ผู้ออกใบสำคัญแสดงสิทธิและผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ สำหรับใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของ บริษัท อี ฟอร์ แอล เอม จำกัด (มหาชน) รุ่นที่ 4 สำหรับผู้ถือหุ้นเดิม (“EFORL-W4”)
ข้อกำหนดว่าด้วยxxxxxและหน้าที่ ของ
ผู้ออกใบสำคัญแสดงxxxxxและผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxx สำหรับใบสำคัญแสดงxxxxxxxxจะซื้อหุ้นสามัญของ บริษัท อี ฟอร์ xxx เอม จำกัด (มหาชน) รุ่นที่ 4 สำหรับผู้ถือหุ้นเดิม (“EFORL-W4”)
ข้อกำหนดว่าด้วยxxxxxและหน้าที่ของผู้ออกใบสำคัญแสดงxxxxxและผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxxxxจะซื้อหุ้น สามัญของบริษัท อี ฟอร์ xxx เอม จำกัด (มหาชน) รุ่นที่ 4 (EFORL-W4) พ.ศ 2560
ใบสำคัญแสดงxxxxxxxxจะซื้อหุ้นสามัญของ บริษัท อี ฟอร์ xxx เอม จำกัด (มหาชน) จำกัด รุ่นที่ 4 ออกโดย บริษัท อี ฟอร์ xxx เอม จำกัด (มหาชน) จำกัด (“บริษัท” หรือ “ผู้ออกใบสำคัญแสดงxxxxx”) ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำปี 2560 วาระที่ 9 เมื่อxxxxxx 7 เมษายน 2560
ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxจะได้รับxxxxxตามxxxxxxกําหนดไว้ในข้อกําหนดxxxxxโดยผู้ออกใบสําคัญแสดงxxxxxและผู้ถือ ใบสําคัญแสดงxxxxxจะต้องผูกพันตามข้อกําหนดxxxxxฉบับนี้ทุกประการ และให้xxxxxxผู้ถือใบสําคัญแสดงxxxxxxxxรับทราบและ เข้าใจข้อกําหนดต่างๆในข้อกําหนดxxxxxเป็นอย่างดีแล้วรวมxxxxxxxให้ความเห็นชอบกับการแต่งตั้งนายทะเบียนใบสำคัญแสดง xxxxx และข้อกำหนดต่างๆ ในสัญญาแต่งตั้งนายทะเบียนใบสำคัญแสดงxxxxxด้วย
ทั้งนี้ผู้ออกใบสําคัญแสดงxxxxxจะจัดให้มีการเก็บรักษาสําเนาข้อกําหนดxxxxxและสำเนาสัญญาแต่งตั้งนายทะเบียน ใบสำคัญแสดงxxxxxไว้ณสํานักงานใหญ่ของผู้ออกใบสําคัญแสดงxxxxx และสำนักงานใหญ่ของนายทะเบียนใบสำคัญแสดงxxxxx เพื่อให้ผู้ถือใบสําคัญแสดงxxxxxขอตรวจสอบสําเนาข้อกําหนดxxxxxxxxในวันและเวลาทําการของผู้ออกใบสําคัญแสดงxxxxx และ นายทะเบียนใบสำคัญแสดงxxxxx (แล้วแต่กรณี)
1. คําจํากัดความ
คําและข้อความต่าง ๆที่ใช้อยู่ในข้อกําหนดxxxxxฉบับนี้ให้มีความหมายดังต่อไปนี้
“ข้อกำหนดxxxxx” | หมายถึง | ข้อกําหนดว่าด้วยxxxxxและหน้าที่ของผู้ออกใบสําคัญแสดงxxxxx และผู้ถือใบสําคัญแสดงxxxxxxxxจะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท อี ฟอร์ xxx เอม จำกัด (มหาชน) รุ่นที่ 4 ตามมติที่ประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2560 วาระที่ 9 เมื่อxxxxxx 7 เมษายน 2560 (รวมถึงที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม (ถ้ามี)) |
“ใบสำคัญแสดงxxxxx” | หมายถึง | ใบสําคัญแสดงxxxxxxxxจะซื้อหุ้นสามัญของ บริษัท อี ฟอร์ xxx เอ ม จ ำ กั ด (ม ห าชน ) รุ่ x xxx 4 (“ EFORL-W4” ) ซึ่ ง มี รายละเอียดตามที่ระบุไว้ในข้อกำหนดxxxxx |
“ใบแทนใบสำคัญแสดงxxxxx” | หมายถึง | ใบแทนใบสำคัญแสดงxxxxxxxxจะซื้อหุ้นสามัญของ บริษัท อี ฟอร์ xxx เอม จำกัด (มหาชน) รุ่นที่ 4 ที่ออกให้โดยบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด |
“บริษัท” หรือ “ผู้ออกใบสำคัญแสดงxxxxx” | หมายถึง | บริษัท อี ฟอร์ xxx เอม จำกัด (มหาชน) |
“ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxx” | หมายถึง | ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxแต่ละหน่วยตามข้อ 3.3 |
“สมุดทะเบียนผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxx” หรือ “สมุดทะเบียน” | หมายถึง | สมุดทะเบียนหรือแหล่งข้อมูลทางทะเบียน ซึ่งบันทึก รายละเอียดเกี่ยวกับใบสําคัญแสดงxxxxxและผู้ถือใบสําคัญ แสดงxxxxx xxxเก็บรักษาโดยนายทะเบียนใบสําคัญแสดงxxxxx |
“xxxxxในใบสำคัญแสดงxxxxx” | หมายถึง | xxxxxทั้งปวงในใบสำคัญแสดงxxxxx ซึ่งรวมถึงแต่ไม่จำกัดเฉพาะ xxxxxในการจองซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxxของบริษัท xxxxxในการเข้า ร่วมประชุมและออกเสียงลงคะแนนในการประชุมผู้ถือ |
ใบสำคัญแสดงxxxxx และxxxxxในการได้รับค่าเสียหายในกรณี หุ้นรองรับxxxxxxxxxx | ||
“หุ้นรองรับ” | หมายถึง | หุ้นสามัญออกใหม่ของ บริษัท อี ฟอร์ xxx เอม จำกัด (มหาชน) จำนวนไม่เกิน 1,532,306,825 หุ้น ที่จัดไว้เพื่อ รองรับการใช้xxxxxตามใบสำคัญแสดงxxxxx รวมทั้งหุ้นสามัญที่ จะออกใหม่เพิ่มเติมในกรณีการปรับxxxxxภายใต้ข้อกำหนดxxxxx |
“xxxxxxออกใบสำคัญแสดงxxxxx” | หมายถึง | 2 มิถุนายน 2560 |
“วันกำหนดการใช้xxxxx” | ให้มีความหมายตามที่ระบุไว้ในข้อ 3.1 ของข้อกำหนดxxxxx | |
“วันกำหนดการใช้xxxxxครั้งสดท้าย” | ให้มีความหมายตามที่ระบุไว้ในข้อ 3.1 ของข้อกำหนดxxxxx | |
“วันทำการ” | หมายถึง | xxxxxxธนาคารพาณิชย์เปิดทำการตามxxxxในกรุงเทพมหานคร ซึ่งไม่ใช่วันเสาร์หรือวันxxxxxxx หรือวันอื่นใดที่ธนาคารแห่ง ประเทศไทยประกาศให้เป็นวันหยุดของธนาคารพาณิชย์ |
“ระยะเวลาแจ้งความxxxxในการใช้xxxxx” | หมายถึง | ระยะเวลาที่ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxซึ่งxxxxxxxจะใช้xxxxxใน การซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxxของบริษัท xxxxxxแจ้งความxxxxใน การใช้xxxxxตามใบสำคัญแสดงxxxxxxxxตามที่ระบุไว้ในข้อ 3.2 |
“การไม่xxxxxxยกเลิกการแจ้งxxxxxความ xxxxในการใช้xxxxx” | หมายถึง | เมื่อผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxxxxแจ้งความxxxxในการใช้xxxxxซื้อ หุ้นสามัญตามใบสำคัญแสดงxxxxxแล้ว ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxx จะไม่xxxxxxยกเลิกการแจ้งความxxxxในการใช้xxxxxดังกล่าว ได้อีกต่อไป |
“xxxxxxแห่งxxxxx” | หมายถึง | ผลลัพธ์ของผลคูณระหว่างราคาการใช้xxxxx กับอัตราการใช้ xxxxx |
“นายทะเบียนใบสำคัญแสดงxxxxx” หรือ “นายทะเบียน” | หมายถึง | นายทะเบียนของใบสำคัญแสดงxxxxxซึ่งได้แก่บริษัท ศูนย์รับ ฝากหลักทรัพย์(ประเทศไทย) จำกัด หรือบุคคลอื่นใดที่ คณะกรรมการบริษัทแต่งตั้งให้เป็นนายทะเบียนใบสำคัญแสดง xxxxx |
“ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์” | หมายถึง | บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด |
“สำนักงาน ก.ล.ต.” | หมายถึง | สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลกทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ |
“ตลาดหลักทรัพย์” | หมายถึง | ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย |
“SET PORTAL” | หมายถึง | ระบบเผยแพร่ข้อมูลของตลาดหลกทรัพย์ |
2. รายละเอียดของหลักทรัพย์ที่เสนอขาย
ใบสำคัญแสดงxxxxxเป็นใบสำคัญแสดงxxxxxxxxออกและเสนอขายตามประกาศ ทจ. 34/2551 บริษัทจะออกและเสนอขาย ใบสำคัญแสดงxxxxxxxxจะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท จำนวนไม่เกิน 1,532,306,825 หน่วย โดยจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัท ตามสัดส่วน (Right Offering) ควบคู่กับหุ้นสามัญxxxxxxxx โดยมีรายละเอียดดังนี้: ในการจัดสรรหุ้นสามัญxxxxxxxxตามวาระที่ 12 ของวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทประจำปี 2560 โดยผู้ถือหุ้นสามัญเดิม 3 หุ้นจะได้รับการจัดสรรหุ้นสามัญ
xxxxxxxxใหม่ 1 หุ้น (3 หุ้นสามัญเดิม :1 หุ้นสามัญใหม่) และผู้ที่ใช้xxxxxxxxซื้อหุ้นสามัญใหม่ 3 หุ้นจะได้รับxxxxxควบคู่กับ ใบสำคัญแสดงxxxxx 1 หน่วยโดยไม่คิดxxxxxx (3 หุ้นสามัญใหม่:1 ใบสำคัญแสดงxxxxx) ทั้งนี้การกำหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีxxxxx ซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxxตามสัดส่วนบริษัท กำหนดตามรายชื่อผู้ถือหุ้นที่ปรากฏในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น ณ xxxxxx 15 มีนาคม 2560
และรวบรวมรายชื่อตามมาตรา 225 ของพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 (รวมxxxxxxxมีการแก้ไข เพิ่มเติม) โดยวิธีปิดสมุดทะเบียนในxxxxxx 16 มีนาคม 2560 โดยมีลักษณะสำคัญของหลักทรัพย์ที่เสนอขาย ดังต่อไปนี้
2.1 ลักษณะสำคัญของหลักทรัพย์ทออกและเสนอขาย
ประเภทหลักทรัพย์ที่เสนอขาย | : | ใบสําคัญแสดงxxxxxxxxจะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท อี ฟอร์ xxx เอม จำกัด (มหาชน) รุ่นที่ 4 (“EFORL-W4”) |
ชนิดของใบสำคัญแสดงxxxxx | : | ชนิดระบุชื่อผู้ถือและโอนxxxxxxxxxxxxx |
จำนวนใบสำคัญแสดงxxxxxxxxออกและเสนอ ขาย | : | ไม่เกิน 1,532,306,825 หน่วย (หนึ่งxxxxxxร้อยสามสิบสองล้านสามแสน หกพันแปดร้อยยี่สิบห้าหน่วย) |
จำนวนหุ้นที่จัดสรรไว้เพื่อรองรับการใช้ xxxxxตามใบสำคัญแสดงxxxxx | : | ไม่เกิน 1,532,306,825 หุ้น (xxxxxxที่ตราไว้หุ้นละ 0.075 บาท) คิดเป็น ร้อยละ 11.111 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัท ณ xxxxxx 16 มีนาคม 2560 (ไม่รวมหุ้นxxxxxxxxxxxxxxรับอนุมัติจากที่ประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2560 ณ xxxxxx 7 เมษายน 2560) หรือคิดเป็น ร้อยละ 7.19 ของจำนวนหุ้นทั้งหมดของบริษัทเมื่อรวมหุ้นxxxxxxxx ทั้งหมดxxxxxxรับอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2560 ณ xxxxxx 7 เมษายน 2560 (โดยในการประชุมสามัญผู้ถือประจำปี 2560 บริษัทจะ มีการจัดสรรหุ้นxxxxxxxxใหม่ 3 ส่วนคือ 1) หุ้นxxxxxxxxที่จัดสรรไว้เพื่อ รองรับการใช้xxxxxของใบสําคัญแสดงxxxxxxxxจะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท อี ฟอร์ xxx เอม จำกัด (มหาชน) รุ่นที่ 3 (“EFORL-W3”) จำนวนไม่เกิน 1,379,076,143 หุ้น 2) หุ้นxxxxxxxxจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัท ตามสัดส่วน (Right Offering) จำนวน 4,596,920,476 หุ้น และ 3) หุ้น xxxxxxxxที่จัดสรรไว้เพื่อรองรับการใช้xxxxxของใบสําคัญแสดงxxxxxxxxจะซื้อ หุ้นสามัญของบริษัท อี ฟอร์ xxx เอม จำกัด (มหาชน) รุ่นที่ 4 (“EFORL-W4”) จำนวนไม่เกิน 1,532,306,825 หุ้น โดยหุ้นทั้งหมดมี xxxxxxที่ตราไว้หุ้นละ 0.075 บาทต่อหุ้น) ทั้งนี้ สัดส่วนหุ้นรองรับสำหรับ การใช้xxxxx EFORL-W3 และ EFORL-W4 คิดเป็นร้อยละ 21.112 ของ จำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัท ณ xxxxxx 16 มีนาคม 2560 ซึ่งไม่เกินร้อยละ 50 ตามข้อ 10 ของประกาศ ทจ. 34/2551 |
วิธีการเสนอขาย | : | จัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทxxxxxxซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxxที่เสนอขาย ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วนการถือหุ้น ในอัตราส่วนหุ้นสามัญใหม่ 3 |
13,790,716,430
1 วิธีการค˚านวณสดั ส่วนห้นรองรับส˚าหรับการใช้xxxxx EFORL-W4: (จ˚านวนห้นรองรับส˚าหรับการใช้xxxxx EFORL-W4)/(จ˚านวนห้xxxxจ˚าหน่ายได้ แล้วทง้ หมดของบริษท) ร้อยละ 11.11 = 1,532,306,825
2 วิธีการค˚านวณสัดส่วนหุ้นรองรับส˚าหรับการใช้xxxxx EFORL-W3 และ EFORL-W4: (จ˚าxxxxxxxรองรับส˚าหรับการใช้xxxxx EFORL-W3 และ
13,790,761,430
EFORL-W4)/ (จ˚านวนห้xxxxจ˚าหน่ายได้แล้วทง้ หมดของบริษัท) ร้อยละ 21.11 = 2,911,382,968
หุ้น ต่อใบสําคัญแสดงxxxxx 1 หน่วยใบสำคัญแสดงxxxxxโดยไม่คิดxxxxxx ทั้งนี้ในกรณีที่มีเศษของใบสำคัญแสดงxxxxxเหลือจากการคำนวณตาม อัตราส่วนการจัดสรรใบสำคัญแสดงxxxxxดังกล่าว ให้ตัดเศษดังกล่าวทิ้ง ทั้งจำนวน
ราคาเสนอขายต่อหน่วย : หน่วยละ 0 บาท (ศูนย์บาท)
xxxxxxออกใบสำคัญแสดงxxxxx : xxxxxx 2 มิถุนายน 2560
xxxxxxหมดอายุใบสำคัญแสดงxxxxx : xxxxxx 1 มิถุนายน 2563
อายุของใบสำคัญแสดงxxxxx : 3 ปี นับจากxxxxxxออกใบสำคัญ แสดงxxxxx
อัตราการใช้xxxxxของใบสำคัญแสดงxxxxx : ใบสำคัญแสดงxxxxx 1 หน่วย xxxxxxซื้อหุ้นสามัญใหม่ได้ 1หุ้น (เว้นแต่
จะมีการปรับอัตราการใช้xxxxxตามเงื่อนไขการปรับxxxxxในข้อ 4.2) ราคาการใช้xxxxxxxxจะซื้อหุ้นสามัญ : หุ้นละ 0.50 บาท(ห้าสิบสตางค์) (เว้นแต่จะมีการปรับราคาการใช้xxxxx
ตามเงื่อนไขการปรับxxxxxในข้อ 4.2)
ทั้งนี้ หากมีการปรับราคาการใช้xxxxx ราคาการใช้xxxxxจะต้องไม่ต่ำกว่า xxxxxxที่ตราไว้ของหุ้นของบริษัท ณ ขณะนั้นๆ
ระยะเวลาการใช้xxxxx : ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxxxxxxxใช้xxxxxซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ได้ โดย
กำหนดxxxxxxxxxxxxใช้xxxxxครั้งแรก คือ xxxxxx 22 ธันวาคม 2560 (“วัน กำหนดการใช้xxxxxครั้งแรก”) และกำหนดxxxxxxxxxxxxใช้xxxxxครั้งต่อไป เป็นทุกxxxxxx 22 มิถุนายน และ 22 ธันวาคม ของทุกปี และ วันสุดท้าย ของการใช้xxxxx คือ xxxxxxใบสำคัญแสดงxxxxxมีอายุครบ 3 ปี ซึ่งตรงกับ xxxxxx 1 มิถุนายน 2563 (“วันกำหนดการใช้xxxxxครั้งสุดท้าย”) โดยหาก วันกำหนดการใช้xxxxxครั้งสุดท้ายไม่ตรงกับวันทำการ ให้เลื่อนวัน กำหนดการใช้xxxxxครั้งสุดท้ายขึ้นมาเป็นวันทำการสุดท้ายก่อนหน้าวัน กำหนดการใช้xxxxxครั้งสุดท้ายเดิม
การไม่xxxxxxยกเลิกการแจ้งสิทธความ xxxxในการใช้xxxxx
: เมื่อผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxxxxแจ้งความxxxxในการใช้xxxxxซื้อหุ้นสามัญ ตามใบสำคัญแสดงxxxxxแล้ว ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxจะไม่xxxxxxยกเลิก การแจ้งความxxxxในการใช้xxxxxดังกล่าวได้อีกต่อไป
ตลาดรองของใบสำคัญแสดงxxxxx : บริษัทจะนําใบสําคัญแสดงxxxxxxxxออกและเสนอขายในครั้งนี้ไปจด
ทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
ตลาดรองของหุ้นสามัญที่เกิดจากการใช xxxxx
: บริษัทจะนําหุ้นสามัญที่เกิดจากการใช้xxxxxตามใบสำคัญแสดงxxxxxxxxออก และเสนอขายครั้งนี้ เข้าจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์
นายทะเบียนใบสำคัญแสดงxxxxx : บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด
เหตุในการต้องออกหุ้นใหม่เพื่อรองรับการ เปลี่ยนแปลงการใช้xxxxx
: บริษัทจะxxxxxxการปรับราคาการใช้xxxxx และ/หรืออัตราการใช้xxxxxตาม เงื่อนไขการปรับxxxxxตามที่ระบุไว้ในข้อ 4.2 เมื่อมีเหตุการณ์ตามที่ กำหนดไว้ในข้อกำหนดxxxxxและเงื่อนไขของใบสำคัญแสดงxxxxx ซึ่งเป็น เหตุการณ์ที่มีลักษณะตามที่กำหนดไว้ในข้อ 11 (4)(ข) ตามประกาศ คณะกรรมการกำกับตลาดทุนที่ ทจ. 34/2551 เรื่อง การขออนุญาตและ
วัตถุประสงค์ของการออกใบสำคัญแสดง xxxxx และประโยชน์ที่บริษัทจะพึงได้รับ จากการจัดสรรหุ้นสามัญxxxxxxxxในครั้งนี้
การอนุญาตให้เสนอขายใบสำคัญแสดงxxxxxxxxจะซื้อหุ้นที่ออกใหม่ และ หุ้นที่ออกใหม่เพื่อรองรับใบสำคัญแสดงxxxxx ฉบับลงxxxxxx 15 ธันวาคม 2551 (รวมxxxxxxxมีการแก้ไขเพิ่มเติม)
: เงินสดxxxxxxรับจากการซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxxของบริษัท ตามใบสำคัญแสดง xxxxxในxxxxx บริษัทจะนำไปใช้เป็นเงินทุนเพิ่มเติม และใช้เป็นเงิน หมุนเวียนในบริษัท ซึ่งจะช่วยสร้างความxxxxxxxxทางการเงินให้แก่บริษัท และทำให้บริษัทxxxxxxxxxxxxงานให้xxxxxตามxxxxxxxxxxxวางไว้
2.2 ผลกระทบจากใบสำคัญแสดงxxxxx
เนื่องจากบริษัทมีมติให้ออกและเสนอขายหุ้นสามญxxxxxxxxควบคู่กับใบสำคัญแสดงxxxxxxxxจะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทในคราว เดียวกัน ดังนี้
(ก) ให้ออกและเสนอขายหุ้นสามัญxxxxxxxxให้แก่ผู้ถือหุ้นเดมตามสัดส่วนการถือหุ้น (Right Offering) ในอัตราส่วน
การจองซื้อ 3 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นใหม่ ในราคาเสนอขายหุ้นละ 0.14 บาท
(ข) ให้ออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงxxxxxxxxจะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ครั้งที่ 4 EFORL-W4 โดยจัดสรรให้แก่ผู้ ถือหุ้นเดิมของบริษัทxxxxxxซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxx และได้รับการจัดสรรหุ้น ในอัตราส่วน 3 หุ้นสามัญใหม่ ต่อ 1 หน่วยใบสำคัญแสดงxxxxx โดยไม่คิดxxxxxx ทั้งนี้ ใบสำคัญแสดงxxxxx 1 หน่วย xxxxxxใช้xxxxxซื้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น ในราคาหุ้นละ 0.50 บาท
ดังนั้นการจัดสรรใบสำคัญแสดงxxxxx ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทตามสัดส่วน (Right Offering) จะไม่มีผลกระทบต่อ ผู้ถือหุ้นแต่อย่างใด อย่างไรก็ตามหากผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxมีการใช้xxxxxซื้อหุ้นครบทั้งจำนวนโดยที่ไม่มีผู้ถือหุ้นเดิมใช้xxxxx (ผู้ ถือหุ้นเดิมมีการโอนxxxxxใบสำคัญแสดงxxxxxให้บุคคลอื่นทั้งจำนวน) จะมีผลกระทบต่อผู้ถือหุ้นเดิมดังนี้ (กำหนดให้ผู้ถือหุ้นเดิม ทุกคนใช้xxxxxxxxxxxxxตามสัดส่วนตามจำนวนหุ้นxxxxxxxx (Right Offering) ทั้งหมด 4,596,920,477 หุ้น และผู้ถือหุ้นเดิม ได้รับใบสำคัญแสดงxxxxxตามสัดส่วนเดิมทั้งหมด 1,532,306,825 หน่วย)
2.2.1 การลดลงของสัดส่วนการถือหุ้น (Control Dilution) เนื่องจากการจัดสรรใบสำคัญแสดงxxxxxจะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท อี ฟอร์ xxx เอม จำกัด (มหาชน) รุ่นที่ 4
(“EFORL-W4”) เป็นการจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท ตามสัดส่วน (Right Offering) ดังนั้นจึงไม่มีผลกระทบต่อผู้ถือหุ้นใน ส่วนของสัดส่วนการถือหุ้น (Control Dilution) อย่างไรก็ดีจากมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2560 ในxxxxxx 7 เมษายน 2560 บริษัท มีการออกหุ้นxxxxxxxxใหม่ 3 ส่วนคือ (1) หุ้นxxxxxxxxที่จัดสรรไว้เพื่อรองรับการใช้xxxxxของใบสําคัญแสดงxxxxxxxxจะ ซื้อหุ้นสามัญของบริษัท อี ฟอร์ xxx เอม จำกัด (มหาชน) รุ่นที่ 3 (“EFORL-W3”) จำนวนไม่เกิน 1,379,076,143 หุ้น (2) หุ้น xxxxxxxxจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดมของบริษัท ตามสัดส่วน (Right Offering) จำนวน 4,596,920,476 หุ้น และ (3) หุ้นxxxxxxxxที่ จัดสรรไว้เพื่อรองรับการใช้xxxxxของใบสําคัญแสดงxxxxxxxxจะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท อี ฟอร์ xxx เอม จำกัด (มหาชน) รุ่นที่ 4 (“EFORL-W4”) จำนวนไม่เกิน 1,532,306,825 หุ้น) ทั้งนี้หากผู้ถือหุ้นมีการใช้xxxxxซื้อหุ้นxxxxxxxx (RO) และใบสำคัญแสดง xxxxx (EFOR-W3, EFORL-W4) ผถือหุ้นจะไม่xxxxxxxxกระทบในส่วนของสัดส่วนการถือหุ้น (Control Dilution) xxxxxxxxxxxxxx ผู้ถือหุ้นเดิมทำการโอนxxxxxสำหรับใบสำคัญแสดงxxxxx EFORL-W4 ทั้งจำนวน จะxxxxxxกระทบดังนี้
การคำนวณด้านการลดลงของสัดส่วนการถือ = [Qw4/(Qo+Qr+Qw3+Qw4)]
Qo = จำนวนหุ้นที่มีอยู่เดม เท่ากับ 13,790,761,430 หุ้น
Qr = จำนวนหุ้นใหม่ที่xxxxxขึ้นเพื่อเสนอขายหุ้นสามญxxxxxxxxให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสดส่วน (RO) เท่ากับ
4,596,920,476 หุ้น | ||
Qw3 | = | จำนวนหุ้นที่ออกใหม่เพื่อรองรับใบสำคัญแสดงxxxxxxxxเสนอขายในครั้งนี้ EFORL-W3 เท่ากับ |
1,379,076,143 หน่วย | ||
Qw4 | = | จำนวนหุ้นที่ออกใหม่เพื่อรองรับใบสำคัญแสดงxxxxxxxxเสนอขายในครั้งนี้ EFORL-W4 เท่ากับ |
1,532,306,825 หน่วย | ||
ดังนั้น | [Qw4/(Qo+Qr+Qw3+Qw4)] |
1,532,306,825
= 13,790,761,430+1,379,076,143+4,596,920,476+1,532,306,825
= 7.19%
ดังนั้น ผู้ถือหุ้นเดมจะxxxxxxxxกระทบจาก Control Dilution ระหว่าง ร้อยละ 0 –7.19 ขึ้นอยู่กับสัดส่วนการแปลงสภาพ เป็นหุ้นสามัญ
2.2.2 การลดลงของราคา (Price Dilution) สูตรการคำนวณการลดลงของราคา = (Pn-Po)/Po โดยที่
Po = ราคาซื้อขายถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก 15 วันทำการก่อนวันประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อxxxxxx 28
กุมภาพันธ์ 2560 คือตั้งแต่xxxxxx 6 กุมภาพันธ์ 2560 – xxxxxx 27 กุมภาพันธ์ 2560 ซึ่งเท่ากับ
0.26
บาทต่อหุ้น
Qo = จำนวนหุ้นที่มีอยู่เดม เท่ากับ 13,790,761,430 หุ้น
Pw3 = ราคาขายของ EFORL-W3 ทออกและจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมเท่ากับหน่วยละ 0.00 บาท
Qw3 = จำนวนใบสำคัญแสดงxxxxx EFORL-W3 ที่ออกในครั้งนี้ 1,379,076,143 หน่วย
Ew3 = ราคาใช้xxxxxของ EFORL-W3 เท่ากับหุ้นละ 0.60 บาท
Pw4 = ราคาขายของ EFORL-W4 ที่ออกและจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมเท่ากับหน่วยละ 0.00 บาท
Qw4 = จำนวนใบสำคัญแสดงxxxxx EFORL-W4 ที่ออกในครั้งนี้ 1,532,306,825 หน่วย
Ew4 = ราคาใช้xxxxxของ EFORL-W4 เท่ากับหุ้นละ 0.50 บาท
Pr = ราคาเสนอขายหุ้นสามัญxxxxxxxxแก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วน (RO) หุ้นละ 0.14 บาท
Qr = จำนวนหุ้นใหม่ที่xxxxxขึ้นเพื่อเสนอขายหุ้นสามญxxxxxxxxให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสดส่วน (RO) เท่ากับ 4,596,920,476 หุ้น
PE = PoQo+[Pw3Qw3+Ew3Qw3]+[Pw4Qw4+Ew4Qw4]+PrQr)/(Qo+Qw3+Qw4+Qr)
=
0.26×13,790,761,430+[0×1,532,306,825+0.5×1,532,306,825]+[0×1,379,076,143+0.6×1,379,076,143]+0.14×4,596,920,476
13,790,761,430+1,379,076,143+1,523,306,825 + 4,596,920,476
= การxxxxxขึ้นของราคา | 0.27 = | (Pn-Po)/Po |
= | (0.27-0.26)/0.26 | |
= | ราคาxxxxxขึ้นร้อยละ 5.66 |
ทั้งนี้ การออกใบสำคัญแสดงxxxxxจะไม่มีผลต่อการลดลงราคา (Price Dilution) เนื่องจากราคาใช้xxxxxแปลงสภาพของใบสำคัญ แสดงxxxxxสูงกว่าราคาตลาดของหุ้นบริษัท ณ ปัจจุบัน
2.2.3 ด้านการลดลงของส่วนแบ่งกำไร (Earnings Dilution) เนื่องจากบริษัทมีผลการxxxxxxงานขาดทุนxxxxx xxxไม่xxxxxxคำนวณการลดลงของส่วนแบ่งกำไรได้
3. การใช้xxxxxและเงื่อนไขการใช้xxxxx
3.1 วันกำหนดการใช้xxxxx
ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxxxxxxxใช้xxxxxซื้อหุ้นสามัญของบริษัทได้ในxxxxxx 22 มิถุนายน และ 22 ธันวาคมของแต่ละปี นับแต่xxxxxxออกใบสำคัญแสดงxxxxx โดยไม่จำกัดจำนวนจนกว่าจะครบอายุของใบสำคัญแสดงxxxxxโดยวันกำหนดการใช้xxxxxครั้ง แรก คือ xxxxxx 22 ธันวาคม 2560 และวันกำหนดการใช้xxxxxครั้งสุดท้าย คือ xxxxxx 1 มิถุนายน 2563 ซึ่งเป็นxxxxxxใบสำคัญแสดง xxxxxมีอายุครบกำหนดไม่เกิน 3 ปี นับแต่xxxxxxออกใบสำคัญแสดงxxxxx ในกรณีxxxxxxกำหนดการใช้สิทธไิ ม่ตรงกับวันทำการ ให้ เลื่อนวันกำหนดการใช้xxxxxเป็นวันทำการสุดท้ายก่อนหน้าวันกำหนดการใช้xxxxxนั้นๆ
3.2 ระยะเวลาแจ้งความxxxxในการใช้xxxxx
3.2.1 ระยะเวลาการแจ้งความxxxxในการใช้xxxxxซื้อหุ้นสามัญแต่ละครั้ง (ยกเว้นการใช้xxxxxครั้งสุดท้าย) ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxซึ่งxxxxxxxxxxจะใช้xxxxxในการซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxxของบริษัทจะต้องแจ้งความxxxxในการใช้
xxxxxซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxxตามใบสำคัญแสดงxxxxx ตามวิธีการและขั้นตอนการใช้xxxxxตามข้อ 3.6 (“ความxxxxในการใช้xxxxx”)
ในระหว่างเวลา 9.00 น. ถึง 15.00 น. ภายในระยะเวลา 5 วันทำการก่อนวันกำหนดการใช้xxxxxในแต่ละครั้ง (“ระยะเวลาการ แจ้งความxxxxในการใช้xxxxx”) ทั้งนี้ บริษัทจะไม่ปิดสมุดทะเบียนผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxเพื่อxxxการโอนใบสำคัญแสดงxxxxx เพื่อกำหนดxxxxxของผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxในการที่จะใช้xxxxxซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxxของบริษัท และบริษัทxxxxxxข่าวและ รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับกำหนดวันใช้xxxxx ระยะเวลาการแจ้งความxxxxในการใช้xxxxx อัตราการใช้xxxxx ราคาการใช้xxxxx รายละเอียดบัญชีธนาคารเพื่อการจองซื้อและใช้xxxxxตามใบสำคัญแสดงxxxxx บุคคลที่บริษัทจะแต่งตั้งให้เป็นตัวแทนรับแจ้ง ความxxxxในการใช้xxxxx (ถ้ามี) และสถานที่ใช้xxxxx ผ่านระบบ SET PORTAL หรือระบบอื่นใดตามที่ตลาดหลักทรัพย์กำหนด เพื่อแจ้งให้ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 5 วันก่อนวันเริ่มระยะเวลาการแจ้งความxxxxในการใช้xxxxxแต่ละ ครั้ง
3.2.2 ระยะเวลาการแจ้งความxxxxในการใช้xxxxxซื้อหุ้นสามัญครั้งสุดท้าย ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxจะต้องแจ้งความxxxxตามวิธีการและขั้นตอนการใช้xxxxxตามข้อ 3.6 ในระหว่างเวลา 9.00
น .ถึง 15.00 น .ภายในระยะเวลา 15 วันก่อนวันกำหนดใช้xxxxxครั้งสุดท้าย (“ระยะเวลาการแจ้งความxxxxในการใช้xxxxxครั้ง สุดท้าย”) ทั้งนี้ บริษัทxxxxxxข่าวและรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับกำหนดวันใช้xxxxx ระยะเวลาการแจ้งความxxxxในการใช้ xxxxxครั้งสุดท้าย อัตราการใช้xxxxx ราคาการใช้xxxxx รายละเอียดบัญชีธนาคารเพื่อการจองซื้อและใช้xxxxxตามใบสำคัญแสดง xxxxx บุคคลที่บริษัทจะแต่งตั้งให้เป็นตัวแทนรับแจ้งความxxxxในการใช้xxxxx (ถ้ามี) และสถานที่ใช้xxxxx ผ่านระบบ SET PORTAL หรือระบบอื่นใดตามที่ตลาดหลักทรัพย์กำหนด พร้อมทั้งส่งจดหมายลงทะเบียนถึงผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxx ตาม รายชื่อที่ปรากฏในสมุดทะเบียนผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxx x วันปิดสมุดทะเบียนxxxการโอนใบสำคัญแสดงxxxxxครั้งสุดท้าย ทั้งนี้ บริษัทจะปิดสมุดทะเบียนผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxเพื่อxxxการโอนใบสำคัญแสดงxxxxxครั้งสุดท้ายเป็นเวลา 21 วันก่อนวัน กำหนดใช้xxxxxครั้งสุดท้าย และตลาดหลักทรัพย์จะทำการขึ้นเครื่องหมายห้ามการซื้อขายชั่วคราว (SP) เพื่อห้ามการซื้อขาย ใบสำคัญแสดงxxxxx ล่วงหน้า 2 วันทำการก่อนวันปิดสมุดทะเบียน ในกรณีxxxxxxเริ่มปิดสมุดทะเบียนผถือใบสำคัญแสดงxxxxxเพื่อ
xxxการโอนใบสำคัญแสดงxxxxxไม่ใช่วันทำการของตลาดหลักทรัพย์ ให้เลื่อนวันเริ่มปิดสมุดทะเบียนเป็นวันทำการสุดท้ายก่อน หน้าวันเริ่มปิดสมุดทะเบียนเดิมดังกล่าว ทั้งนี้ ใบสำคัญแสดงxxxxxจะxxxการซื้อขายจนถึงวันกำหนดใช้xxxxxครั้งสุดท้าย
3.3 ผู้ทรงxxxxxในใบสำคัญแสดงxxxxx
3.3.1 ผู้ทรงxxxxxในใบสำคัญแสดงxxxxxกรณีทั่วไป
xxxxxในใบสำคัญแสดงxxxxxจะตกได้แก่บุคคล หรือ นิติบุคคลxxxxxxxxxxxxเป็นเจ้าของใบสำคัญแสดงxxxxxจำนวน ดังกล่าวในสมุดทะเบียนผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxในขณะนั้น ๆ หรือในวันก่อนวันแรกของการปิดสมุดทะเบียนxxxการโอน ใบสำคัญแสดงxxxxx (วันก่อนวันแรกที่ขึ้นเครื่องหมาย SP) เว้นแต่จะได้มีการโอนใบสำคัญแสดงxxxxxซึ่งxxxxxxใช้ยันกับบริษัท ได้ตามข้อ 15.1 เกิดขึ้นแล้วในวันปิดสมุดทะเบียนที่เกี่ยวข้องข้างต้น ซึ่งxxxxxในใบสำคัญแสดงxxxxxจะตกได้แก่ผู้รับโอนใบสำคัญ แสดงxxxxx
3.3.2 ผู้ทรงxxxxxในใบสำคัญแสดงxxxxxกรณีที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์เป็นผถือใบสำคัญแสดงxxxxxแทน xxxxxในใบสำคัญแสดงxxxxxจะตกได้แก่บุคคลหรือนิติบุคคลที่นายทะเบียนใบสำคัญแสดงxxxxxxxxรับแจ้งเป็นหนังสือ
จากศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ว่าเป็นผู้ทรงxxxxxในใบสำคัญแสดงxxxxxในจำนวนตามที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ได้แจ้งต่อนาย ทะเบียนใบสำคัญแสดงxxxxx โดยจำนวนดังกล่าวจะต้องไม่เกินกว่าจำนวนรวมของใบสำคัญแสดงสทธิในชื่อของศูนย์รับฝาก หลักทรัพย์ที่ระบุอยู่ในสมุดทะเบียนผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxในขณะนั้นๆ หรือในวันก่อนวันแรกของการปิดสมุดทะเบียนxxx การโอนใบสำคัญแสดงxxxxx (วันก่อนวันแรกที่ขึ้นเครื่องหมาย SP)
3.4 นายทะเบียนใบสำคัญแสดงxxxxx
บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด
93 ชั้น 14 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 Website : xxxx://xxx.xxx.xx.xx/xxx
SET Contact Center : xxx.xxx.xx.xx/xxxxxxxxxxxxx
โทรศัพท์ : 0-0000-0000
นายทะเบียนใบสําคัญแสดงxxxxxมีหน้าที่xxxxxxxxแต่งตั้งนายทะเบียนใบสำคัญแสดงxxxxxxxxจะต้องจัดทำและเก็บ รักษาสมุดทะเบียนผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxไว้จนกว่าใบสำคัญแสดงxxxxxทั้งหมดจะมีการใช้xxxxxซื้อหุ้นรองรับของบริษัทหรือ จนกว่าครบกำหนดอายุใบสำคัญแสดงxxxxx (แล้วแต่กรณี)
นายทะเบียนใบสําคัญแสดงxxxxxจะรับผิดชอบต่อการปิดสมุดทะเบียนใบสำคัญแสดงxxxxx ซึ่งในสมุดทะเบียนผู้ถือ ใบสําคัญแสดงxxxxxจะต้องประกอบด้วยชื่อและนามสกุลเต็ม สัญชาติ และที่อยู่ของผู้ถือใบสําคัญแสดงxxxxxและรายละเอียด อื่นๆ ตามที่ศูนย์ฝากหลักทรัพย์จะกำหนด ในกรณีที่ข้อมูลไม่ตรงกันจะxxxxxxข้อมูลในสมุดทะเบียนผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxเป็น ข้อมูลที่ถูกต้อง
นายทะเบียนใบสําคัญแสดงxxxxxมีหน้าที่จะต้องออกใบแทนใบสำคัญแสดงxxxxxให้แก่ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxxxxฝากไว้ กับศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ และจะต้องลงชื่อศูนย์รับฝากหลักทรัพย์เป็นผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxแทนในสมุดทะเบียนผู้ถือ ใบสำคัญแสดงxxxxxนั้น และบริษัทจะออกใบสำคัญแสดงxxxxxตามแบบที่นายทะเบียนใบสําคัญแสดงxxxxxกำหนดให้แก่ศูนย์รับ ฝากหลักทรัพย์
ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxมีหน้าที่ในการแจ้งการเปลี่ยนแปลง หรือแจ้งข้อผิดพลาดในรายละเอียดของการลงบันทึกใน สมุดทะเบียนผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxโดยนายทะเบียนใบสําคัญแสดงxxxxxจะเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขข้อผิดพลาดดังกล่าวให้ ถูกต้อง
เมื่อศูนย์รับฝากหลักทรัพย์แจ้งต่อนายทะเบียนใบสำคัญแสดงxxxxx นายทะเบียนใบสำคัญแสดงxxxxxมีหน้าที่ที่จะต้อง ออกใบสำคัญแสดงxxxxxให้แก่ผู้ทรงxxxxxในใบสำคัญแสดงxxxxxxxxฝากไว้กับศูนย์รับฝากหลักทรัพย์และลงทะเบียนให้ผู้ทรงxxxxxใน ใบสำคัญแสดงxxxxxรายดังกล่าวเป็นผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxในสมุดทะเบียนผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxตามจำนวนxxxxxxรับแจ้งจาก ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เมื่อได้มีการออกใบสำคัญแสดงxxxxxและลงทะเบียนดังกล่าวแล้ว นายทะเบียนใบสำคัญแสดง xxxxxจะแก้ไขจำนวนรวมของใบสำคัญแสดงxxxxxxxxลงทะเบียนในสมุดทะเบียนผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxไว้ในชื่อของศูนย์รับฝาก หลักทรัพย์ โดยหักจำนวนใบสำคัญแสดงxxxxxxxxได้แยกไปลงทะเบียนไว้ในชื่อของผู้ทรงxxxxxในใบสำคัญแสดงxxxxxออก ส่วน จำนวนรวมของใบสำคัญแสดงxxxxxxxxปรากฏในใบสำคัญแสดงxxxxxหรือใบแทนใบสำคัญแสดงxxxxxxxxออกให้แก่ศูนย์รับฝาก หลักทรัพย์นั้น หากนายทะเบียนใบสำคัญแสดงxxxxxxxxได้ทำการแก้ไข (ไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม) ให้xxxxxxมีจำนวนลดลงตาม จำนวนของใบสำคัญแสดงxxxxxxxxได้แยกไปออกใบสำคัญแสดงxxxxxและลงทะเบียนไว้ในชื่อของผู้ทรงxxxxxในใบสำคัญแสดงxxxxx ดังกล่าว บริษัทขอxxxxxxxxxที่จะเปลี่ยนแปลงนายทะเบียนใบสำคัญแสดงxxxxx โดยxxxxxxการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวให้แก่ผู้ถือ ใบสำคัญแสดงxxxxxทราบผ่านระบบเผยแพร่ข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์ (SET PORTAL) โดยเร็วและแจ้งให้สำนักงาน ก.ล.ต. ทราบภายใน 15 วัน รวมทั้งบริษัทจะxxxxxxการจัดส่งหนังสือแจ้งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวให้กับผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxทาง ไปรษณีย์ลงทะเบียนด้วย
3.5 สถานที่ติดต่อในการใช้xxxxx
บริษัท อี ฟอร์ xxx เอม จำกัด (มหาชน) สำนักงานxxxxxxxxxxxx 88 ฝ่าย xxxxxxxxxxxxxxx
324 326 ถนนxxxxxxxxxxxx แขวงบางอ้อ เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700
โทรศัพท์ : x00(0) 0000 0000-0 ต่อ 118 และ 121
3.6 วิธีการใช้xxxxxและขั้นตอนการใชxxxxx
ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxxxxxxxxxxxใช้xxxxx จะต้องแจ้งความxxxxในการใช้xxxxxภายในระยะเวลาแจ้งความxxxxใน การใช้xxxxxตามที่กำหนดไว้ในข้อ 3.2 ข้างต้น ในการใช้xxxxxซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxxของบริษัท ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxxxxxxxใช้ xxxxxซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxxตามใบสำคัญแสดงxxxxxxxxตนถืออยู่ทั้งหมดหรือบางส่วนก็ได้ สำหรับใบสำคัญแสดงxxxxxxxxเหลือและ xxxxxxใช้xxxxxภายในวันกำหนดการใช้xxxxxครั้งสุดท้าย บริษัทจะxxxxxxผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxxxxxxxxxxxจะใช้xxxxxตามใบสำคัญ แสดงxxxxxดังกล่าวและให้xxxxxxใบสำคัญแสดงxxxxxนั้นๆ สิ้นสภาพโดยไม่มีการใช้xxxxx โดยมีวิธีปฏิบัติดงั นี้
3.6.1 ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxxxxxxxขอรับใบแจ้งความxxxxการใช้สิทธซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxxxxxxxxบริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความxxxxในการใช้xxxxx (ถ้ามี) หรือดาวน์โหลดจากเว็บไซต์ของบริษัท (xxx.xxxxx-xxx.xxx) โดย xxxxxxแจ้งความxxxxในการใช้สทธิซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxxxxxxxxบริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความxxxxในการใช้ xxxxx (ถ้ามี) ตามระยะเวลาการแจ้งความxxxxในการใช้xxxxxตามที่ระบุในข้อ 3.2 ข้างต้น ในกรณีที่ใบสำคัญแสดงxxxxxxxxxในระบบไร้ใบหลักทรัพย์ (Scripless) ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxxxxต้องการใช้xxxxxต้อง แจ้งความxxxxและกรอกแบบคำขอเพื่อขอถอนใบสำคัญแสดงxxxxxตามที่ตลาดหลักทรัพย์กำหนด
(ก) ในกรณีที่ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxมีบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของตนอยู่ในบัญชี “บริษัท ศูนย์รับฝาก หลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด เพื่อผู้ฝาก” ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxxxxต้องการใช้xxxxxต้องแจ้งความ xxxxและกรอกแบบคำขอเพื่อขอถอนใบสำคัญแสดงxxxxxตามที่ตลาดหลักทรัพย์กำหนด โดยยื่นต่อ บริษัทหลักทรัพย์ที่เป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ (Broker) ของตน และบริษัทหลักทรัพย์ดังกล่าวจะ xxxxxxการแจ้งกับศูนย์รับฝากหลกทรัพย์เพื่อขอถอนใบสำคัญแสดงxxxxxจากบัญชี “บริษัท ศูนย์รับฝาก
หลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด เพื่อผู้ฝาก” โดยศูนย์รับฝากหลักทรัพย์จะxxxxxxการออกใบแทน ใบสำคัญแสดงxxxxxเพื่อใช้เป็นหลักฐานประกอบการใช้xxxxxซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxxของบริษัท
(ข) ในกรณีที่ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxไม่มีบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ โดยใบสำคัญแสดงxxxxxxxxxกับศูนย์รับฝาก
หลักทรัพย์ใน “บัญชีบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์” ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxxxxต้องการใช้xxxxx ต้องแจ้งความ xxxxและกรอกแบบคำขอเพื่อขอถอนใบสำคัญแสดงxxxxxตามที่ตลาดหลักทรัพย์กำหนด โดยยื่นต่อ ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์เพื่อขอถอนใบสำคัญแสดงxxxxxจาก “บัญชีบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์” โดยศูนย์รับ ฝากหลักทรัพย์จะxxxxxxการออกใบแทนใบสำคัญแสดงxxxxx เพื่อใช้เป็นหลักฐานประกอบการใช้xxxxx ซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxxของบริษัท
3.6.2 ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxx (xxxxxxxถือเป็นใบสำคัญแสดงxxxxxและในระบบไร้ใบหลักทรัพย์ (Scrip less)) ที่xxxxxxxจะใช้ xxxxxซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxx จะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขการแจ้งความxxxxในการใช้xxxxx โดยxxxxxxการและส่งเอกสาร
ดังต่อไปนี้ให้แก่บริษัท ตามสถานที่ติดต่อในการใช้xxxxxxxxระบุไว้ในขอ 3.5
(ก) แบบแสดงความxxxxการใช้xxxxxซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxxxxxxxxกรอกข้อความถูกต้องชัดเจน และครบถ้วน ทุกรายการ พร้อมลงนามโดยผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxและส่งให้แก่บริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้ง ความxxxxในการใช้xxxxx (ถ้ามี) ในช่วงระยะเวลาการแจ้งความxxxxในการใช้xxxxx
(ข) ใบสำคัญแสดงxxxxxหรือใบแทนใบสำคัญแสดงxxxxxตามแบบที่ตลาดหลักทรัพย์กำหนด ซึ่งผู้ถือใบสำคัญ
แสดงxxxxxลงลายมือชื่อผู้โอนด้านหลัง ตามจำนวนทระบุในแบบแสดงความxxxxการใช้xxxxx และ หนังสือมอบอำนาจให้ผู้อื่นมารับใบสำคัญแสดงxxxxxฉบับใหม่สำหรบใบสำคัญแสดงxxxxxxxxยังxxxxxxใช้ xxxxx (ถ้ามี) และส่งให้แก่ บริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความxxxxในการใช้xxxxx (ถ้ามี)
(ค) ชำระเงินตามจำนวนที่ระบุในใบแจ้งความxxxxการใช้xxxxxซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxx และส่งหลักฐานการ
ชำระเงินให้แก่บริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความxxxxในการใช้xxxxx (ถ้ามี) โดยผู้ถือใบสำคัญแสดง xxxxxxxxxxxxxxxจะใช้xxxxxซื้อหุ้น จะต้อง (1) โอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากประเภทกระแสรายวัน ธนาคาร กสิกรไทย จำกัด (มหาชน) สาขา สะพานกรุงธน ชื่อบัญชี “บมจ. อี ฟอร์ xxx เอม เพื่อ EFORL-W4” เลขที่บัญชี 025-2-83576-8 โดยให้แนบหลักฐานการโอนเงินที่ธนาคารออกให้ พร้อมระบุชื่อ-นามสกุล และเบอร์โทรศัพท์ที่xxxxxxติดต่อไว้ด้วย หรือ (2) ชำระเป็นเชคบุคคล แคชเชียร์เช็ค ดร๊าฟท์ ที่ xxxxxxเรียกเก็บได้ในเขตกรุงเทพมหานคร ภายใน 1 วันทำการนับจากxxxxxxแจ้งความxxxxการใช้xxxxx ในแต่ละครั้ง โดยเช็คบุคคล แคชเชียร์เช็ค หรือดร๊าฟ ต้องลงxxxxxxก่อนกำหนดการใช้xxxxx 3 วันทำการ และxxxxxxxxเฉพาะสั่งจ่าย “บริษัท อี ฟอร์ xxx เอม จำกัด (มหาชน)” โดยให้ระบุชื่อ-นามสกุล และ เบอร์โทรศัพท์ที่xxxxxxติดต่อได้ไว้ด้านหลังด้วย หรือ (3) ชำระโดยวิธีการอื่นตามแต่ที่บริษัท และ/ หรือ ตัวแทนรับแจ้งความxxxxในการใช้xxxxx (ถ้ามี) จะเป็นผู้กำหนดและแจ้งให้ทราบต่อไป
ทั้งนี้ การใช้xxxxxxxxซื้อหุ้นสามัญดังกล่าวจะxxxxxxxxxต่อเมื่อบริษัทและ/หรือตัวแทนรับแจ้งความ xxxxในการใช้xxxxx (ถ้ามี) เรียกเก็บเงินดังกล่าวได้แล้วเท่านั้น หากบริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้ง
ความxxxxในการใช้xxxxx (ถ้ามี) เรียกเก็บเงินxxxxxxด้วยเหตผลใดๆ xxxxxxxเกิดจากความผดของบริษัท
และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความxxxxในการใช้xxxxx (ถ้ามี) บริษัทจะxxxxxxผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxแสดง xxxxxยกเลิกการใช้xxxxxซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxxในครั้งนั้น โดยบริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความ
xxxxในการใช้xxxxx (ถ้ามี) จะจัดส่งใบสำคัญแสดงxxxxxพร้อมกับเชค แคชเชียร์เช็ค หรือดร๊าฟท์ที่เรียก
เก็บเงินxxxx xxคืนให้แกผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxภายใน 14 วันนับจากวันกำหนดการใช้xxxxxในครั้งนั้น ๆ
แต่ทั้งนี้ ไม่ถือเป็นการตัดxxxxxxxxผถือใบสำคัญแสดงxxxxxจะใช้xxxxxซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxxในครั้งต่อไป เว้น
แต่เป็นการใช้xxxxxในครั้งสุดท้าย บริษัทจะxxxxxxใบสำคัญแสดงxxxxxนั้น ๆ สิ้นสภาพลงโดยไม่มีการใช้ xxxxxซึ่งบริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความxxxxในการใช้xxxxx (ถ้ามี) จะไม่รับผดชอบต่อดอกเบี้ย และ/หรือค่าเสียหายอื่นใด ไม่ว่ากรณีใด ๆ
(ง) ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าอากรแสตมป์หรือภาษีอื่นใด (ถ้ามี) ตามบทบัญญัติ
แห่งประมวลรัษฎากรหรือข้อบังคับหรือกฎหมายต่างๆที่ใช้บังคับในการใช้xxxxxซื้อหุ้นสามัญตาม ใบสำคัญแสดงxxxxx
(จ) หลักฐานประกอบการจองซื้อหุ้นสามัญรองรับการใช้xxxxxของผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxx
1) บุคคลธรรมดาสญชาติไทย : สำเนาบัตรประชาชน หรือสำเนาบัตรข้าราชการ หรือสำเนาบัตร พนักงานรัฐวิสาหกิจที่ยังไม่หมดอายุ (ในกรณีมีการเปลี่ยนชื่อ/xxxxxxxx ซึ่งทำให้ชื่อ/xxxxxxxx ไม่ ตรงกับใบสำคัญแสดงxxxxx ให้แนบเอกสารที่ออกโดยหน่วยงานราชการ xxxx ใบแจ้งเปลี่ยนชื่อ/ xxxxxxxx เป็นต้น) พร้อมลงลายมือชื่อรับรองสำเนาถูกต้อง
2) บุคคลธรรมดาต่างด้าว : สำเนาใบต่างด้าว หรือสำเนาหนังสือเดินทาง พร้อมลงลายมือชื่อ
รับรองสำเนาถูกต้อง
3) นิติบุคคลสัญชาติไทย : สำเนาหนังสือรับรองบริษัท ที่กระทรวงพาณิชย์ออกให้ไม่เกิน เดือน 6
ก่อนวันกำหนดการใช้xxxxxในครั้งนั้น ๆ พร้อมรับรองสำเนาถูกต้องโดยกรรมการผู้xxxxxxxทมีชื่อ ปรากฏอยู่ในหนังสือรับรองบริษัทนั้น และเอกสารหลักฐานของกรรมการผxxxxxxxลงลายมือชื่อ ตาม (1) หรือ (2) พร้อมลงลายมือชื่อรับรองสำเนาถูกต้อง
4) นิติบุคคลต่างด้าว : สำเนาเอกสารการจดทะเบียนจัดตั้งนิติบุคคล และ/หรือ หนังสือรับรองนิติ
บุคคล พร้อมลงลายมือชื่อรับรองสำเนาถูกต้องโดยกรรมการผู้xxxxxxx และเอกสารหลักฐานของ กรรมการผxxxxxxxลงลายมือชื่อตาม (1) หรือ (2) พร้อมลงลายมือชื่อรับรองสำเนาถูกต้อง และ รับรองโดย Notary public ของประเทศที่ออกเอกสารนั้นไม่เกิน เดือนก่อนวันกำหนดการใช้ 6 xxxxxในครั้งนั้นๆ
5) คัสโตเดียน : สำเนาเอกสารการจดทะเบียน พร้อมหนังสือแต่งตั้งคัสโตเดียน และเอกสาร หลักฐานของผู้xxxxxxxลงลายมือชื่อตาม (1) หรือ (2) พร้อมลงลายมือชื่อรับรองสำเนาถูกต้อง และรับรองโดย Notary public ของประเทศที่ออกเอกสารนั้นไม่เกิน 6 เดือนก่อนวัน กำหนดการใช้xxxxxในครั้งนั้นๆ
ทั้งนี้ หากผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxxxxส่งมอบหลักฐานประกอบการใช้xxxxxตามที่กล่าวข้างต้น บริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความxxxxในการใช้xxxxx (ถ้ามี) ขอxxxxxxxxxที่จะxxxxxxผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxxxxxxxxxxxจะใช้xxxxxตาม ใบสำคัญแสดงxxxxxในครั้งนั้นๆ อย่างไรก็ตาม บริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความxxxxในการใช้xxxxx (ถ้ามี) xxxxxxใช้ ดุลพินิจในการพิจารณาให้ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxx ใช้xxxxxตามใบสำคัญแสดงxxxxx xxxตามความเหมาะสม
3.7 เงื่อนไขอื่นเกี่ยวกับการใช้xxxxx
3.7.1 จํานวนหน่วยของใบสําคัญแสดงxxxxxหรือใบแทนใบสําคัญแสดงxxxxxxxxขอใช้xxxxxซื้อหุ้นสามัญ จะต้องเป็นจํานวนเต็ม เท่านั้นโดยอัตราการใช้xxxxxเท่ากับใบสําคัญแสดงxxxxxหรือใบแทนใบสําคัญแสดงxxxxxหนึ่งหน่วยต่อหุ้นสามัญหนึ่งหุ้น เว้นแต่การปรับxxxxxตามเงื่อนไขการปรับxxxxxของใบสำคัญแสดงxxxxxตามที่ระบุไว้ในข้อ 4.2
3.7.2 การใช้xxxxxของผู้ถือใบแสดงxxxxxxxxเป็นบุคคลต่างด้าวจะมีข้อจำกัดอันxxxxxxxxxมาจากข้อบังคับของบริษัทว่าด้วยเรื่อง อัตราส่วนการถือหุ้นของคนต่างด้าว โดยมีรายละเอียดดังนี้
(ก) บริษัทจะไม่ออกหุ้นสามัญxxxxxxxxให้แก่ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxxxxเป็นคนต่างด้าว ซึ่งได้xxxxxxการ ใช้xxxxxตาม เงื่อนไขการแจ้งความxxxxการใช้xxxxxตามข้อ 3.6 หากการใช้xxxxxดังกล่าวจะทำให้สัดส่วนการถือหุ้นของคน
ต่างด้าวมีจำนวนเกินกว่าร้อยละ 49 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทตามที่ระบุในข้อบังคับ ของบริษัท
(ข) หากข้อจำกัดตามข้อ (ก) ข้างต้นมีผลทำให้ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxxxxเป็นคนต่างด้าวxxxxxxxxxxxxการใช้xxxxxตาม เงื่อนไขการแจ้งความxxxxการใช้xxxxxตามข้อ 3.6 และตามหลักการ “xxxxxxได้ก่อน” (First-Come First- Served) ไม่xxxxxxใช้xxxxxxxxตามจำนวนที่ระบุในใบแจ้งความxxxxการใช้xxxxxซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxxไม่ว่า ทั้งหมดหรือบางส่วน บริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความxxxxในการใช้xxxxx (ถ้ามี) ขอxxxxxxxxxในการส่ง เงินในส่วนxxxxxxxxxxxxใช้xxxxxxxxคืนให้แก่ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxxxxเป็นคนต่างด้าวดังกล่าวโดยไม่มีดอกเบี้ย ภายใน 14 วันนับจากวันกำหนดการใช้xxxxx xxxxxxx ตามวิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดโดยบริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความxxxxในการใช้xxxxx (ถ้ามี)
(ค) นอกจากการส่งเงินในส่วนxxxxxxxxxxxxใช้xxxxxxxxคืนข้างต้น ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxxxxเป็นคนต่างด้าวจะxxxxxxรับ การชดเชยหรือxxxxxxxxว่าในรูปแบบใดจากบริษัทและตัวแทนรับแจ้งความxxxxในการใช้xxxxx (ถ้ามี) ในกรณีxxx xxxxxxxxxใช้xxxxxตามใบสำคัญแสดงxxxxxxxxโดยมีสาเหตุมาจากข้อจำกัดเรื่องอัตราส่วนการถือหุ้นของคนต่าง ด้าวตามข้อ (ก) ข้างต้น
3.7.3 จำนวนหุ้นสามัญที่ออกให้เมื่อมีการใช้xxxxxจะคํานวณโดยการนําจํานวนเงินในการใช้xxxxx ซึ่งผู้ถือใบสําคัญแสดงxxxxx หรือใบแทนใบสําคัญแสดงxxxxxxxxชําระตามที่กล่าวข้างต้น หารด้วยราคาการใช้xxxxxในขณะที่มีการใช้xxxxxนั้นโดย บริษัทจะออกหุ้นสามัญเป็นจํานวนเต็มไม่เกินจํานวนหน่วยของใบสําคัญแสดงxxxxxหรือใบแทนใบสําคัญแสดงxxxxx คูณด้วยอัตราการใช้xxxxx หากมีการปรับราคาการใช้xxxxx และ/หรืออัตราการใช้xxxxxแล้วทำให้มีเศษหุ้นเหลืออยู่จาก การคำนวณดังกล่าว บริษัทจะไม่นำเศษดังกล่าวมาคำนวณ และจะชำระเงินที่เหลือจากการใช้xxxxxดังกล่าวคืนให้แก่ ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxภายใน 14 วันนับจากวันกำหนดการใช้xxxxxในแต่ละครั้ง โดยไม่มีการคิดดอกเบี้ยไม่ว่าใน กรณีใดๆ ในกรณีที่ต้องมีการเปลี่ยนแปลงอัตราการใช้xxxxxตามเกณฑ์การปรับราคาการใช้xxxxxและอัตราการใช้xxxxx ตามที่ระบุในเงื่อนไขการปรับxxxxx และมีเศษของจำนวนหุ้นสามัญที่จะได้รับจากการใช้xxxxxตามใบสำคัญแสดงxxxxx ให้ตัดเศษของหุ้นทิ้ง
3.7.4 ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxxจะต้องใช้xxxxxในการซื้อหุ้นสามัญไม่ต่ำกว่า 100 หุ้นสามัญ โดยจำนวนหนวยของใบสำคัญ
แสดงxxxxxxxxขอใช้xxxxxซื้อหุ้นสามัญจะต้องเป็นจำนวนเตมเท่านั้น อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่ผู้ถือใบสำคัญแสดงxxxxx มี xxxxxในการซื้อหุ้นต่ำกว่า 100 หุ้นสามัญ จะต้องใช้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญในครั้งเดียวทั้งจำนวน ยกเว้นในการใช้ สิทธิครั้งสุดท้ายนี้ ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิจะสามารถใช้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญโดยไม่มีการกำหนดจำนวนหุ้นสามัญ ขั้นต่ำ
3.7.5 หากบริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความจำนงในการใช้สิทธิ ได้รับเอกสารแจ้งความจำนงในการใช้สิทธิตามข้อ
3.6.2 จ) ไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง หรือจำนวนเงินที่บริษัทไดรับชำระไม่ครบตามจำนวนที่ระบุไว้ในแบบแสดงความ จำนงการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญ หรือบริษัทตรวจสอบได้ว่าข้อความที่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิกรอกลงในแบบแสดง ความจำนงการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญนั้นไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง หรือติดอากรแสตมป์ (ถ้ามี) ไม่ครบถ้วนถูกต้องตาม บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากร ข้อบังคับ หรือกฎหมายต่าง ๆ ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิจะต้องทำการแก้ไขให้ ถูกต้องภายในระยะเวลาการแจ้งความจำนงในการใช้สิทธิในแต่ละครั้ง หากผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิไม่ทำการแก้ไขให้ ถูกต้องภายในระยะเวลาดังกล่าว บริษัทและ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความจำนงในการใช้สิทธิ (ถ้ามี) จะถือว่าผู้ถือ ใบสำคัญแสดงสิทธิแสดงเจตนายกเลิกการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญในครั้งนั้นๆ และบริษัทและ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความ จำนงในการใช้สิทธิ (ถ้ามี) จะจัดส่งเงินที่ได้รับโดยไม่มีดอกเบี้ย และใบสำคัญแสดงสิทธิคืนให้แก่ผู้ถือใบสำคัญแสดง
สิทธิ ภายใน 14 วันนับจากวันกำหนดการใช้สิทธิในครั้งนั้น ๆ ตามวิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดโดยบริษัทและ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความจำนงในการใช้สิทธิ (ถ้ามี) ทั้งนี้ ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิสามารถแจ้งความจำนงการใช้สิทธิซื้อ หุ้นสามัญใหม่ได้ ในวันกำหนดการใช้สิทธิครั้งต่อไป เว้นแต่การใช้สทธิครั้งนั้นจะเป็นการใช้สิทธิครั้งสดท้าย ให้ถือว่า ใบสำคัญแสดงสิทธินั้น ๆ สิ้นสภาพลงโดยไม่มีการใช้สิทธิ บริษัทจะไม่รับผิดชอบต่อดอกเบี้ยและ/หรือค่าเสียหายอื่น ใด ไม่ว่ากรณีใด ๆ
3.7.6 ในกรณีที่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิชำระเงินในการใช้สิทธิไม่ครบถ้วน บริษัท และ/หรือตัวแทนรับแจ้งความจำนงใน การใช้สิทธิ (ถ้ามี) มีสิทธิที่จะดำเนินการประการใดประการหนึ่งตามลำดับ ดังต่อไปนี้ ตามที่บริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความจำนงในการใช้สิทธิ (ถ้ามี) จะเห็นสมควร
(ก) ให้ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิชำระเงินเพิ่มเติมตามจำนวนที่ประสงค์จะใช้สิทธิให้ครบถ้วนภายใน
ระยะเวลาการแจ้งความจำนงในการใช้สิทธิในครั้งนั้น หากบริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความจำนง ในการใช้สิทธิ (ถ้ามี) ไม่ได้รับเงินครบตามจำนวนในการใช้สิทธิภายในระยะเวลาดังกล่าว บริษัท และ/ หรือ ตัวแทนรับแจ้งความจำนงในการใช้สิทธิ (ถ้ามี) จะถือว่าการแจ้งความจำนงในการใช้สิทธิในครั้ง นั้นสิ้นสภาพลงโดยไม่มีการใช้สิทธิ หรือ
(ข) ถือว่าจํานวนหุ้นสามญที่จองซื้อมีจํานวนเท่ากับจํานวนที่จะได้รับตามจํานวนเงินในการใช้สิทธิซึ่งบริษัท
ได้รับชําระไว้จริงตามราคาการใช้สิทธิและอัตราการใช้สิทธิในขณะนั้นหรือ
(ค) ถือว่าการแจ้งความจำนงในการใช้สิทธิในครั้งนั้นสิ้นสภาพลงโดยไม่มีการใช้สิทธิ หมายเหตุ: ในการใช้สิทธิครั้งสุดท้าย บริษัทจะดำเนินการตามข้อ (ข) ข้างต้น
ในกรณีตามข้อ (ก) และ (ค) บริษัทจะส่งเงินที่ได้รับไว้และใบสําคัญแสดงสิทธิหรือใบแทน ใบสําคัญแสดงสิทธิซึ่งบริษัทถือว่าไม่มีการใช้สิทธิดังกล่าว คืนให้แก่ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิหรือใบแทน ใบสําคัญแสดงสิทธิทางไปรษณีย์ลงทะเบียนภายใน 14 วันนับจากวันกําหนดการใช้สิทธิ ในครั้งนั้นๆ โดยไม่มีดอกเบี้ย
ในกรณีตามข้อ ข) บริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความจำนงในการใช้สิทธิ (ถ้ามี) จะถือว่ามี การใช้สิทธิเพียงบางส่วน และบริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความจำนงในการใช้สิทธิ (ถ้ามี) จะส่ง มอบใบสำคัญแสดงสิทธิส่วนที่เหลือคืนให้กับผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนภายใน 14 วันทำการนับจากวันกำหนดการใช้สิทธิ ในครั้งนั้น ๆ พร้อมเงินส่วนที่เหลือ (ถ้ามี) โดยไม่มีดอกเบี้ย อย่างไรก็ดี ใบสำคัญแสดงสิทธิที่ยังไม่มีการใช้สิทธิดังกล่าว ยังมีผลต่อไปจนถึงวันกำหนดการใช้สิทธิ ครั้งสุดท้าย เว้นแต่เป็นการใช้สิทธิครั้งสุดท้าย
3.7.7 ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิหรือใบแทนใบสำคัญแสดงสิทธิ จะต้องเป็นผรับผิดชอบค่าอากรแสตมป์หรือภาษีอื่นใด (ถ้ามี) ตามบทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรหรือข้อบังคับ หรือกฎหมายต่างๆที่ใช้บังคับในการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญตาม ใบสําคัญแสดงสิทธิ
3.7.8 ในกรณีที่บริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความจำนงในการใช้สิทธิ (ถ้ามี) ไม่สามารถคืนเงินส่วนทไี่ ม่ได้ใช้สิทธิให้แก่ ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิได้ภายในระยะเวลา 14 วันนับแต่วันครบกำหนดการใช้สิทธิ ในครั้งนั้น ๆ ผู้ถือใบสำคัญ แสดงสิทธิจะได้รับดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี โดยคำนวณจากเงินส่วนที่ไม่ได้ใช้สิทธินับแต่วันที่พ้นกำหนด 14 วันดังกล่าวจนถึงวันที่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิได้รับคืน
อย่างไรก็ดี หากบริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความจำนงในการใช้สิทธิ (ถ้ามี) ได้ทำการส่งเช็ค ดร๊าฟท์ ตั๋วแลกเงินธนาคาร หรือคำสั่งจ่ายเงินของธนาคาร ซึ่งขีดคร่อมสั่งจ่ายเฉพาะชื่อผู้ถือใบสำคัญสิทธิ ทางไปรษณีย์ ลงทะเบียนตามที่อยู่ที่ระบุในหนังสือแสดงความจำนงในการใช้สิทธิโดยถูกต้องแล้ว ให้ถือว่าผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ ได้รับเงินคืนโดยชอบและผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ ไม่มีสิทธิเรียกร้องดอกเบี้ย และ/หรือค่าเสียหายใด ๆ อีกต่อไป
3.7.9 เมื่อผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิที่ประสงค์จะใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน ได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขการแจ้งความจำนงการใช้ สิทธิซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน กล่าวคือ ได้ส่งมอบทั้งใบสำคัญแสดงสิทธิ แบบแสดงความจำนงการใช้สทธิซื้อหุ้นสามัญ พร้อมทั้งหลักฐานประกอบการใช้สิทธิตามข้อ 3.6.2 จ) และชำระเงินค่าจองซื้อหุ้นสามัญถูกต้องและครบถ้วน สมบูรณ์ ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ จะไม่สามารถเพิกถอนการใช้สิทธิได้ เว้นแต่จะได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจาก บริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความจำนงในการใช้สิทธิ (ถ้ามี)
3.7.10 เมื่อพ้นกําหนดวันใช้สิทธิครั้งสดท้ายแล้วแต่ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิหรือใบแทนใบสําคัญแสดงสิทธิยังมิได้ปฏิบัตตาม เงื่อนไขของการใช้สิทธิที่กําหนดไว้อย่างครบถ้วนให้ถือว่าใบสําคัญแสดงสิทธิหรือใบแทนใบสําคัญแสดงสิทธินั้นๆสิ้น สภาพลงโดยไม่มีการใช้สิทธิ และผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิหรือใบแทนใบสําคัญแสดงสิทธิจะใช้สิทธิไม่ได้อีก
3.7.11 ในกรณีที่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิสง่ มอบใบสำคัญแสดงสิทธิ เป็นจำนวนมากกว่าจำนวนที่ประสงค์จะใช้สิทธิ บริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความจำนงในการใช้สิทธิ (ถ้ามี) จะส่งใบสำคัญแสดงสิทธิใบใหม่โดยมีจำนวนของใบสำคัญ แสดงสิทธิที่ลดลงให้แก่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าว หากใบสำคัญแสดงสิทธินั้นอยู่ในระบบใบหุ้น โดยทาง ไปรษณีย์ลงทะเบียนภายใน 14 วันนับจากวันครบกำหนดการใช้สิทธิ นั้น ๆ และจะทำการยกเลิกใบสำคัญแสดงสิทธิ ใบเก่า
3.7.12 บริษัทจะยื่นขอจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชำระแล้วของบริษัทต่อกระทรวงพาณิชย์ตามจำนวนหุ้นสามัญที่ออกใหม่ สำหรับการใช้สิทธิในแต่ละครั้งภายใน 14 วัน นับตั้งแต่วันที่บริษัทได้รับชำระค่าหุ้นตามจำนวนที่มีการใช้สิทธิแต่ละ ครั้ง และบริษัทจะดำเนินการให้นายทะเบียนผู้ถือหุ้นของบริษัทจดทะเบียนผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิที่ได้ใช้สิทธินั้น เข้าเป็นผู้ถือหุ้นสามัญของบริษัทในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นตามจำนวนหุ้นสามัญที่คำนวณได้จากการใช้สทธิในครั้งนั้น
ทั้งนี้ บริษัทจะดำเนินการยื่นคำขอให้รับหุ้นสามญเพิ่มทุนที่ออกเนื่องจากการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิ เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ภายใน 30 วันนับแต่วันกำหนดการใช้สิทธิแต่ละครั้ง
หุ้นสามัญใหม่ที่ออกเนื่องจากการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิจะมีสิทธิและสถานะเท่าเทียมกับหุ้นสามัญ ของบริษัทที่ได้ออกไปก่อนหน้าแล้วทุกประการ นับตั้งแต่วันที่มีการจดแจ้งชื่อของ ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิหรือ ผู้รับสิทธิแทนเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทและจดทะเบียนเพิ่มทุนชำระแล้วเนื่องจากการออกหุ้นสามัญใหม่ จากการใช้ สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิกับกระทรวงพาณิชย์แล้ว
3.7.13 การส่งมอบหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่เกิดจากการใช้สิทธิของใบสำคัญแสดงสิทธิ ในการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญของบริษัทตามใบสำคัญแสดงสิทธิ ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิหรือใบแทนใบสำคัญแสดงสิทธิ
ที่ใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญ สามารถเลือกให้บริษัทดำเนินการในกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้
(ก) ในกรณีที่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิที่ได้รับการจัดสรรหุ้นประสงค์จะขอรับใบหุ้นสามัญ โดยให้ออกใบ หุ้นในนามของผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ จะส่งมอบใบหุ้นตามจำนวนที่ใช้ สิทธิแก่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ ตามชื่อที่อยู่ที่ระบุไว้ในสมุด ทะเบียน ภายใน 15 วันทำการนับจากวันครบกำหนดการใช้สิทธิแต่ละครั้ง ในกรณีนี้ ผู้ถือ ใบสำคัญแสดงสิทธิ จะไม่สามารถขายหุ้นสามัญที่เกิดจากการใช้สิทธิในตลาดหลักทรัพย์ได้จนกว่า จะได้รับใบหุ้น ซึ่งอาจจะได้รับภายหลังจากที่หุ้นสามัญที่เกิดจากการใช้สิทธิได้รับอนุญาตให้เข้าทำ การซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์
(ข) ในกรณีที่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิได้รับการจัดสรรหุ้นไม่ประสงค์จะขอรับใบหุ้นสามัญ แต่ประสงค์
จะใช้บริการของศูนย์ฝากหลักทรัพย์ โดยผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิประสงค์ที่จะฝากหุ้นสามัญที่เกิด จากการใช้สิทธิไว้ในบัญชีของบริษัทหลักทรัพย์ ซึ่งผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิมีบัญชีซื้อขาย หลักทรัพย์อยู่ ในกรณีนี้ ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ จะดำเนินการนำหุ้นสามัญที่เกิดจากการใช้สิทธิ ฝากไว้กับ “บริษัทศูนย์ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด เพื่อผู้ฝาก “และศูนย์รับฝาก
หลักทรัพย์จะบันทึกยอดบัญชีจำนวนหุ้นสามัญที่บริษัทหลักทรัพย์นั้นฝากหุ้นสามัญอยู่ ใน ขณะเดียวกันบริษัทหลักทรัพย์นั้นก็จะบันทึกยอดบัญชีจำนวนหุ้นสามัญที่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ ใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญฝากไว้และออกหลักฐานการฝากให้แก่ผู้ใช้สิทธิจองซื้อหุ้นสามัญภายใน 7วัน ทำการนับจากวันครบกำหนดการใช้สิทธิในแต่ละครั้ง ในกรณีนี้ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิที่ได้รับการ จัดสรรหุ้นสามัญ จะสามารถขายหุ้นสามัญที่เกิดจากการใช้สิทธิในตลาดหลักทรัพย์ได้ทันทีที่ตลาด หลักทรัพย์อนุญาตให้หุ้นสามัญที่เกิดจากการใช้สิทธิทำการซื้อขายได้ในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย
ในกรณีที่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ เลือกให้บริษัทดำเนินการตามข้อ (ข) ชื่อของผู้ถือใบสำคัญแสดง สิทธิที่ได้รับการจัดสรรหุ้น จะต้องตรงกับชื่อเจ้าของบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ที่ผู้ถือใบสำคัญแสดง สิทธิประสงค์ที่จะฝากหุ้นสามัญไว้ในบัญชีหลักทรัพย์ดังกล่าว มิฉะนั้น บริษัทขอสงวนสิทธิที่จะ ดำเนินการออกใบหุ้นแก่ ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิที่ได้รับการจัดสรรหุ้นตามข้อ (ก) แทน
(ค) ในกรณีที่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญไม่ประสงค์จะขอรับใบหุ้น แต่ประสงค์จะใช้บริการ
ของศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ โดยผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิประสงค์ที่จะฝาก หุ้นสามัญไว้ในบัญชี ของบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์ สมาชิกเลขที่ 600 กรณีนี้ บริษัทจะดำเนินการนำหุ้นสามัญที่เกิดจาก การใช้สิทธิฝากไว้กับศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ และศูนย์รับฝากหลักทรัพย์จะบันทึกยอดบัญชีจำนวน หุ้นสามัญ ตามจำนวนผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิได้รับการจัดสรรไว้ในบัญชีผู้ออกหลักทรัพย์ สมาชิก เลขที่ 600 และออกหลักฐานการฝากให้แก่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิที่ได้รับจากการจัดสรรหุ้น ภายใน 7 วัน ทำการนับจากวันครบกำหนดการใช้สิทธิในแต่ละครั้ง เมื่อผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิที่ ได้รับการจัดสรรหุ้นต้องการขายหุ้น ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิที่ได้รับการจัดสรรหุ้นต้องถอนหุ้นออก จากบัญชีเลขที่ 600 ดังกล่าว โดยต้องติดต่อผ่านบริษัทหลักทรัพย์ทั่วไป ซึ่งอาจจะมีค่าธรรมเนียม ในการดำเนินตามที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ และ/หรือ บริษัทหลักทรัพย์นั้นๆ กำหนด ดังนั้น ใน กรณีนี้ ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิที่ได้รับการจัดสรรหุ้นจะสามารถขายหุ้นที่ได้รับการจัดสรรในตลาด หลักทรัพย์ได้ทันทีที่ตลาดหลักทรัพย์อนุญาตให้หุ้นของบริษัททำการซื้อขายได้ในตลาดหลักแห่ง ประเทศไทย และผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิที่ได้รับการจัดสรรหุ้นได้ดำเนินการถอนหุ้นออกจากบัญชี เลขที่ 600 ดังกล่าวแล้ว
3.7.14 การคำนวณการเปลี่ยนแปลงราคาการใช้สิทธิ และอัตราการใช้สิทธิ จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงซึ่งทำให้ราคาการใช้สิทธิ ใหม่สูงขึ้น และ/หรือ อัตราการใช้สิทธิลดลง เว้นแต่กรณีการรวมหุ้น สำหรับการคำนวณจำนวนเงินจากการใช้สิทธิ จะคำนวณจากราคาการใช้สิทธิใหม่หลังการเปลี่ยนแปลง (ทศนิยม 5 ตำแหน่ง) คูณกับจำนวนหุ้นสามัญ (จำนวนหุ้น สามัญคำนวณได้จาก อัตราการใช้สิทธิใหม่ คูณกับจำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิที่แสดงความจำนงการใช้สิทธิ เมื่อ คำนวณได้จำนวนหุ้นออกมาเป็นเศษหุ้นให้ตัดเศษของหุ้นนั้นทิ้ง) ในกรณีจำนวนเงินที่คำนวณได้จากการใช้สิทธิมีเศษ ของบาทให้ตัดเศษของบาททิ้ง
