๑. ความตกลง CPTPP หมายถึง ความตกลงที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสำหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจ ภาคพื้นแปซิฟิก (Comprehensive and Progressive Agreement of Trans-Pacific Partnership หรือ CPTPP) เป็นความตกลงการค้าเสรีขนาดใหญ่ ประกอบด้วยประเทศสมาชิก ๑๑ ประเทศ ได้แก่...
สาระสำคัญของความตกลง XXXXX xxxเกี่ยวข้องกับกฎหมายคุ้มครองxxxxxxxxx
๑. ความตกลง CPTPP หมายถึง ความตกลงที่ครอบคลุมและxxxxxxxxสำหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจ ภาคพื้นแปซิฟิก (Comprehensive and Progressive Agreement of Trans-Pacific Partnership หรือ CPTPP) เป็นความตกลงการค้าxxxxขนาดใหญ่ ประกอบด้วยประเทศสมาชิก ๑๑ ประเทศ ได้แก่ ญี่ปุ่น แคนาดา xxxxxxโก เปรู ซิxx ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สิงคโปร์ มาเลเซีย บรูไน และเวียดนาม โดยความตกลง CPTPP ได้มีการลงนามไป เมื่อเดือนมีนาคม ๒๕๖๑ ณ ประเทศชิลี และมีผลใช้บังคับอย่างเป็นทางการแล้วตั้งแต่xxxxxx ๓๐ ธันวาคม ๒๕๖๑ โดยปัจจุบันคงเหลือ ๓ ประเทศที่ยังxxxxxxให้สัตยาบันความตกลงฯ คือ ชิลี มาเลเซีย และบรูไน
๒. ความตกลง CPTPP มีxxxxxxxxxxxจะขยายประเทศสมาชิก เพื่อพัฒนาไปสู่เขตการค้าxxxx เอเชียแปซิฟิก (The Free Trade Area of the Asia-Pacific: XXXXX) ในxxxxx โดยประเทศที่สนใจจะเข้า เป็นสมาชิกใหม่จะต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไข ดังต่อไปนี้
๑) เป็นสมาชิก APEC หรือประเทศอื่น ๆ ซึ่งต้องได้รับความเห็นชอบจากสมาชิก CPTPP
๒) จะต้องยื่นหนังสือเป็นลายลักษณ์xxxxxต่อนิวซีแลนด์ ซึ่งเป็นประเทศผู้รับมอบสัตยาบัน และเป็นผู้เก็บรักษาxxxxxxxxx
๓) จะต้องได้รับxxxxxมติจากประเทศสมาชิกเดิมทั้งหมดในการยอมรับการเข้าเป็นสมาชิก
๔) การเข้าเป็นสมาชิกใหม่จะไม่xxxxxxเจรจาต่อรองปรับแก้ไขข้อบทความตกลง XXXXX
xxxสมาชิกเดิมได้ลงนามไปแล้ว
๓. ปัจจุบันมีหลายประเทศให้ความสนใจเข้าร่วมความตกลง CPTPP โดยประเทศที่ยื่นหนังสือ ขอเจรจาเข้าร่วมความตกลง CPTPP (accession request) อย่างเป็นทางการแล้ว ได้แก่ สหราชอาณาจักร (เมื่อxxxxxx๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔) จีน (เมื่อxxxxxx ๑๖ กันยายน ๒๕๖๔) จีนไทเป (เมื่อxxxxxx ๒๒ กันยายน ๒๕๖๔) และเอกวาดอร์ (เมื่อxxxxxx ๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๔) ซึ่งประเทศสมาชิก CPTPP อยู่ระหว่างพิจารณาเรื่องดังกล่าว
๔. ความตกลง CPTPP ครอบคลุมประเด็นต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง (Comprehensive) และมี มาตรฐานสูง (High Standard) เมื่อเทียบกับความตกลง FTA ทั้งหมดทั่วโลก ครอบคลุมข้อบทการเจรจา รวม ๓๐ ข้อบท ทั้งในด้านการเปิดตลาดการค้าสินค้า การค้าบริการ การลงทุน ตลอดจนการxxxxxx และ การสร้างความสอดคล้องในกฎxxxxxxxทางเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก xxxx ด้านนโยบายการแข่งขัน การจัดซื้อxxxxxxxโดยรัฐ ทรัพย์สินทางxxxxx เป็นต้น
๕. ข้อบทที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายคุ้มครองxxxxxxxxx คือ ข้อบทที่ ๑๘ ทรัพย์สินทางxxxxx ข้อบทย่อยที่ ๑๘.๒ ให้เป็นภาคีความตกลงระหว่างประเทศด้านทรัพย์สินทางxxxxx ได้แก่ การxxxxxความสะดวก ในการยื่นคำขอจดทะเบียนสิทธิบัตรระหว่างประเทศ (Patent Cooperation Treaty) การคุ้มครองทรัพย์สิน อุตสาหกรรม (Paris Convention) การคุ้มครองลิขสิทธิ์ (Berne Convention) การxxxxxความสะดวก ในการยื่นคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าระหว่างประเทศ (Madrid Protocol) และ/หรือ กระบวนการ จดทะเบียนเครื่องหมายการค้า (Singapore Treaty) การฝากเก็บจุลชีพเพื่อกระบวนการจดสิทธิบัตร (Budapest Treaty) อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองxxxxxxxxxใหม่ ค.ศ. ๑๙๙๑ (International Convention for the Protection of New Varieties of Plants หรือ UPOV1991) xxxxxนักแสดงและ ผู้ผลิตสิ่งบันทึกเสียง (WIPO Copyright Treaty และ WIPO Performances and Phonograms Treaty)
ที่มา : xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxคุ้มครองxxxxxxxxx กรมวิชาการเกษตร โทร. ๐๒ ๙๔๐ ๗๒๑๔ xxx.xxx.xx.xx/xxx/
เอกสารมาทำความรู้จัก UPOV
อนุสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการคุ้มครองxxxxxxxxxใหม่
International Convention for the Protection of New Varieties of Plants
ตอนที่ 1 UPOV และxxxxxxxxx (Variety)
ตอนที่ 2 ความต้องการxxxxxxxxxใหม่ (New Variety) ตอนที่ 3 UPOV กับ ประโยชน์ที่สังคมจะได้รับ
ตอนที่ 4 การที่จะได้รับการคุ้มครอง และนักปรับปรุงxxxxxxxxx (Plant Breeders)
ตอนที่ 5 ข้อยกเว้น และเงื่อนไข ตอนที่ 6 ผลกระทบ
“To provide and promote an effective system of plant variety protection, with the aim of encouraging the development of new varieties of plants, for the benefit of society”
UPOV mission statement
หมายเหตุ
ที่มา: แปลและเรียบเรียงจาก xxxxx://xxx.xxxx.xxx/xxxxx/xx/
All reproduction of information from the UPOV website and UPOV pictures shall be accompanied by an acknowledgment that the reproduction is published with the permission of the International Union for the Protection of New Varieties of Plants (UPOV), the owner of the copyright
ตอนที่ 1 UPOV และxxxxxxxxx (Variety)
xxxxx://xxx.xxxx.xxx/xxxxxxxx/xx/xxxx.xxxx
UPOV เป็นองค์กรระหว่างประเทศ (The International Union for the Protection of New Variety) ตั้งอยู่ที่ กรุงxxxxxx xวิตเซอร์แลนด์ ก่อตั้งเมื่อ 1961 ที่กรุงปารีส ฝรั่งเศส ภายใต้ “อนุสัญญาระหว่างประเทศเพื่อ การคุ้มครองxxxxxxxxxใหม่” (International Convention for the Protection of New Varieties of Plants) ที่ต่อมาได้ทำการปรับปรุงเมื่อปี 1972 1978 และ 1991
พันธะกิจ UPOV “ให้และxxxxxxxxระบบที่มีประสิทธิภาพในการคุ้มครองxxxxxในพืชพันธุ์ใหม่ เพื่อผลักดัน การพัฒนาพืชพันธุ์ใหม่ ๆ ที่ให้ประโยชน์กับสังคม”
UPOV จึงเป็นองค์กรที่ผลักดันด้านการปรับปรุงxxxxxxxxx ด้วยการให้การรับรองxxxxxแก่นักปรับปรุงxxxxxxxxx โดยการให้xxxxxทางทรัพย์สินทางxxxxxกับนักปรับปรุงxxxxxxxxxที่มีพืชพันธุ์ใหม่
สมาชิก UPOV ประกอบด้วย 76 ประเทศ และ 2 องค์การระหว่างประเทศ (ครอบคลุม 97 ประเทศ แสดงด้วยพื้นที่สีเขียว ในจำนวนนี้เป็นสมาชิก UPOV 1978 จำนวนเพียง 17 ประเทศ)
• พัฒนาการของการคุ้มครองxxxxxxxxxใหม่
• xxxx xxxxxxx (Species) กับ xxxxxxxxx (Varieties)
xxxxx://xxx.xxxx.xxx/xxxxxxxx/xx/xxxxxxx.xxxx
ชนิดพืช (Species) เป็นการจัดกลุ่มพืชในชนิดเดียวกันตามหลักวิชาชีววิทยา ซึ่งภายในกลุ่มมี ความหลากหลายในประเภทของพืช เกษตรกรและผู้ปลูกมีความต้องการพืชที่เฉพาะเจาะจงในการปรับตัวให้เข้ากับ สภาวะแวดล้อมเฉพาะxxxxxxxxและการเขตกรรม
xxxxxxxxx (Varieties) คือ กลุ่มของพืชที่คัดเลือกจากในกลุ่มชนิดพืช (Species) ที่มีลักษณะที่เฉพาะเจาะจง
อาทิxxxx คุณภาพ ผลผลิต การต้านทานโรคและเมลงศัตรูพืช
ชนิดพืช (Species) xxxxxxxxx (Varieties)
** อนุสัญญา UPOV จะใ👉้การคุ้มครองเฉพาะในระดับพันธุ์เท่านั้น **
ตอนที่ 2 ความต้องการxxxxxxxxxใหม่ (New Varieties)
xxxxx://xxx.xxxx.xxx/xxxxxxxx/xx/xxxxxxxxxxx.xxxx
ทำไมเกษตรกรและผู้ปลูกจึงต้องการxxxxxxxxxใหม่ (New Varieties) จากนักปรับปรุงxxxxxxxxx
xxxxxxxxxใหม่ (New Varieties) การที่จะเป็น xxxxxxxxxใหม่ ต้องประกอบไปด้วยคุณสมบัติ xxxx คุณภาพ ที่สูงขึ้น ผลผลิตxxxxxขึ้น ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืช ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่สำคัญมากในการที่จะxxxxx ผลผลิต คุณภาพของผลผลิตทางการเกษตร ไม้ผล และป่าไม้ โดยที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยมาก จึงกล่าวได้ ว่า ความxxxxxxxxทางการเกษตรที่เกิดขึ้นในxxxxxxxต่าง ๆ ในโลกเรานี้เกิดมาจากการปรับปรุงxxxxxxxxxใหม่เป็น พื้นฐานที่สำคัญ
ตอนที่ 3 UPOV กับ ประโยชน์ที่สังคมจะได้รับ
xxxxxxxxxxxxx
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
ประโยชน์ที่สังคมจะได้รับจาก UPOV xxxxx://xxx.xxxx.xxx/xxxxxxxx/xx/xxxxxxxx.xxxx
ผู้บริโภค/อุตสาหกรรม
ผลิตผล
เกษตรกร & ผู้ปลูก
กรณีศึกษา - การปรับปรุงxxxxxxxxx Xxxxxxxx
ความสำคัญและขนาดของการให้ประโยชน์จากการปรับปรุงxxxxxxxxx จากตัวอย่างกรณี Rapeseed
ในอดีตนั้น น้ำมันxxxxxxจาก Rapeseed มีไว้ใช้ในการหล่อลื่นxxxxxxxxxxxไอน้ำ จนกระทั่งนักปรับปรุงxxxxxxxxx ได้นำมาทำการพัฒนาปรับปรุงพันธุ์จนกลายเป็นพืชสำคัญทางการเกษตร โดยในลำดับแรก ได้ทำการปรับปรุงพันธุ์ ให้มีปริมาณสาร glucosinolate ลดลง จนxxxxxxนำมาใช้เป็นส่วนประกอบของอาหารสัตว์ได้ ต่อมานักปรับปรุง xxxxxxxxxได้ทำปรับปรุงเพื่อลดปริมาณกรด erucic ลงมาจนทำให้xxxxxxใช้เป็นน้ำมันเพื่อการบริโภคของมนุษย์ได้ และในปัจจุบัน นักปรับปรุงxxxxxxxxxได้กำลังทำการปรับปรุงพันธุ์ เพื่อให้xxxxxxxxxxxxใหม่ที่มีปริมาณกรด oleic xxxxxขึ้น และลดปริมาณกรด linoleic ลง อันxxxxxxxxxxxทางโภชนาการมากขึ้นต่อผู้บริโภค
ตัวอย่างประโยชน์ที่สังคมจะได้รับกรณีการปรับปรุงxxxxxxxxx Rapeseed
ตอนที่ 4 การที่จะได้รับการคุ้มครอง และนักปรับปรุงxxxxxxxxx (Plant Breeders)
• การxxxxxxxxxxxxที่จะได้รับการคุ้มครอง xxxxx://xxx.xxxx.xxx/xxxxxxxx/xx/xxxxxxxxxx.xxxx
UPOV xxxxxxxxด้านการปรับปรุงxxxxxxxxxแก่สมาชิก ด้วยการให้การรับรองxxxxxแก่นักปรับปรุงxxxxxxxxx โดยการให้xxxxxคุ้มครองทางทรัพย์สินทางxxxxxกับนักปรับปรุงxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxพืชใหม่ เมื่อพันธุ์ได้รับการ คุ้มครองจากxxxxxของนักปรับปรุงxxxxxxxxx หากจะทำการผลิตxxxxxxxxxเหล่านี้เพื่อการค้าจะต้องได้รับการอนุญาต จากนักปรับปรุงxxxxxxxxx ซึ่งxxxxxนักปรับปรุงxxxxxxxxx (The Plant breeder’s Rights - PBR) ออกให้โดยแต่ละ ประเทศสมาชิก
• ใครบ้างที่xxxxxxxxxรับการคุ้มครองxxxxxxxxx xxxxx://xxx.xxxx.xxx/xxxxxxxx/xx/xxxxxxx.xxxx
การคุ้มครองจะให้เฉพาะกับนักปรับปรุงxxxxxxxxxที่สร้างxxxxxxxxxใหม่เท่านั้น จะไม่ให้กับผู้อื่นใดที่ไม่ใช่ นักปรับปรุงxxxxxxxxx นักปรับปรุงxxxxxxxxxในคำจำกัดความของ UPOV จะเป็นผู้ใดก็ได้ โดยไม่มีข้อจำกัด ตัวอย่าง ของนักปรับปรุงพันธุ์ xxxx เกษตรกร นักวิจัยทดลอง ภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรxxxxx เป็นต้น
ตัวอย่างในประเทศxxxxxxx สัดส่วนนักปรับปรุงxxxxxxxxxในแต่ละกลุ่มพืช เรียงตามลำดับจากมากไปน้อย
- กลุ่มพืชผัก : บริษัทเมล็ดพันธุ์ 👉น่วยงานxxxxxxxx เกษตรกร บริษัทเกี่ยวกับอา👉าร 👉น่วยงานกลาง ส👉กรณ์การเกษตร
- กลุ่มพืชอา👉าร👉ลัก : 👉น่วยงานxxxxxxxx 👉น่วยงานกลาง บริษัทเกี่ยวกับอา👉าร เกษตรกร บริษัทเมล็ดพันธุ์ ส👉กรณ์การเกษตร
- กลุ่มxxxxxไม้ : เกษตรกร 👉น่วยงานxxxxxxxx 👉น่วยงานกลาง บริษัทเมล็ดพันธุ์ ส👉กรณ์การเกษตร บริษัทเกี่ยวกับอา👉าร
- กลุ่มอื่นๆ xxxx เ👉็ด : บริษัทเมล็ดพันธุ์ บริษัทเกี่ยวกับอา👉าร 👉น่วยงานกลาง 👉น่วยงานxxxxxxxx เกษตรกร ส👉กรณ์การเกษตร
- กลุ่มไม้ดอกฯ : บริษัทเมล็ดพันธุ์ เกษตรกร บริษัทเกี่ยวกับอา👉าร 👉น่วยงานxxxxxxxx 👉น่วยงานกลาง ส👉กรณ์การเกษตร
ตอนที่ 5 ข้อยกเว้นxxxxx และเงื่อนไข
การเก็บเมล็ดไว้ทำพันธุ์ (Farm save seed) Commercial farmers
• ข้อยกเว้นในxxxxxxxxให้กับนักปรับปรุงxxxxxxxxx xxxxx://xxx.xxxx.xxx/xxxxxxxx/xx/xxxxxxxxxx.xxxx
ภาคบังคับ (Compulsory) | ทางเลือก (Optional) |
ใช้ในการปรับปรุงxxxxxxxxx “ข้อยกเว้นสำหรับการ ปรับปรุงxxxxxxxxx” | ใช้ในวัตถุประสงค์เพื่อการ ทดลอง xxxx ชาวสวนมือ สมัครxxxx งานxxxxxx | ใช้ในวัตถุประสงค์เพื่อ ประโยชน์ส่วนตนเองและเพื่อ ยังชีพ รวมถึงไม่ใช่เพื่อการค้า |
• เงื่อนไขที่จะทำให้ได้รับความคุ้มครอง
xxxxx://xxx.xxxx.xxx/xxxxxxxx/xx/xxxxxxxxxx.xxxx
เป็นพนธุท่มีความใหม่
Novelty
การตงั้ ชื่อพนธุ์
Variety Domination
ผ่านพิธีการ และจ่ายคา่ ธรรมเนียม
Formalities & Payment of Fees
เป็นพนธุท่มีคณสมบติ “DUS”
Distinctness + Uniformity + Stability
ความแตกต่าง + ความสม่า˚ เสมอ + ความเสถียร
Distinctness | Uniformity | Stability |
ความแตกตา่ ง | ความสม่า˚ เสมอ | ความเสถียร |
ตอนที่ 6 ผลกระทบ
xxxxx://xxx.xxxx.xxx/xxxxxxxx/xx/xxxxxx.xxxx
จากการนำระบบการคุ้มครองxxxxxxxxxของ UPOV ไปใช้สมาชิกของ UPOV พบว่ามีความxxxxxxxxต่อสิ่งต่อไปนี้ คือ
1. xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxขึ้น
2. xxxxxxxxพืชxxxxxxรับการปรับปรุงมากขึ้น
3. มีจำนวนxxxxxxxxxใหม่ ๆ มากขึ้น
4. นักปรับปรุงxxxxxxxxxมีความหลากหลายมากขึ้น (นักปรับปรุงxxxxxxxxxเอกชน นักวิจัยทดลอง)
5. จากการที่มีจำนวนxxxxxxxxxจากต่างประเทศมากขึ้น จึงxxxxxxxผลักดันการพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ ๆ
6. มีความxxxxxxในการแข่งขันทางการตลาดกับต่างประเทศมากขึ้น และ
7. xxxxxxxปรับปรุงการเข้าถึงxxxxxxxxxต่างประเทศ และทำให้การปรับปรุงxxxxxxxxxในประเทศดีขึ้น
หากท่านต้องการเอกสารเพิ่มเติม ในxxxxxxxxกระทบจากการมีการคุ้มครองxxxxxxxxxและการเข้าเป็นสมาชิกกับ UPOV จะหาอ่านเพิ่มเติมxxxxxx “UPOV Report on the Impact of Plant Variety Production” (มีเอกสารให้ ตามคำร้องขอ) xxxxx://xxx.xxxx.xxx/xxxxxxxx/xx/xxxxxx.xxxx
ข้อแตกต่างระหว่างอนุสัญญา UPOV1991 กับพระราชบัญญัติคุ้มครองxxxxxxxxx พ.ศ. ๒๕๔๒
ประเด็นที่แตกต่าง | อนุสัญญา UPOV1991 | พ.ร.บ. xxxxxxxxxxxxxxxxx พ.ศ. ๒๕๔๒ | |
๑. | นิยามนักปรับปรุงxxxxxxxxx | - หมายถึง ผู้ทำการปรับปรุงxxxxxxxxx ผู้ค้นพบและ พัฒนาxxxxxxxxx นายจ้าง xxxxx | - หมายถึง ผู้ทำการปรับปรุงพันธุ์หรือพัฒนาพันธุ์ จนxxxxxxxxxxxxใหม่ |
