นาย ก เป็นทนายความ มีหนังสือถึงหน่วยงาน A ขอข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสัญญาซื้อขายที่ดินโฉนด เลขที่...ตั้งอยู่ที่ตำบล... อำเภอ... จังหวัด... ตามพระราชกฤษฎีกาเวนคืนที่ดินฯ เพื่อสร้างศูนย์ขนส่งสินค้าชายแดน จังหวัด... ระหว่างหน่วยงาน A...
สัญญาซื้อขายที่ดิน
เรื่องxxxxxxสนใจ หน่วยงานของรัฐซื้อที่ดินเพื่อสร้างศูนย์ขนส่งชายแดน เข้าข่ายเป็นสัญญาที่มี ลักษณะจัดทำบริการสาธารณะหรือไม่ ต้องเปิดเผยสัญญาให้ประชาชนรับทราบโดยทั่วไปหรือไม่ มาดูครับ
นาย ก เป็นทนายความ มีหนังสือถึงหน่วยงาน A ขอข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสัญญาซื้อขายที่ดินโฉนด เลขที่...ตั้งอยู่ที่ตำบล... อำเภอ... จังหวัด... ตามพระราชกฤษฎีกาเวนคืนที่ดินฯ เพื่อสร้างศูนย์ขนส่งสินค้าชายแดน จังหวัด... ระหว่างหน่วยงาน A กับเจ้าของที่ดินแปลงดังกล่าว หน่วยงาน A แจ้งปฏิเสธการเปิดเผยโดยให้เหตุผลว่า ผู้ยื่นคำขอไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเจ้าของที่ดินดังกล่าว สัญญาซื้อขายที่ดินที่ถูกเวนคืนตามพระราชกฤษฎีกากำหนดเขต ที่ดินที่จะเวนคืนฯ มิได้เป็นข้อมูลที่ประชาชนทั่วไปจะxxxxxxเข้าถึงได้ เนื่องจากเป็นข้อมูลส่วนบุคคลที่ยังxxxxxxรับ ความยินยอมจากเจ้าของข้อมูล และมิได้ก่อให้เกิดประโยชน์สาธารณะ ซึ่งหน่วยงานของรัฐจะxxxxสั่งมิให้เปิดเผยก็ได้ ตามมาตรา ๑๕ (๕) แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ นาย ก จึงอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการ วินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารสาขาสังคม การบริหารราชการแผ่นดิน และการบังคับใช้กฎหมาย วินิจฉัยสรุปว่า สัญญาซื้อขายที่ดินที่ถูกเวนคืนตามพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดิน ที่จะเวนคืนฯ มีลักษณะเป็นสัญญาทางxxxxxx ตามมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีxxxxxx พ.ศ. ๒๕๔๒ เนื่องจากคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งเป็นหน่วยงานทางxxxxxx และสัญญาดังกล่าวเกิดจากการใช้ xxxxxทางxxxxxxในการตราพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืนฯ เพื่อประโยชน์ในการสร้าง ศูนย์การขนส่งชายแดนตามโครงการศูนย์การขนส่งชายแดนจังหวัด... xxxxxลักษณะเป็นสัญญาจัดทำบริการสาธารณะ จึงเป็นข้อมูลข่าวสารตามมาตรา ๙ (๖) แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.x. 0000 xxxหน่วยงานของรัฐ ต้องจัดแสดงไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูxxx xxxเปิดเผยให้ผู้อุทธรณ์ทราบได้
มีข้อสงสัยการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ หารือไปที่ สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี โทร ๐ ๒๒๘๓ ๔๖๗๗ /
๐๙ ๒๒๕๐ ๐๕๘๙ (xxx.xxx.xx.xx) (xxxxxxxxxxx.x@xxx.xx.xx) คำวินิจฉัยคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารสาขาสังคม การบริหารราชการแผ่นดินและการบังคับ ใช้กฎหมาย (ที่ สค ๒๙๙/๒๕๖๕) นายวรรธนพงศ์ คำดี ผู้อำนวยการส่วนxxxxxxxxและเผยแพร่xxxxxรับรู้ข้อมูลข่าวสาร
“ข้อมูลโปร่งใส ราชการไทยไร้ทุจริต”
แม่จะขอดูxxxxxของลูกที่เสียชีวิต
คำวินิจฉัยฉบับนี้มีความน่าสนใจมาก เกี่ยวกับแม่จะขอดูข้อมูลการเบิกจ่ายxxxxxต่าง ๆ ของลูก ซึ่งเสียชีวิตจากการปฏิบัติหน้าที่ แต่xxxxxxรับความยินยอมจากxxxxxอื่น มาดูว่าจะตัดสินยังไง
นาง ก มารดาของนาย ข ซึ่งเสียชีวิตจากการปฏิบัติหน้าที่ในการช่วยฟื้นคืนชีพผู้ป่วยและติดเชื้อ ไวรัสโควิด 2019 นาง ก มีความสงสัยว่าจะมีการปลอมแปลงเอกสารและลายมือชื่อของนาง ก ในการให้ความ ยินยอมว่าไม่คัดค้านการเบิก-จ่าย เงินxxxxxต่าง ๆ นาง ก จึงมีหนังสือถึงโรงพยาบาล A ซึ่งเป็นต้นสังกัดของนาย ข ขอข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการตั้งxxxxxต่าง ๆ ของนาย ข ผู้เสียชีวิต โรงพยาบาล A แจ้งปฏิเสธการเปิดเผย โดยให้ เหตุผลว่า เป็นข้อมูลส่วนบุคคลของนาย ข ทั้งนี้xxxxxของนาย ข ประกอบด้วยนาง ค (ภรรยา) นางสาว ง (บุตร) และนาง ก (มารดา) ซึ่งนาง ค และนางสาว ง xxxxx xxxยินยอมให้เปิดเผย ตามมาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ นาง ก จึงอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารสาขาสังคม การบริหารราชการแผ่นดิน และการบังคับใช้กฎหมาย วินิจฉัยสรุปว่า xxxxxต่าง ๆ ของนาย ข ประกอบด้วย (๑) บำเหน็จตกทอด (๒) กองทุน xxxxxxxxxxxxxx (๓) เงินพิเศษช่วยเหลือ ๓ เท่า (๔) สวัสดิการของโรงพยาบาล (๕) ประกันชีวิตโควิดบริษัท B (๖) ประกันชีวิตโควิดบริษัท C (๗) ประกันชีวิตโควิดบริษัท D (๘) – (๑๐) เงินช่วยเหลือจากหน่วยงานภาครัฐ ข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลเกี่ยวกับการเบิกเงิน-รับเงิน สวัสดิการและประโยชน์xxxxxxxx ซึ่งผู้อุทธรณ์เป็นมารดาของ ผู้เสียชีวิตและต้องการตรวจสอบการเบิกจ่ายเงินของบุตร ย่อมมีส่วนได้เสียโดยตรงกับข้อมูลข่าวสารที่xxxxxx xxxควรได้รับทราบข้อมูลข่าวสารดังกล่าวเพื่อxxxxxxxxxxxของตนตามกฎหมาย การเปิดเผยจะแสดงให้เห็นถึงความ ถูกต้องโปร่งใสในการเบิกจ่ายเงินของโรงพยาบาล A จึงวินิจฉัยให้โรงพยาบาล A เปิดเผยข้อมูลข่าวสารดังกล่าว โดยปกปิดข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลและข้อมูลในขอบเขตxxxxxส่วนบุคคล ได้แก่ สำเนาบัตรประชาชน สำเนา ทะเบียนบ้าน สมุดบัญชีธนาคาร หมายเลขโทรศัพท์และลายมือชื่อภรรยาและบุตรของผู้เสียชีวิต ซึ่งการเปิดเผย จะเป็นการรุกล้ำxxxxxส่วนบุคคลโดยไม่xxxxx ตามมาตรา ๑๕ (๕) แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
มีข้อสงสัยการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ หารือไปที่ สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี โทร ๐ ๒๒๘๓ ๔๖๗๗ /
๐๙ ๒๒๕๐ ๐๕๘๙ (xxx.xxx.xx.xx) (xxxxxxxxxxx.x@xxx.xx.xx) คำวินิจฉัยคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารสาขาสังคม การบริหารราชการแผ่นดินและการบังคับ ใช้กฎหมาย (ที่ สค ๓๒๒/๒๕๖๕) นายวรรธนพงศ์ คำดี ผู้อำนวยการส่วนxxxxxxxxและเผยแพร่xxxxxรับรู้ข้อมูลข่าวสาร
“เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น”
ข้อมูลการรับบำนาญ
กันครับ
ประชาชนอยากจะตรวจสอบเส้นทางการเงินของข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ จะทำได้แค่ไหน มาติดตาม
นาย ก มีหนังสือถึงหน่วยงาน A ขอข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการรับบำนาญของนาย ข อดีตxxxxxx
สูงสุด เพื่อนำหลักฐานไปแจ้งให้สำนักงาน ปปง. ตรวจสอบต่อไป หน่วยงาน A แจ้งปฏิเสธการเปิดเผยโดยให้ เหตุผลว่า เนื่องจากเป็นข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับสิ่งเฉพาะตัวของบุคคลอันเป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ตามนัยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ หน่วยงานของรัฐจะเปิดเผย โดยปราศจากความยินยอมเป็นหนังสือของเจ้าของข้อมูลที่ให้ไว้ล่วงหน้าหรือในขณะนั้นมิได้ นาย ก จึงอุทธรณ์ต่อ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารสาขาสังคม การบริหารราชการแผ่นดิน และการบังคับใช้กฎหมาย วินิจฉัยสรุปว่า ข้อมูลข่าวสารการรับบำนาญของนาย ข เป็นข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับ สิ่งเฉพาะตัวของบุคคลอันจะทำให้ทราบถึงฐานะทางการเงินของบุคคลดังกล่าว จึงเป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ตามนัยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ซึ่งหน่วยงานของรัฐจะเปิดเผย โดยปราศจากความยินยอมเป็นหนังสือของเจ้าของข้อมูลที่ให้ไว้ล่วงหน้าหรือในขณะนั้นมิได้ ตามมาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน แม้ว่าxxxxxxxxxxแห่งราชอาณาจักรไทยและพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.x. 0000 xxxรับรองxxxxxของบุคคลในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองของหน่วยงานของรัฐ แต่ในส่วนข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลย่อมได้รับการคุ้มครองเป็นพิเศษ การใช้xxxxxของผู้อุทธรณ์ต้องกระทำโดยxxxxxx ประกอบกับผู้อุทธรณ์มิได้แสดงเหตุผลว่าข้อมูลข่าวสารดังกล่าวจำเป็นต่อการคุ้มครองxxxxxของผู้อุทธรณ์อย่างใด การเปิดเผยจะเป็นการรุกล้ำxxxxxส่วนบุคคลของบุคคลอื่นโดยไม่xxxxx ตามมาตรา ๑๕ (๕) แห่งพระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.x. 0000 xxxไม่xxxxxxเปิดเผยให้ผู้อุทธรณ์ทราบได้ วินิจฉัยให้ ยกอุทธรณ์
มีข้อสงสัยการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ หารือไปที่ สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี โทร ๐ ๒๒๘๓ ๔๖๗๗ /
๐๙ ๒๒๕๐ ๐๕๘๙ (xxx.xxx.xx.xx) (xxxxxxxxxxx.x@xxx.xx.xx) คำวินิจฉัยคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารสาขาสังคม การบริหารราชการแผ่นดินและการ บังคับใช้กฎหมาย (ที่ สค ๓๓๖/๒๕๖๕) นายวรรธนพงศ์ คำดี ผู้อำนวยการส่วนxxxxxxxxและเผยแพร่xxxxxรับรู้ ข้อมูลข่าวสาร
“ข้อมูลโปร่งใส ราชการไทยไร้ทุจริต”
ขอข้อมูลการปราบม็อบ
การชุมนุมทางการเมืองมีให้เห็นอยู่บ่อย ๆ เจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ควบคุมฝูงชนก็มีการปฏิบัติตาม ขั้นตอน ประชาชนก็ย่อมมีข้อสงสัยได้ว่ามีการเบิกจ่ายกำลังพล แก๊สน้ำตาและกระสุนยางมาใช้มากน้อยแค่ไหน มาดูว่า จะเปิดเผยให้xxxxxหรือไม่
นาย ก มีหนังสือถึงสำนักงานตำรวจแห่งชาติขอข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับจำนวนกำลังพลที่ใช้ในการ ควบคุมฝูงชนในการชุมนุมทางการเมือง จำนวนแก๊สน้ำตาและกระสุนยางที่เบิกมาใช้และใช้ไปในการปฏิบัติการ ควบคุมฝูงชนในการชุมนุมทางการเมือง ระหว่างปี ๒๕๖๓ ถึงปัจจุบัน สำนักงานตำรวจแห่งชาติปฏิเสธการเปิดเผย โดยให้เหตุผลว่า ข้อมูลข่าวสารดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ในการจัดกำลังพลในภารกิจควบคุมฝูงชนเพื่อ บังคับใช้กฎหมาย หากเปิดเผยจะส่งผลให้ผู้xxxxxxxxxxxxทราบถึงกำลังพลและอุปกรณ์ในแต่ละภารกิจตามแต่ สถานการณ์ ซึ่งจะส่งผลต่อการบังคับใช้กฎหมายของเจ้าหน้าที่ตำรวจรวมถึงไม่xxxxxxป้องกันเหตุความไม่สงบอัน เกิดจากการxxxxxxxxxผิดกฎหมายได้ นาย ก จึงอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารสาขาสังคม การบริหารราชการแผ่นดิน และการบังคับใช้กฎหมาย วินิจฉัยสรุปว่า ข้อมูลข่าวสารทั้ง ๒ รายการ เป็นข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการปฏิบัติ ราชการควบคุมฝูงชน ซึ่งการเปิดเผยยอดรวมทั้งหมดโดยไม่ระบุหรือแยกเป็นรายเหตุการณ์ของจำนวนกำลังพลที่ใช้ใน การควบคุมฝูงชน รวมทั้งยอดรวมจำนวนแก๊สน้ำตาและกระสุนยางที่ใช้ในการควบคุมฝูงชน ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ถึงxxxxxx ๑๙ xxxxxx ๒๕๖๔ จึงไม่กระทบกับความมั่นคงของรัฐและมิได้ทำให้ทราบถึงอัตราการจัดกำลังพล และเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมฝูงชน อันจะทำให้การบังคับใช้กฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพหรือxxxxxxสำเร็จ ตามวัตถุประสงค์ ตามมาตรา ๑๕ (๒) แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.x. 0000 xxxเปิดเผยให้ ผู้อุทธรณ์ทราบได้ ส่วนข้อมูลจำนวนกำลังพล จำนวนแก๊สน้ำตาและกระสุนยาง แยกเป็นรายเหตุการณ์และแยกตัวเลข “เบิกมา” “ใช้ไป” หรือ “ส่งคืน” อาจส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมายของเจ้าหน้าที่ของรัฐในการ ควบคุมการชุมนุมเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัยสาธารณะ ความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมxxxxxของ ประชาชน และอาจไม่xxxxxxแก้ไขสถานการณ์การxxxxxxxxxผิดกฎหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตามมาตรา ๑๕ (๒) แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ จึงไม่อาจเปิดเผยโดยแยกเป็นรายเหตุการณ์ได้
มีข้อสงสัยการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ หารือไปที่ สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี โทร ๐ ๒๒๘๓ ๔๖๗๗ /
๐๙ ๒๒๕๐ ๐๕๘๙ (www.oic.go.th) (wattanapong.k@opm.go.th) คำวินิจฉัยคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารสาขาสังคม การบริหารราชการแผ่นดินและการ บังคับใช้กฎหมาย (ที่ สค ๓๓๓/๒๕๖๕) นายวรรธนพงศ์ คำดี ผู้อำนวยการส่วนส่งเสริมและเผยแพร่สิทธิรับรู้ ข้อมูลข่าวสาร
“ข้อมูลโปร่งใส ราชการไทยไร้ทุจริต”
ขอชื่อกรรมการตรวจสอบ
การแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นมาตรวจสอบเรื่องใดเรื่องหนึ่งแล้วจะสามารถเปิดเผยรายชื่อ กรรมการได้หรือไม่ มาดูครับ
นาย ก ร้องเรียนกล่าวหานาย ข ซึ่งเป็นข้าราชการในสำนักงานจังหวัดแห่งหนึ่งว่ากระทำการ อันมิชอบด้วยกฎหมายหลายประการ ต่อมานาย ก มีหนังสือถึงศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด A ขอข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ รายชื่อและตำแหน่งของคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงเรื่องดังกล่าว ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด A แจ้งปฏิเสธ การเปิดเผยโดยให้เหตุผลว่า การตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีนาย ข ถูกร้ องเรียนนั้น เป็นขั้นตอนหนึ่งของ การดำเนินการทางวินัย ซึ่งเป็นเรื่องลับ เนื่องจากมีผลกระทบต่อบุคคลหลายคน การเปิดเผยไม่เป็นประโยชน์ ต่อผู้ขอข้อมูลหรือประโยชน์สาธารณะ ตามมาตรา ๑๕ (๖) แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ นาย ก จึงอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารสาขาสังคม การบริหารราชการแผ่นดิน และการบังคับใช้กฎหมาย วินิจฉัยสรุปว่า ข้อมูลข่าวสารตามอุทธรณ์คือ รายชื่อและตำแหน่งของคณะกรรมการ ตรวจสอบข้อเท็จจริงตามคำสั่งจังหวัด... ที่... ลงวันที่... เมื่อการดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงเรื่องนี้เสร็จสิ้นแล้ว คำสั่งดังกล่าวเป็นข้อมูลข่าวสารการปฏิบัติราชการตามกฎหมายของหน่วยงานของรัฐที่ไม่มีลักษณะอย่างหนึ่ง อย่างใดที่หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐอาจมีคำสั่งมิให้เปิดเผย ตามมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ประกอบกับผู้อุทธรณ์เป็นผู้ร้องเรียนกล่าวหา การเปิดเผยจะแสดงให้เห็น ถึงความโปร่งใสตรวจสอบได้ในกระบวนการตรวจสอบข้อเท็จจริงของหน่วยงานของรัฐ จึงเปิดเผยให้ผู้อุทธรณ์ ทราบได้
มีข้อสงสัยการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ หารือไปที่ สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี โทร ๐ ๒๒๘๓ ๔๖๗๗ /
๐๙ ๒๒๕๐ ๐๕๘๙ (www.oic.go.th) (wattanapong.k@opm.go.th) คำวินิจฉัยคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารสาขาสังคม การบริหารราชการแผ่นดินและการบังคับ ใช้กฎหมาย (ที่ สค ๓๗๓/๒๕๖๕) นายวรรธนพงศ์ คำดี ผู้อำนวยการส่วนส่งเสริมและเผยแพร่สิทธิรับรู้ข้อมูล ข่าวสาร