ้าทะลมีคราบน้ํา |
ลําดับ | ห้อง | สาเหตุ |
35 | CTB 320 FTIR | ฝ้าทะลมีคราบน้ํา |
36 | CTB 307 Chromatography | น้ําไหลลงกล่องไฟ |
37 | CTB 307 Chromatography | กระจกไม่แน่น |
38 | CTB 313 ห้องพักนักวิจัย | ฝ้ามีรอยคราบน้ํา |
39 | ไฟสปอตไลท์ ส่องป้าย | ชํารุด |
40 | ปั้มน้ําชั้น 1 | ดูดปั๊มน้ําไม่ขึ้น |
41 | ประตูบานสวิสซ์ หน้าห้อง LC MS | เปิด/ปิด ยาก |
42 | ท่อน้ําชั้นใต้ดิน | น้ํารั่วซึม |
43 | ท่อน้ําก่อนลงตัวพัก | น้ํารั่วซึม |
44 | ห้องใต้ดินบริเวณร้านกาแฟ | ระบบน้ําทิ้งชํารุด |
45 | ห้องประชุม CTB 202 | หน้าต่างไมส่ ามารถปิดสนิท ทําให้ฝนสาด |
46 | ห้องประชุม CTB 203 | หน้าต่างไมส่ ามารถปิดสนิท ทําให้ฝนสาด |
47 | ห้องประชุม CTB 204 | หน้าต่างไมส่ ามารถปิดสนิท ทําให้ฝนสาด |
48 | ห้องประชุม CTB 204 | เพดานและหน้าต่างมีน้ํารั่วซึม |
49 | ห้องประชุม CTB 205 | หน้าต่างไมส่ ามารถปิดสนิท ทําให้ฝนสาด |
50 | CTB 205 | หลอดไฟไม่ติดจํานวน 2 หลอด |
51 | CTB 209 ห้องเครื่องชั่ง | หลอดไฟไม่ติดจํานวน 2 หลอด |
52 | CTB 216 | อ่างน้ําสแตนเลสมีคราบน้ํา ท่อน้ําทิ้งอุดตัน |
53 | CTB 235 Freeze dyer | ประตูเปิดปิดยาก |
54 | ห้องพักนักวิจัยชั้น 2 | ไฟปลีกไม่มีเบรกเกอร์ทิป ตู้ LP2-3-ลูกที่ 18 |
4.2.9 ประสานงานการปรับปรุงศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ระยะ ที่ 2” ประสานงานการปรับปรุงศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ระยะ ที่ 2” กับสํานักงานบริหารกายภาพและ
สิ่งแวดล้อมผู้ควบคุมการดําเนินงาน ให้บริษัทผู้รับเหมาเข้ามาประเมินงานภายในและภายนอกอาคารศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์โดยมีรายงานการปรับปรุง ดังตารางที่ 4.7
(7) งานก่อสร้างหลังคาคลุมถังไนโตรเจนเหลว
(8) งานซ่อมแซมรอยรั่วภายในอาคาร
(9) งานปรับปรุงห้องปฏิบัติการเกษตรอินทรีย์ (10)งานปรับปรุงห้องปฏิบัติงานผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายปฏิบัติการวิจัย (11)งานติดตั้งวัสดุกรองแสง
(12)งานก่อสร้างทางเดิน คอนกรีต
ตารางที่ 4.7 การปรับปรุงศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ระยะ ที่ 2
ลําดับ | รายการ | รูปภาพประกอบ | เหตุผลความจําเป็น |
1 | หมวด A งานก่อสร้างหลังคา คลุมถังไนโตรเจนเหลว | ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ได้เปิด ให้บริการไนโตรเจนเหลวสําหรับบุคลากร ภายในและบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย โดยมี การติดตั้งบริเวณด้านนอกอาคาร ดังนั้นการเก็บรักษาไนโตรเจนเหลวในถังที่ ติดตั้งบริเวณกลางแจ้งพบว่าความร้อนของ แสงแดดมผี ลต่อการเพิ่มอัตราการระเหยของ ไนโตรเจนเหลวทําให้เกิดการสูญเสียมาก เกินไป อีกทั้งการเติมใช้ระยะเวลานานและ สภาพอากาศส่งผลกระทบต่อการให้บริการ เติมไนโตรเจนเหลวของบุคลากร | |