3.7.15 ในกรณีที่หุ้นสามัญที่สำรองไว้เพื่อรองรับการใช้สิทธิมีไม่เพียงพอ บริษัทจะดำเนินการชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นให้แก่ ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิหรือใบแทนใบสำคัญแสดงสิทธิที่ไม่สามารถใช้สิทธิได้ อย่างไรก็ตามบริษัทจะไม่ชดใช้ ค่าเสียหายให้แก่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิหรือใบแทนใบสำคัญแสดงสิทธิที่ไม่สามารถใช้สิทธิได้ ถึงแม้ว่าจะมีหุ้นสามัญ เพียงพอ ในกรณีที่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิที่เป็นบุคคลต่างด้าวหรือบุคคลที่ไม่มีสัญชาติไทยที่ไม่สามารถใช้สิทธิได้ เพราะถูกจำกัดสิทธิตามสัดส่วนการถือหุ้นตามที่ระบุในข้อบังคับบริษัท
3.7.16 ในช่วงระยะเวลาตั้งแต่วันที่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิหรือใบแทนใบสำคัญแสดงสิทธิ แสดงความจำนงใช้สิทธิโดย ถูกต้องสมบูรณ์แล้ว จนถึงก่อนวันที่นายทะเบียนหุ้นของบริษัทจดแจ้งชื่อของผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิหรือใบแทน
ใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าว เป็นผถือหุ้นในสมุดทะเบียนรายชื่อผู้ถือหุ้นของบริษัท และกระทรวงพาณิชย์ได้รับจด ทะเบียนเพิ่มทุนชำระแล้วอันเนื่องมาจากการใช้สิทธินั้น บริษัทจะถือว่าผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิหรือใบแทนใบสำคัญ แสดงสิทธิดังกล่าว มีสิทธิและสภาพเช่นเดียวกับผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิหรือใบแทนใบสำคัญแสดงสิทธิที่ยังไม่ได้ แสดงความจำนงใช้สิทธิ แต่ทั้งนี้ นับแต่วันที่นายทะเบียนหุ้นของบริษัทได้จดแจ้งชื่อของผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิหรือ ใบแทนใบสำคัญแสดงสิทธิที่ได้แสดงความจำนงในการใช้สิทธิโดยถูกต้องสมบูรณ์แล้วในสมุดทะเบียนรายชื่อผู้ถือหุ้น ของบริษัทและกระทรวงพาณิชย์ได้รับจดทะเบียนเพิ่มทุนชำระแล้วอันเนื่องมาจากการใช้สิทธินั้น บริษัทจะถือว่าผู้ ถือใบสำคัญแสดงสิทธิหรือใบแทนใบสำคัญแสดงสิทธิมีฐานะเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทโดยสมบูรณ์
4. มาตรการคุ้มครองผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ
4.1 สิทธิของบริษัทในการเรียกให้ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิใช้สิทธิก่อนระยะเวลาที่กำหนดตามใบสำคัญแสดงสิทธิ
ใบสำคัญแสดงสิทธิที่บริษัทออกครั้งนี้ ไม่มีข้อกำหนดให้บริษัทสามารถเรียกให้ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิใช้สิทธิก่อน ระยะเวลาที่กำหนดตามใบสำคัญแสดงสิทธิ
4.2 เงื่อนไขการปรับสิทธิ
การปรับสิทธิมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับผลประโยชน์ตอบแทนให้แก่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ราคาการใช้สิทธิจะถูก ปรับในกรณีที่มีเหตุการณ์ต่าง ๆ ตามที่กำหนด และอัตราการใช้สิทธิจะถูกปรับให้สอดคล้องกับการปรับราคาการใช้สิทธิทั้งนี้ โดยมีหลักการพื้นฐานที่จะรักษามูลค่าแห่งสิทธิตลอดอายุใบสำคัญแสดงสิทธิไม่ให้ด้อยค่าลง ทั้งนี้ เพื่อรักษาผลประโยชน์ตอบ แทนของผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิไม่ให้ด้อยไปกว่าเดิม บริษัทจะดำเนินการปรับราคาการใช้สิทธิและอัตราการใช้สิทธิในการซื้อ หุ้นสามัญตลอดอายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ เมื่อเกิดเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งดังต่อไปนี้
(ก) เมื่อบริษัทมีการเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นสามัญของบริษัท อันเป็นผลมาจากการรวมหรือการแบ่งแยก หุ้นสามัญที่ได้ออกแล้วของบริษัท
(ข) เมื่อบริษัทเสนอขายหุ้นสามัญที่ออกใหม่ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม และ/หรือบุคคลใดๆ โดยราคาเฉลี่ยต่อหุ้นของหุ้น สามัญที่ออกใหม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ของ“ราคาตลาดของหุ้นสามัญบริษัท”
(ค) เมื่อบริษัทเสนอขายหลักทรัพย์ออกใหม่ใดๆ ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม และ/หรือบุคคลใดๆ โดยที่หลักทรัพย์นั้นให้สิทธิ ที่จะแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญหรือให้สทธิในการซื้อหุ้นสามัญ เช่น หุ้นกู้แปลงสภาพ ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ หุ้นสามัญ โดยราคาเฉลี่ยต่อหุ้นของหุ้นสามัญที่ออกใหม่เพื่อรองรับสิทธิดังกล่าวต่ำกว่าร้อยละ 90 ของ “ราคา ตลาดของหุ้นสามัญบริษัท”
(ง) เมื่อบริษัทจ่ายปันผลทั้งหมดหรือบางส่วนเป็นหุ้นสามัญให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท
(จ) เมื่อบริษัทจ่ายเงินปันผลเป็นเงินเกินกว่าอัตราร้อยละ 80 ของกำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้ของบริษัท สำหรับ การดำเนินงานในรอบระยะเวลาบัญชีใดๆ ตลอดอายุใบสำคัญแสดงสิทธิที่ออกในครั้งนี้
(ฉ) ในกรณีที่มีเหตุการณ์ใด ๆ อันทำให้ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิหรือใบแทนใบสำคัญแสดงสิทธิเสียสิทธิและ ผลประโยชน์ใดๆ อันพึงได้ โดยที่เหตุการณ์ใดๆ นั้นไม่ได้กำหนดอยู่ในข้อ (ก) ถึง (จ) การดำเนินการปรับราคาการใช้สิทธิและอัตราการใช้สิทธิในกรณีต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น เป็นไปตามสูตรและ
วิธีการคำนวณดังต่อไปนี้
(ก) เมื่อบริษัทมีการเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นสามัญของบริษัท อันเป็นผลมาจากการรวมหุ้นหรือแบ่งแยก หุ้นสามัญที่ได้ออกแล้วของบริษัท ซึ่งการเปลี่ยนแปลงราคาการใช้สิทธิและอัตราการใช้สิทธิจะมีผลบังคับทันที นับตั้งแต่วันที่มีการจดทะเบียน เปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นสามัญของบริษัทกับกระทรวงพาณิชย์
(1) ราคาการใช้สิทธิ จะเปลยนแปลงตามสูตรการคำนวณดังนี้
Price 1
=
Price 0 x (Par 1)
Par 0
(2) อัตราการใช้สิทธิ จะเปลยนแปลงตามสตรการคำนวณดังนี้
Ratio 1
=
Ratio 0 x (Par 0)
Par 1
โดยที่
Price 1 คือ ราคาการใช้สิทธิใหม่หลังการเปลี่ยนแปลง
Price 0 คือ ราคาการใช้สิทธิเดิมก่อนการเปลยนแปลง
Ratio 1 คือ อัตราการใช้สิทธิใหม่หลังการเปลยนแปลง
Ratio 0 คือ อัตราการใช้สิทธิเดิมก่อนการเปลยนแปลง
Par 1 คือ มูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นสามัญหลังการเปลยนแปลง
Par 0 คือ มูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นสามัญก่อนการเปลยนแปลง
(ข) เมื่อบริษัทเสนอขายหุ้นสามัญที่ออกใหม่ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม และ/หรือประชาชนทั่วไป และ/หรือบุคคลในวงจำกัด โดยราคาเฉลี่ยต่อหุ้นของหุ้นสามัญที่ออกใหม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ของ “ราคาตลาดของหุ้นสามัญบริษัท”
การเปลี่ยนแปลงราคาการใช้สิทธและอัตราการใช้สิทธิจะมีผลบังคับทันที ตั้งแต่วันแรกที่ผู้ซื้อหุ้น สามัญจะไม่ได้รับสิทธิในการจองซื้อหุ้นสามัญที่ออกใหม่ (วันแรกที่ตลาดหลักทรัพย์ประกาศขึ้นเครื่องหมาย
XR) สำหรับกรณีที่เป็นการเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดม
สามัญที่ออกใหม่ให้แก่บุคคลใดๆ แล้วแต่กรณี
(Right Issue) และ/หรือวันแรกของการเสนอขายหุ้น
“ราคาเฉลี่ยต่อหุ้นของหุ้นสามัญที่ออกใหม่” คำนวณได้จากจำนวนเงินทั้งหมดที่บริษัทจะได้รับจากการเสนอ
ขายหุ้นสามญ ครั้งนั้น
หักด้วยค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการเสนอขายหุ้น หารดวยจำนวนหุ้นสามัญที่ออกใหม่ทั้งหมดใน
ในกรณีที่มีการเสนอขายหุ้นสามัญที่ออกใหม่พร้อมกันในราคาเสนอขายที่แตกต่างกันภายใต้เงื่อนไขที่จะต้อง จองซื้อหุ้นดังกล่าวด้วยกัน ให้นำราคาหุ้นดังกล่าวและจำนวนหุ้นที่ออกใหม่ทั้งหมดมาคำนวณราคาเฉลี่ยต่อหุ้น ของหุ้นสามัญที่ออกใหม่ แต่ในกรณีที่การเสนอขายพร้อมกันดังกล่าวไม่อยู่ภายใต้เงื่อนไขที่จะต้องจองซื้อ ด้วยกัน ให้นำจำนวนหุ้นและราคาเสนอขายที่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ของ “ราคาตลาดของหุ้นสามัญของบริษัท” มา คำนวณการเปลี่ยนแปลงเท่านั้น
“ราคาตลาดของหุ้นสามัญของบริษัท” กำหนดไว้เท่ากับ “ราคาตลาดเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักต่อหุ้นของหุ้นสามัญ
บริษัท ” โดยที่ “ราคาตลาดเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักต่อหุ้นของหุ้นสามัญบริษัท” หมายถึง มูลค่าการซื้อขายหุ้นสามัญ ทั้งหมดของบริษัท หารด้วยจำนวนหุ้นสามญของบริษัทที่มีการซื้อขายทั้งหมดในตลาดหลักทรัพย์ในระยะเวลา 14 วันทำการ (วันที่เปิดทำการซื้อขายของตลาดหลักทรัพย์)ติดต่อกนก่อนวันที่ใช้ในการคำนวณ “วันที่ใช้ในการคำนวณ” หมายถึง วันแรกที่ผู้ซื้อหุ้นสามัญจะไม่ได้รับสิทธิในการจองซื้อหุ้นสามัญที่ออกใหม่ (วันแรกที่ตลาดหลักทรัพย์ประกาศขึ้นเครื่องหมาย XR) สำหรับกรณีที่เป็นการเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม (Right Issue) และ/หรือวันแรกของการเสนอขายหุ้นสามัญที่ออกใหม่สำหรับกรณีที่เป็นการเสนอขายให้แก่ บุคคลใดๆ แล้วแต่กรณี
ในกรณีที่ไม่สามารถหา “ราคาตลาดของหุ้นสามัญของบริษัท” เนื่องจากหุ้นสามัญไม่มีการซื้อขาย ในช่วงเวลาดังกล่าว บริษัทจะดำเนินการกำหนดราคายุติธรรมเพื่อใช้ในการคำนวณแทน
“ราคายุติธรรม” หมายถึง ราคาที่ประเมินโดยที่ปรึกษาทางการเงินที่สำนักงาน ก.ล.ต. ให้ความเห็นชอบ
(1) ราคาการใช้สิทธิ จะเปลยนแปลงตามสูตรการคำนวณดังนี้
Price 1
=
Price 0 x [(A x MP) + BX]
[MP(A+B)]
(2) อัตราการใช้สิทธิ จะเปลยนแปลงตามสตรการคำนวณดังนี้
Ratio 1
=
Ratio 0 x [(MP(A+B)]
[(A x MP) + BX]
โดยที่
Price 1 คือ ราคาการใช้สิทธิใหม่หลังการเปลี่ยนแปลง Price 0 คือ ราคาการใช้สิทธิเดิมก่อนการเปลยนแปลง Ratio 1 คือ อัตราการใช้สิทธิใหม่หลังการเปลยนแปลง Ratio 0 คือ อัตราการใช้สิทธิเดิมก่อนการเปลยนแปลง
MP คือ ราคาตลาดของหุ้นสามัญของบริษัทตามความหมายเช่นเดียวกับ รายละเอียดในข้อ 4.2 (ข) ข้างต้น
A คือ จำนวนหุ้นสามัญที่เรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว ณ วันก่อนปิดสมุดทะเบียนผู้
ถือหุ้นเพื่อสิทธิในการจองซื้อหุ้นสามัญที่ออกใหม่ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม และ/ หรือก่อนวันแรกของการเสนอขายหุ้นสามัญที่ออกใหม่ให้แก่ประชาชน ทั่วไป และ/หรือกรณีเสนอขายหุ้นสามัญให้แก่บุคคลในวงจำกัด แล้วแต่ กรณี
B คือ จำนวนหุ้นสามัญที่ออกใหม่เพื่อเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดม และ/หรอเสนอ
ขายต่อประชาชนทั่วไป และ/หรือเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจำกัด แล้วแต่ กรณี
BX คือ จำนวนเงินที่บริษัทจะได้รับทั้งสิ้น หลังหักค่าใช้จ่ายจากการเสนอขายหุ้น
สามัญที่ออกใหม่ (ถ้ามี) ทั้งในกรณีการเสนอขายหุ้นสามัญให้แก่ผู้ถือหุ้น เดิม และ/หรือเสนอขายประชาชนทั่วไป และ/หรือเสนอขายให้แก่บุคคล ในวงจำกัด
(ค) เมื่อบริษัทเสนอขายหลักทรัพย์ออกใหม่ใดๆ ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม และ/หรือเสนอขายประชาชนทั่วไป และ/หรือ
บุคคลในวงจำกัดโดยที่หลักทรัพย์นั้นมีสิทธิที่จะแปลงสภาพ / เปลี่ยนเป็นหุ้นสามัญได้ หรือให้สิทธิในการซื้อหุ้น สามัญ (“หลักทรัพย์ที่ออกใหม่ที่มีสิทธิแปลงสภาพ”) เช่น หุ้นกู้แปลงสภาพ ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น สามัญ โดยราคาเฉลี่ยต่อหุ้นของหุ้นสามัญที่ออกใหม่เพื่อรองรับสิทธิดังกล่าวต่ำกว่าร้อยละ 90 ของ “ราคา ตลาดของหุ้นสามัญบริษัท”
การเปลี่ยนแปลงราคาการใช้สิทธิและอัตราการใช้สิทธิ จะมีผลบังคับทันทีตั้งแต่วันแรกที่ผู้ซื้อหุ้น สามัญไม่ได้รับสิทธิในการซื้อหลักทรัพย์ใดๆ ที่ให้สิทธิที่จะแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญหรือให้สิทธิในการซื้อหุ้น สามัญ (วันแรกที่ตลาดหลักทรัพย์ประกาศขึ้นเครื่องหมาย XR หรือ XW) สำหรับกรณีที่เป็นการเสนอขายให้แก่ ผู้ถือหุ้นเดิม (Right Issue) และ/หรือวันแรกของการเสนอขายหลักทรัพย์ออกใหม่ใด ๆ ที่ให้สิทธิที่จะแปลง สภาพเป็นหุ้นสามัญหรือให้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ กรณีที่เป็นการเสนอขายให้แก่ประชาชนทั่วไป และ/หรือ กรณีที่เป็นการเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจำกัด แล้วแต่กรณี “ราคาเฉลี่ยต่อหุ้นของหุ้นสามัญที่ออกใหม่เพื่อรับรองการใช้สิทธิ” คำนวณจากจำนวนเงินที่บริษัทจะได้รับ จากการขายหลักทรัพย์ที่ให้สิทธิที่จะแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญ หรือให้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ รวมกับเงินที่จะ ได้รับจากการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญนั้น ถ้ามีการใช้สิทธิทั้งหมด หักด้วยค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการเสนอขาย หลักทรัพย์ที่ออกใหม่ หารด้วยจำนวนหุ้นทั้งสิ้นที่ต้องออกใหม่เพื่อรองรับกับการใช้สิทธินั้น
อนึ่ง ในกรณีที่มีการเสนอขายหุ้นสามัญที่ออกใหม่พร้อมกันมากกว่า 1 ราคาการเสนอขาย ภายใต้เงื่อนไขที่
จะต้องจองซื้อหุ้นดังกล่าวด้วยกัน ให้นำราคาเสนอขายทุกราคามาคำนวณราคาเฉลี่ยต่อหุ้นของหุ้นสามัญที่ออก ใหม่ แต่ในกรณีที่การเสนอขายดังกล่าวไม่อยู่ภายในเงื่อนไขที่ต้องจองซื้อด้วยกัน ให้นำเฉพาะราคาเสนอขายที่ ต่ำกว่าร้อยละ 90 ของ "ราคาตลาดต่อหุ้นของหุ้นสามัญของบริษัท" มาคำนวณการเปลี่ยนแปลงเท่านั้น ราคาตลาดของหุ้นสามัญของบริษัท มีความหมายเช่นเดียวกับรายละเอียดในข้อ 4.2 (ข) ข้างต้น “วันที่ใช้ในการคำนวณ” หมายถึง วันแรกที่ผู้ซื้อหุ้นสามัญจะไม่ได้รับสิทธิในการจองซื้อหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ ใดๆ ที่ให้สิทธิที่จะแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญ หรือให้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ (วันแรกที่ตลาดหลักทรัพย์ ประกาศขึ้นเครื่องหมาย XR หรือ XW) สำหรับกรณีที่เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์ดังกล่าวให้กับผู้ถือหุ้นเดิม (Right Issue) และ/หรือวันแรกของการเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ใดๆ ที่ให้สิทธิที่จะแปลงสภาพเป็นหุ้น สามัญหรือให้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญแก่แก่บุคคลใดๆ แล้วแต่กรณี
(1) ราคาการใช้สิทธิ จะเปลยนแปลงตามสูตรการคำนวณดังนี้
Price 1 =
Price 0 x [(A x MP) + BX]
[MP(A+B)]
(2) อัตราการใช้สิทธิ จะเปลยนแปลงตามสตรการคำนวณดังนี้
Ratio 1 =
Ratio 0 x [(MP(A+B)]
[(A x MP) + BX]
โดยที่
Price 1 คือ ราคาการใช้สิทธิใหม่หลังการเปลี่ยนแปลง
Price 0 คือ ราคาการใช้สิทธิเดิมก่อนการเปลยนแปลง
Ratio 1 คือ อัตราการใช้สิทธิใหม่หลังการเปลยนแปลง
Ratio 0 คือ อัตราการใช้สิทธิเดิมก่อนการเปลยนแปลง
MP คือ ราคาตลาดของหุ้นสามัญของบริษัท ตามความหมายเช่นเดียวกับ
รายละเอียดในข้อ 4.2 (ข) ข้างต้น
A | คือ | จำนวนหุ้นสามัญที่เรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว ณ วันก่อนปิดสมุดทะเบียนผู้ถือ |
หุ้น เพื่อการจองซื้อหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ที่มีสิทธิที่จะแปลงสภาพเป็นหุ้น | ||
สามัญ หรือให้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญกรณีเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม | ||
และ/หรือก่อนวันแรกของการเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ที่มีสิทธิแปลง | ||
สภาพเป็นหุ้นสามัญหรือให้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญกรณีเสนอขายให้แก่ | ||
บุคคลใดๆ แล้วแต่กรณี | ||
B | คือ | จำนวนหุ้นสามัญที่ออกใหม่ เพื่อรองรับการใช้สิทธิของ หลักทรัพย์ใดๆ ที่ให้ |
สิทธิที่จะแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญ หรือให้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ ที่จะ | ||
เสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม และ/หรือเสนอขายให้แก่บุคคลใดๆ แล้วแต่ | ||
กรณี | ||
BX | คือ | จำนวนเงินที่บริษัทจะได้รับทั้งสิ้นหลังหักค่าใช้จ่าย (ถ้ามี) จากการออก |
หลักทรัพย์ใดๆ ที่ให้สิทธิที่จะแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญ หรือให้สิทธิในการ | ||
ซื้อหุ้นสามัญ สำหรับการเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม และ/หรือเสนอขาย | ||
ให้แก่บุคคลใดๆ รวมกับเงินที่จะได้รับจากการใช้สิทธิแปลงสภาพเป็นหุ้น | ||
สามัญ หรือใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญ |
(ง) เมื่อบริษัทจ่ายเงินปันผลทั้งหมดหรือบางส่วนเป็นหุ้นสามัญให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท การเปลี่ยนแปลงราคาการใช้สิทธิและอัตราการใช้สิทธิ จะมีผลบังคับทันทีตั้งแต่วันแรกที่ผู้ซื้อหุ้นสามัญไม่มีสิทธิ รับหุ้นปันผล (วันแรกที่ตลาดหลักทรัพย์ขึ้นเครื่องหมาย XD)
(1) ราคาการใช้สิทธิ จะเปลี่ยนแปลงตามสูตรการคำนวณดังนี้
Price 1 = Price 0 x A
(A+B)
(2) อัตราการใช้สิทธิ จะเปลยนแปลงตามสตรการคำนวณดังนี้
Ratio 1 = Ratio 0 x (A+B)
A
โดยที่
Price 1 คือ ราคาการใช้สิทธิใหม่หลังการเปลี่ยนแปลง
Price 0 คือ ราคาการใช้สิทธิเดิมก่อนการเปลยนแปลง
Ratio 1 คือ อัตราการใช้สิทธิใหม่หลังการเปลยนแปลง
Ratio 0 คือ อัตราการใช้สิทธิเดิมก่อนการเปลยนแปลง
A คือ จำนวนหุ้นสามัญที่เรยกชำระเต็มมูลค่าแล้ว ณ วันก่อนปิดสมุดทะเบียนผู้ถือ
หุ้นเพื่อสิทธิในการรับหุ้นสามัญปันผล
B คือ จำนวนหุ้นสามัญที่ออกใหม่ในรูปแบบของหุ้นสามัญปันผล
(จ) เมื่อบริษัทจ่ายเงินปันผลเป็นเงินเกินกว่าอัตราร้อยละ 80 (กล่าวคือ อัตราการจ่ายเงินปันผลที่บริษัทกำหนดไว้
ตามนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทและมส่วนเพิ่มบนอัตราการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวเกินกว่าร้อยละ 40)
ของกำไรสุทธิตามงบการเงินเฉพาะของบริษัท (ที่ได้มีการตรวจสอบแล้ว) หลังจากหักขาดทุนสะสม สำรองตาม กฎหมาย ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยและภาษีเงินได้จากผลการดำเนินงานในรอบระยะเวลาบัญชีใด ๆ ในระหว่าง
อายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ การเปลี่ยนแปลงราคาการใช้สิทธิและอัตราการใช้สิทธิจะมผลบังคับทันทตั้งแต่วัน
แรกที่ผู้ซื้อหุ้นสามัญจะไม่มสิทธิรับเงินปันผล (วันแรกที่ตลาดหลักทรัพย์ขึ้นเครื่องหมาย XD)
ทั้งนี้ อัตราร้อยละของเงินปันผลที่จ่ายให้กับผู้ถือหุ้น คำนวณโดยนำเงินปันผลที่จ่ายออกจริงจากผลการ ดำเนินงานในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี หารด้วยกำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้ของผลการดำเนินงานของรอบ ระยะเวลาบัญชีปีเดียวกัน โดยที่เงนปันผลที่จ่ายออกจริงดังกล่าวให้รวมถึงเงินปันผลที่จ่ายระหว่างกาลในแต่ละ รอบระยะเวลาบัญชีดังกล่าวด้วย
ราคาตลาดของหุ้นสามัญของบรษัท ให้ใช้และมีความหมายเช่นเดียวกับรายละเอียดในข้อ 4.2 (ข) ข้างต้น
“วันที่ใช้ในการคำนวณ”หมายถึง วันแรกที่ผู้ซื้อหุ้นสามัญจะไม่ได้รับสิทธิในเงินปันผล (วันแรกที่ตลาด หลักทรัพย์ประกาศขึ้นเครื่องหมาย XD)
(1) ราคาการใช้สิทธิ จะเปลยนแปลงตามสูตรการคำนวณดังนี้
Price 1= Price 0 x [MP – (D – R)]
MP
(2) อัตราการใช้สิทธิ จะเปลยนแปลงตามสตรการคำนวณดังนี้
Ratio 1= Ratio 0 x MP
[MP – (D – R)]
โดยที่
Price 1 คือ ราคาการใช้สิทธิใหม่หลังการเปลี่ยนแปลง
Price 0 คือ ราคาการใช้สิทธิเดิมก่อนการเปลยนแปลง
Ratio 1 คือ อัตราการใช้สิทธิใหม่หลังการเปลยนแปลง
Ratio 0 คือ อัตราการใช้สิทธิเดิมก่อนการเปลยนแปลง
MP คือ ราคาตลาดของหุ้นสามัญของบริษัท มีความหมายเช่นเดียวกับรายละเอียด
ในข้อ 4.2 (ข) ข้างต้น
D คือ เงินปันผลต่อหุ้นที่จ่ายจริงให้ผู้ถือหุ้น
R คือ เงินปันผลต่อหุ้นที่จ่ายในอัตราร้อยละ40 ของกำไรสุทธิหลังหักภาษี เงินได้ หารด้วยจำนวนหุ้นทั้งหมดที่มีสิทธิได้รับเงินปันผล
(ฉ) ในกรณีที่มีเหตุการณ์ใดๆ อันทำให้ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิหรือใบแทนใบสำคัญแสดงสิทธิเสียสิทธิและ
ผลประโยชน์ใด ๆ อันพึงได้ โดยที่เหตุการณ์ใดๆ นั้น ไม่ได้กำหนดไว้ในข้อ 4.2 (ก) ถึง 4.2 (จ) ดังกล่าวข้างต้น ให้บริษัทพิจารณาเพื่อกำหนดการเปลี่ยนแปลงราคาการใช้สิทธิ และ/หรืออัตราการใช้สิทธิ (หรือปรับจำนวน หน่วยใบสำคัญแสดงสิทธิแทนอัตราการใช้สิทธิ) ใหม่อย่างเป็นธรรม และไม่ทำให้ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิได้รับ ผลประโยชน์ด้อยไปจากเดิม โดยให้ถือว่าผลการพิจารณานั้นเป็นที่สุด และให้บริษัทแจ้งให้สำนักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และนายทะเบียนใบสำคัญแสดงสิทธิ ทราบถึงรายละเอียดดังกล่าวด้วย ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่มีเหตุให้ต้องดำเนินการเปลี่ยนแปลงการใช้สิทธิดังกล่าว
(ช) การคำนวณการเปลี่ยนแปลงราคาการใช้สิทธิและอัตราการใช้สิทธิตามข้อ 4.2 (ก) ถึงข้อ 4.2 (ฉ) เป็นอิสระต่อ กัน และจะคำนวณการเปลี่ยนแปลงตามลำดับเหตุการณ์ก่อนหลังของการเปรียบเทียบกับราคาตลาดของหุ้น สามัญของบริษัท ในกรณีที่เหตุการณ์ต่างๆ เกิดขึ้นพร้อมกัน ให้คำนวณการเปลี่ยนแปลงเรียงลำดับดังนี้คือ ข้อ
4.2 (ก) ข้อ 4.2 (จ) ข้อ 4.2 (ง) ข้อ 4.2 (ข) ข้อ 4.2 (ค) และข้อ 4.2 (ฉ) โดยในแต่ละลำดับครั้งที่คำนวณการ
เปลี่ยนแปลง ให้คงสภาพของราคาการใช้สิทธิเป็นทศนิยม 3 ตำแหน่ง และอัตราการใช้สิทธิเป็นทศนิยม 5
ตำแหน่ง
ทั้งนี้ ในการคำนวณการปรับสิทธิของเหตุการณ์ในลำดับใด ให้นำค่าตัวแปรที่ผ่านการคำนวณการปรับสิทธิของ ลำดับก่อนหน้า (ถ้ามี) มาเป็นค่าตัวแปรก่อนการเปลี่ยนแปลง ในการคำนวณการปรับสิทธิลำดับนั้น
(ซ) การคำนวณการเปลี่ยนแปลงราคาการใช้สิทธิและอัตราการใช้สิทธิตามข้อ 4.2 (ก) ถึงข้อ 4.2 (ฉ) จะไม่มีการ
เปลี่ยนแปลงซึ่งทำให้ราคาการใช้สิทธิใหม่สูงขึ้น และ/หรืออัตราการใช้สิทธิลดลง เว้นแต่กรณีการรวมหุ้น สำหรับการคำนวณจำนวนเงินจากการใช้สิทธิ จะคำนวณจากราคาการใช้สิทธิใหม่หลังการเปลี่ยนแปลง (ทศนิยม 5 ตำแหน่ง) คูณกับจำนวนหุ้นสามัญ (จำนวนหุ้นสามัญคำนวณจากอัตราการใช้สิทธิใหม่ คูณกับ จำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิที่แสดงความจำนงการใช้สิทธิ เมื่อคำนวณได้จำนวนหุ้นออกมาเป็นเศษหุ้น ให้ตัดเศษ ของหุ้นนั้นทิ้ง) ในกรณีจำนวนเงินที่คำนวณได้จากการใช้สิทธิ มีเศษของบาทให้ตัดเศษของบาททิ้ง
ทั้งนี้ ในกรณีที่การเปลี่ยนแปลงราคาการใช้สิทธิดังกล่าวมีผลทำให้ราคาการใช้สิทธิใหม่มีราคาต่ำกว่ามูลค่าที่ ตราไว้ของหุ้นสามัญของบริษัท ให้ใช้มูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นสามัญของบริษัทเป็นราคาการใช้สิทธิใหม่ ส่วนอัตรา การใช้สิทธิใหม่ให้ใช้อัตราการใช้สิทธิที่คำนวณได้ตามข้อ 4.2 (ก) ถึงข้อ 4.2 (ฉ) เช่นเดิม
(ฌ) บริษัทอาจทำการปรับราคาการใช้สิทธิควบคู่กับการออกใบสำคัญแสดงสิทธิใหม่ทดแทนการปรับอัตราการใช้ สิทธิก็ได้
(ญ) การเปลี่ยนแปลงราคาการใช้สิทธิ และ/หรือ อัตราการใช้สิทธิตามข้อ 4.2 (ก) ถึงข้อ 4.2 (ฉ) และ/หรือ การ
ออกใบสำคัญแสดงสิทธิใหม่ทดแทนการปรับอัตราการใช้สิทธิตามข้อ (ฌ) บริษัทจะดำเนินการแจ้งรายละเอียด เกี่ยวกับการปรับอัตราและราคาของใบสำคัญแสดงสิทธิทันทีหรือก่อนวันที่อัตราหรือราคาใช้สิทธิแปลงสภาพมี ผลบังคับผ่านระบบ SET PORTAL หรือระบบอื่นใดตามที่ตลาดหลักทรัพย์กำหนด และแจ้งต่อสำนักงาน กลต. ภายใน 15 วันนับแต่วันที่การปรับสิทธิมีผลบังคับใช้ และจัดส่งข้อกำหนดสิทธิที่แก้ไขเพิ่มเติมให้แก่ผู้ถือ ใบสำคัญแสดงสิทธิภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้รับการร้องขอเป็นหนังสือจากผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิและจะจัด ให้มีการเก็บรักษาสำเนาข้อกำหนดสิทธิที่แก้ไขเพิ่มเติม ณ สำนักงานใหญ่ของบริษัท และ/หรือ สำนักงานใหญ่ ของตัวแทนรับแจ้งความจำนงในการใช้สิทธิ เพื่อให้ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ สามารถขอตรวจสอบสำเนา ข้อกำหนดสิทธิที่แก้ไขเพิ่มเติมได้ในวันและเวลาทำการของสถานที่ดังกล่าว
5. การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดสิทธิของใบสำคัญแสดงสิทธิ
5.1 การแก้ไขส่วนที่มิใช่สาระสำคัญหรือที่ต้องดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดสิทธิในเรื่องที่จะกระทบต่อสิทธิที่มิใช่สาระสำคัญของผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ เช่น แก้ไขขั้นตอนการใช้สิทธิ หรือเรื่องที่เห็นได้ว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิโดยชัดแจ้ง หรือในส่วนซึ่งไม่ทำให้ สิทธิของผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิด้อยลง หรือเพื่อให้เป็นไปตามบทบัญญัติหรือหลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายอื่นใดที่เกี่ยวข้อง กฎระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่งที่มีผลบังคับทั่วไป หรือ ประกาศ หรือข้อบังคับของสำนักงาน ก.ล.ต. และ/หรือคณะกรรมการกำกับตลาดทุน และ/หรือตลาดหลักทรัพย์ ที่เกี่ยวข้อง ให้บริษัทกระทำโดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากที่ประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิภายหลังจากที่ได้แจ้งให้สำนักงาน ก.ล.ต. ทราบแล้ว ทั้งนี้ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดสิทธิจะต้องไม่เป็นการขยายอายุใบสำคัญแสดงสิทธิหรือการเปลี่ยนแปลง ราคาหรืออัตราการใช้สิทธิ ยกเว้นการปรับสิทธิตามเงื่อนไขการปรับสิทธิที่ระบุไว้ในข้อ 4.2
5.2 การแก้ไขเปลี่ยนแปลงที่เปนสาระสำคัญ
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดสิทธินอกจากกรณีข้อ 5.1 ต้องได้รับความยินยอมจากบริษัท และมติที่ประชุมผู้ถือ ใบสำคัญแสดงสิทธิ และได้แจ้งให้สำนักงาน ก.ล.ต. ทราบแล้ว
5.3 การแจ้งข้อกำหนดสิทธิที่แก้ไขเปลี่ยนแปลง
บริษัทจะดำเนินการแจ้งต่อตลาดหลักทรัพย์ สำนักงาน ก.ล.ต. และนายทะเบียนใบสำคัญแสดงสิทธิ ให้ทราบ ถึงรายละเอียดการแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดสิทธิตามที่กล่าวในข้อ 5.1 หรือ 5.2 และจะจัดส่งข้อกำหนดสิทธิที่มีการแก้ไข เปลี่ยนแปลงดังกล่าวภายใน 15 วันนับแต่วันที่การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดสิทธิมีผลบังคับ และบริษัทจะดำเนินการแจ้ง ต่อผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิทุกรายให้ทราบถึงรายละเอียดการแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดสิทธิตามที่กล่าวในข้อ 5.1 หรือ 5.2 ผ่านทาง SET PORTALในวันเดียวกันกับวันที่บริษัทแจ้งต่อตลาดหลักทรัพย์ สำนักงาน ก.ล.ต. และนายทะเบียนใบสำคัญ แสดงสิทธิ และจะจัดส่งข้อกำหนดสิทธิที่มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงดังกล่าวให้แก่ ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิภายใน 15 วันนับแต่ วันที่ได้รับการร้องขอเป็นหนังสือจากผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ โดยผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายตามสมควร ตามที่บริษัทกำหนด ทั้งนี้ บริษัทจะจัดให้มีการเก็บรักษาสำเนาข้อกำหนดสิทธิที่แก้ไขเปลี่ยนแปลง ณ สำนักงานใหญ่ของ บริษัท และสำนักงานใหญ่ของตัวแทนรับแจ้งความจำนงในการใช้สิทธิ (ถ้ามี) เพื่อให้ผู้ถือใบสำคั ญแสดงสิทธิสามารถขอ ตรวจสอบสำเนาข้อกำหนดสิทธิที่แก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ในวันและเวลาทำการของสถานที่ดังกล่าว
5.4 บริษัท และ/หรือ ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิไมสามารถเสนอให้แก้ไขข้อกำหนดสิทธิในเรื่องการขยายอายุของใบสำคัญ
แสดงสิทธิ อัตราการใช้สิทธิ และราคาการใช้สิทธิ เว้นแต่เป็นกรณีการปรับสิทธิตามข้อ 4.2
5.5 การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดสิทธิต้องไม่ขัดต่อกฎหมาย
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดสิทธิไม่ว่ากรณีใดๆ ต้องไม่ขัดหรือแย้งกับกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ รวมทั้งข้อกำหนดแห่งประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุนที่ ทจ.34/2551 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาต ให้เสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นที่ออกใหม่ และหุ้นที่ออกใหม่เพื่อรองรับใบสำคัญแสดงสิทธิ ฉบับลงวันที่ 15 ธันวาคม 2551 รวมทั้งข้อแก้ไขเพิ่มเติมหรือการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ตลอดจนกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี)
6. การชดใช้ค่าเสียหาย กรณีบริษัทไม่สามารถจัดให้มีหุ้นสามัญเพื่อรองรับการใช้สิทธิขายใบสำคัญแสดงสิทธิได้
บริษัทจะชดใช้ค่าเสยหายให้แก่ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิหรือใบแทนใบสำคัญแสดงสิทธิ ตามรายละเอียดดังนี้
6.1 บริษัทจะชดใช้ค่าเสียหายให้เฉพาะผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิหรือใบแทนใบสำคัญแสดงสิทธิ ที่แจ้งความจํานงที่จะใช้ สิทธิ ในวันกําหนดการใช้สิทธิแต่ละครั้งอย่างถูกต้องและครบถ้วนแล้วซึ่งบริษัทไม่สามารถจัดให้มีหุ้นสามัญเพื่อ รองรับการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิได้อย่างเพียงพอยกเว้น กรณีตามที่ระบุไว้ในข้อจำกัดการใช้สิทธิในการซื้อ หุ้นสามัญของผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิที่เป็นบุคคลต่างด้าวหรือบุคคลที่ไม่มีสัญชาติไทย ในข้อ 3.7.2 หรือข้อจำกัด การโอนใบสำคัญแสดงสิทธิและหุ้นสามัญที่เกิดจากการใช้สิทธิ ในข้อ 15 ค่าเสียหายที่บริษัทจะชดใช้ให้แก่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิหรือใบแทนใบสำคัญแสดงสิทธิ จะคำนวณตามสูตรการ คำนวณ ดังนี้
ค่าเสียหายต่อใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย = B x [MP – EP]
โดยที่ B คือ จํานวนหุ้นสามัญที่ไม่สามารถจัดให้มีและ/หรือ เพิ่มขึ้นได้ตามอัตราการใช้สิทธิที่ เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นต่อ 1 หน่วย
MP คือ ราคาเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญของบริษัทในวันกำหนดการใช้สิทธิในแต่ละครั้ง ซึ่งผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิหรือใบแทนใบสำคัญแสดงสิทธิ มาแสดงความจำนงในการ
ใช้สิทธิ (ราคาเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญของบริษัท คำนวณจากมูลค่าการซื้อ ขายหุ้นสามัญทั้งหมดของบริษัท หารด้วยจำนวนหุ้นสามัญของบริษัทที่มีการซื้อขาย ทั้งหมดในตลาดหลักทรัพย์)
EP คือ ราคาการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิหรือราคาการใช้สิทธิตามเงื่อนไขการปรบั
สิทธิหากมีการปรับราคาการใช้สิทธิ
ในกรณีที่ไม่สามารถหา “ราคาตลาดของหุ้นสามัญของบริษัท” เนื่องจากหุ้นสามัญของบริษัทไม่มีการซื้อ ขายในช่วงเวลาดังกล่าว บริษัทจะดำเนินการกำหนดราคายุติธรรมเพื่อใช้ในการคำนวณแทน
