Contract
ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจการให้บริการเสริมความงาม ศึกษากรณีสัญญาผู้บริโภค
xxxxx xxxxxxxxxxx1 xxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxx0
บทคัดย่อ
ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจการให้บริการเสริมความงาม กรณีศึกษาสัญญาให้บริการดังกล่าวที่ ผู้บริโภคxxxxxxรับความเป็นธรรมในการท˚าสัญญาแล้วร้องเรียนมาที่ส˚านักงานคณะกรรมการคุ้มครอง ผู้บริโภคในแต่ละปีมีแนวโน้มสูงมากขึ้น โดยมีข้อความในสัญญาที่ผู้บริโภคxxxxxxxxxxผู้ประกอบธุรกิจ ดังต่อไปนี้ xxxx มีการขอxxxxxxxxxที่จะไม่คืนเงินทุกกรณี ตัวxxxxxในสัญญามีขนาดเล็ก ผู้บริโภคไม่ xxxxxxบอกเลิกสัญญาและขอรับเงินที่ช˚าระไปแล้วคืนได้ เป็นต้นจากปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยได้ศึกษา กฎหมายของประเทศไทยที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันเพื่อก˚าหนดแนวทางแก้ปัญหาดังกล่าวและปัญหาเพิ่มเติม ไม่ว่าจะเป็นปัญหาด้านหน่วยงานที่ควบคุมก˚ากับดูแลธุรกิจการให้บริการเสริมความงาม ปัญหาลักษณะ สัญญาธุรกิจการให้บริการเสริมความงาม ปัญหาสัญญาให้บริการที่มีการปฏิบัติการช˚าระหนี้ในxxxxx ปัญหาสัญญาที่จัดให้มีบริการในลักษณะต่อเนื่อง ปัญหาสัญญาที่มีการออกบัตรที่ใช้แทนเงินสดส˚าหรับ ช˚าระค่าบริการที่มีการช˚าระxxxxxxบัตรล่วงหน้า ปัญหาเกี่ยวกับรูปแบบและข้อก˚าหนดในสัญญา ผลการศึกษา พบว่า กฎหมายไทยในส่วนที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจนี้ ได้แก่ กฎหมายสถานบริการ กฎหมายสาธารณสุข กฎหมายการประกอบโรคศิลปะ กฎหมายสถานพยาบาล กฎหมายวิชาชีพเวชกรรม ไม่มีบทบัญญัติเรื่อง มาตรฐานข้อสัญญา xxมีเฉพาะมาตรฐานวิชาชีพเท่านั้น ประกอบกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับการคุ้มครอง ผู้บริโภคในธุรกิจการให้บริการเสริมความงาม ได้แก่ แพทยสภา ส˚านักอนามัย กรุงเทพมหานคร กรมพัฒนา การแพทย์แผนไทย ส˚านักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ ส˚านักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยนั้น ก็ไม่มีอ˚านาจหน้าที่ทางกฎหมายในการตรวจสอบหรือควบคุมคุณภาพการให้บริการของธุรกิจการให้บริการ เสริมความงามได้อย่างxxxxxxxx xxxท˚าให้ผู้ประกอบธุรกิจxxxxxxก˚าหนดมาตรฐานสัญญาของตนได้โดย xxxxx ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้บริโภคได้ในด้านความไม่เป็นธรรมของสัญญาซึ่งผู้บริโภคมักจะ ตกเป็นฝ่ายxxxxxxxxxxผู้ประกอบธุรกิจอยู่เสมอ และด้านผู้บริโภคมีภาระการพิสูจน์ให้ได้ความว่าความเสียหาย
1 นักศึกษาหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต
2 ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
2
อันเกิดจากการเข้าใช้บริการธุรกิจการให้บริการเสริมความงามนั้นเป็นความxxxxxxxxxxเกิดขึ้นจากการเข้าใช้ บริการของผู้ประกอบธุรกิจที่เป็นผู้ให้บริการนั้นจริง
1. บทน˚า
ปัจจุบันพบว่าธุรกิจการให้บริการเสริมความงามเป็นธุรกิจที่ผู้ประกอบการมีการใช้สัญญาส˚าเร็จรูป ที่ท˚าเป็นหนังสือโดยผู้ประกอบธุรกิจซึ่งเป็นผู้ให้บริการได้จัดท˚าขึ้นฝ่ายเดียวและมีการใช้ข้อสัญญาxxxxxxเป็น ธรรมส˚าหรับผู้รับบริการ อีกทั้งมีการใช้กันอย่างxxxxxxxx และเป็นข้อสัญญาที่ใช้บังคับได้เพราะข้อสัญญา ดังกล่าวไม่ขัดต่อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมxxxxxของประชาชน ด้วยเหตุนี้จึงท˚าให้ ผู้รับบริการxxxxxxรับความเป็นธรรมในการท˚าสัญญา ประกอบกับกฎหมายไทยในส่วนที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจนี้ ได้แก่ กฎหมายสถานบริการ กฎหมายสาธารณสุข กฎหมายการประกอบโรคศิลปะ กฎหมายสถานพยาบาล กฎหมายวิชาชีพเวชกรรมไม่มีบทบัญญัติเรื่องมาตรฐานข้อสัญญาxxมีเฉพาะมาตรฐานวิชาชีพเท่านั้น ดังนั้น จึงจ˚าเป็นต้องมีการก˚าหนดให้ธุรกิจการให้บริการเสริมความงามเป็นธุรกิจที่ควบคุมสัญญาตามกฎหมาย คุ้มครองผู้บริโภค
2. มาตรการกฎหมายที่เกี่ยวกับการท˚าสัญญาธุรกิจการให้บริการเสริมความงามของประเทศ ไทยกับต่างประเทศ
ด้วยเหตุที่ปัจจุบันประเทศไทยยังมิได้มีกฎหมายที่ควบคุมก˚ากับดูแลเกี่ยวกับธุรกิจการให้บริการ เสริมความงามในด้านการท˚าสัญญาไว้เป็นการเฉพาะโดยตรง ผู้วิจัยจึงได้ศึกษากฎหมายของประเทศไทยที่ ใช้อยู่ในปัจจุบัน ได้แก่ กฎหมายสถานบริการ กฎหมายสาธารณสุข กฎหมายการประกอบโรคศิลปะ กฎหมายสถานพยาบาล กฎหมายวิชาชีพเวชกรรม ว่ามีxxxxxxxxxxxxเทียบเคียงน˚ามาปรับใช้กับการควบคุม ก˚ากับดูแลธุรกิจการให้บริการเสริมความงาม โดยเฉพาะสัญญาผู้บริโภค (Consumer Contract) จากการ ประกอบธุรกิจได้หรือไม่เพียงใด ปรากฏผลการศึกษาพบว่ากฎหมายดังกล่าวไม่มีบทบัญญัติเรื่องมาตรฐาน ข้อสัญญาxxมีเฉพาะมาตรฐานวิชาชีพเท่านั้น ดังนั้น จึงได้ศึกษามาตรการทางกฎหมายที่เป็นการเฉพาะ เกี่ยวกับการท˚าสัญญาธุรกิจการให้บริการเสริมความงามของต่างประเทศ ได้แก่ สาธารณรัฐฝรั่งเศส สหพันธรัฐเยอรมนี สหรัฐอเมริกา ว่าประเทศดังกล่าวมีมาตรการในการควบคุมธุรกิจการให้บริการเสริม ความงามไว้อย่างไรบ้าง ทั้งนี้ เพื่อจะได้น˚ามาตรการกฎหมายต่างประเทศไปใช้ในการวิเคราะห์ปัญหา กฎหมายเกี่ยวกับสัญญาธุรกิจดังกล่าวที่ท˚าขึ้นในประเทศไทยต่อไป
3
3. ปัญหาและวิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจการให้บริการเสริมความงาม
มาตรการกฎหมายที่เกี่ยวกับการท˚าสัญญาธุรกิจการให้บริการเสริมความงามของต่างประเทศที่ ผู้วิจัยได้น˚ามาใช้ในการวิเคราะห์ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการท˚าสัญญาธุรกิจดังกล่าวxxxxxxxท˚าขึ้นในประเทศ ไทย ดังต่อไปนี้
3.1 ปัญหาด้านหน่วยงานที่ควบคุมก˚ากับดูแลธุรกิจการให้บริการเสริมความงาม
ผู้วิจัยได้ศึกษาหน่วยงานที่มีความเกี่ยวข้องกับธุรกิจการให้บริการเสริมความงามนั้น ปรากฏว่า ไม่มีหน่วยงานใดที่รับผิดชอบในการก˚ากับดูแลธุรกิจการให้บริการเสริมความงามเป็นการเฉพาะโดยตรงแต่ อย่างใด และจากสถิติการรับเรื่องร้องเรียนที่ผู้บริโภคได้รับความไม่เป็นธรรม ในการท˚าสัญญากับ ผู้ประกอบการที่ให้บริการเสริมความงามของส˚านักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคในช่วงเวลาระหว่าง ปี พ.ศ. 2556 ถึงxxxxxx 30 เมษายน พ.ศ. 2560 มีจ˚านวนรวมทั้งสิ้น 1,079 ราย ดังนั้นเมื่อธุรกิจการให้บริการ เสริมความงามไม่มีหน่วยงานใดที่จะควบคุมมาตรฐานสัญญาธุรกิจการให้บริการเสริมความงามดังกล่าวไว้ เป็นการเฉพาะประกอบกับเมื่อธุรกิจการให้บริการเสริมความงามส่งผลกระทบต่อผู้บริโภคเป็นจ˚านวนมาก จึงจ˚าเป็นต้องมีกฎหมายมาบังคับใช้เป็นการเฉพาะเพื่อควบคุณมาตรฐานข้อสัญญาของการประกอบธุรกิจ โดยก˚าหนดหลักเกณฑ์ สาระส˚าคัญของสัญญา รายละเอียดเกี่ยวกับอัตราค่าบริการ อัตราค่าสมาชิก และ ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เรียกเก็บจากผู้บริโภค เงื่อนไขวิธีการช˚าระเงิน โดยก˚าหนดวันเริ่มต้นและวันสิ้นสุดการเป็น สมาชิก ก˚าหนดหลักเกณฑ์ในการบอกเลิกสัญญา การคืนเงิน เป็นต้น
การศึกษากฎหมายต่างประเทศพบว่าไม่มีประเทศใดที่มีกฎหมายxxxxxxxเรื่องสัญญาธุรกิจการ ให้บริการเสริมความงามไว้เป็นการเฉพาะ โดยส่วนใหญ่จะน˚าบทบัญญัติในกฎหมายแพ่งมาปรับใช้โดยยึด หลักของ ความxxxxxxxxระหว่างหลักเสรีภาพในการท˚าสัญญา (Freedom of Contract) ความมีxxxxxและ เสรีภาพของบุคคลในการด˚ารงชีวิตได้อย่างเท่าเทียมกัน ความเท่าเทียมกันหรือความxxxxxxx โดยมี xxxxxxxxxxxว่ามนุษย์ทุกคนมีความxxxxxxในการตัดสินใจในการเลือกบริโภคสินค้าหรือบริการเท่าเทียม กัน รัฐจะไม่เข้าไปแทรกแซงเสรีภาพในการตกลงของเอกชนและไม่มีการออกกฎหมายเพื่อควบคุม หลัก ทฤษฎีกฎหมายที่เกี่ยวด้วยการค้าจึงเกิดขึ้นนั่นคือ ในการซื้อขายนั้น “ผู้ซื้อต้องระวัง” กล่าวคือ หากมีความ เสียหายใดๆ ในสินค้าหรือบริการที่ซื้อขายกันนั้น ความเสียหายนั้นตกเป็นของผู้ซื้อเอง ด้วยเหตุนี้ ท˚าให้รัฐ ต้องเข้ามาแทรกแซงเพื่อให้ความคุ้มครองแก่ผู้บริโภคโดยสร้างกฎหมายและกฎเกณฑ์ต่างๆ ขึ้นมาเพื่อ ควบคุมไม่ให้ผู้ผลิตและผู้ประกอบธุรกิจเอาเปรียบผู้บริโภค แนวความคิดในการซื้อขายจึงเปลี่ยนแปลงเป็น หลักทฤษฎี “ผู้ขายต้องระวัง” ซึ่งเป็นแนวคิดxxxxxxxxxxxxxกับแนวคิดและทฤษฎีกฎหมายของระบบเศรษฐกิจ xxxx และบางประเทศได้น˚ามาตรการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสัญญาในระบบการควบคุมสัญญา (Control of Contract) ที่เป็นมาตรการคุ้มครองการท˚าสัญญาของผู้บริโภคแบบต้นทางอันเป็นมาตรการยกเว้นของ มาตรการเสรีภาพในการท˚าสัญญา (Freedom Of Contract)