2 | หมวด B งานซ่อมแซมรอยรั่ว ภายในอาคาร | ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ มีพันธกิจหลัก ในการให้บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการสอน การวิจัยและการ บริการวิชาการของบุคลากรมหาวิทยาลัย และ บุคลภายนอก ตั้งแต่ปี 2555-2561 โดยศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ได้รับ จัดสรรงบประมาณ ในการจัดซื้อเครื่องมือ วิทยาศาสตร์รวมทั้งสิ้น 265 เครื่อง (คิดเป็น เงินทั้งสิ้น 121,759,606 บาท) ซึ่งเป็นมูลค่า สูง จําเป็นต้องมีการซ่อมแซมเพดานที่เกิดจาก รอยรั่วของน้ําภายในอาคารศูนย์เครื่องมือ วิทยาศาสตร์ที่อาจจะก่อให้เกิดความเสยหาย กับเครื่องมือวิทยาศาสตร์ | |
3 | หมวด C งานปรับปรุง ห้องปฏิบัติการเกษตร อินทรีย์ | ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ได้วางแผน เสนอของบบูรณาการ ประจําปีงบประมาณ 2563 เพื่อเตรียมการจัดตั้งหน่วยบริการ ตรวจสอบมาตรฐานคุณภาพและมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่สามารถให้บริการ วิเคราะห์คุณภาพสินค้าตามมาตรฐานสากลทั้ง หน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย อุบลราชธานี จึงมีความจําเป็นต้องปรับปรุง ห้องดังกล่าวให้เหมาะสมต่อการปฏิบัติงาน เพื่อรองรับการให้บริการตรวจสอบผลตภณั ฑ์ ทางการเกษตรจากบุคลากรภายใน และ บุคคลภายนอกมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี |
4 | หมวด D งานปรับปรุงห้อง ปฏิบัติงานผู้ช่วย อธิการบดีฝ่าย ปฏิบัติการวิจัย | ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ เป็นอาคาร 3 ชั้น โดยชั้นที่ 1 เป็นส่วนของสํานักงานและ ห้องของหน่วยงานต่างๆ ชั้น 2 และ 3 จัดเป็น ห้องสําหรับติดตั้งเครื่องมือวิทยาศาสตร์ ปัจจุบัน ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ มี เครื่องมือวิทยาศาสตรจํานวนมาก ทําให้ไม่มี ห้องและพื้นที่ที่เพียงพอต่อการให้บริการ ประกอบกับปีงบประมาณ 2561 มีการติดตั้ง กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบสองกราด (FESEM) จึงเป็นผลให้มีความต้องการห้องเพิ่ม สําหรับติดตั้งเครื่องมือและอุปกรณ์ประกอบ ต่างๆ ดังนั้น เพื่อให้การดําเนินงานของศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ เป็นไปด้วยความ เรียบร้อย ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายปฏิบัติงานวิจัย จึงเห็นควรให้ห้อง SEC 134 ซึ่งเป็นห้อง ปฏิบัติงานของผู้ช่วยอธิการบดฝี ่ายปฏิบัติ งานวิจัยใช้ในการติดตั้งเครื่องมือวิทยาศาสตร์ และอุปกรณ์ประกอบต่างๆ เป็นผลให้ผู้ช่วย อธิการบดีฝ่ายปฏิบัติการวิจัยไม่มีห้องสําหรับ ปฏิบัติงาน จากการสํารวจห้องภายในอาคาร พบว่าในส่วนของห้องสํานักงานมีพื้นที่ไม่ เพียงพอจึงต้องมีการปรับปรุงพื้นที่ รวมถึงการ กั้นพื้นที่ให้เหมาะสมต่อการปฏิบัติงาน | |
5 | หมวด E งานติดตั้งวัสดุกรอง แสง | ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ มีความจําเป็น ที่จะต้องติดตั้งวัสดุกรองแสงในห้องปฏิบัติการ บริเวณชั้น 2 และ 3 เพื่อเป็นการควบคุม อุณหภูมิภายในห้องปฏิบัติการให้เป็นไปตาม มาตรฐานของห้องปฏิบัติการ ISO 17025 อีก ทั้ง ยังเป็นการยืดอายุการใช้งานของเครื่องมือ วิทยาวิทยาศาสตร์ที่ติดตั้งอยู่ในห้องปฏิบัติการ | |
6 | หมวด F งานก่อสร้างทางเดิน คอนกรีต | ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ เป็นอาคารที่ ก่อสร้างเพื่อรองรับการให้บริการ การ ดําเนินงานวิจัย ของนักศึกษา นักวิจัย คณาจารย์ในมหาวิทยาลัย และบุคลภายนอก มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี |