Law of Property and Land
คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาxxxxxลยราชภัฏยะลา
2560
xxxxxx xxxxxxxxxxx
(น.ม)
คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาxxxxxลยราชภัฏยะลา
256
เอกสารประกอบการxxxxxxxกฎหมายลักษณะทรัพยสินและที่ดิน รหัสวิชา 2156341 จัดทําขึ้นตาม หลกั สูตรนิติศาสตรxxxxxx หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ผูสอนไดจัดทําเอกสาร ประกอบการxxxxxxxกฎหมายลักษณะทรัพยสินและที่ดิน เพื่อใหสอดคลองกับเวลาเรียน และเพื่อใชเปน เครื่องมือสําคัญของผูสอนในการใชประกอบการสอนที่มุงเนนใหผูเรียนมีความรูความเขาใจในเนื้อหา
เอกสารเลมน้ีไดแบงออกเปน 12 บทการเรียนรูเพื่อใหตรงกับคําอธิบายรายวิชา โดยแตละหัวขอ ประกอบดวยเนื้อหา ความหมายของทรัพยและทรัพยสิน ประเภทของทรัพยสิน สวนควบ อุปกรณและดอกผล การไดมาซ่ึงทรัพยxxxxx ทรัพยสินของแผนดิน การไดมาซึ่งxxxxxxxxxx xxxกรรมสิทธิ์และการใชกรรมสิทธิ์ กรรมสิทธิ์รวม ครอบครอง ทรัพยสินชนิดอื่น หลักกฎหมายท่ีดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน และกฎหมายตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับที่ดินตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยซึ่งครอบคลุมสอดคลองกับวัตถุประสงคการเรียนรู โดยxxxxวาจะทําใหการเรียนการxxxxxประสิทธิภาพสูงสุด และใหผูเรียนมีความรูความเขาใจในเรื่องของ ทรัพยสินและที่ดินและxxxxxxนําไปประยุกตใชในการเรียนในระดับสูงตอไปได
ขอขอบพระคุณครู อาจารยทุกทาxxxxxxใหความรู ผูเขียนหนังสือ ตํารา ทุกทาxxxxขาพเจาไดศึกษา คนควาทุกเลม ขอขอบพระคุณผูxxxxxxxxxและผูxxxxxxxxxxทุกทาxxxxใหคําแนะนําในการพัฒนาเอกสาร ประกอบการสอนใหมีความสมบูรณxxxxxxxขึ้น
ผูเขียนxxxxวาหนังสือเลมนี้xxเปนประโยชนแกนักศึกษา ไดใชเพื่อศึกษาคนควา หาความรู ความเขาใจ ไดเปนอยางดี และเปนประโยชนตอคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาในการ
พัฒนาคุณภาพทางการศึกษาใหดียิ่งขึ้นตอไป หากมีสิ่งใดเปนขอเสนอแนะเพอ
ขอนอมรับดวยความxxxxxและเปนพระคุณยิ่ง
การพฒ
นาและปรบ
ปรุง ผูจัดทําก
xxxxxx xxxxxxxxxxx
มิถุนายน 2560
สารบัญ
เรื่อง หนา
คํานํา ..............................................................................................................................................
สารบัญ ...........................................................................................................................................
แผนบรห
แผนบรห
ารการสอนประจําวิชา .....................................................................................................
ารการสอนประจําบทที่ 1 ................................................................................................. 1
บทที่ 1 ความหมายของทรัพยและทรัพยสิน ………………………………………………………………………… 3
ความหมายของทรัพย ………………………………………………………………………………………….. 3
ความหมายของทรัพยสิน ................................................................................................. 4
แบบฝกหัดทายบท ........................................................................................................... 8
เอกสารอา งอิง ................................................................................................................... 9
แผนบริหารการสอนประจําบทที่ 2 ................................................................................................ 10
บทที่ 2 ประเภทของทรัพยสิน ………………………………………………………………………………………….... 12
อสงั หาริมทรัพย …………………………………………………………………………………………………... 12 สังหาริมทรัพย ……………………………………………………………………………………………………. 15.
ทรัพยแบง ไดและทรัพยแบงไมได …………………………………………………………………………… 17
ทรัพยนอกพาณิชย ………………………………………………………………………………………………. 18
แบบฝก
หัดท
ยบท ........................................................................................................... 21
แผนบรห
เอกสารอางอิง .................................................................................................................. 22
ารการสอนบทที่ 3 ............................................................................................................ 23
บทที่ 3 สวนควบ อุปกรณ และดอกผล .......................................................................................... 25
สวนควบ ........................................................................................................................... 25
อุปกรณ ............................................................................................................................ 29
ดอกผล ............................................................................................................................. 36
แบบฝกหัดทายบท ........................................................................................................... 39
เอกสารอางอิง ..................................................................................................................
แผนบริหารการสอนบทที่ 4 ............................................................................................................ 40
บทที่ 4 บุคคลxxxxxและทรัพยสิทธิ .................................................................................................. 42
บุคคลลิทธิ ………………………………………………………………………………………………………….. 42
ทรัพยxxxxx ........................................................................................................................ 43
ขอแตกตางระหวางทรพั ยxxxxxและบุคคลxxxxx ................................................................... 44
แบบฝกหัดทายบท ........................................................................................................... 51
เอกสารอางอิง .................................................................................................................. 52
แผนบริหารการสอนบทที่ 5 ............................................................................................................ 53
บทที่ 5 การxx
xซงึ่ ทรัพยสท
xx ....................................................................................................... 55
การไดมาโดยทางนิติกรรม ................................................................................................. 55
การไดมาโดยทางอ่ืนนอกจากทางนิติกรรม ........................................................................ 63
การเพก
ถอนการไดมาซึ่งทรัพยส
ิทธิ ................................................................................... 64
การระงับและกลับคืนมาซึ่งทรัพยสิทธิ ............................................................................... 64
การเรียกรองอสังหารมทรัพยเดียวกัน ................................................................................ 64
แบบฝกหัดทายบท ............................................................................................................ 66
เอกสารอางอิง ...................................................................................................................
แผนบริหารการสอนบทที่ 6 ............................................................................................................ 67
บทที่ 6 ทรัพยส
ินของแผนดินและสาธารณสมบัติของแผนดน
........................................................ 69
ทรัพยสินของแผนดินธรรมดา ………………………………………………………………………………… 69 สาธารณสมบติของแผนดิน ……………………………………………………………………………………. 69 ลักษณะสําคัญของสาธารณสมบัติของแผนดิน .................................................................. 69
ผลแหงการเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน ………………………………................................. 73
แบบฝกหัดทายบท ............................................................................................................ 81
เอกสารอ งอิง ...................................................................................................................
แผนบริหารการสอนบทที่ 7 ............................................................................................................ 82
บทที่ 7 ทรัพยส
ินของแผนดินและสาธารณสมบัติของแผนดน
........................................................ 84
การไดกรรมสิทธิ์โดยผลของกฎหมาย ……………………………………………………………………… 84
การไดมาโดยการเขาถือเอาซึ่งสังหารม
ทรพ
ยไมมเี จาของ ……………………………………………. 97
การไดมาซงึ่ ทรพยส ินหาย ……………………………………………………………………………………….. 98
พฤติการณพิเศษซงึ่ สท
ธิของผูไดxxxxxx
xxxxไมเสียเปลา …………………………………………… 99
การไดกรรมสิทธ์ิโดยอายุความ ………………………………………………………………………………… 101 การไดมาซงึ่ ท่ีดินตามกฎหมายท่ีดิน ………………………………………………………………………….. 103
แบบฝกหัดทายบท …………………………………………………………………………………………………. 104
เอกสารอางอิง .....................................................................................................................
แผนบริหารการสอนบทที่ 8 ............................................................................................................ 105
บทที่ 8 xxxแหงกรรมสิทธิ์และการใชกรรมสิทธิ์ ................................................................... 107
xxxแหงกรรมสิทธิ์ ……………………………………………………………………………………………….. 107
กรรมสทธิ์ …………………………………………………………………………………………………………… 107
ขอจํากัดxxxกรรมสิทธิ์ ..................................................................................................... 108
ทางจําเปน ......................................................................................................................... 110
แบบฝกหัดทายบท ............................................................................................................ 151
เอกสารอา งอิง ...................................................................................................................
แผนบริหารการสอนบทที่ 9 ............................................................................................................ 152
บทที่ 9 กรรมสิทธิ์รวม .................................................................................................................... 154
ความหมายของกรรมสทธิ์รวม ………………………………………………………………………………. 154
ขอสันนิษฐานของกฎหมาย ……………………………………………………………………………………. 155
การใชxxxxxของเจาของรวม ……………………………………………………………………………………. 155
วิธีการแบงxxxxxxxxxxx ………………………………………………………………………………………… 159
แบบฝกหัดทายบท ……………………………………………………………………………………………….. 161
เอกสารอางอิง ....................................................................................................................
แผนบริหารการสอนบทที่ 10 ............................................................................................................ 163
บทที่ 10 ครอบครอง ........................................................................................................................ 165
การxx xทธคริ อบครอง …………………………………………………………………………………………….. 165
การไดสิทธิครอบครองโดยผลของกฎหมาย ……………………………………………………………….. 165
การไดสิทธิครอบครองโดยผูอื่นยึดถือไวใหแทน ………………………………………………………… 167
ขอสันนิษฐานของกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิครอบครอง …………………………………………………. 168
ขอสันนิษฐานวาบุคคลผูมีชื่อในทะเบียนเปนผูมีสิทธิครอบครอง ……………………………….. 170
การรบกวนการครอบครอง …………………………………………………………………………………….. 171
การถูกแยงการครอบครอง …………………………………………………………………………………….. 172
การสิ้นไปซึ่งการครอบครองทรัพยสิน ……………………………………………………………………… 176
การโอนการครอบครอง ..................................................................................................... 179
การบอกกลาวเปลี่ยนลักษณะแหงการยึดถือ .................................................................... 181
การครอบครองปรปกษ ……………………………………………………………………………………….. 184
แบบฝกหัดทายบท ……………………………………………………………………………………………… 187
เอกสารอางอิง .................................................................................................................... 189
แผนบริหารการสอนบทที่ 11 ............................................................................................................ 190
บทที่ 11 ทรัพยสินชนิดอื่น ................................................................................................................. 192
ภาระจํายอม ………………………………………………………………………………………………………….. 192
xxxxxอาศัย …………………………………………………………………………….……………………………….. 196
xxxxxxxxxxพื้นดิน ……………………………………………………………………………………………………... 198
xxxxxเก็บกิน ……………………………………………………………………………………………………………. 204
ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย 210
แบบฝกหัดทายบท 213
เอกสารอ งอิง 214
แผนบริหารการสอนบทท่ี 12 ............................................................................................................ 215
บทที่ 12 ที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน ........................................................................................... 217
ความหมายของท่ีดิน ……………………………………………………………………………………………….. 217
xxxxxในที่ดิน …………………………………………………………………………………………………………….. 217
ใบจอง ……………………………………………………………………………………………………………………. 227
หนังสือรับรองการทําประโยชน …………………………………………………………………………………. 229
โฉนดที่ดิน 231
ใบไตสวน ……………………………………………………………………………………………………………… 233
การไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์ที่ดิน …………………………………………………………………………………..... 233 เอกสารอางอิง ...................................................................................................................
แผนบริหารประจําวิชา
รหสวิชา 2156341
รายวิชา กฎหมายลก
ษณะทรพ
ยสินและที่ดิน 3 (3-0-6)
Law of Property and Land
คําอธิบายรายวิชา
ศึกษาถึงความหมาย เนื้อหา รูปแบบ องคประกอบ และหลักเกณฑตลอดจนขอยกเวนของ ทรัพยและทรัพยสิน ประเภทของทรัพยและทรัพยสิน ความเกี่ยวเนื่องระหวางทรัพยสวนควบ เครื่อง อุปกรณ และดอกผล หลักทั่วไปของทรัพยสิน หลักกฎหมายที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน และ กฎหมายตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับที่ดินตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
วัตถุประสงค
1. เพื่อใหนักศึกษาทราบและเขาใจถึงความหมายของทรัพย ชนิดของทรัพย รวมถึงทรัพยที่ เปนสวนควบ อุปกรณ และดอกผล
2. เพื่อใหนักศึกษาทราบxxxxxxไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพย ทรัพยxxxxxอันเกี่ยวกับทรัพย การ ไดมาจากการขายทอดตลาด กรรมสิทธิ์ ประเภททรัพยสิทธิตางๆ เชน กรรมสิทธิ์ การครอบครอง ภาร จํายอม เปนตน
3. เพื่อใหนักศึกษามีxxxxxในตนเองในการเรียนรูและในวิชาชีพ มีความซื่อสัตยทางวิชาการ และรับผิดชอบตอตนเอง วิชาชีพและสถาบัน
4. เพื่อใหนักศึกษาxxxxxxทํางานเปนทีม และยอมรับฟงความคิดเห็นที่แตกตาง
5. เพื่อใหนักศึกษาxxxxxxใชเทคโนโลยีและสารสนเทศในการศึกษา คนควา และวิเคราะห รวมทั้งนําเสนอได
เนื้อหา
บทที่ 1 ความหมายของทรัพยและทรัพยสิน 3 ชั่วโมง
- ความหมายของทรัพย
- ความหมายของทรพั
- แบบฝกหัดทายบท
ยสิน
บทที่ 2 ประเภทของทรัพย 3 ชั่วโมง
- อสังหาริมทรัพย
- สงั หาริมทรัพย
- ทรัพยแบงไดและทรัพยแบงไมได
- ทรัพยนอกพาณิชย
- แบบฝกหัดทายบท
บทที่ 3 สวนควบ อุปกรณและดอกผล 3 ชั่วโมง
- สวนควบ
- อุปกรณ
- ดอกผล
- แบบฝกหัดทายบท
บทที่ 4 บุคคลxxxxxและทรัพยสิทธิ 3 ชั่วโมง
- บุคคลxxxxx
- ทรัพยสิทธิ
- ขอแตกตางระหวางทรัพยสิทธิและบุคคลxxxxx
- แบบฝกหัดทายบท
บทที่ 5 การไดมาซึ่งทรัพยสิทธิ 3 ชั่วโมง
- การไดมาโดยทางนิติกรรม
- การไดมาโดยทางอ่ืนนอกจากทางนิติกรรม
- การเพิกถอนการไดมาซึ่งทรัพยxxxxx
- การระงบ
และกลบ
คืน มาซึ่งทรัพยสิทธิ
- การเรียกรองอสงั หาริมทรัพยเดียวกัน
- แบบฝกหัดทบทวน
บทที่ 6 ทรัพยสินของแผนดินและสาธารณสมบัติของแผนดิน 3 ชั่วโมง
- ทรัพยสินของแผนดินธรรมดา
- สาธารณสมบติของแผนดิน
- ลักษณะสําคัญของสาธารณสมบัติของแผนดิน
- ผลแหงการเปนสาธารณสมบติของแผนดิน
- แบบฝกหัดทายบท
บทที่ 7 การไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์ 6 ชั่วโมง
- การไดกรรมสิทธ์ิโดยผลของกฎหมาย
- การไดมาโดยอาศยั หลักสวนควบ
- xxxxxxริมตลิ่ง
- เกาะและทางน้ําตื้นเขิน
- สรางโรงเรือนในที่ดินของผูอื่นโดยสจ
- สรางโรงเรือนในที่ดินของผูอื่นโดยสจ
xxx xxx
- สรางโรงเรือนรก
ล้ําในที่ดินของผอ
ื่น
- สรางโรงเรือนในที่ดินทเี่ ปนเจาของโดยมเี งื่อนไข
- การปลูกสรางสงิ่ อื่น ปลกตนไมหรือxxxxxxxในที่ดินของผูอื่น
- สรางสิ่งปลูกสราง ตนไมหรือxxxxxxxในที่ดินของตนดวยสัมภาระของผูอื่น
- เอาสงั หาริมทรัพยของผูอื่นมาเปนสวนควบ
- เอาสมภาระของผูอื่นทําเปนสิ่งใหม
- การไดมาโดยการเขาถือเอาซึ่งสังหารม
ทรพ
ยไมมเี จาของ
- การไดมาซงึ่ ทรพยส ินหาย
- พฤติการณพิเศษซงึ่ สท
ธิของผูไดxxxxxx
xxxxไมเสียเปลา
- การไดกรรมสิทธิ์โดยอายุความ
- การไดมาซงึ่ ท่ีดินตามกฎหมายที่ดิน
- แบบฝกหัดทายบท
บทที่ 8 xxxแหงกรรมสิทธิ์และการใชกรรมสิทธิ์ 3 ชั่วโมง
- xxxแห่งกรรมสิทธิ์
- กรรมสทธิ์
- ขอจํากัดxxxกรรมสิทธิ์
- ทางจําเปน
- แบบฝกหัดทายบท
บทที่ 9 กรรมสิทธิ์รวม 3 ชั่วโมง
- ความหมายของกรรมสทธ์ิรวม
- ขอสันนิษฐานของกฎหมาย
- การใชxxxxxของเจาของรวม
- xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
- แบบฝกหัดทายบท
บทที่ 10 ครอบครอง 6 ชั่วโมง
- การไดสิทธิครอบครอง
- การไดสิทธิครอบครองโดยผลของกฎหมาย
- การไดสิทธิครอบครองโดยผูอื่นยึดถือไวใหแทน
- ขอสันนิษฐานของกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิครอบครอง
- ขอสันนิษฐานวาบุคคลผูมีชื่อในทะเบียนเปนผูมส
- การรบกวนการครอบครอง
- การถูกแยงการครอบครอง
ิทธิครอบครอง
- การสิ้นไปซงึ่ การครอบครองทรัพยสิน
- การโอนการครอบครอง
- การบอกกลาวเปลี่ยนลักษณะแหงการยึดถือ
- การครอบครองปรปกษ
- แบบฝกหัดทายบท
บทที่ 11 ทรัพยสินชนิดอื่น 6 ชั่วโมง
- ภาระจํายอม
- xxxxxอาศัย
- xxxxxxxxxxxxxxxxx
- xxxxxเก็บกิน
- ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย
- แบบฝกหัดทายบท
บทที่ 12 ที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน 3 ชั่วโมง
- ความหมายของที่ดิน
- xxxxxในที่ดิน
- ใบจอง
– หนังสือรับรองการทําประโยชน
- โฉนดที่ดิน
- ใบไตสวน
- การไดมาซงึ่ xxxxxxxxxxxxxxxx
วิธีการสอนและกิจกรรม
1. ศึกษาเอกสารประกอบการสอนจากการบรรยายในชั้นเรียนและใหนักศึกษาคนควาขอมูล เพิ่มเติมจากแหลงการเรียนรูดวยตนเอง
2. ยกตัวอยางขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นในปจจุบันและวิเคราะหหาคําตอบ
3. กรณีศึกษาใหผูเรียนคิดวิเคราะหอภิปราย
4. ทําแบบฝกหัดในชั้นเรียน
5. สังเกตการทํางานเปนกลุม
6. อาจารยผูสอนสรุปเนื้อหาการสอนเพิ่มเติม สื่อการเรียนการสอน
1. Power Point
2. ตําราหลัก
3. เอกสารประกอบการบรรยาย
การวัดผลและการประเมินผล การวัดผล
1. คะแนนสอบปลายภาค 100 %
การประเมินผล
คะแนนระหวาง 90-100 ไดระดับ A
คะแนนระหวาง 85-89 ไดระดับ B+
คะแนนระหวาง 84-80 ไดระดับ B
คะแนนระหวาง 70-79 ไดระดับ C+
คะแนนระหวาง 60-69 ไดระดับ C
คะแนนระหวาง 55-59 ไดระดับ D+
คะแนนระหวาง 50-54 ไดระดับ D
คะแนนระหวาง 0-49 ไดระดับ E
แผนบริหารการสอนประจําบทที่ 1
หัวขอเนื้อหาประจําบท : ความหมายของทรัพยและทรัพยสิน
1. ความหมายของทรัพย
2. ความหมายของทรพั ยสิน
3. แบบฝกหัดทายบท
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม
1. เพื่อใหนกศึกษาทราบและเขาใจถึงความหมายของทรัพยและชนิดของทรัพย
2. xxxxxxนําความรูความเขาใจxxxxxรบ
ไปใชในการวินิจฉัยผลทางกฎหมายเกี่ยวกบ
ทรพ
ยสิน
วิธีการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจําบท
1. วิธีสอน
1.1 วิธีสอนแบบบรรยาย
1.2 วิธีสอนแบบอภิปราย
2. กิจกรรมการเรียนการสอน
2.1 ผูสอนบรรยายเรื่อง ประเภทของทรัพยวามีกี่ประเภท
2.2 ยกx xxางคําพิพากษาและคําวินิจฉัยของศาล และตัวอยางกรณีศึกษาที่เกิดข้นึ ในปจจุบัน
และวิเคราะหหาคําตอบ
2.3 กําหนดประเด็นและโจทยปญหาใหนักศึกษาอภิปรายในชั้นเรียน และมอบหมายงานใหไป ศึกษา ดวยตนเองเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน โดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารการสอน
2. บรรยายประกอบสื่อ Power Point
3. แบบฝกปฏิบัติ
การวัดผลและการประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมการใหความรวมมือในชั้นเรียนโดยการซักถาม แสดงความคิดเห็นและอภิปราย ระหวางเรียน
2. ตรวจผลงานที่มอบหมาย
3. การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
4. สอบปลายภาค โดยขอสอบที่เนนการประเมินทักษะความรูในดานหลักการ แนวคิดทฤษฎี xxxxxxนําความรูxxxxxรับไปใชวินิจฉัยเกี่ยวกับผลทางกฎหมายที่เกิดขึ้นได
บทที่ 1
ความหมายของทรัพยและทรพ
ยสิน
ทรัพยและทรัพยสินเปนคําที่เรารูจักและใชกันอยางคุนเคยในชีวิตประจําวัน ซึ่งโดยทั่วไปก็มักจะเรียก รวมๆกันไปเปนคําเดียวกันเลยวาทรัพยหรือไมก็ทรัพยสินคําใดคําหนึ่ง และเปxxxxเขาxxxxxในหมูคนทั่วไปวาถา พูดสองคํานี้แลวก็จะหมายถึงวัตถุสิ่งของตางๆ เชน โทรทัศน คอมพิวเตอร อาคารบานเรือน ฯลฯ แตในทาง กฎหมายนั้นท้งสองคํานี้มีความหมายท่ีแตกตางกัน บทบัญญัติของกฎหมายไดมีการใหความหมายของคําวา ทรัพยและทรัพยสินแยกตางหากจากกันไว ซึ่งxxxxxxxไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 1 ลักษณะ 3 วาดวยทรัพย
ความหมายของทรัพย
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 137 “ทรพั ย หมายความวา วัตถุมีรูปราง” ลักษณะสําคัญของสิ่งที่จะถือไดวาเปนทรัพยตามกฎหมายนั้นมีดังนี้
1. เปนวัตถุมีรูปราง คือ วัตถุที่ประกอบดวยรูปและรางในตัวเองโดยลําพัง มีตัวตน สวนกวางยาว สูง
หรือต่ํา หรือสวนกลมซึ่งกินที่ โดยทั้งนี้แมจะเปนปรมาณูเล็กนอยจนxxxxxxมองเห็นดวยตาเปลาและสัมผัสจับ ตองได เชน ที่ดิน วัว ควาย ส่ิงของ เงินทอง หรือแมแตเชื้อโรค (เสนีย xxxxxx. 2521) แตมีนักกฎหมายบาง ทานเห็นวา วัตถุที่มองไมเห็นดวยตาเปลาไมนาจะถือวาเปนวัตถุมีรูปราง เพราะเนื่องจากกฎหมายxxxxxxxเพื่อ คนธรรมดา (xxxxxxx สุขชีวะ. 2530) แตในบางกรณีก็อาจเปนสิ่งxxxxxxxxxxxมองเห็นดวยตาเปลาก็ได เชน พวก จุลินทรียที่มีการเพราะเลี้ยงเพื่อใชในการผลิตนมโยเกิรตตางๆ หรือเชื้อโรคที่มีการเพาะเลี้ยงไวเพื่อประโยชนใน
xxxxxแพทย ฯลฯ xxxxxxxxxxลานี้จาํ เปนตองใชเทคโนโลยีมาชวยในการมองหรือสัมผัส ในทางวชากิ ารนกั กฎหมาย
หลายๆทานก็มีการโตแยงกันxxxวาพวกเชื้อโรคหรือจุลินทรียตางๆจะถือวาเปนสิ่งมีรูปรางหรือไม เพราะการจะ มองเห็นไดนั้นตองใชเครื่องมือทางxxxxxศาสตรมาชวย บางทานก็มีความเห็นวาเปนวัตถุมีรูปราง บางทานก็เห็น วาเปนวัตถุไมมีรูปราง ซึ่งยังหาขอยุติไมได
2. ตองมีราคาและถือเอาได หมายถึงตองเปนสิ่งมีคาไมวาจะมีคามากหรือนอยก็ตาม และxxxxxx
xxxxxxเอาเปนเจาของได คําวามีราคาไมไดหมายถึงราคาซื้อขายเทานั้นแตหมายถึงคุณคาของสิ่งนั้นๆดวย เพราะ ส่ิงของบางชนิดอาจไมมีราคาแตมีคุณคาทางจิตใจ เชน กระดูกของบรรพบุรุษ เลือดของมนุษย xxxxxxxx จดหมายของคนรัก สลากกินแบงxxxxxถูกรางวัล ศพของบุพการี ซึ่งศพก็ถือเปนทรัพยไดเชนกัน ในบางกรณีมีการ ซือ้ ขายศพกันเพ่ือประโยชนในทางการแพทย แตหากเปนศพxxxxxมีใครตxxxxx xxมีคุณคามีราคา เชนศพไมมี ญาติตางๆ ก็จะไมถือเปนทรัพย แตหากเปนศพมีญาติซึ่งจะนําไปประกอบพิธีทางศาสนาตอไป ก็ถือเปนทรัพย ไดเพราะแมจะไมมีราคาแตก็มีคุณคาตอญาติๆของผูตาย หรือพวกขยะตางๆ ก็อาจไมถือเปนทรัพยก็ไดเพราะ
ไมใชสิ่งมีราคา แตตองดูขอเท็จจริงเปนกรณีไปประกอบการพิจารณาดวย จุลินทรียหรือเชื้อโรคตางๆที่ ยกตัวอยางไวขางตนถาไมใชเปนการเพาะเลี้ยงไวโดยเฉพาะก็จะไมถือวาเปนทรัพย เพราะเปนสิ่งที่จับตองและ ยึดถือเปนเจาของตองโดยxxxxท่วไปไมได อีกxxxxxxมีราคาดวย อวัยวะของมนุษยก็เชนกัน จะถือเปนทรัพย หรือไมตองดูเปนกรณีไป เชน เราไปตัดผม เสนผมที่ถูกตัดก็จะถูกนําไปทิ้ง ก็ไมถือเปนทรัพยแตถาเปนการขาย ผมใหเพื่อนําไปใชประโยชนเกี่ยวกับการเสริมความงาม เชนนี้ก็ถือเปนทรัพยได แตถาเปนอวัยวะภายในที่สําคัญ ถือเปนทรัพยแนนอนxxxแลว เพราะมีราคาและเปxxxxตxxxxxในxxxxxแพทย รวมไปถึงมีคาอยางมากตอผูเปน เจาของดวย
คําวา “อาจถือเอาได” หมายxxx xxxที่มนุษยxxxxxxเขาxxxxxxหรือเขายึดถือเอาเปนเจาของได เชน
ที่ดิน บานเรือน รถยนต เงินตรา เปนตน สําหรับสิ่งที่มนุษยยังไมxxxxxxเขาถือเอาได เชน กxxxxx ดวงจันทร ดวงดาว เหลานี้ไมถือเปนทรัพยหรือทรัพยสิน นอกจากนี้ คําวา“อาจถือเอาได” มิไดหมายถึงเฉพาะสิ่งของที่ บุคคลอาจหยิบ จับ หรือถือเอาไดอยางจริงจังเทานั้น แตยงั หมายความรวมถึงสิ่งxxxxxมีรูปรางซึ่งบุคคลxxxxxx แสดงอาการหวงหาม xxxxxx หรือยึดถือไวเพ่ือตน และหามมิใหบุคคลอื่นเขามาเกี่ยวของกับทรัพยนั้นไดอีก ดวย เชน บรรดาxxxxxตางๆ ที่บุคคลxxxxxพึงไดตามกฎหมาย อันไดแก กรรมสิทธิ์ สิทธิครอบครอง xxxxxอาศัย xxxxxเหนือพื้นดิน xxxxxเก็บกิน ลิขสิทธิ์ xxxxxในเครื่องหมายการคา สิทธิบัตร เปนตน
การจะเปนทรัพยตามกฎหมายตองเขาลักษณะทั้งสองอยางขางตxxxxกลาวไว คือเปนวัตถุมีรูปราง รวมทั้งมีราคา(หรือคุณคา)และถือเอาได ถาขาดอยางใดอยางหนึ่งจะไมถือเปนทรัพยตามกฎหมาย
แตเดิมในสมัยที่ยังมีการคาทาส มนุษยก็ถือเปนทรัพยเชนกัน มีการขายลูกขายภรรยาไปเปนทาส แต เมื่อกฎหมายเก่ียวกับxxxxxมนุษยชนเขามามีบทบาทในสังคมโลก ปฏิเสธระบบทาสและการกดข่ี ทําใหเรื่อง การคาทาสหมดไป มนุษยจึงไมถือเปนทรัพยตามกฎหมาย
ความหมายของทรัพยสิน
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 138 “ทรัพยสิน หมายความรวมท้งทรัพยและวัตถุไมมี รูปราง ซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได”
ถาอานตามตัวบทแลวจะเห็นวา ทรัพยก็คือทรัพยสินอยางหนึ่งเชนกัน สิ่งใดที่เปนทรัพยตามกฎหมายก็ จะถือเปนทรัพยสินตามกฎหมายดวย แตที่ทรัพยสินแตกตางกับทรัพยคือทรัพยสินจะมีความหมายที่กวางกวา เพราะหมายความถึงทรัพย(วตั ถุมีรูปราง มีราคาและถือเอาได)และหมายความถึงวัตถุxxxxxมีรูปราง แตมีราคา และถือเอาไดดวย ทรัพยสินจึงมีความหมายกวางกวาทรัพย กลาวคือ สิ่งใดถาเปนทรัพยแลวยอมเปนทรัพยสิน เสมอ แตความเห็นของคณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 1 สวนมาก เห็นวา ทรัพยไมจําตองเปนทรัพยสินเสมอไป เพราะทรัพยที่ยังไมอาจถือเอาไดยอมไมเปนทรัพยสิน (สํานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกา.2534)
ดังนั้นลักษณะสําคัญของสิ่งที่จะถือไดวาเปนทรัพยตามกฎหมายนั้นมีดังนี้
1. วัตถุมีรูปราง หรือไมมีรูปราง
2. อาจะมีราคา
3. อาจถือเอาได
คําวา “ทรัพยสิน” ตองมีองคประกอบ 3 ขอขางตน คือ เปนวัตถุ มีราคา และถือเอาได
วัตถุxxxxxมีรูปราง คือ สิ่งxxxxxxxxxxxมองเห็นไดดวยตาเปลา ไมxxxxxxสัมผัสหรือจับตองได เชน อากาศ พลังงานแสงอาทิตย รวมไปถึงxxxxxตางๆดวย อาจจะเปนxxxxxในการเชา ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร ฯลฯ แตการ ที่วัตถุไมมีรูปรางจะเปนทรัพยสินไดนั้นจะตองมีราคาและถือเอาไดดวย อยางอากาศที่เราใชหายใจกันตามxxxx xxมีราคาและยึดถือเปนเจาของไมได แตถาเปนอากาศในถังที่ซื้อขายกัน เชนนี้ก็ถือวามีราคาและถือเอาได จึงจัด ไดวาเปนทรัพยสิน หรือxxxxxในการเชาก็xxxxxxซื้อขายกันได เพราะxxxxxxxxแมจะไมมีรูปรางใหจับตอง แตมี คุณคา มีราคาและxxxxxxxxxxxxเปนเจาของได เชน นาย ก ทําสัญญาขายxxxxxxxxจะไดเชาบานของนาย ข ให นาย ค ก็จะมีผลใหนาย ค เปนผูมีxxxxxในการเชาบานของนาย ข แทนที่นาย ก ไป หรืออยางลิขสิทธิ์ก็เชนกัน แมจ ะไมมีรูปรางแตก็มีราคาและถือเอาเปนเจาของได เราxxxxxxxไดยินเกี่ยวกับการขออนุญาตใชลิขสิทธิ์ใน ผลงานตางๆ ขออนุญาตใชชื่อหรือสัญลักษณแทนของสินคาชื่อดัง ฯลฯ เปนxxxxxxxxไดรับความคุมครองตาม กฎหมาย จึงถือวาลิขสิทธิ์เปนทรัพยสินตามกฎหมาย
xxxxxตางๆที่xxxxxxบังคับหรือเรียกรองไดตามกฎหมายน้น ถือเปนทรัพยสินทั้งสิ้น เชน สิทธิ
ครอบครอง xxxxxxxxxxxxxเชาซื้อ xxxxxxxxxxxxxกู xxxxxในการไดรับมรดก ฯลฯ
อธิบายเพิ่มเติม กรณีxxxxxตางๆ นั้น แมจะไมมีรูปราง แตหากมีราคาและอาจถือเอาได ศาลฎีกาก็เคยมี คําพิพากษาวาเปนทรัพยสิน เชน
(1) หุนในบริษัท
ขอสังเกต การโอนหุนชนิดระบุชื่อผูถือจะตองxxx เปนหนังสอลงลายมือชื่อของผxx อนและ ผูรับโอนและม
xxxxxxางนอย ๒ คน รับรองลายมือชื่อของผูโอนและผูรับโอน หากไมทําตามเปนโมฆะ แตถึงแมการโอนจะ
เปนโมฆะก็ตาม หากผูรับโอนไดยึดถือหุนหรอ ปรปกษตามมาตรา 1382 ได
(2) xxxxxxxxxxxxxxxซื้อจะขาย
(3) xxxxxxxxxxxxxเชาซื้อ
ครอบครองหุนมาเปนเวลา 5 ป ก็ไดกรรมสิทธิ์โดยการครอบครอง
(4) xxxxxในการทําเหมืองแรตามประทานบัตร
ขอสังเกต การโอนxxxxxประทานบัตรนั้นหากมีเงื่อนไขเปนพิเศษวาเปนการใหเฉพาะตัวแก คนใดคน หนึ่ง ก็จะโอนกันไมไดหรือจะนํามาชําระหนี้ไมไดดวย
กรณีเครื่องหมายการคาศาลฎีกาวินิจฉัยวา เครื่องหมายการคาเปนทรัพยสินทางปญญาอยางหนึ่ง ไมใช อสังหาริมทรัพยหรือสังหาริมทรัพยไมมีรูปราง xxxxxxอาจยึดถือครอบครองไดอยางทรัพยสินทั่วไปตามมาตรา 1382
คําวา “ราคา” ในภาษาอังกฤษคือ price แปลวา ราคาของสินคาในทองตลาด
คําวา “คุณคา” ในภาษาอังกฤษคือ value แปลวา คุณคาของทร ย
“ทรัพย” คือสวนหนึ่งของ “ทรัพยสิน”
มนุษย ไมใชทรัพยสิน เพราะไมอาจะถือเอาได
ศพ ก็ถือเปนทรัพยไดเชนกัน เพราะบางกรณีมีการซื้อขายศพกัน เพื่อประโยชนทางการแพทย
อวยวะของมนุษย เชน ไต ถามีคนบริจาค (แตหามซื้อขาย เพราะผิดกฎหมายและขัดตอศีลธรรม) ก็ถือ วาเปนทรัพยได เพราะมีรูปราง มีราคา และถือเอาได
สรุปแลวทรัพยกับทรัพยสินมีความหมายตามกฎหมายที่แตกตางกัน เมื่อพูดถึงทรัพยยอมหมายถึง ทรพั ยสินดวยแนนอน แตหากพูดถึงทรัพยสินแลวอาจไมไดหมายความถึงทรัพยเสมอไป ทรัพยเปนเพียงสวน หนึ่งของทรัพยสินเทานั้น
ทรัพยและทรัพยสินน้ันตองประกอบไปดวยหลักเกณฑทั้ง 2 ประการดังกลาว ถาขาด หลักเกณฑขอใดขอหนึ่งไปก็ไมถือวาเปนทรัพยหรือทรัพยสิน เชน มนุษยมีรูปรางจับตองไดแตไมอาจซื้อขายกัน ได เพราะมีxxxxxxกฎหมายอาญามาตรา 312 หามไว มนุษยจึงไมใชทรัพยและทรัพยสิน เนื่องจากขาด
หลักเกณฑขxxxx 2 ท าอาจมีราคาและอาจถอื เอาได
เมื่อมนุษยไมใชทรัพยและทรัพยสินแลว อวัยวะตาง ๆ ที่ติดxxxกับตัวมนุษย เชน แขน ขา xxxxx ผม ก็ไมถือวาเปนทรัพยหรือทรัพยสินดวย แตอวัยวะที่หลุดออกจากตัวมนุษยแลว เชน ผมสตรีที่ยาว
และไดตัดเอาไปขาย หรือxxxxxท่ีมีผูอุทิศxx xบโรงพยาบาลเพ่ือนําไปเปลี่ยนกับตาคนไข หรือเลือดที่ขายหรือ
อุทิศใหก โรงพยาบาลยอ มมีราคาและถอื เอาได จึงถอื วาเปนทรัพยหรือทรัพยสินศพมนุษยท่ดอี งไว หรือศพท
แพทยนํามาใชศึกษาในทางการแพทย หรือศพที่ญาติยังxxxxxxxxxxxxบูชา ยอมเปนทรัพยหรือทรัพยสินและถือ วามีราคา แตศพไมมีญาติซึ่งไมมีใครxxxxxxxxxxxx ถือวาไมมีราคา จึงไมใชทรัพยและทรัพยสิน
ขอสังเกต
ก. มนุษย แมจะมีรูปรางแตก็ไมถือวาเปนทรัพยหรือทรัพยสิน เพราะมนุษยเปนสิ่งมีชีวิตมิใชวัตถุ บุคคลใดจะยึดถือเอาชีวิตของบุคคลอื่นมาเปนของตนไมได แตถาสวนใดสวนหนึ่งของรางxxxมนุษยขาดหรือ
หลุดออกมาแล และมีลักษณะเปนของxxxxxxมีราคาไดและอาจถือเอาได เนอ่ื งจากผูเปน เจาของยังxxxxxx
และยังยึดถือสวนของรางxxxxxxขาดหรือหลุดออกมาไวเพื่อตนxxx สวนของรางxxxดังกลาวยอมเปนทรัพยหรือ
ทรัพยสินได เชน ผมท่ีตัดมาทําผมปลอมสาหรบ ไฟไหมทั้งตัว เปนตน
ขาย ผิวหนังที่ลอกออกมาเพื่อนําไปปดเปนผิวหนังใหแกคนที่ถูก
ข. สัตวและพืช เปนสิ่งที่มีชีวิต แตเนื่องจากไมมีกฎหมายxxxxxxxรับรองใหสัตวและพืชมีxxxxxและ
หนาที่ตามกฎหมายไดเหมือนเชนมนุษย ดังนั้น สัตวและพืชจึงไมอาจxxxxxxใดๆ ไดตามกฎหมายโดยลําพัง จึง ตองจัดสัตวและพืชเปนสิ่งมีชีวิตประเภทวัตถุมีรูปราง เพราะสัตวและพืชxxxxxxมีคุณคาในตัวของมันเอง เชน สุนัขxxxxxxซื้อขายกันได โคไพรหรือเน้ือทราย ซึ่งเปนสัตวหายากเพราะใกลจะสูญพันธุ ก็ถือวาเปนสัตวที่มี คุณคาตอโลกมากจนประเมินเปนราคาไมได หรือบรรดาสมุนไพรตางๆ ก็เปนพืชที่มีคุณคาเพราะใชเปนยา รักษาโรคได นอกจากนี้ มนุษยยังxxxxxxxxxxxxเอาสัตวและพืชเปนของของตนไดอีกดวย สัตวและพืช xxxxxxxxxxxจัดวาเปนวัตถุมีรูปรางxxxxxxมีราคาและอาจถือเอาได และเปนทรัพยตามกฎหมาย ผูใดกระทําตอ สัตวหรือพืชโดยไมมีxxxxxยอมมีความผิดเกี่ยวกับทรัพยตามที่xxxxxxxไวในxxxxxxกฎหมายอาญา
แบบฝกหัดทายบท
1. ใหนักศึกษาอธิบายความแตกตางระหวางคําวา ทรัพย และ ทรัพยสิน ตามความเขาใจของ
2. คําวา “อาจถือเอาได” นั้นมีความหมายอยางไร จงอธิบายและยกตัวอยางประกอบ
เอกสารอางอิง
xxxxxxx xxxxxxx (2530). คําบรรยายกฎหมายแพงและพาณิชยลักษณะทรัพย ในรวมคําบรรยายภาคหนึ่งสมัยที่
40 เลมที่ 1. จัดพิมพโดยสํานักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา.หนา 120-121
xxxxxxx xxxxxxx (2556). คําอธิบายกฎหมายลักษณะทรัพย (พิมพครั้งที่ 15 ปรับปรุงโดยไพโรจน วายุภาพ). xxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxx. หนา 61
เสนีย xxxxxxย (2521).คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย กฎหมายลักษณะทรัพย.โรงพิมพxxxxx สาสน.หนา11
สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (2534).ขอเสนอแนะแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ
1.หนา 311
แผนบริหารการสอนประจําบทที่ 2
หัวขอเนื้อหาประจําบท : ประเภทของทรัพย
1. อสังหาริมทรัพย
2. สงั หาริมทรัพย
3. ทรัพยแบงไดและทรพยแบงไมได
4. ทร ยนอกพาณชยิ
5. แบบฝกหัดทายบท
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม
1. เพื่อใหนักศึกษาทราบและเขาใจถึงประเภทของทรัพยวาทรัพยนั้นมีกี่ประเภทอะไรบาง
2. xxxxxxอธิบายความแตกตางระหวางทรพั ยแตละประเภทได
3. xxxxxxนําความรูความเขาใจxxxxxรับไปใชในการวินิจฉัยผลทางกฎหมายเกี่ยวกับการแบงแยก ประเภทของทรัพยได
วิธีการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจําบท
1. วิธีสอน
1.1 วิธีสอนแบบบรรยาย
1.2 วิธีสอนแบบอภิปราย
2. กิจกรรมการเรียนการสอน
2.1 ผูสอนบรรยายเรื่อง ประเภทของทรัพยวามีกี่ประเภท
2.2 ยกตัวอยางคําพิพากษาและคําวินิจฉัยของศาล และตัวอยางกรณีศึกษาที่เกิดขึ้น ใน ปจจุบันและวิเคราะหหาคําตอบ
2.3 กําหนดประเด็นและโจทยปญหาใหนักศึกษาอภิปรายในชั้นเรียน และมอบหมายงานใหไป ศึกษา ดวยตนเองเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน โดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอน
2. บรรยายประกอบสื่อ Power Point
3. แบบฝกหัดทายบท
การวัดผลและการประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมการใหความรวมมือในช ระหวางเรียน
2. ตรวจผลงานที่มอบหมาย
เรียนโดยการซักถาม แสดงความคิดเห็นและอภิปราย
3. การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
4. สอบปลายภาค โดยขอสอบที่เนนการประเมินทักษะความรูในดานหลักการ แนวคิดทฤษฎี xxxxxxนําความรูxxxxxรับไปใชวินิจฉัยเกี่ยวกับผลทางกฎหมายที่เกิดขึ้นได
ประเภทของทรัพยสินตามกฎหมาย
บทที่ 2
ประเภทของทรพย
ทรัพยสินนั้นมีความหมายกวางกวาทรพ
ย เพราะหมายความรวมถึงวัตถุที่มีรป
รา งและไมมีรูปรางซง
มีราคาและถือเอาได ในทางกฎหมายก็ไดมีการแบงแยกประเภทของทรัพยสินไว แตเดิมทรัพยสินถูกแบง ออกเปน 3 ประเภท คือ สังกมะทรพย xxxxxxมทรพย และ โภคยทรพั ย
1. สงกมะทรัพย คือ สังหาริมทรัพย (ทรัพยxxxxxxเคลื่อนที่ได) ประเภทที่นําทรัพยสินชนิดเดียวกัน
มาxxxxxxxทั้งคุณภาพ จํานวนและปริมาณ เชน เงินตรา ธนบัตร หนังสือ ปากกา ฯลฯ
2. อสังกมะทรัพย คือ สังหาริมทรัพยxxxxxอาจหาสิ่งใดมาxxxxxxx ซึ่งโดยมากจะเปนสิ่งมีคุณคา หรือจําเปxxxxจะตองใชในการใดการหนึ่งโดยเฉพาะ เชน ภาพวาดชื่อดังท้งหลายที่มีเพียงรูปเดียวในโลก xxxxxหรืออุปกรณที่คนรายใชในการกระทําความผิดซึ่งใชเปนหลักฐานในการดําเนินคดีอาญา ฯลฯ
3. โภคยทรัพย คือ สังหาริมทรัพยซ่ึงเมื่อนําไปใชแลวยอมสิ้นxxxxxxหมดไป เชน ขาวสาร น้ํา
น้ําตาล สิ่งตางๆที่นําไปใชบริโภค ฯลฯ
ตอมาไดมีการแกไขและแบงประเภทของทรัพยสินข้ึนใหม ในป พ.ศ. 2535 ซึ่งแบงทรัพยสิน ออกเปน 5 ประเภท และxxใชมาจนถึงปจจุบัน ไดแก อสังหาริมทรัพย สังหาริมทรัพย ทรัพยแบงได ทรัพย แบงไมได และทรัพยนอกพาณิชย
อสังหาริมทร ย
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 139 “อสังหาริมทรัพย หมายความวา ที่ดินและทรัพย อันติดxxxกับที่ดิน มีลักษณะเปนการxxxxหรือประกอบเปนอันเดียวกับที่ดินน้น และหมายความรวมถึง ทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับที่ดินหรือทรัพยอันติดxxxกับที่ดินหรือประกอบเปนอันเดียวกับที่ดินนั้นดวย”
xxxxxทั้งหลายอันเกี่ยวก กรรมสิทธ์ในิ ที่ดิน เปนทรัพยxxxxxxไมมีรูปราง ดังน้นั อสังหาริมทรัพยจึง
เปนไดทั้งทรัพยและทรัพยสิน โดยxxxxคนทั่วไป มักจะคิดวาอสังหาริมทรัพย ไดแก ที่ดินและบาxxxxxxxบน ที่ดินเทานั้น แตมาตรา 139 ไดแบงอสังหาริมทรัพยดังนี้ (รศ.xxxxxxx xxxxรัตน.2556)
อสังหาริมทรัพยประกอบดวยทรัพยสิน 4 ประเภท คือ
1. ที่ดิน
2. ทรัพยอันติดxxxกับที่ดินที่มลักษณะเปนการxxxx
3. ทรัพยที่ประกอบเปนอันเดียวกบที่ดิน
4. ทรัพยสิทธิ์อันเกี่ยวกับที่ดินหรือทรัพยอันติดอยกับที่ดินหรือประกอบเปนอันเดียวกับที่ดิน
เมื่อพิจารณาตามตัวบทแลวอสังหาริมทรัพยจะมีความหมายถึง
1. ที่ดิน คือ เนื้อที่หรือพื้นที่เปนแปลง เปนไร ถาเปนกรณีxxxxxใชเนื้อที่หรือพื้นที่ก็จะไมใชที่ดิน เชนขุดดินจากที่ดินไปเพื่อจะนําไปขาย ดินที่ถูกขุดขึ้นมาก็จะไมใชที่ดินไมใชอสังหาริมทรัพยอีกตอไป ความหมายตามมาตรา 139 นี้ ที่ดินจะหมายความเฉพาะพื้นดินท่ีเราเหยียบยํ่าและอาศัยxxxเทานั้น (แตถา เปxxxxดินตามความหมายในประมวลกฎหมายท่ีดินจะหมายความรวมถึง หวย หนอง xxxx บึง ลํานํ้า และ ทะเลสาบดวย ซ่ึงจะกวางกวาความหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย) ท่ีดินโดยสภาพแลวไม xxxxxxเคลื่อนยายไดดังนั้นในทางอาญาการลักทรัพยที่เปนที่ดินจึงไมอาจทําได แตกรรมสิทธิ์หรือสิทธิ ครอบครองxxxxxxในที่ดินเขาแยงได จึงไปเขาความผิดฐานบุกรุกแทน
ขอสังเกตเกี่ยวกับที่ดิน
(1) ที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์เทานั้นจึงจะมีการครอบครองปรปกษได ถาเปนที่ดินxxxxxมีกรรมสิทธิ์ก็จะ ครอบครองปรปกษไมได
(2) ที่ดินที่มีแตเพียงxxxxxครองครองโอนกันไดดวยการสงมอบเทานั้น ไมจําเปนตองจดทะเบียน แต การจดทะเบียนก็อาจจะมีไดหากเปนที่ดินที่มีทะเบียนที่ดิน เชน น.ส. 3 หรือ น.ส. 3 ก
(3) ที่ดินพิพาทซึ่งนายดําครอบครองxxxเปนสวนหนึ่งของที่ดินตามหนังสือรับรอง การทําประโยชน (น.ส. 3 ก) ที่xxxxxxxxชื่อเปนผูมีสิทธิครอบครองxxx จึงตองดวยขอสันนิษฐานตามมาตรา 1373 วา xxx xxxซึ่งมีชื่อในทะเบียนเปนผูมีสิทธิครอบครอง ขอสันนิษฐานตามมาตรา 1373 จึงรวมถึงที่ดินที่มี น.ส. 3 และ น.ส. 3 ก ดวย
ขอสังเกต เรื่องนี้ถือมาตรา 1373 มากอนมาตรา 1367 กลาวคือ ผูที่มีชื่อเปนเจาของหรือเปนผูมี สิทธิครอบครองใน น.ส. 3 หรือ น.ส. 3 ก ไดประโยชนจากขอสันนิษฐานเปนคุณมากกวาคนที่ครอบครอง ยึดถืออยูตามมาตรา 1367
(4) ที่ดินพิพาทเปนที่ดินมือเปลา เพราะหนังสือรับรองทําประโยชนไมใชหนังสือแสดงกรรมสิทธ์ิ
บุคคลจะxxxxxxxxxxเหนือที่ดินพิพาทxxมีแตสิทธิครอบครอง แม ายดําจะไดสิทธิครอบครองที่ดินพิพาทโดย
การยึดถือครอบครองแตการไดมาของนายดําเปนการไดมาซ่ึงทรพ
ยสิทธิ์อันเกี่ยวกับอสังหารม
ทรัพยโดยทาง
อื่นนอกจากนิติกรรม ซึ่งถายังไมไดจดทะเบียน นายดําจะยกขึ้นเปนขอตอสูxxxxxxซึ่งเปนบุคคลภายนอกผู ไดxxxxxxxโดยเสีย คาตอบแทนและโดยxxxxxxและไดจดทะเบียนโดยxxxxxxแลว ไมไดตามมาตรา 1299 วรรค สอง xxxxxxxxxเปนผูมีxxxxxในที่ดินพิพาท
2. ทรัพยอันติดxxxกับที่ดินที่มีลักษณะเปนการxxxx ทรัพยอันติดxxxกับที่ดินนั้นมีxxxxxxxเกิดขึ้นเอง ตามxxxxxxxx และที่มนุษยนํามาติดไว ซึ่งจะตองเปนการติดxxxกับที่ดินที่มีลักษณะเปนการxxxx คือ ไม หลุดหรือแยกออกจากที่ดินไดโดยงาย เชน ตนไม(ไมรวมถึงตนไมในกระถาง ตนไมจะตองมีรากชอนไชลงใน พื้นดิน) อาคารบานเรือน สะพาน กําแพงที่สรางขึ้นติดกับที่ดิน ฯลฯ การติดกับที่ดินของทรัพยเหลานี้ตองมี ลักษณะxxxx แตไมจําเปนตองติดxxxกับที่ดินตลอดกาล เชน เมื่อเราสรางบานขึ้น ตอมาเราอาจจะรื้อบาน
เพื่อยายไปปลูกที่อื่นก็ได แตโดยสภาพของบานแลวยอมติดxxxกับที่ดินอยางxxxx แตทรัพยบางอยางไมมี ลักษณะติดxxxกับที่ดินอยางxxxx xxน ตูโทรศัพทสาธารณะ ปอมยามตํารวจ แผงลอยขายของ ชิงชาสวรรค ในงานวดั เปนตน แมเราxxxxxจะใหทรัพยเหลานี้xxx ณ ที่นั้นตลอดไป แตทรัพยเหลานี้ก็ไมเปนทรัพยอัน ติดxxxกับที่ดินxxxxxลักษณะเปนการxxxx xxxไมเปนอสังหาริมทรัพย
บา นเรือนเปนอสังหาริมทรัพย แตในกรณีท่ีเราตxxxxxโอนบานหรือขายบานเราอาจจะโอนบาน หรือขายบานในลักษณะที่เปนอสังหาริมทรัพยหรือสังหาริมทรัพยก็ได ถาเราตxxxxxโอนบานหรือขายบาน ในลักษณะที่เปนอสังหาริมทรัพย คือไมมีการรื้อบานนั้น จะตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงาน เจาหนาที่ แตถาเราตxxxxxโอนบานหรือขายบานในลักษณะที่เปนสังหาริมทรัพย คือใหรื้อเอาไป ก็ไมตอง ไปทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่
ในสวนของตนไมนั้น มีกฎหมายกําหนดไววาตนไมที่จะเปนอสังหาริมทรัพยนั้นตองเปนไมยืนตน (ตามกฎหมายคือตนไมที่มีอายุเกิน 3 ป) ถาเปนไมลมลุกจะไมถือเปนอสังหาริมทรัพย เชน พืชผักตางๆที่ใช ในการบริโภค
ขอสังเกตเกี่ยวกับทรัพยอันติดกับที่ดินมีลักษณะเปนการxxxx
(1) ทรัพยอันติดกับที่ดินมีลักษณะเปนการxxxx xxงไดเปน 2 อยาง คือ ทรัพยที่ติดกับที่ดินโดย xxxxxxxx กับทรัพยที่ติดกับที่ดินโดยไมไดเกิดจากxxxxxxxx
(2) ตนพลูเปนไมยืนตนจึงเปนอสังหาริมทรัพย
(3) ทรพั ยที่มีลักษณะติดกับที่ดินเปนการxxxxแลว จะติดxxxกับที่ดินนานเทาไรไมสําคัญ ถาโดย สภาพมีลักษณะติดกับที่ดินเปนการxxxxxxเปนอสังหาริมทรัพยแมจะติด xxxเปนระยะเวลาไมนานก็ตาม
(4) xxxxxxxxxxxโรงสีไมใชสวนควบ เปนเพียงของใชประจําxxxกับโรงสีจึงเปนอุปกรณซึ่งเปน สังหาริมทรัพยเทา นั้น ไมใชอสังหาริมทรัพย
(5) แผงลอยxxxxxxxติดกับที่ดินมีลักษณะเปนการxxxxxxเปนอสังหาริมทรัพย
3. ทรัพยซึ่งประกอบเปนอันเดียวกับที่ดิน คือทร ยท่ปี ระกอบเปนสวนหน่งึ สวนใดของที่ดินตาม
xxxxxxxx เชน ดิน กรวด ทราย กอนหิน ภูเขาหิน ทางน้ําไหล แรโลหะตางๆตามxxxxxxxx xxxxxxลานี้เปนสิ่ง ที่เกิดขึ้นเองโดยxxxxxxxxและประกอบรวมxxxxxxxเปนที่ดินขึ้นมา ไมใชสิ่งที่มนุษยสรางหรือนํามาติดไว แต ก็มีบางกรณีเชนxxxxxxเกิดจากมนุษย เชน ซื้อดินซื้อหินมาถมที่ ดินหินที่ถมลงไปก็จะกลายเปนสวนxxxxxx xxxที่ดินนั้นไป สังเกตวาทรัพยซึ่งประกอบเปนอันเดียวกับที่ดินนั้น ถานําหรือเคลื่อนยายออกจากที่ดินก็จะ
ไมใชอสังหาริมทรัพยอีกตอไป แตไมxx xxxความรวมไปถึงทรัพยมีคาอันฝงหรือซxxxxxในที่ดิน เชน สรอย
ทอง แหวนเพชร ทรัพยเหลานี้ยังxxเปนสังหาริมทรัพย ไมถือวาเปนสวนหนึ่งแหงที่ดินสวนประกอบเปนอัน เดียวกับที่ดินอันเปนอสังหาริมทรัพย อาจกลายเปนสังหาริมทรัพยไปไดโดยxxxxxของเจาของ ถาเจาของxx xxxxxทําสัญญาโอนไปยังผูอื่นโดยxxxxxxxเอาออกจากตัวที่ดินน้นแลว ทรัพยนั้น ๆ ก็ถือวาเปน สังหาริมทรัพย เชน การซื้อขายที่ดิน กรวดทราย โดยxxxxxxxขนแยกไปจากที่ดิน ยอมเปนการซื้อขาย สังหาริมทรัพย
ขอสังเกตของทรัพยซึ่งประกอบเปนอันเดียวกับที่ดิน
ทรัพยซึ่งประกอบเปนอันเดียวกับที่ดินหากแยกออกจากตัวพื้นดิน ก็ยอมขาดจากลักษณะของการ เปนทรัพยที่ประกอบเปนอันเดียวกับที่ดิน
ตัวอยาง ขุดดินในที่ดินไปขายถือวาเปนการขายสังหาริมทรัพย ไมใชอสังหาริมทรัพย เพราะดินได
ขาดออกจากตัวที่ดินแลวจึงเปนสังหาริมทรัพย
4. ทรัพยสิทธิตางๆอันเกี่ยวกับที่ดิน ทรัพยอันติดxxxกับที่ดิน หรือทรัพยที่ประกอบเปนอัน เดียวกับที่ดินนั้น(ทรัพยสิทธิมีอธิบายคราวๆในบทความเรื่องxxxxxตามกฎหมายเอกชน) ทรัพยสิทธิเปนxxxxx อยางหนึ่ง ไมมีรูปรางและแตะตองสัมผัสไมได แตมีราคา ยึดถือเปนเจาของไดและตองมีผูxxxxxxxx xxน กรรมสิทธิ์ในที่ดิน(ความเปนเจาของที่ดิน) สิทธิครอบครอง(xxxxxในการครอบครองใชประโยชน) xxxxxเหนือ พื้นดิน xxxxxอาศัย ฯลฯ เหลานี้คือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับที่ดิน สวนทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับทรัพยอันติดxxxกับ ที่ดินก็คือxxxxxอาศัย(xxxxxxxxจะไดอาศัยxxxในสิ่งปลุกสรางบนที่ดิน)
ขอสังเกตทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย
(1) xxxxxรับจํานองที่ดินเปนอสังหาริมทรัพย
(2) หุนในหางหุนสวนสามัญซึ่งมีทรัพยสินเปนที่ดินไมใชxxxxxในอสังหาริมทรัพย
(3) xxxxxxxาซื้อเปนบุคคลxxxxxxxใชอสังหาริมทรัพย
(4) xxxxxxxาอาคารเปนxxxxxเกยี่ วกับตัวอาคารไมเปนอสังหาริมทรัพยแตเปนสังหาริมทรัพย
สังหาริมทรัพย
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 140 “สังหาริมทรัพย หมายความวา ทรัพยสินอื่น นอกจากอสังหาริมทรัพย และหมายความรวมถึงxxxxxอันเกี่ยวกับทรัพยสินนั้นดวย”
แตเดิมความหมายของสังหาริมทรัพยน้นคือทรัพยที่เคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได รวมถึง xxxxxตางๆของทรัพยสินนั้นๆดวย ตอมาจึงมีการแกไขใหมในป พ.ศ. 2535 และใชความหมายตามมาตรา 140 ซึ่งเปxxxxเขา ใจไดโดยงายวาทรัพยxxxxxxใดไมใชอสังหาริมทรัพย ก็ถือเปนสังหาริมทรัพยท้งสิ้น ดังนั้น หากเขาใจเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยเปนอยางดีแลว การจะบอกวาทรัพยสินใดเปนอสังหาริมทรัพยหรือ
สังหาริมทรัพยกไ็ มใชเรื่องยาก แตมีบางกรณีxxxxxxxxxxxxกัน อยางเชน บานถือเปนอสังหารมทรัพยแตถาไมท
ใชกอสรางบานก็จะถือเปนสังหาริมทรัพย กลับกันหากเราทําสัญญาซื้อขายบานทั้งหลาย หมายความวาเรา ทําสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย แตถาเราขายบานในลักษณะที่รื้อบานทิ้งแลวขายไมที่ใชสรางบาน เชนนี้ก็ จะเปนการขายสังหาริมทรัพยเพราะไมที่ใชสรางบานไมใชอสังหาริมทรัพย หรือถาขายตนไมตนหนึ่งในที่ดิน โดยxxสภาพเดิมไวก็ถือวาเปนการขายอสังหาริมทรัพย แตถาเปนการตัดตนไมนั้นไปขายเชนนี้ก็จะเปนการ ขายสงั หาริมทรัพย เพราะตนไมที่ตัดออกไปแลวไมมีลักษณะเปนทรัพยสินอันติดxxxกับที่ดินจึงไมถือเปน อสังหาริมทรัพยอีกตอไป ดังนั้นการxxxxxxxxxตองxxxxxxxxxใหดี
นอกจากน้ีแลว สังหาริมทรัพยยังรวมถึงxxxxxอันเกี่ยวกับทรัพยสินน้นๆดวย เชน xxxxxจํานํา ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินนั้นๆ ฯลฯ
จากมาตรานจ
ะเห็นไดวาสงั หารม
ทรัพยไดแก
1. ทรัพยสินอื่นนอกจากอสังหาริมทรัพย ทรัพยสินใดก็ตามxxxxxเขาหลักเกณฑของการเปน อสังหาริมทรัพยแลว ยอมเปนสังหาริมทรัพย เชน รถยนต โตะ เกาอ้ี ปากกา ดินสอ ชาง มา โค กระบือ
เปนตน ทรัพยเหลานี้อาจขนเคลื่อนจากทแหงหนึ่งไปแหงอื่นได รานแผงลอย ตูโทรศัพทสาธารณะ ปอมยาม
ตํารวจที่ยกเคลื่อนที่ไดโดยไมเสียxxxxxxก็เปนสังหาริมทรัพย เนื้อดินเม่ือยังxxxกับที่ดินถือวาเปน อสังหาริมทรัพย เพราะเปนทรัพยที่ประกอบเปนอันเดียวกับที่ดิน แตเมื่อขุดขึ้นมาเปนกอนดินเพื่อจะทําการ ขนยายแลว กอนดินน้นก็กลายเปนสังหาริมทรัพยขึ้นมาทันที พลังงานตาง ๆ เชน พลังไฟฟา กาซ พลัง น้ําตก พลังไอน้ํา อันอาจมีราคาและอาจถือเอาได ก็ถือวาเปนสังหาริมทรัพย
2. xxxxxอันเกี่ยวกับสังหาริมทรัพย เชน กรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครองในสงั หาริมทรัพย xxxxxของ
ผูรับจํานํา xxxxxในหุนสวน xxxxxยึดหนวง ลิขสิทธิ์ xxxxxในเครื่องหมายการคา
สังหาริมทรัพยบางอยาง เชน เรือกําปนหรือเรือที่มีระวางตั้งแตหกตันขึ้นไป เรือกลไฟหรือ เรือยนตที่มีระวางตั้งแตหาตันขึ้นไป แพ และสัตวพาหนะ ในการซื้อขายทรัพยเหลานี้กฎหมายบังคับ วาตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาxxx xxน เดียวกับการซื้อขาย อสังหาริมทรัพย การ
กําหนดใหทําตามแบบเชนนี้ มิใชจะใหถือวาสังหาริมทรพ ยังxxเปนสังหาริมทรัพยxxxเสมอ
ยเหลา นี้กลายเปนอสังหารม
ทรพ
ยไป ทรัพยเหลานี้
ผลทางกฎหมายของการแบงทรัพยออกเปนอสังหาริมทรัพยและสงหาริมทรัพย
ผลทางกฎหมายของการแบงทรัพยออกเปนอสังหาริมทรัพยและสังหาริมทรัพยมีดังนี้
1. อสังหาริมทรัพยตองมีเจาของเสมอ ถาไมเปนของผูหนึ่งผูใดก็เปนของแผนดินเชน ที่ดินซึ่งมิได ตกเปนกรรมสิทธิ์ของบุคคลหนึ่งบุคคลใดใหถือวาเปนของรัฐ หรือที่ดินที่เปนของเอกชนแตรัฐมีความ จําเปนตองใชเพื่อสาธารณประโยชน ก็อาจเรียกคืนไดตามพระราชบัญญัติ เวนคืนอสังหาริมทรัพย สวน สังหาริมทรัพยอาจจะไมมีเจาของก็ได เชน ปลาในแมน้ําซึ่งยังไมไดจับ สัตวที่xxxในปา เปนตน
2. ทรัพยสิทธิบางอยางจะมไี ดแตในอสังหาริมทรพยเทานั้น เชน ภารจํายอม xxxxxเหนือพื้นดิน xxxxx
เก็บกิน ภารติดพันในอสังหาริมทรัพย xxxxxจํานอง xxxxxอาศัย เปนตน ทรัพยสิทธิเหลานี้จะมีใน สังหาริมทรัพยไมได
3. ระยะเวลาการครอบครองทรัพยของผูอื่นโดยปรปก กรรมสิทธิ์ ถาเปนสังหาริมทรัพยใชเวลา 5 ปจึงไดกรรมสิทธิ์
ษ ถาเปนอสังหาริมทรพ
ยใชเวลา 10 ป จึงได
4. การทํานิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย ตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงาน เจาหนาที่ มิฉะนั้นจะเปนโมฆะ สวนการทํานิติกรรมเกี่ยวกับสังหาริมทรัพยโดยxxxxxxตองทําเปนหนังสือ และจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ เวนแตจะเปนสังหาริมทรัพยชนิดพิเศษ เชน เรือบางขนาด แพ และ สัตวพาหนะ
5. อสังหาริมทรัพยมีxxxกรรมสิทธิ์ทั้งเหนือพื้นดินและใตพื้นดิน สวนสังหาริมทรัพยไมมีxxx กรรมสิทธิ์เลย
6. คนตางดาวจะมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินไดหรือไมเพียงใดนั้น ตองมีกฎหมายxxxxxxxไวโดยเฉพาะ สวน สังหาริมทรัพยนั้นคนตางดาวอาจมีกรรมสิทธิ์ไดเสมอ
อสังหาริมทรัพย | สงหาริมทรัพย |
- ตองมีเจาของเสมอ | - จะมีหรือไมมีก็ได |
- จํานองได | - จํานําได |
- การโอนตองทําตามแบบ | - ไมxxxxกําหนดแบบเพียงสงมอบก็พอแลว |
- มีxxxกรรมสิทธิ์ | - ไมมีxxxกรรมสิทธิ์ |
- การครอบครองปรปกษ 10 ป | - การครอบครองปรปกษ 5 ป |
ทรัพยแบงไดและทรัพยแบงไมได
ทรัพยแบงไดและทรัพยแบงไมไดนี้แยกxxxxxxxxxดังนี้
1. ทรัพยแบงได
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 141 “ทรัพยแบงได หมายความวา ทรัพยอันอาจแยก ออกจากกันเปนสวนๆไดจริงxxxxชัดแจง แตละสวนไดรูปบริบูรณลําพังตัว”
ทร ยแบงไดน ะเปนสังหาริมทรัพยหรืออสังหาริมทรัพยก็ได เชน ขาวสาร นําต้ าลทราย นําม้ ัน
สุรา เมื่อแบงแยกออกเปนสวน ๆ แลวแตละสวนก็ยังxxเปน ขาวสาร น้ําตาลทราย น้ํามัน สุราxxxตามเดิม ผาเปนพับ ๆ ก็xxxxxxตัดแบงเปนเมตรหรือเปนหลาได ที่ดินxxxxxxxxงเปนไร ตารางวาได แตละสวนก็ ยังxxเปนที่ดินไดรูปบริบูรณลําพังตัว
ทรัพยแบงได มีองคประกอบดังนี้
(1) ตองเปนทรัพยที่xxxxxxแยกออกจากกันได
(2) เมื่อแยกออกจากกันไดแลวไมเสียสภาพxxxxxxไป
2. ทรัพยแบงไมได
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 142 “ทรัพยแบงไมได หมายความวา ทรัพยอันจะแยก ออกจากกันไมไดนอกจากเปลี่ยนแปลงภาวะของทรัพย และหมายความรวมถึงทรัพยที่มีกฎหมายxxxxxxxวา แบงไมไดดวย”
ทรพั ยแบงไมไดนีจ้ ะเปนสังหาริมทรัพยหรืออสังหาริมทรัพยก็ได ทรัพยแบงไมไดแบงออกเปน 2
ประเภทคือ
2.1 ทรัพยอันจะแยกออกจากกันไมได นอกจากเปล่ียนแปลงภาวะของทรัพย เชน ถวยชาม รถยนต อาคารบานเรือน โค กระบือ เปนตน ถาเราแบงโคกระบือออกเปนหัวเปนหาง เปนเขา เปนขา โค กระบือนั้นจะเสียภาวะไป ไมเปนโคกระบือตอไป หรือถาแบงอาคารบานเรือนออกเปนอิฐ เปนไม เปน กระเบื้อง อาคารบานเรือนนั้นก็จะเสียภาวะไมเปนอาคารบานเรือนตอไป ถวยชาม 1 ใบถาแบงออกแลวก็ จะแตกเปนสวน ๆ ไมเปนถวยชาม ผลไมลูกหนึ่งถาเอามีดผาเปน 2 ซีก ผลไมก็จะเสียxxxxxxไป ไมเปน ผลไมเต็มลูกตอไป
2.2 ทรัพยที่มีกฎหมายxxxxxxxวาแบงไมได เชน หุนของบริษัทจํากัด สวนควบ ภาร
จํายอม xxxxxจํานอง เปนตน
ตัวอยาง นาย ก. และนาย ข.ไปซื้อหุนของบริษัทแหงหนึ่ง 1 หุนราคาหุนละ 1,000 บาท โดยออก เงินคนละครึ่ง ก. และ ข. จะแบงหุนนั้นออกเปน 2 สวน ๆ ละ 500 บาทไมได เพราะมาตรา 1118 xxxxxxx ไววาหุนนั้นจะแบงแยกไมได นาย ก. และนาย ข. จะตองเปนเจาของหุนนั้นรวมกัน
ประโยชนของการแบงทรัพยเปนทรัพยแบงไดและทรัพยแบงไมได
การแบงทรัพยออกเปนทรัพยแบงไดและทรัพยแบงไมได ก็เพื่อประโยชนในเรื่องของเจาของรวมใน ทรัพยสิ่งเดียวกันขอใหแบงทรัพยนั้น ถาเปนทรัพยแบงไดก็แบงกันไป ถาเปนทรัพยแบงไมไดก็ใหเอาทรัพย นั้นออกขายแลวเอาเงินxxxxxxxxxxxแบงกัน
ขอสังเกต
(1) หุนเปนทรัพยแบงแยกไมไดตามมาตรา 1118 วรรคหนึ่ง
(2) สวนควบ ภาระจํายอม และxxxxxจํานอง แบงไมได
ทรัพยนอกพาณิชย
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 143 “ทรัพยนอกพาณิชย หมายความวา ทรัพยxxxxx xxxxxxถือเอาไดและทรัพยที่โอนแกกันมิไดโดยชอบดวยกฎหมาย”
xxxxxxxxวาความหมายตามมาตรา 143 นั้นจะไปขัดกับมาตรา 137 และมาตรา 138 ในความหมาย ของคําวาทรัพยและทรัพยสิน เพราะสิ่งใดxxxxxxxxxxxถือเอาได(ยึดถือเปนเจาของได) ก็จะไมถือเปนทรัพย และทรัพยสิน ซึ่งจริงๆแลวทรัพยนอกพาณิชยนั้นก็xxxxxxxxxxxxเอาได เปนเจาของได แตทรัพยเหลานี้ผูที่ เปนเจาของไมใชเอกชนท่วไป แตเปนรัฐหรือเปนหนวยงานหรือองคกรที่รัฐกําหนด แตก็มีบางกรณีที่ให เอกชนเขาถือครองได เชนอนุญาตใหเอกชนทํากินในที่ดินของรัฐ ฯลฯ ทรัพยนอกพาณิชยไมไดมีไวเพื่อ ประโยชนในเชิงพาณิชยซื้อขาย ไมxxxxxxจําหนาย จาย โอนใหแกเอกชนได เชน ที่ดิน สํานักงานราชการ เรือรบ รถถัง ปน(แตถาเปนปxxxxxxxในความครอบครองของเอกชนหรือปxxxxอนุญาตขายใหแกทางเอกชนได ก็จะไมเปนทรัพยนอกพาณิชย)
แตอยางไรก็ดีทรัพยนอกพาณิชยบางชนิดก็อาจจําหนาย จาย โอนได หากมีกฎหมายกําหนดไวเปน พิเศษ เชน วัด ที่ธรณีสงฆ สาธารณสมบัติของแผนดิน ฯลฯ
ทรัพยนอกพาณิชยมี 2 ประเภทคือ
เปนตน
1. ทรัพยxxxxxxxxxxxถือเอาได เชน อากาศ ทะเล กอ นเมฆ ดวงจันทร ดวงดาว ทองฟา แสงแดด
2. ทรัพยที่โอนแกกันมิไดโดยชอบดวยกฎหมาย เปนทรัพยxxxxxxxxxxxซื้อขาย แลกเปลี่ยนกันได
ตามกฎหมาย เมื่อมีกฎหมายหามโอนจึงเปนทรัพยนอกพาณิชย เชน โบราณวัตถุและศิลปวัตถุที่หามทํา การคาตามประกาศกรมศิลปากร ท่ีวัด (คือที่ตั้งวัดตลอดจนเขตของวัด) ที่ธรณีสงฆ (คือที่ซึ่งเปนxxxxxxของ วัด) และทรัพยxxxxxxเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน เปนตน
ทรัพยนอกพาณิชยที่กฎหมายหามโอนจะตองมีxxx 2 ประการ คือ
1. ตองเปนการหามโอนโดยกฎหมายxxxxxxxไว
2. ล ษณะของการหามโอนจะตองเปนการหามโอนโดยxxxx
ขอสังเกต
1. xxxxxxxxจะไดรับคาอุปการะเลี้ยงดูเปนทรัพยนอกพาณิชยจะสละหรือโอนไมได
2. ที่วัด ที่ธรณีสงฆ หรือที่ศาสนxxxxxxกลางเปนทรัพยนอกพาณิชย
3. ทรัพยนอกพาณิชยที่โอนกันไมไดตามกฎหมาย ตองเปนกรณีที่มีกฎหมายหามโอนเทานั้น แตถา เปนการหามโอนโดยxxxxxxxxxxไมถือวาเปนทรัพยนอกพาณิชย
4. การหามโอนโดยมีกําหนดระยะเวลา เชน การหามโอนตามกฎหมายวาดวยการxxxxxxดินเพื่อการ ครองชีพหรือประมวลกฎหมาย ที่ดิน ไมใชเปนการหามโอนโดยxxxxxxxไมเปนทรัพยนอกพาณิชย กรณีนี้มี ปญหาวาการทําสัญญาจะซื้อจะขายกันไวกอนวาพอพนกําหนดเวลาแลว คอยโอนกัน ขอสัญญาดังกลาวจะ ใชบังคับไดหรือไม ซึ่งตรงนี้มีขอพิจารณาวา
(4.1) ถ
โอนก็เปนโมฆะ
ขอเท็จจริงแสดงใหเห็นโดยชัดเจนวา เปนการจงใจหลก
เลี่ยงกฎหมายที่มีวัตถุประสงคหาม
(4.2) ถ ขอ เทจจริง็ แสดงใหเห็นโดยชัดแจงวาไมเปนการจงใจหลีกเลี่ยง ก็ไมเปนโมฆะ
ตัวอยางที่ 1 นาย ก. มีที่ดินเปน น.ส.3 ซึ่งมีขอกําหนดหามโอนภายใน 10 ป ไดทําสัญญาจะซื้อ จะขายที่ดินดังกลาวใหแกนาย ข. โดยมีขอตกลงกันวาจะจดทะเบียนเมื่อพนกําหนดระยะเวลาหามโอน เมื่อ นาย ก. ยังไมไดมีการสงมอบการครอบครองที่ดินดังกลาวภายในระยะเวลาหามโอน 10 ป จึงถือวาไมไดจง ใจหลีกเลี่ยงขอหามตามกฎหมาย สัญญาจะซื้อจะขายดังกลาวไมเปนโมฆะ
ตัวอยางที่ 2 xxxxxxxxที่ดินเปน น.ส.3 ซึ่งมีขอกําหนดหามโอนภายใน 10 ป ไดทําสัญญาจะซื้อ
จะขายที่ดินดังกลาวใหแกนายดําภายในระยะเวลาหามโอน โดยไดมีการชําระเงินกันแลวและxxxxxxxx มอบท่ีดินใหนายดําเขาครอบครองแลว โดยมีขอตกลงกันวาxxxxxxจะจดทะเบียนโอนใหเม่ือพนกําหนด
ระยะเวลาห โมฆะ
มโอน จึงเปนการจงใจหลีกเลี่ยงกฎหมายโดยชัดแจง สัญญาจะซื้อจะขายดังกลาวจึงตกเปน
ตัวอยางที่ 3 xxxxxxเจาของท่ีดินทําสัญญาซื้อขายที่ดินใหกับนายดําในระยะเวลาหามโอนตาม
กฎหมาย สัญญาซื้อขายดังกลาวจึงตกเปนxxxx xxxไมอาจสงมอบการครอบครองที่ดินแกกันได นายดําจึง
ไมxx xทธคริ อบครอง แตหากพนระยะเวลาหามโอนแลว xxxxxxxxสละxxxxxครอบครองหรือxxxxxxxxม
การมอบการครอบครองใหแกนายดําแลว เชนนี้นายดําก็มีสิทธิครอบครอง แตถาxxxxxxยงั ไมไดสละxxxxx
ครอบครองหรือมิไดมีการมอบการครอบครองใหแก นายดํา แมนายดําจะยังxxครอบครองที่ดินพิพาทxxx ตอมาก็ถือวานายดําครอบครองแทนxxx xxx เมื่อถือวานายดําเปนผูครอบครองที่ดินแทนxxxxxx หาก นายดําโอนที่ดินดังกลาวใหแกบุคคลภายนอก ก็จะเขาหลักผูรับโอนไมมีxxxxxxxกวาผูโอน เพราะถือวา
บุคคลภายนอกxxxxxxxxxxxดินแทนxxxxxxxxนเดียวก แตถาขอ เท็จจริงปรากฏวาน ายดําเขาครอบครอง
ที่ดินนับแตไดซื้อจากxxxxxxมา ตลอดแมในระยะเวลาหามโอน นายดํายังไมไดสิทธิครอบครอง แตเมื่อนาย ดําxxxxxxxxxxxดินตลอดมาจนลวงระยะเวลาหามโอนแลวเปนเวลานานถึง 10 ปเศษ และเสียภาษีบํารุง ทองที่ในนามของนายดําตลอดมาโดยไมมีผูอื่นเขามายุง เกี่ยวแยงการครอบครอง การครอบครองที่ดินของ
นายดําด 1367
กลาวจึงเปนการยึดถือโดยxxxxxxxxxxxเพื่อตน แลว นายดํายอมไดสิทธิครอบครองตามมาตรา
สาธารณสมบัติของแผนดิน
สาธารณสมบัติของแผนดิน ไดแกทรัพยสินทุกชนิดของแผนดิน ซึ่งใชเพื่อสาธารณประโยชน หรือ สงวนไวเพื่อประโยชนรวมกัน เชน (มาตรา 1304)
1. ที่ดินรกรางวางเปลา และที่ดินที่มีผูเวนคืนหรือทอดทิ้ง หรือxxxxxxเปนของแผนดินโดยประการ อื่น ตามกฎหมายที่ดิน
2. ทรัพยสินสําหรับพลเมืองใชรวมกัน เชx xxxชายตลิ่ง ทางน้ํา ทางหลวง ทะเลสาบ
3. ทรัพยxxxxxเพื่อประโยชนของแผนดินโดยเฉพาะ เชน ปอมทหารและโรงทหารสํานักราชการ บานเมือง เรือรบ xxxxxxxxxภัณฑ ทรัพยสินซึ่งเปนสาธารณสมบัติของแผนดินจะโอนแกกันมิได เวนแตจะมี กฎหมายโดยเฉพาะ หรือพระราชกฤษฎีกาใหโอน
ขอสังเกต ทรัพยแบงได ทรัพยแบงไมได ทรัพยนอกพาณิชย แมตัวบทกฎหมายจะใชคําวาทรัพย
แตจริงๆแลวมีหมายความรวมถึงทรัพยสินดวย
1. ทรัพยอันติดกบ
แบบฝกหัดทายบท
ที่ดินนั้นจะถือวาเปนอสงั หาริมทรัพยไดจะตอ
งมล
ักษณะอยางไร
2. นายแจงพอคาขายอาหารไดเขาไปปลูกแผงลอยในที่ดินของนายสวาง ในกรณีเชนนี้ จะถือวาแผง
ลอยน เปนสงั หาริมทรัพยหรืออสงั หาริมทรัพย เพราะเหตxxx xxอธบิ าย
3. ทรัพยแบง ไดนั้นอาจเกิดจากเหตุประการใดบาง จงอธิบายพรอมยกตัวอยาง
4. ลักษณะของทรัพยนอกพาณิชยนั้น มีอยางไรบางจลอธิบาย
เอกสารอางอิง
รองศาสตราจารยxxxxxxx xxxxรัตน (2556).คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยทรัพย (พิมพครั้งที่ 1 (ฉบับปรับปรุงใหม). สํานักพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง.
แผนบริหารการสอนประจําบทที่ 3
หัวขอเนื้อหาประจําบท : สวนควบ อป
1. สวนควบ
2. อุปกรณ
3. ดอกผล
4. แบบฝกหัดทายบท
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม
กรณและดอกผล
1. นักศึกษาxxxxxxอธิบายความหมายและลักษณะพรอมท้งยกตัวอยางเกี่ยวกับเรื่อง สวนควบ อุปกรณและดอกผล
2. น
ศึกษาxxxxxxอธบ
ายความแตกตาง ระหวาง สวนควบ อุปกรณและดอกผล
3. xxxxxxนําความรูความเขาใจxxxxxรับไปใชในการวินิจฉัยผลทางกฎหมายเกี่ยวกับสวนควบ อุปกรณและดอกผลได
วิธีการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจําบท
1. วิธีสอน
1.1 วิธีสอนแบบบรรยาย
1.2 วิธีสอนแบบอภิปราย
2. กิจกรรมการเรียนการสอน
2.1 ผูสอนบรรยายเรื่อง สวนควบ อุปกรณและดอกผล
2.2 ยกตัวอยางคําพิพากษาและคําวินิจฉัยของศาล และตัวอยางกรณีศึกษาที่เกิดขึ้น ในปจจุบัน และวิเคราะหหาคําตอบ
2.3 กําหนดประเด็นและโจทยปญหาใหนักศึกษาอภิปรายในชั้นเรียน และมอบหมายงานใหไป
ศึกษา ด
ยตนเองxxxxxเติมนอกช้นเรียน โดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง
2.4 ใหนักศึกษาทําแบบฝกหัดทายบทที่ 3
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอน
2. บรรยายประกอบสื่อ Power Point
3. แบบฝกปฏิบัติ
การวดั ผลและการประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมการใหความรวมมือในชั้นเรียนโดยการซักถาม แสดงความคิดเห็นและอภิปราย ระหวางเรียน
2. ตรวจผลงานที่มอบหมาย
3. การแสดงความคิดเห็นในช เรียน
4. สอบปลายภาค โดยขอสอบที่เนนการประเมินทักษะความรูในดานหลักการ แนวคิดทฤษฎี xxxxxxนําความรูxxxxxรับไปใชวินิจฉัยเกี่ยวกับผลทางกฎหมายที่เกิดขึ้นได
บทที่ 3
สวนควบ อุปกรณ และดอกผลของทรพ
ยสิน
หลังจากไดนําเสนอทั้งความหมายและประเภทของทรัพยสินไปแลว ตอนนี้เราจะมารูจักสิ่งซึ่งมี ความสัมพันธโดยสภาพและมีความสัมพันธในทางกฎหมายของทรัพยสินนั้นๆ และถือเปนความรูเบื้องตน เกี่ยวกับทรัพยxxxxxxสําคัญ ซึ่งก็คือ สวนควบ อุปกรณ และดอกผลทรัพยสิน
สวนควบของทรัพยสิน
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 144 “สวนควบของทรัพย หมายความวา สวนซึ่งโดยสภาพ
แหงทรัพย หรือโดยจารีตประเพณีแหงxxxxxxxเปนสาระสาํ คัญในความเปนxxxของทรัพยนั้น และไมอาจแยกจาก
กันไดนอกจากจะทําลาย ทําใหบุบสลาย หรือทําใหทรัพยนั้นเปลี่ยนแปลงxxxxxxหรือสภาพไป เจาของทรัพยยอมมีกรรมสิทธิ์ในสวนควบของทรัพยนั้น”
พิจารณาตามตัวบทแลว สวนควบของทรัพยสิน ก็คือ วัตถุหรือสวนที่ประกอบรวมกันขึ้นเปนทรัพยสิน นั้นๆ และเปนสวนสําคัญxxxxxอาจแยกออกจากทรัพยสินนั้นได หากแยกออกมาทรัพยนั้นอาจเปลี่ยนสภาพไป
เสียหายหรือกลายเปน แปรสภาพไปเทานั้น
ทรัพยใหม และการจะแยกออกจากกันx
xxxx ลาย หรือทําใหทรัพยนั้นเปลี่ยนxxxxxxหรือ
ดังนั้นการเปนทรัพยสินสวนควบนั้นตองเขาเงื่อนไขดังนี้
1. ตองเปนวัตถุที่มีรูปราง(ทรัพย) ตั้งแตสองชนิดขึ้นไปซึ่งมีสภาพที่แยกตางหากจากกัน มารวมเขากัน กลายเปนวัตถุเดียว ซึ่งอาจจะแปรสภาพเปนทรัพยใหมไป หรือxxสภาพเดิมไวก็ได เชน เอาปูนปลาสเตอรผสม
กับน้ําแลวหลอเปนรปปน
รูปปนนั้นคือทรัพยxxx
ขึ้นใหม โดยจะมีน้ํากับปูนปลาสเตอรเปนสวนควบ เพราะกรณี
นี้เราไมอาจแยกน้ําและปูนออกจากกันโดยxxสภาพเดิมของรูปปนนั้นไวได หรือกรณีที่นําเอาxxxxxxติดเขากับ แหวน ทั้งแหวนและxxxxxxxxxสภาพเดิมของตัวมันเองไว แตประกอบกนกลายเปนแหวนเพชรขึ้น หากแยกวตั ถุ ทั้งสองอยางออกจากกันก็ไมถือแหวนเพชรอีกตอไป ก็จะกลายเปนเพชร และแหวนซึ่งเปนวัตถุดั้งเดิม เราจึงถือ วาทงั้ เพชรและแหวนเปนสวนควบของแหวนเพชรนนั้
แตหากเปนวัตถุที่มีเพียงชิ้นเดียว xxxxxxลานั้นก็จะไมใชทรัพยที่มีสวนควบ เชน น้ําxxxxxxxxx xxxx เกลือ
กอนหินกอนหนึ่ง ฯลฯ ซึ่งโดยมากก็จะเปนวัตถุที่เกิดขนตาxxx xxxxxxxx หรือแมจะเปนวัตถุที่มีหลายชิ้นรวมxxxใน
สิ่งเดียวกันก็อาจไมถือเปนสวนควบเสมอไป ถาวัตถุตางๆนั้นไดรวมเขากันตั้งแตเริ่มแรกไมไดแยกจากกันมา ตั้งแตตน เชน อวัยวะตางๆของสัตวแตละชนิดที่มีมาแตกําเนิดหรือเกิดขึ้นเองโดยxxxxxxxx ฯลฯ
ขอสังเกต ตัวบทใชคําวาทรัพยไมใชทรัพยสิน เนื่องจากโดยสภาพแลวการจะเปนสวนควบ ก็จะตองมี
การรวมเขากันของวัตถุสองชนิดขึ้นไป ถาเปนวัตถุไมมีรูปรางก็ไมอาจรวมเขากันได แมจะมีราคาและถือเอาไดก็
ตาม(ทรัพยสินอยางหนึ่ง) แตอยาลืมวาทรัพยสินน้นก็หมายความรวมถึงทรัพยเชนกัน ดังนั้นการใชคําวาสวน ควบของทรัพยสินก็ไมไดผิดแตอยางใด
2. ทรัพยที่มารวมเขาดวยกันนั้นจะเปน
กรณีที่สังหารม
ทรพ
ยรวมเขากับสงั หาริมทรัพย อสังหาริมทรัพย
รวมเขากับอสังหารม
ทรพ
ย หรือสังหาริมทรัพยรวมเขากบ
อสงั หาริมทรัพยกไ็ ด เชน รถยนตประกอบดวยโครงรถ
ลอรถและเครื่องยนต ถาขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งก็ไมถือเปนรถยนตไมอาจใชงานไดตามxxxx ดังนั้นxxxxxxลานี้จึงถือเปน สวนควบของรถยนตเปนกรณีที่เอาสังหาริมทรัพยรวมเขากับสังหาริมทรัพย หรือบานหลังหนึ่งมีหลังคามีประตู บานถือเปนอสังหาริมทรัพย สวนหลังคากับประตูถือเปนสังหาริมทรัพยและถือเปนสวนควบของบานดวย
เนื่องจากบ นใดxxxxxมีหลังคา ไมมีประตูบานก็xxยังไมถือเปนบานโดยสมบูรณ ในทางกลับกันหากบานใดรื้อ
ประตูรื้อหลังคาออกไป ก็ถือเปนการเปลี่ยนแปลงสภาพของทรัพยดวย(บาน) ฯลฯ
ขอสังเกต สิ่งใดที่ถือเปนทรัพยสวนควบของอสังหาริมทรัพย แมเริ่มแรกxxxxxxจะเปนสังหาริมทรัพยก็ ตาม แตเมื่อนํามารวมเขากันจนกลายเปนทรัพยใหม ทรัพยสวนควบเหลานั้นก็จะสิ้นสภาพความเปน สังหาริมทรัพยไป กลายเปนทรัพยใหมซึ่งเปนอสังหาริมทรัพยแทน เชน อิฐ เสาเข็ม เหล็กเสน สิ่งตางๆเหลานี้ เริ่มแรกxxxxxxเปนสังหาริมทรัพย แตเมื่อนํามารวมเขากัน ใชเปนวัสดุในการปลูกสรางบาน ทั้งอิฐ เสาเข็ม เหล็กเสนก็จะกลายเปนสวนxxxxxxxxxตัวบานซึ่งเปนทรัพยใหมขึ้นมา ซึ่งทําใหอิฐ เสาเข็ม และเหล็กเสน ดังกลาวกลายเปนอสังหาริมทรัพยไป เพราะกลายสภาพไปเปนบานนั่นเอง
3. ทรัพยที่มารวมกันนั้นจะเปนของเจาของคนเดียวกันหรือตางเจาของกันได ถาเปนของเจาของคน เดียวทรัพยที่เกิดข้ึนใหมก็จะกลายเปนของเจาของน้ันแตเพียงผูเดียว แตถาเปนกรณีทรัพยของหลายคนมา รวมเขากันก็จะตองนําหลักเกี่ยวกับเจาของรวมมาใช โดยแตละคนจะมีสวนในทรัพยที่เกิดขึ้นใหมอยางไรนั้น ตองพิจารณาถึงสัดสวน มูลคา และความสําคัญของทรัพยแตละชนิดที่มารวมเขากัน
4. ทรัพยที่มารวมเขากันน้นจะมีทรัพยประธานหรือไมมีก็ได ทรัพยประธานหมายความวาทรัพยที่มี ความสําคัญหรือเปนสวนที่สําคัญที่สุดของทรัพยนั้นๆ และอาจรวมไปถึงทรัพยสวนxxxxxxxxคามากที่สุดดวย ซึ่ง ตองพิจารณาเปนกรณีไป เชนแหวนเพชรสวนที่สําคัญที่สุดก็คือตัวเพชร ไมใชตัวเรือนแหวน ดังนั้นเพชรจึงเปน ทรัพยประธาน หรือตามหลักกฎหมายแลวใหถือวาที่ดินเปนทรัพยประธานเสมอ แตในบางกรณีก็อาจไมมี ทรัพยประธานก็ได หากทรัพยที่มารวมเขากันนั้นมีความสําคัญเทาเทียมกันหมด เชน ทําขาวผัดหมูหนึ่งxxx xxxx ขาว เนื้อหมู ผัก และเครื่องปรุงรสตางๆถือวามีความสําคัญเทาเทียมกัน เชนนี้ขาวพัดหมูก็จะไมมีทรัพยใดเปน ทรัพยประธาน ถือวาเปนสวนควบทั้งหมด
ขอสังเกต ทรัพยประธานนั้นจริงๆแลวก็คือทรัพยที่เปนสวนควบนั่นเอง แตมีความสําคัญที่สุด(ซึ่งอาจ
นําเรื่องมูลคามาชวยพิจารณาประกอบได)จึงถือใหทรัพยนั้นเปนทรัพยประธานไป ทรัพยอื่นๆก็เรียกเปนทรัพย สวนควบตามxxxx
5. ในมาตรา 144 วรรคสองไดกําหนดไววาเจาของทรัพยยอมมีกรรมสิทธิ์ในสวนควบของทรัพยนั้น นั่น หมายถึงเปนเจาของทรัพยก็เปนเจาของสวนควบดวย เชน รถหนึ่งคันมี ก เปนเจาของ ก็เทากับวา ก เปน เจาของลอรถ เครื่องยนต โครงรถ ซึ่งถือเปนสวนควบทั้งหมด หรือแหวนเพชรวงหนึ่งมี ข เปนเจาของก็เทากับ วา ข เปนเจาของxxxxxxxxและเรือนแหวนที่ประกอบกันเปนแหวนเพชรนั้นทั้งหมด
ในบางกรณี ทรัพยที่มารวมเขากันxxxxxxจากเจา ของหลายคน จะนําบทบัญญัติมาตรา 144 วรรคxxx xxใชบังคับไมได เพราะถือวาทรัพยนั้นไมใชของคนๆเดียว แตเปนทรัพยที่คนหลายคนมีสวนในทรัพยนั้น เชนนี้ ปญหาวาใครเปนเจาของทรัพยนั้น กอนอื่นตองดูวาทรัพยนั้นมีทรัพยประธานหรือไม ถามี กฎหมายก็กําหนดวา
เจ ของทรัพยประธานถือเปนเจาของทรัพยน้นแตเพียงผูเดียว แตตองชดใชคาแหงทรัพยสวนควบอื่นๆใหแก
เจาของนั้น(ประมวลกฎหมายแพงฯ มาตรา 1316 วรรคสอง) เชน ก เปนเจาของเพชร ข เปนเจาของเรือน แหวน xxxxxxนํามารวมกันกลายเปนแหวนเพชรขึ้นมา ซึ่งอาจถือไดวาเพชรเปนทรัพยประธาน เพราะแหวนเพชร ยอมถือเพชรเปนสวนสําคัญ อีกxxxxxxxxยังxxxxxคาสูงกวาตัวเรือนแหวนมาก สวนเรือนแหวนก็ถือเปนทรัพยสวน ควบไป ดังนั้น ก จึงถือเปนเจาของทรัพยแตเพียงผูเดียว แตตองใชราคาเรือนแหวนใหแก ข
แตหากทรัพยนั้นไมมีทรัพยประธาน ทรัพยสวนควบมีความสําคญั เทากันหมด เจาของทรัพยทุกคนถือ เปนเจาของรวมกันแหงทรัพยนั้น ตามสวนมูลคาของทรัพยตนประมวลกฎหมายแพงฯมาตรา 1316 วรรคแรก) เชน ก มีทองคําxxx 20 บาทและ ข มีทองคําxxx 25 บาท ทั้งคูเอาทองคําที่ตนมีxxxมารวมกันแลวหลอมเปน พระพุทธรูปองคหนึ่ง เชนนี้ถือวาทองคําของ ก และ ข เปนสวนควบของพระพุทธรูปนี้(แมจะเปนทรัพยชนิด เดียวกันคือทองคํา แตก็เปนการนําทรัพยสองชิ้นมารวมเขากัน ไมใชเปนทรัพยเพียงชิ้นเดียวมาหลอเปน พระพุทธรูป) และถือวาทองคําทั้งของ ก และ ข มีความสําคัญเทากันจึงถือเปนเจาของรวมกัน(แมสวนของ ก จะนอ ยกวา ข ก็ตาม) ตามสวนของทรัพยที่ตนเปนเจาของ หากพระพุทธรูปองคนี้ใหเชา(ขาย)ไปในราคาหนึ่ง ลานแปดแสนบาท คิดตามสวนแลว ก ก็จะไดเงินแปดแสนบาท สวน ข ก็จะไดเงินหนึ่งลานบาท เปนตน
6. การเปนสวนควบน้ัน นอกจากจะเปนเนื่องจากเขาลักษณะตามมาตรา 144 แลว ในบางกรณี
กฎหมายก็ยังไดกําหนดไวเปนพิเศษใหทรพ
ยบางชนิดเปนสว
นควบหรือกําหนดใหท
รัพยบางชนิดไมเปนสวนควบ
ดวย เชนประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 145 “ไมยืนตนเปนสวนควบกับที่ดินxxxxxนั้นขึ้นxxx ไมลมลุกหรือxxxxxxxอันจะเก็บเกี่ยวรวงผลไดคราวหนึ่ง หรือหลายคราวตอปไมเปนสวนควบกับที่ดิน”
ในมาตรา 145 ไมยืนตนตามกฎหมายคือพันธุไมที่มีอายุเกิน 3 ปขึ้นไป ตนไมน้นจะxxxxxxขึ้นเองโดย xxxxxxxxหรือเกิดจากการนํามาปลูกลงไปในที่ดินก็ได ใหถือวาตนไมเปนสวนควบกับที่ดิน ดังน้นเจาของที่ดินก็ ถือเปนเจาของไมยืนตxxxxปลูกในที่ดินตนดวย(ตามหลักมาตรา 144 วรรคสอง) แตถาเปนกรณีที่ปลูกลงใน กระถางตนไมก็ไมถือวาปลูกลงในที่ดิน ไมตองดวยหลักกฎหมายมาตรา 145 วรรคแรก ดังนั้นจึงไมถือเปนสวน ควบกับที่ดินและไมเขาตามหลักกฎหมายมาตรา 144 วรรคสอง ตนไมในกระถางเปนของใครก็ตองถือคนนั้น เปนเจาของตามความจริง
ในวรรคสองนั้นไมลมลุกหมายถึงพันธุไมที่มีอายุไมเกิน 3 ป สวนxxxxxxxอันจะเก็บเกี่ยวรวงผลไดคราว หนึ่งหรือหลายคราวตอป เชน ขาว พืชผักสวนครัวตางๆ ขาวโพด ฯลฯ เหลานี้กฎหมายกําหนดใหไมเปนสวน ควบกับที่ดิน ก็จะไมเขาดวยบทบัญญัติมาตรา 144 วรรคสอง ใครนํามาปลูกไวก็ถือวาผูนั้นเปนเจาของแทจริง
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 146 “ทรัพยซึ่งติดกับที่ดินหรือติดกับโรงเรือนเพียงชั่วคราว ไมถือวาเปนสวนควบกับที่ดินหรือโรงเรือนนนั้ ความขอนี้ใหใชบังคับแกโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสรางอยางอื่นซึ่งผูมี xxxxxในที่ดินของผูอื่นใชxxxxxนั้นปลูกสรางไวในที่ดินนั้นดวย”
ในมาตรา 146 กฎหมายกําหนดใหทรัพยที่เขาลักษณะตามบทบัญญัตินี้แมโดยหลักท่วไปแลวจะเขา ลักษณะเปนทรัพยสวนควบก็ตาม แตก็ใหยกเวนไมถือวาเปนทรัพยสวนควบ คือ
ก) ทรัพยที่ติดกับที่ดินหรือติดกับโรงเรือนเพียงชั่วคราว คือทรัพยxxxxxติดxxxกับที่ดินหรือโรงเรือนเปน การxxxx ตามสภาพของทรัพยน้นเอง หรือตามxxxxxของคูกรณีที่เกี่ยวของที่จะใหรื้อถอนทรัพยนั้นออกไป (เจาของทรัพยประธานไมวาจะเปนที่ดินหรือโรงเรือนกับผูที่นําทรัพยมาติดไว) เชน ไมยืนตนแมตามมาตรา 145 วรรคแรกจะถือเปนสวนควบกับที่ดิน แตถาเปนกรณีที่นํามาปลูกไวเพื่อที่จะตัดนําไปขาย ก็ถือวาเปนเพียงการ ปลูกไวชั่วครั้งคราว จะไมถือเปนสวนควบตามที่ยกเวนไวในบทบัญญัติมาตรา 146 หรือประตู หนาตาง หลังคา
บาน เหลานี้ถือไดวาเปนสวนควบของบาน(โดยมบานเปนทรัพยประธาน) แตถาประตู หนาตาง หรือหลังคาบาน
นั้นเปนการนํามาติดไวเพียงชั่วคราวเพื่อการใชสอยยามฉุกเฉินจําเปน และxxxxxxxจะxxxxxxxxxxในไมชา ก็ไม
ถือเปนสวนควบของบานตามข ยกเวนใน มาตรา 146 xxxก ัน ฯลฯ
***ขอสังเกต 1.ในบทบัญญัตินี้แฝงความหมายไว 2 ทาง กฎหมายบอกวาถาเปนการช่วคราวไมถือ เปนสวนควบ แตในทางกลับกัน ทรัพยที่ติดกับที่ดินในลักษณะเปนการxxxxxxยอมถือเปนสวนควบกับที่ดินนั้น เปนกรณีเอาอสงั หาริมทรัพยควบเขากบั อสงั หาริมทรัพย ดังนั้นในกรณีบานหรือไมยืนตนถาปลูกลงในที่ดินใน ลักษณะเปนการxxxx xxจะกลายเปนสวนควบกับท่ีดิน เจาของที่ดินยอมเปนเจาของบานหรือไมยืนตนนั้นดวย (แตถาเปนไมลมลุกหรือxxxxxxx กฎหมายกําหนดยกเวนไมถือเปนสวนควบไวแลว) สวนทรัพยที่ติดกับโรงเรือน เปนการxxxxxxยอมเขาลักษณะสวนควบตามหลักทั่วไปในมาตรา 144 xxxแลว เชนหนาตาง ประตู หลังคาบาน ดังxxxxxเคยอธิบายไว ซึ่งกรณีนี้จะมีผลในทางกฎหมายอยางมาก เชน ก มีที่ดินxxxแปลงหนึ่งและไดปลูกบานลง ไปในที่ดินนั้น ตอมา ก ขายที่ดินแปลงนี้ใหแก ข เมื่อ ข ไดเปนเจาของที่ดินผลตามกฎหมายคือยอมไดเปน เจาของบานหลังนั้นดวย เพราะถือวาบานเปนสวนควบกับที่ดิน เจาของทรัพยประธาน(ที่ดิน)ยอมเปนเจาของ
ทรัพยสวนควบ ตามมาตรา 144 วรรคสอง ข จึงไดไปทั้งบานและที่ดินโดยถูกตองตามกฎหมาย ดังน ทางแกใน
กรณีที่จะขายที่ดินนั้นก็คือตองมีการตกลงซื้อขายแยกตางหากจากกัน ขายที่ดินก็ตองทําสัญญายกเวนไมขาย บานไวดวย หรือถาจะขายที่ดินก็ตองเผื่อราคาบานไวดวย เปนตน
ขอสังเกต 2. นอกจากนี้สัญญาที่ตองมการสง มอบการxxxxxxxxxxxส ญญาเชา สัญญาฝาก สัญญายมื
การใหเชา ฝาก หรือยืมทรัพยใดๆยอมผูกพันไปถึงทรัพยสวนควบดวย เชน ใหเชาที่ดิน ยอมหมายถึงใหเชาบาน
ซึ่งเปนสวนควบของที่ดินน้ันดวย ดังน้นทางแกก็เชนเดียวกับการขายคือตองมีการกําหนดไวในสัญญาแยก ตางหากจากกนั ใหเชาที่ดินเพียงอยางเดียวไมรวมถึงบาน หรือใหยืมบานก็ตองสงมอบการครอบครองตัวบาน หลังคา หนาตาง ประตูซึ่งเปนสวนควบกับตัวบานดวย จะใหยืมโดยเอาหลังคา ประตู หนาตางออกไปไมได ฯลฯ
ข) โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสรางซึ่งผูxxxxxใชเจาของที่ดินนํามาปลูกสรางลงไวในที่ดิน โดยที่ผูที่นํามาปลูก สรางมีxxxxxxxxจะปลูกสรางได เชนไดรับxxxxxเหนือพื้นดินจากเจาของที่ดินบนที่ดินนั้น ซึ่งจะมีผลทําใหมีxxxxxปลูก สรางโรงเรือนหรือสิ่งกอสรางลงบนที่ดินนั้นได แมตนจะไมใชเจาของที่ดินก็ตาม
ขอสังเกต ใหดูตัวอยางในขxxxxxxxxxxกลาวไวที่ ก). อยางกรณีที่เราตกลงขายที่ดินอยางเดียวไมขายบาน
เมื่อ ข ไดเปนเจาของที่ดินแลวยอมมีxxxxxเรียกใหเรารื้อถอนบานออกไปจากที่ดินได ดังนั้นทางแกไขคือ ในการ
ทําสัญญาซื้อขายใหตกลงขอxxxxxเหนือพนดินในที่ดินแปลงนั้นไวดวย เพื่อจะไดอาศัยxxxxxxxxในการตั้งบานในที่ดิน
ตอไป (เกี่ยวกับเรื่องxxxxxเหนือพื้นดินซึ่งเปนทรัพยสิทธิอยางหนึ่งเราจะศึกษาโดยละเอียดในภายหนา) นอกจากนี้ยังมีขอยกเวนหลักทั่วไปที่วาเจาของทรัพยเปนเจาของสวนควบตามมาตรา 144 วรรคสอง
อีก คือมาตรา 1310-1316 ซึ่งเปนเรื่องเกี่ยวกับการสรางโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสรางอยางอื่น รวมไปxxxxxx xxxxxxxxตนไมในที่ดินของผูอื่น โดยไมมีxxxxxตามกฎหมายดวย ฯลฯ ซึ่งจะไดกลาวโดยละเอียดอีกครั้ง
อุปกรณของทรัพย
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 147 “อุปกรณ หมายความวา สังหาริมทรัพยซึ่งโดยxxxx xxxxเฉพาะถิ่น หรือโดยxxxxxชัดแจงของเจาของทรัพยที่เปนประธานเปนของใชประจําxxxกับทรัพยที่เปน ประธานเปนxxxxxเพื่อประโยชนแกการจัดดูแล ใชสอย หรือรักษาทรัพยท่ีเปนประธาน และเจาของทรัพยได นํามาสูทรัพยที่เปนประธานโดยการนํามาติดตอหรือ ปรับเขาไว หรือทําโดยประการอื่นใดในฐานะเปนของใช ประกอบกับทรัพยที่เปนประธานนั้น
อุปกรณที่แยกออกจากทรัพยที่เปนประธานเปนการชั่วคราวก็ยังไมขาดจากการเปนอุปกรณของทรัพย ที่เปนประธานนั้น
อุปกรณยอมตกติดไปกับทรัพยที่เปนประธาน เวนแตจะมีการกําหนดไวเปนอยางอื่น”
ความหมายของอุปกรณตามกฎหมายกบ
ความหมายตามพจนานุกรมน
แตกตางกัน หากพูดถึงอุปกรณ
ตามความหมายในพจนานุกรมแลว ยอมหมายถึง เครื่องมือ เครื่องใช เครื่องชวย เครื่องประกอบ ซึ่งกอนที่จะ ทําการศึกษาตอไปขอใหลืมความหมายตามพจนานุกรมไปเสียกอน คําวาอุปกรณที่จะกลาวตอไปนี้ ทุกๆคําคือ อุปกรณตามความหมายในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยเทานั้น ถานํามาปนกันอาจxxxxxxx
ความหมายของอุปกรณxxxxxxxxxxในมาตรา 147 ซึ่งมีลักษณะดังนี้
1. ต งเปนสังหาริมทรัพยเทาน้น ถาเปนอสังหาริมทรัพยไมอาจเปนทรัพยอุปกรณได แตอยางไรก็ดี
อสังหาริมทรัพยxxxxxx “มี” ทรัพยอุปกรณได กฎหมายกําหนดไวเพียงแตทรัพยที่จะมาเปน เปนสังหาริมทรัพยเทานั้น
ทรัพยอุปกรณตอง
ขอสังเกต กฎหมายคําวาทรัพย ดังนั้นอุปกรณตามมาตรา 147 นี้จึงตองเปนวัตถุมีรูปราง มีราคาและ
ยึดถือเอาไดเทาน้ัน ซ่ึงก็สอดคลองเม่ือพิจารณาถึงหลักความเปนจริง แตเราอาจไดยินเกี่ยวกับเรื่องสัญญา ประธานและสัญญาอุปกรณ ซึ่งเปนคนละเรื่องกับบทบัญญัติมาตรา 147 น้ี เอาไวเราจะศึกษาตอไปในภายหนา
2. อุปกรณจะตองมีทรัพยประธานใหยึดเกาะ ความหมายในxxxxxxxxไดหมายถึงทรัพยอุปกรณตองติดตรึง xxxกับทรัพยประธาน แตทรพั ยอุปกรณเปนทรัพยที่มีไวเพื่อประโยชนแกทรัพยประธาน ดังนั้นหากไมมีทรัพย ประธานทรัพยอุปกรณก็จะดํารงxxxไมได อยางที่เราไดเคยศึกษาแลววาทรัพยประธานคือทรัพยที่มีความสําคัญ ที่สุดหรือเปนทรัพยตัวหลัก ถาไมมีทรัพยประธานก็จะไมมีทรัพยอุปกรณ ตัวอยางเชน เครื่องดนตรีที่ชื่อวากีตาร ตัวกีตารถือไดวาเปนทรัพยประธาน สวนสายกีตารที่นํามาใสถือเปนทรัพยอุปกรณของตัวกีตาร แตถาไมม
ตัวกีตาร มีแตสายกีตาร สายน ก็จะไมถือเปนทรัพยอุปกรณ หรืออยางเรือพาย ตัวเรือถือเปนทรัพยประธาน
พายเปนทรัพยอุปกรณของเรือ แตถาเปนไมมีตัวเรือ มีแตพาย ก็จะไมถือวาพายเปนทรัพยอุปกรณ ก็เปนทรัพย ธรรมดาxxxxxxxxหนึ่ง
ขอสังเกต อุปกรณแตกตางจากสวนควบตรงที่สวนควบไมจําเปนตองมีทรัพยที่เปนประธานก็ได ทรัพย
ที่มารวมเขากันอาจมีความสําคัญเทาเทย
มกันทงั้ หมด แตอุปกรณเปนทรัพยทม
ีเพื่อประโยชนของทรัพยประธาน
ดังนั้นอุปกรณจะxxxxxxxxxได ตองมีทรัพยประธานxxxดวยเสมอ
3. อุปกรณเปนทรัพยที่xxxxxxแยกออกจากทรัพยประธานได โดยไมตองทําลาย ทําใหบุบสลายหรือ ทําใหทรัพยนั้นเปลี่ยนรูปรางหรือแปรสภาพไป แตถาเปนกรณีที่แยกจากทรัพยประธานไมไดก็จะกลายเปนสวน ควบไป สิ่งที่เปนสวนควบก็จะเปนอุปกรณไมได เชน ลอหรือพวงมาลัยรถยนตถือเปนสวนควบกับรถ เพราะไม อาจแยกจากกันโดยxxสภาพของรถไวได แตถาเปนอะไหลของลอหรือพวงมาลัยที่มีสํารองxxxxxxในรถ อยางนี้ ถือเปนอุปกรณ เพราะไมไดมีลักษณะรวมเขากันกับรถเปนทรัพยเดียวกัน แตแยกตางหากออกจากตัวรถ และมี ไวเพื่อประโยชนในการบําxxxxxxxxหรือใชสอยรถ(ทรัพยประธาน)
ขอสังเกต เปนไปไดหรือไมที่ทรัพยอยางหนึ่งจะถือเปนสวนควบและอุปกรณในเวลาเดียวกัน หาก
พิจารณาจากมาตรา 147 แลวเราจะเห็นวา อุปกรณเปน “ของใช” ซึ่งโดยลักษณะแลวทรัพยที่เปนของใชจะมี ลักษณะเปนชิ้นๆ ไมติดตรึงหรือรวมเขากันกับทรัพยประธานจนแยกออกจากกันไมได ดังนั้นจึงไมอาจเปนไปได ที่ทรัพยอุปกรณจะxxxxxxเปนสวนควบดวย
4. อุปกรณตองไมใชทรัพยประธาน เพราะถาอุปกรณเปนทรัพยประธาน เทากับxxxxxxดํารงxxxไดโดย ไมตองอาศัยการมีxxxของทรัพยประธาน ดังนั้นอุปกรณจะไมมีความสําคัญเทาเทียมกับทรัพยประธาน
5. อุปกรณต งเปนของใชประจําอยกับทรัพยท่เี ปนประธานเปนxxxxx(คือนํามาประจําอยกับู ทรัพย
ประธานอยางสม่ําเสมอ เปนxxxx) เพื่อประโยชนแกการจัดการดูแล ใชสอยหรือรักษาทรัพยประธาน หากไมใช มีไวเพื่อการดูแลรักษาหรือเพื่อประโยชนในการใชสอย “ทรัพยประธาน” ก็จะไมถือเปนอุปกรณ
ขอสังเกต กฎหมายxxxxxxxวาเปนของใชประจําxxxกับทรัพยที่เปนประธานxxxxx xxไดหมายความวา
ประจําxxxตลอดเวลา แตหมายถึงประจําxxxอยางสม่ําเสมอซึ่งอาจไมใชตลอดเวลาก็ได และในความเปนจริงแลว ตองคํานึงถึงสภาพของทรัพยดวย บางกรณีทรัพยอุปกรณอาจไมไดประจําหรือxxxกับทรัพยประธานตลอดเวลา
หรือแทบจะไมไดประจําxxxกบ
ทรพ
ยประธานเลย ตองคํานึงถึงประโยชนแหงการใชสอยเปนหลัก เชน แมกุญแจ
กับกุญแจที่ใชไข กุญแจไขถือเปนอุปกรณของแมกุญแจ แตโดยสภาพแลวไมไดประจําxxxกับแมกุญแจ เจาของ กุญแจมักพอดอกกุญแจไวกับตัว เปนตน อยางในกรณีนํายาเช็ดรถถานํามาxxxxxxประจําในรถก็ยอมถือเปน อุปกรณของรถได แตถาเปนกรณีxxxxxไดประจําไวในรถตลอดเวลา xxxxxxที่บานบางบางครั้งบาคราว ก็ยังถือเปน อุปกรณของรถอยู แตถานํายาเช็ดรถน้นxxxxxxในบาน ถึงเวลาจะลางรถก็เอาออกมาครั้งหนึ่ง เชนนี้ถือวาไม ประจําxxxกับทรัพยประธานเปนxxxxx เราก็จะไมถือเปนอุปกรณของรถนั้น
6. การพิจารณาวาทรัพยน้นเปนของใชประจําxxxกับทรัพยประธานเปนxxxxx เพื่อประโยชนในการ จัดการดูแล ใชสอยหรือรักษาทรัพยประธานนั้น ตองพิจารณาโดยคํานึงถึงxxxxxxxxเฉพาะถิ่นหรือxxxxxชัดแจง ของ “เจาของทรัพยประธาน”
คําวาxxxxxxxxเฉพาะถิ่น หมายถึงคํานึงถึงสภาพหรือการใชสอยโดยxxxxในทองถิ่นนั้นๆ ซึ่งแตละ ทองถิ่นอาจมีความแตกตางกันไป เชน แตเดิมรถยนตมีโครงรถเปนเหล็ก ซึ่งเมื่อโดนน้ําทะเลอาจทําใหเกิดสนิม ไดงาย ผูมีรถในจังหวัดที่xxxใกลทะเลจึงอาจตองมีนํายาเช็ดรถชนิดพิเศษที่ปองกันการเกิดสนิมจากน้ําทะเล ประจํารถได ทั้งนี้เพื่อใชในรักษาสภาพรถซึ่งเปนเรื่องxxxxเฉพาะถิ่นนั้นๆ แตหากเปนจังหวัดxxxxxไดxxxใกลทะเล ผูมีรถก็ไมจําเปนตองมีน้ํายาเช็ดรถชนิดพิเศษนี้ เพราะมีไวก็คงไมไดใชสอยแตอยางใด น้ํายาเช็ดรถดังกลาวจึงไม ถือเปนอุปกรณของรถ
สวนคําวาxxxxxชัดแจงของเจาของทรัพยประธาน หมายถึงเจาของทรัพยประธานxxxxxxxxxxxxxxxxจะ ใหทรัพยใดๆ เปนของใชประจําแกทรัพยประธานเพื่อประโยชนในการจัดการดูแล ใชสอย หรือรักษาทรัพย ประธาน อยางตวั อยางเรื่องน้ํายาเช็ดรถชนิดพิเศษขางตน ถาเจาของรถxxxxxxxที่จะเก็บประจําไวในรถยนต เพ่ือเวลาออกไปทํางานหรือไปเที่ยวในจังหวดั ที่รถอาจตองไปสัมผัสน้ําทะเล ก็จะไดนํามาใชไดสะดวก ก็ถือวา น้ํายาเช็ดรถนั้นเปนอุปกรณของรถเชนกัน
ขxxxxxxx xxจําเปนตองเขากรณีที่เปนxxxxxxxxเฉพาะถิ่น หรือxxxxxชัดแจงของเจาของทรัพย
ประธานทั้งสองกรณี หากแตเขากรณีใดกรณีหนึ่งถือวาเขาหลักเกณฑแลว
7. เจาของทรัพยประธานเปน
ผูนํามาติดตอหรอ
ปรบ
เขาไว หรือทําโดยประการอื่นใดในฐานะเปนของใช
ประกอบกับทรัพยที่เปนประธานนั้น ดวยxxxxxของเจาของทรัพยประธานเอง หลักเกณฑขอนี้ไมไดหมายความ
วาเจ ของทรัพยประธานเปนผูนํามาติดตอหรือปรับเขากับทรัพยประธานดวยมือตนเอง แตหมายถึงเจาของ
ทรัพยxxxxxxxที่จะนํามาติดหรือปรบั เขาไว(รวมไปxxxxxxนํามาประจําไวกับทรัพยประธานดวย) ซึ่งอาจจะไมได ลงมือทําเองก็ได แตถาเปนกรณีที่ผูอื่นนํามาติดไวไมเกี่ยวกับความประสงคของเจาของทรัพยประธาน ทรัพยที่
นํามาติด ปรับ หรือประจําไวกับทรพ
ยประธานนั้นก็จะไมถือเปน
อุปกรณ เชน ก เจาของรถยนต ข เพื่อนบานขอ
ยืมรถไปใชระหวางที่ยืมxxxก็นําอะไหลรถยนตตางๆมาใสไวประจํารถไวเผื่อกรณีฉุกเฉินจะไดมีเปลี่ยน เชนนี้ อะไหลตางๆนั้นไมถือเปนอุปกรณของรถ เพราะไมใชกรณีที่ ก เจาของทรัพยประธานเปนผูนํามาใสไว แตถามี ขอเท็จจริงxxxxxวา ก ซื้ออะไหลพวกนั้นไวเลย หรือ ข ยกอะไหลดังกลาวใหแก ก และ ก ก็ยอมรับไว เชนนี้ถือวา ก เปนผูนํามาใสประจําไวในรถ ทําใหอะไหลตางๆนั่นกลายเปนอุปกรณตามมาตรา 147 แม ก จะไมไดไปแตะ
ตองขยับยายอะไหลเหลา นั้นเลยก็ตาม การพิจารณาหลักเกณฑในขxxxxxงึ ตองดูความประสงคของเจา ของทรพย ประธานเปนหลัก
8. ในมาตรา 147 วรรคสองกฎหมายไดxxxxxxxวา “อุปกรณที่แยกออกจากทรัพยที่เปนประธานเปน การชั่วคราวก็ยังไมขาดจากการเปนอุปกรณของทรัพยที่เปนประธานนั้น” คือทรัพยใดที่ถือเปนทรัพยอุปกรณ แลว หากแยกออกจากทรัพยที่เปนทรัพยประธานเปนการชั่วคราวก็ยังxxxxxxเปนอุปกรณของทรัพยประธานxxx จึงเห็นไดวาทรัพยที่นํามาประจําไวกับทรัพยประธานนั้นไมจําเปนตองประจําxxxตลอดเวลา อาจแยกออกจาก ทรัพยประธานชั่วครั้งชั่วคราวได ซึ่งกฎหมายก็ยังถือวาทรัพยนั้นเปนอุปกรณของทรัพยประธานxxxเชนเดิม เชน ก มีน้ํายาเช็ดรถที่มีไวประจํารถ ถือเปนอุปกรณของรถนั้น แตหาก ข เพื่อนบานมาขอยืมไปใชชั่วคราวแลวจะ นํามาคืน เชนนี้น้ํายาเช็ดรถก็ยังถือเปนอุปกรณของรถ ก xxxเชนเดิม
9. ในมาตรา 147 วรรคสาม กฎหมายxxxxxxxวา “อุปกรณยอมตกติดไปกับทรัพยทเี่ ปนประธาน เวนแต
จะมีการกําหนดไวเปนอยางอื่น” อานดูแลวเทียบกับมาตรา 144 วรรคสอง ที่วาเจาของทรัพยยอมมีกรรมสิทธิ์ ในสวนควบของทรัพย โดยความหมายแลวมาตรา 147 วรรคสาม จะมีความหมายใกลเคียงกับมาตรา 144 วรรคสอง เพราะการท่ีทรัพยอุปกรณจะตกติดไปทรัพยประธานไดนั้น เจาของทรัพยประธานยอมมีxxxxxในทรัพย อุปกรณดวย ความหมายคือเจาของทรัพยอุปกรณกับทรัพยประธานตองเปนคนเดียวกัน(มีกรรมสิทธิ์ในทรัพย ประธานและกรรมสิทธิ์ในทรัพยอุปกรณ) ซึ่งสอดคลองกับเจาของทรัพยยอมมีกรรมสิทธิ์ในสวนควบ ดังนั้นถา เจาของทรัพยประธานไมใชเจาของทรัพยที่นํามาประจําไวกับทรัพยประธาน แมเจาของทรัพยประธานจะนํามา เองก็ไมถือเปนอุปกรณ เชน ก เปนเจาของรถ สวน ข มีอะไหลยางรถxxx ก ขอยืมอะไหลนั้นจาก ข มาไวที่รถ เชนนี้แม ก จะเปนผูนําอะไหลยางรถมาประจําไวที่รถ อะไหลยางรถนั้นก็ไมถือเปนอุปกรณของรถของ ก
กฎหมายกําหนดใหอุปกรณยอมตกติดไปกับทรัพยประธาน เวนแตจะมีการกําหนดไวเปนอยางอื่น คือ
ทร ยประธานนน้ั หากมีการโอนกรรมสิทธิ์ไปใหแกบุคคลอื่น อุปกรณยอมตองโอนตามทรัพยประธานไปดวย
หรือในกรณีสงมอบทรัพยประธานใหผูอื่นครอบครองเปนการชั่วคราว โดยอาจเกิดจากสัญญาเชา สัญญายืม หรือสัญญาฝากทรัพยก็ได เพราะสัญญาเหลานี้จําเปนตองมีการสงมอบทรัพยใหแกคูสัญญา ดังนั้นตาม
บทบัญญัติมาตรา 147 วรรคสาม การสงมอบทรัพยกจําเปxxxxจะตองสงมอบทรัพยอุปกรณไปดวย แตอยาง ไรก็ดี
กฎหมายก็ยังไดxxxxxxxตอไปอีกวา “เวนแตจะมีการกําหนดไวเปนอยางอื่น” หมายถึงมีการตกลงไวเปนพิเศษ เกี่ยวกับทรัพยอุปกรณไวตางหากวาจะไมโอนหรือสงมอบทรัพยอุปกรณให
ตัวอยาง ก มีรถยนตxxxคันหนึ่งราคาหนึ่งลานบาท ภายในรถมีอะไหลลอรถxxxxxxยามฉุกเฉินxxxเสน
หนึ่งราคาสามหมื่นบาท เชนนี้อะไหลถือเปนอุปกรณของรถ ตอมา ก ขายรถคันนี้ใหแก ข ในราคาหนึ่งลานบาท โดยไมไดมีการตกลงกันไวเปนพิเศษอยางอื่น ข ก็จะไดไปทั้งรถราคาหนึ่งลานบาทและอะไหลลอราคาสามหมื่น บาท โดยจายให ก เฉพาะราคารถหน่ึงลานเทานั้น ตามบทบัญญัติมาตรา 147 วรรคสามซึ่งกําหนดวาอุปกรณ ยอมตกติดไปกับทรัพยประธานเสมอ เทากับ ก ขาดทุนไปสามหม่ืนบาท แตถา ก ขายรถให ข โดยกําหนดวา การซื้อขายนี้ไมรวมอะไหลลอรถซึ่งเปนทรัพยอุปกรณ เชนนี้ถือเปนกรณีที่มีการตกลงไวเปนพิเศษ ก็จะเขา ขอยกเวนตามมาตรา 147 วรรคสาม ข ก็จะไดไปแตรถราคาหนึ่งลานบาท สวนอะไหลลอรถซึ่งเปนอุปกรณของ รถไมโอนตามไปดวย หรือเปล่ียนขอเท็จจริงจากสัญญาซ้ือขายเปนสัญญาเชา ก ให ข เชารถ การสงมอบรถก็ ตองสงมอบอะไหลรถไปใหได เวนแตจะมีการกําหนดวาใหเชาเฉพาะรถอยางเดียว ไมรวมไปถึงอะไหลลอรถ
แตถาทรัพยใดไมถือเปนอุปกรณ ก็จะไมเขาบทบัญญัติมาตรา 147 วรรคสามนี้ เชน น้ํายาเช็ดรถxxxxxxx xxในบาน ไมไดนําประจําไวที่รถ ไมถือเปนอุปกรณของรถ หากขายรถคันนี้ก็เพียงแตสงมอบรถใหแกผูซื้อเทานั้น นํ้ายาเช็ดรถไมจําเปนตองสงมอบตามไปดวย ฯลฯ
อยางไรก็ดีทรัพยใดที่เขาลักษณะเปนอุปกรณ ตอมาทรัพยนั้นอาจสิ้นสภาพจากการเปนอุปกรณ กลายเปนทรัพยธรรมดาชิ้นหนึ่งโดยxxxxxของเจาของทรัพยประธานก็ได เชน น้ํายาเช็ดรถxxxxxxนํามาประจําไว ในรถ ตอมาเจาของไดนําออกจากรถไปxxxxxxในบานแทน เชนนี้น้ํายาเช็ดรถนั้นจากxxxxxxxxxxเปนทรัพยอุปกรณ ของรถ ก็จะกลายเปนทรัพยธรรมดาชิ้นหนึ่งไป เปนตน
องคxxxxxxxxxการเปนอุปกรณ
1. อุปกรณจะตองมีทรัพยที่เปนประธาน
2. อุปกรณจะตองเปนสังหาริมทรัพย
3. อุปกรณจะตองไมมีสภาพรวมกับทรัพยที่เปนประธานจนไมxxxxxxแยกออกจากกันได
4. อุปกรณตองไมใชเปนทรัพยที่เปนประธานดวยกันหรือมีความสําคัญเทากัน
5. อุปกรณจะตองเปนทรัพยที่เปนเจาของเดียวกันกับทรัพยที่เปนประธาน
6. อุปกรณจะตองเปนของใชประจําxxxกับทรัพยที่เปนประธานเปนxxxxx ขอสังเกต มีหลักเกณฑ 2 ประการ คือ
6.1 พิจารณาจากxxxxxxxxเฉพาะถ่ิน
6.2 พิจารณาจากxxxxxของเจาของทรัพยที่เปนประธาน
7. อุปกรณตองใชประจําเปนxxxxxกับทรัพยที่เปนประธานเพื่อประโยชนในการจัดดูแล ใชสอย หรือ รักษาทรัพยที่เปนประธาน
คําพิพากษาxxxxxxx 1814/2545 จําเลยนําวิทยุxxxxxเลนเทป เครื่องเลนซีดี ลําโพงและอุปกรณ เครื่อง
เสียงมาสร
ถทเี่ ชาซื้อก็เพื่อประโยชนของจําเลยมิใชเพอ
ประโยชนแกการจัดดูแล ใชxxxxxx
รกษาxxxxxx
xxเปน
ประธานคือรถxxxxxาซื้อทรัพยดงั กลาวจึงมิใชอป และพาณิชย มาตรา 147 วรรคทาย
กรณอันจะตกติดไปกับทรัพยป
ระxxxตามประมวลกฎหมายแพง
สัญญาเชาซื้อที่ระบุวา หากผูเชาซื้อนําสิ่งของเขา มาดัดแปลงตอ
เติม ติดหรือตั้งxxxในตัวทรัพยส
ินท
เชาซื้อ สิ่งนั้นจะตกเปนสวนหนึ่งของตัวทรพ
ยสินทเี่ ชาซื้อและเปนกรรมสท
ธิ์ของ เจาของทันที มีที่มาจากปญหา
xxxxxxxจะxxxxxxโจทกท
ี่ตองพพ
าทกบ
ผเู ชาซื้อในกรณีที่ ผูเชาซื้อนําสงิ่ ของเขามาดัดแปลง ตอเติม ติดหรือตั้งกับ
ทรัพยทเี่ ชาซื้อและจะเอาสิ่งของนั้นคืน เมื่อตองคืนทรัพยx
xxxxาซื้อแกโจทก แตการรอ
สงิ่ ของที่วานั้นออกไปจะทํา
ใหทรัพยx
xxxxาxx
xxxxxxxได ฉะนั้น ลําพังการทจ
ําเลยนําทรพ
ยดังกลาวมาสูตัวรถทเี่ ชาซื้อ ยอมไมถึงขนาดทจะ
กอใหเกิดความเสียหายหากจะตอ
งรอ
ออกไป จึงไมxxxในขอบแหงขอสัญญาดังกลาว โจทกไมอ
าจยกมาเปนเหตุ
ไมคืนวิทยุ เครื่องเลนเทป เครื่องเลนซีดี ลําโพงและอุปกรณเครื่องเสียงใหแกจําเลย
คําพิพากษาxxxxxxx 201/2487 ในสัญญาซื้อขายระบุวาขายทด เรือนบนที่ดินซงึ่ เสาไมไดฝง ดินดวย
ินกับสงิ่ ปลูกสรางบนที่ดินนั้นยอมครอบถึงโรง
ขาย
กรณีที่ถือวาชอไฟฟาที่ติดxxxกับสิ่งปลูกสราง ไมใ ชเปนxxxx
xอป
กรณซ
ึ่งไมตกติดไปกับสิ่งปลูกสรางท
8. อุปกรณจะตองเปนทรัพยที่เจาของทรัพยที่เปนประธานนํามาสูทรัพยที่เปน ประธานโดยการนํามา
ติดหรือปร
เขาไวหรือกระทําดวยประการใดในฐานะเปนเครื่อง ใชเพื่อประโยชนในการจด
ดูแลใชxxxxxx
รักษา
ทรัพยที่เปนประธาน
สรุปตารางเปรียบเทียบ | |
สวนควบ | อุปกรณ |
- เปนสังหาริมทรัพยหรืออสังหาริมทรัพย | - เปนสังหาริมทรัพยเทานั้น |
- เปนสาระสําคัญในความเปนxxxของทรัพย | - ไมเปนสาระสําคัญในความเปนxxxของทรัพย |
- มีลักษณะการรวมสภาพ | - ไมมีลักษณะการรวมสภาพ |
- ไมจําเปนตองเปนเจาของทรัพย | - ตองเปนเจาของทรัพยที่นํามารวมดวย |
ดอกผลของทรพั ย
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 148 xxxxxxxวา “ดอกผลของทรัพย ไดแก ดอกผลธรรมดา และดอกผลxxxxxxx
ดอกผลธรรมดา หมายความวา สิ่งที่เกิดขึ้นตามxxxxxxxxของทรัพยซึ่งไดมาจากตัวทรัพย โดยการมี หรือใชทรัพยนั้นตามxxxxxxxx และxxxxxxถือเอาไดเมื่อขาดจากทรัพยนั้น
ดอกผลxxxxxxx หมายความวา ทรัพยหรือประโยชนอยางอื่นxxxxxมาเปนครั้งคราวแกเจาของทรัพยจาก ผูอื่นเพื่อการxxxxxใชทรัพยนั้น และxxxxxxคํานวณและถือเอาไดเปนรายวันหรือตามระยะเวลาที่กําหนดไว”
ดอกผลของทรัพย คือ ทรัพยที่กอเกิดหรือไดมาเพราะการใชตัวแมทรัพย(ทรัพยหลัก) โดยมีลักษณะ xxxxxxจากตัวแมทรัพยxxxxxxx xxวาจะเปนการxxxxxxหรือกอเกิดขึ้นตามxxxxxxxxของทรัพยหรือไดมาโดยผล ของกฎหมายก็ตาม ทรัพยที่เปนดอกผลแมจะแยกออกจากแมทรัพย ก็ไมไดกระทบกระเทือนหรือมีผลตอความ ดํารงxxxของแมทรัพยแตอยางใด เชน แมวัวคลอดลูกวัวออกมา ลูกวัวถือเปนดอกผลเพราะเปนทรัพยที่กอเกิด หรือxxxxxxมาจากแมทรัพย(แมวัว) และการxxxxxxหรือกอเกิดออกxxxxxxไมไดทําใหแมวัวตองตาย เสียอวัยวะ หรือกระทบกระเทือนถึงความดํารงxxxของแมวัวแตอยางใด หรือนมวัวก็ถือเปนดอกผลของแมวัว แตหากเปนลนิ้ ขา หางของวัว เชนนี้ถือเปนอวัยวะที่มีมาแตกําเนิด หากเราตัดทิ้งไปแลวอวัยวะเหลานี้ไมถือเปนดอกผล เพราะ
เมื่อแยกออกมาแลวมีผลกระทบถึงตัวแมทรพ
ย (อีกทั้งอวัยวะเหลานี้ก็ไมถือเปนสว
นควบ เพราะเปนสิ่งทร
วมเขา
กันมาแตเดิมตามxxxxxxxx ไมใชเปนกรณีที่เอาทรัพยสองสิ่งมารวมเขากันภายหลัง) แตขนสัตวถือเปนดอกผล เพราะแมจะตัดไปแลวก็xxxxxxขึ้นเองไดตามxxxxxxxx ไมไดกระทบกระเทือนถึงตัวแมทรัพย
แมทรัพยนั้นมาตรา 148 ไดกําหนดวาดอกผลของทรัพยมี 2 ชนิด คือดอกผลธรรมดา และดอกผลxxxx
xxx
1. ดอกผลธรรมดา ความหมายอยในู มาตรา 148 วรรคสอง คอื ทรัพยท่เี กิดหรือxxxxxxจากแมทรัพย
โดยxxxxxxxx หรือโดยการใชแมทรัพยตามxxxx และxxxxxxถือเอาไดเมื่อขาดจากแมทรัพยนั้น หมายถึงเมื่อ
ทรัพยที่เกิดหรือxxxxxxนั้นแยกขาดหรือหลุดออกจากตัวแมทรัพยแลว
xxxxxxถือกรรมสท
ธิ์ ถือการครอบครอง
แยกตางหากจากตัวแมทรัพยได(แยกออกไปเปนทรัพยใหม ไมเกี่ยวของกับตัวแมทรัพยอีก) เชน ผลมะมวงที่ติด
xxxกับตน เมื่อมะมวงหลุดจากต แลว ก็กลายเปนผลมะมวงที่แยกตางหากจากตน(แมทรัพย) xxxxxxเขาถือ
ครองได เปนเจาของกรรมสิทธิ์ผลมะมวงนั้นได เปนทรัพยxxxxxxxxxมาจากตนมะมวงตามxxxxxxxx ถือเปนดอก ผลธรรมดา เปนตน
หรือที่ดินที่มีเห็ด หัวมันขึ้นตามxxxxxxxx เห็ดและหัวมันxxxxxxหลุดหรือxxxxxxxxโดยไม
กระทบกระเทอนถึงที่ดิน ก็อาจถือเปนดอกผลของที่ดินนั้นไดเชนกัน แตถาเปนกรณีที่มนุษยเอามาปลูกไว อยาง
นี้ไมใชกรณีที่เกิดขึ้นเองตามxxxxxxxx ก็ไมถือเปนดอกผลธรรมดา หรือมีตนไมขึ้นบนที่ดิน หากเปนไมยืนตนก็ อาจถือเปนสวนควบแทนได ดังนั้นตองดูเปนกรณีไป
ขอสังเกต 1.การจะถือวาเปนดอกผลได ตองไดความวาทรัพยนั้นหลุดหรือแยกออกจากตัวแมทรัพย แลวดวย อาจจะเปนกรณีที่หลุดหรือแยกออกจากตัวแมโดยxxxxxxxxหรือเกิดจากการกระทําของมนุษยก็ได แต ถายังติดxxxกับตัวแมทรัพยก็ยังไมเปนดอกผล ทั้งนี้เพราะกฎหมายกําหนดวาดอกผลธรรมดานั้นจะยึดถือเปน
เจาของทรัพย ไดก็ตอเมื่อไดแยกออกจากแมทรัพยแลว เชนผลมะมวงที่ยังติดอยกับู ตน เชนน้ยังี ไมถือเปน
ดอกผลของทรัพย เห็ดหรือxxxxxxxxxเกิดขึ้นตามxxxxxxxx ถาไมหลุดแยกออกจากที่ดินหรือไปขุดขึ้นมาก็ยังไมถือ เปนดอกผลของทรัพย หรือขนสัตวที่ยังไมไดตัด น้ํานมสัตวที่ยังไมไดxxxจากเตา รวมไปถึงลูกสัตวที่xxxในครรภ แมสัตว ฯลฯ
ขอสังเกต 2.ทําไมทรัพยที่เปนสวนควบจึงไมอาจเปนดอกผลได เพราะอยางที่เราไดศึกษามาแลววา
ทรัพยสวนควบไมอาจแยกออกจากกันได เวนแตจะทําลาย ทําใหบุบสลายหรือแปรสภาพทรัพยไปเปนอยางอื่น ซ่ึงแตกตางจากดอกผลที่xxxxxxแยกออกไปไดโดยไมกระทบกระเทือนถึงตัวแมทรัพย แตอยางไรก็ดี ทรัพยสวน ควบก็ยอมมีดอกผลได เชน ทุเรียนเปนไมยืนตนปลูกxxxในที่ดิน ทุเรียนยอมเปนสวนควบกับที่ดินตามมาตรา
145 วรรคหนึ่ง แตผลทุเรียนก็ยอมถือเปนดอกผลของตนทเุ รยนได ฯลฯ แตในกรณีที่เปนพืชลมลุกหรือธัญชาตท
ขึ้นในที่ดินตามxxxxxxxx ซึ่งไมถือเปนสวนควบตามมาตรา 145 วรรคสอง หากการที่พืชลมลุกหรือxxxxxxxชนิด
นั้นๆหลุดจากที่ดินไมวาจะตามxxxxxxxxหรอ
ถือมนุษยตัดหรือถอนไปโดยไมมีผลกระกระเทือนถึงทด
ินนั้น ก็อาจ
ถือเปนดอกผลไดเชนเดียวกัน ซึ่งตองพิจารณาเปนกรณีไป
ขอสังเกต 3. โดยหลักแลวเจาของแมทรัพยยอมเปนเจาของดอกผลธรรมดาของทรัพยนั้นดวย
2. ดอกผลxxxxxxx ดอกผลชนิดนี้ไมไดเกิดขึ้นตามxxxxxxxxเหมือนดอกผลธรรมดา แตเปนดอกผลท่ี กฎหมายรับรองใหเปน ดอกผลนิตินับจะเกิดตอเมื่อแมทรัพยไปxxxกับผูอื่น และเกิดขึ้นในระหวางเวลาที่ผูอ่ืนได ใชแ มทรพั ยนัน้ ดอกผลxxxxxxxจะไมเกิดหากแมทรัพยxxxกับเจาของทรัพย การถือเอาดอกผลxxxxxxxxxเหมือน กรณีของดอกผลธรรมดาท่ีตองรอใหท รัพยหลุดหรือแยกออกจากตัวแมทรัพย แมตัวแมทรัพยจะยังxxxกับผูอื่น นั้นก็ตามก็อาจเขาถือดอกผลxxxxxxxxx โดยใหคํานวณและถือเอาไดรายวันหรือภายในระยะเวลาท่ีกําหนด
หลักเกณฑของทรัพยที่จะถือวาเปนดอกผลxxxxxxxมีดังนี้
ก) ดอกผลxxxxxxxมีลักษณะเปนสิ่งตอบแทนจากผูอื่นอันเนื่องมาจากที่ผูนั้นไดใชแมทรัพย ไมไดมี ลักษณะเกิดขึ้นตามxxxxxxxxแตเปนสิ่งxxxxxxxxxโดยผลของหรือขอตกลงระหวางเจาของแมทรัพยและผูใช
ทรัพย ซึ่งดอกผลxxxxxxxแตเดิมกฎหมายกาํ หนดไวคือดอกเบย กําไร คาเชา คาปนxx xxxอื่นๆxxxxxเปนครั้งคราว
จากผูใชทรัพย ซึ่งแมกฎหมายปจจุบันจะไดเปลี่ยนแปลงไป แตก็ยังยึดหลักเดิมไว ดอกเบี้ยในหนี้เงินนั้นโดยxxxx กฎหมายกําหนดวาถาไมไดตกลงกนั ไววาจะคิดดอกเบี้ยกนั เทาใด ก็ใหเจาหนี้คิดไดในอัตรารอยละ 7.5 ตอป แต ถามีการตกลงเรื่องดอกเบี้ยไวก็ใหเปนไปตามนั้น เชน หนี้จากการกูยืมเงินตกลงคิดดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 15 ตอป(อัตราสูงสุดของกฎหมาย ถาเกินกวานี้ดอกเบี้ยเปนโมฆะ) หรือในกรณีของคาเชานั้นก็คือคาเชาจากสัญญา เชานั่นเอง เพียงแตกรณีของสัญญาเชาแมทรัพยไมใชเงิน แตเปนทรัพยสินตางๆที่ใหเชา หรือกําไรนั้นก็เปนดอก
ผลxxxxxxxxxxเกิดจากการเอาเงินหรือทรัพยสินไปลงทุนเขาหุนเพื่อดําเนินกิจการจนมีกําไรมาแบงปนระหวางผูเปน หุนสวน เปนตน
ขอสังเกต ดอกผลxxxxxxxเกิดจากการ “ใช” ดังนั้นถามีลักษณะเปนทรัพยxxxxxจากการโอนหรือซื้อขายก็
ไมใชดอกผลxxxxxxx xxนชาวนาขายขาวแลวไดกําไรสามพันบาท กําไรนั้นไมถือเปนดอกผลเพราะไมใชทรัพยxxx xxxxxxจากการใชแมทรัพย หรือสัญญาจางตางๆเปนสัญญาตางตอบแทนที่เอาแรงงานแลกกับทรัพยสิน ทรัพยxxxxxxไดมาจึงไมเขาลักษณะเปนดอกผลxxxxxxx ฯลฯ
ข) ทรัพยxxxxxxxxxจากแมทรัพยตกไดแกเจาของแมทรัพย เปนxxxxxของเจาของแมทรัพยที่จะไดไป จะ ไมตกไดแกผูใชทรัพย ซึ่งถาพิจารณาแลวจะมีลักษณะที่ผูใชทรัพยตอบแทนใหแกเจาของแมทรัพยนั่นเอง การ ตกไดนี้มีลักษณะเปนxxxxxเรียกรอง เจาของแมทรัพยอาจยังไมไดรับดอกผลมาไวกับตัว แตมีxxxxxเรียกรองที่จะ เรียกใหผูใชทรัพยสงมอบดอกผลxxxxxxxนั้นได เชน ก กูยืมเงิน ข ไปหนึ่งหมื่นบาท ตกลงอัตราดอกเบี้ยรอยละ
10 ตอป ตอมา ข xxxxxxxxชระเงินตนและดอกเบย ดอกเบี้ยนั้นถือเปนดอกผลxxxxxxxแม ข จะยังไมไดชําระให ก
ก็ตาม แต ก ก็มีxxxxxxxxจะเรียกรองเอาจาก ข ได หรือคาเชาในกรณีที่ผูเชาไมยอมชําระ ผูใหเชาก็xxxxxx เรียกรองคาเชานั้นได
ขอสังเกต อยางไรก็ดีดอกผลxxxxxxxxxxตกไดก็ผอื่นทไี่ มใชเจาของทรัพยก็ได ซึ่งอาจเกิดจากโดยผลของ
กฎหมายคือมีกฎหมายกําหนดใหผูอื่นxxxxxใชเจาของแมทรัพยมีxxxxxxxรับดอกผลนั้นได หรือมีการตกลงกันโดย ชัดเจนระหวางผูใชทรัพยและเจาของแมทรัพย ใหผูอื่นเปนผูมีxxxxxxxรับดอกผลxxxxxxxนั้น
ค) ดอกผลxxxxxxxตองไดเปนครั้งคราว มีกําหนดระยะเวลาที่ผูใชทรัพยจะตองสงมอบดอกผลxxxxxxx ใหแกเจาของแมทรัพย แตไมจําเปนตองเปนระยะเวลาที่กําหนดแนนอนเสมอไปก็ได และอยางที่กลาวแลววา
เจ ของแมทรัพยไมจําเปนตองไดรับกอนจึงจะเรียกวาเปนดอกผลxxxxxxx เพราะดอกผลxxxxxxxกอใหเกิดxxxxx
เรียกรองระหวางผูใชทรัพยและเจาของแมทรัพย ถาผูใชทรัพยไมยอมใหเจาของแมทรัพยก็เรียกรองเอาได
ง) ดอกผลxxxxxxxxxจําเปนตองไดรับเปนเงินเสมอไป อาจเปนทรัพยสินอยางอื่นก็ได แตตองเจาลักษณะ ของดอกผลxxxxxxxตามมาตรา 148 วรรคสาม อยางคาเชาที่ตกลงกันเปนทรัพยสินอื่นแทนเงิน เชน ใหเชาหมูตัว ผูเพื่อไปผสมพันธุแลวสงลูกหมูxxxxxมาใหผูใหเชาปละ 5 ตัวแทนคาเชา หรือดอกเบี้ยสัญญากูยืมเงินที่กําหนดกัน ไววาใหสงขาวเดือนละ 1 ถังแทนดอกเบี้ยเปนเงิน ฯลฯ
ขอสังเกต ผลกําไรxxxxxจ
ากการขายทรัพยไมใชดอกผลนิตินย
แตผลกําไรxxxxxจ
ากการแบงกําไรของหาง
หุนสวนหรือเงินปนผลใหแกผูถือ หุนในบริษัท ถือวาเปนดอกผลxxxxxxx
ผูใดมีสท
ธิในดอกผล เจาของกรรมสท
ธิ์ในทรัพยส
ินเปนเจาของดอกผลของตัวแมทรพ
ยนั้น ไมวาจะเปนดอกผลxxxxxxxหรือ
ดอกผลธรรมดา
ขอสังเกต มาตรา 492 กําหนดใหกรรมสิทธิ์ในทรัพยxxxxxxขายฝากเปนของผูไถตั้งแตเวลาทผูไถ หรอ
วางทรัพยอันเปนxxxxxแลวแตกรณี เพราะฉะนั้น กอนทจ ฝากก็ไมตองคืนดอกผล
ขอยกเวxxxxผูอื่นมีxxxxxในดอกผล
1. มีกฎหมายxxxxxxxไวเปนพเิ ศษ เชน
ะมก
ารไถทรัพยห
รอวางทรัพยเพอ
ไถทรัพยนั้น ผร
ับซื้อ
1.1 ดอกผลของสินสวนตัวเปนxxxxxxx (xาตรา 1474 (3))
1.2 บุคคลผูไดรับทรพั xxxxxxxxx (มาตรา 415 วรรคหน่ึง)
ยสินไวโดยสจ
ริต ยอมจะไดดอกผลอันเกิดแตทรัพยส
ินนั้นตลอดเวลาที่ยงั xx
1.3 ถาจะตองสง ทรพ
ยสินคืนแกผ
ูมx
xxxxเอาคืน ผูนั้นไมต
องคืนดอกผลคราบเทาที่ยังxxxxxxxxx
เมื่อใดรูวาจะตองคืนก็ถือวาไมสุจรติแลว (มาตรา 1376)
2. มีขอตกลงไวเปนอยางอื่น
3. บุคคลxxxxxไดเปนเจาของแมทรัพยนั้นมx
xxxxเอาดอกผลไปชําระหนี้ทเี่ จาของแมทรัพยเปนหนี้ตน
แบบฝกหัดทายบท
1. ทรัพยที่ติดกับที่ดินนั้นในบงกรณีก็มิไดถือวาเปนสวนควบ ทรัพยประเภทนั้นไดแกอะไรบาง
2. นายมาเชาที่ดินจากนายมี แลวปลูกบานไมไวหนึ่งหลังเพื่อxxxอาศัย ตอมาเมื่อหมดสัญญาเชา นาย
มาจะรือบ นของตนออกไป แตนายมีไมยินยอมอางวาบานตกเปนสวนควบของที่ดินแลว กรณีเชนน้ี ตามหลัก
สวนควบบานจะเปนของผูใด เพราะเหตุใด
3. ทรัพยใดที่เปนอุปกรณแลวนั้น หากแยกจากทรัพยประธานชั่วคราว ทรัพยนั้นจะขาดจากการเปน อุปกรณของทรัพยประธานหรือไมเพราะเหตุใด
4. xxxxxทําสัญญาเชาตึกแถวของนายมั่นเพื่อxxxอาศัยเปนเวลา 5 ป โดยสัญญาเชาระบุวาทรัพย
ใดๆที่xxxxxผูเชาดัดแปลงหรอ
ตอเติมลงในตึกแถวxxxxxาใหทรพ
ยนั้นตกเปนของนายมน
ผูใหเชาทันที หลังจากท
xxxxxเขาไปxxxในตึกแถวดังกลาวได 2 ป xxxxxไดทําฝาก้ันหองที่บริเวณชั้น 3 ของตึก และติดตั้ง
เครื่องปรับอากาศเพื่อใชเปนหอ
งนอนxxxxxอีกหองหนึ่ง เม
ครบกําหนดxxxxxxxxเชา xxxxxxxรื้อถอนเอาxx
xxxทําเปนฝากั้นหองและเครื่องปรับอากาศออกไป นายม่นไมยอมโดยอางวาxxxxxxและเครื่องปรับอากาศเปนกรรมสิทธิ์ของนายม่ันแลวxxxxxxxxเชา
ดังกลาว ดังนี้ ใหทานวินิจฉัยวา xxxxxxxรื้อถอนไมฝากั้นหองและเครื่องปรับอากาศออกไปไดหรือไม เพราะเหตุใด
5. xxxxxxxxาที่ดินของxxxxxเพื่อกอสรางโครงเหล็กติดปายโฆษณาเปนเวลา 5 ป โดยสัญญาเชา ระบุวาทรัพยสินใดๆxxxxxปลูกสรางและติดตั้งในสถานxxxxxานี้อันเกิดจากการเชาเปนกรรมสิทธิ์ของผูเชา และ เมื่อครบกําหนดสัญญาเชา ผูเชามีสิทธิ์รื้อถอนคืนไปไดทั้งสิ้น หลังจากxxxxxxติดตั้งโครงเหล็กไปได 4 ป พอขึ้นปที่ 5 xxxxxxขอบอกเลิกสัญญาเชาและขอรื้อเฉพาะโครงเหล็กออกไปจากที่ดินเชา xxxxxxxขัดของแต แจงใหxxxxxxสงมอบที่ดินคืนใหxxxxxในสภาพเดิม คือตองรื้อถอนตอหมอและเสาเข็มที่ฝงไวใตดินออกไปดวย xxxxxxxxตxxxxxรื้อถอนตอหมอกับเสาเข็มเพราะเสียคาใชจายมาก xxxxxxxxxมาปรึกษาทานวา จะร้ือเฉพาะโครงเหล็กอยางเดียวไมร้ือถอนตอหมอและเสาเข็มออกไปไดหรือไม และxxxxxจะฟองบังคับให
xxxxxxตองรื้อตอหมอและเสาเข็มออกไปดวยไดหรือไม เพราะเหตุใด
แผนบริหารการสอนประจําบทที่ 4
หัวขอเนื้อหาประจําบท : บุคคลxxxxxและทรัพยสิทธิ
1. ทรัพยสิทธิ
2. บุคคลxxxxx
3. ขอแตกตางระหวางทรัพยสิทธิและบุคคลxxxxx
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม
1. เพื่อใหนักศึกษาทราบและเขาใจถึงเรื่องของบุคคลxxxxxและทรัพยสิทธิวาเหมือนกันหรือมีขอ
แตกตางก อยาง ไร
2. xxxxxxนาคxxx มรูความเขาใจxxxxxรับไปใชในการวินิจฉัยผลทางกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยสินและ
ที่ดินได
วิธีการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจําบท
1. วิธีสอน
1.1 วิธีสอนแบบบรรยาย
1.2 วิธีสอนแบบอภิปราย
2. กิจกรรมการเรียนการสอน
2.1 ผูสอนบรรยายเรื่อง บุคคลxxxxxและทรัพยสิทธิ
2.2 ยกตัวอยางคําพิพากษาและคําวินิจฉัยของศาล และตัวอยางกรณีศึกษาท่ีเกิดข้ึน ในปจจุบันและวิเคราะหหาคําตอบ
2.3 กําหนดประเด็นและโจทยปญหาใหนักศึกษาอภิปรายในชั้นเรียน และมอบหมายงานใหไป ศึกษา ดวยตนเองเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน โดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอน
2. บรรยายประกอบส่ือ Power Point
การวัดผลและการประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมการใหความรวมมือในช้นเรียนโดยการซักถาม แสดงความคิดเห็นและอภิปราย ระหวางเรียน
2. ตรวจผลงานที่มอบหมาย
3. การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
4. สอบปลายภาค โดยขอสอบท่ีเนนการประเมินทก
ษะความรูในดานหลก
การ แนวคิดทฤษฎีxxxxxx
นําความรูxxxxxรับไปใชวินิจฉัยเกี่ยวกับผลทางกฎหมายที่เกิดขึ้นได
บุคคลxxxxxและทรัพยสิทธิ
บทที่ 4
บุคคลสทธิและทรพ
ยxxxxx
คําวา “บุคคลxxxxx” และ “ทรัพยสิทธิ” น เปนคาxx xxใชใน ภาษากฎหมาย แมในคําพิพากษาของศาลก
ใชคําทั้งสองนี้xxxเสมอ คําวา “ทรัพยสิทธิ” มีxxxxxxxไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1298 xxxxxxxวา “ทรัพยสิทธิท้งหลายนั้น ทานวาจะกอต้งขึ้นไดแตดวยอาศัยอํานาจในประมวลกฎหมายนี้หรือ กฎหมายอื่น” แตคําวา “บุคคลxxxxx” ไมมีกฎหมายไดxxxxxxxไว
คําวา “บุคคลxxxxx” และ “ทรัพยสิทธิ” แมจะเปนภาษากฎหมายซึ่งมีความหมายพิเศษตางหากจาก ภาษาธรรมดาท่วั ไปก็ตาม แตก็ไมมีคําอธิบายหรือวิเคราะหศัพทไวในที่ใด คําวาบุคคลxxxxx ตรงกับคําวา Jus in
personam ในภาษาลาติน สวนคําวา ทรัพยสิทธิตรงก คาวาํ Jus in rem ใน Concise Law Dictionary ของ
P.G. Xxxxxx ใหความหมายของคําวา Jus in personam วา “A right against a specific person” และคํา Jus in rem วา “A right against the world at large” คําพิพากษาxxxxxxx 760/2507 กลาวถึงคําวาบุคคล xxxxxไวดังนี้ “เจา ของที่ดินตอนนอกซึ่งทางพิพาทผานตกลงใหเจาของที่ดินตอนในขยายทางพิพาทในที่ดินของ ตนใหกวางขึ้นเพื่อใชสอยรวมกัน แมการขยายทางพิพาทนี้คูสัญญาจะมิไดทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอ พนักงานเจาหนาที่ก็ตาม การไดมาซึ่งทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยนี้ เพียงแตไมบริบูรณตามxxxxxx กฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1299 เทานั้น แตในระหวางคูสัญญาดวยกัน ยอมกอใหเกิดบุคคลxxxxx เรียกรองบังคับกันได เจาของที่ดินซึ่งทางพิพาทผานจะขัดขวางมิใหเจาของที่ดินตอนในใชทางพิพาทหาไดไม” และ คําพิพากษาxxxxxxx 695/2508 วินิจฉัยกลาวถึงบุคคลxxxxx และทรัพยสิทธิวา “จําเลยเสียเงินชวยคา กอสรางหองxxxxxาใหแกผูใหเชาคนเดิม และเสียเงินคาตอเติมอีก สัญญาตางตอบแทนระหวางจําเลยกับผูใหเชา
คนเดิมเปนบุคคลxxxxx ซึ่งมีผลผูกพันระหวางคูสญญา มิใชทรัพยสิทธิ ยอมไมมีผลตกติดไปกับทรัพยของคูสัญญา
ซึ่งโอนไปยังบุคคลอื่น จะบังคับใหโจทกทําสัญญาและจดทะเบียนใหจําเลยเชาไมได” จากวามหมายในภาษาลาตินและคําพิพากษาxxxxดังกลาวขางตน เราพอจะใหความหมายของคําวา
“บุคคลxxxxx” และ “ทรัพยสิทธิ” ไดดังนี้
บุคคลxxxxx หมายถึง xxxxxxxxมีวัตถุแหงxxxxxเปนการกระทําหรืองดเวนการกระทํา หรืออาจกลาวไดวา
เปนxxxxxxxxมีxxxเหนือบุคคลในอันทจะบังคับบุคคลซึ่งเปนคูสัญญาหรือเปนลูกหนี้ใหกระทําการอยางใดอยางหนึ่ง
หรือใหง ดเวนมิใหกระทําการอยางใดอยางหนึ่ง หรือใหสงมอบทรัพยให เชน xxxxxของเจาหนี้xxxxxxxxกูซึ่ง xxxxxxบังคับใหลูกหนี้ชําระเงินxxxxxxxxกูได xxxxxxxxxxxxxเชา ซึ่งผูใหเชามีxxxxxบังคับผูเชาใหชําระคาxxx xxxxxเชาได และผูเชาก็มีxxxxxบังคับผูใหเชาใหสงมอบทรัพยxxxxxาได หรือxxxxxxxxxxxxxจางทําของซึ่งผูวาจาง
มีxxxxxบังคับใหผูร จางทําการใด ๆ xxxxxxxxจางทําของได และผูรับจางก็มีxxxxxบังคับใหผูวาจางชําระคาจาง
ได หรือxxxxxเรียกคาสน
ไหมxxxxxในทางละเมิด ซึ่งผูเสียหายมีxxxxxบังคับผท
ําละเมิดใหชดใชคาสินไหมทดแทน
ใหแกตนไดเปนตน บุคคลxxxxxxxxเปนxxxxxxxxจะบังคับเอาแกคูสัญญาผูสืบxxxxxของคูสัญญา หรือ ลูกหนี้เทานั้น จะ ใชบังคับหรือใชยันตอบุคคลอื่นทั่วไปมิไดเลย และหากคูสัญญาผูสืบxxxxxของคูสัญญา หรือลูกหนี้ไมปฏิบัติตาม xxxxxนั้น ๆ ผูที่มีxxxxxความสัญญาหรือเจาหนี้ตองฟองรองบังคับคดียังโรงศาล จะบังคับกันเองมิได บุคคลxxxxxxxx อาจเกิดขึ้นไดโดยxxxxxxxx xxน สัญญา หรือxxxxxxxx xxนละเมิดก็ได
ทรัพยสิทธิ หมายถึง xxxxxxxxมีวัตถุแหงxxxxxเปนทรัพยสิน หรือxxxxxxxxมีxxxเหนือทรัพยสิน เปนxxxxxxxxจะ
บังคับเอาแกทรัพยสินโดยตรง (xxxxxxx สุขชีวะ (2556)) เชน xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxไวในบรรพ 4 อันไดแก
กรรมสิทธิ์เปนทรัพยสท
ธิxxxxxx ใหผเู ปน
เจา ของทรพ
ยxxxxxxxxxxxใชสอย จําหนายทรัพยสิน ติดตามเอาทรัพยสิน
นั้นคืนจากผูxxxxxมีอํานาจยึดถือไวได ทรัพยสิทธิเปนxxxxxxxxใชยันแกบุคคลไดทั่วไป หรือใชยันแกบุคคลไดทั่วโลก เชน เรามีกรรมสิทธิ์ในนาฬิกาของเราซึ่งเปนทรัพยสิทธิ แมวาเราจะนํานาฬิกานั้นไปตางประเทศแหงใด เราก็ยัง มีกรรมสิทธ์ิในนาฬิกาของเราxxx ผูใดมาเอาไปโดยไมมีxxxxx เรายอมติดตามเอาคืนไดเสมอ ทรัพยสิทธินอกจาก ตัวอยาง เชน กรรมสิทธิ์แลวยังมีสิทธิครอบครองเปนxxxxxxxxxxxxxแสดงความเปนเจาของ ดังน้น ถาผูใดเปน
เจาของก็มักจะมีกรรมสท
ธิ์และสท
ธิครอบครองxxxดวย แตในบางครัง้ เจาของกรรมสิทธิ์อาจมอบการครอบครอง
ใหแกบุคคลอื่น ดังนั้น xxxxxxxxxxxxxxxxตกxxxกับบุคคลอื่นนั้น เชน เจาของกรรมสิทธ์ิเอาทรัพยสินใหผูอื่นเชา
xxxxxจํานํา xxxxxจํานอง xxxxxยึดหนวง ลิขสิทธิ์ xxxxxในเครื่องหมายการคา ภารจํายอมคือทรัพยสิทธิชนิดหนึ่งทตัด
ทอนอํานาจกรรมสิทธิ์ โดยทําใหเจาของอสังหาริมทรัพยอันหนึ่งเรียกวา “ภารยทรพั ย” ตองรับกรรมบางอยาง xxxxxxxxxxxxxxxxxทรัพยสินของตน หรือทําใหเจาของภารยทรัพยตองงดเวนการใชxxxxxบางอยางเกี่ยวกับ กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินนั้นเพื่อประโยชนของอสังหาริมทรัพยอื่นที่เรียกวา “สามยทรัพย” เชน การท่ีเจาของ ที่ดินแปลงหนึ่งมีxxxxxxxxเรียกวาสามยทรัพยเดินผานที่ดินอีกแปลงหนึ่งที่ถือเปxxxรยทรัพย xxxxxอาศัยหมายถึง xxxxxxxxจะxxxในโรงเรือนของผูอื่นโดยไมตองเสียคาเชาหรือผลประโยชนอื่นตอบแทน ซึ่งจะมีขึ้นไดก็โดยนิติกรรม xxxxxดังกลาวเปนxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxโอนหรือตกทอดไปยังxxxxx xxxxxเก็บกินหมายถึง xxxxxxxxจะเขา ครอบครอง ใช และถือเอาประโยชนจากอสังหาริมทรัพยของผูอื่นโดยจะเสียคาตอบแทนหรือไมก็ได เปนxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxโอนหรือตกทอดไปยงั xxxxxxx และผูท รงxxxxxเก็บกินเปนผูดูแลรักษาทรัพยน้นดวย xxxxx เหนือพื้นดินหมายถึง xxxxxxxxบุคคลหนึ่งไดเปนเจาของโรงเรือน สิ่งปลูกสราง สิ่งxxxxxxxxบนที่ดินหรือใตดินของ ผูอื่น xxxxxเหนือพื้นดินจึงเปนทรัพยxxxxxxยกเวนหลักสวนควบxxxxxxโอนและตกทอดไปยังทายาทไดสิทธิ
ประเภทนี้มีทั้งสิทธิเหนืออสังหารมทรัพยและเหนือสงั หาริมทรัพย แลวแตประเภทของทรัพยนั้น และภารติดพัน
ในอสังหาริมทรัพยเปนทรัพยสิทธิชนิดหนึ่งซึ่งเจาของอสังหาริมทรัพยมีความผูกพันที่จะตองชําระหนี้จาก อสังหาริมทรัพยนั้นเปนคราวๆ ใหแกบุคคลอื่นซึ่งเรียกวาผูรับประโยชน หรือตองยอมใหผูอื่นไดใชหรือถือเอา ประโยชนจากอสังหาริมทรัพยน้ันๆเปนตน เนื่องจากทรัพยสิทธิเปนสิทธิที่ใชยันตอบุคคลใด ๆ ไดทั่วไป ทรพั ยสิทธิจึงจะกอตั้งขึ้นไดก็โดยอาศัยอํานาจของกฎหมาย เพื่อที่จะใหบุคคลทั้งหลายทั่วไปไดรับรู เพราะมี
หลักอยูวาบุคคลจะอางความไมรูกฎหมายมาเปนขอแกตัวมิได เชน สิทธิอาศัยจะกอตั้งขึ้นไดก็เฉพาะในโรงเรือน เทานั้น ดังที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1402 จะตกลงใหมีสิทธิอาศัยในที่ดินหรือ ทรัพยสินอื่นมิได
จากความหมายของคําวาบุคคลสิทธิ และทรัพยสิทธิดังกลาวแลว เราพอจะแยกความแตกตาง
ระหวางคําทั้งสองไดดังนี้
1. บุคคลสิทธิ เปนสิทธิระหวางคูสัญญา ผูสืบสิทธิของคูสัญญา หรือเจาหนี้กับลูกหนี้ ในอันที่จะบังคับ ใหคูสัญญา ผูสืบสิทธิของคูสัญญา หรือลูกหนี้กระทําการหรืองดเวนกระทําการ หรือสงมอบทรัพยตามสัญญา หรือตามมูลหนี้ สิทธิเชนนี้เปนสิทธิเรียกรองอยางหนึ่ง
ทรัพยสิทธิ เปนสิทธิที่ใชบังคับเอาจากทรัพยสิน โดยไมคํานึงถึงตัวบุคคลวาจะเปนคูสัญญาผูสืบสิทธิ
ของคูสัญญา หรือลูกหนีข้ องผูทรงทรัพยสิทธิหรือไม เชน สิทธิจํานองเปนทรัพยสิทธิ ฉะนั้นผูจํานองจึงมีสิทธิ บังคับจํานองเอาจากตัวทรัพยจํานองไดเสมอ ไมวาทรัพยจํานองจะโอนไปเปนของผูใดทั้ง ๆ ที่ผูน้นมิไดเปนผู จํานองทรัพยนั้นตอผูรับจํานองเลยก็ตาม (ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 702)
2. บุคคลสิทธิ เกิดขึ้นไดโดยนิติกรรม เชน ทําสัญญาจะซื้อขาย ทําสัญญาเชาทรัพย ทําสัญญาจาง
แรงงาน หรือจางทําของเปน
ตน สิทธิที่จะบังคับคูสัญญาหรือผส
ืบสิทธิของคูสัญญาใหปฏิบัติตามสญ
ญานั้น ๆ คือ
บุคคลสิทธิ นอกจากนี้บุคคลสิทธิยังเกิดจากนิติเหตุได เชน เมื่อมีการทําละเมิดนั้น ผูเสียหายยอมมีสิทธิฟอง เรียกรองคาสินไหมทดแทนจากผูทําละเมิด สิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทนนี้ก็เปนบุคคลสิทธิ
ทรัพยสิทธิ เกิดขึ้นไดโดยอาศัยอํานาจของกฎหมายเทานั้น กลาวคือ ถาไมมีกฎหมายใดใหอํานาจใน
การกอตั้งไวแลว ผูหนึ่งผูใดจะคิดคนกอตั้งทรัพยสิทธิขึ้นมาเองมิได ทรัพยสิทธิที่ประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชยใหอํานาจกอตั้งได เชน กรรมสิทธิ์ สิทธิอาศัย การจํายอม สิทธิครอบครอง สิทธิเก็บกิน สิทธิเหนือ พื้นดิน ภารติดพันในอสังหาริมทรัพย บุริมสิทธิ สิทธิยึดหนวงจํานอง และจํานําเปนตน สวนทรัพยสิทธิตาม กฎหมายอื่น เชน ลิขสิทธิ์เกิดข้ึนตามพระราชบัญญัติคุมครองวรรณกรรมและศิลปกรรม สิทธิในเครื่องหมาย การคาเกิดขึ้นตาม พระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา
3. บุคคลสิทธิ กอใหเกิดหนาที่แกบุคคลหนึ่งบคคลใดโดยเฉพาะเจาะจงเทานั้น เชน ในกรณีสัญญาก็คือ
คูสัญญา หรือผูสืบสิทธิของคูสัญญา ในอันที่จะกระทําการ งดเวนกระทําการ หรือสงมอบทรัพยตามสัญญา ใน กรณีละเมิดก็คือผูทําละเมิด หรือผูอื่นที่กฎหมายบัญญัติใหตองรับผิดรวมกับผูทําละเมิดดวยเทานั้น เชน นายจางตองรวมรับผิดกับลูกจางตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 425 ตัวการตองรวมรับผิดกับ ตัวแทนตามมาตรา 427 ผูวาจางตองรับผิดในการทําละเมิดของผูรับจางตามมาตรา 428 ครูอาจารย นายจาง ผูรับดูแลผูไรความสามารถ ตองรับผิดรวมกับผไู รความสามารถตามมาตรา 430 เปนตน
ทรัพยสิทธิ กอใหเกิดหนาที่แกบุคคลทั่วไปกลาวคือบุคคลใด ๆ ก็ตามจะตองรับรูในทรัพยสิทธิของ
เจาของทรัพยสิทธิ จะตองไมเกี่ยวของขัดขวางการใชทรัพยสิทธินั้น เชน ก. มีการจํายอมในอันที่จะเดินผานที่ดิน
ของ ข. เปนเวลา 10 ป กอนครบ 10 ป ข. ขายที่ดินนั้นให ค. ค. ก็จําตองยอมให ก. มีสิทธิเดินผานที่ดินนั้นได ตอไปจนกวาจะครบ 10 ป ค. จะอางวาภารจํายอมมีอยูระหวาง ก. และ ข. เทาน้น ตนมิไดยินยอมรูเห็นดวย มิได
4. บุคคลสิทธิ เปนสิทธิที่ไมคงทนถาวร มีระยะเวลาจํากัดในการใช หากไมใชเสียภายในเวลาที่
กฎหมายกําหนดไว บุคคลสิทธินั้นยอมสิ้นไป ระยะเวลาที่กฎหมายกําหนดไวนี้เรียกวา อายุความ ทั้งนี้จะเห็นได จากประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 163 ซึ่งบัญญัติวา “อันสิทธิเรียกรองอยางใด ๆ ถามิไดใชบังคับ
เสียภายในระยะเวลาอันกฎหมายกําหนดไว ทานวาตกเปนอ
ขาดอายุความ หามมิให
องรอง” อายุความท่ียาว
ที่สุดที่กฎหมายอนุญาตไวมีกําหนด 10 ป ดังที่บัญญัติไวในมาตรา 164
ทรัพยสิทธิ เปนสิทธิที่คงทนถาวร แมจะไมใชทรัพยสิทธิชานานเพียงใด ทรัพยสิทธิก็หาระงับสิ้นไปไม เชน กรรมสิทธิ์ แมผูเปนเจาของทรัพยจะมิไดใชสอยทรัพยนั้นชานานเทาใดก็ตาม กรรมสิทธิ์ในทรัพยนั้นก็ยังมี อยู ทรัพยนั้นยังเปนของเจาของอยูเสมอ เวนเสียแตจะปลอยใหบุคคลอื่นครอบครองปรปกษทรัพยนั้นจนครบ
ระยะเวลาตามที่บ ญัติไวใน มาตรา 1382 หรือ มาตรา 1383 บุคคลอื่นยอมไดกรรมสิทธ์ในิ ทรัพยน้นไั ป ซึ่งก
เปนเรื่องที่บุคคลอื่นไดกรรมสิทธิ์ในทรัพยตามวิธีการที่กฎหมายบัญญัติไว หาใชกรรมสิทธิ์ระงับไปเพราะการไม ใชไม เพราะเพียงแตไมใชกรรมสิทธิ์โดยไมมีผูใดเขามาเกี่ยวของโดยการครอบครองปรปกษแลว ไมมีทางที่ กรรมสิทธิ์จะระงับไปไดเลย มีขอยกเวนสําหรับทรัพยสิทธิอยู 2 ประเภท คือ ภารจํายอมและภารติดพันใน อสังหาริมทรัพยเทานั้น ซึ่งประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1399 และ มาตรา 1434 บัญญัติวา ถาไม ใช 10 ป ยอมสิ้นไป การสิ้นไปของทรัพยสิทธิ 2 ประเภทนี้ถือวาเปนกรณีพิเศษนอกเหนือไปจากหลักทั่วไป
เพื่อความเขาใจในความแตกตางระหวางบุคคลสิทธิ และทรัพยสิทธิ ตามขอ 4 นี้ ขอยกตัวอยางดังนี้ ก. เปนเจาของมีกรรมสิทธิ์ในสรอยคอ 1 เสน ถา ข. ยืมสรอยคอนั้นไปจาก ก. แลวไมสงคืน สิทธิท่ี ก. จะเรียก สรอยคอคืนจาก ข. เปนบุคคลสิทธิเพราะเปนสิทธิที่จะบังคับ ข. ตามสัญญายืม ใหสงมอบสรอยคอคืนให ฉะนั้น ก. จะตองฟองเรียกสรอยคอนั้นคืนเสียภายใน 10 ป นับตั้งแตวันครบกําหนดที่จะตองสงสรอยคอคืนตามสัญญา หรือถามิไดกําหนดเวลาคืนไว ก็ตองฟองเสียภายใน 10 ป นับตั้งแตวันท่ี ข. ยืมสรอยคอนั้นไป (การฟองเรียก ทรัพยที่ยืมคืน กฎหมายมิไดกําหนดอายุความไว จึงใชอายุความ 10 ป ตามมาตรา 164 แหงประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชย และอายุความเริ่มนับแตขณะที่อาจจะบังคับสิทธิเรียกรองได ตามมาตรา 169 หนี้ที่ไม กําหนดเวลาชําระไว เจาหนี้ยอมเรียกใหชําระหนี้ไดทันทีตามมาตรา 203)
จากตัวอยางขางตน ถาแทนที่ ข. จะยืมสรอยคอของ ก. แต ข. กลับเอาสรอยคอของ ก. ไปโดย ก. มิได อนุญาตหรือยินยอม ก. มีสิทธิติดตามเอาสรอยคอนั้นคืนจาก ข. เมื่อใดก็ได แมวาจะนานถึง 20 – 30 ป เพราะ การที่ ก. ติดตามเอาสรอยคอของตนคืนจาก ข. ผูไมมีสิทธิจะยึดถือไวนั้น เปนการเรียกรองสรอยคอของตนโดย อาศัยอํานาจกรรมสิทธิ์ซึ่งเปนทรัพยสิทธิ หาใชเรียกรองโดยอาศัยบุคคลสิทธิดังตัวอยางขางตนไม
ตามที่ไดกลาวมาขางตนวา บุคคลสิทธิใชบังคับไดเฉพาะคูสัญญา ผูสืบสิทธิของคูสัญญาหรือลูกหนี้ เทาน้น ขออธิบายเพิ่มเติมวา คูสัญญานั้นรวมถึงตัวการซึ่งมอบใหตัวแทนเขาทํานิติกรรมแทนตนดวย ท้งนี้ เพราะตัวการยอมมีความผูกพันตอบุคคลภายนอกในกิจการทั้งหลาย อันตัวแทนหรือตัวแทนชวงไดทําไปภายใน ขอบอํานาจของตัวแทน ดังที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 820 สวนผูสืบสิทธิของ คูสัญญานั้นไดแกทายาทของคูสัญญา ไมวาจะเปนทายาทโดยธรรม หรือผูรับพินัยกรรมก็ตาม ทั้งนี้เพราะมาตรา 1600 บัญญัติวา “ฯลฯ กองมรดกของผูตายไดแกทรัพยสินทุกชนิดของผูตาย ตลอดท้งสิทธิหนาที่และความรับ ผิดตางกฎหมายหรือวาโดยสภาพแลว เปนการเฉพาะตัวของผูตายโดยแท” และ มาตรา 1603 บัญญัติวา “กอง มรดกยอมตกทอดแกทายาทโดยสิทธิตามกฎหมายหรือโดยพินัยกรรม ฯลฯ” นอกจากนี้หากมีกฎหมายบัญญัติ ใหบุคคลใดซึ่งไดรับโอนทรัพยสิน ตองรับสิทธิและหนาที่ของผูโอนไปดวย ก็ถือวาผูรับโอนทรัพยสินนั้นเปนผูสืบ สิทธิของผูโอนทรัพยดวย เชน ผูรับโอนทรัพยสินหรือรับโอนสิทธิเหนือทรัพยสินที่ขายฝากตามมาตรา 498 และ ผูที่รับโอนทรัพยสินที่เชายอมรับไปทั้งสิทธิและหนาที่ของผูโอน ซึ่งมีตอผูเชานั้นตามที่บัญญัติไวในมาตรา 569 เปนตน
อาจมีขอสงสัยไดวา เมื่อทรัพยสิทธิเปนสิทธิที่มีอยูเหนือทรัพย หรือบังคับเอาแกตัวทรัพยโดยตรงเชนนี้ แลว เหตุใดจึงมีการฟองรองตัวบุคคลใหปฏิบัติตามทรัพยสิทธิเลา มิกลายเปนสิทธิที่บังคับเอาแกตัวบุคคลหรือ หากเปนเชนนี้จะแตกตางไปจากบุคคลสิทธิไดอยางไร เชน ก. เอานาฬิกาของ ข. ไปเมื่อ ข. ติดตามเอาคืน แต ก. ไมให ข. ก็ตองฟอง ก. ใหสงมอบนาฬิกาใหแกตนเชนกัน ข. จะอางวาตนมีทรัพยสิทธิคือกรรมสิทธิ์ในนาฬิกา และบังคับเอานาฬิกาคืนโดยตรงหาก ก. ไมยอม ข. ก็บังคับเอาแกตัวทรัพยมิได แลวจะวาทรัพยสิทธิที่บังคับเอา แกตัวทรัพยไดอยางไร ความจริงแลว ถาเปนทรัพยสิทธิยอมบังคับเอาแกตัวทรัพยไดเสมอ เชน ในตัวอยาง ขางตน หาก ก. ยอมรับวานาฬิกาเปนของ ข. จริงแตไมยอมคืนให ข. ยอมมีสิทธิเอานาฬิกาน้นคืนได แมจะถึง แกยื้อแยงมาก็ตาม โดยไมตองฟอง ก. แตประการใด การที่ ข. ตองฟอง ก. ก็เนื่องจากทรัพยสิทธิคือกรรมสิทธิ์
ในนาฬิกาของ ข. น ยังไมแนนอนตางหาก เพราะ ก. อาจจะเถียงวานาฬิกาน้นเั ปนของ ก. เปนการโตเถียง
ทรัพยสิทธิกัน ข. จึงตองฟองใหศาลแสดงวา นาฬิกานั้นเปนของ ข. คือใหแนชัดวา ข. มีทรัพยสิทธิเหนือนาฬิกา นั้นเสียกอน เมื่อศาลชี้วานาฬิกาเปนของ ข. แลว ก. ก็มีหนาที่ตองคืนนาฬิกานั้นใหแก ข. ศาลจึงพิพากษาไปเสยี ทีเดียววา นาฬิกาเปนของ ข. และให ก. สงมอบนาฬิกาใหแก ข. การที่ ข. ฟอง ก. เชนน้ี หาใชฟองโดยอาศัย อํานาจบุคคลสิทธิไม แตเปนการฟองเพื่อใหแสดงวาผูใดเปนผูมีทรัพยสิทธิตางหาก
การไดทรัพยสิทธิในทรัพยสินนั้น มีทางไดมา 2 ประการดวยกันคือ ไดมาโดยนิติกรรมประการหนึ่ง และไดมาโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรมอีกประการหน่ึง สําหรับการไดทรัพยสิทธิไมวาจะโดยนิติกรรมหรือโดย
ทางอ่ืน นอกจากนิติกรรม ทร
ยสิทธิน
จะตองเปนทรัพยสิทธิที่กฎหมายอนุญาตใหกอตั้งไดดังที่บัญญัติไวใน
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1298 เชน กรรมสิทธิ์ จํานํา จํานอง ภารจํายอมเปนตน ฉะนั้นการ
ได รรมสิทธ์ิในทรัพยสินจึงอาจทําไดโดยนิติกรรม เชน ซื้อ แลกเปลี่ยน หรือรับให หรืออาจไดมาโดยทางอื่น
นอกจากนิติกรรมเชนครอบครองปกปกษ เปนตน
การไดมาซึ่งทรัพยสิทธิโดยนิติกรรมก็ดี หรือโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรมก็ดี จะสมบูรณเพียงใดแคไหน
ยอมแลวแตบทบัญญัติของกฎหมายในเรอ
งนั้น ๆ บัญญัติไวโดยเฉพาะ เชน การซื้อขายอสังหารม
ทรพ
ย หรือเรือ
กําปน เรือที่มีระวางตั้งแต 6 ตัน เรือกลไฟหรือเรือยนตที่มีระวางต้งแต 5 ตันขึ้นไป แพ (มีคนอยูอาศัย) และ สัตวพาหนะจะตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ตามที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชย มาตรา 456 มิฉะนั้นเปนโมฆะ การจํานองก็ตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงาน เจาหนาที่ตามมาตรา 714 มิฉะนั้นก็เปนโมฆะ การไดสิทธิในเครื่องหมายการคาก็ตองจดทะเบียนตามมาตรา 27 แหงพระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. 2474 นอกจากนี้การไดมาโดยนิติกรรมซึ่งอสังหาริมทรัพยหรือ
ทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสงั หาริมทรพ
ย ถาไมทําเปนหนังสือและจดทะเบย
นตอพนักงานเจาหนาที่ยอมไมบรบ
ูรณ
ตามท่ีบัญญติไวในวรรคแรกของมาตรา 1299 และการไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพยโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรม ถา ยังมิไดจดทะเบียน จะมีการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนมิได และจดยกขึ้นเปนขอตอสูบุคคลภายนอกผูไดสิทธิมา โดยเสียคาตอบแทน และโดยสุจริต และไดจดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตแลวมิได ทั้งนี้ดังที่บัญญัติไวในวรรคทาย ของมาตรา 1299
การไดมาโดยนิติกรรมซึ่งทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยนั้น มีความหมายกวางขวางไมวาจะ ไดมาโดยการซื้อขาย แลกเปลี่ยน ใหหรือจํานอง ก็อยูในความหมายของคําวา “ไดมา” แต “การไดมา” ตามท บัญญัติไวในมาตรา 1299 วรรคแรกนั้น จะนําไปใชกับการไดมาโดยการซื้อขาย แลกเปลี่ยน ใหหรือจํานอง หรือ นิติกรรมอยางอื่นที่มีกฎหมายบัญญัติไวเปนพิเศษมิได เพราะ มาตรา 1299 วรรคแรกบญั ญัติวา “ภายในบังคับ
แหงบทบัญญ ิในประมวลกฎหมายน้ี หรือกฎหมายอื่น ทานวาการไดมาโดยนิติกรรมซึ่งอสังหาริมทรัพยหรือ
ทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสงั หาริมทรัพยนั้นไมสมบูรณ เวนแตนิติกรรมจะไดทําเปนหนังสือและไดจดทะเบียนการ ไดมากับพนักงานเจาหนาท”ี่ ซึ่งแสดงวาวรรคแรกของมาตรา 1299 นี้นําไปใชเฉพาะกับการไดมาโดยนิติกรรม ซึ่งอสังหาริมทรัพยหรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย นอกเหนือไปจากที่มีบัญญัติไวในลักษณะอื่นแหง ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย หรือที่มีบัญญัติไวเปนพิเศษในกฎหมายอื่น ๆ เทานั้น กลาวโดยสรุปก็คือ มาตรา 1299 วรรคแรก สวนใหญจะใชกับการไดมาซึ่งทรัพยสิทธิตาง ๆ ในบรรพ 4 ตั้งแตการจํายอม สิทธิ อาศัย สิทธิเหนือพื้นดิน สิทธิเก็บกิน ภารติดพันในอสังหาริมทรัพย และการยกอสังหาริมทรัพยตีใชหนี้ใหแก เจาหนี้ที่เทานั้น เพราะการไดทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยโดยนิติกรรมดังกลาวขางตน มิไดมีบัญญัติ เปนอยางอื่นไวในประมวลกฎหมายอื่น
การไดมาโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรมนั้น ตามแนวคําพิพากษาฎีกาพอจะแบงไดเปน 3 ประการ คือ
1. เปนการไดมาโดยผลแหงกฎหมาย หรือโดยกฎหมายบัญญัติไว เชน การไดกรรมสิทธิ์โดยการ ครอบครองปรปกษตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1382 (คําพิพากษาฎีกาที่ 513/2518
วินิจฉยั วา การไดกรรมสิทธิ์ในที่ดินโดยการครอบครองตามมาตรา 1382 ยอมเปนการไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพย โดยทางอ่ืนนอกจากนิติกรรมอยางหน่ึงท่ีมาตรา 1299 วรรค 2 มุงหมายถึง) หรือการไดภารจํายอมโดยอายุ ความตามมาตรา 1401 ประกอบดวยมาตรา 1382 (คําพิพากษาฎีกาที่ 237/2508 วินิจฉัยวา โจทกใชตรอก พิพาทเปนทางเดินเขาออกจากที่ดินโจทกสูทางสาธารณะมากกวา 10 ป ตรอกพิพาทจึงตกอยูในการจํายอมโดย อายุความตามมาตรา 1401 และมิใชเปนการไดมาโดยนิติกรรมอันจะตองจดทะเบียนตามมาตรา 1299)
2. เปนการไดมาโดยการรับมรดก (คําพิพากษาฎีกาที่ 1619/2506 ตามประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชย มาตรา 1599 ทายาทยอมไดกรรมสิทธิ์ในทรัพยมรดกตั้งแตเจามรดกตาย แมจะยังไมไดจดทะเบียน สิทธิน้ันตามมาตรา 1299 ก็ตาม) ผูเขียนมีความเห็นเปนสวนตัววา การรับมรดกไมวาจะเปนในฐานะทายาทโดย ธรรม หรือเปนผูรับพินัยกรรมก็ตาม ก็นาจะถือวาเปนการไดมาโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรมทั้งสิ้น แมวาจะมี
คําพิพากษาฎีกาที่ 1840/2514 วินิจฉ วา การไดมาซึ่งสิทธิอาศัยโดยพินัยกรรมถือเปนการไดมาโดยนิติกรรม
ตามมาตรา 1299 วรรคคนก็ตาม ทั้งนี้ เพราะนอกจากจะมี คําพิพากษาฎีกาที่ 1812/2506 ซึ่งวินิจฉัยวา “เมื่อ ผูทําพินัยกรรมตาย ที่ดินที่ระบุไวในพินัยกรรมยอมตกไดแกผูรับพินัยกรรมทันทีตามมาตรา 1673 โดยมิตองทํา การรับมรดกและเขาครอบครองที่ดินนั้น” แลวการรับทรัพยสินตามพินัยกรรมก็ยังเปนการไดทรัพยสินตอเมื่อมี ความตายของผูทําพินัยกรรมเกิดขึ้น เพราะกฎหมายบัญญัติไวใหมีผลเชนนั้น (มาตรา 1673) จึงนาจะถือวาเปน การไดมาโดยผลแหงกฎหมาย แมวาผลน้นจะเริ่มมาจากพินัยกรรมซึ่งเปนนิติกรรมก็ตาม แตนิติกรรมน้นก็ไม สามารถจะกําหนดผลของนิติกรรมเองได นอกเสียจากท่ีมาตรา 1673 กําหนดไว จึงจะอางวาผลของพินัยกรรม เปนผลของนิติกรรมยอมไมถนัด
3. เปนการไดมาโดยคําพิพากษาของศาล (คําพิพากษาฎีกาที่ 352/2488 วินิจฉัยวา คําพิพากษาของ
ศาลซ่ึงแสดงหรือใหบุคคลได ิทธหิ รือมีสิทธิอยางใดน้น บุคคลน้นยอั มไดสิทธิ หรือมีสิทธิตามคําพิพากษาโดย
สมบูรณ แมจะเปนพวกอสงั หาริมทรัพย ก็ไมจําตองขอใหจดทะเบียนเสียกอน) การไดมาโดยคําพิพากษาของ
ศาลที่จะถือเปนการไดมาโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรมน นาจ ะตองมิใชคาพิํ พากษาตามสัญญาประนีประนอม
ยอมความ เพราะคําพิพากษาเชนวานี้ ยอมเปนคําพิพากษาที่ตัดสินไปตามสัญญาประนีประนอมยอมความซึ่ง เปนนิติกรรม การไดทรัพยสิทธิตามคําพิพากษาดังกลาว แทที่จริงแลวจึงเปนการไดทรัพยสิทธิโดยนิติกรรม
การไดทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยโดยนิติกรรมตามมาตรา 1299 วรรคแรกนั้น ถาไมทําเปน หนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่แลว ยอมไมบริบูรณ กลาวคือไมสมบูรณเปนทรัพยสิทธิ ใชยันตอ บุคคลภายนอก (นอกจากผูสืบสิทธิของคูสัญญา มิไดเลย โดยไมตองคํานึงวาบุคคลภายนอกนั้นสุจริตหรือไม หรือเสียคาตอบแทนหรือไม แตการไดมาโดยนิติกรรมที่ไมบริบูรณนั้นยังมีผลใชบังคับกันไดในฐานะเปนบุคคล
สิทธิ ในระหวางคูสัญญาหรอ
ผูสบสท
ธิของคูสัญญาอยู หาถึงกับเสียเปลาหรือเปนโมฆะดังเชนที่บัญญัติไวในเรื่อง
ซื้อขาย แลกเปลี่ยน หรือใหอสังหาริมทรัพยตมมาตรา 456, 519 และ 525 หรือในเร่ืองจํานองตามมาตรา ประกอบดวยมาตรา 115 ไม (ทั้งนี้จะเห็นไดจาก คําพิพากษาฎีกาที่ 760/2507 ซึ่งไดยกมากลาวแลวในตอนตน
(เจ ของท่ีดินตอนนอกซึ่งทางพิพาทผานตกลงใหเจาของที่ดินตอนในขยายทางพิพาทในท่ีของตนใหกวางข้ึน
เพื่อใชสอยรวมกัน แมการขยายทางพิพาทน้ี คูสัญญาจะมิไดทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงาน เจา หนาที่ก็ตาม การไดม าซ่ึงไดทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยน้ี เพียงแตไมบริบูรณตามมาตรา 1299 เทานั้น แตในระหวางคูสัญญาดวยกันยอมกอใหเกิดบุคคลสิทธิเรียกรองบังคับกันได เจาของที่ดินซึ่งทางพิพาท ผานจะขัดขวางมิใหเจาของท่ีดินตอนในใชทางพิพาทหาไดไม)
ตามที่กลาวมาขางตน ยอมจะเปนไดวาบุคคลสิทธิและทรัพยสิทธิตางกันเพียงไร และการไดมาของสิทธิ ทั้งสองนี้ก็มีที่มาตางกัน ความแตกตางของบุคคลสิทธิและทรัพยสิทธิประการสําคัญก็คือวา บุคคลสิทธิเปนสิทธิ ท่ีใชบังคับไดเฉพาะคูสัญญาผูสืบสิทธิของคูสัญญาและลูกหนี้เทาน้น แตทรัพยสิทธิเปนสิทธิที่บังคับเอาแกตัว
ทร ยโดยตรง ฉะนั้นจึงใชยันตอบุคคลไดทั่วไปหรืออาจกลาวไดวาใชยันตอบุคคลไดทั่วโลกนั้นเอง (บัญญัติ สุข
ชีวะ.2556)
ตารางเปรียบเทียบระหวางทร
ยสิทธิ กับ บุคคลสิทธิ
ทรัพยสิทธิ กับ บุคคลสิทธิ
ทรัพยสิทธิ | บุคคลสทิ ธิ |
ความหมาย | |
1. เปนสทิ ธิที่มีตอบุคคลทั่วไป 2. เปนสิทธเิ หนือทรัพยส ิน หรอื เปนสิทธิของบุคคลที่ มีวัตถุแหงสทิ ธิเปนทรัพยส ิน จึงเปนสิทธิทบี่ ังคับเอา จากทรัพยสินโดยตรงและใชตอสกู ับบุคคลไดทั่วไป (คนทั่วไปทุกคนจะตองไมขัดขวางการใชทรัพยสิทธิ ของผูทรงสิทธินั้น) 3. อาจเปนสิทธิเหนือทรัพยส ินทมี่ ีรปู ราง เชน - กรรมสทิ ธิ์ สิทธิครอบครอง ภาระจํายอม สิทธิอาศัย ในโรงเรือน สิทธิเหนือพื้นดิน สทิ ธิเกบ็ กิน ภาระติดพัน ในอสังหาริมทรพั ย สทิ ธิจํานอง สิทธจิ ํานํา สิทธิยึด หนวง บุรมิ สทิ ธิ 4. อาจเปนสิทธิเหนือทรัพยส ินไมมรี ูปราง เชน - ลิขสทิ ธ,ิ์ สิทธิบัตร, เครื่องหมายการคา | 1. เปนสทิ ธิที่มีตอบุคคลเฉพาะตัว มีความหมาย เดียวกับสทิ ธิเรียกรอง (Claim) หรือสิทธิทางหนี้ (Obligatory) 2. เปนสิทธิที่มอี ยูเหนือบุคคล หรือเปนสิทธิที่บงั คับ เอากับตัวบุคคลใหกระทําการหรืองดเวนกระทําการได 3.มีบอเกิดแหง สทิ ธิ 5 ประการ คือ - โดยนิติกรรมสญั ญา ละเมิด จัดการงานนอกส่งั ลาภ มิควรได และบทบัญญัตอิ ื่นๆ ของกฎหมาย 4. บงั คับเอาจากบุคคลโดยเฉพาะเจาะจง ไมอาจไป บังคับเอาจากบุคคลภายนอกได แตถาบุคคลนั้นตายก็ อาจบงั คบั เอาจากผเู ปนทายาทได |
แตกตางระหวางทรัพยสิทธิและบุคคลสิทธิ
ทรัพยสิทธิ | บุคคลสทิ ธิ |
1. วัตถุแหงสิทธิ เปนของบุคคลทมี่ ีอยูเหนือทรัพยส ิน จึงมีวัตถุแหงสทิ ธิ เปนทรัพยส ิน ถาทรัพยส ินนั้นสูญหายหรือถูกทําลายหมด ทรัพยสิทธินั้นกห็ มดไป | 1. วัตถุแหงสิทธิ เปนสิทธิของบุคคลหนงึ่ ที่มีตอบุคคลอกี บุคคลหนึ่ง จึงมี วัตถุแหงสิทธิเปนกระทําการหรืองดเวนกระทําการใด ซึ่ง บางครงั้ อาจมีทรพั ยสินเขามาเกี่ยวของ แตทรัพยส ินนั้น ไมใชวัตถุแหงบุคคลสิทธิ ถาทรัพยส ินสญู หายหรอื ถูก ทําลายไป บุคคลสิทธิก็ไมห มดไป |
2. ลักษณะแหงสิทธิ เปนสิทธิเด็ดขาด (Absolute Right) ที่ใชตอสูหรือยันกับ บุคคลทั่วไป บุคคลทุกคนมหี นาที่ไมขัดขวางการใชสทิ ธิ ของผูทรงทรัพยสิทธินั้น ที่ปรากฏชัดที่สุดคือ กรรมสทิ ธิ์ | 2. ลักษณะแหงสิทธิ เปนสิทธิสมั พัทธ (Relative Right) คือเปนสิทธิที่จะ เรียกรองใหเฉพาะคนที่เปนลูกหนเี้ ทานั้น บุคคลสิทธิจะ กอใหเกิดหนาที่แกบุคคลโดยเฉพาะเทานั้น |
3. ลักษณะแหงหนาที่ กอใหเกิดหนาทกี่ ับบุคคลทั่วไป หนาที่นี้จงึ มีลกั ษณะเปน การทั่วไปดวย ไมใชหนาที่โดยเฉพาะเจาะจง และจะเปน หนาท่ีในการงดเวน | 3. ลักษณะแหงหนาที่ กอใหเกิดหนาที่แกลูกหนี้โดยเฉพาะเจาะจง หนา ที่นี้จงึ เปนลักษณะเฉพาะเจาะจงและแนนอนดว ย |
4. การบังคบั ใชสิทธิ เปนสิทธิของบุคคลที่มอี ํานาจเหนือทรัพย การใชส ิทธิจึง ใชไดดวยตัวผูทรงทรัพยสิทธิเอง ปกตกิ ารใชทรัพยสทิ ธิไม ตองใชสิทธิทางศาล | 4. การบังคบั ใชสิทธิ เปน สิทธิของบุคคลหนึ่งทมี่ ีตออีกบุคคลหนึ่ง จงึ ตองใช สิทธิเรียกรอ งทางศาล ผทู รงบุคคลสิทธิไมอาจจะบังคบั เอากับเนื้อตัวรางกายหรือทรัพยส ินของผูมี หนาที่ตาม บุคคลสทิ ธินั้นตามลําพงั ได เพราะเปนเรื่องนโยบายของรฐั ในการรักษาความสงบเรียบรอ ยใหเ กิดข้ึนในสังคม |
5. อายุความแหงสิทธิ อายุความ (Prescription) ไมมีอายุความเสียสิทธิ (ยกเวน ภาระจํายอม กบั ภาระติด พัน) แตมีอายุความไดสิทธิ | 5. อายุความแหงสิทธิ อายุความ (Prescription) ไมมีอายุความไดสิทธิ์ แตมีอายุความเสียสิทธิ |
6. บอเกิดแหงสิทธิ สามารถกอ ตั้งไดก็แตอาศยั อํานาจของกฎหมายเทานน้ั | 6. บอเกิดแหงสิทธิ สามารถกอ ตั้งไดโดยนิติกรรม นิตเิ หตุ และบทบญั ญัติอื่นๆ ของกฎหมาย |
แบบฝกหัดทายบท
1. ทรัพยสิทธิ และ บุคลสิทธิ์ หมายความวาอะไร และแตกตางกันอยางไร
เอกสารอางอิง
บัญญัติ สุขชีวะ (2556). คําอธิบายกฎหมายลักษณะทรัพย (พิมพครั้งที่ 15 ปรับปรุงโดยไพโรจน วายุภาพ). บริษัท กรุงสยามพับลิชชิ่ง จํากัด. หนา 61
แผนบริหารการสอนประจําบทที่ 5
หัวขอเนื้อหาประจําบท : การไดมาซึ่งทรพ
1. การไดมาโดยทางนิติกรรม
ยสิทธ
2. การไดมาโดยทางอื่นนอกจากทางนิติกรรม
3. การเพิกถอนการไดมาซึ่งทรัพยสิทธิ
4. การระงับและกลับคืนมาซึ่งทรัพยสิทธิ
5. การเรียกรองอสังหาริมทรัพยเดียวกัน
6. แบบฝกหัดทายบท
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม
1. เพื่อใหนักศึกษาทราบและเขาใจถึงเรื่องของการไดมาซึ่งทรัพยสิทธิวามีการไดมาอยางไรบาง
2. นักศึกษาสามารถอธิบายชนิดของนิติกรรมที่เกี่ยวกับทรัพยสิทธิ และสาระสําคัญของนิติกรรม เหลานั้นได
3. น
ศึกษาสามารถวิเคราะหเปรย
บเทียบขอแตกตางระหวางการไดมาซึ่งทรัพยสิทธิโดยทางนิติกรรม
และโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรมได
4. สามารถนําความรูความเขาใจที่ไดรับไปใชในการวินิจฉัยผลทางกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยสินและ
ที่ดินได
วิธีการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจําบท
1. วิธีสอน
1.1 วิธีสอนแบบบรรยาย
1.2 วิธีสอนแบบอภิปราย
2. กิจกรรมการเรียนการสอน
2.1 ผูสอนบรรยายเรื่อง การไดมาซึ่งทรัพยสิทธิ
2.2 ยกตัวอยางคําพิพากษาและคําวินิจฉัยของศาล และตัวอยางกรณีศึกษาท่ีเกิดขึ้น ในปจจุบันและวิเคราะหหาคําตอบ
2.3 กําหนดประเด็นและโจทยปญหาใหนักศึกษาอภิปรายในชั้นเรียน และมอบหมายงานใหไป ศึกษา ดวยตนเองเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน โดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง
2.4 ใหนักศึกษาทําแบบฝกหัดทายบทที่ 5
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอน
2. บรรยายประกอบส่ือ Power Point
การวัดผลและการประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมการใหความรวมมือในชั้นเรียนโดยการซักถาม แสดงความคิดเห็นและอภิปราย ระหวางเรียน
2. ตรวจผลงานท่ีมอบหมาย
3. การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
4. สอบปลายภาค โดยขอสอบที่เนนการประเมินทักษะความรูในดานหลักการ แนวคิดทฤษฎี สามารถนําความรูท่ีไดรับไปใชวินิจฉัยเกี่ยวกับผลทางกฎหมายที่เกิดขึ้นได
บทที่ 5
การไดมาซึ่งทรัพยสทธ
มาตรา 1298 บญั ญัติวา “ทรัพยสิทธิทั้งหลายนั้น ทานวาจะกอตั้งขึ้นไดแตดวยอาศัยอํานาจในประมวล กฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น”
ตามมาตรา 1298 น้ี เปนบทบัญญัติในเรื่องการกอตั้งทรัพยสิทธิ ซึ่งจะกอตั้งขึ้นไดแตดวยอาศัยอํานาจ ในประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น การกอต้งขึ้นไดแตดวยกฎหมายนั้น หมายความวา จะตองมีกฎหมาย บัญญัติรูปแบบลักษณะทรัพยสิทธินั้นๆไวบุคคลใดจะกอตั้งทรัพยสิทธิใดนอกเหนือจากที่กฎหมายบัญญัติไวมิได ถึงแมจะตกลงทําสัญญากันโดยเรียกสิ่งที่ทําขึ้นตามสัญญาวาเปนทรัพยสิทธิ และใหบังคับแบบทรัพยสิทธิตาม
กฎหมาย ก็ไมสามารถบังค กฎหมาย
กันไดในลักษณะทรัพยสิทธิถาไมมีกฎหมายกําหนดใหสิทธินั้นเปนทรัพยสิทธิตาม
การไดมาซึ่งทรัพยสิทธิ บุคคลอาจไดมาซึ่งทรัพยสิทธิ
1. โดยผลของกฎหมาย
2. ไดมาโดยทางนิติกรรมสัญญา
1. ไดม าโดยผลของกฎหมาย กฎหมายบัญญัติถึงวิธีการที่จะไดมาซึ่งทรัพยสิทธิ โดยอาศัยอํานาจ ของกฎหมาย เชน สิทธิยึดหนวง ไดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 241 สิทธิครอบครองตาม มาตรา 1367 การปลูกสรางโรงเรือนรุกลําตามมาตรา 1312 การไดกรรมสิทธิ์โดยการครอบครองปรปกษตาม มาตร 1382 การไดตามหลกั สวนควบตามมาตรา 144 การไดที่งอกริมตลิ่งตามมาตรา 1308 และการไดมาซึ่ง กรรมสิทธิ์ตามมาตรา 1310 ถึงมาตรา 1315 ภารจํายอมไดมาตามมาตรา 1401 สิทธิในการไดรับมรดกไดมา ตามมาตรา 1599 และ 1603 สิทธิรับมรดกนี้ไมวาจะเปนการรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรมหรือผูรับ พินัยกรรมก็ตามถือวาเปนการไดมาโดยผลแหงกฎหมายทั้งสิ้น ลิขสิทธิ์ไดมาตามพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ พ.ศ. 2537 ลิขสิทธิ์ในเครื่องหมายการคาไดมาตามพระราชบญั ญติเครื่องหมายการคา พ.ศ. 2536 เปนตน
2. ไดมาโดยทางนิติกรรมสัญญา การไดมาโดยทางนิติกรรมสัญญาที่กอใหเกิดทรัพยสิทธิทําใหไดไป
ซึ่งสิทธิที่มีวัตถุแหงสิทธิรองรับเปนทรัพยสิน นิติกรรมสัญญาทําใหไดทรัพยสิทธิและมีทรัพยสิทธิตามที่กฎหมาย กอตั้งนั้น ตางกับนิติกรรมสัญญาที่กอใหเกิดเพียงบุคคลสิทธิ เพราะนิติกรรมสัญญาที่กอใหเกิดเพียงบุคคลสิทธิ ไมทําใหไดไปซึ่งวัตถุแหงสิทธิเปนทรัพยสินมีเพียงสิทธิเรียกรองระหวางคูสัญญา นิติกรรมสัญญาที่กอใหเกิด ทรัพยสิทธินั้นตองมีกฎหมายบัญญัติถึงลักษณะทรัพยสิทธิน้นไว ทรัพยสิทธิบางอยางโอนแกกันไดโดยทางนิติ กรรมเทานั้น เชน การซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให ทําใหไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครอง สัญญากอตั้งภารจํา ยอม สิทธิอาศัย สิทธิเหนือพื้นดิน สิทธิเก็บกิน เพราะ ป.พ.พ.มาตรา 1404 บัญญัติวา “สิทธิอาศัยจะโอนกัน
ไมได แมโ ดยทางมรดก” มาตรา 1418 วรรค 4 บัญญัติวา “ถาผูทรงสิทธิเก็บกนถึงแกความตาย สิทธินั้นยอมสน
ไปเสมอ” แตนิติกรรมเหลานี้จะทาํ ใหไดมาซงึ่ ทรพ
ยสท
ธิก็แตเฉพาะทรัพยสท
ธิที่กฎหมายรับรองไวเทานั้น จะทํา
นิติกรรมใหไดมาซึ่งทรัพยสิทธิอยางอื่นนอกเหนือไปจากที่กฎหมายรับรองแลวมิได
มาตรา 1299 “ภายในบังคับแหงบทบัญญัติในประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่นทานวา การไดมาโดยนิติกรรมซึ่งอสังหาริมทรัพยหรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยนั้นไมบริบูรณ เวนแตนิติกรรมจะไดทําเปนหนังสือและไดจดทะเบียนการไดมากับพนักงานเจาหนาที่
ถามีผูไดม าซึ่งอ สังหาริมทรัพยหรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยโดยทางอื่น นอกจากนิติกรรม สิทธิของผูไดมานั้น ถายังมิไดจดทะเบียนไซร ทานวาจะมีการเปลี่ยนแปลงทาง ทะเบียนไมได และสิทธิอันยังมิไดจดทะเบียนนั้น มิใหยกขึ้นเปนขอตอสูบุคคลภายนอกผูไดสิทธิมา โดยเสียคาตอบแทนและโดยสุจริต และไดจดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตแลว”
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1299 เปนบทบญ
ญัติเกี่ยวกบ
การไดมาซึ่งอสงั หาริมทรัพย
หรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสงั หาริมทรัพย และการไดมาเชนวาน ั้น ตามมาตรา 1299 แบงออกเปน 2 กรณี คือ
1. การไดมาซงึ่ อสงั หาริมทรัพย หรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย โดยนิติกรรม (วรรคหนงึ่ )
2. การไดมาซงึ่ อสงั หาริมทรัพยห กรรม (วรรคสอง)
รือทรพ
ยสิทธิอันเกี่ยวกับอสงั หาริมทรัพย โดยทางอ่ืนนอกจากนิติ
สําหรับการไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพย หรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย โดยนิติกรรมนั้น ไดมี บัญญัติไวในวรรคแรกของ มาตรา 1299 วาตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนกับพนักงานเจาหนาที่มิฉะนั้นไม บริบูรณ สวนการไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพย หรือทรัพยสิทธิอนั เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย โดยทางอื่นนอกจากนิติ กรรมนั้น ไดมีบัญญัติไวในวรรคสองของมาตรา 1299 วาถายังมิไดจดทะเบียน จะมีการเปล่ียนแปลงทาง ทะเบียนมิได และจะยกเปนขอตอสูบุคคลภายนอกผูไดสิทธิมาโดยเสียคาตอบแทน และโดยสุจริตและไดจด ทะเบียนสิทธิโดยสุจริตแลวไมได
การไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพย หรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย โดยนิติกรรมนั้นมีความหมาย
กวางมาก เพราะไมวาจะเปนการไดมาโดยการซ ขาย แลกเปลี่ยน ให จํานอง หรือตีใชหนี้ก็ถือเปนการไดมาโดย
นิติกรรมทั้งสิ้น แตการไดมาดังกลาวนั้นมิใชวาจะนํามาตรา 1299 วรรคแรกไปใชไดเสมอไป ตองพิจารณาถึง บทบัญญัติที่บังคับไวเกี่ยวกับวิธีการไดมาเปนเรื่อง ๆ ไป เชน หากเปนการไดมาโดยการซื้อขายก็ดูตามมาตรา 456 ไดมาโดยการแลกเปลี่ยนก็ดูตามมาตรา 519 และ 456 ไดมาโดยการใหก็ดูตามมาตรา 525 ไดมาโดยการ จํานองก็ดูตามมาตรา 714 ดังนี้เปนตน ซึ่งเมื่อบทบัญญัติดังกลาวบัญญัติวา หากมิไดทําเปนหนังสือและจด ทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ การไดมานั้นยอมเปนโมฆะหรือไม สมบูรณแลวก็ตองเปนไปตามนั้น จะอางวา การไดมานั้นเพียงไมบริบูรณตามมาตรา 1299 วรรคแรกหาไดไ ม หากไมมีบทกฎหมายบัญญัติไวโดยเฉพาะ เชน การไดอสังหาริมทรัพยโดยลูกหนี้ตีใชหนี้ก็ดี การไดทรัพยสิทธิในบรรพ 4 ทั้งหมด เชน การไดมาซ่ึงภารจํายอม สิทธิอาศัย สิทธิเก็บกิน หรือสิทธิเหนือพื้นดินก็ดี ยอมจะตองอยูภายใตบังคับของมาตรา 1299 วรรคแรกทั้งสิ้น
ขอควรสังเกต
สําหรับมาตรา 1299 วรรคแรก ก็คือ การไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพย หรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับ อสังหาริมทรัพยนั้น หากมิไดทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่แลว ยอมทําใหการไดมานั้น เพียงไมบริบูรณ ในฐานะเปนทรัพยสิทธิที่จะใชยันตอบุคคลภายนอกเทานั้น แตยังคงบริบูรณในฐานะเปนบุคคล สิทธิที่จะบังคับกันไดในระหวางคูสัญญาอยู (คําพิพากษาฎีกาท่ี 367/2495, 914/2503, 760/2507 และ 655/2508) เชน ก. ยอมให ข. เดินผานที่ดินของตนไปสูถนนหลวงโดยไมมีกําหนดเวลา แตมิไดทําเปนหนังสือ และจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ ดังนี้ถือวา ข. ไมไดทรัพยสิทธิ เปนการจํายอมในที่ดินของ ข. แต ข. ก็ยัง มีบุคคลสิทธิตามสัญญาในอันที่จะเดินผานที่ดินของ ก. อยู เพียงแตวาเมื่อขอตกลงมิไดกําหนดเวลาไว ก. จะ บอกเลิกขอตกลงนั้นเสียเมื่อใดก็ได หรือหาก ก. โอนที่ดินตอไปให ค. ค. จะไมยอมให ข. เดินผานที่ดินนั้นเลยก็ ได โดยไมตองคํานึงวา ค. สุจริตหรือไม หรือเสียคาตอบแทนหรือไม เพราะสิทธิที่ ข. จะเดินผานที่ดินของ ก. นั้น เมื่อมิไดทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ ยอมเปนเพียงบุคคลสิทธิใชบังคับบุคคลภายนอก มิไดเลย แมวาบุคคลภายนอกจะไมสุจริตหรือไมเสียคาตอบแทนก็ตาม แตทายาทหรือผูสืบสิทธิ (คําพิพากษา ฎีกาที่ 442/2486) และเจาหนี้สามัญ (คําพิพากษาฎีกาที่ 456 ถึง 458/2491) ของคูสัญญาหาใช
บุคคลภายนอกไม ฉะนั้น ทายาทผูสืบสิทธิหรือเจาหนี้สามญ มีอยูตามสัญญาอันเปนบุคคลสิทธินั้นดวย
ของคูสญ
ญาจงึ ยอมถูกบังคับตามสิทธิและหนาที่ ซึ่ง
มาตรา 1299 วรรคแรก นี้ จะใชแตเฉพาะการไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพย หรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับ อสังหาริมทรัพย โดยนิติกรรมระหวางเอกชนดวยกันเทานั้น เพราะหากเปนการที่รัฐหรือองคการของรัฐ เชน เทศบาลเปนผูไดมาแลว แมจ ะเปนการไดมาโดยนิติกรรม ก็มีคําพิพากษาฎีกาวินิจฉัยอยูหลายเรื่องวา หาจําตอง จดทะเบียนไม (คําพิพากษาฎีกาที่ 506/2490, 1042/2484 และ 583/2483) เชน การยกที่ดินใหเปนทาง สาธารณะไมวาจะยกใหแกรัฐหรือเทศบาลก็ไมจําตองจดทะเบียนอยางการโอนใหเอกชน
สําหรับการไดมาซึ่งอสังหารม
ทรพ
ย หรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสงั หาริมทรัพย โดยทางอ่ืนนอกจากนิติ
กรรมนั้น หากจะใหบริบูรณก็ตอ งจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่เชนกัน แตถามิไดจดทะเบียนตอพนักงาน เจาหนาที่ก็หาใชจะไมบริบูรณเสียเลยไม ยังถือวาการไดมานั้นบริบูรณใชยันระหวางคูกรณีได และบริบูรณใชยัน
บุคคลภายนอกผูซึ่งไดอสังหาริมทรัพยหรอ
ทรพ
ยสิทธิเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยนั้นไปโดยไมสุจริต หรือโดยไมเสีย
คาตอบแทนได เพียงแตมีสวนไมบริบูรณอยูบางเฉพาะจะเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนมิได และจะยกข้ึนเปนขอ ตอสูบุคคลภายนอกผูไดอสังหาริมทรัพย หรือทรัพยสิทธิเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยน้ันไปโดยสุจริต และเสีย คาตอบแทนทั้งไดจดทะเบียนสิทธินั้นโดยสุจริตมิไดเทานั้น
มาตรา 1299 วรรคสองนี้ ประสงคจะคุมครองบุคคลภายนอกผูสุจริต เสียคาตอบแทนและจดทะเบียน สิทธิการไดมาโดยสุจริต ใหมีสิทธิดีกวาผูที่ไดอสังหาริมทรัพย หรือทรัพยสิทธิเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย โดยทาง อื่นนอกจากนิติกรรม ซึ่งมิไดจดทะเบียนการไดมาเทานั้น มิไดประสงคจะคุมครองใหมีสิทธิดีกวาเจาของอัน
แทจริงในอสังหาริมทรัพย หรือในทรัพยสิทธิเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย เพราะอํานาจกรรมสิทธิ์ของเจาของนั้น ยอมจะยิ่งใหญกวาอํานาจอื่น เปนอํานาจที่มีอยูตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1336 ในอันที่จะ ใชสอย จําหนาย ไดดอกผล ติดตามและเอาคืนจากผูไมมีสิทธิจะยึดถือไว ขัดขวางมิใหผูใดเขามาเกี่ยวของโดยมิ ชอบดวยกฎหมาย ฉะนั้นผูที่ไดมาซึ่งทรัพยสินหรือทรัพยสิทธิเกี่ยวแกทรัพยสินจากผูที่มิใชเจาของ หรือผูที่ไมมี อํานาจโอนใหไดแลว ผูนั้นยอมไมมีสิทธิดีกวาเจาของ เหตุนี้จึงเกิดหลักกฎหมายวาผูรับโอนไมมีสิทธิดีกวาผูโอน กลาวคือ หากผูโอนไมมีอํานาจที่จะโอนใหไดแลว ผูรับโอนก็ไมไดอะไรมา ทั้งนี้โดยไมตองพิจารณาวา ผูรับโอน จากผูไมมีอํานาจโอนนั้นจะสุจริต หรือเสียคาตอบแทนหรือไม เวนแตกรณีจะเขาขอยกเวนตามมาตรา 1329 ถึง มาตรา 1332 แมมาตรา 1299 วรรคสองจะเปนขอยกเวนอันหนึ่งของหลักกฎหมายที่วาผูรับโอนไมมีสิทธิดีกวา ผูโอนก็ตาม แตก็เปนขอยกเวนที่ใชเฉพาะกับผูไดมาโดยทางอื่น นอกจากนิติกรรมเทานั้น หาไดเปนขอยกเวนที่ จะนํามาใชกับเจาของอันแทจริงไม ดังจะเห็นไดจากคําพิพากษาฎีกาตอไปนี้
คําพิพากษาฎีกาที่ 1315/2493 มีผูปลอมโฉนดที่ดินของเขา แลวเอาไปจํานองโดยเจาของที่ดินมิได
ประมาทเลินเลอ ดังนี้ผูรับจํานองไมไดทรัพยสิทธิอยางใดในที่ดินนั้น จะยกมาตรา 1299 มาอ ที่ดินมีสิทธิขอใหเพิกถอนนิติกรรมจํานองได
งอิงมิได เจาของ
คําพิพากษาฎีกาที่ 230/2501 จําเลยเอาโฉนดของโจทกโอนเปนของตน โดยโจทกมิไดรูเห็นยินยอม
กรรมสิทธิ์ยังเปนของโจทกอยู จําเลยไมมีสิทธิเอาไปจํานอง ผูรับจํานองไมมีสิทธิตามสัญญาจํานอ
คําพิพากษาฎีกาที่ 683/2507 โจทกซึ่งเปนเจาของที่ดินมือเปลาไดใหจําเลยท่ี 1 ดูแลจัดใหคนเชา จําเลยที่ 1 เอาที่ดินนั้นไปขายใหจําเลยที่ 2 โดยทําสัญญาซื้อขายกันที่อําเภอ จําเลยที่ 2 รับโอนไวโดยสุจริต
ดังนี้จําเลยที่ 2 ก็ไมไดสิทธิในที่ดินตามมาตรา 1299, 1300
คําพิพากษาฎีกาที่ 996 – 997/2509 ขอออกโฉนดทับที่ดินของผูอื่น และเจาพนักงานที่ดินไดออก โฉนดใหโดยไมมีอํานาจ โฉนดที่ออกมาจึงไมชอบดวยกฎหมาย ผูมีชื่อในโฉนดไมไดกรรมสิทธิ์ตามโฉนดนั้น แม จะโอนใหผูใดตอไป ผูรับโอนก็ไมไดกรรมสิทธิ์ เมื่อโฉนดออกมาโดยไมชอบดวยกฎหมาย ผูไดกรรมสิทธิ์ทาง ทะเบียนจะนํามาตรา 1299 วรรคสองมาใชยันเจาของเดิมมิได
คําพิพากษาฎีกาที่ 325/2514 จําเลยเอาที่ดินมือเปลาของผูรองไปออก น.ส. 3 เปนของตน แลว
จํานองไวกับโจทก เมื่อศาลพิพากษาใหเพิกถอน น.ส. 3 โดยฟงวาที่ดินเปนของผูรองแลวเชนนี้ แมศาลจะมิได พิพากษาใหเพิกถอนจําเลย และแมจะฟงวาโจทกรับจํานองไวโดยสุจริตก็ตาม โจทกก็ไมมีสิทธิบังคับจํานอง
มีผูเขาใจวา มาตรา 1299 วรรคสอง นี้ใชเฉพาะสําหรับไดอสังหาริมทรัพย หรือทรัพยสิทธิเกี่ยวกับ อสังหาริมทรัพยที่มีชื่อทางทะเบียนเทานั้น แตถอยคําตามตัวบทหาเปนเชนนั้นไม อสังหาริมทรัพยไมวาประเภท ใด หรือทรัพยสิทธิเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยชนิดใดก็ตามยอมจะตองอยูในความหมายของมาตรา 1299 ทั้งสิ้น ดังจะเห็นไดจากคําพิพากษาฎีกาที่ 1101/2504 ที่วาที่ดินมือเปลา ถาผูโอนและผูรับโอนประสงคจะทําการโอน โดยผลของนิติกรรมก็ตองทํานิติกรรมใหถูกตองตามแบบดังที่บัญญัติไวในมาตรา 1299 วรรคแรก และ
คําพิพากษาฎีกาที่ 326/2495 ที่วาการไดท่ีนามือเปลามาโดยการครอบครอง ถาไมจดทะเบียนการไดมาซึ่ง สิทธิครอบครอง จะยกเปนขอตอสูบุคคลภายนอกผูไดสิทธิมาโดยเสียคาตอบแทนโดยสุจริต และจดทะเบียน สิทธิโดยสุจริตแลวไมได
การไดมาโดยทางอ่ืนนอกจากนิติกรรมนั้น หมายถึงการไดมาโดยมิไดเกิดจากนิติกรรม ตามแนวคํา พิพากษาฎีกาพอจะวางหลักไดวา หมายถึงการไดมาโดยผลแหงกฎหมายประการหน่ึง เชน การไดกรรมสิทธิ์ใน อสังหาริมทรัพยโดยการครอบครองปรปกษตามมาตรา 1382 หรือ การไดภารจํายอมโดยอายุความตามมาตรา 1401 และ 1382 และหมายถึงการไดมาโดยการรับมรดกไมวาจะเปนการรับมรดกในฐานะเปนทายาทโดยธรรม หรือเปนผูรับพินัยกรรมประการหนึ่ง และหมายถึงการไดมาโดยคําพิพากษาของศาลอีกประการหนึ่ง
สําหรับการไดมาโดยการรับรองมรดกนั้น ได ีคาพํ ิพากษาฎกี าที่ 1619/2506 วินิจฉัยวา ตามประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1599 ทายาทยอมไดกรรมสิทธิ์ในทรัพยมรดกต้งแตเจามรดกตาย แมจะยัง ไมไดจดทะเบียนสิทธินั้นตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1299 ก็ตาม ก็มีสิทธิฟองขับไลผูเชา ทรัพยมรดกนั้นได และคําพิพากษาฎีกาท่ี 1812/2506 วินิจฉัยวา เมื่อผูทําพินัยกรรมตายที่ดินที่ระบุไวใน พินัยกรรมยอมตกไดแกผูรับพินัยกรรมทันทีตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1673 โดยมิตองทํา การรับมรดกและเขาครอบครองที่ดินนั้น โดยเหตุนี้เจาของที่ดินเชนวานี้จึงมีอํานาจฟองใหศาลสั่งแสดง กรรมสิทธิ์และขับไลผูอาศัยได
การไดมาในฐานะเปนผูรับพินัยกรรมนั้น มีความเห็นแยงวานาจะเปนการไดมาโดยนิติกรรม เพราะเปน การไดมาจากพินัยกรรมซึ่งเปนนิติกรรมอยางหนึ่ง แตเปนนิติกรรมฝายเดียว ความเห็นเชนนี้ก็มีเหตุผลอยู แต การรับมรดกในฐานะเปนผูรับพินัยกรรมนี้ แมจะเริ่มตนดวยนิติกรรมแตผลที่ไดรับยอมเปนไปตามที่กฎหมาย บัญญัติไว กลาวคือ ผูรับพินัยกรรมจะไดรับมรดกก็ตอเมื่อผูทําพินัยกรรมตายแลวเทานั้น ผูทําพินัยกรรมจะให
ทร ยมรดกตกไดแกผูรับพินัยกรรมกอนคนตายหาไดไม ผลแหงการที่ไดรับทรัพยมรดกของผูรับพินัยกรรมจึง
นาจะถือวาเปนผลตามกฎหมายมากกวา ถาถือวาเปนการไดมาโดยนิติกรรมแลว หากเปนอสังหาริมทรัพยก็ตอง
จดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาท่ีตามมาตรา 1299 วรรคแรก มิฉะนั้นไมบริบูรณ ใชย ตอ บุคคลภายนอกไมได
เลย เชนจะฟองขับไลผูที่อยูในที่ดินอันเปนมรดกก็มิได แตก็ไดมีคําพิพากษาฎีกาท่ี 1619/2506 และ 1812/2506 วินิจฉัยไวแลววา มีสิทธิฟองขับไลผูเชาหรือผูอาศัยซึ่งที่ดินอันเปนมรดกนั้นได จึงนาจะปรับเขากับ มาตรา 1299 วรรคสอง คือใชยันบุคคลภายนอกได เวนแตบุคคลภายนอกนั้นจะสุจริต เสียคาตอบแทน และได จดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตแลว
การไดมาโดยคําพิพากษานั้นไดมีคําพิพากษาฎีกาท่ี 352/2488 วินิจฉัยวา คําพิพากษาซึ่งแสดงให
บุคคลไดสิทธิหรือมีสิทธิอยางใดนั้น บุคคลนั้นยอมไดสิทธิหรือมีสิทธิตามคําพิพากษาโดยบริบูรณ แมเปน อสังหาริมทรัพยก็ไมตองจดทะเบียนเสียกอน การจดทะเบียนเปนแตเพียงทรัพยสิทธิที่จะใชยันบุคคลภายนอก ไดเทานั้น
สําหรับการไดมาโดยคําพิพากษาของศาลนี้นาจะตองเปนคําพิพากษาที่ไดวินิจฉัยชี้ขาดโดยศาลเอง มิใช โดยคําพิพากษาท่ีพิพากษาตามสัญญาประนีประนอมยอมความ เพราะคําพิพากษาตามสัญญาประนีประนอม ยอมความนั้นเปนเพียงการยอมรับบังคับตามสัญญาประนีประนอมยอมความซึ่งเปนนิติกรรมเทานั้น จึงถือวา การไดมาโดยคําพิพากษาตามสัญญาประนีประนอมยอมความนั้นเปนการไดมาโดยนิติกรรม มิใชโดยทางอื่น นอกจากนิติกรรม
มีขอสังเกตวา สําหรับการไดมาทางอื่นนอกจากนิติกรรมน้น หากเปนการไดภารจํายอมโดยการ
ครอบครองตามมาตรา 1401 และ 1382 แลว แม ะมิไดจดทะเบียนการไดมาตามมาตรา 1299 วรรคสอง ก็ใช
ยันบุคคลผูไดรับโอนกรรมสิทธิ์ในภารยทรัพยนั้นได แมวาบุคคลภายนอกนั้นจะสุจริตและเสียคาตอบแทนก็ตาม ทั้งนี้ตามนัยคําพิพากษาฎีกาที่ 800/2502 ซ่ึงใหเหตุผลวามาตรา 1299 วรรคสอง ใชเฉพาะกับทรัพยสิทธิของ บุคคลภายนอกซึ่งเปนทรัพยสิทธิอันเดียวกับสิทธิที่ยังมิไดจดทะเบียนเทานั้น ภารจํายอมเปนการโอนสิทธิ แต ทรัพยสิทธิในภารยทรัพยที่บุคคลภายนอกไดไปเปนกรรมสิทธิ์ อันถือวาเปนทรัพยสิทธิตางประเภทกัน
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 800/2502
ภาระจํายอมจะสิ้นไปก็แตเมื่อภารยทรัพยหรือสามยทรัพยสลายไปท้งหมดหรือมิไดใชสิบปตาม ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1397,1399 และในลักษณะซื้อขายตาม มาตรา 480 ก็ยัง
บัญญัติวา"ถาอสังหาริมทรัพยตองแสดงวาตกอยูในบังคับแหงภาระจายอมโดยกฎหมายไซร ทานวาผูขาย
ไมตองรับผิด เวนแตผูขายจะไดรับรองไวในสัญญาวาทรัพยนั้นปลอดจากภาระจํายอมอยางใดๆ ทั้งสิ้น หรือปลอดจากภาระจํายอมอันนั้น"
ตาม มาตรา 1299 หมายถึงแตกรณีที่บุคคลไดมาโดยสุจริตซึ่งทรัพยสิทธิอันเดียวกันกับสิทธิท่ยัง ไมไดจดทะเบียน ผูรับโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดินซึ่งมีภาระจํายอมติดอยู หาไดสิทธิในภาระจํายอมไปดวยแต อยางไรไม สําหรับที่ดินอันเปนภารยทรัพยนั้น ภาระจํายอมที่มีอยูเปนแตการรอนสิทธิตาม มาตรา 480 เทาน้น ผูรับโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินจะยกการรับโอนกรรมสิทธิ์โดยสุจริตขึ้นเปนขอตอสูเพื่อใหภาระจํายอมที่ มีอยูในที่ดินนั้นตองสิ้นไปหาไดไม (ประชุมใหญ ครั้งที่ 7/2502)
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 805/2518 ที่ดินของโจทกมีทางภารจํายอมผานที่ดินของจําเลยมากวา
10 ป จําเลยซื้อท่ีดินจากศาลขายทอดตลาดและจดทะเบียนโดยสุจริต จําเลยอางมาตรา 1299 ยันโจทก ไมได มาตรา1299 หมายความถึงกรณีที่โตเถียงกันในเรื่องการไดสิทธิในทรัพยสิทธิอันเดียวกันมิใชภาร จํายอมของโจทกกับกรรมสิทธิ์ของจําเลย ที่ดินของโจทกยังเปนสามยทรัพยอยูตอไปแมโจทกจะจด ทะเบียนเปนเจาของหลังจากที่จําเลยจดทะเบียนซื้อที่ดินของจําเลยก็ตาม
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1470/2503 จําเลยจะยกการรับโอนกรรมสิทธิ์โดยสุจริตขึ้นเปนขอ
ตอสูเพื่อใหภารจํายอมที่มีอยูในที่ดินนั้นตองสิ้นไปเพราะเหตุมิไดจดทะเบียนภารจํายอมหาไดไม (อาง ฎีกาที่ 800/2502 ซึ่งตัดสินโดยที่ประชุมใหญ)
การได าซ่ึงอสังหารมิ ทรพยั หรือทรัพยสิทธิอันเก่ยี วกับอสังหาริมทรัพยโดยทางนิติกรรม (มาตรา
1299 วรรคหนึ่ง)
ขอพิจารณา
1. บทบัญญัติในมาตรา 1299 วรรคหนึ่งที่วา “ภายในบังคับแหงบทบัญญัติในประมวลกฎหมายนี้หรือ กฎหมายอื่น...” นั้นหมายความวา ถามีกฎหมายบัญญัติไวแลว
ขอยกเวนของการไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์โดยทางนิติกรรม
1. หลักผูรับโอนไมมีสิทธิดีกวาผูโอน การไดมาโดยทางนิติกรรมแมจะไดทําเปนหนังสือและจดทะเบียนแลวก็ตาม แตหากผูโอนไมมีอํานาจ
หรือไมมีสิทธิที่จะโอนอสงั หาริมทรัพยหรอ ทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสงั หาริมทรัพยใหนั้น ผูรับโอนก็จะไมไดไปซึ่ง
อสังหาริมทรัพยหรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับ อสังหาริมทรัพยนั้น
ตัวอยาง
(1) ซื้อที่ดินจากผูที่ไมมีอํานาจขายแมจะเปนการซื้อขายโดยสุจริตก็ไมได กรรมสิทธิ์นั้น ผูซื้อยอมมี อํานาจฟองเรียกเงินคืนจากผูขายได
(2) มีคนปลอมหนังสือมอบอํานาจแลวเอาโฉนดที่ดินไปจดทะเบียนจํานองไว ผูปลอมยอมไมมีสิทธิเอา ที่ดินไปจํานองเพราะไมไดเปนเจาของที่ดิน คนรับจํานองไวก็ไมมีสิทธิดวย ทั้งนี้เจาของที่ดินจะตองไมประมาท เลินเลอดวย
ขอสังเกต แมจะไมไดกรรมสิทธิ์หรือทรัพยสิทธิโดยนิติกรรมตามหลักผูรับโอนไมมีสิทธิ ดีกวาผูโอนก็
ตาม แตผูนั้นอาจจะไดกรรมสิทธิ์หรือทรัพยสิทธินั้นโดยการครอบครองปรปกษตาม มาตรา 1382 ได
ขอยกเวนของหลักผูรับโอนไมมีสิทธิดีกวาผูโอน
1. กรณีเรื่องตัวแทนเชิดตามมาตรา 821 ถาบุคคลภายนอกสุจริต ก็จะไมนําหลักผูรับโอนไมมีสิทธิ ดีกวาผูโ อนมาใช
2. การไดกรรมสิทธ์ิมาโดยทางอ่ืนนอกจากนิติกรรมตามมาตรา 1299 วรรคสอง
3. การโอนอสังหาริมทรัพยหรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยเปนทาง เสียเปรียบแกบุคคลผู
อยูในฐานะอันจะใหจดทะเบยนสิทธิของตนไดอยูกอน บุคคลผูนั้นอาจเรียกใหเพิกถอนการจดทะเบียนนั้นได แต
จะเพิกถอนทะเบียนบุคคลภายนอกผูรับโอนโดยสุจริตและเสียคาตอบแทนไมได ตามมาตรา 1300
4. สิทธิของบุคคลผูไดมาซึ่งทรัพยสินโดยมีคาตอบแทนและโดยสุจริตไมเสียไป ถึงแมวาผูโอนทรัพยสิน ใหจะไดทรัพยสินนั้นมาโดยนิติกรรมอันเปนโมฆียะ และนิติกรรมนั้นไดถูกบอกลางภายหลังตามมาตรา 1329
5. สิทธิของบุคคลผูซื้อทรัพยสินโดยสุจริตในการขายทอดตลาดตามคําสั่งศาล หรือคําสั่งเจาพนักงาน รักษาทรัพยในคดีลมละลายนั้นไมเสียไป ถึงแมภายหลังจะพิสูจนไดวาทรัพยสินนั้นไมใชของจําเลย หรือลูกหนี้
โดยคําพิพากษา หรือผ มละลายตามมาตรา 1330
6. สิทธิของบุคคลผูไดเงินตรามาโดยสุจริตนั้นไมเสียไปถึงแมภายหลังจะพิสูจน ไดวาเงินน้นไมใชของ บุคคลซึ่งไดโอนใหมาตามมาตรา 1331
7. บุคคลผูซื้อทรัพยสินมาโดยสุจริตในการขายทอดตลาดหรือในทองตลาด หรือจากพอคาซึ่งขายของ ชนิดนั้น ไมจําตองคืนใหแกเจาของแทจริง เวนแตเจาของจะชดใชราคาที่ซื้อมาตามมาตรา 1332
คําพิพากษาฎีกาในเรื่องขอยกเวนหลักผูรับโอนไมมีสิทธิดีกวาผูโอน
1. สิทธิครอบครองตามมาตรา 1382 ที่ยังไมไดจดทะเบียนจะยกขึ้นเปน
ขอตอสบ
ุคคลภายนอกผร
ับโอน
ซ่ึงได สิทธิมาโดยสุจริต เสียคาตอบแทน และจดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตตามมาตรา 1299 วรรคสองแลวมิได (คํา พิพากษาฎีกาที่ 1346/2506)
2. บุคคลภายนอกที่จะไดร ความคมุ ครองตามมาตรา 1299 วรรคสอง ตองเปนการไดสิทธิในที่ดินที่จด
ทะเบียนแลวและสิทธิที่ไดนั้นตองเกิดจาก เอกสารสิทธิ์ของที่ดินที่ออกโดยชอบดวย เมื่อการออกโฉนดที่ดินไม ชอบผูรับจํานอง (บุคคลภายนอก) จะอางสิทธิที่เกิดขึ้นจากสวนที่ออกโดยชอบไมได กรณีไมอยูในบังคับของ มาตรา 1299 วรรคสอง (คําพิพากษาฎีกาที่ 6229/2549)
ขอสังเกต ขอ 2 นี้ เปนเร่ืองขอยกเวนของขอยกเวนหลักผูรับโอนไมมีสิทธิดีกวาผูโอน มาตรา 1299
วรรคหนึ่ง
ขอสังเกต
(1) การไดมาโดยทางนิติกรรมแมจะไมไดทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจา หนาที่จะเปน ผลใหการไดมาไมบริบูรณก็ตาม แตผูที่ไดมาถือวาอยูในฐานะที่จะจดทะเบียนสิทธิของตนไดอยูกอนตาม มาตรา
1300 ถ มีการโอนไปทําใหเสียเปรียบก็ขอใหเพิกถอนการจดทะเบียนได เวนแตคนที่ไดรับโอนไปทําการโดย
สุจริตและเสียคาตอบแทน
(2) การซื้อท่ีดินโดยสุจริตจากการขายทอดตลาดตามคําสั่งศาลตามมาตรา 1330 แมจะยังไมไดทํานิติ กรรมโอนตอเจาพนักงานเจาหนาที่ ผูซื้อก็มีสิทธิและอํานาจฟองขับไลผูที่อาศัยในที่ดินได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 508/2506 ผูซือ้ ที่ดินจากการขายทอดตลาดตามคําสั่งศาลไวโดยสุจริตถึงแม
จะยังไมไดทํา นิติกรรมโอนตอพนักงานเจาหนาที่ผูซื้อยอมมีสิทธิและมีอํานาจฟองขับไล ผูที่อาศัยอยูในที่ดินนั้น ใหออกไปได
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๓๓๐ เปนบทกฎหมายกําหนดเร่ืองการขายทอดตลาด
ทรัพยตามคําสั่งศาลไวเปนกรณีพิเศษ ไมอยูในขายของการซื้อขายอสังหารม นิติกรรมไวตามมาตรา 456
ทรัพยทั่วไปดังที่ไดบัญญัติเรื่องแบบ
ผูครอบครองที่ดินจะรูหรือไมวามีการขายทอดตลาดก็หาเปน การขายทอดตลาดตามคําสั่งศาลไดไม
เหตุทจ
ะยกขึ้น ตอสูสิทธิของผูซื้อที่ดินจาก
(3) ไมนํามาตรา 1299 วรรคหนึ่ง มาใชกับกรณีท่ีการไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพยหรือทรัพยสิทธิอัน เกี่ยวกับ อสังหาริมทรัพยในทางนิติกรรมนั้น เปนการไดมาของแผนดินหรือกลับมาเปนของแผนดินโดยทางนิติ กรรม จึงไมจําเปนตองไปทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตามมาตรา 1299 วรรคหนึ่ง การไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพยหรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยโดยทางอ่ืนนอกจากนิติกรรม มาตรา 1299 วรรคสอง
ผลของการไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพยหรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรพั ยตามมาตรา 1299 วรรค
สอง
1. จะมีการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนใดๆ ไมได เพราะยังไมไดจดทะเบียนการไดมา
ขอสังเกต จะตองฟองหรือรองขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งใหไดกรรมสิทธิ์มาโดยครอบ ครอง
ปรปกษ แตศาลจะไปบังคับใหเจาของเดิมไปจดทะเบียนโอนใหไมได ตองถือคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลเปน หลักฐานแทน
2. จะยกขึ้นเปนขอตอสูบุคคลภายนอกผูไดสิทธิอยางเดียวกัน โดยมีคาตอบแทนและโดยสุจริตและได จดทะเบียนโดยสุจริตแลวนั้นไมได
ขอสังเกต
(1) ผูสืบสิทธิหรือทายาทของเจาของทรัพยไมใชบุคคลภายนอก
(2) เจาหนี้สามัญไมอยูในฐานะของบุคคลภายนอก
(3) เจาหนี้บุริมสิทธิ ถือวาเปนบุคคลภายนอก
(4) ทรัพยสิทธิของบุคคลภายนอกที่ไดมานั้นจะตองเปนประเภทเดียวกันกับ ทรัพยสิทธิของผูที่ไดมา โดยทางอื่นนอกจากทางนิติกรรม ดังนั้น ถาเปนทรัพยสิทธิคนละประเภท เชน กรรมสิทธิ์กับภาระจํายอม ก็ไม อยูในบังคับของมาตรา 1299 วรรคสอง
3 การไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์โดยการครอบครองและมีคําพิพากษารับรองการไดสิทธิในการ ครอบครองใน ภายหลงั ที่ไดมีการโอนใหบุคคลภายนอกแลว จะยกขึ้นเปนขอตอสูบุคคลภายนอกผูไดสิทธิมาโดยสุจริต เสีย คาตอบแทนและไดจดทะเบียนโดยสุจริตแลวไมได (คําพิพากษาฎีกาที่ 336/2516)
4. บุคคลภายนอกรับโอนมาแล มีการโอนตอ ไปเปนชว งๆ หลายทอด คนท่ีไดมาโดยทางอื่นนอกจาก
นิติกรรม จะตอสูบุคคลภายนอกที่มีการโอนกันเปนชวงๆ ไมได หากผูรับโอนชวงไดรับโอนมาจากผูโอนซึ่งสุจริต เสียคาตอบแทนและไดจดทะเบียนแลว แตถาเปนการไดมาโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรมหากไดอยูตอมาจน ครอบครอง ปรปกษครบ 10 ป เชนนี้สิทธิในการไดที่ดินพิพาทมาโดยการครอบครองปรปกษเกิดขึ้นใหม คนที่ ไดมาโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรมจึงมีอํานาจสูได
คําพิพากษาศาลฎีกาท่ี 2511/2518 โจทกไดกรรมสิทธิ์ที่ดินโดยครอบครองเกิน 10 ป แตไมไดจด
ทะเบียน ใชยัน อ. ผูซื้อโดยสุจริตไมได โจทกครอบครองตอมาไมถึง 10 ป อ. ขายที่ดินตอไปแกจําเลย ไมวา
จําเลยสุจริตหรือไม โจทกก็ไมมีสิทธิดีกวาจําเลย คําสั่งศาลที่โจทกรองขอใหแสดงวาโจทกไดกรรมสิทธิ์โดยการ ครอบครองปรปกษ ใชยัน อ. และจําเลยไมได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7007/2540 โจทกเปนทายาทไดรับที่ดินมรดกของ ป. เปนการไดมาซึ่ง
ทรัพยสิทธิโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรม สวนจําเลยกับ น.รับโอนที่ดินดังกลาวมาโดยผูโอนขายให โดยเสีย คาตอบแทนและโดย สุจริตและไดจดทะเบียนโดยสุจริต เมื่อที่ดินสวนของ น. น.มีสิทธิดีกวาโจทก ตามประมวล กฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 1299 วรรคสอง แมตอมาที่ดินสวนนี้จะตกเปนกรรมสิทธิ์ของ ห.เมื่อ ห.ถึงแก กรรมจําเลย และ ถ.เปนผูรับโอนมรดกที่ดินสวนของ ห. โดยไมเสียคาตอบแทน โจทกก็ไมอาจยกสิทธิของตนใช ยันจําเลยได เพราะสิทธิของโจทกขาดตอนไปแลว ตั้งแต น. รับโอนทางทะเบียนโดยสุจริต จะนําหลักกฎหมาย ทั่วไปที่วา ผูรับโอนไมมีสิทธิดีกวาผูโอนมาใชบังคับไมไดเพราะสิทธิหลักกฎหมายทั่ว ไปดังกลาว
5. มาตรา 1299 วรรคสอง โดยปกติจะใชบังคับแตที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์เทาน้น แตตอมามีคําพิพากษา ฎีกาวินิจฉัยใหรวมถึงที่ดินที่มีหนังสือสําคัญแสดงสิทธิ ครอบครองดวย เชน น.ส.3 หรือ น.ส.3 ก
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 427/2538 ที่ดินพิพาทเปนที่ดินที่มีหนังสือรับรองการทําประโยชน (น.ส.3)
แมโจทกจะไดสิทธิครอบครองในที่ดินพิพาทมาจริงดังโจทกกลาวอางการไดมา ของโจทกก็เปนการไดมาซึ่ง ทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยซึ่งถา ยังมิไดจดทะเบียนไซรโจทกก็จะยกขึ้นเปนขอตอสูจําเลยที่ 2 ซึ่ง
เปนบุคคลภายนอกผูไดสิทธิในที่ดินพิพาทมาจากจาํ เลยที่1โดยเสียคาตอบ แทนและโดยสจ โดยสุจริตแลว หาไดไมตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชยมาตรา 1299 วรรคสอง
รตและไดจดทะเบยน
6. กรณีโอนท่ีดินสลับโฉนดกัน หากไดมีการโอนที่ดินดังกลาวใหแกบุคคลภายนอกโดยสุจรติและเสีย คาตอบแทน ก็ตองอยูภายในบังคับของมาตรา 1299 วรรคสอง แตถาไมมีบุคคลภายนอกเขามาเกี่ยวของเลยผูที่ ครอบครองที่ดินอยูก็มี สิทธิใหเจาของเดิมโอนโฉนดที่ดินดังกลาวนั้นใหถูกตองได
7. กรณีที่ใสชื่อบุคคลอื่นไวในฐานะเปนตัวแทน ตัวการผูเปนเจาของที่แทจริงไดกรรมสิทธิ์ในที่ดินนั้น
โดยไมจําเปนต ง ไปจดทะเบียนก็สมบูรณ โดยศาลฎีกาวินิจฉัยวา ตัวการสามารถนําสืบใหเห็นวาตัวแทนถือ
กรรมสิทธิ์ที่ดินแทนตัวการ โดยไมถือวาเปนการสืบเปลี่ยนแปลงแกไขเอกสาร
8. กรณีผูไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพยโดยทางอื่นตามมาตรา 1299 วรรคสอง แตยังไมไดจดทะเบียนและ หากผูไดมานั้นจะไดคืนอสังหาริมทรัพยใหแกเจา ของเดิม เชนนี้เจาของเดิมไมตองแกไขทางทะเบียน
การเพิกถอนการไดทรัพยสิทธิทางทะเบียน
มาตรา 1300 บัญญัติวา “ถาไดจดทะเบียนการโอนอสังหาริมทรัพยหรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับ อสังหาริมทรัพยเปนทางเสียเปรียบแกบุคคลผูอยูในฐานะอันจะใหจดทะเบียนสิทธิของตนไดอยูไซร ทานวา
บุคคลน อาจเรียกใหเพกิ ถอนการจดทะเบียนนั้นได แตการโอนอันมีคาตอบแทน ซึ่งผูรับโอนกระทําโดยสุจริต
นั้น ไมวากรณีจะเปนประการใด ทานวาจะเพิกถอนทะเบียนไมได”
1. บุคคลผูอยูในฐานะอันจะใหจดทะเบียนสิทธิของตนไดอยูกอนนั้น ไดแก บุคคลผูทํานิติกรรมเพื่อให
ไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพยหรือทรพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสงั หาริมทรัพย แตยังมิทันไดทําเปนหนังสือและจดทะเบียน
การไดมาตอพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมายบัญญัติไว บุคคลผูไดอสังหาริมทรัพยหรือทรัพยสิทธิใน อสังหาริมทรัพยโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรมแตยงั มิไดจดทะเบียนการไดมาตามมาตรา 1299 วรรค 2
2. ผูที่อยูในฐานะอันจะใหจดทะเบียนสิทธิของตนไดกอนจะขอใหเพิกถอนการจดทะเบียนโอน
อสังหาริมทรัพย หรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหารม
ทรพ
ยไดก็ตอเมื่อ (1) การจดทะเบียนการโอนน
ทําใหตน
เสียเปรียบ (2) ผูรับโอนรับโอนไปโดยไมมีคาตอบแทน หรือถาเปนการโอนโดยมีคาตอบแทน ผูรับโอนก็กระทํา การโดยไมสุจริต
แบบฝกหัดทายบท
1. นายเอกและนายโทเปนเจาของที่ดินซึ่งอยูติดกัน นายเอกทําหนังสือเปนลายลักษณอักษร ยินยอมให
นายโทใช างเดินในที่ดินของนายเอกสูทางสาธารณะไดตลอดไป ภายหลังตอมานายเอกและนายโททะเลาะ
เบาะแวงกันอยางรุนแรง นายเอกเห็นวาสัญญาระหวางนายเอกและนายโทนั้นยังไมไดจดทะเบียนตอพนักงาน เจาหนาที่ จึงหามไมใหนายโทใชทางเดินสูสาธารณะอีก
ใหทานวินิจฉัยวา นายเอกจะอางเหตุผลที่ยังไมไดจดทะเบียน หามไมใหนายโทใชทางภาระจํายอมได หรือไม เพราะเหตุใด
2. นายแกวกับนายขวดทําสัญญากนั ดวยวาจาใหนายขวดมีสิทธิเก็บกินบนท่ีดินของนายแกวเปนเวลา 5 ป เมื่อนายขวดเขามาใชสิทธิเก็บกินได 3 ป นายแกวขายที่ดินใหนายถวย นายถวยตองการทําประโยชนใน ที่ดินดวยตนเอง จึงไมยอมใหนายขวดมาใชสิทธิเก็บกินบนที่ดินอีก ดังนี้ นายขวดจะอางสิทธิเก็บกินบนที่ดิน แปลงนี้ อีก 2 ป ขึ้นตอสูไดหรือไม นายถวยจะตองยอมใหนายขวดใชสิทธิเก็บกินจนครบ 5 ป หรือไม เพราะเหตุใด จงอธิบาย
3. เชิดทําสัญญาขายที่ดินมีโฉนดแปลงหนึ่งใหกับชัย โดยชําระราคากันครบถวนและสงมอบที่ดินกันแลว
แตสัญญาดังกลาวมิไดจดทะเบยนกับพนักงานเจา หนาที่ หลังจากชัยเขาครอบครองทาํ ประโยชนในที่ดินแปลงนี้
ได 9 ป เชิดไดทําสัญญาและจดทะเบียนกับพนักงานเจาหนาที่ขายฝากที่ดินแปลงนี้ใหแกโตมีกําหนด 2 ป โดยโตไมรูขอเท็จจริงเรื่องการซื้อขายที่ดินระหวางเชิดกับชัย
หลังจากครบกําหนด 2 ป ตามสัญญาขายฝากแลว เชิดไมใชสิทธิไถคืนที่ดิน โตจะเขาไปครอบครอง ที่ดินแปลงนี้แตพบชัยครอบครองทําประโยชนในที่ดินอยู โตจึงแจงใหชัยยายออกไปจากที่ดินแปลงนี้ แตชัย อางวาที่ดินเปนกรรมสิทธิ์ของตน
เชิดไมมีสิทธินําที่ดินแปลงนี้ไปขายใหกับผูใด และช ก็ครอบครองโดยสงบ เปด เผยและมีเจตนาเปน
เจาของติดตอกันมาเกินกวา 10 ปแลว ดังนี้ใหวินิจฉัยวา ระหวางชัยกับโต ผูใดมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินแปลงนี้
ดีกวากัน และช จะขอใหศาลเพิกถอนการจดทะเบียนขายฝากระหวาง เชดกิ ับโตไดหรือไม เพราะเหตใดุ
แผนบริหารการสอนประจําบทที่ 6
หัวขอเนื้อหาประจําบท : ทรัพยสินของแผนดินและสาธารณสมบัติของแผนดิน
1. ทรัพยสินของแผนดินธรรมดา
2. สาธารณสมบติของแผนดิน
3. ลักษณะสําคัญของสาธารณสมบัติของแผนดิน
4. ผลแหงการเปนสาธารณสมบติของแผนดิน
5. แบบฝกหัดทายบท
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม
1. เพื่อใหนักศึกษาทราบและเขาใจถึงเรื่องของทรัพยสินของแผนดินและสาธารณสมบัติของแผนดิน
2. สามารถนําความรูความเขาใจที่ไดรับไปใชในการวินิจฉัยผลทางกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยสินและ
ที่ดินได
วิธีการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจําบท
1. วิธีสอน
1.1 วิธีสอนแบบบรรยาย
1.2 วิธีสอนแบบอภิปราย
2. กิจกรรมการเรียนการสอน
2.1 ผูสอนบรรยายเรื่อง ทรัพยสินของแผนดินและสาธารณสมบัติของแผนดิน
2.2 ยกตัวอยางคําพิพากษาและคําวินิจฉัยของศาล และตัวอยางกรณีศึกษาท่ีเกิดขึ้น ในปจจุบันและวิเคราะหหาคําตอบ
2.3 กําหนดประเด็นและโจทยปญหาใหนักศึกษาอภิปรายในช้นเรียน และมอบหมายงานใหไป ศึกษา ดวยตนเองเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน โดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอน
2. บรรยายประกอบสื่อ Power Point
3. แบบฝกหัด
การว
ผลและการประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมการใหความรวมมือในชั้นเรียนโดยการซักถาม แสดงความคิดเห็นและอภิปราย
ระหวางเรียน
2. ตรวจผลงานที่มอบหมาย
3. การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
4. สอบปลายภาค โดยขอสอบที่เนนการประเมินทักษะความรูในดานหลักการ แนวคิดทฤษฎี
สามารถนําความรู ่ีไดรับไปใชวินิจฉัยเกี่ยวกับผลทางกฎหมายที่เกิดขึ้นได
บทที่ 6
ทรัพยสินของแผนดินและสาธารณสมบัติของแผนดิน
1. ความหมาย
ทรัพยสินของแผนดิน หมายถึง ทรัพยสินทุกชนิด ซึ่งสามารถแบงได 2 ประเภท ดังนี้
1. ทรัพยสินของแผนดินธรรมดา หมายถึง ทรัพยสินของรัฐโดยทางราชการมีอยูหรือใชในราชการของ รัฐ เชน ที่ดินราชพัสดุ กระดาษหนังสือเครื่องใชสํานักงาน หรือ รถยนตของทางราชการ เปนตน และรวม ตลอดถึงทรัพยสินที่ศาลสั่งใหตกเปนของแผนดิน อีกทั้งทรัพยสินประเภทนี้มีลักษณะทํานองเดียวกับทรัพยสิน ของเอกชน ซึ่งมีแผนดินเปนผูยึดถือในฐานะเชนเดียวกับเอกชนจึงสามารถโอนใหแกกันได ใหเชาได หรือมีการ ครอบครองปรปกษได เพียงแตหามไมใหยึดตามกฎหมายเทานั้น (มาตรา 1307) แตมิใชทรัพยนอกพาณิชย
2. ทรัพยสินที่เปนสาธารณสมบัติของแผนดิน หมายถึง ทรัพยสินของรัฐที่ใชเพ่ือสาธารณประโยชน หรือสงวนไวเพื่อประโยชนรวมกัน ไดแก ที่ดินรกรางวางเปลา หรือทรัพยสินที่พลเมืองทุกคนมีสิทธิใช หรือ ทรัพยสินที่รัฐใชเฉพาะกิจการใดเพื่อประโยชนของประเทศ เชน สถานที่ราชการตางๆ เปนตน อีกทั้งทรัพยสิน ประเภทนี้ ไมมีลักษณะทํานองเดียวกับเอกชน นอกจากหามยึดแลว (มาตรา 1307) ยังหามโอนกันตาม กฎหมายดวย (มาตรา 1305) และยังมิใหยกอายุความขึ้นตอสูแผนดิน (มาตรา 1306) จึงเปนทรัพยนอก พาณิชยและไมอาจครอบครองปรปกษไดโดยเด็ดขาด
2. ลักษณะสําคัญของสาธารณสมบัติของแผนดิน
มาตรา 1304 “สาธารณสมบัติของแผนดินนั้น รวมทรัพยสินทุกชนิดของแผนดิน ซ่ึงใชเพื่อ สาธารณประโยชน หรือสงวนไวเพื่อประโยชนรวมกัน” เชน
1. ที่ดินรกรางวางเปลา และที่ดินซึ่งมีผูเวนคืนหรือทอดทิ้งหรือกลับมาเปนของแผนดินโดยประการอื่น ตามกฎหมายที่ดิน
1.1 “ที่รกรางวางเปลา” หมายถึง ที่ดินที่ยังไมไดออกเอกสารสทธิ์ในที่ดินหรือใหไดสิทธิครอบครองโดย
ชอบดวยกฎหมายแกเอกชนหรือประชาชนคนใดๆหรืออยูในความครองครองของหนวงงานใดของรัฐ จึงเปน ที่ดินที่มิไดตกอยูภายใตสิทธิใดๆ (ม.1304)
1.2 ที่ดินเวนคืน หมายถึง ที่ดินซึ่งเอกชนเคยมีกรรมสทธิ์หรอ
สิทธิครอบครองมากอนแลวกลบ
เวนคืนให
รัฐภายหลังตามกฎหมายที่ดิน หรือที่ดินซึ่งเจาของกรรมสิทธิ์นํามาเวนคืนใหแกรัฐโดยสมัครใจ (ม.1304 (1))
1.3 ที่ดินทอดทิ้ง หมายถึง ที่ดินซึ่งครั้งหนึ่งเคยมีเอกชนหรือประชาชนคนหนึ่งคนใดไดกรรมสิทธิ์หรือ สิทธิครอบครองมาแลว แตไมไดทําประโยชนหรือละทิ้งที่ดินไป ปลอยใหที่ดินนั้นรกรางวางเปลา ไมวาจะเจตนา ละทิ้งหรือไม เปนเวลาสิบปติดตอกันสําหรับที่ดินที่มีโฉนด หรือหาปติดตอกันสําหรับที่ดินที่มีหนังสือรับรองการ ทําประโยชน อธิบดีมีอํานาจรองขอตอศาลใหที่ดินนั้นกลับมาเปนของแผนดิน (ม.1304 (1))
1.4 ที่ดินซึ่งกลับมาเปนของแผนดินโดยประการอื่นตามประมวลกฎหมายที่ดิน (ม.1304 (1)) หมายถึง ที่ดินที่รัฐมีความจําเปนจะตองเอามาใชเพื่อประโยชนสาธารณะจงึ ออกกฎหมายเอากลับมา ตามพระราชบัญญัติ เวนคืนอสังหาริมทรัพย เชน ที่ดินที่มีผูทอดทิ้ง หรือที่ดินที่เปนสาธารณสมบัติของแผนดิน แลวตอมาไมมีผูใดใช อีก ก็อาจมีการถอนสภาพการเปนสาธารณสมบัติของแผนดินเพื่อนําไปใชประโยชนอยางอื่นของราชการหรือ นําไปจัดเพื่อประชาชน
(2) ทรัพยสินสําหรับพลเมืองใชรวมกัน เปนตนวา ที่ชายตลิ่งทางน้ํา ทางหลวง ทะเลสาบ
ฤดูนํ�าขึน�
ระดบั นําปกติ ทงอกริมตลงิ�
ที�ชายตลง�ิ
เขตท�ีดน
2.1 “ที่ชายตลิ่ง” หมายถึง ที่ดินที่อยูติดริมแมน้ําลําคลอง เฉพาะบริเวณระหวางแนวที่น้ําทวมถึงสูงสุด ตามปกติในฤดูน้ําถึงแนวท่ีน้ําลงต่ําสุดตามปกติ (คําพิพากษาฎีกาที่ 451/2496)
2.2 “ทางน้ํา” หมายถึง แมน้ํา ลําคลอง คู หรือแหลงน้ําอื่นๆ เชน ทะเลสาบ ซึ่งสาธารณชนใชสัญจรไป มาจากแหงหนึ่งไปยังอีกแหลงหนึ่งได แมภายหลังตอมาจะตื้นเขินจนไมสะดวกที่จะใช แตพนักงานปกครองดูแล อยู ทางน้ํานี้ก็ยังคงสภาพเปนสาธารณสมบัติของแผนดินตามเดิม (คําพิพากษาฎีกาที่ 2502/2533)
คําพิพากษาฎีกาที่ 979/2477 ทางน้ํานี้แมจะตื้นเขินจนใชเปนทางเดินเรือนไมสะดวก แตถาเจา
พนักงานยังปกครองดูแลอยู ทางน้ํานั้นก็ยังคงมีสภาพเปนสาธารณสมบัติของแผนดินอยูตามเดิม
2.3. “ทางหลวง” หมายถึง ถนนหรือทางซึ่งสาธารณชนใชสัญจรไปมา ถนนท่ีจะเปนทางหลวงตองเปน ถนนหรือทางที่ใหประชาชนพลเมืองใชรวมกัน
ดังนั้น ถนนหรือทางในที่ดินเอกชน จึงไมใชสาธารณสมบัติของแผนดิน เวนแตเอกชนจะไดอุทิศใหเปน ถนนหรือทางสาธารณะแลว
(คําพิพากษาฎีกาที่ 1542/2525) ถนนจะเปนทางสาธารณะหรือไม ยอมเปนไปตามสภาพของการใช ไมจําเปนตองใหศาลมีคําสั่งวาเปนทางสาธารณะใหแบงแยกโฉนดที่ดินและจดทะเบียนเปนทางสาธารณะ
1.4 “ทะเลสาบ” หมายถึง หวยน้ําใหญ หรือแหลงน้ําขนาดใหญที่มีแผนดินลอมรอบ
คําพิพากษาฎีกาที่ 982/2522 วินิจฉัยวา หนองน้ําที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติสําหรับราษฎรในหมูบานใช เปนที่จับปลาและเลี้ยงสัตวรวมกันเปนที่สาธารณสมบัติของแผนดิน แมทางราชการจะไมไดขึ้นทะเบียนไวเปนที่ สาธารณสมบัติของแผนดินก็ไมใชขอสาระสําคัญ เพราะไมมีกฎหมายบังคับวาจะตองกระทําดังกลาว
(3) ทรัพยสินใชเพื่อประโยชนของแผนดินโดยเฉพาะ (ม.1304 (3)) เปนตนวา ปอม และโรงทหาร สํานักราชการบานเมือง เรือรบ อาวุธยุทธภัณฑ
หมายเหตุ สาธารณสมบัติของแผนดิน ไมตองขึ้นทะเบียนวาเปนสาธารณสมบัติของแผนดินเสมอไป จะเปนสาธารณสมบัติของแผนดินขึ้นอยูกับสภาพของทรัพยสินวาไดใชเพื่อสาธารณประโยชนหรือสงวนไวเพื่อ ประโยชนรวมกันหรือไม
ประเภท | สาธารณสมบัติของ แผนดินที่ใชเพื่อ สาธารณประโยชน | สาธารณสมบัติของ แผนดินที่สงวนเพื่อ ประโยชนรวมกัน | ที่ราชพัสดุ(กรมธนา รักษดูแล/หรือ หนวยงานรัฐ |
1. ที่ดินรกรางวางเปลา ฯ | / | ||
2. ทรัพยสินสําหรับพลเมืองใช รวมกัน | / | ||
3. ทรัพยสินที่ใชเพื่อประโยชนของ แผนดินโดยเฉพาะ | / | / | |
4.ทรัพยสินของแผนดินอื่นๆ | / |
ตัวอยางคําพิพากษาที่ถือวาเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน
คําพิพากษาฎีกาที่ 1648/2500 วินิจฉัยวา “โรงเรียนประชาบาลประเภทโรงเรียนประถมศึกษาที่ นายอําเภอตั้งและดํารงอยูดวยเงินของประชาชนและเงินของการประถมศึกษาในงบประมาณของ กระทรวงศึกษาธิการ ในการจัดตั้งโรงเรียนดังกลาวไดจัดซื้อที่ 1 แปลงเพื่อใชเปนที่กอสรางโรงเรียน และใชเปน ประโยชนเกี่ยวกับกิจการของโรงเรียน ที่ดินดังกลาวนับวาเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน
ผูวาราชการจังหวัดมีหนาที่บริหารราชการแผนดินในจังหวัด โดยมีหนาที่คุมครองแลรักษาสาธารณ สมบัติของแผนดิน ฯลฯ มีอํานาจฟองขับไลจําเลยซึ่งผิดสัญญาเชาที่โรงเรียนดังกลาวแลวได
การที่ผูพิพากษาศาลอุทธรณเห็นแยงในขอกฎหมาย ไมทําใหจําเลยมีสิทธิฎีกาในขอเท็จจริงในเมื่อทุน ทรัพยไมเขาเกณฑที่จะฎีกาในขอเท็จจริงได”
คําพิพากษาฎีกาที่ 492/2502 วินิจฉัยวา “การที่จะเปนหนองสาธารณสมบัติของแผนดินหรือไมนั้น
กฎหมายไมไดบงั คับวาจะตองขึ้นทะเบียนไว เพราะจะเปนสาธารณสมบัติของแผนดินหรือไม เปนไปตามสภาพ ของที่นั้นเองวาเปนทรัพยสินใชเพื่อสาธารณประโยชนหรือสงวนไวเพื่อประโยชนรวมกันหรือไม
เมื่อที่พิพาทที่จําเลยเขาทํานาเปนสาธารณะสมบัติของแผนดิน แมจําเลยจะครอบครองมานานเทาใดก็ อางอายุความมายันหาไดไม” (วินิจฉัยตามคําพิพากษาฎีกาท่ี 592/2513)
คําพิพากษาฎีกาที่ 426-427/2509 วินิจฉัยวา “สนามบินที่ใชในราชการกองทัพอากาศเปนสาธารณะ
สมบัติของแผนดิน”
คําพิพากษาฎีกาที่ 872/2511 วินิจฉัยวา “จําเลยใชปนยิงเด็กซึ่งสองไฟหากบที่ริมรั้วบานจําเลยถึงแก ความตาย โดยจําเลยสําคัญผิดวาเปนคนรายจะมาฆาพี่จําเลย เปนการปองกันเกินกวากรณีแหงการจําตอง
กระทําเพื่อปองก มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 288, 69
ความสําคัญผิดวามีภย
62 ไมใชมาตรา 61
ตรายอันตองปองก น
เปนความสําคัญผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา
ทั้งน
ความสําคัญผิดตามมาตรา 61 เปนเรื่องสําคัญผิดในตัวบุคคล ซึ่งแมจะกระทําตอบุคคลใดก็เปนผิด สวนความสําคัญผิดตามมาตรา 62 นั้น เปนความสําคัญผิดซึ่งทําใหการกระทําไมเปนความผิด หรือทําให
ผูกระทําไมตองรับโทษ หรือไดรับโทษนอยลงได
จําเลยยิงคนตายโดยสําคัญผิดวาเปนคนราย เปนการกระทําโดยเจตนาแตเปนการปองกันซึ่งเกินกวา กรณีแหงการจําตองกระทําเพื่อปองกัน จึงเปนผิดตามมาตรา 288, 69 และความสําคัญผิดนั้นก็เกิดโดยความ ประมาทของจําเลย เชนนี้ จําเลยยอมผิดฐานทําใหคนตายโดยประมาท โดยผลของมาตรา 62 วรรค 2 ดวย กรณีเชนนี้เปนเรื่องกรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบท จึงตองลงโทษในเรื่องฆาโดยปองกันเกินกวากรณี อันเปน บทหนักตามมาตรา 90 แตถาการกระทําของจําเลยเปนการปองกันพอสมควรแกเหตุ ซึ่งไมเปนความผิด ก็ คงเหลือเพียงความผิดในสวนที่สําคัญผิดโดยประมาทตามมาตรา 62 วรรค 2 คือความผิดฐานทําใหคนตายโดย
ประมาทตามมาตรา 291 ฐานเดียว
ผูที่กระทําการปองกันดวยกันหาไดรวมกันกระทําผิดไม เมื่อผลของการกระทําของผูนั้นไมเปนอันตราย แกผูใด ผูนั้นก็ยอมไมมีความผิด แมวาผูรวมปองกันคนอื่นจะไดรับโทษฐานปองกันเกินกวากรณีจากผลแหงการ กระทําสวนของคนอื่นนั้นก็ตาม (ประชุมใหญ ครั้งที่ 10/2510)”
คําพิพากษาฎีกาที่ 3252/2530 วินิจฉัยวา “แมขณะ ส.อุทิศที่พิพาทใหแกสุขาภิบาลโจทก ส. มีชื่อ
เปนผูถือกรรมสทธิ์ที่ดินรวมกับผูอื่น แตปรากฏตามเอกสารวา ส. ไดอุทิศที่ดินเฉพาะสวนของตน ทั้งโจทกไดเขา
พัฒนาทําเปนทางสาธารณะและราษฎรไดใชสอยทางนี้ตลอดมา เชนนี้แสดงวาเจาของรวมคนอื่น ๆ ยินยอมใหที่
พิพาทเปนสวนของ ส. ที่พิพาทจึงตกเปนสาธารณสมบัติของแผนดินประเภทพลเมืองใชรวมกันทันทีหาจําตอง จดทะเบียนไม และการที่โจทกเขาพัฒนาที่พิพาทถือไมไดวาเปนการที่โจทกครอบครองที่พิพาทและโดยเจตนา เปนเจาของ
ภาพถายเอกสารรับฟงได เนื่องจากตนฉบ เอกสารหาไมไดเพราะสูญหาย
โจทกเปนผูรับมอบการอุทิศทางพิพาทและมีหนาที่บํารุงทางบกทางน้ํา ตามกฎหมาย จึงมีอํานาจฟอง”
3. ผลแหงการเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน
1. หามมิใหโอนแกกัน จึงถือวาเปนทรัพยนอกพาณิชย
มาตรา 1305 “ทรัพยสินซึ่งเปนสาธารณสมบัติของแผนดินนั้นจะโอนแกกันมิได เวนแตอาศัยอํานาจ แหงบทกฎหมายเฉพาะหรือพระราชกฤษฎีกา” หมายความวา ยังโอนเปนของเอกชนได แตตองออกกฎหมาย จะโอนไปอยางทรพั ยสินธรรมดาไมได หากโอนโดยไมออกเปนกฎหมายถือวาเปนโมฆะ บังคับไมได อยางไรก็ ตามหลักเกณฑขางตนไมใชกับการทําสัญญาจะซื้อจะขายซึ่งยังไมเกิดผลเปนการซื้อขายโดยเด็ดขาด (คํา พิพากษาฎีกาท่ี 126/2479)
ทรัพยอันเปนสาธารณะสมบัติของแผนดินนี้นอกจากหา มโอนแลวเอกชนผูใดจะนําไปใหใครเชาก็ไมได
หากใหเ ชา การเชาไมมีผล ฟองตามส ญาเชาไมได เรียกคาเชาไมได และไมมีอํานาจฟองขับไล (คําพิพากษา
ฎีกาที่ 98/2501, คําพิพากษาฎีกาที่ 1608/2513, คําพิพากษาฎีกาท่ี 2199/2515, คําพิพากษาฎีกาที่ 920- 921/2522) จะตกลงแบงการครอบครองกันก็ไมได (คําพิพากษาฎีกาที่ 1410/2520)
นอกจากนี้แมจะเปนการซื้อขายทรัพยสินอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดินไปจากการขายทอดตลาด ของศาล ผูซื้อก็ไมไดกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครอง (คําพิพากษาฎีกาที่ 149/2489, คําพิพากษาฎีกาที่ 2622/2532) และถาเจาของเดิมอุทิศที่ดินใหเปนทางสาธารณะแลว แมจะไปออกโฉนดเปนชื่อของตนภายหลัง อีกก็ไมไดกรรมสิทธิ์คืนมา ตองอาศัยอํานาจของกฎหมายเทานั้น (คําพิพากษาฎีกาที่ 665/2482)
0ตามประมวลกฎหมายอาญา
สําหรับกฎหมายอาญานั้น ผูกระทําความผิดถึงขั้นติดคุกติดตาราง เพราะละเมิดเชนนี้ ปรากฏดังนี้: มาตรา 360 “ผูใดทําใหเสียหาย ทําลาย ทําใหเสื่อมคา หรือทําใหใชประโยชน ซึ่งทรัพยที่ใชหรือมีไว
เพื่อประโยชน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ” การที่ชาวบานจํานวนหยิบมือเดียวมาครอบครองแบงปนที่ดินของสาธารณสมบัติไปใชสวนตัวจึงถือวา
ผิดกฎหมายอาญาโดยชัดแจง
0ตามประมวลกฎหมายที่ดิน
มาตรา 18 “บรรดาที่ดินทั้งหมดอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน หรือเปนทรัพยสินของแผนดินนั้น ถาไมมีกฎหมายกําหนดไวเปนอยางอื่นใหอธิบดีมีอํานาจหนาที่ดูแลรักษาและดําเนินการคุมครองปองกันไดตาม ควรแกกรณี อํานาจหนาที่ดังวานี้รัฐมนตรีจะมอบหมายใหทบวงการเมืองอื่นเปนผูใชก็ได”
ที่ดินอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดินสําหรับพลเมืองใชรวมกันหรือใชเพื่อประโยชนของแผนดิน โดยเฉพาะ หรือเปนที่ดินที่หวงหามหรือสงวนไดตามความตองการของทบวงการเมือง อาจถูกถอนสภาพหรือ โอนไปเพื่อใชประโยชนอยางอื่น หรือนําไปจัดเพื่อประชาชนไดในการดังตอไปนี้
(1) ที่ดินสําหรับพลเมอ
งใชรวมกน
ถาทบวงการเมือง รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนจดหาทด
ิน มาใหพลเมือง
ใชร วมกันแทนแลว การถอนสภาพหรือโอนใหกระทําโดยพระราชบัญญัติ แตถาพลเมืองไดเลิกใชประโยชนใน ที่ดินนั้น หรือที่ดินนั้นไดเปลี่ยนสภาพไปจากการเปนที่ดินสําหรับพลเมืองใชรวมกัน และมิไดตกเปนกรรมสิทธิ์ ของผูใดตามอํานาจกฎหมายอื่นแลว การถอนสภาพใหกระทําโดยพระราชกฤษฎีกา
(2) ที่ดินที่ใชเพื่อประโยชนของแผนดินโดยเฉพาะ หรือที่ดินที่ไดหวงหามหรือสงวนไวตามความ ตองการของทบวงการเมืองใด ถาทบวงการเมืองนั้นเลิกใช หรือไมตองการหวงหามสงวนตอไปเมื่อไดมีพระราช กฤษฎีกาถอนสภาพแลว คณะรัฐมนตรีจะมอบหมายใหทบวงการเมือง ซึ่งมีหนาที่เปนผูใชหรือจัดหาประโยชนก็ ได แตถาจะโอนตอเอกชน ใหกระทําโดยพระราชบัญญัติ และถาจะนําไปจัดเพื่อประชาชนตามประมวล กฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น ใหกระทําโดยพระราชกฤษฎีกา
การตราพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกาตามวรรคสอง ใหมีแผนที่แสดงเขตที่ดินแนบทาย พระราชบัญญัตินี้หรือพระราชกฤษฎีกานั้นดวย
0ตามพระราชบัญญัติโบราณสถาน
พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ (แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2535) มาตรา 7 ทวิ “หามมิใหผูใดปลูกสรางอาคารตามกฎหมายวาดายการควบคุมการกอสรางอาคารภายใน เขตของโบราณสถาน ซึ่งอธิบดีไดประกาศขึ้นทะเบียน เวนแตจะไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากอธิบดี
ในกรณีที่มีการปลูกสรางอาคารโดยมิไดรับอนุญาต ใหอธิบดีมีอํานาจสั่งระงับการกอสราง และใหรื้อ ถอนอาคาร หรือสวนแหงอาคารนั้น ภายในกําหนดหกสิบวัน นับแตวันที่ไดรับคําสั่ง
ผูใดขัดขืนไมระงับการกอสรางหรือรื้อถอนอาคาร หรือสวนแหงอาคารตามคําสั่งอธิบดีมีความผิดฐาน ขัดคําสั่งเจาพนักงาน และใหอธิบดีดําเนินการรื้อถอนอาคารหรือสวนแหงอาคารนั้นได โดยเจาของผูครอบครอง หรือผูปลูกสรางไมมีสิทธิเรียกรองคาเสียหาย หรือดําเนินคดีแกผูรื้อถอนไมวาดวยประการใดทั้งสิ้น
สัมภาระที่รื้อถอนถาเจาของไมขนยายออกไปจากเขตโบราณสถานภายในกําหนดสิบหาวัน นับแตวัน
รื้อถอนเสร็จ ใหอธิบดีจัดการขายทอดตลาดสัมภาระนั้น เงินที่ไดจากการขายเม่ือหักคาใช การขายแลวหรือเทาใดใหคืนใหเจาของสัมภาระนั้น”
ายในการรื
ถอนและ
มาตรา 10 “หามมิใหผูใดซอมแซม แกไข เปลี่ยนแปลง รื้อถอนตอเติม ทําลาย เคลื่อนยาย โบราณสถานหรือสวนตาง ๆ ของโบราณสถาน หรือขุดคนส่ิงใด ๆ หรือปลูกสรางอาคารภายในบริเวณ โบราณสถาน เวนแต จะกระทําตามคําสั่งอธิบดี หรือไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากอธิบดีและถาหนังสือนั้น กําหนดเงื่อนไขไวประการใดก็ตองปฏิบัติตามเงื่อนไขนั้นดวย”
คําพิพากษาฎีกาที่ 1497/2496 ทางเดินสาธารณะ แมราษฎรจะมิไดใชเดินแลวก็จะโอนกันไดโดย
พระราชบ ญัติ นายอําเภอจะเอาไปยกใหใครไมได
คําพิพากษาฎีกาที่ 676/2501 คูซึ่งเกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ เปนสาธารณะสมบัติของแผนดิน ผูใดจะ ถือเอาหรือโอนกันไมได
คําพิพากษาฎีกาที่ 1121/2507 ที่สาธารณสมบัติของแผนดินจะใหเชามิได
คําพิพากษาฎีกาที่1933/2517 ที่ปาชาที่ไมไดใชแลวแตยังไมไดถอนสภาพยังเปนสาธารณสมบัติของ แผนดิน จะออกโฉนดที่ดินหรือน.ส.3 มิได
คําพิพากษาฎีกาที่ 2622/2522 ซื้อที่ดินสาธารณสมบตั ิของแผนดินจากการขายทอดตลาดตามคําสั่ง
ศาลก็ไมไดกรรมสิทธิ์
2. หามมิใหยกอายุความขึ้นตอสูกับแผนดิน
มาตรา 1306 “ทานหามมิใหยกอายุความขึ สมบัติของแผนดิน”
เปนขอตอสูกับแผนดินในเรื่องทรัพยสินอันเปนสาธารณ
แตในกรณีที่เปนสาธารณสมบัติของแผนดินที่ประชาชนมีสิทธิใชรวมกัน เมื่อผูใดใชสิทธิใชสอยอยูกอน หากมีผูอื่นมารบกวนการใชสิทธิของตนก็ถือวาไดรับความเสียหายเปนพิเศษ มีสิทธิฟองระงับการรบกวนนั้นได (คําพิพากษาฎีกาที่ 39/2495)
คําพิพากษาฎีกาที่ 1270/2497 แมจะครอบครองหนองน
3. หามมิใหยึดทรัพยสินของแผนดิน
สาธารณะมา30 ป ก็ไมมีสิทธิครอบครอง
มาตรา 1307 “ทานหามมิใหยึดทรัพยสินของแผนดิน ไมวาทรัพยสินนั้น จะเปนสาธารณสมบัติของ แผนดินหรือไม
การยึดเพื่อนํามาชําระหนี้ หรือการยึดเพื่อบังคับคดีตามคําพิพากษา ดังนั้น ทรัพยสินของแผนดินจึงไม อยูในขายบงั คับคดีของศาล”
คําพิพากษาฎีกาที่ 149/2485 สาธารณสมบัติของแผนดินที่หามยึดนั้น แมขณะยึดจะไมทราบวาเปน ทรัพยสินของแผนดิน ก็ไมทําใหการยึดนั้นมีผลยันตอแผนดินได การยึดทรัพยเชนวานี้ไมมีผลตามกฎหมายแต ประการใด
1. ที่ราชพัสดุกระทรวงการคลังเปนผูถือกรรมสิทธิ์เปนเพียงทรัพยสินของแผนดิน มิใชสาธารณสมบัติ ของแผนดินตาม ป.พ.พ.1304 (2)(3) ที่ประชาชนท่วไปสามารถเขาไปใชประโยชนได เมื่อเทศบาลที่ไดรับ อนุญาตจากกรมธนารักษ ใหใชประโยชนมีหนังสือใหจําเลยออกจากที่ดิน จําเลยไมออกเปนการรบกวนการ ครอบครองอสังหาริมทรัพย ซึ่งอยูในความดูแลของเทศบาลโดยปกติสุขมีความผิดตาม ปอ.365(3) ประกอบ มาตรา 362 (คําพิพากษาฎีกาที่ 7742/48)
2. การอุทิศที่ดินใหใชเปนทางสาธารณะ
2.1 ตกเปนสาธารณสมบัติของแผนดินทันทีที่แสดงเจตนาอุทิศ ไมตองจดทะเบียนโอนตอพนักงาน เจาหนาท่ีตาม ป.พ.พ..525 และไมตองมีนายอําเภอหรือนายกเทศมนตรีแสดงเจตนารับ (คําพิพากษาฎีกาท่ี 4377/49) แมหนังสืออุทิศระบุวาจะไปจดทะเบียนก็ตาม(คําพิพากษาฎีกาที่.112/39)
2.2 ศาลจะบังคับใหผูอุทิศไปจดทะเบียนโอนก็ไมได แมจะมีคําขอทายฟองเพราะการจดทะเบียนเปน ทางสาธารณะเปนอํานาจหนาที่เจาพนักงานที่จะดําเนินการ ศาลจึงไมอาจบังคับใหเจาพนักงานซึ่งมิใชคูความ จดทะเบียนที่ดินเปนทางสาธารณะ(คําพิพากษาฎีกาที่5727/37)
2.3 การอุทิศที่ดินใหเปนสาธารณสมบัติของแผนดินอาจกระทําโดยปริยาย เชนใหประชาชนใชสอยได โดยไมหวงหาม แมตอมาจําเลยซึ่งเปนผูดูแลสาธารณสมบัติของแผนดินยังไมไดทําถนนในที่ดินพิพาทและผูอุทิศ ขอออก น.ส.3 ที่ดินพิพาทในนามของตนเองอีก ไมทําใหที่ดินกลับมาเปนของผูอุทิศ ผูอุทิศโอนใหคนอื่น คนอื่น ก็ไมมีกรรมสิทธิ์ (คําพิพากษาฎีกาที่ 3808/35) หรือการที่ผูจัดสรรที่ดินขายโดยกันพื้นที่สวนเปนซอยไวเปนทาง สาธารณะ แมเปนซอยตันแตประชาชนที่อาศัยอยูในซอยใชทางดังกลาวผานอีกซอยหนึ่งสูถนนสาธารณะ ถือวา อุทิศท้ังซอยเปนทางสาธารณะ ตกเปนสาธารณสมบัติของแผนดินประเภททรัพยสินสําหรับพลเมืองใชรวมกัน
ตาม ป.พ.พ.1304(2)แตถาประชาชนใชทางพิพาทโดยถือวิสาสะไมเปนการอุทิศทางพ (คําพิพากษาฎีกาที่ 363/42)
าทใหเปนทางสาธารณะ
2.4 อุทิศที่ดินใหขุดเปนสระน้ําประจําหมูบานเพื่อใหชาวบานใชประโยชนรวมกัน ที่ดินพิพาทจึงเปนสา ธารณสมบัติของแผนดินประเภททรัพยสินสําหรับพลเมืองใชรวมกันตามมาตรา 1304(2) ไมตองมีหลักฐานเปน
หนังสือ เพียงแตแสดงเจตนาอุทิศใหก
็ใชได แมตอมาสระน้ําตื้นเขินจนไมไดใชประโยชนและมก
ารถมสระน้ําปลก
สรางรานคากับทําสนามเด็กเลน ที่ดินพิพาทยังเปนสาธารณสมบัติของแผนดินอยูตามเดิม หาไดเปลี่ยนสภาพ เปนอยางอื่นไม(คําพิพากษาฎีกาที่ 8014/51)
2.5 การยกที่ดินใหเพื่อประโยชนของสุขาภิบาลโดยเฉพาะเพื่อหาประโยชนมาปรบปรุงทองที่ มิใชยกให
เพื่อสาธารณประโยชนของแผนดินตาม ป.พ.พ.1304 เม่ือการใหไมจดทะเบียนตาม ป.พ.พ.525 ไมสมบูรณ กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินยังเปนของโจทก(คําพิพากษาฎีกาที่ 2195/22)
การอุทิศที่ดินใหใชเปนทางสาธารณะ ยอมตกเปนสาธารณสมบัติของแผนดินทันทีที่แสดงเจตนาอุทิศ ไมจําตองจดทะเบียนโอน ทั้งไมตองผูไปแสดงเจตนารับ ,การจดทะเบียนเปนทางสาธารณะเปนอํานาจหนาที่ ของเจาพนักงานเจาหนาที่ ศาลไมอาจสั่งบังคับใหเจาหนาที่ไปจดทะเบียนเปนทางสาธารณะได,ที่ดินของราษฎร ภายหลังถูกน้ํากัดเซาะกลายเปนชายตลิ่ง แตเจาของที่ดินยังครอบครองและใชประโยชนอยู มิไดทอดทิ้งให พลเมืองใชรวมกัน ไมเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน(ยังคงสงวนสิทธิแหงความเปนเจาของเก็บเกี่ยว ผลประโยชน มิไดปลอยทิ้งใหเปนที่ชายตลิ่งใหประชาชนทั่วไปจะเขามาใชประโยชนรวมกัน) ,สาธารณสมบัติ
ของแผนดิน ผูใดยอมไมมีกรรมสทธิ์หรือสิทธิครอบครองนั้นหมายถึง ใชยันตอรัฐไมได แตระหวางเอกชนดวยกัน
ยันกนเองได โดยถือหลักวาผูที่ยึดถือการครอบครองสาธารณสมบัติของแผนดินอยูกอนยอมมีสิทธิดีกวา เชน ก. ครอบครองที่พิพาทอันเปนสาธารณประโยชน ข.เขาไปไถที่พิพาท ก.ยอมมีอํานาจฟองหามมิใหจําเลยเขา รบกวน แตหากนําที่ดินดังกลาวไปใหผูอื่นเชาถือวาผูใหเชาขากการยึดถือครอบครองแลว(ผูยึดถือครอบครองสา ธารณสมบัติของแผนดินจะหวงกันผูอื่นไดแตขณะที่ตนยังยึดถือครอบครองอยูเทาน้น) ,แตปลูกบานบนที่ดิน
สาธารณประโยชน แล ใหเชาผูใหเชามีสิทธิยึดถือและใชสอย ,ผูครอบครองสาธารณสมบัติของแผนดินที่มิใช
เปนไปเพื่อการใชที่ดินตามวัตถุประสงคของสาธารณสมบัติของแผนดินเทานั้น หากเปนตามวัตถุประสงคยกยัน ไมได เชน ครอบครองหนองน้ําเพื่อประโยชนในการจับปลา เขาหวงกันไมใหใชนําหรือจับปลาไมได(ขัดตอ วัตถุประสงคของการใชสาธารณสมบัติของแผนดินประเภทนี้) , ฎีกายกเวน การแสดงเจตนายกที่ดินใหเปนสา
ธารณสมบัติของแผนดินตกเปนโมฆะศาลมอ
ํานาจพิพากษาใหเพิกถอนนิติกรรมการใหแลว
ใหโอนกลับคืนมาเปน
ของผูใหได กรณีไมตองดวยมาตรา 1305 เชนที่ดินไมเปนสาธารณประโยชนของแผนดินมากอน แตเปนที่ดิน ของจําเลยที่ 1 ซึ่งทําสัญญาจะขายที่ดินแกโจทก เมื่อจําเลยที่ 1 ยกที่ดินซึ่งมีที่พิพาทรวมอยูดวยเปนทางสา ธารณสมบัติของแผนดินแก กทม. จําเลยที่ 2 โดยจําเลยท่ี 1 สําคัญผิดในทรัพยสินในวัตถุแหงนิติกรรมอันเปน
สาระสําคัญแหงนิติกรรมวาไดแบงแยกที่ดินใหโจทกแ
ลว คงเหลือสวนที่เปน
ถนน การแสดงเจตนาของจาเลยที่ 2
เปนโมฆะตาม ป.พ.พ.156 ที่ดินพิพาทไมเคยตกเปนสาธารณสมบัติของแผนดินมากอน ไมตองดวย ป.พ.พ.1305 การที่ศาลพิพากษาใหเพิกถอนนิติกรรมยกที่ดินสวนที่เปนที่พิพาทใหเปนที่สาธารณะระหวาง ล.1 และ 2 กับให จําเลยทั้งสองรวมกันยื่นคําขอรังวัดที่ดินพิพาทออกจากโฉนดที่ดินเลขที่ 1265 แลวโอนกรรมสิทธิ์ที่พิพาทแก โจทกเปนคําพิพากษาที่บังคับตามคําขอบังคับและไมขัดตอกฎหมาย(คําพิพากษาฎีกาที่ 6809/2541)
3. ผลการเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน
3.1 ผูซื้อที่ดินที่เปนสาธารณสมบัติของแผนดิน แมจะซื้อโดยสุจริต(คําพิพากษาฎีกาที่ 3772-5/2545) หรือจากการขายทอดตลาดตามคําสั่งศาลก็ไมไดกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครอง(คําพิพากษาฎีกาท่ี 2775/2541)
3.2 ทรัพยใดเปนสาธารณสมบัติของแผนดินแลวตองเปนตลอดไป แมตอมาพลเมืองจะเลิกใชประโยชน รวมกันแลวก็ตาม เมื่อยังไมมีกฎหมายหรือ พรฎ.ใหถอนสภาพจากการเปนสาธารณสมบัติของแผนดินก็ยังเปน สาธารณสมบติของแผนดินอยูตามเดิม (คําพิพากษาฎีกาที่.2502/2533)
4. การสิ้นไปของสาธารณสมบัติของแผนดิน
สภาพหรือสถานะของการเปนสาธารณสมบัติของแผนดินอาจจะมีการเพิกถอนได แตการเพิกถอน สภาพของการเปนสาธารณสมบติของแผนดินจะทําไดก็โดยมกี ฎหมาย เฉพาะ เมื่อมีการเพิกถอนตามหลักเกณฑ และวิธีการที่กฎหมายกําหนดแลวที่ดินแปลงนั้น ก็จะกลับมาเปนทรัพยสินของแผนดินตามธรรมดา
ตามประมวลกฎหมายที่ดินถา เปนการเพิกถอนสภาพเพราะไมใชหรือจะไปใชประโยชนอยางอื่นก็จะ ทําโดยพระราช กฤษฎีกา แตถาเปนการโอนก็จะตองทําโดยพระราชบัญญัติ แตถานําไปจัดสรรซึ่งมีกฎหมาย เฉพาะใหอํานาจก็ทําโดยพระราชกฤษฎีกา
การหมดสภาพจากการเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน
1. สาธารณสมบ ิของแผนดินน้นไั ดมีการเลิกใชเพ่อสาธารณประโยชนโดยเด็ดขาด หรือเลิกสงวนไว
เพื่อสาธารณประโยชนโดยเด็ดขาด ถาเพียงแตเลิกใชเพียงช่วคราว ก็ยังไมสิ้นสภาพ ยังมีสถานะเปนสาธารณ สมบัติของแผนดินอยู
คําพิพากษาฎีกาที่ 1118/2508 กําแพงเมืองและคูเมืองซึ่งทางราชการทําขึ้น เพ่ือประโยชนของ
บานเมือง และแสดงการหวงหา มเปนที่หลวงตลอดมา มิไดปลอยใหกลายสภาพเปนที่รกรางวางเปลา แมตอมาท
นั้นจะกลายสภาพไมเปนกําแพงเมืองหรือคูเมือง แตเมื่อทางราชการยังถือวาเปนท่ีหวงหามตลอดมา ที่นั้นก ยังคงเปนที่หวงหาม จึงเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน
2. สาธารณสมบัติของแผนดินนั้นถูกทําลายไปท้งหมด เชน ที่ดินถูกน้ําเซาะตลิ่งพังไปหมด สถานท่ี ราชการถูกไฟไหมทั้งหลัง ก็ยอมสิ้นสภาพการเปนสาธารณสมบัติของแผนดินไปในตัว
3. สาธารณสมบัติของแผนดินถูกโอนหรือเวนคืนไปเปนของเอกชนโดยชอบดวยกฎหมาย
ผลของการเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน
1. จะโอนแกกันไมไดเวนแตอาศัยอํานาจตามกฎหมายเฉพาะหรือพระราชกฤษฎีกา
2. หามยกอายุความขึ้นเปนขอตอ
สูกบ
แผนดิน
3. หามยึดทรพยสินของแผนดินไมวาทรัพยสินนั้นจะเปนสาธารณสมบัติของแผนดินหรือไม
ขอสังเกต
(1) ทรัพยส
ินทเี่ ปนสาธารณสมบัติของแผนดินอาจจะทําสญ
ญาจะซอ
จะขายได เนื่องจากยงั ไมไดมีการ
โอนกรรมสิทธิ์กัน แตตราบใดที่ยงั ไมมก
ฎหมายโดยเฉพาะใหม
ีการโอนกรรมสิทธิ์กันไดแลว ก็ไมอาจทําสญญา
ซื้อขายเสรจเด็ดขาดเพื่อใหมีการโอนกรรมสิทธิ์กันได
(2) ที่ดินที่ถูกเวนคืนไปแลวเมื่อไมไดใชประโยชนในการเวนคืนภายในเวลา 5 ป กฎหมายกําหนดให
ตองคืนเจาของไป การคืนนจ
ึงไมจ
ําเปนตองมก
ฎหมายเฉพาะเพราะกรณีนี้ไมใชเปนการโอนใหแก กันตาม
มาตรา 1305 แตเปนการโอนกลบคนมื าโดยเง่ือนไขของกฎหมาย
(3) ทรัพยสินอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดินจะเอาไปใหเชาไมได ถาเอาไปใหเชา สัญญาเชานั้นไมม
ผล จะฟองบังคบ
ตามสญ
ญาเชาไมได และจะฟองขับไลก
็ไมไดเพราะไมม
ีอํานาจฟอง
(4) สาธารณสมบัติของแผนดินนั้นใชเพื่อประโยชนรวมกันหรือสงวนไวซึ่งสาธารณ ประโยชน คือ ทุก
คนมีสิทธิทจ
ะเขาไปใชสอยได แตในระหวางประชาชนดวยกันนั้นคนที่เขาไปใชสอยอยูกอ
นยอมมีสิทธิดีกวา คน
อื่น ถาคนมาทีหลงั ไปรบกวนสท
ธิ คนที่ใชกอนก็มีสท
ธิที่จะฟอ
งขอใหปลดเปลื้องการรบกวนการครอบครองได
รวมถึงเรียกคาเสียหายไดดวย แตถาคนที่ใชอยูกอนเอาไปใหเ ชา สิทธินั้นก็หมดไป จะใชสิทธป หรือเอาคืนไมได
ขอสังเกต
ลดเปลื้องทุกข
ก. สิทธิที่วานี้คือสท ดีกวาแตอยางใด
ธิในการใชสอยเทานั้น ไมไดหมายความวามีกรรมสท
ธิ์ดีกวาหรือมีสท
ธิครอบครอง
คําพิพากษาฎีกาที่ 1642/2506 ที่ชายตลิ่งอันเปนสาธารณะสมบัติของแผนดินสําหรับพลเมืองใช
รวมกันนั้น ผูใดจะอยูมาชานานเทาใดกห
าไดกรรมสิทธิ์ไม แตถาหากบุคคลอื่นเขามากั้นรั้วปลก
เรือนแพและสง
อื่นๆกีดขวางหนาที่ดิน ของเจาของที่ดินที่ติดกับที่ชายตลิ่งเต็มหมด จนไมสามารถใชสอยชายตลิ่งเขาออกสูลํา
แมน้ําไดแลว ยอมถือวาเจาของที่ดินนั้นไดร
ับความเสียหายเปนพิเศษ มีสท
ธิฟองขับไลได
ข. ผูที่จะฟอ
งใชสท
ธิปลดเปลื้องทุกขหรือเอาคืน จะตองเปนผูเสียหายเปนพเิ ศษ
คําพิพากษาฎีกาที่ 427/2508 การทจําเลยขงลึ วดหนามทารั้วรุกล้ําเขาไป ในทางสาธารณะทําให
โจทกไมส โจทก
ามารถ ใชรถยนตบรรทุกผานไปมาไดตามปกตินั้นถือวาจําเลยไดกระทําละเมิด ตองใชคาเสียหายแก
คําพิพากษาฎีกาที่ 628/2510 โจทกมีบอ
น้ํากินคือบอ
พิพาทซึ่งเปนทรัพยส
ินสําหรบพลเมอ
งใช
รวมกัน โจทกใชบอน้ําบอนี้เสมอมาจําเปนแกความเปนอยูของโจทก จําเลยกระทําการใหน้ําในบอไมมีใหโจทก
ใชเชนเคย ดังนี้ ถือไดวาโจทกเสียหายเปนพิเศษมีอํานาจฟองคดีได
สรุป แมจะไมไดเขาไปครอบครองยึดถือหรือไปใชที่ดินที่เปนสาธารณสมบัติของแผน ดินโดยตรง แตเมื่อใชอยูแลวตอมาถูกรบกวนการครอบครองหรือการใชตามปกติ ถือวาผูนั้นไดรับความเสียหายเปนพิเศษมี
สิทธิฟองได เชน บานอยูติดลําน้ําสาธารณะแลวมีคนมาทํารั้วกั้นใหออกไปไมได หรือมีคนขึงลวดหนามเขาไป ในทางสาธารณะทําใหไมสามารถใชรถผานไปได เปนตน แตถาไมไดรับความเสียหายเปนพิเศษก็ไมมีอํานาจฟอง ค. คนที่เขาไปใชกอนมีสิทธิดีกวาตราบเทาที่ยังคงครอบครองยึดถือหรือใช สอยอยู ดังนั้น ถานําไป
ใหคนอื่นเชาหรือทําประโยชนสิทธินั้นก็สิ้นผลไป
แบบฝกหัดทายบท
1. นายกองไดเขาครอบครองทําไรในที่ดินแปลงหนึ่งซึ่งมีสภาพเปนปาเสื่อมโทรม แตทางราชการยังไม ออกพระราชกฤษฎีกาเพิกถอนการเปนที่ปาสงวนแหงชาติ หลังจากที่นายกองทําไรในที่ดินดังกลาวได 5 ป นายกองไดไปพบนายขําเพื่อนของตน และขอใหนายขําซึ่งเปนเจาพนักงานที่ดินชวยออกหนังสือรับรองการทํา ประโยชน (น.ส.3) ให ทั้งที่กรมที่ดินยังไมไดประกาศใหประชาชนเชาจับจองเปนเจาของหรือออกเอกสารสิทธิ แตอยางใด
เมื่อนายกองไดหนังสือรับรองการทําประโยชน (น.ส.3) มาแลว นายกองไดทําหนังสือและจด
ทะเบียนกับพนักงานเจาหนาที่ขายที่ดินดังกลาวใหกับนายแกว ตอมาทางราชการไดแจง ให ายแกวออกไปจาก
ที่ดินดังกลาว แตนายแกวไมยอมยายออกจากที่ดินแปลงนั้น โดยตอสูวาตนซ้ือที่ดินมาโดยสุจริตและจด ทะเบียนสิทธิโดยสุจริต
2. นายท มและนายอ่ําเปนเจาของที่ดินอยูติดตอกัน และดานทิศเหนือของที่ดินทั้งสองแปลงตางก็ติดกับ
แมน้ําปง เวลาฤดูน้ํา น้ําทวมเต็มตลิ่งทุกป เวลาฤดูแลง นํ้าลดลงไป ทั้งนายทวมและนายอ่ําตางก็เขาไปปลุก ผักในที่ดินริมตลิ่งที่น้ําลดลงตรงหนาที่ดินของตน ตอมานายทวมสุขภาพไมดีจึงเลิกปลูกผักและไมไดเขาไปใช ประโยชนในที่ดินริมตลิ่งนั้นอีกเลย นายอ่ําเห็นนายทวมไมไดเขาไปครอบครองทําประโยชนในที่ดินดังกลา วเปน เวลากวา 1 ปแลว
นายอ่ําจึงขยายพ้ืนที่ปลูกผักเขาไปในท่ีดินริมตลิ่งหนาท่ีดินของนายทวม โดยนายทวมไมทักทวง
หลังจากนั้น 3 ป นายท มถงึ แกความตาย นายเทงบุตรของนายทวมจดทะเบียนรับมรดกที่ดินของนายทวม
และไมยอมใหนายอ่ําปลูกผักในที่ดินริมตลิ่งหนาที่ดินที่ตนรับมรดก และตองการจะเขาไปปลูกผักเอง นายอ่ํา ไมยอม อางวาไดครอบครองที่ดินพิพาทซึ่งเปนที่ดินมือเปลามาเกิน 1 ปแลว
นายเทงจึงไมมีสิทธิฟองเอาคืนซึ่งการครอบครอง เชนนี้ นายอ่ําจะไดกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครอง ในที่ดินพิพาทนั้นอยางไร หรือไม และนายเทงจะใหนายอ่ําออกไปจากที่พิพาทไดหรือไม เพราะเหตุใด
แผนบริหารการสอนประจําบทที่ 7
หัวขอเนื้อหาประจําบท : การไดมาซึ่งกรรมสทิ
1. การไดกรรมสิทธ์ิโดยผลของกฎหมาย
2. การไดมาโดยการเขาถือเอาซึ่งสังหารมิ
ธิ์
ทรพ
ยไมมเี จาของ
3. การไดมาซงึ่ ทรพยส ินหาย
4. พฤติการณพิเศษซงึ่ สท
ธิของผูไดทรัพยส
ินมาไมเสียเปลา
5. การไดกรรมสิทธิ์โดยอายุความ
6. การไดมาซงึ่ ท่ีดินตามกฎหมายที่ดิน
7. แบบฝกหัดทายบท
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม
1. เพื่อใหนักศึกษาทราบและเขาใจถึงเรื่องของการไดมาซึ่งกรรมสิทธใิ์ นที่ดินมีอะไรบาง
2. สามารถนําความรูความเขาใจที่ไดรับไปใชในการวินิจฉัยผลทางกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยสินและ
ที่ดินได
วิธีการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจําบท
1. วิธีสอน
1.1 วิธีสอนแบบบรรยาย
1.2 วิธีสอนแบบอภิปราย
2. กิจกรรมการเรียนการสอน
2.1 ผูสอนบรรยายเรื่อง การไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์
2.2 ยกตัวอยางคําพิพากษาและคําวินิจฉัยของศาล และตัวอยางกรณีศึกษาที่เกิดขึ้น ในปจจุบันและวิเคราะหหาคําตอบ
2.3 กําหนดประเด็นและโจทยปญหาใหนักศึกษาอภิปรายในชั้นเรียน และมอบหมายงานใหไป ศึกษา ดวยตนเองเพิ่มเติมนอกชันเรียน โดยเนนผูเ รียนเปนศูนยกลาง
2.4 ใหนักศึกษาทําแบบฝกหัดทายบทที่ 7
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอน
2. บรรยายประกอบสื่อ Power Point
3. แบบฝกหัด
การวดั ผลและการประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมการใหความรวมมือในชั้นเรียนโดยการซักถาม แสดงความคิดเห็นและอภิปราย ระหวางเรียน
2. ตรวจผลงานที่มอบหมาย
3. การแสดงความคิดเห็นในช เรียน
4. สอบปลายภาค โดยขอสอบที่เนนการประเมินทักษะความรูในดานหลักการ แนวคิดทฤษฎี สามารถนําความรูที่ไดรับไปใชวินิจฉัยเกี่ยวกับผลทางกฎหมายที่เกิดขึ้นได
1. การได
าโดยทางนิติกรรม
บทที่ 7
การไดมาซึ่งกรรมสิทธ
ไดมานิติกรรมทั่วไป โดยการซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให ซื ฝากขายฝาก
2. การไดมาโดยทางอื่นนอกจากทางนิติกรรมหรือการไดม าโดยผลของกฎหมาย
ตามบรรพ 4 บรรพ 6 (มรดก)
การได าโดยผลของกฎหมาย ตามบรรพ 4
1. หล สวนควบ 1308-1317
2. เขาถือเอาซึ่งสังหาริมทรัพยไมมีเจาของ 1318-1322
3. การไดมาซ่ึงของตกของหาย ใชในการทําผิดและสังหาริมทรัพยมีคาซึ่งซอนหรือฝงไว 1323-1328
4. การไดมาซึ่งทรัพยสินโดยสุจริตในพฤติการณพิเศษ1329-1332
5. การไดมาโดยอายุความ 1333
6. การไดมาซึ่งที่ดินรกรางวางเปลา ที่ดินซึ่งมีผูเวนคืนหรือทอดทงิ้ หรือกลับมาเปนแผนดินโดยประการ อื่นตามกฎหมายที่ดิน 1334
1. การไดมาโดยหลักสวนควบ 1308-1317
มาตรา 144 “ผูใดเปนเจาของทรัพยยอมเปนเจาของสวนควบดวย ไมต ทรัพยของผูใดมากอน
งคํานึงวาสวนควบนั้นจะเปน
แตมีบางกรณีที่เจาของทรัพยประธานอาจตองชดใชเงินใหแกเจาของทรัพยสวนควบ หรือตองยอมให เจ ของสวนควบนําสวนควบคืนไป”
Ex เชาที่ดินปลูกบาน ทําโรงรถ และถนนลาดยาง ครบสัญญา บานไมใชสวนควบ ตาม 146 แตโรงรถ
และถนนเปนสวนควบ รื้อไปไมได เพื่อความเปนธรรมในหลายกรณี กม.บัญญัติไมใหเอาสวนควบไมโดยเปลา ๆ ตองใชราคา ยอมใหอ ยูตอ รื้อถอนไป
ที่งอกริมตลิ่ง
มาตรา 1308 “ที่ดินแปลงใด เกิดที่งอกริมตลิ่ง ที่งอก ยอมเปน ทรัพยสิน ของเจาของที่ดิน แปลงนั้น” ที่งอกริมตลิ่ง หมายความถึง ที่ดินซึ่งตามปกตินําทวมไมถึง กลาวคือ เดิมเปนที่ชายตลิ่งที่น้ําทวมถึง ตอมาไดงอกเงยขึ้นจนน้ําทวมไมถึง อาจจะงอกขึ้นโดยกระแสน้ําไดพัดพาเอากรวดหินดินทรายเขามาทับถมจนที่ ชาย ตลิ่งนั้นสูงขึ้นจนกลายเปนที่งอกริมตลิ่ง หรืออาจจะกลาวไดวา ที่งอก ริมตลิ่งเกิดขึ้นโดยธรรมชาติใน ลักษณะคอยๆ งอกเพิ่มขึ้นจากฝงออกไป มิใชงอกจากทองน้ําเขามาหาตลิ่ง และที่งอกริมตลิ่งดังกลาวนี้ อาจจะ
เปนที่งอกริมตลิ่งของทะเล แมน้ํา หรือลําคลองก็ได
ที่งอกริมตลิ่ง ถือวาตกเปนทรัพยสินของเจาของที่ดินแปลง นั้นโดยตองเปนที่งอกติดตอเปนแปลง เดียวกันกับที่ดินโดยไมมีอะไรมาคั่น เชน ถนนหรือลํารางน้ําฝน
ลักษณะของที่งอกริมตลิ่ง
ก. ที่งอกริมตลิ่งตองเปนที่ซึ่งในฤดูน้ําตามปกติน้ําทวมไมถึง คือพนจากสภาพการเปนที่ชายตลิ่ง ตาม
1302
ข. ที่งอกริมตลิ่งจะตองเปนที่งอกจากที่ดินที่เปนประธานออกไปในแมน้ํา ลักษณะของ
การงอกจะตองเปนการงอกโดยธรรมชาติ ไมใชงอกจากที่อ มารวมกับชายฝง
คํ าพิพากษาฎีกาที่ 1189/2535 โจทกบรรยายฟองวา โ จทกมีหนาที่ ดูแ ลรั กษาที่ ดิ น สาธารณประโยชนในเขตเทศบาล จําเลยไดปลูกสรางอาคารเลขที่ 54/8 รุกล้ําเขาไปในลํารางสาธารณะที่ตื้น เขินกลายสภาพเปนที่ดินสาธารณประโยชนใน เขตเทศบาล เนื้อที่ 4.4 ตารางวา ซึ่งอยูในความดูแลรักษาของ โจทกขอใหบังคับจําเลยรื้อถอนสิ่งปลูกสรางดัง กลาว เปนคําฟองที่แสดงโดยแจงชัดซึ่งสภาพแหงขอหา คําขอ บังคับ ทั้งขออางที่อาศัยเปนหลักแหงขอหาแลวโจทกไมตองแสดงโฉนดหรือหลักฐาน แหงที่ดินวาเปนที่ดิน
สาธารณประโยชนอยางไร เพราะการเปนท่ีดินสาธารณประโยชนหรอ
ไมเปนไปตามสภาพของทด
ิน และโจทกไม
จําตองบรรยายมาในฟองวา ที่ดินสาธารณประโยชนทั้งหมดมีเนื้อที่เทาใดจําเลยปลูกสรางอาคารรุกล้ํา ตั้งแต เม่ือใด มีเขตกวางยาวเทาใดเพราะเปนรายละเอียดที่คูความอาจนําสืบไดในช้นพิจารณา ฟองโจทกไมเคลือบ คลุม ลํารางสาธารณประโยชนสําหรับระบายนําจากภูเขาซึ่งมีมานานแลวเปนสาธารณสมบัติ ของแผนดินที่ ราษฎรใชประโยชนรวมกัน แมตอมาจะไมมีสภาพเปนทางระบายน้ําตอไปและไมมีราษฎรใชประโยชนเมื่อยัง ไม มีการตราพระราชกฤษฎีกาเพิกถอนสภาพการเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน ตามมาตรา 8 ประมวลกฎหมาย ที่ดิน ที่ดินนนั้ ยังเปนสาธารณสมบัติของแผนดินอยูเชนเดิม ที่งอกริมตลิ่ง หมายถึงที่ดินที่งอกไปจากตลิ่งตาม ธรรมชาติซึ่งเกิดจากการที่สายน้ําพัดพาดิน จากที่อื่นมาทับถมกันริมตลิ่งจนเกิดที่งอกขึ้น มิใชงอกจากที่อื่นเขา มาหาตลิ่ง โจทกมีอํานาจหนาที่ดูแลรักษาสาธารณสมบัติของแผนดินในเขตเทศบาลตามคําสั่ง ของ กระทรวงมหาดไทย จึงมีอํานาจฟองใหจําเลยรื้อถอนอาคารสวนที่รุกล้ําสาธารณสมบัติของแผนดินได โดยไม ตองบอกกลาวลวงหนา
คําพิพากษาฎีกาที่ 611/2477 ที่ดินซึ่งตื้นเขินขึ้นเปนเกาะในหนองนําสาธารณะ แมภายหลังที่ริมฝง
ตื้นเขินเชื่อมติดกับที่ดินของผูอื่นที่อยูริมหนอง ก็ไมใชที่งอกริมตลิ่งเพราะไมไดงอกออกจากริมตลิ่ง คงเปนสา ธารณสมบัติของแผนดินอยู
คําพิพากษาฎีกาที่ 159/2523 ที่งอกริมตลิ่งหมายความถึงที่ดินที่งอกไปจากชายตลิ่ง ไมใชหนองน้ํา
สาธารณะตื้นเขินขึ้นเสมอกับระดับที่ดินขอบหนอง ซึ่งถือวาเปนสาธารณสมบัติของแผนดินอยูตามเดิม
ค. ที่ดินซึ่งเปนทรัพยประธานจะตองติดกับที่งอกโดยตรง โดยไมมีอะไรมากั้นขวาง เชนทางเดิน ลําน้ํา
กั้น