4
ปัญหาดังกล่าวข้างต้น เมื่อปรากฏจากการศึกษาพบว่าหน่วยงานด้านสาธารณสุขในประเทศไทย ไม่มีกฎหมายxxxxxxxเรื่องมาตรฐานด้านสัญญาธุรกิจการให้บริการเสริมความงาม xxมีแต่มาตรฐานวิชาชีพ เท่านั้น ผู้วิจัยจึงเสนอให้ใช้กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคที่มีบทบัญญัติให้คณะกรรมการว่าด้านสัญญามีอ˚านาจ ออกประกาศคณะกรรมการว่าด้วยสัญญาก˚าหนดให้ธุรกิจการให้บริการเสริมความงามเป็นธุรกิจที่ควบคุม สัญญาได้ ด้วยเหตุxxxxxx xxxจ˚าเป็นต้องผลักดันให้คณะกรรมการว่าด้วยสัญญาใช้อ˚านาจพิจารณาออกประกาศ คณะกรรมการว่าด้วยสัญญาก˚าหนดให้ธุรกิจการให้บริการเสริมความงามเป็นธุรกิจที่ควบคุมสัญญาตาม พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541 ทั้งนี้ เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคในประเทศไทยที่เป็นผู้รับบริการดังกล่าวได้รับความเป็นธรรมใน การท˚าสัญญาต่อไป
3.2 ปัญหาลักษณะของสัญญาธุรกิจการให้บริการเสริมความงาม
ปัจจุบันประเทศไทยมีกฎหมายที่xxxxxxxเรื่องสัญญาซื้อขายสินค้าหรือบริการที่มีข้อสัญญา เกี่ยวกับการช˚าระราคาล่วงหน้าอยู่บ้าง แต่กฎหมายเหล่านั้นก็xxxxxxเป็นกฎหมายที่xxxxxxxขึ้นเพื่อคุ้มครอง xxxxxของผู้บริโภคจากสัญญาซื้อขายสินค้าหรือบริการที่มีการช˚าระราคาล่วงหน้าโดยตรง ผู้วิจัยจึงมีการ พิจารณาเรื่องนี้และมีข้อเสนอแนะสภาพปัญหา ลักษณะของสัญญาธุรกิจการให้บริการเสริมความงาม ออกเป็นสามปัญหาที่แตกต่างกันไว้ ดังนี้
3.2.1 xxxxxxxxxxxxxxxxxxxให้บริการที่มีการปฏิบัติการช˚าระหนี้ในxxxxx
ปัญหาการละเมิดxxxxxของผู้บริโภคที่พบคือผู้บริโภคxxxxxxรับสินค้าหรือบริการ หรือได้รับสินค้า หรือบริการxxxxxxถูกต้องตรงxxxxxxxx xxxx การที่ผู้บริโภคซื้อสินค้าผ่านอินเตอร์เน็ตและได้ช˚าระเงินไป ล่วงหน้า และปรากฏว่าผู้ขายไม่ส่งมอบสินค้าหรือส่งมอบสินค้าxxxxxxถูกต้องหรือกรณีที่ผู้บริโภคได้ซื้อตั๋ว การแสดงบัตรผ่านส˚าหรับเข้าร่วมกิจกรรม และในภายหลังผู้จัดไม่xxxxxxจัดการแสดงหรือกิจกรรม ดังกล่าวได้ หรือมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบหรือรายละเอียดของการแสดงหรือกิจกรรม กรณีที่กล่าวxxxxxx การผิดสัญญาของผู้ประกอบการมีxxxxxxxxxxจะเกิดขึ้นได้สูง เนื่องจากตนได้รับช˚าระราคาสินค้าหรือบริการ ทั้งหมดแล้ว จึงไม่ต้องค˚านึงถึงความเสี่ยงว่าตนจะxxxxxxรับช˚าระหนี้ในส่วนของตนหากตนผิดสัญญา ใน กรณีxxxxว่าแม้ว่าผู้บริโภคจะมีxxxxxในการเรียกค่าสินไหมทดแทนหรือการเรียกคืนราคาสินค้าหรือบริการ อย่างไรก็ตามไม่มีความแน่นอนว่าผู้บริโภคจะได้รับการxxxxxxxxxxxว่านั้นหรือไม่
มาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองผู้บริโภคของสาธารณรัฐฝรั่งเศส3 ก˚าหนดหลักเกณฑ์ว่า สัญญาซื้อขายสินค้าหรือสัญญาให้บริการนั้นเป็นสัญญาที่ท˚าขึ้นระหว่างผู้ประกอบการกับผู้บริโภคสัญญา
3 47 Article L114-1 Dans tout contrat ayant pour objet la vente d’un bien meuble ou la foumiture d’ un bine meuble ou la foumiture d’ une prestation de services a un consommateur, le professionnel doit, lorsque la livraison du bien ou la
fourniture de la prestation m’est pas immediate et si le prix convenu exceed des seuils fixes par vo e reglementaire,
5
ดังกล่าวยังตกอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค แต่ส˚าหรับสัญญาxxxxxxxxท˚าขึ้นระหว่าง ผู้ประกอบการกับผู้บริโภคแล้ว สัญญานั้นจะอยู่ภายใต้บังคับเฉพาะxxxxxxกฎหมายแพ่งเท่านั้น ส่วน สัญญาให้บริการเสริมความงาม นั้น xxxxxxเทียบได้กับสัญญาซื้อขายสินค้าหรือจัดให้มีการบริการที่มีการ ปฏิบัติช˚าระหนี้ทันทีขณะท˚าสัญญา ซึ่งมีxxxxxxxxxxxxเกี่ยวข้องโดยตรงในxxxxxxกฎหมายแพ่ง (Le Code civil) เพียงมาตราเดียว ได้แก่ มาตรา L.114-1
ในกรณีที่ผู้ประกอบการไม่ส่งมอบสินค้าหรือจัดให้มีการบริการภายในระยะเวลาที่ก˚าหนดไว้ใน สัญญาเกินกว่า 7 วัน เว้นแต่ในกรณีเกิดจากเหตุสุดวิสัย ผู้บริโภคxxxxxxยกเลิกสัญญาซื้อขายหรือสัญญาจัด ให้มีการให้บริการ โดยส่งจดหมายขอเลิกสัญญาพร้อมด้วยใบเสร็จไปยังผู้ประกอบการ
สัญญาซื้อขายหรือสัญญาจัดให้บริการที่ผู้ซื้อได้ส่งจดหมายบอกเลิกสัญญาให้xxxxxxสิ้นสุดเมื่อ ผู้ประกอบการได้รับจดหมายหากในกรณีที่ผู้ประกอบการได้ส่งมอบสินค้าหรือจัดให้มีบริการในระหว่าง ผู้บริโภคส่งจดหมายและผู้ประกอบการยังxxxxxxรับจดหมายนั้น ทั้งนี้ผู้บริโภคมีxxxxxบอกเลิกสัญญาดังกล่าว ได้ภายใน 60 วัน นับแต่xxxxxxได้ระบุไว้เพื่อให้ส่งมอบสินค้าหรือจัดให้มีบริการ
ในกรณีที่สัญญาไม่มีการระบุข้อสัญญาไว้อย่างชัดเจน ให้xxxxxxเงินที่ผู้บริโภคได้ช˚าระ ไปบางส่วนล่วงหน้าเป็นเงินมัดจ˚า เพื่อให้สัญญาดังกล่าวเปิดโอกาสให้xxxxxxxxxxxพิจารณาไตร่ตรองซ้˚าอีก ครั้งหนึ่ง หากผู้บริโภคเลิกสัญญา ผู้บริโภคเสียเงินมัดจ˚าxxxxxxช˚าระไว้ หากผู้ประกอบการเป็นฝ่ายเลิกสัญญา ผู้ประกอบการต้องชดใช้คืนราคาให้แก่ผู้บริโภค 2 เท่า การที่ก˚าหนดให้ผู้ประกอบการต้องก˚าหนดวันส่ง มอบสินค้าหรือจัดให้มีการให้บริการและการให้xxxxxแก่ผู้บริโภคในการเลิกสัญญาเป็นประเด็นที่ประเทศ ไทยxxxxxxรับมาเป็นตัวอย่างในการร่างกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคต่อไปเพื่อเป็นการสร้างกลไกการ คุ้มครองผู้บริโภคในสัญญาให้xxxxxxxxxxxxxxxขึ้น โดยอาจก˚าหนดxxxxxxของสัญญาที่กฎหมายxxxxxxxจะ คุ้มครองให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจของประเทศไทยด้วย
indiquer la date limite a laquelle il s’engage a executer la prestaiton. Le consommateur peut denouncer le contrat de vente d’un bien meuble ou de fourniture d’une prestation de servive par letter recommandee avec demande d’avis de reception en cas de depassement de la date de livraison du bien ou d’executicn de la prestation excedant sept jours et non du a cas de force majeure. Ce contrat ast, le cas echeant, conside comme rompu a la reception, par le vendeur ou par le intervenue ou si la prestation n’a pas ete execute entre l’envoi et la reception de cette letre. Le consommateur excrce ce droit dans un delai de soixante jours ouvres a compter de la date indiquee pour la livraison du bien ou l’execution de la prestation. Sauf stipulation conraire du contrat, les sommmes verses d’ avance sont des arrhes, ce qui a pour effet professional en les restituant au double. อ้างถึงใน xxxxxxxxx xxxxxxxxx และคณะ (2553) การพัฒนากฎหมายในการคุ้มครองผบริโภคกรณีการ ช˚าระค่าสินค้าและบริการล่วงหน้า
6
กฎเกณฑ์ว่าด้วยข้อสัญญาxxxxxxเป็นธรรมและแนวทางปฏิบัติของคณะกรรมการว่าด้วยข้อสัญญา xxxxxxเป็นธรรม นอกจากการคุ้มครองผู้บริโภคในสัญญาซื้อขายสินค้าและบริการทั่วไป ที่อยู่ภายใต้xxxxxx กฎหมายการคุ้มครองผู้บริโภคแล้ว ยังมีกลไกการคุ้มครองผู้บริโภค อีกอย่างหนึ่งในประเทศฝรั่งเศส คือ กลไกตามบทบัญญัติของกฎเกณฑ์ว่าด้วยข้อสัญญาxxxxxxเป็นธรรมซึ่งอยู่ใน มาตรา L.131-1 ถึงxxxxxxxมาตรา L.131-5
ดังนั้น จึงจ˚าเป็นต้องน˚ามาตรการสัญญาการให้บริการที่มีการปฏิบัติการช˚าระหนี้ในxxxxxตาม กฎหมายของสาธารณรัฐฝรั่งเศสมาใช้กับสัญญาธุรกิจการให้บริการเสริมความงามที่มีข้อตกลงเกี่ยวกับการ ช˚าระหนี้ในxxxxxxxxท˚าขึ้นในประเทศไทย
3.2.2 ปัญหาสัญญาที่จัดให้มีบริการในลักษณะต่อเนื่อง