๒. | ชนิดพืชที่ให้ความคุ้มครอง xxxxxxxxxx | - ให้xxxxxxxxxxของพืชทุกชนิดและ/หรือสกุล xxxxxxยื่นขอรับการคุ้มครองได้ภายหลงั จาก เป็นภาคีแล้ว ๑๐ ปี | - ให้รัฐมนตรีประกาศกำหนดพืชชนิดใดxxxxxxxxxxxxx xxxxxxยื่นขอรับการคุ้มครองได้ (ปัจจุบันรัฐมนตรีประกาศกำหนดแล้ว ๑๐๐ รายการ) |
๓. | เงื่อนไขในการรับจด ทะเบียนคุ้มครองxxxxxxxxxx | - ความใหม่ (Novelty) - ความแตกต่าง (Distinctness) - ความสม่ำเสมอ (Uniformity) - ความxxxxx (Stability) - การตั้งชื่อตามหลักเกณฑ์ (Denomination) | - ความใหม่ (Novelty) - ความแตกต่าง (Distinctness) - ความสม่ำเสมอ (Uniformity) - ความxxxxx (Stability) - การตั้งชื่อตามหลักเกณฑ์ (Denomination) - xxxxxxxxxใหม่xxxxxxจากการตัดต่อสารพันธุกรรม จะจดทะเบียนฯ ได้ต่อเมื่อผ่านการประเมินผล กระทบทางด้านความปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม - คำขอจดทะเบียนต้องมีรายละเอียดแสดงที่มา ของxxxxxxxxxใหม่ หรือสารพันธุกรรมที่ใช้ในการ ปรับปรุงxxxxxxxxxใหม่ - คำขอจดทะเบียนต้องมีข้อตกลงแบ่งปัน xxxxxxxxxxในกรณีที่มีการใช้xxxxxxxxxพื้นเมือง ทั่วไปหรือxxxxxxxxxป่า หรือส่วนหนึ่งส่วนใดของxxxxxx xxxดังกล่าวในการปรับปรุงพันธุ์สำหรับใชประโยชน์ ในทางการค้า |
๔. | เงื่อนไขความใหม่ | - ต้องยังไม่ขายหรือจำหน่ายส่วนขยายพันธุ์หรือ สิ่งที่xxxxxxxxxxxxxเกินกว่า ๑ ปี ภายในประเทศ และในต่างประเทศ ๔ ปี สำหรับพืชทั่วไป ๖ ปี สำหรับไม้ยืนต้น ก่อนวันยื่นขอจดทะเบียน | - ต้องยังไม่ขายหรือจำหน่ายส่วนขยายพันธุ์ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ เกินกว่า ๑ ปี ก่อนวันยื่นขอจดทะเบียน |
๕. | การให้ความคุ้มครอง ชั่วคราว | - กำหนดให้มีการคุ้มครองชั่วคราว (Provisional protection) ตั้งแต่xxxxxxยื่นขอจดหรือxxxxxxประกาศ โฆษณาจนถึงxxxxxxได้รับการคุ้มครอง | - ไม่กำหนดให้มีการคุ้มครองชั่วคราว |
๖. | ขอบเขตของxxxxxครอบคลุม | - ส่วนขยายพันธุ์ของพันธุ์คุ้มครอง - ผลิตผลและ/หรือผลิตภัณฑ์ xxxxxxมาจากส่วน ขยายพันธุ์ของxxxxxxxxxxxxxxxรับการคุ้มครอง โดยxxxxxxรับอนุญาตจากนักปรับปรุงพันธุ์ - พันธุ์ที่มีxxxxxxxxxสำคัญของพันธุ์คุ้มครอง (พันธุ์ EDVs) - พันธุ์ที่จำเป็นจะต้องใช้พันธุ์คุ้มครองในการผลิต ทุกครั้ง xxxx ลูกผสมชั่วที่ ๑ (F1 Hybrid) | - เฉพาะส่วนขยายพันธุ์ของพันธุ์คุ้มครอง |
๗. | ข้อกำหนดเกี่ยวกับ การอนุญาตให้เกษตรกร xxxxxxเก็บเมล็ดxxxxxxxxx ใหม่ไว้ปลูกต่อได้ | - กำหนดให้สมาชิกอาจxxxxxxxxxxxxxxxให้xxxxxx xxxxxในพืชที่ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดและมีความสำคัญ ต่อวิถีปฏิบัติทั่วไปของเกษตรกร (common practice) | - กำหนดให้รัฐมนตรีxxxxxxประกาศจำกัดxxxxx เกษตรกร โดยให้ขยายส่วนขยายพันธุ์xxxxxxเกิน ๓ เท่าจากxxxxxxมา ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีการออกประกาศ จำกัดxxxxxเกษตรกร |
๘. | อายุการคุ้มครอง | - ไม่น้อยกว่า ๒๐ ปี สำหรับพืชทั่วไป - ไม่น้อยกว่า ๒๕ ปี สำหรับไม้ยืนต้นและไม้เถา ยืนต้น (vines) | - ๑๒ ปีสำหรับพืชอายุสั้น - ๑๗ ปีสำหรับไม้ผล และ - ๒๗ ปีสำหรับพืชให้เนื้อไม้ |
๙. | การตั้งชื่อxxxxxxxxxใหม่ | - ระบุหลักเกณฑ์อยู่ในกฎหมายหลัก | - ระบุหลักเกณฑ์อยู่ในกฎหมายลำดับรอง |
ที่มา : xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxคุ้มครองxxxxxxxxx กรมวิชาการเกษตร โทร. ๐๒ ๙๔๐ ๗๒๑๔ xxx.xxx.xx.xx/xxx/
แบบสำรวจความคิดเห็นต่อ
“การเตรียมความพร้อมกรณีเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา UPOV1991 ในการเจรจาเข้าร่วมความตกลง CPTPP”
โปรดเลือกข้อที่ตรงกับตัวท่านและ/หรือความคิดเห็นของท่าน และโปรดระบุข้อมูลและ/หรือความคิดเห็นเพิ่มเติม
ส่วนที่ ก ข้อมูลทั่วไปของผู้แสดงความคิดเห็น
๑. ชื่อ-นามสกุล (นาย/นาง/นางสาว) ข้อมูลเพื่อการติดต่อ โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล์ Line ID อาชีพ ตำแหน่ง (หากมี) ชื่อหน่วยงาน (หากมี) จังหวัด
๒. ท่านเปนผู้มีxxxxxxxxxxxxxxxxxxเกี่ยวข้องกับการสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ในฐานะ (ตอบได้มากกว่า ๑ ข้อ)
□ ๑) ผู้ปรับปรุงพันธุ์
□ ผู้วิจัยและพัฒนาปรับปรุงxxxxxxxxx ภาครัฐ/สถาบันการศึกษา
□ ผู้วิจัยและพัฒนาปรับปรุงxxxxxxxxx ภาคเอกชน
□ ผู้วิจัยและพัฒนาปรับปรุงxxxxxxxxx xxxxx/เกษตรกร
□ ๒) ผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์/ส่วนขยายพันธุ์
□ ผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์
□ ผู้ผลิตส่วนขยายพันธุ์ xxxx กิ่งพันธุ์ ท่อนพันธุ์ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
□ ๓) ผู้จำหน่ายเมล็ดพันธุ์/ส่วนขยายพันธุ์
□ ผู้จำหน่ายเมล็ดพันธุ์
□ ผู้จำหน่ายส่วนxxxxxxxxxx xxxx xxxxxxxxxx xxxxxxxxxx xxxxxxxxx
□ ๔) ผู้ใช้เมล็ดพันธุ์/ส่วนขยายพันธุ์
□ ผู้ใช้เมล็ดพันธุ์ : เกษตรกร (พื้นที่ปลูกมากกว่า ๒๕ ไร่)
□ ผู้ใช้เมล็ดพันธุ์ : เกษตรกร (พื้นที่ปลูกไม่เกิน ๒๕ ไร่)
□ ผู้ใช้เมล็ดพันธุ์ : ปลูกเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรืองานxxxxxx
□ ผู้ใช้ส่วนขยายพันธุ์ xxxx กิ่งพันธุ์ ท่อนพันธุ์ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
□ ๕) องค์การพัฒนาเอกชนxxxxxxแสวงหากำไร
□ ๖) ประชาชนทั่วไป
□ ๗) อื่น ๆ (โปรดระบุ)
๒
ส่วนที่ ข ความคิดเห็นต่อการเตรียมความพร้อมกรณีเข้าเป็นภาคีอนสัญญา UPOV1991 ในการเจรจาเข้า
ร่วมความตกลง CPTPP
๓. ท่านทราบหรือไม่ว่าประเทศไทยมีความหลากหลายของพันธุกรรมพืชที่มีจำนวนมากและมีคุณค่าสูง เป็นอันดับต้น ๆ ของโลก
🞎 ทราบ 🞎 ไม่ทราบ 🞎 ไม่แน่ใจ
๔. ท่านทราบหรือไม่ว่าหากจะต้องเข้าร่วมความตกลง CPTPP จะต้องเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา UPOV1991 ด้วย
🞎 ทราบ 🞎 ไม่ทราบ
๕. ท่านคิดว่าประเทศไทยควรใช้เวลากี่ปีเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการให้สัตยาบันอนสัญญา UPOV1991
(เลือกได้เพียงข้อเดียว)
□ ๕.๑ ควรมีระยะเวลาปรับตัว ๕ ปี
□ ๕.๒ ควรมีระยะเวลาปรับตัว ๑๐ ปี
□ ๕.๓ ควรมีระยะเวลาปรับตัว ๑๕ ปี
□ ๕.๔ ควรมีระยะเวลาปรับตัว (โปรดระบุจำนวนปีที่ท่านคิดว่าเหมาะสม)
๖. หากรัฐบาลจะเตรียมความพร้อมเข้าเป็นภาคีอนสัญญา UPOV1991 ในด้านต่าง ๆ ต่อไปนี้ ท่านคิดว่ามีข้อใดบ้างที่จะช่วยลดผลกระทบxxxxxxเกิดขึ้น (เลือกได้มากกว่า ๑ ข้อ)
□ ๖.๑ การสร้างความรับรู้ให้กับเกษตรกร ประชาชน และทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง xxxx กฎหมายภายใน และต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับxxxxxxxxx ความสำคัญของการxxxxxxxxทรัพยากรพืช การนำทรัพยากรพืช ไปใช้ประโยชน์ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพืชของคนไทย
□ ๖.๒ การสำรวจความต้องการใช้เมล็ดพันธุ์/xxxxxxxxxของเกษตรกร
□ ๖.๓ การผลิตเมล็ดพันธุ์/ต้นพันธุ์/ท่อนพนธุ์ให้เพียงพอต่อความต้องการใช้ของเกษตรกร ตามข้อ ๖.๒
□ ๖.๔ การถ่ายทอดเทคโนโลยีและองค์ความรู้เกี่ยวกับการผลิตพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์ให้กับเกษตรกร
□ ๖.๕ การพัฒนา/ยกระดับให้เกษตรกรเป็นนักปรับปรุงพันธุ์ได้
□ ๖.๖ การจัดทำฐานข้อมูลทรัพยากรพันธุกรรมพืชและxxxxxxxxxของประเทศไทยxxxxxxxxxx
□ ๖.๗ การเตรียมความพร้อมด้านอื่น ๆ (โปรดระบุ)
๗. ท่านคิดว่าหากประเทศไทยเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา UPOV1991 จะมีผลกระทบต่อตัวท่านมากxxxxxxxxxใด
🞎 ไม่มีผลกระทบ 🞎 มีผลกระทบน้อย 🞎 มีผลกระทบมาก
๘. ข้อเสนอแนะอื่น ๆ
****************************
๓
โปรดส่งแบบสำรวจความคิดเห็นให้กับ กลุ่มวิจัยการคุ้มครองxxxxxxxxx สำนักคุ้มครองxxxxxxxxx กรมวิชาการเกษตร
ภายในxxxxxx ๒ ธันวาคม ๒๕๖๕
แบบแสดงความคิดเห็น Google form xxxxx://xxx.xx/0x00xXx
เอกสารประกอบการพิจารณา
xxxxx://xxx.xxx.xx.xx/xxx/xx-xxxxxxx/xxxxxxx/0000/00/0-xxxxx.xxx
• สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมxxxxxx : xxxxxxx xxxxxx นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ
xxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxx นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ โทรศัพท์/โทรสาร ๐๒ ๙๔๐ ๗๒๑๔ ในวันและเวลาราชการ
🙨 ขอขอบพระคุณในความร่วมมือเป็นอย่างสูง 🙨