6.2 การชดใช้ค่าเสียหายตามข้อ 6.1 บริษัทจะชำระให้เป็นเช็คระบุชื่อขีดคร่อมสั่งจ่ายเฉพาะ และจะจัดส่งทางไปรษณีย์
ลงทะเบียนตอบรับภายใน 14 วันทำการนับจากวันที่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิมาแจ้งความจำนงที่จะใช้สิทธิ ในกรณีที่ บริษัทไม่สามารถคืนเงินค่าเสียหายให้แก่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิได้ภายในระยะเวลาดังกล่าว ผู้ถือใบสำคัญแสดง สิทธิจะได้รับดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี โดยคำนวณนับแต่วันที่พ้นกำหนด 14 วันดังกล่าวจนถึงวันที่ผู้ถือ ใบสำคัญแสดงสิทธิ ได้รับคืนเงินค่าเสียหาย
อย่างไรก็ดี ไม่ว่าในกรณีใดๆ หากบริษัทได้ทำการส่งเช็ค ดร๊าฟท์ ตั๋วแลกเงินธนาคาร หรือคำสั่งจ่ายเงิน ของธนาคาร ซึ่งขีดคร่อมสั่งจ่ายเฉพาะชื่อผู้ถือใบสำคัญสิทธิทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตามที่อยู่ที่ระบุในหนังสือแสดง ความจำนงในการใช้สิทธิโดยถูกต้องแล้ว ให้ถือว่าผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิไดรับเงินค่าเสียหายคืนแล้วโดยชอบและไม่ มีสิทธิเรยกร้องดอกเบี้ย และ/หรือค่าเสียหายใดๆ อีกต่อไป
6.3 การชดใช้ค่าเสียหายตามข้อนี้ให้ถือเป็นสิ้นสุด
7. การประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ
การเรียกและ/หรือการประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ ให้เป็นไปตามวิธีการดังต่อไปนี้
7.1 การเรียกประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ
บริษัทมีสิทธิเรียกการประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิได้ไม่ว่าในเวลาใดๆ ตามที่เห็นสมควร แต่บริษัทต้องจัดให้มีการ ประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิเพื่อขอมติในการดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยเร็วภายใน 30 วันนับแต่วันเกิดเหตุการณ์ ดังต่อไปนี้
(ก) หากมีการเสนอขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดสิทธิในสาระสำคัญไม่ว่าโดยบริษัทหรือผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ
ตามที่กำหนดไว้ในข้อ 5.2 หรือตามที่จะกล่าวต่อไปใน (ข) ทั้งนี้ ผู้ออกใบสำคัญแสดงสิทธิและ/หรือผู้ถือ ใบสำคัญแสดงสิทธิไม่มีสิทธิที่จะเสนอให้แก้ไขข้อกำหนดสิทธิในเรื่องการขยายอายุใบสำคัญแสดงสิทธิ หรือการ เปลี่ยนแปลงราคา หรืออัตราการใช้สิทธิ หรือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงใดๆ อันจะเป็นผลกระทบในด้านลบต่อสิทธิ และ/หรือส่วนได้เสียของผู้ถือหุ้นของบริษัทหรือที่ผิดไปจากเงื่อนไขที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทได้ลงมติไว้ เว้น แต่การปรับสิทธิตามที่ระบุไว้ในข้อ 4.2
(ข) เมื่อบริษัทหรือผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิที่ถือใบสำคัญแสดงสิทธิรวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของจำนวนหน่วย
ของใบสำคัญแสดงสิทธิที่ยังมิได้มีการใช้สิทธิ ประสงค์จะเสนอขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดสิทธิตามข้อ 5. (ทั้งนี้ บริษัท และ/หรือผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิไม่มีสิทธิที่จะเสนอขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดสิทธิในเรื่อง อัตราการใช้สิทธิ ราคาการใช้สิทธิ และอายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ)
หากบริษัทไม่ดำเนินการเรียกประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิภายในระยะเวลาที่กำหนด ผู้ถือใบสำคัญ แสดงสิทธิที่ถือใบสำคัญแสดงสิทธิรวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของจำนวนหน่วยของใบสำคัญแสดงสิทธิที่ยัง มิได้มีการใช้สิทธิ ณ ขณะนั้น สามารถดำเนินการเรียกประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิแทนบริษัทได้
บริษัทจะปิดสมุดทะเบียนเพื่อกำหนดสิทธิของผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิในการเข้าร่วมประชุมและออกเสียง ลงคะแนนในการประชุมดังกล่าวเป็นระยะเวลาไม่เกิน 21 วันก่อนวันประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ โดย ผู้ ถือใบสำคัญแสดงสิทธิที่มีสิทธิเข้าร่วมประชุมจะต้องมีรายชื่อเป็นผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ ณ วันก่อนวันปิดสมุด ทะเบียนดังกล่าว (วันก่อนวันแรกที่ขึ้นเครื่องหมาย XM)
7.2 หนังสือเชิญประชุม
ในการเรียกประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ ไม่ว่าจะเป็นการประชุมเนื่องจากบริษัทหรือผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิร้อง ขอ ให้บริษัทส่งหนังสือเชิญประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ (ระบุสถานที่ที่จะใช้ประชุมโดยต้องอยู่ในท้องที่อันเป็นที่ตั้ง สำนักงานใหญ่ของบริษัทหรือจังหวัดใกล้เคียงหรือกรุงเทพมหานคร วันและเวลาที่จะประชุม รวมทั้งเรื่องที่จะพิจารณาในที่ ประชุม) ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนถึงผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิทุกราย และแจ้งให้นายทะเบียนผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิทราบ เป็น ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 7 วันก่อนวันประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ และต้องไม่เกิน 5 วันทำการนับแต่วันปิดสมุดทะเบียนผู้ถือ ใบสำคัญแสดงสิทธิ (วันแรกที่ขึ้นเครื่องหมาย XM)
7.3 การมอบฉันทะ
ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิอาจแต่งตั้งผู้รับมอบฉันทะให้เข้าร่วมประชุม และ/หรือออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุมผู้ถือ ใบสำคัญแสดงสิทธิคราวใดๆ ก็ได้ โดยผู้รับมอบฉันทะดังกลาวจะตองยื่นหนังสือมอบฉันทะ (ซึ่งทำตามแบบที่บริษัทและ/หรือ นายทะเบียนกำหนด และได้จัดสง่ ให้แก่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิพร้อมกับหนังสือเรียกประชุมแล้ว) ต่อประธานที่ประชุมหรือ บุคคลที่ประธานกรรมการมอบหมายก่อนเริ่มการประชุม
7.4 องค์ประชุม
ที่ประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิจะต้องมีผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิและผู้รับมอบฉันทะจากผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ (ถ้ามี) ซึ่งถือใบสำคัญแสดงสิทธิรวมกันเป็นจำนวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนหน่วยใบสำคัญแสดงสิทธิที่ยังไม่ได้ใช้สิทธิ เข้า ร่วมประชุมจึงจะครบเป็นองค์ประชุม ในกรณีที่ไดมีการเรียกประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิครั้งใด เมอล่วงเวลานัดไปแล้วถึง หนึ่งชั่วโมง แต่จำนวนผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิซึ่งมาเข้าร่วมประชุมไม่ครบองค์ประชุม ให้ถือว่าการประชุมเป็นอันระงับไป ใน กรณีที่การประชุมดังกล่าวจัดขึ้นโดยบริษัท บริษัทจะจดให้มีการประชุมใหม่ภายในระยะเวลาไม่น้อยกว่า 7 วันแต่ไม่เกิน 14 วัน นับแต่วันที่กำหนดเป็นวันประชุมคราวก่อนโดยปฏิบัตตามข้อ 7.2 ซึ่งในการประชุมครั้งหลังนี้ไม่บังคับว่าจะต้องครบองค์ ประชุม
7.5 ประธานในที่ประชุม
ในการประชุมผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จัดขึ้นโดยบริษัท ให้ประธานกรรมการบริษัท หรือบุคคลที่ได้รับมอบหมาย จากประธานกรรมการบริษัททําหน้าที่เป็นประธานที่ประชุมผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิในกรณีที่ผู้ถือใบสาคัญแสดงสิทธิเป็นผู้จัด ประชุมประธานในที่ประชุมอาจจะมาจากบุคคลที่ผู้ถือใบสาคัญแสดงสิทธิลงมติเห็นชอบคัดเลือกนอกเหนือไปจากประธาน
กรรมการหรือบุคคลที่ประธานกรรมการมอบหมายโดยที่ทั้งสองกรณีประธานที่ประชุมไม่มส
7.6 การออกเสียงลงคะแนน
ิทธิออกเสียงชี้ขาด
ในการออกเสียงลงคะแนน ให้ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิมีคะแนนเสียงเท่ากับจํานวนของหน่วยของใบสําคัญแสดงสิทธิ ที่ถืออยู่ในขณะนั้นๆโดยใบสําคัญแสดงสิทธิหนึ่งหน่วยมีหนึ่งเสียง ผู้เป็นประธานในที่ประชุมไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน นอกจากสิทธิที่ตนมีอยู่ในฐานะเป็นผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิ
7.7 มติที่ประชุม
มติของที่ประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ ให้ถือคะแนนเสียงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนหน่วยใบสำคัญแสดงสิทธิ
ทั้งหมดของผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิหรือผู้รบมอบฉันทะที่เข้าประชุมและมส แสดงสิทธิทั้งหมดไม่ว่าจะได้เข้าร่วมประชุมหรือไม่
ิทธิออกเสียง และให้มตินั้นมีผลผกพันผู้ถือใบสำคัญ
ในการออกเสียงลงคะแนน ให้ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิมีคะแนนเสียงเท่ากับหน่วยของใบสำคัญแสดงสิทธิที่ถืออยู่ โดยใบสำคัญ แสดงสิทธิ 1 หน่วยมี 1 เสียง
บริษัทจะดำเนินการแจ้งมติที่ประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิต่อตลาดหลักทรัพย์ภายในวันทำการถัดไปนับแต่วัน ประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ รวมทั้งแจ้งต่อสำนักงาน ก.ล.ต. และนายทะเบียนผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ ภายในระยะเวลา 15 วันนับแต่วันประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ
7.8 รายงานการประชุม
บริษัทจะจัดทำรายงานการประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ ภายในระยะเวลาไม่เกิน 14 วัน นับจากวันประชุมผู้ถือ ใบสำคัญแสดงสิทธิ โดยให้ประธานที่ประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิในครั้งนั้นๆ เป็นผู้ลงนามรับรองรายงานการประชุม ทั้งนี้ ให้จัดเก็บรายงานการประชุมไว้กับบริษัท รายงานดังกล่าวซึ่งลงนามโดยประธานที่ประชุมในแต่ละครั้ง ให้ถือว่าถูกต้องและมติ นั้นผูกพันผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิทุกรายไม่ว่าจะได้เข้าร่วมประชุมด้วยหรือไม่ และบริษัทจะจัดส่งรายงานการประชุมดังกล่าว ให้แก่ตลาดหลักทรัพย์และสำนักงาน ก.ล.ต. ภายในระยะเวลาไม่เกิน 14 วันนับจากวันประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ นอกจากนี้ ในกรณีที่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิร้องขอ บริษัทจะต้องจัดส่งรายงานการประชุมให้แก่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิรายที่ ร้องขอด้วย โดยผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าวจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบในค่าใช้จ่ายนั้นๆ
7.9 ค่าใช้จ่ายในการประชุม
บริษัทจะเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายตามสมควรทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิทุกครั้ง
7.10 มติเป็นหนังสือแทนการประชุม
ในกรณีที่จะต้องมีการประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิเพื่อลงมติไม่ว่าในเรื่องหนึ่งเรื่องใดตามที่กำหนดไว้ในข้อกำหนด สิทธินี้ บริษัทอาจขอให้ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิทำความตกลงกันเป็นมติโดยการทำหนังสือแทนการประชุมผู้ถือใบสำคัญแสดง สิทธิเพื่อลงมติในเรื่องดังกล่าวได้ แต่มติดังกล่าวจะต้องมีผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิซึ่งถือใบสำคัญแสดงสิทธิเป็นจำนวนไม่น้อย กว่าสองในสามของจำนวนหน่วยใบสำคัญแสดงสิทธิที่ยังไม่ได้ใช้สิทธิทั้งหมดลงลายมือชื่อให้ความเห็นชอบไว้เป็นหลักฐานใน หนังสือฉบับเดียวกันหรือหลายฉบับก็ได้และส่งมอบให้ประธานกรรมการบริษัทหรือบุคคลที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้เก็บรักษาไว้ การลงมติตามวิธีการที่กำหนดในข้อ 7.10 นี้ ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิไม่สามารถยกเลิกหรือเพิกถอนมติที่ส่งมาได้ เว้นแต่จะ ได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากบริษัท มติดังกล่าวจะมีผลใช้บังคับและผูกพันผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิทุกราย ไม่ว่าจะลง ลายมือชื่อให้ความเห็นชอบในมติดังกล่าวหรือไม่
8. สถานะของผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิที่อยู่ระหว่างการแสดงความจำนงในการใช้สิทธิ
สถานะของใบสําคัญแสดงสิทธิที่อยู่ระหว่างวันที่ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิแสดงความจํานงในการใช้สิทธิและวันก่อน วันที่กระทรวงพาณิชย์จะรับจดทะเบียนเพิ่มทุนชําระแล้วอันเนื่องมาจากการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะมีสถานภาพและ สิทธิเช่นเดียวกับใบสําคัญแสดงสิทธิที่ยังไม่ได้แสดงความจํานงใช้สิทธิและสถานภาพจะสิ้นสุดลงในวันที่กระทรวงพาณิชย์ได้รับ จดทะเบียนเพิ่มทุนชําระแล้ว อันเนื่องมาจากการใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิข้างต้นแล้ว
ในกรณีที่บริษัทมีการปรับราคาการใช้สิทธิและ/หรืออัตราการใช้สิทธิในช่วงที่บริษัทยังไม่ได้นําหุ้นสามัญที่เกิดจาก การใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิเข้าจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิที่ได้ทําการใช้สิทธิแล้วจะได้รับ การปรับสิทธิย้อนหลัง โดยบริษัทจะดําเนินการออกหุ้นสามญใหม่เพิ่มเติมให้แก่ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิโดยเร็วที่สุดตามจํานวน ที่ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิสมควรจะได้รับหากราคาใช้สิทธิ และ/หรือ อัตราการใช้สิทธิ (แล้วแต่กรณี) ที่ได้ปรับใหม่นั้นมีผล บังคับใช้ โดยหุ้นสามัญส่วนที่เพิ่มใหม่อาจได้รับช้ากว่าหุ้นสามัญที่ได้รับก่อนหน้านี้แล้วแต่ไม่เกิน 15 วันนับจากวันที่มีการปรับ สิทธิ
9. สถานะของหุ้นสามัญใหม่ที่เกิดจากการใช้สิทธิของใบสำคัญแสดงสิทธิ
หุ้นสามัญออกใหม่ตามการใช้สิทธิของใบสำคัญแสดงสิทธิ จะมีสิทธิและสภาพเท่าเทียมกับหุ้นสามัญของบริษัทที่ ออกไปก่อนหน้านี้ทุกประการ ซึ่งรวมทั้งสิทธิในการรับเงินปันผลหรือผลประโยชน์อื่นใดที่บริษัทให้แก่ผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ นับแต่วันที่
กระทรวงพาณิชย์รับจดทะเบียนเปลยนแปลงทุนชำระแลว และนายทะเบียนผู้ถือหุ้นของบริษัทได้จดแจ้งชื่อผู้ถือใบสำคัญแสดง
สิทธิเป็นผู้ถือหุ้นในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นของบริษัท หากบริษัทได้ประกาศวันกำหนดให้สิทธิในเงินปันผลหรือผลประโยชน์อื่น ใดแก่ผู้ถือหุ้นก่อนวันที่กระทรวงพาณิชย์รับจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชำระแล้ว และนายทะเบียนผู้ถือหุ้นของบริษัทได้จด แจ้งชื่อของผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิเป็นผู้ถือหุ้นในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นของบริษัท ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าวจะไม่มีสิทธิ ได้รับเงินปันผลหรือผลประโยชน์อื่นนั้น
10. ตลาดรองของใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ
บริษัทจะนำใบสำคัญแสดงสิทธิที่ออกในครั้งนี้เข้าจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ภายใน 30 วันนับ จากวันที่ออกใบสำคัญแสดงสิทธิ
11. วิธีการส่งมอบใบสำคัญแสดงสิทธิ
บริษัทจะดําเนินการส่งมอบใบสำคัญแสดงสิทธิให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทที่จองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่มีรายชื่อ ปรากฏในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 16 มีนาคม 2560 โดยบริษัทจะดำเนินการออกและส่งมอบใบสำคัญแสดงสิทธิตาม รายละเอียดและขั้นตอน ดังต่อไปนี้