สัญญาประเภทนี้เป็นสัญญาที่ผู้บริโภคจะมีความผูกพันระยะยาวโดยที่ความผูกพันระยะยาวอัน อาจจะน˚ามาสู่ปัญหาส˚าคัญ 2 ประการคือ
ประการแรก ผู้บริโภคมีความเสี่ยงต่อการxxxxxxรับการให้บริการหรือได้รับบริการxxxxxxถูกต้อง
xxxxxxxxเพราะด้วยระยะเวลาของสัญญาที่ยาวนานและต่อเนื่องนั้นผู้บริโภคต้องมีความเสี่ยงตลอดระยะ เวลาที่ยาวนานและในทุกๆ ครั้งที่เข้ารับบริการว่าจะได้รับการช˚าระหนี้อย่างถูกต้องหรือไม่ หรือความเสี่ยงที่ ตนอาจจะไม่xxxxxxเข้ารับการช˚าระหนี้ได้จากการเปลี่ยนแปลงไปของสถานการณ์ของฝ่ายตน โดยที่แม้ว่า ในช่วงแรกของสัญญานั้นจะได้รับการปฏิบัติการช˚าระหนี้อย่างถูกต้องก็มิได้เป็นเครื่องยืนยันว่าจะได้รับการ ปฏิบัติการช˚าระหนี้ในครั้งต่อไปอย่างถูกต้อง และถ้าเทียบกับสัญญาซื้อขายสินค้านั้นในกรณีxxxxxxรับสินค้า ไม่ถูกต้องxxxxxxxxนั้นผู้ซื้ออาจจะใช้สิทธิยึดหน่วงสินค้าxxxxxxถูกต้องจนกว่าจะได้รับการคืนราคา และหาก พิจารณาการควบคุมคุณภาพ (Quality Control) ของสัญญาบริการนั้นกระท˚าได้ยากมากเพราะตัวบริการไม่มี รูปร่าง (Intangible) และการที่จะทราบได้ว่า จะได้รับการปฏิบัติการช˚าระหนี้xxxxxxxxอย่างถูกต้องหรือไม่ นั้นจะไม่xxxxxxทราบได้จนกว่าจะได้เข้ารับบริการ
ประการที่สอง ปัจจุบันผู้ให้บริการxxxxxxxxให้บริการที่มีลักษณะต่อเนื่องนั้นมีxxxxxxxxxxจะ เรียกร้องให้มีการช˚าระค่าบริการล่วงหน้าซึ่งในบางกรณีนั้นอาจจะเป็นการช˚าระล่วงหน้าเป็นระยะเวลาเป็นปี ซึ่งจ˚านวนxxxxxxของค่าบริการxxxxxxxxบริการนั้นย่อมสูงและเมื่อผู้บริโภคได้ช˚าระราคาไปทั้งหมดแล้ว ผู้ประกอบการย่อมมีแรงจูงใจน้อยลงที่จะปฏิบัติxxxxxxxxหรือรักษาคุณภาพของการให้บริการเนื่องจากตน ได้รับการช˚าระหนี้ของอีกxxxxxxจนครบถ้วนแล้ว
สหพันธรัฐเยอรมนี4ได้น˚ากฎหมายที่ก˚าหนดหลักเกณฑ์ข้อสัญญาที่จัดให้มีการให้บริการที่มี ลักษณะต่อเนื่องมาปรับใช้กับสัญญาการให้บริการเสริมความงามซึ่งเป็นสัญญาที่มีการปฏิบัติการช˚าระหนี้
4 Xxxxxxxxxx, Xxxxx X, Xxxxxxxx, Xxxxxx, Xxxxxxxx, Xxxxx Xxxxxxx, The German law of contract a comparative treatise, Oxford: Hart Pub 2006
7
หลายครั้ง และเป็นสัญญาที่คู่สัญญาต้องxxxxxxxxxxxxxxเป็นช่วงระยะเวลาหนึ่ง หากว่าผู้ใช้บริการย้ายที่อยู่ (ย้ายเมือง) และระยะทางระหว่างที่อยู่ใหม่กับสถานให้บริการเสริมความงามห่างกันมาก และถ้าปรากฏว่า หากสัญญาการให้บริการเสริมความงามต้องด˚าเนินต่อไปนั้นจะก่อให้เกิดภาระเกินควรแก่ผู้ใช้บริการ ผู้ใช้ บริการxxxxxxเลิกสัญญาดังกล่าวได้ทันที โดยxxxxxxต้องxxxxxxxxเลิกสัญญาล่วงหน้าภายในระยะเวลา อาจ เป็นระยะเวลาที่คู่สัญญาตกลงก˚าหนดเองในสัญญา หรือเป็นระยะเวลาอันxxxxx โดยพิจารณาจากลักษณะ ของสัญญาและฐานะของxxxxxxxxxxxxxxxจะใช้xxxxxเลิกสัญญาประกอบด้วย (มาตรา 314 BGB)
ดังนั้น จึงจ˚าเป็นต้องน˚าหลักเกณฑ์ข้อสัญญาที่จัดให้มีบริการในลักษณะต่อเนื่องของประเทศ สหพันธ์รัฐเยอรมนีมาปรับใช้กับสัญญาการให้บริการเสริมความงามซึ่งเป็นสัญญาที่มีการปฏิบัติการช˚าระ หนี้หลายครั้งและเป็นสัญญาที่คู่สัญญาต้องxxxxxxxxxxxxxxเป็นช่วงระยะเวลาหนึ่ง หากผู้ใช้บริการย้ายที่อยู่ (ย้ายเมือง) และระยะทางระหว่างที่อยู่ใหม่กับสถานให้บริการเสริมความงามห่างกันมากและถ้าปรากฏว่า สัญญาการให้บริการเสริมความงามต้องด˚าเนินต่อไปนั้นจะก่อให้เกิดภาระเกินควรแก่ผู้ใช้บริการ ผู้ใช้บริการ xxxxxxเลิกสัญญาดังกล่าวได้ทันที โดยxxxxxxต้องxxxxxxxxเลิกสัญญาล่วงหน้าภายในระยะเวลาที่คู่สัญญา ก˚าหนดหรือระยะเวลาอันxxxxx โดยพิจารณาจากลักษณะของสัญญาและฐานะของxxxxxxxxxxxxxxxจะใช้ xxxxxเลิกสัญญาประกอบด้วย
3.2.3 ปัญหาสัญญาที่มีการออกบัตรที่ใช้แทนเงินสดส˚าหรับช˚าระค่าบริการที่มีการช˚าระxxxxxx บัตรล่วงหน้า
สัญญาที่มีการออกบัตรที่ใช้แทนเงินสดส˚าหรับช˚าระค่าบริการที่มีการช˚าระxxxxxxบัตรล่วงหน้า เป็นสัญญาในรูปแบบสัญญามาตรฐานที่ก˚าหนดโดยผู้ประกอบการเพียงฝ่ายเดียว xxxxxxxxxxxxxxxxxxxx ดังกล่าวจึงอยู่บนพื้นฐานของข้อตกลงระหว่างคู่สัญญาซึ่งโดยทั่วไป ผู้ให้บริการจะก˚าหนดข้อสัญญาไม่ อนุญาตให้ผู้บริโภคxxxxxxแลกเงินคืนได้ หากผู้บริโภคมีความxxxxxxxxxxจะแลกเงินคืนจากxxxxxxบัตร ล่วงหน้า ทั้งในกรณีที่ยังไม่เคยใช้บัตรเพื่อซื้อสินค้าหรือบริการหรืออาจจะได้ใช้ประโยชน์จากบัตรไปแล้ว แต่ยังคงเหลือxxxxxxตามบัตร ผู้บริโภคย่อมไม่xxxxxxเรียกคืนจากxxxxxxตามบัตรได้เนื่องจากข้อสัญญาxxxxxx ตกลงกับผู้ให้บริการ หากผู้บริโภคไม่xxxxxxxxxxจะได้สินค้าหรือบริการที่เป็นประโยชน์ตามบัตรอีกต่อไป และเมื่อผู้บริโภคไม่xxxxxxแลกบัตรเป็นเงินตามxxxxxxตามบัตรคืนได้ย่อมหมายความว่าผู้บริโภคเสียโอกาส ในการใช้เงินที่ตนได้ช˚าระไปเพื่อแลกเป็นxxxxxxตามบัตรในการน˚าไปช˚าระค่าสินค้าหรือค่าบริการชนิดอื่นที่ ตนต้องการ นอกจากนี้พบว่าปัญหาอีกประการหนึ่ง คือ การที่ผู้ให้บริการบัตรแทนเงินสดก˚าหนดวัน หมดอายุของบัตรที่ใช้แทนเงินสดส˚าหรับช˚าระค่าสินค้าและบริการที่มีการช˚าระxxxxxxบัตรล่วงหน้า ท˚าให้ ผู้บริโภคไม่xxxxxxใช้xxxxxxบัตรได้เมื่อผ่านวันหมดอายุไปแล้ว จากสถานการณ์ดังกล่าวเห็นได้ว่าxxxxxของ ผู้บริโภคอาจถูกกระทบ
8
ดังนั้น จึงจ˚าเป็นต้องน˚ามาตรการข้อสัญญาที่มีการออกบัตรที่ใช้แทนเงินสดส˚าหรับช˚าระ ค่าบริการที่มีการช˚าระxxxxxxบัตรล่วงหน้าของมลรัฐ Ohio สหรัฐอเมริกา5ที่ก˚าหนดกลไกเกี่ยวกับรูปแบบ ข้อก˚าหนดในสัญญา กลไกเกี่ยวกับหลักประกันในการปฏิบัติการช˚าระหนี้ที่ฝ่ายผู้ประกอบการต้องจัดให้มี และกลไกเกี่ยวกับxxxxxในการเลิกสัญญาของผู้บริโภคมาปรับใช้กับสัญญาการให้บริการเสริมความงามซึ่ง เป็นสัญญาที่มีข้อตกลงการช˚าระค่าบริการล่วงหน้าที่ท˚าขึ้นในประเทศไทย
3.3 ปัญหาเกี่ยวกับรูปแบบและข้อก˚าหนดในสัญญา
ปัญหาเกี่ยวกับรูปแบบและข้อก˚าหนดในสัญญาที่เกิดขึ้นในธุรกิจการให้บริการเสริมความงาม โดยเฉพาะกรณีที่ท˚าในรูปแบบของสัญญาส˚าเร็จรูปนั้น พบว่ามีการระบุรายละเอียดต่างๆ xxxxxxxxxxxx ผู้บริโภคอย่างมาก อันเป็นปัญหาที่กระทบต่อxxxxxของผู้บริโภคโดยตรง ส่งผลให้ผู้บริโภคที่เข้าท˚าสัญญา ต้องผูกพันตามข้อสัญญาที่ตนได้ลงนามในสัญญาแล้ว และรูปแบบของสัญญาที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อ ผู้บริโภคไม่ว่าจะเป็นรูปแบบของสัญญาที่มีขนาดตัวxxxxxเล็กมากจนเกินไปเนื้อหาของสัญญาที่มีมากเกิน xxxxx ท˚าให้ผู้บริโภคไม่มีเวลาทบทวนสัญญาก่อนลงลายมือชื่อ หรือรูปแบบการให้บริการโดยการมี พนักงานขายหน้าร้านท˚าการเสนอรายการคอร์สให้บริการต่างๆ ที่แตกต่างไปจากเงื่อนไขซึ่งมีก˚าหนดไว้ใน สัญญาอันไม่ตรงตามเงื่อนไข หรือจะเป็นกรณีข้อก˚าหนดในสัญญาที่ ไม่มีการระบุเงื่อนไขข้อสัญญาไว้ ชัดเจน ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นกรณีมีค่าบริการเพิ่มเติมขึ้นมาในภายหลังไม่xxxxxxขอยกเลิกสัญญาและขอเงินxxx xxxช˚าระไปแล้วคืนได้ หรือสัญญาxxxxxxระบุไว้ชัดเจนว่ามีการให้บริการอะไรให้บ้าง หรือในสัญญาxxxxxx ระบุวันเริ่มต้นหรือวันสิ้นสุดของการให้บริการ หรือกรณีมีเครื่องมือในการให้บริการxxxxxxxxxx หรือ สถานที่ให้บริการหมดสัญญาxxxxxxxไม่xxxxxxให้บริการได้ และแจ้งให้เปลี่ยนไปใช้บริการสถานที่ใหม่โดย ผู้บริโภคที่รับบริการไม่xxxxxxบอกเลิกสัญญาได้
จากการศึกษาพบว่าในเรื่องหลักการท˚าสัญญา คือ สัญญาจะเกิดขึ้นหรือมีผลผูกพันทันทีเมื่อได้ แสดงxxxxxต่อกัน จนเกิดความเข้าใจถูกต้องตรงกัน โดยมีการเสนอค˚าเสนอไปยังบุคคลอีกฝ่ายหนึ่งโดยทาง กิริยาท่าทาง หรือค˚าพูด หรือท˚าเป็นหนังสือก็ได้ เพื่อให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบความxxxxxxxซึ่งเรียกว่า ค˚าเสนอ แล้วบุคคลอีกฝ่ายยอมรับหรือตกลงโดยแสดงความxxxxxxxตอบรับ ซึ่งเรียกว่า ค˚าxxxx ไปยังบุคคลฝ่าย แรก สัญญาก็จะเกิดขึ้นทันที แต่การท˚าสัญญาหรือนิติกรรมหากกฎหมายxxxxxxx ให้การท˚าสัญญาประเภท นั้นๆ ต้องท˚าเป็นแบบสัญญา หรือท˚าเป็นหลักฐานลงลายมือxxxxxxxรับผิดเป็นส˚าคัญ หรือต้องท˚าเป็นสัญญา และจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ก็ต้องท˚าตามนั้น
5 Ohio Prepaid Entertainment Contracts Act S. 1345.42 (B) อ้างถึงใน xxxxxxxxx xxxxxxxxx และคณะ
9
ดังนั้น จึงจ˚าเป็นต้องน˚ามาตรการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสัญญาของประเทศxxxxxxx6 ที่มีแนวคิด เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคที่เน้นการใช้มาตรการด้านกฎหมายของรัฐเป็นหลัก คือก˚าหนดให้รัฐมีหน้าที่ ในการออกกฎหมายเพื่อบังคับใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการบริโภคสินค้าและบริการของประชาชน มาปรับใช้กับการออกประกาศคณะกรรมการว่าด้วยสัญญาเรื่องให้ธุรกิจการให้บริการเสริมความงามเป็น ธุรกิจควบคุมสัญญาโดยก˚าหนดเป็นแบบมาตรฐานสัญญาหรือมาตรฐานข้อสัญญา ทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติ คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541
4.บทสรุปและข้อเสนอแนะ
จากการเปรียบเทียบและวิเคราะห์มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการให้บริการเสริม ความงามของประเทศไทยกับต่างประเทศพบว่า กฎหมายของประเทศไทยที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันไม่ xxxxxxคุ้มครองผู้บริโภคที่xxxxxxxxกระทบจากการประกอบธุรกิจการให้บริการเสริมความงามได้อย่าง เพียงพอ ซึ่งกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับปัญหาดังกล่าวมีความบกพร่องอยู่หลายประการ โดยเฉพาะการขาด มาตรการทางกฎหมายที่ใช้ในการควบคุมการประกอบธุรกิจ การให้บริการเสริมความงามเป็นการเฉพาะ จึง ท˚าให้เกิดปัญหาต่อผู้บริโภคที่เข้าใช้บริการดังกล่าวหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาด้านหน่วยงานที่ก˚ากับ ดูแลธุรกิจการให้บริการเสริมความงาม ปัญหาด้านลักษณะสัญญาธุรกิจการให้บริการเสริมความงาม ปัญหา การเรียกเก็บค่าบริการโดยอัตโนมัติ ปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพมาตรฐานของการให้บริการ ปัญหาเกี่ยวกับความ รับผิดของผู้ประกอบการต่อผู้ใช้บริการ ดังนั้นจึงต้องน˚ามาตรการของกฎหมายต่างประเทศมาใช้ในการ วิเคราะห์ปัญหาดังกล่าวโดยผู้วิจัยขอเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาข้างต้นเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค ดังนี้
4.1 ปัญหาด้านหน่วยงานที่ควบคุมก˚ากับดูแลธุรกิจการให้บริการเสริมความงาม
เห็นควรน˚ามาตรการกฎหมายของประเทศxxxxxxxและสหพันธรัฐเยอรมนีมาปรับใช้กับการออก ประกาศคณะกรรมการว่าด้วยสัญญาตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภคด้านสัญญาของประเทศไทยด้วย โดยคณะกรรมการว่าด้วยสัญญาตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ที่แก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541มีอ˚านาจออกประกาศคณะกรรมการว่าด้วยสัญญา เรื่องก˚าหนดให้ธุรกิจการให้บริการเสริมความงามเป็นธุรกิจที่ควบคุมสัญญาต่อไป เนื่องจากหน่วยงานอื่นใน ด้านสาธารณสุขจะมีกฎหมายที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับมาตรฐานวิชาชีพ แต่จะไม่มีมาตรการเกี่ยวกับมาตรฐาน ควบคุมสัญญา
6 พระxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx ค.ศ. 2001 (The Consumer Contract Act 2001)
10
4.2 ปัญหาสัญญาให้บริการที่มีการปฏิบัติการช˚าระหนี้ในxxxxx
เห็นควรน˚ามาตรการสัญญาให้บริการที่มีการปฏิบัติการช˚าระหนี้ในxxxxxตามกฎหมายของ สาธารณรัฐฝรั่งเศสมาใช้กับสัญญาธุรกิจการให้บริการเสริมความงามที่มีข้อตกลงเกี่ยวกับการช˚าระหนี้ใน xxxxxxxxท˚าขึ้นในประเทศไทย
4.3 ปัญหาสัญญาที่จัดให้มีบริการในลักษณะต่อเนื่อง
เห็นควรน˚ามาตรการสัญญาที่จัดให้มีบริการในลักษณะต่อเนื่องของประเทศสหพันธรัฐเยอรมนี มาปรับใช้กับสัญญาการให้บริการเสริมความงามที่ท˚าขึ้นในประเทศไทยซึ่งเป็นสัญญาที่มีข้อสัญญา ก˚าหนดให้มีการปฏิบัติการช˚าระหนี้หลายครั้ง และเป็นสัญญาที่คู่สัญญาต้องxxxxxxxxxxxxxxเป็นช่วง ระยะเวลาหนึ่ง หากว่าผู้ใช้บริการย้ายที่อยู่ (ย้ายเมือง) และระยะทางระหว่างที่อยู่ใหม่กับสถานให้บริการ เสริมความงามห่างกันมาก และถ้าปรากฏว่าหากสัญญาการให้บริการเสริมความงามต้องด˚าเนินต่อไปนั้นจะ ก่อให้เกิดภาระเกินควรแก่ผู้ใช้บริการ ผู้ใช้บริการxxxxxxเลิกสัญญาดังกล่าวได้ทันที โดยxxxxxxต้องxxxxxxxx เลิกสัญญาล่วงหน้าภายในระยะเวลาที่คู่สัญญาก˚าหนด หรือระยะเวลาอันxxxxx โดยพิจารณาจากลักษณะ ของสัญญาและฐานะของxxxxxxxxxxxxxxxจะใช้xxxxxเลิกสัญญาประกอบด้วย
4.4 ปัญหาสัญญาที่มีการออกบัตรที่ใช้แทนเงินสดส˚าหรับช˚าระค่าบริการที่มีการช˚าระxxxxxxบัตรล่วงหน้า
เห็นควรน˚ามาตรการข้อสัญญาที่มีการออกบัตรที่ใช้แทนเงินสดส˚าหรับช˚าระค่าบริการที่มีการ ช˚าระxxxxxxบัตรล่วงหน้าของมลรัฐ Ohio สหรัฐอเมริกาที่ก˚าหนดกลไกเกี่ยวกับรูปแบบข้อก˚าหนดในสัญญา กลไกเกี่ยวกับหลักประกันในการปฏิบัติการช˚าระหนี้ที่ฝ่ายผู้ประกอบการต้องจัดให้มี และกลไกเกี่ยวกับการ เลิกสัญญาของผู้บริโภค มาปรับใช้กับสัญญา การให้บริการเสริมความงามที่ท˚าขึ้นในประเทศไทยซึ่งเป็น สัญญาที่มีข้อตกลงการช˚าระค่าบริการล่วงหน้า xxxx ก˚าหนดข้อสัญญาให้ผู้ประกอบการจัดให้มีหลักประกัน ในการปฏิบัติการช˚าระหนี้ในกรณีที่อุปกรณ์หรือสิ่งอ˚านวยความสะดวกซึ่งเป็นวัตถุแห่งสัญญานั้นยังอยู่ใน ระหว่างการจัดหาหรือไม่มีอยู่ในขณะท˚าสัญญาที่เรียกว่า Surety Bond เป็นต้น
4.5 ปัญหาเกี่ยวกับรูปแบบและข้อก˚าหนดในสัญญา
เห็นควรน˚ามาตรการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสัญญาของประเทศxxxxxxxxxxมีแนวคิดเกี่ยวกับการ คุ้มครองผู้บริโภคที่เน้นการใช้มาตรการด้านกฎหมายของรัฐเป็นหลัก คือก˚าหนดให้รัฐมีหน้าที่ในการออก กฎหมายเพื่อบังคับใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการบริโภคสินค้าและบริการของประชาชน มาปรับใช้ กับการออกประกาศคณะกรรมการว่าด้วยสัญญา เรื่องให้ธุรกิจการให้บริการเสริมความงามเป็นธุรกิจที่ ควบคุมสัญญา โดยก˚าหนดเป็นแบบมาตรฐานสัญญาหรือมาตรฐานข้อสัญญา ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติ คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541
11
บรรณานุกรม
1 Ohio Prepaid Entertainment Contracts Act S. 1345.42 (B) อ้างถึงใน xxxxxxxxx xxxxxxxxx และคณะ
1 Xxxxxxxxxx, Xxxxx X, Xxxxxxxx, Xxxxxx, Xxxxxxxx, Xxxxx Xxxxxxx, The German law of contract a comparative treatise, Oxford: Hart Pub 2006
47 Article L114-1 Dans tout contrat ayant pour objet la vente d’un bien meuble ou la foumiture d’ un bine meuble ou la foumiture d’ une prestation de services a un consommateur, le professionnel doit, lorsque la livraison du bien ou la fourniture de la prestation m’est pas immediate et si le prix convenu exceed des seuils fixes par vo e reglementaire, indiquer la date limite a laquelle il s’engage a executer la prestaiton. Le consommateur peut denouncer le contrat de vente d’un bien meuble ou de fourniture d’une prestation de servive par letter recommandee avec demande d’avis de reception en cas de depassement de la date de livraison du bien ou d’executicn de la prestation excedant sept jours et non du a cas de force majeure. Ce contrat ast, le cas
xxxxxxx, conside comme rompu a la reception, par le vendeur ou par le intervenue ou si la prestation n’a pas ete execute entre l’envoi et la reception de cette letre. Le consommateur excrce ce droit dans un delai de soixante jours ouvres a compter de la date indiquee pour la livraison du bien ou l’execution de la prestation. Sauf stipulation conraire du contrat, les sommmes verses d’ avance sont des arrhes, ce qui a pour effet professional en les restituant au double. อ้างถึงใน xxxxxxxxx xxxxxxxxx และคณะ (2553) การพัฒนากฎหมาย ในการคุ้มครองผู้บริโภคกรณีการช˚าระค่าสินค้าและบริการล่วงหน้า
The Consumer Contract Act 2001 (Japan)