11.1 ในกรณีผู้ถือหุ้นเดิมไม่มีบัญชีซื้อขายหลกทรัพย์กับบริษัทหลักทรัพย์หรือบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัทจะดำเนินการให้นายทะเบียนใบสำคัญแสดงสิทธิออกและจัดส่งใบสำคัญแสดงสิทธิให้แก่ผู้ถือหุ้นที่ได้รับการ
จัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิการจองซื้อทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตามที่อยู่ที่ระบุไว้ในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นภายใน 15 วันทำการ
นับจากวันที่ออกใบสำคัญแสดงสิทธิ
ในกรณีนี้ ผู้ถือหุ้นที่ได้รับการจัดสรรจะไม่สามารถขายใบสำคัญแสดงสิทธิที่ได้รับการจัดสรรในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยได้จนกว่าจะได้รับใบสำคัญแสดงสิทธิ ซึ่งอาจจะได้รับภายหลังจากที่ใบสำคัญแสดงสิทธิของบริษัทได้รับอนุญาตให้ เข้าทำการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
11.2 ในกรณีผู้ถือหุ้นเดิมมีบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์กับบริษัทหลักทรัพย์ บริษัทจะดำเนินการให้นายทะเบียนใบสำคัญแสดงสิทธิ นำใบสำคัญแสดงสิทธิที่ได้รับจัดสรรฝากไว้กับ “บริษัท ศูนย์
รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด เพื่อผู้ฝาก” ภายใน 7วันทำการนับจากวันที่ออกใบสำคัญแสดงสิทธิและบริษัท ศูนย์ รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด จะบันทึกยอดบัญชีจำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิที่บริษัทหลักทรัพย์นั้นฝากหลักทรัพย์อยู่ ในขณะเดียวกัน บริษัทหลักทรัพย์นั้นจะบันทึกยอดบัญชีจำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิที่ผู้ฝากได้รับการจัดสรรฝากไว้ และออก หลักฐานการฝากให้แก่ผู้ที่ได้รับการจัดสรรภายใน 7 วันทำการนับจากวันที่ออกใบสำคัญแสดงสิทธิ
ในกรณีนี้ผู้ถือหุ้นที่ได้รับการจัดสรรจะสามารถขายใบสำคัญแสดงสิทธิที่ได้รับการจัดสรรได้ทันทีที่ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยรับใบสำคัญแสดงสิทธิของบริษัทเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนและให้ทำการซื้อขายได้ในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย
ทั้งนี้ชื่อของผู้ถือหุ้นที่ได้รับการจัดสรรจะต้องตรงกับชื่อเจ้าของบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ที่ผู้ถือหุ้นที่ได้รับการจัดสรร ประสงค์ที่จะฝากใบสำคัญแสดงสิทธิไว้ มิฉะนั้นแล้ว บริษัทขอสงวนสิทธิที่จะดำเนินการออกใบสำคัญแสดงสิทธิให้แก่ผู้ถือหุ้นที่ ได้รับการจัดสรรตามข้อ 11.1 แทน
11.3 ในกรณีผู้ถือหุ้นเดิมมีบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์กับบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด สมาชิกเลขที่ 600 บริษัทจะดำเนินการให้นายทะเบียนใบสำคัญแสดงสิทธิ นำใบสำคัญแสดงสิทธิที่ได้รับจัดสรรฝากไว้กับบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด ภายใน 7 วันทำการนับจากวันที่ออกใบสำคัญแสดงสิทธิและบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด จะบันทึกยอดบัญชีจำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิตามจำนวนที่ได้รับจัดสรร ไว้ในบัญชีของบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์สมาชิกเลขที่ 600 และออกหลักฐานการฝากให้แก่ผู้ที่ไดรับการจัดสรรภายใน
7 วันทำการนับจากวันออกใบสำคัญแสดงสิทธิ เมื่อผู้ถือหุ้นทไี่ ด้รับจัดสรรต้องการขายใบสำคัญแสดงสิทธิ ผู้ถือหุ้น ดังกล่าวจะต้องถอนใบสำคัญแสดงสิทธิออกจากบัญชี 600 ดังกล่าว โดยต้องติดต่อผ่านบริษัทหลักทรัพย์ทั่วไป ซึ่ง อาจจะมีค่าธรรมเนียมในการดำเนินการตามที่บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด และ/หรือบริษัท หลักทรัพย์นั้นๆ กำหนด ดังนั้น ในกรณีนี้ผู้ถือหุ้นที่ได้รับการจัดสรรจะสามารถขายใบสำคัญแสดงสิทธิที่ได้รับการ จัดสรรได้ทันทีที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยรับใบสำคัญแสดงสิทธิของบริษัทเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนและให้ ทำการซื้อขายได้ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และผู้ถือหุ้นที่ได้รับการจัดสรรได้ดำเนินการถอนใบสำคัญ แสดงสิทธิออกจากบัญชี 600 ดังกล่าวแล้ว
12. การดำเนินการของบริษัทหากไม่สามารถหาตลาดรองให้กับใบสำคัญแสดงสิทธิ
บริษัทมีความเชื่อมั่นว่าใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าวมีคุณสมบัติตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่า ด้วยเรื่อง การจดทะเบียนและการเพิกถอนการจดทะเบียนหลักทรัพย์ โดยไม่มีข้อกำหนดอื่นที่แตกต่างจากใบสำคัญแสดงสิทธิ ทั่วไป อย่างไรก็ตาม หากบริษัทไม่สามารถหาตลาดรองได้ บริษัทจะเป็นตัวกลางให้ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิที่ได้รับจัดสรรเสนอ ขายต่อผู้ตัดสินใจลงทุน ในราคาซื้อและเสนอขายที่พอใจกันทั้ง 2 ฝ่าย
13. การขอออกใบสำคัญแสดงสิทธิฉบับใหม่
ในกรณีที่ใบสำคัญแสดงสิทธิสูญหาย ถูกขโมย ถูกทำลาย ฉีกขาด หรือเลอะเลือน ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิมีสิทธิยื่น คำขอให้นายทะเบียนออกใบสำคัญแสดงสิทธิฉบับใหม่ได้ โดยผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิจะต้องรับผิดชอบสำหรับค่าใช้จ่ายต่างๆ และตามที่นายทะเบียนใบสำคัญแสดงสิทธิและบริษัทจะได้กำหนดไว้ตามสมควร
14. มติที่ประชุมผู้ถือหุ้นและจำนวนหุ้นที่ออกใหม่เพื่อรองรับใบสำคัญแสดงสิทธิ
ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2560 ซึ่งประชุมเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2560 มีมติอนุมัติให้บริษัทเพิ่มทุนจดทะเบียน ของบริษัทอีกจำนวน 563,122,758.30 บาท โดยการออกหุ้นสามัญใหม่จำนวน 7,508,303,444 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ
0.075 บาททำให้ทุนชำระแล้วของบริษัทเพิ่มจาก 1,034,307,107.25 บาท เป็น 1,597,429,865.55 บาท เพื่อรองรับการ จัดสรรหุ้นให้แก่ผู้ถือหุ้นเดมตามสดส่วนการถือหุ้น และเพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญรุ่นที่ 3 จำนวน 1,379,076,143 หน่วยให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทที่ได้รบจัดสรร โดยไม่คิดมูลค่า และเพื่อรองรับการใช้สิทธิตาม ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญรุ่นที่ 4 จำนวน 1,532,306,825 หน่วยให้แก่ผู้ที่ใช้สิทธิจองซื้อหุ้นสามัญใหม่ของบริษัทที่ ได้รับจัดสรร โดยไม่คิดมูลค่า
รายละเอียดเกี่ยวกับหุ้นสามัญที่ออกใหม่เพื่อรองรับใบสำคัญแสดงสิทธิ
หุ้นสามัญ | : | หุ้นสามัญของบริษัท บริษัท อี ฟอร์ แอล เอม จำกัด (มหาชน) |
จำนวนหุ้นที่รองรับการใช้สิทธิ | : | ไม่เกิน 1,532,306,825 หุ้น |
มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น | : | 0.075 บาท |
ราคาใช้สิทธิต่อหุ้น | : | 0.50 บาท เว้นแต่จะมีการปรับสิทธิตามข้อ 4.2 |
หุ้นที่สำรองไว้เพื่อรองรับการใช้สทธิคิดเป็นร้อยละ | : | ร้อยละ 11.11 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมด ของบริษัท ณ วันที่ 16 มีนาคม 2560 (ไม่รวมหุ้นสามัญ เพิ่มทุนที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นในครั้ง นี้) |
ตลาดรองของหุ้นสามัญ | : | บริษัทจะดำเนินการยื่นคำขอให้รับหุ้นสามัญที่เกิดจาก การใช้สิทธิของใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญใน แต่ละครั้งเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนเข้าซื้อขายในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ภายใน 30 วัน นับจากวัน กำหนดการใช้สิทธิครั้งนั้นๆ |
15. การโอนใบสำคัญแสดงสิทธิ การโอนหุ้นสามัญที่เกิดจากการใช้สิทธิ ข้อจำกัดการโอนใบสำคัญแสดงสิทธิ และ ข้อจำกัดการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิ
15.1 การโอนใบสำคัญแสดงสิทธิ
15.1.1 การโอนใบสำคัญแสดงสิทธิที่มิได้ฝากไว้กับศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้
(ก) แบบการโอนใบสำคัญแสดงสิทธิระหว่างผู้โอนและผรับโอน การโอนใบสำคัญแสดงสิทธิจะสมบูรณ์ เมื่อผู้โอนใบสำคัญแสดงสิทธิซึ่งเป็นผู้ที่สมุดทะเบียนผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิระบุชื่อเป็นเจ้าของ ใบสำคัญแสดงสิทธิในจำนวนที่จะทำการโอน หรือผู้รับโอนคนสุดท้ายโดยมีการสลักหลังแสดงการโอน ต่อเนื่องครบถ้วนจากผู้ที่ปรากฏชื่อดังกล่าว (แล้วแต่กรณี) ได้ส่งมอบใบสำคัญแสดงสิทธิให้แก่ผู้รับ โอนโดยลงลายมือชื่อสลักหลังแสดงการโอนให้ไว้ด้วย
(ข) ผลการโอนใบสำคัญแสดงสิทธิระหว่างผู้รับโอนกับบริษัท การโอนใบสำคัญแสดงสิทธิจะใช้ยันกับ
บริษัทได้ก็ต่อเมื่อนายทะเบียนใบสำคัญแสดงสิทธิได้รับคำขอลงทะเบียนการโอนใบสำคัญแสดงสิทธิ พร้อมทั้งใบสำคัญแสดงสิทธิที่ผรับโอนใบสำคัญแสดงสิทธิได้ลงลายมือชื่อเป็นผู้รับโอนในด้านหลังของ ใบสำคัญแสดงสิทธินั้นครบถ้วนแลว้
(ค) ผลของการโอนใบสำคัญแสดงสิทธิระหว่างผรับโอนกับบุคคลภายนอก การโอนใบสำคัญแสดงสิทธิจะ
ใช้ยันกับบุคคลภายนอกได้ก็ต่อเมื่อนายทะเบียนใบสำคัญแสดงสิทธิได้ลงทะเบียนการโอนใบสำคัญ แสดงสิทธิในสมุดทะเบียนผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิเรียบร้อยแล้ว
(ง) การขอลงทะเบียนการโอนใบสำคัญแสดงสิทธิ จะต้องกระทำ ณ สำนักงานใหญ่ของนายทะเบียน
ใบสำคัญแสดงสิทธิในวันและเวลาทำการของนายทะเบียนใบสำคัญแสดงสิทธิ และจะต้องทำตาม แบบและวิธีการที่นายทะเบียนใบสำคัญแสดงสิทธิกำหนด โดยผู้ขอลงทะเบียนจะต้องส่งมอบ ใบสำคัญแสดงสิทธิที่ลงลายมือชื่อครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ในข้อ (ก) พร้อมทั้งหลักฐานอื่น ๆ ที่ยืนยัน ถึงความถูกต้องและความสมบูรณ์ของการโอนและการรับโอนใบสำคัญแสดงสิทธิตามที่นายทะเบียน ใบสำคัญแสดงสิทธิกำหนดให้แก่นายทะเบียนใบสำคัญแสดงสิทธิ และให้นายทะเบียนใบสำคัญแสดง สิทธิออกใบรับคำขอลงทะเบียนการโอนใบสำคัญแสดงสิทธิให้แก่ผู้ขอลงทะเบียนนั้น
(จ) นายทะเบียนใบสำคัญแสดงสิทธิจะลงทะเบียนการโอนใบสำคัญแสดงสิทธิในสมุดทะเบียนผู้ถือ
ใบสำคัญแสดงสิทธิ พร้อมทั้งรับรองการโอนไว้ในใบสำคัญแสดงสิทธิภายใน 7 วันทำการนับแต่วันที่ นายทะเบียนใบสำคัญแสดงสิทธิได้รับคำขอลงทะเบียนและเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องในกรณีที่ไม่ ต้องออกใบสำคัญแสดงสิทธิให้ใหม่ หรือภายใน 15 วันทำการนับแต่วันที่นายทะเบียนใบสำคัญแสดง สิทธิได้รับคำขอลงทะเบียนและเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องในกรณีที่ต้องออกใบสำคัญแสดงสิทธิให้ ใหม่
(ฉ) นายทะเบียนใบสำคัญแสดงสิทธิมีสิทธิปฏิเสธไม่รับดำเนินการตามคำขอลงทะเบียนการโอนใบสำคัญ แสดงสิทธิ หากนายทะเบียนใบสำคัญแสดงสิทธิเห็นว่าการโอนใบสำคัญแสดงสิทธินั้นจะขัดต่อ
กฎหมายหรือขัดต่อข้อจำกัดการโอนใบสำคัญแสดงสิทธิ (ถ้ามี) โดยนายทะเบียนใบสำคัญแสดงสิทธิ จะแจ้งให้ผู้ขอลงทะเบียนทราบภายใน 7 วันนับแต่วันที่นายทะเบียนใบสำคัญแสดงสิทธิได้รับคำขอ ลงทะเบียนและเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
15.1.2 สำหรับการโอนใบสำคัญแสดงสิทธิที่ฝากไว้กับศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ให้เป็นไปตามข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์ ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ และหน่วยงานกำกับดูแลอื่นที่เกี่ยวข้อง
15.2 การโอนหุ้นสามัญที่เกิดจากการใช้สิทธิ
หุ้นสามัญเพิ่มทุนที่เกิดจากการใช้สิทธิ สามารถโอนได้โดยไม่มีข้อจำกัด เว้นแต่การโอนหุ้นดังกล่าว เป็นเหตุให้มี บุคคลต่างด้าวหรือบุคคลที่ไม่มีสัญชาติไทยถือหุ้นในบริษัทเกินกว่าร้อยละ 49 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้ทั้งหมดของบริษัท
15.3 ข้อจำกัดการโอนใบสำคัญแสดงสิทธิ และข้อจำกัดการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิ
บริษัทไม่มีข้อจำกัดการโอนใบสำคัญแสดงสิทธิ เว้นแต่ การโอนเกิดขึ้นในช่วงปิดสมุดทะเบียนใบสำคัญแสดงสิทธิเพื่อ พักการโอนหรือการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ บริษัทจะปิดสมุดทะเบียนเพื่อพักการโอนหรือการใช้สิทธิตามใบสำคัญ แสดงสิทธิเป็นระยะเวลา 21 วันก่อนวันครบกำหนดการใช้สิทธิครั้งสุดท้าย และตลาดหลักทรัพย์จะทำการขึ้นเครื่องหมาย SP (ห้ามการซื้อขาย) ล่วงหน้า 2 วันทำการก่อนวันปิดสมุดทะเบียน (ในกรณีที่วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนใบสำคัญแสดงสิทธิ ตรงกับวันหยุดทำการของตลาดหลักทรัพย์ให้เลื่อนเป็นวันทำการก่อนหน้า) ทั้งนี้ การโอนใบสำคัญแสดงสิทธิจะมีผลก็ต่อเมื่อ นายทะเบียนได้ลงทะเบียนการโอนใบสำคัญแสดงสิทธิในสมุดทะเบียนผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิเรียบร้อยแล้ว ข้อจำกัดอันสืบ เนื่องมาจากข้อบังคับของบริษัทว่าด้วยเรื่องอัตราส่วนการถือหุ้นของคนต่างด้าว มีรายละเอียดดังนี้
(ก) บริษัทจะไม่ออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิที่เป็นคนต่างด้าว ซึ่งได้ดำเนินการใช้ สิทธิตามเงื่อนไขการแจ้งความจำนงการใช้สิทธิตามข้อ 3.6 หากการใช้สิทธิดังกล่าวจะทำให้สัดส่วน
การถือหุ้นของคนต่างด้าวมีจำนวนเกินกว่าร้อยละ 49 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของ บริษัทตามที่ระบุในข้อบังคับของบริษัท
(ข) หากข้อจำกัดตามข้อ (ก) ข้างต้นมีผลทำให้ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิที่เป็นคนต่างด้าวที่ได้ดำเนินการใช้
สิทธิตามเงื่อนไขการแจ้งความจำนงการใช้สิทธิตามข้อ 3.6 และตามหลักการ “มาก่อนได้ก่อน” (First-Come First-Served) ไม่สามารถใช้สิทธิได้ตามจำนวนที่ระบุในใบแจ้งความจำนงการใช้สิทธิ ซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน บริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความจำนงในการใช้ สิทธิ (ถ้ามี) ขอสงวนสิทธิในการส่งเงินในส่วนที่ไม่สามารถใช้สิทธิได้คืนให้แก่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิที่ เป็นคนต่างด้าวดังกล่าวโดยไม่มีดอกเบี้ยภายใน 14 วันนับจากวันกำหนดการใช้สิทธิ ทั้งนี้ ตามวิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดโดยบริษัท และ/หรือ ตัวแทนรับแจ้งความจำนงในการใช้สิทธิ (ถ้ามี)
(ค) นอกจากการส่งเงินในส่วนที่ไม่สามารถใช้สิทธิได้คืนตามข้อ 15.3 (ข) ข้างต้น ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ ที่เป็นคนต่างด้าวจะไม่ได้รับการชดเชยหรือชดใช้ไม่ว่าในรูปแบบใดจากบริษัทและตัวแทนรับแจ้ง ความจำนงในการใช้สิทธิ (ถ้ามี) ในกรณีที่ไม่สามารถใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิได้โดยมีสาเหตุมา จากข้อจำกัดเรื่องอัตราส่วนการถือหุ้นของคนต่างด้าวตามข้อ (ก) ข้างต้น
16 ผลบังคับข้อกำหนดสิทธิและกฎหมายที่ใช้บังคับ
ข้อกำหนดสิทธิฉบับนี้จะมีผลใช้บังคับในวันออกใบสำคัญแสดงสิทธิ ไปจนถึงวันกำหนดการใช้สิทธิครั้งสุดท้าย โดย ข้อกำหนดสิทธินี้จะใช้บังคับและตีความตามกฎหมายไทย และหากมีข้อความใดๆ ในข้อกำหนดสิทธินี้ขัดแย้งกับกฎหมายหรือ ประกาศใดๆ ที่มีผลใช้บังคับตามกฎหมายกับใบสำคัญแสดงสิทธิ ให้ใช้ข้อความตามกฎหมายหรือประกาศดังกล่าวบังคับกับ ใบสำคัญแสดงสิทธิแทนข้อความของข้อกำหนดสิทธิเฉพาะในส่วนที่ขัดแย้งกันนั้น
ผู้ออกใบสำคัญแสดงสิทธิ
บริษัท อี ฟอร์ แอล เอม จำกัด (มหาชน)
โดย
(นายปรีชา นันท์นฤมิต) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร