image(รูปภาพประกอบด้วย สัญลักษณ์, กลางแจ้ง คำอธิบายที่สร้างขึ้นโดยอัตโนมัติ) removed ..>
<.. image(รูปภาพประกอบด้วย สัญลักษณ์, กลางแจ้ง คำอธิบายที่สร้างขึ้นโดยอัตโนมัติ) removed ..>
แผนการใช้ที่ดินตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย
สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
xxxนํำ
ตํำบลนำxxxxxx อํำเภอศรีสํำโรง จังหวัดสุโขทัย เป็นตํำบลxxxxxxxในกำรจัดxxx แผนกำรใช้ที่ดินระดับตํำบลในปี 2562 โดยแนวทำงกำรจัดxxxแผนกำรใช้ที่ดินตํำบลฉบับนี้xxx xxxยึด หลักกำรของ UNEP and FAO xxxxxxหนดไว้ในเอกสำรชื่อ “Negotiating a Sustainable Future for Land” หลักกำรดังกล่ำวได้นํำมำปรับใช้ให้เหมำะสมกับสถำนภำพของประเทศไทย ร่วมกับวิธีกำร ต่ำงๆ xxxxxxเป็นอีกหลำยด้ำน xxxx กำรมีส่วนร่วมของชุมชนในกำxxxxxรำะห์ปัญหำ และร่วมเสนอ แนวทำงในกำรแก้ปัญหำร่วมกัน (Participatory Rural Appraisal: PRA) กำรประเมินคุณภำพที่ดิน เป็นต้น ผลจำกกำรวำงแผนกำรใช้ที่ดินตำมxxxxภำพของพื้นที่และกำรใช้ที่ดิน จะนํำไปสู่กำรกํำหนด แผนงำนกิจกรรมที่มำตอบควำมต้องกำรของชุมชนในกำรจัดกำรทรัพยำกรดินให้xxxxรใช้ประโยชน์ อย่ำงมีxxxxxxxxภำพและยั่งยืน ซึ่งได้ปรำกฏในแนวทำงกำรวำงแผนกำรใช้ที่ดินตํำบลฉบับนี้
หน้า | ||
สารบัญ | 1 | |
สารบัญตาราง | 4 | |
สารบัญรูป | 5 | |
บทที่ 1 | บทนํา | |
1.1 หลักการและเหตุผล | 1-1 | |
1.2 วัตถุประสงค์ | 1-2 | |
1.3 ระยะเวลาและสถานที่ดําเนินงาน | 1-2 | |
1.4 ขั้นตอนการดําเนินงาน | 1-2 | |
1.5 นิยามศัพท์ | 1-3 | |
บทที่ 2 | ข้อมูลทั่วไป | |
2.1 ที่ตั้งและอาณาเขต | 2-1 | |
2.2 การแบ่งส่วนการxxxxxx | 2-1 | |
2.3 ประวัติและxxxxxxxxx | 2-1 | |
2.4. ข้อมูลจํานวนประชากร | 2-1 | |
2.5 ระบบเศรษฐกิจการประกอบอาชีพ | 2-2 | |
2.6 ลักษณะxxxxxxxxxx | 2-2 | |
2.7 สภาพภูมิอากาศ | 2-2 | |
2.8 xxxxxxxใช้ที่ดินในปัจจุบัน | 2-5 | |
บทที่ 3 | ทรัพยากรธรรมชาติ | |
3.1 ทรัพยากรป่าไม้ | 3-1 | |
3.2 ทรัพยากรน้ํา | 3-1 | |
3.3 ทรัพยากรดิน | 3-1 | |
บทที่ 4 | กระบวนการมีส่วนรวมของชุมชน | |
4.1 หลักการ | 4-1 | |
4.2 การวิเคราะห์ผลจากการจัดทํากระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน (PRA) | 4-1 | |
บทที่ 5 | การประเมินคุณภาพที่ดิน | |
5.1 ทรัพยากรดิน | 5-1 | |
5.2 ประเภทการใช้ที่ดิน | 5-1 | |
5.3 ผลการประเมินคุณภาพที่ดิน | 5-1 | |
บทที่ 6 | แผนการใช้ที่ดิน | |
6.1 xxxxxxในการจัดทําแผนการใช้ที่ดินตําบล | 6-1 | |
6.2 นโยบายแห่งรัฐในการกําหนดแผนการใช้ที่ดินตําบลxxxxxxxx | 6-1 | |
6.3 แผนการใช้ที่ดิน | 6-5 |
สารบญั (ต่อ) | ||
หน้า | ||
บทที่ 7 | การขับเคลื่อนแผนการใช้ที่ดินตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย | |
7.1 ขั้นตอนการดําเนินงาน | 7-1 | |
7.2 ตัวชี้วัด | 7-1 |
สารบญตาราง | ||
ตาราง | หน้า | |
2-1 | จํานวนประชากรชายและหญิง ตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย | 2-2 |
2-2 | สถิติภูมิอากาศ ณ สถานีตรวจอากาศเกษตรศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย ปี พ.ศ.2532-2561 | 2-4 |
2-3 | การใช้ประโยชน์ที่ดิน ตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย ปี 2561 | 2-5 |
3-1 | หน่วยแผนที่ดิน ตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย | 3-6 |
3-2 | xxxxxxดิน ตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย | 3-8 |
5-1 | ชั้นความเหมาะสมทางกายภาพของดิน ตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย | 5-14 |
6-1 | นโยบายแห่งรัฐที่เกี่ยวข้องกับแผนการใช้ที่ดินตําบลxxxxxxxx | 6-1 |
6-2 | เขตการใช้ที่ดิน ตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย | 6-12 |
7-1 | กิจกรรมของกรมพัฒนาที่ดินในเขตการใช้ที่ดินที่จะดําเนินการในปีงบประมาณ 2563-2566 | 7-2 |
7-2 | กิจกรรมของหน่วยงานอื่นๆในเขตการใช้ที่ดินที่จะดําเนินการในปีงบประมาณ 2563-2566 | 7-6 |
สารบญรูป | ||
รูปที่ | หน้า | |
2-1 | กราฟxxxxxของน้ําเพื่อการเกษตร จังหวัดสุโขทัย (พ.ศ. 2532-2561) | 2-4 |
2-2 | การใช้ประโยชน์ที่ดินปัจจุบัน ตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย | 2-7 |
2-3 | แผนที่การxxxxxxตัวเชิงพื้นที่ของการใช้ประโยชน์ที่ดิน ตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย | 2-8 |
3-1 | xxxxxxxxxxและชุดดิน ตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย | 3-5 |
3-2 | ทรัพยากรดิน ตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย | 3-10 |
6-1 | เป้าหมายการพัฒนาจังหวัดสุโขทัย 2561-2564 | 6-3 |
6-2 | เขตการใช้ที่ดิน ตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัด สุโขทัย | 6-14 |
1.1 หลักกำรและเหตุผล
บทที่ 1 บทนํำ
จากสถานการณ์ปัญหาการใช้ประโยชน์ และการจัดการที่ดินของประเทศไทยในช่วงหลาย xxxxxxxxxผ่านมามีหลายประเด็นสําคัญ ได้แก่ การบุกรุกพื้นที่xxxxxxxx ความขัดแย้งเรื่องแนวเขตที่ดิน การใช้ที่ดินxxxxxxเหมาะสมหรือเต็มศักยภาพ ความเหลื่อมล้ํา และการxxxxxxการถือครองที่ดินxxxxxx เป็นxxxx xxxไร้ที่ดินทํากิน การขาดxxxxxxในการบริหารจัดการที่มีความเกี่ยวข้องxxxxxxxxกัน และ เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม การรักษาความxxxxxของระบบนิเวศ ตลอดจนส่งผล ต่อความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติโดยเฉพาะที่ดิน ซึ่งเป็นฐานหลักในการผลิตอาหารxxxxxxxxx ปลอดภัย และมีผลิตภาพสูง รวมไปถึงที่ดินยังมีบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยใน สาขาการพัฒนาอื่นๆ xxxx ภาคอุตสาหกรรม อสังหาริมทรัพย์ และภาคบริการ ส่งผลให้ความต้องการ ที่ดินเพื่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ ดังกล่าวxxxxxสูงขึ้นอย่างรวดเร็วตามอัตราการขยายตัวทาง เศรษฐกิจเพื่อพัฒนาประเทศ นอกจากนี้ทรัพยากรดินของประเทศไทย ยังประสบปัญหาดินเสื่อมโทรม และขาดความxxxxxxxxxxx โดยในปี 2550 ประเทศไทยมีพื้นที่เสื่อมโทรมทั้งสิ้น 319.58 ล้านไร่ ซึ่ง เป็นพื้นที่เสื่อมโทรมระดับรุนแรง และระดับวิกฤต จํานวน 35.88 ล้านไร่ หรือร้อยละ 11.24 ของ พื้นที่ประเทศ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2550 อ้างถึงใน สํานักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม, 2561) โดยสาเหตุสําคัญที่ทําให้ดินเสื่อมโทรมมีxxxxxxxเกิดจากการเสื่อมโทรมตามxxxxxxxx ซึ่งส่วนใหญ่มีสาเหตุมาxxxxxxพิบัติทางxxxxxxxx xxxx การเกิดภัยxxxx อุทกภัย และดินถล่ม เป็นต้น และเกิดจากการกระทําของมนุษย์ xxxx การตัดไม้ xxx และถางป่า การใช้ที่ดินไม่เหมาะสมกับ สมรรถนะของที่ดิน หรือการใช้ที่ดินผิดประเภท รวมxxxxxxใช้ประโยชน์ที่ดินติดต่อกันเป็นเวลานาน แต่ขาดการบําxxxxxxxxสภาพดิน ขาดการxxxxxxxxดิน และน้ํา ส่งผลให้ดินเสื่อมโทรมลงอย่างรวดเร็ว เมื่อดินเสื่อมโทรมมากการใช้ปุ๋ยเคมี และสารเคมีในการทําเกษตรกรรมก็มีอัตราxxxxxสูงขึ้น จากการสํา มะโนการเกษตรของสํานักงานสถิติแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2556 พบว่า มีการใช้ปุ๋ยเคมีเฉลี่ย 57.3 กิโลกรัมต่อไร่ xxxxxขึ้นจากปี พ.ศ. 2536 และ พ.ศ. 2546 ที่มีปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีเฉลี่ย 33.9 และ
41.8 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลําดับ (สํานักงานสถิติแห่งชาติ, 2556 อ้างถึงใน สํานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม, 2561) จากสถานการณ์ปัญหาดังกล่าว xxxxxxxxxxแห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 72(1) จึงได้มีการxxxxxxxให้มีการวางแผนการใช้ที่ดินของ ประเทศไทย ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และศักยภาพของที่ดินตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน และ เพื่อให้เป็นไปในการปฏิบัติตามxxxxxxxxxxแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 สํานักxxxxxxxxxxxx xxxได้ประกาศแผนการxxxxxxประเทศ ลงxxxxxx 6 เมษายน 2561 โดยมีแผนการxxxxxxด้าน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เรื่องทรัพยากรดิน xxxxxxกําหนดให้มีการจัดทําแผนการใช้ที่ดิน ของชาติทั้งระบบให้สอดคล้อง และเหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ และการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศ ซึ่งมีเป้าหมายให้ประเทศมีแผนการใช้ที่ดินของชาติที่มีความถูกต้อง แม่นยํา และ เป็นปัจจุบันทั้งระบบ และเกษตรกรxxxxxxนําข้อมูลแผนการใช้ที่ดินดังกล่าว ไปใช้ในการพัฒนาพื้นที่ การเกษตรให้เหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ของตนได้ ดังนั้นเพื่อให้เป็นไปในการปฏิบัติตาม xxxxxxxxxxฯ พ.ศ. 2560 และแผนการxxxxxxประเทศดังกล่าว กรมพัฒนาที่ดิน ซึ่งมีพันธกิจหลักใน การปรับปรุงบํารุงดิน รวมxxxxxxxxxxxxxxดิน และน้ํา จึงได้จัดทําแผนการใช้ที่ดินระดับชาติ ระดับ
จังหวัด และระดับตําบลขึ้น โดยมีเป้าหมายในการปรับปรุงฐานข้อมูลดิน ความเหมาะสมของดิน แผน ที่ดิน แผนที่ความเหมาะสมของดิน แผนที่xxxxxxxใช้ที่ดินให้มีความละเอียด ความถูกต้องแม่นยํา มากขึ้น โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่ ให้มีความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และ สถานการณ์ทรัพยากรดินที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งจะส่งผลให้ได้แผนการใช้ที่ดินที่สอดคล้อง เหมาะสมกับ ศักยภาพพื้นที่ และสภาพทางเศรษฐกิจสังคมทั้งระบบตั้งแต่ระดับประเทศ จนถึงระดับพื้นที่ xxxxxx นําไปใช้ในการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรที่มีอยู่อย่างจํากัดให้xxxxxxใช้ประโยชน์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพเพื่อรองรับเกษตร 4.0 การจัดทําแผนการใช้ที่ดินระดับตําบล มีกรอบระยะเวลา ดําเนินการทั้งสิ้น 5 ปี เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2561 ถึง พ.ศ. 2565 โดยมีจํานวนแผนการใช้ที่ดินระดับตําบล xxxxxxรับการปรับปรุงทั้งสิ้น จํานวน 7,225 ตําบล ซึ่งใน ปี 2562 กรมพัฒนาที่ดินได้มีแผนการปรับปรุง แผนการใช้ที่ดินระดับตําบล ครอบคลุมพื้นที่การเกษตรทั้งประเทศ รวม 77 จังหวัด โดยมีโครงการนํา ร่องจังหวัดละ 1 แห่ง รวม 77 แห่ง ซึ่งหลังจากมีการปรับปรุงฐานข้อมูลให้มีความถูกต้อง แม่นยําแล้ว จะดําเนินการนําร่องการใช้แผนการใช้ที่ดินระดับตําบลไปสู่การปฏิบัติ ในปี พ.ศ. 2563-2565 ต่อไป เพื่อให้xxxxxxxบริหารจัดการพื้นที่อย่างเป็นระบบ โดยแผนการใช้ที่ดินระดับตําบลโป่งแดง อําเภอ เมืองตาก จังหวัดตาก เป็นโครงการนําร่องของจังหวัดตาก ซึ่งได้จัดทําจากการวิเคราะห์ปัญหา และ ความต้องการของเกษตรกรในตําบล ซึ่งได้จากการจัดกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน (Participatory Rural Appraisal: PRA) เพื่อรับฟังความคิดเห็น ประเด็นปัญหา ความต้องการจาก เกษตรกร และข้อเสนอแนะจากองค์กรการxxxxxxส่วนท้องถิ่น ร่วมกับการจัดทําฐานข้อมูล เพื่อ วิเคราะห์ความเหมาะสมทางกายภาพ สังคม และเศรษฐกิจระดับตําบล โดยวิเคราะห์ร่วมกับนโยบาย ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ แนวทางพัฒนาด้านเกษตรของประเทศ หลักการพัฒนาพื้นที่ของกลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัดสุโขทัย และแผนพัฒนาxxxxxxxxxxxเกี่ยวข้อง รวมxxxxxxวิเคราะห์ร่วมกับ สภาพแวดล้อมด้านเกษตรของตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย (SWOT Analysis) เพื่อกําหนดกิจกรรมต่างๆ ตามภารกิจของกรมพัฒนาที่ดิน เพื่อมาช่วยสนับสนุน และใช้เป็นแนวทาง แก้ปัญหาที่พบในพื้นที่อย่างเป็นระบบ xxxxxxในทางปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นรูปธรรม
1.2. วัตถุประสงค์
1.2.1 สนับสนุนการจัดทําแผนปฏิบัติการการใช้ที่ดินระดับตําบล เพื่อการพัฒนาการเกษตร อย่างยั่งยืนที่ตอบxxxxความต้องการของชุมชน
1.2.2 ให้มีการใช้ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับศักยภาพของที่ดิน และความต้องการ ของชุมชนในตําบลและจังหวัด
1.2.3 xxxxxศักยภาพและโอกาสพัฒนาอาชีพ และรายได้จากการใช้ประโยชน์ที่ดิน ตามแนว “xxxxxx เศรษฐกิจพอเพียง”
1.3. ระยะเวลำและสถำxxxxxxxเนินงำน
1.3.1 ระยะเวลา 1 xxxxxx 2561–30 กันยายน 2562
1.3.2 สถานที่ดําเนินงาน พื้นที่ตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย
1.4. ขั้นตอนกำรxxxเนินงำน
1.4.1 ศึกษารวบรวมข้อมูลxxxxxxx และทุติยภูมิที่จะนํามาวิเคราะห์ และใช้ในการกําหนดเขต การใช้ ที่ดิน รวมทั้งตรวจสอบ แก้ไขข้อมูล ให้มีความถูกต้อง โดยข้อมูลดังกล่าว ประกอบด้วย
1) ด้านกายภาพ ได้แก่ ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ํา ทรัพยากรป่าไม้ ภูมิอากาศ xxxx xxxใช้ที่ดิน ชั้นคุณภาพลุ่มน้ํา ภัยxxxxxxxx ฯลฯ
2) ด้านเศรษฐกิจสังคม ได้แก่ การถือครองที่ดิน การใช้ที่ดิน เศรษฐกิจที่ดิน พืชหลัก หรือพืช เศรษฐกิจที่สําคัญ เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการตัดสินใจในการกําหนดเขตการใช้ที่ดิน ตลาดสินค้า เกษตร รายได้ รายจ่าย ประชากร โครงสร้างประชากร การศึกษา
3) ด้านนโยบายxxxxxxxxxxแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 แผนxxxxxxประเทศ ด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องทรัพยากรดิน xxxxxxxxxxชาติ 20 ปี แผนพัฒนา เศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และแผนพัฒนาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการกําหนดเขตการใช้ ที่ดิน ได้แก่ แนวทางพัฒนาด้านเกษตรของประเทศ หลักการพัฒนาพื้นที่ของกลุ่มจังหวัด แผนพัฒนา จังหวัด แผนพัฒนาการเกษตร และสหกรณ์ของจังหวัด แผนพัฒนาxxxxxxxxสี่ปี (พ.ศ.2561–2564) ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด และองค์การบริหารส่วนตําบล
1.4.2 จัดทํากระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน (Participatory Rural Appraisal: PRA) รับ ฟังความคิดเห็น ประเด็นปัญหา ความต้องการจากเกษตรกรในตําบล และองค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่น เพื่อให้ได้ข้อมูล ที่เป็นปัจจุบัน
1.4.3 วิเคราะห์ข้อมูลด้านกายภาพ ได้แก่ สถานการณ์และประเด็นปัญหาของทรัพยากรดิน ประเมินความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินต่อการใช้ประโยชน์ที่ดิน ข้อมูลเศรษฐกิจและสังคมใน ตําบล นโยบาย xxxxxxxxxx แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์จังหวัด และ แผนพัฒนาต่างๆที่ เกี่ยวข้อง ร่วมกับการวิเคราะห์ประเด็นปัญหา ความต้องการจากเกษตรกรxxxxxx จากกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อกําหนด (ร่าง) แผนการใช้ที่ดินตําบล
1.4.4 รับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อ (ร่าง) แผนการใช้ที่ดินตําบล
1.4.5 ปรับปรุงแผนการใช้ที่ดินตําบล
1.4.6 xxxxxxสถานีพัฒนาที่ดิน เพื่อนําแผนการใช้ที่ดินไปสู่การกําหนดกิจกรรมในการ จัดทําแผนงานหรือโครงการ กําหนดตัวชี้วัด ระยะเวลา และงบประมาณดําเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม
1.5 นิยำมศัพท์
1.5.1 ที่ดิน (Land)
“ที่ดิน” หมายความว่า พื้นที่ดินทั่วไปและให้หมายความรวมถึง ภูเขา ห้วย หนอง xxxx xxx xxxลําน้ํา ทะเลสาบ เกาะ และที่ชายทะเลด้วย (มาตรา 4 ประมวลกฎหมายที่ดิน)
“ที่ดิน” ในทางวิชาการด้านทรัพยากรที่ดิน หมายถึง “ชีวxxxxบนพื้นผิวโลก
ประกอบด้วย ชั้นบรรยากาศ ชั้นดิน ชั้นหิน ลักษณะความxxxxxของพื้นที่ ลักษณะทางอุทกศาสตร์ พืช สัตว์ และผลที่เกิดจากการกระทําของมนุษย์ทั้งในอดีตและปัจจุบัน” (FAO, 1993)
“ที่ดิน” หมายถึง พื้นที่หนึ่งๆ ที่อยู่บนผิวของของโลก ประกอบด้วยลักษณะที่สําคัญ คือ
สภาพแวดล้อมทั้งทางกายภาพและชีวภาพซึ่งมีxxxxxxxต่อการใช้ประโยชน์ที่ดิน ดังนั้น ที่ดินจึงxxxxxx หมายถึงดินเพียงอย่างเดียวแต่จะหมายรวมถึงลักษณะภูมิสัณฐาน (landforms) ภูมิอากาศ (climate) อุทกวิยา (hydrology) พืชพรรณ (vegetation) และสัตว์ (fauna) ซึ่งการปรับปรุงที่ดิน (land improvement) ได้แก่ การทําขั้นบันไดและการระบายน้ํา เป็นต้น (FAO, 1993)
1.5.2 ดิน (Soil)
“ดิน” หมายความรวมถึง หิน กรวด ทราย แร่ธาตุ น้ํา และอินทรียวัตถุต่างๆ ที่เจือปน กับเนื้อดินด้วย (มาตรา 4 พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551)
“ดิน” ในทางวิชาการด้านทรัพยากรที่ดิน หมายถึงเทหวัตถุxxxxxxxx ซึ่งเกิดขึ้นบน พื้นผิวโลกเป็นวัตถุที่ค้ําจุนการเจริญเติบโต และการทรงตัวของต้นไม้ ประกอบด้วยแร่ธาตุ และ อินทรียวัตถุต่างๆ มีลักษณะชั้นแตกต่างกัน แต่ละชั้นที่อยู่ต่อเนื่องกันจะมีแนวxxxxxxxxซึ่งกันและกัน ตามขบวนการกําเนิดดิน ที่เป็นผลxxxxxxxxxมาจากการะกระทําร่วมกันของภูมิอากาศ พืชพรรณ วัตถุ ต้นกําเนิดดิน ระยะเวลา และความต่างระดับของพื้นที่ในบริเวณนั้น (FAO 1974: 39-40)
“ดิน” อินทรียวัตถุและอนินทรียวัตถุxxxxxxจับตัวแข็งเป็นหินซึ่งปกคลุมพื้นผิวโลก ซึ่งเป็น ผลมาจากปัจจัยด้านการกําเนิดและสภาพแวดล้อม ได้แก่ ภูมิอากาศ สิ่งมีชีวิต (พืชและสัตว์) สภาพ xxxxxxxxxx วัตถุต้นกําเนิด และระยะเวลา ความเหมาะสมต่อการผลิตพืชของดินแตกต่างxxx
xxxxxxมาจากลักษณะและxxxxxxทางกายภาพ เคมี ชีวภาพ และสัณฐาน (คณะกรรมการจัดทํา ปทานุกรมxxxxxxxxx, 2551)
1.5.3 การใช้ที่ดิน
“กำรใช้ที่ดิน” หมายxxx xxxจัดการที่ดินตามที่มนุษย์ต้องการ ซึ่งรวมทั้งการใช้ที่ดินใน ชนบท เขตชานเมือง และเขตอุตสาหกรรม เป็นต้น (FAO, 1993)
“กำรใช้ที่ดิน” หมายถึง ผลของความxxxxxxของมนุษย์ ในการดําเนินการ
เปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพพื้นที่ของทรัพยากรที่มีอยู่ เพื่อxxxxความต้องการของตนเอง (Vink, 1975)
1.5.4 การวางแผนการใช้ที่ดิน
“การวางนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน” หมายความว่า การวางนโยบายและแผนการใช้ ที่ดินให้เหมาะสมกับสภาพของดิน และสอดคล้องกับประเภทของที่ดิน xxxxxxจําแนกไว้ธนาคารเพื่อการ พัฒนาแห่งเอเชีย (ADB) ได้ให้ความหมายของการวางแผนการใช้ที่ดินว่าเป็นกระบวนการของการ เปลี่ยนแปลง ที่เกี่ยวข้องกับการแสวงหาใช้ประโยชน์จากทรัพยากร เป็นการกําหนดทิศทางของการ ลงทุน แนวทางของการพัฒนาเทคโนโลยี และเป็นการเปลี่ยนแปลงของหน่วยงานต่างๆ ให้ดําเนินการ อยู่ในภาพรวมเดียวกัน และเป็นการxxxxxศักยภาพทั้งในปัจจุบันและใน xxxxxเพื่อตอบxxxxความ ต้องการของมนุษย์ (NRC, 1975 และ ADB, 2012)
1.5.5 “เศรษฐกิจที่ดิน” หมายความว่า ภาวะความxxxxxxxxระหว่างประชากรกับที่ดิน ทางด้านเศรษฐกิจ
1.5.6 “เกษตรกรรม” หมายความว่า การทํานา ทําไร่ ทําสวน เลี้ยงสัตว์ เลี้ยงสัตว์น้ํา และ กิจกรรมอื่นตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กําหนด โดยประกาศในxxxxxxxx นุเบกษา
1.5.7 “การชะล้างพังทลายของดิน” หมายความว่า ปรากฏการณ์ซึ่งที่ดินถูกชะล้างกัดเซาะ
พังทลายด้วยพลังงานที่เกิดจากน้ํา ลม หรือโดยเหตุอื่นใดให้xxxxxxxเสื่อมโทรม สูญเสียเนื้อดิน หรือ ความxxxxxxxxxxxของดิน
1.5.8 “การxxxxxxxxดินและน้ํา” หมายความว่า การกระทําใดๆ ที่มุ่งให้xxxxxxxระวังป้องกัน รักษาดินและที่ดิน ไม่ให้เกิดความเสื่อมโทรม สูญเสีย รวมxxxxxxรักษา ปรับปรุง ความxxxxxxxxxxx ของดิน และการรักษาน้ําในดินหรือบนผิวดินให้xxอยู่เพื่อรักษาดุลxxxxxxxxให้เหมาะสมในการใช้ ประโยชน์ที่ดิน ในการเกษตรกรรม
2. ข้อมูลทั่วไป
2.1 ที่ตั้งและอาณาเขต
บทที่ 2 ข้อมูลทั่วไป
ตํำบลนำxxxxxx อํำเภอศรีสํำโรง จังหวัดสุโขทัย ตั้งอยู่ทำงทิศตะวันตกxxxxxxxxxxของ จังหวัดสุโขทัย มีพื้นที่ประมำณ 121,956 ไร่ หรือ 195.13 ตำรำงกิโลเมตร มีอำณำเขต ติดต่อ ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตํำบลบ้ำนใหม่xxxxxxx อํำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย ทิศใต้ ติดต่อกับ ตํำบลวังทองแดง อํำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย
ตํำบลวังน้ํำขำว อํำเภอบ้ำนด่ำนลำนหอย จังหวัดสุโขทัย ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตํำบลรำวxxxxxxxxx อํำเภอศรีสํำโรง จังหวัดสุโขทัย ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตํำบลทุ่งเสลี่ยม อํำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย
ตํำบลวังน้ํำขำว อํำเภอบ้ำนด่ำนลำนหอย จังหวัดสุโขทัย
2.2 การแบ่งส่วนการxxxxxx
ตํำบลนำxxxxxx อํำเภอศรีสํำโรง จังหวัดสุโขทัย แบ่งเขตกำรxxxxxxออกเป็น 12
หมู่บ้ำน ดังนี้
หมู่ที่ 1 บ้ำนนำxxxxxx หมู่ที่ 7 บ้ำนโซกเปือย
หมู่ที่ 2 บ้ำนxxxxxxxx หมู่ที่ 8 บ้ำนลุเต่ำ
หมู่ที่ 3 บ้ำนวังพิกุล หมู่ที่ 9 บ้ำนลุตะแบก
หมู่ที่ 4 บ้ำนเขำดินxxxxxx หมู่ที่ 10 บ้ำนหนองจิก
หมู่ที่ 5 บ้ำนวังxxxxxxx หมู่ที่ 11 บ้ำนxxxxx
หมู่ที่ 6 บ้ำนวังตำมน หมู่ที่ 12 บ้ำนหนองสะแก
2.3 ประวัติและxxxxxxxxx
ตํำบลนำxxxxxxเกิดจำกกำรรวมตัวของประชำชนหลำยพื้นที่ที่อพยพย้ำยถิ่นเข้ำมำxxxมำ หำกินในพื้นที่ตํำบลนำxxxxxx xxxx บ้ำนไร่ บ้ำนซ่ำนและส่วนหนึ่งที่อพยพมำจำกภำค ตะวันออกxxxxxxxxxx ตํำบลนำxxxxxxxxxเคยเป็นที่ตั้งของที่ว่ำกำรอํำเภอศรีสํำโรงเป็นแห่งแรกที่บ้ำน นำหลุก (ปัจจุบันเป็นเขตพื้นที่ตํำบลรำวxxxxxxxxx) ซึ่งชื่อตํำบลนั้นได้มำจำกชื่อหมู่บ้ำนหมู่ที่ 1 ของ ตํำบล
2.4 ข้อมูลจํานวนประชากร
ประชำกรของตํำบลนำxxxxxx ประกอบด้วย คนไทย และไทยอีสำน ประชำกรทั้งสิ้น 7,141 คน xxxนวน 2,357 ครัวเรือน แยกเป็นผู้ชำยxxxนวน 3,554 คน ผู้หญิงxxxนวน 3,587 คน มี
ควำมหนำแน่นเฉลี่ย 36.07 คนต่อตำรำงกิโลเมตร
ตารางที่ 2-1 xxxนวนประชำกรชำยและหญิง ตํำบลนำxxxxxx อํำเภอศรีสํำโรง จังหวัดสุโขทัย
ที่ | ชื่อหมู่บ้ำน | ครัวเรือน | ชำย | หญิง | รวมxxxนวน ประชำกร |
1 | บ้ำนนำxxxxxx | 174 | 237 | 234 | 471 |
2 | บ้ำนxxxxxxxx | 241 | 390 | 416 | 806 |
3 | บ้ำนวังพิกุล | 213 | 306 | 334 | 640 |
4 | บ้ำนเขำดินxxxxxx | 379 | 530 | 539 | 1,069 |
5 | บ้ำนวังxxxxxxx | 215 | 351 | 342 | 693 |
6 | บ้ำนวังตำมน | 173 | 265 | 268 | 533 |
7 | บ้ำนโซกเปือย | 211 | 309 | 321 | 630 |
8 | บ้ำนลุเต่ำ | 121 | 167 | 146 | 313 |
9 | บ้ำนลุตะแบก | 000 | 000 | 000 | 491 |
10 | บ้ำนหนองจิก | 175 | 282 | 303 | 585 |
11 | บ้ำนxxxxx | 204 | 322 | 281 | 603 |
12 | บ้ำนหนองสะแก | 94 | 148 | 159 | 307 |
รวม | 2,357 | 3,554 | 3,587 | 7,141 |
2.5 ระบบเศรษฐกิจการประกอบอาชีพ
ประชำชนในพื้นที่ส่วนใหญ่ประกอบอำชีพด้ำนกำรเกษตร โดยxxxนำ (ข้ำว กข 43) xxxx xxxไร่ xxxx มันสํำปะหลัง อ้อย ซึ่งพืชเศรษฐกิจที่สํำคัญ ได้แก่ ข้ำว มันสํำปะหลัง และxxxx xxxxรxxx ปศุสัตว์ ได้แก่ xxxx xx-กระบือ สัตว์ปีก พื้นที่xxxกำรเกษตรประมำณ 32,637 ไร่
2.6 ลักษณะxxxxxxxxxx
xxxxxxxxxxตํำบลนำxxxxxx มีลักษณะพื้นที่ทั่วไปเป็นภูเขำและที่รำบสูง xxxxxทำงลำดเท จำกด้ำนทิศเหนือไปทำงทิศใต้ มีแหล่งน้ํำธรรมชำติที่สํำคัญ และสำมำรถใช้ประโยชน์ ในทำง กำรเกษตรที่สํำคัญ ได้แก่ xxxxขะยำง หรือ xxxxแม่ระกำ และอ่ำงเก็บน้ํำ
2.7 สภาพภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอำกำศของตํำบล จัดอยู่ในลักษณะภูมิอำกำศแบบมรสุมเขตxxxx (Tropical monsoon climate) ซึ่งแบ่งได้ 3 ฤดู คือ ฤดูฝนเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภำคมถึงเดือนตุลำคม โดยได้รับ xxxxxxxจำกลมมรสุมตะวันตกxxxxxxxx จะพัดผ่ำนทะเลและมหำสมุทรนํำไอน้ํำขึ้นมำxxxให้มีอำกำศชุ่ม ชื้นและฝนตกชุก ส่วนฤดูหนำวเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกำยนถึงเดือนกุมภำพันธ์ โดยได้รับxxxxxxxจำก ลมมรสุมตะวันออกxxxxxxxxxx ซึ่งพัดเอำควำมxxxxxxxxและควำมหนำวเย็นลงมำ สํำหรับฤดูxxxxเริ่ม ตั้งแต่เดือนมีนำคมถึงเดือนเมษำยนซึ่งมีอำกำศxxxxและอบอ้ำว
จำกสถิติภูมิอำกำศของสถำนีตรวจอำกำศเกษตรศรีสํำโรง จังหวัดสุโขทัย ได้นํำมำใช้ พิจำรณำเป็นตัวแทนลักษณะภูมิอำกำศในพื้นที่ตํำบล สรุปได้ดังนี้ (ตำรำงที่ 2-2 และรูปที่ 2-1)
ปริมาณน้ําฝน มีปริมำณน้ํำฝนรวมเฉลี่ยทั้งปี 1,162.5 มิลลิเมตร เดือนกันยำยนมีปริมำณ น้ํำฝนมำกที่สุด 218.2 มิลลิเมตร และเดือนกุมภำxxxxx xxปริมำณน้ํำฝนน้อยที่สุด 8.6 มิลลิเมตร
อุณหภูมิ มีอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี 27.9 องศำเซลเซียส ควำมแตกต่ำงของอุณหภูมิระหว่ำง เดือนxxxxxxxที่สุดและเดือนที่หนำวที่สุดมีเพียงเล็กน้อย คือ 6.3 องศำเซลเซียส โดยที่เดือนเมษำยน มี อุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด 30.7 องศำเซลเซียส และเดือนมกรำคมมีอำกำศหนำวเย็นที่สุด โดยมีอุณหภูมิ เฉลี่ยต่ํำสุด 24.4 องศำเซลเซียส
ความชื้นสัมพัทธ์ มีควำมชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยทั้งปี 76.8 เปอร์เซ็นต์ เดือนกันยำยนและเดือน ตุลำคมมีควำมชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยสูงสุด 83 เปอร์เซ็นต์ และส่วนเดือนที่มีควำมชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยต่ํำสุด คือ เดือนเมษำยน โดยมีควำมชื้นสัมพัทธ์ 67 เปอร์เซ็นต์
การวิเคราะห์ช่วงฤดูxxxxxxxxพืช ในกำxxxxxรำะห์ข้อมูลเพื่อหำช่วงเวลำที่เหมำะสม
ในกำรxxxxxxx โดยใช้ข้อมูลเกี่ยวกับปริมำณน้ํำฝนรำยเดือนเฉลี่ย และค่ำxxxxภำพกำรคำยระเหยน้ํำ ของพืชรำยเดือนเฉลี่ย (Evapotranspiration : ETo) ซึ่งxxxนวณโดยใช้โปรแกรม Xxxxxxx for Windows Version 8.0 xxxxxหนดจุดกรำฟลงบนกระดำษ โดยพิจำรณำจำกระยะเวลำช่วงที่เส้น น้ํำฝนอยู่เหนือเส้น 0.5 ETo เป็นหลัก เพื่อหำช่วงระยะเวลำที่เหมำะสมในกำรxxxxxxxของตํำบล สำมำรถสรุปได้ดังนี้
1) ช่วงระยะเวลำที่เหมำะสมต่อกำรxxxxxxx โดยฝนเริ่มตกจนกระทั่งฝนใกล้หมดมี ควำมชื้นพอเหมำะต่อกำรxxxxxxx ช่วงระยะเวลำนี้เริ่มตั้งแต่ประมำณปลำยเดือนเมษำยนถึงต้นเดือน พฤศจิกำยน
2) ช่วงระยะเวลำที่มีน้ํำฝนมำกเกินพอ เป็นช่วงฝนตกชุกมีควำมชื้นสูง ควำมชื้นในดินสูง และอำจมำกเกินควำมต้องกำรของพืช พืชที่ปลูกในที่รำบต่ํำและดินxxxxรระบำยน้ํำเลว อำจประสบ ปัญหำน้ํำท่วมเสียหำยได้ เนื่องจำกได้รับxxxxxxxจำกพำยุโซนxxxxหรือพำยุดีเปรสชั่น ช่วงระยะเวลำนี้ เริ่มตั้งแต่ประมำณเดือนพฤษภำคมถึงต้นเดือนปลำยเดือนตุลำคม
3) ช่วงเวลำxxxxxxสำมำรถxxxxxxxได้โดยอำศัยน้ํำฝนหรือช่วงขำดน้ํำ ดินมีควำมxxxxxxxx xxxxxxxxxxต่อควำมต้องกำรน้ํำของพืช เป็นช่วงฤดูxxxx อยู่ประมำณต้นเดือนพฤศจิกำยนถึงปลำย เดือนเมษำยนของปีถัดไป ซึ่งถ้ำต้องกำรxxxxxxxช่วงนี้ต้องจัดหำแหล่งน้ํำxxxxxx xxxx แหล่งน้ํำขนำด เล็กประเภทต่ำงๆ
ตารางที่ 2-2 สถิติภูมิอำกำศ สถำนีตรวจอำกำศเกษตรศรีสํำโรง จังหวัดสุโขทัย (พ.ศ. 2532-2561)
เดือน | อุณหภูมิ (๐c) | ความชื้น สัมพัทธ์ (%) | ปริมาณน้ําฝน (มม.) | ปริมาณแสง (ชั่วโมง/วัน) | ความเร็วลม (กม./วัน) | ปริมาณ ฝนใช้การ* (มม.) | การระเหย และการคายน้ํา อ้างอิง* (มม.) * |
xxxxxx | 24.4 | 75.0 | 9.6 | 7.6 | 14.8 | 9.5 | 91.1 |
กุมภาพันธ์ | 26.3 | 74.0 | 8.6 | 8.1 | 19.8 | 8.5 | 100.5 |
มีนาคม | 28.7 | 69.0 | 26.0 | 7.3 | 29.7 | 24.9 | 126.5 |
เมษายน | 30.7 | 67.0 | 46.4 | 8.0 | 39.6 | 43.0 | 145.2 |
พฤษภาคม | 30.0 | 75.0 | 190.0 | 7.0 | 34.6 | 132.2 | 142.3 |
มิถุนายน | 29.3 | 79.0 | 148.5 | 5.4 | 49.5 | 113.2 | 121.8 |
กรกฎาคม | 28.5 | 81.0 | 151.9 | 3.9 | 44.5 | 115.0 | 109.7 |
สิงหาคม | 28.3 | 82.0 | 192.1 | 3.9 | 39.6 | 133.1 | 107.6 |
กันยายน | 28.5 | 83.0 | 218.2 | 4.7 | 24.7 | 142.0 | 105.0 |
xxxxxx | 28.0 | 83.0 | 134.0 | 5.8 | 19.8 | 105.3 | 106.6 |
พฤศจิกายน | 27.1 | 77.0 | 24.1 | 7.1 | 19.8 | 23.2 | 97.8 |
ธันวาคม | 24.9 | 76.0 | 13.1 | 7.4 | 19.8 | 12.8 | 90.5 |
รวม | - | - | 1,162.5 | 76.1 | 356.3 | 862.7 | 1,344.7 |
เฉลี่ย | 27.9 | 76.8 | - | - | - | - | - |
ที่มา : กรมอุตุxxxxวิทยำ, 2561
หมายเหตุ : * จำกกำรxxxนวณ
รูปที่ 2-1 กรำฟxxxxxของน้ํำเพื่อกำรเกษตร จังหวัดสุโขทัย (พ.ศ. 2532 –2561)
2.8 xxxxxxxใช้ที่ดินในปัจจุบัน
จำกข้อมูลสภำพกำรใช้ที่ดินปัจจุบัน ตํำบลนำxxxxxx อํำเภอศรีสํำโรง จังหวัดสุโขทัย ปี 2561 กลุ่มวำงแผนกำรใช้ที่ดินสํำนักงำนพัฒนำที่ดินเขต 9 กรมพัฒนำที่ดิน เมื่อนํำมำวิเครำะห์ สภำพกำรใช้ที่ดินในตํำบลนำxxxxxx พบกำรใช้ที่ดิน 9 ประเภท ประกอบด้วย พื้นที่xxxxxx พื้นที่นำ ข้ำว พื้นที่xxxxxxxไร่ พื้นที่ปลูกไม้ยืนต้น พื้นที่ปลูกไม้ผล พื้นที่เกษตรกรรมอื่นๆ พื้นที่อื่นๆ พื้ xxxx ชุมชนและสิ่งปลูกสร้ำง และพื้นที่แหล่งน้ํำ โดยมีรำยละเอียดดังตำรำงที่ 2-3 รูปที่ 2-2 และ 2-3
ตารางที่ 2-3 กำรใช้ประโยชน์ที่ดิน ตํำบลนำxxxxxx อํำเภอศรีสํำโรง จังหวัดสุโขทัย ปี 2561
หน่วยแผนที่ | การใช้ประโยชน์ที่ดิน | เนื้อที่ (ไร่) |
พื้นที่ป่าไม้ | 23,158 | |
F200 | ป่ำผลัดใบรอสภำพฟื้นฟู | 2,322 |
F201 | ป่ำผลัดใบxxxxxxx | 20,483 |
F500 | ป่ำปลูกรอสภำพฟื้นฟู | 77 |
F501 | ป่ำปลูกxxxxxxx | 276 |
พื้นที่นาข้าว | 41,994 | |
A100 | นำร้ำง | 171 |
A101 | นำข้ำว | 41,823 |
พื้นที่xxxxxxxไร่ | 37,250 | |
A202 | ข้ำวโพด | 2,886 |
A203 | อ้อย | 17,817 |
A204 | มันสํำปะหลัง | 16,547 |
พื้นที่ปลูกไม้ยืนต้น | 3,403 | |
A300 | ไม้ยืนต้นร้ำง/เสื่อมโทรม | 264 |
A301 | ไม้ยืนต้นผสม | 17 |
A302 | ยำงพำรำ | 1,113 |
A303 | ปำล์มน้ํำมัน | 56 |
A304 | xxคำลิปตัส | 640 |
A305 | สัก | 1,313 |
พื้นที่ปลูกไม้ผล | 590 | |
A401 | ไม้ผลผสม | 130 |
A402 | ส้ม | 16 |
A405 | มะพร้ำว | 1 |
ตารางที่ 2-3 กำรใช้ประโยชน์ที่ดิน ตํำบลนำxxxxxx อํำเภอศรีสํำโรง จังหวัดสุโขทัย ปี 2561 (ต่อ)
หน่วยแผนที่ | การใช้ประโยชน์ที่ดิน | เนื้อที่ (ไร่) |
A407 | มะม่วง | 250 |
A411 | กล้วย | 37 |
A412 | มะขำม | 58 |
A413 | ลํำไย | 64 |
A415 | มะละกอ | 25 |
A417 | กระท้อน | 3 |
A422 | มะนำว | |
พื้นที่เกษตรกรรมอื่นๆ | 4,821 | |
A701 | ทุ่งหxxxxxxxxxสัตว์ | 4,708 |
A702 | โรงเรือนเลี้ยงโค กระบือ และม้ำ | 113 |
พื้นที่อื่นๆ | 2,472 | |
M101 | ทุ่งหญ้ำธรรมชำติ | 39 |
M102 | ทุ่งหญ้ำสลับxxxxxxx/ไม้ละเมำะ | 1,727 |
M300 | เหมืองเก่ำ/บ่อขุด | 530 |
M301 | เหมืองแร่ | 150 |
M405 | พื้นที่ถม | 26 |
พื้นที่ชุมชนและสิ่งxxxxxxxxx | 5,329 | |
U201 | หมู่บ้ำนบนพื้นรำบ | 3,796 |
U301 | สถำxxxxรำชกำรและสถำบันต่ำงๆ | 813 |
U405 | ถนน | 169 |
U502 | โรงงำนอุตสำหกรรม | 515 |
U601 | สถำxxxxพักผ่อนหย่อนใจ | 36 |
พื้นที่แหล่งน้ํา | 2,939 | |
W101 | แม่น้ํำ ลํำห้วย ลํำxxxx | 1,916 |
W201 | อ่ำงเก็บน้ํำ | 479 |
W202 | บ่อน้ํำในไร่นำ | 255 |
W203 | xxxxชลประทำน | 289 |
ผลรวมทั้งหมด | 121,956 |
รูปที่ 2-2 กำรใช้ประโยชน์ที่ดินปัจจุบัน ตํำบลนำxxxxxx อํำเภอศรีสํำโรง จังหวัดสุโขทัย
รูปที่ 2-3 แผนที่กำรกระจำยตัวเชิงพื้นที่xxxxxรใช้ประโยชน์ที่ดิน ตํำบลนำxxxxxx อํำเภอศรีสํำโรง จังหวัดสุโขทัย
บทที่ 3
ทรัพยากรธรรมชาติ
3.1 ทรัพยากรป่าไม้
เขตป่าไม้ มีเนื้อที่ประมาณ 23,158 ไร่ หรือร้อยละ 18.99 ของเนื้อที่ตําบล ตําบลxxxxxxxx มีพื้นที่ติดต่อกับเขตxxxxxxxxxxxสัตว์ป่าถ้ําเจ้าราม สํานักบริหารพื้นที่xxxxxxxxxxx 14 (ตาก) ซึ่งมีทั้งสภาพ ป่าผลัดใบxxxxxxx และxxxxxxxxxxxxxควรฟื้นฟูสภาพป่าเพื่อรักษาความxxxxxของสภาพแวดล้อมและ
การใช้ประโยชน์ร่วมกันของชุมชน พื้นที่ในเขตป่าเหล่านี้จํานวนมากได้ถูกนําไปใช้ประโยชน์ในรูปแบบ หรือวิธีxxxxxxเหมาะสม ไม่เป็นไปตามมาตรการหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์จากที่ดินหรือ ทรัพยากรป่าไม้
3.2 ทรัพยากรน ้า
มีแหล่งน้ําตามxxxxxxxxที่สําคัญ ได้แก่ ลําห้วยและลําxxxx 22 สาย แหล่งน้ําที่สร้างขึ้น ได้แก่ ฝาย 5 แห่ง บ่อบาดาล 23 แห่ง บ่อน้ําตื้น 54 แห่ง ระบบประปาหมู่บ้านของตําบลxxxxx xxx มีครบทั้ง 12 หมู่บ้าน
3.3 ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินในพ
ที่ตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหว
สุโขทัย ได้แก่
3.3.1 ชุดดินเชียงคาน พบบริเวณxxxxxxของพื้นที่ มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึง ลูกคลื่นลอนลาด เกิดจากการผุพังของหินตะกอนเนื้อละเอียดและหินที่แปรสภาพรวมถึงที่เกิดจาก วัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางใกล้ๆ โดยแรงโน้มถ่วงบริเวณเชิงเขา เป็นดินตื้นถึงชั้น เศษหิน ดินมีการระบายน้ําดีน้ําซึมผ่านได้ปานกลาง อุ้มน้ําได้ปานกลาง และมีความxxxxxxxxxxxต่ํา มีเนื้อที่ 914 ไร่หรือร้อยละ 0.76 ของพื้นที่ตําบล ประกอบด้วย
- หน่วยแผนที่ดิน Ch-B มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 359 ไร่หรือ ร้อยละ 0.30 ของพื้นที่ตําบล
- หน่วยแผนที่ดิน Ch-C มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 555 ไร่หรือร้อยละ
0.46 ของพื้นที่ตําบล
3.3.2 ชุดดินxxxxxxx พบบริเวณxxxxxxของพื้นที่ มีสภาพพื้นที่xxxxxxxxxxxxxxxxเกิดจาก สลายตัวผุพังอยู่กับที่ของหินปูนเป็นดินตื้นดินมีการระบายน้ําดีน้ําซึมผ่านได้ปานกลาง อุ้มน้ําได้ปาน กลางและมีความxxxxxxxxxxxปานกลาง มีเนื้อที่ 2,638 ไร่หรือร้อยละ 2.16 ของพื้นที่ตําบล ประกอบด้วย
- หน่วยแผนที่ดิน Hs-A มีสภาพพื้นที่xxxxxxxxxxxxxxxx มีเนื้อที่ 2,638 ไร่หรือร้อยละ
2.16 ของพื้นที่ตําบล
3.3.3 ชุดดินแก่งคอย พบบริเวณxxxxxxของพื้นที่ มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนชันเกิดจากการ ผุพังสลายตัวอยู่กับที่ และ/หรือเคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางใกล้ๆ โดยแรงโน้มถ่วงของโลกของหิน xxxxxxxท์ และหินอัคนีในกลุ่มเดียวกันบริเวณเนินเขาเป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหิน และพบชั้นหินพื้นที่ ประมาณ 80 เซนติเมตร จากผิวดิน ดินมีการระบายน้ําดีน้ําซึมผ่านได้ปานกลาง อุ้มน้ําได้ปานกลาง และมีความxxxxxxxxxxxปานกลาง มีเนื้อที่ 77 ไร่หรือร้อยละ 0.06 ของพื้นที่ตําบล ประกอบด้วย
- หน่วยแผนที่ดิน Kak-D มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน มีเนื้อที่ 77 ไร่หรือร้อยละ 0.06 ของพื้นที่ตําบล
3.3.4 ชุดดินกําแพงเพชร พบบริเวณเนินตะกอนน้ําพารูปพัด มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด เล็กน้อย เกิดจากตะกอนน้ําพา เป็นดินลึกมาก ดินมีการระบายน้ําดีปานกลางน้ําซึมผ่านxxxxxปานกลาง และอุ้มน้ําxxxxx มีความxxxxxxxxxxxดีปานกลาง มีเนื้อที่ 5,296 ไร่หรือร้อยละ 4.34 ของพื้นที่ตําบล ประกอบด้วย
-หน่วยแผนท
ิน Kp-B มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเน
ที่ 5,296 ไร่ หรือ
ร้อยละ 4.34 ของพ ที่ตาบลํ
3.3.5 ชุดดินxxx พบบริเวณxxxxxxของพื้นที่ มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึง ลูกคลื่นลอนลาด เกิดจากการผุพังของหินตะกอนเนื้อละเอียดและหินที่แปรสภาพรวมถึงที่เกิดจาก วัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางใกล้ๆ โดยแรงโน้มถ่วงบริเวณเชิงเขาและเนินเขา เป็น ดินตื้นถึงชั้นเศษหินxxxxxxx ดินมีการระบายน้ําดีน้ําซึมผ่านได้ปานกลาง อุ้มน้ําได้ปานกลาง และ มีความxxxxxxxxxxxต่ํา มีเนื้อที่ 2,300 ไร่ หรือร้อยละ 1.88 ของพื้นที่ตําบล ประกอบด้วย
- หน่วยแผนที่ดิน Li-B มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 1,754 ไร่หรือ ร้อยละ 1.44 ของพื้นที่ตําบล
- หน่วยแผนที่ดิน Li-C มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 481 ไร่ หรือร้อยละ
0.39 ของพื้นที่ตําบล
- หน่วยแผนที่ดิน Li-D มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน มีเนื้อที่ 65 ไร่ หรือร้อยละ 0.05 ของพื้นที่ตําบล
3.3.6 ชุดดินลาดหญ้า พบบริเวณxxxxxxของพื้นที่ มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย เกิดจากการผุพังสลายตัวอยู่กับที่ และ/หรือเคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางใกล้ๆ โดยแรงโน้มถ่วงของโลก ของxxxxxxxและหินควอร์ตไซท์ โดยมีหินดินดานและหินxxxxxท์แทรกอยู่ เป็นดินลึกปานกลางถึงชั้น เศษหิน ดินมีการระบายน้ําดีน้ําซึมผ่านxxxxx อุ้มน้ําต่ํา มีความxxxxxxxxxxxปานกลาง มีเนื้อที่ 6,262 ไร่ หรือร้อยละ 5.14 ของพื้นที่ตําบล ประกอบด้วย
- หน่วยแผนที่ดิน Ly-B มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 6,262 ไร่ หรือ ร้อยละ 5.14 ของพื้นที่ตําบล
3.3.7 ชุดดินมวกเหล็ก พบบริเวณxxxxxxของพื้นที่ มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดถึงลูกคลื่น ลอนชัน เกิดจากการผุพังของหินตะกอนเนื้อละเอียดและหินที่แปรสภาพรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดิน หรือหินที่เคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางใกล้ๆ โดยแรงโน้มถ่วงบริเวณเนินเขา เป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหิน xxxxxxx ดินมีการระบายน้ําดีน้ําซึมผ่านได้ปานกลาง อุ้มน้ําได้ปานกลาง และมีความxxxxxxxxxxx ปานกลาง มีเนื้อที่ 605 ไร่ หรือร้อยละ 0.50 ของพื้นที่ตําบล ประกอบด้วย
- หน่วยแผนที่ดิน Ml-C มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 204 ไร่ หรือร้อยละ
0.17 ของพื้นที่ตําบล
- หน่วยแผนที่ดิน Ml-D มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน มีเนื้อที่ 401 ไร่ หรือร้อยละ
0.33 ของพื้นที่ตําบล
3.3.8 ชุดดินแม่สาย พบบริเวณที่ราบลุ่มของพื้นที่ มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ เกิดจากตะกอนน้ํา พาบริเวณตะพักลําน้ํา เป็นดินลึกมาก ดินมีการระบายน้ําxxxxxxxxเลวน้ําซึมผ่านได้ปานกลาง และอุ้ม น้ําได้ปานกลาง มีความxxxxxxxxxxxปานกลาง มีเนื้อที่ 249 ไร่ หรือร้อยละ 0.20 ของพื้นที่ตําบล ประกอบด้วย
- หน่วยแผนที่ดิน Ms-A มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ มีเนื้อที่ 249 ไร่ หรือร้อยละ 0.20 ของพื้นที่ตําบล
3.3.9 ชุดดินสุโขทัย พบบริเวณที่ลุ่มต่ําของพื้นที่ มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ เกิดจากตะกอนน้ําพา บริเวณตะพักลําน้ํา เป็นดินลึกมาก ดินมีการระบายน้ําxxxxxxxxเลวน้ําซึมผ่านxxxxxx และอุ้มน้ําxxxxx มีความxxxxxxxxxxxต่ํา มีเนื้อที่ 10 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของพื้นที่ตําบล ประกอบด้วย
- หน่วยแผนที่ดิน Skt-A มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ มีเนื้อที่ 10 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของ
พื้นที่ตําบล
3.3.10 ดินคล้ายชุดดินสุโขทัยที่มีเบสต่ํา และมีการระบายน้ําเลว พบบริเวณที่ลุ่มต่ําของพื้นที่ มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณตะพักลําน้ํา เป็นดินลึกมาก ดินมีการระบายน้ํา xxxxxxxxเลวน้ําซึมผ่านxxxxxx และอุ้มน้ําxxxxx มีความxxxxxxxxxxxต่ํา มีเนื้อที่ 2,923 ไร่ หรือร้อยละ
2.40 ของพื้นที่ตําบล ประกอบด้วย
- หน่วยแผนที่ดิน Skt-lb,pd-A มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ มีเนื้อที่ 2,923 ไร่ หรือร้อยละ
2.40 ของพื้นที่ตําบล
3.3.11 ชุดดินสันป่าตอง พบบริเวณxxxxxxของพื้นที่ มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณเนินตะกอนน้ําพารูปพัดหรือตะพักลําน้ําเป็นดินลึกมาก ดินมีการระบายน้ํา ดีปานกลางน้ําซึมผ่านได้ปานกลางถึงเร็ว และอุ้มน้ําได้ต่ํา มีความxxxxxxxxxxxต่ํา มีเนื้อที่ 5,923 ไร่ หรือร้อยละ 4.86 ของพื้นที่ตําบล ประกอบด้วย
- หน่วยแผนที่ดิน Sp-B มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 5,923 ไร่ หรือ ร้อยละ 4.86 ของพื้นที่ตําบล
3.3.12 ดินคล้ายชุดดินสันป่าตองที่มีจุดประสีเทา และเป็นดินร่วนละเอียด พบบริเวณxxxxxx ของพื้นที่ มีสภาพพื้นที่xxxxxxxxxxxxxxxxเกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณเนินตะกอนน้ําพารูปพัดหรือ ตะพักลําน้ําเป็นดินลึกมาก ดินมีการระบายน้ําxxxxxxxxเลวถึงดีปานกลางน้ําซึมผ่านได้ปานกลาง และอุ้ม น้ําได้ปานกลาง มีความxxxxxxxxxxxต่ํา มีเนื้อที่ 2,321 ไร่ หรือร้อยละ 1.90 ของพื้นที่ตําบล ประกอบด้วย
- หน่วยแผนที่ดิน Sp-gm,fl-A มีสภาพพื้นที่xxxxxxxxxxxxxxxx มีเนื้อที่ 2,321 ไร่ หรือ ร้อยละ 1.90 ของพื้นที่ตําบล
3.3.13 ดินคล้ายชุดดินสันป่าตองที่มีจุดประสีเทา และเป็นดินร่วนปนกรวดมาก พบบริเวณxxx xxxของพื้นที่ มีสภาพพื้นที่xxxxxxxxxxxxxxxxเกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณเนินตะกอนน้ําพารูปพัดหรือ ตะพักลําน้ําเป็นดินตื้นถึงชั้นกรวด หรือxxxxxxxxxxxxx ดินมีการระบายน้ําxxxxxxxxเลวถึงดีปานกลาง น้ําซึมผ่านได้ปานกลาง และอุ้มน้ําได้ต่ํา มีความxxxxxxxxxxxต่ํา มีเนื้อที่ 1,404 ไร่ หรือร้อยละ 1.15 ของพื้นที่ตําบล ประกอบด้วย
- หน่วยแผนที่ดิน Sp-gm,lsk-A มีสภาพพื้นที่xxxxxxxxxxxxxxxx มีเนื้อที่ 1,404 ไร่ หรือร้อยละ 1.15 ของพื้นที่ตําบล
3.3.14 ดินคล้ายชุดดินสันป่าตองที่มีเบสสูง และเป็นดินร่วนปนกรวดมาก พบบริเวณxxxxxx ของพื้นที่ มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยเกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณเนินตะกอนน้ําพารูปพัด หรือตะพักลําน้ําเป็นดินตื้นถึงชั้นกรวด หรือxxxxxxxxxxxxx ดินมีการระบายน้ําดีปานกลางน้ําซึมผ่านได้ ปานกลางถึงเร็ว และอุ้มน้ําได้ต่ํา มีความxxxxxxxxxxxต่ํา มีเนื้อที่ 84 ไร่ หรือร้อยละ 0.07 ของพื้นที่ ตําบล ประกอบด้วย
- หน่วยแผนที่ดิน Sp-hb,lsk-B มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 84 ไร่ หรือร้อยละ 0.07 ของพื้นที่ตําบล
3.3.15 ดินคล้ายชุดดินสันป่าตองที่มีเบสสูง พบบริเวณxxxxxxของพื้นที่ มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่น
ลอนลาดเล็กน้อยเกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณเนินตะกอนน้ําพารูปพัดหรือตะพักลําน้ําเป็นดินลึกมาก ดิน มีการระบายน้ําดีปานกลางน้ําซึมผ่านได้ปานกลางถึงเร็ว และอุ้มน้ําได้ต่ํา มีความxxxxxxxxxxxต่ํา มีเนื้อที่ 4,072 ไร่ หรือร้อยละ 3.34 ของพื้นที่ตําบล ประกอบด้วย
- หน่วยแผนที่ดิน Sp-hb-B มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 4,072 ไร่ หรือร้อย ละ 3.34 ของพื้นที่ตําบล
3.3.16 ดินคล้ายชุดดินสันป่าตองที่เป็นดินร่วนปนกรวดมาก พบบริเวณxxxxxxของพื้นที่ มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยเกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณเนินตะกอนน้ําพารูปพัดหรือตะพักลํา น้ําเป็นดินลึกมาก ดินมีการระบายน้ําดีปานกลางน้ําซึมผ่านได้เร็ว และอุ้มน้ําได้ต่ํา มีความ xxxxxxxxxxxต่ํา มีเนื้อที่ 1,039 ไร่ หรือร้อยละ 0.85 ของพื้นที่ตําบล ประกอบด้วย
- หน่วยแผนที่ดิน Sp-lsk-B มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 1,039 ไร่ หรือร้อยละ
0.85 ของพื้นที่ตําบล
3.3.17 ชุดดินศรีสําโรง พบบริเวณที่ราบลุ่มของพื้นที่ มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ เกิดจากตะกอน น้ําพาบริเวณตะพักลําน้ํา เป็นดินลึกมาก ดินมีการระบายน้ําxxxxxxxxเลวน้ําซึมผ่านได้ปานกลาง และ อุ้มน้ําได้ต่ํา มีความxxxxxxxxxxx ต่ํา มีเนื้อที่ 34,591 ไร่ หรือร้อยละ 28.36 ของพื้นที่ตําบล ประกอบด้วย
- หน่วยแผนที่ดิน Ssr-A มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ มีเนื้อที่ 34,591 ไร่ หรือร้อยละ 28.36 ของ พื้นที่ตําบล
3.3.18 ชุดดินวังสะพุง พบบริเวณxxxxxxของพื้นที่ มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึง ลูกคลื่นลอนลาด เกิดจากการผุพังของหินตะกอนเนื้อละเอียดและหินที่แปรสภาพxxxx หินดินดาน หินชนวน xxxxxxxแป้ง เป็นต้น รวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางใกล้ๆ โดยแรงโน้มถ่วงบริเวณเชิงเขา เป็นดินลึกปานกลางชั้นหินผุ ดินมีการระบายน้ําดีน้ําซึมผ่านได้ ปานกลาง อุ้มน้ําไดปานกลาง และมีความxxxxxxxxxxxปานกลาง มีเนื้อที่ 9,085 ไร่ หรือร้อยละ 7.45 ของพื้นที่ตําบล ประกอบด้วย
- หน่วยแผนที่ดิน Ws-B มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 7,255 ไร่ หรือร้อยละ 5.95 ของพื้นที่ตําบล
- หน่วยแผนที่ดิน Ws-C มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 1,830 ไร่ หรือร้อยละ 1.50 ของพื้นที่ตําบล
3.3.19 ชุดดินท่ายาง พบบริเวณxxxxxxของพื้นที่ มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย เกิดจากการผุพังสลายตัวอยู่กับที่ และ/หรือเคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางใกล้ๆ โดยแรงโน้มถ่วงของโลก ของxxxxxxxและหินควอร์ตไซท์ โดยมีหินดินดานและหินxxxxxท์แทรกอยู่ เป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหิน ดินมีการระบายน้ําดีน้ําซึมผ่านxxxxx มีความxxxxxxxxxxxสูง มีเนื้อที่ 5,167 ไร่ หรือร้อยละ 4.24 ของ พื้นที่ตําบล ประกอบด้วย
- หน่วยแผนที่ดิน Ty-C มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน มีเนื้อที่ 4,751 ไร่ หรือร้อยละ
3.90 ของพื้นที่ตําบล
- หน่วยแผนที่ดิน Ty-D มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน มีเนื้อที่ 368 ไร่ หรือร้อยละ
0.30 ของพื้นที่ตําบล
- หน่วยแผนที่ดิน Ty-D-RC มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน มีเนื้อที่ 48 ไร่ หรือร้อยละ
0.04 ของพื้นที่ตําบล
โดยมีรายละเอียดดังตารางที่ 3-1, 3-2 และ ภาพที่ 3-1 กับ 3-2
รูปที่ 3-1 xxxxxxxxxxและชุดดิน ตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย
3-6
ตารางที่ 3-1 หน่วยแผนที่ดิน ตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย
หน่วยแผนที่ดิน | คําอธิบาย | เนื้อที่ ไร่ ร้อยละ | |
Ch-B | ชุดดินเชียงคาน ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ | 359 | 0.30 |
Ch-C | ชุดดินเชียงคาน ความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์ | 555 | 0.46 |
Hs-A | ชุดดินxxxxxxx ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ | 2,638 | 2.16 |
Kak-D | ชุดดินแก่งคอย ความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์ | 77 | 0.66 |
Kp-B | ชุดดินกําแพงเพชร ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ | 5,296 | 4.34 |
Li-B | ชุดดินสี้ ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ | 1,754 | 1.44 |
Li-C | ชุดดินxxx ความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์ | 481 | 0.39 |
Li-D | ชุดดินxxx ความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์ | 65 | 0.05 |
Ly-B | ชุดดินลาดหญ้า ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ | 6,262 | 5.14 |
Ml-C | ชุดดินมวกเหล็ก ความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์ | 204 | 0.17 |
Ml-D | ชุดดินมวกเหล็ก ความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์ | 401 | 0.33 |
Ms-A | ชุดดินแม่สาย ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ | 249 | 0.20 |
Skt-A | ชุดดินสุโขทัย ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ | 10 | 0.01 |
Skt-lb,pd-A | ดินคล้ายชุดดินสุโขทัยที่มีเบสต่ํา และมีการระบายน้ําเลว ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ | 2,923 | 2.40 |
Sp-B | ชุดดินสันป่าตอง ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ | 5,923 | 4.86 |
Sp-gm,fl-A | ดินคล้ายชุดดินสันป่าตองที่พบจุดประสีเทา และเป็นดินร่วนละเอียด ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ | 2,321 | 1.90 |
Sp-gm,lsk-A | ดินคล้ายชุดดินสันป่าตองที่พบจุดประสีเทา และเป็นดินร่วนปนกรวดมาก ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ | 1,404 | 1.15 |
Sp-hb,lsk-B | ดินคล้ายชุดดินสันป่าตองที่มีเบสสูง และเป็นดินร่วนปนกรวดมาก ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ | 84 | 0.07 |
3-7
ตารางที่ 3-1 หน่วยแผนที่ดิน ตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย (ต่อ)
หน่วยแผนที่ดิน | คําอธิบาย | เนื้อที่ ไร่ ร้อยละ | |
Sp-hb-B | ดินคล้ายชุดดินสันป่าตองที่มีเบสสูง ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ | 4,072 | 3.34 |
Sp-lsk-B | ดินคล้ายชุดดินสันป่าตองที่เป็นดินร่วนปนกรวดมาก ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ | 1,039 | 0.85 |
Ssr-A | ชุดดินศรีสําโรง ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ | 34,591 | 28.36 |
Ty-B | ชุดดินท่ายาง ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ | 11,829 | 9.70 |
Ty-C | ชุดดินท่ายาง ความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์ | 4,751 | 3.90 |
Ty-D | ชุดดินท่ายาง ความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์ | 368 | 0.30 |
Ty-D-RC | หน่วยเชิงซ้อนชุดดินท่ายาง และที่ดินหินโผล่ ความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์ | 48 | 0.04 |
Ws-B | ชุดดินวังสะพุง ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ | 7,255 | 5.95 |
Ws-C | ชุดดินวังสะพุง ความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์ | 1,830 | 1.50 |
ML | ที่ดินดัดแปลง | 140 | 0.11 |
R | ถนน | 169 | 0.14 |
SC | พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน | 16,759 | 13.74 |
U | พื้นที่ชุมชน | 5,159 | 4.23 |
W | พื้นที่น้ํา | 2,940 | 2.41 |
รวมเนื้อที่ทั้งหมด | 121,956 | 100.00 |
3-8
ตารางที่ 3-2 xxxxxxดิน ตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย
หน่วยแผนที่ดิน | ความ ลาด ชัน | การระบายน้ํา | ความจุ แลกเปลี่ยนแคต ไอออน (CEC) | ความอิ่มตัว ด้วยเบส (BS) | ความ ลึก (ซม.) | อินทรียวัตถุ | ฟอสฟอรัส ที่เป็น ประโยชน์ (P2O5) | โพแทสเซียมที่ เป็นประโยชน์ (K2O) | ความxxxx xxxxxxx | เนื้อที่ | |
ไร่ | ร้อยละ | ||||||||||
Ch-B | 2-5 | ดี | ต่ํา | ต่ํา | 25-50 | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | 359 | 0.30 |
Ch-C | 5-12 | ดี | ต่ํา | ต่ํา | 25-50 | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | 555 | 0.46 |
Hs-A | 0-2 | ดี | ปานกลาง | ปานกลาง | 25-50 | ปานกลาง | ต่ํา | ต่ํา | ปานกลาง | 2,638 | 2.16 |
Kak-D | 12-20 | ดี | ปานกลาง | ปานกลาง | 25-50 | ปานกลาง | สูง | สูง | ปานกลาง | 77 | 0.66 |
Kp-B | 2-5 | ดี | ต่ํา | ปานกลาง | >150 | ต่ํา | ปานกลาง | สูง | ปานกลาง | 5,296 | 4.34 |
Li-B | 2-5 | ดี | ปานกลาง | ปานกลาง | 25-50 | ปานกลาง | ต่ํา | ปานกลาง | ปานกลาง | 1,754 | 1.44 |
Li-C | 5-12 | ดี | ปานกลาง | ปานกลาง | 25-50 | ปานกลาง | ต่ํา | ปานกลาง | ปานกลาง | 481 | 0.39 |
Li-D | 12-20 | ดี | ปานกลาง | ปานกลาง | 25-50 | ปานกลาง | ต่ํา | ปานกลาง | ปานกลาง | 65 | 0.05 |
Ly-B | 2-5 | ดี | ปานกลาง | ต่ํา | 25-50 | ปานกลาง | ปานกลาง | ปานกลาง | ปานกลาง | 6,262 | 5.14 |
Ml-C | 0-2 | ดี | ปานกลาง | ปานกลาง | >150 | ปานกลาง | ปานกลาง | สูง | ปานกลาง | 204 | 0.17 |
Ml-D | 12-20 | ดี | ปานกลาง | ปานกลาง | >150 | ปานกลาง | ปานกลาง | สูง | ปานกลาง | 401 | 0.33 |
Ms-A | 0-2 | xxxxxxxxเลว | ปานกลาง | ปานกลาง | 0-50 | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | 249 | 0.20 |
Skt-A | 0-2 | xxxxxxxxเลว | ต่ํา | ปานกลาง | >150 | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | 10 | 0.01 |
Skt-lb,pd-A | 0-2 | เลว | ต่ํา | ต่ํา | >150 | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | 2,923 | 2.40 |
Sp-B | 2-5 | ดีปานกลาง | ต่ํา | ต่ํา | >150 | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | 5,923 | 4.86 |
Sp-gm,fl-A | 0-2 | ดีปานกลางถึงxxxxxxxxเลว | ต่ํา | ต่ํา | >150 | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | 2,321 | 1.90 |
Sp-gm,lsk-A | 0-2 | ดีปานกลางถึงxxxxxxxxเลว | ต่ํา | ต่ํา | 25-50 | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | 1,404 | 1.15 |
Sp-hb,lsk-B | 2-5 | ดีปานกลาง | ต่ํา | ปานกลาง | 25-50 | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | 84 | 0.07 |
Sp-hb-B | 2-5 | ดีปานกลาง | ต่ํา | ปานกลาง | >150 | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | 84 | 0.07 |
3-9
ตารางที่ 3-2 xxxxxxดิน ตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย (ต่อ)
หน่วยแผนที่ดิน | ความ ลาด ชัน | การระบายน้ํา | ความจุ แลกเปลี่ยนแคต ไอออน (CEC) | ความอิ่มตัว ด้วยเบส (BS) | ความ ลึก (ซม.) | อินทรียวัตถุ | ฟอสฟอรัส ที่เป็น ประโยชน์ (P2O5) | โพแทสเซียมที่ เป็นประโยชน์ (K2O) | ความxxxx xxxxxxx | เนื้อที่ | |
ไร่ | ร้อยละ | ||||||||||
Sp-hb-B | 2-5 | ดีปานกลาง | ต่ํา | ปานกลาง | >150 | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | 4,072 | 3.34 |
Sp-lsk-B | 2-5 | ดีปานกลาง | ต่ํา | ต่ํา | 25-50 | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | 1,039 | 0.85 |
Ssr-A | 0-2 | ดี | ต่ํา | ต่ํา | >150 | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | 34,591 | 28.36 |
Ty-B | 2-5 | ดี | ต่ํา | ต่ํา | 25-50 | สูง | ต่ํา | สูง | ปานกลาง | 11,829 | 9.70 |
Ty-C | 5-12 | ดี | ต่ํา | ต่ํา | 25-50 | สูง | ต่ํา | สูง | ปานกลาง | 4,751 | 3.90 |
Ty-D | 12-20 | ดี | ต่ํา | ต่ํา | 25-50 | สูง | ต่ํา | สูง | ปานกลาง | 368 | 0.30 |
Ty-D-RC | 12-20 | ดี | ต่ํา | ต่ํา | 25-50 | สูง | ต่ํา | สูง | ปานกลาง | 48 | 0.04 |
Ws-B | 2-5 | ดี | ปานกลาง | ต่ํา | 50-100 | ปานกลาง | ต่ํา | สูง | ปานกลาง | 7,255 | 5.95 |
Ws-C | 5-12 | ดี | ปานกลาง | ต่ํา | 50-100 | ปานกลาง | ต่ํา | สูง | ปานกลาง | 1,830 | 1.50 |
ML | - | - | - | - | - | - | - | - | - | 140 | 0.11 |
R | - | - | - | - | - | - | - | - | - | 169 | 0.14 |
SC | - | - | - | - | - | - | - | - | - | 16,759 | 13.74 |
U | - | - | - | - | - | - | - | - | - | 5,159 | 4.23 |
W | - | - | - | - | - | - | - | - | - | 2,940 | 2.41 |
รวมเนื้อที่ทั้งหมด | 121,956 | 100.00 |
3-10
รูปที่ 3-2 ทรัพยากรดิน ตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย
4.1 หลักการ
บทที่ 4 กรบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน
กระบวนการมีส่วนร่วมเป็นความเชื่อมโยงระหว่างปัจจัยหลัก 3 ประการ คือ
(1) พื้นที่ (Area)
(2) หน้าที่ขององค์กร (Function)
(3) ความร่วมมือ (Participation) การจัดทํากระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนจึงมีสาระสําคัญที่จําเป็นในการจัดทําโครงการ
xxxx สภาพปัญหาของชุมชนหรือเกษตรกร ความต้องการของชุมชน โครงการที่จะแก้ไขปัญหาที่ เป็นไปตามความต้องการของประชาชน พื้นที่ที่จะดําเนินโครงการ
ทั้งนี้ผู้ที่จําเป็นต้องเข้าร่วมกระบวนการคือ เกษตรกรในพื้นที่ตําบล ผู้แทนองค์กรxxxxxxส่วน xxxxxxxx ผู้ใหญ่บ้าน และกํานัน รวมทั้งเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ในกรณีของแผนการใช้ที่ดินตําบลนั้น การจัดทํากระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนจะมี สาระสําคัญของชุมชนในภาพรวม และเกษตรกรแต่ละราย xxxx
(1) ปัญหาทรัพยากรดิน
(2) ปัญหาการประกอบอาชีพ (3)ความต้องการของชุมชนหรือเกษตรกรแต่ละราย
(4) แผนพัฒนาองค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่นที่มีอยู่ในปัจจุบัน
จากสาระสําคัญใน 4 ประการ ดังกล่าว แผนการใช้ที่ดินตําบลจะต้องจัดทําขึ้นโดยมี “กิจกรรม ตอบxxxxต่อความต้องการของชุมชน หรือเกษตรกรแต่ละราย รวมทั้งตอบxxxxต่อแผนงานของ องค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่น” ตรงตามอํานาจหน้าที่ของกรมพัฒนาที่ดิน และโดยความร่วมมือของ ส่วนราชการต่างๆ
4.2 การวิเคราะห์ผลจากการจัดทํากระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน (Participatory Rural Appraisal: PRA)
PRA เกิดจากxxxxxxxxxว่า การศึกษาชุมชนเป็นสิ่งที่ชุมชนควรกระทําเพราะยังมีเรื่องราว อีก หลายอย่างที่ในชุมชนเดียวกันไม่รู้ xxxxxxนึกคิด หรือมองข้าม หรือยังมีความเข้าใจxxxxxxถูกต้อง xxxx ไม่xxxxxxxxxxถึงปัญหาที่กําลังจะเกิดขึ้นในxxxxxอันใกล้ ปัญหาบางอย่างที่xxxxxอยู่ หรือบางครั้ง อาจสัมผัสรับรู้ปัญหาแต่ไม่รู้ว่าสาเหตุมาจากอะไร ทําให้ไม่xxxxxxหาช่องทางป้องกันหรือแก้ปัญหา นั้นๆ ได้
ขั้นตอนการทํา PRA
1. กระตุ้นให้คนในชุมชนที่มีคุณสมบัติเหมาะสมมาประชุมเพื่อแก้ปัญหา
2. ช่วยกันกําหนดxxxxxxxxxxxxxxเกี่ยวข้องกับปัญหานั้นๆ และวิธีการที่จะใช้ในการวิจัย อาทิ การ เก็บตัวอย่าง ภาพถ่าย การใช้สื่อพื้นบ้าน การแสดง การอบรม เป็นต้น และมอบหมายหน้าที่ให้ ผู้เกี่ยวข้องไปดําเนินการ
3. ดําเนินการรวบรวมข้อมูล
4. วิเคราะห์ผลและนําเสนอข้อมูลต่อคนในชุมชน โดยทีมผู้ร่วมศึกษาซึ่งอาจใช้การนําเสนอ อย่างง่ายแต่มีประสิทธิภาพ xxxx ใช้แผนภูมิ การชี้แจงต่อที่ประชุม การใช้เสียงตามสาย
5. เมื่อได้รับข้อคิดเห็นจากชาวบ้านที่เหลือแล้ว มาร่วมสรุปและข้อเสนอแนะ สําหรับการ แก้ไขปัญหา
การวิเคราะห์ข้อมูลจากกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน PRA ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ในการศึกษาชุมชน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท โดยแต่ละประเภทมี
แนวทางหลักๆ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้
1. ข้อมูลเชิงเนื้อหา ได้แก่ ข้อความ คําบรรยาย คําอธิบายลักษณะของสิ่งต่างๆ การ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ประกอบด้วย
1.1 การจัดจําแนกและจัดระบบข้อมูล xxxx การจําแนกหมวดหมู่เดียวกันไว้ด้วยกัน การจําแนกตามความมาก น้อย การจําแนกตามความสําคัญ เป็นต้น
1.2 การวิเคราะห์ แยกได้เป็น
- คําถาม xxxx ปัจจัยที่คิดว่ามีความสําคัญมากที่สุดต่อการใช้จ่ายเงิน คืออะไร
- ประเด็น xxxx เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา ฯลฯ
- ลําดับความสําคัญ xxxx สําคัญมาก ปานกลาง xxxx xxxสําคัญ ฯลฯ
- กาลเวลา xxxx อดีตปัจจุบัน หรือตามปีพุทธศักราช
- กลุ่มบุคคล xxxx เยาวชน กลุ่มสตรีแม่บ้าน ฯลฯ
- สถานxxx xxxx ในเมือง-นอกเมือง ฯลฯ
- ปัญหา xxxx ปัญหายาเสพติดปัญหาแรงงาน ปัญหาที่ดินทํากิน ฯลฯ
- วิธีแก้ไข xxxx การแก้ไขโดยว่ากล่าว การแก้ไขโดยพัฒนา ฯลฯ
- ตําแหน่งผู้ให้ข้อมูล xxxx ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นําชุมชน ฯลฯ
- วิธีรวบรวมข้อมูล xxxx ข้อมูลxxxxxxจากการสังเกต ข้อมูลxxxxxxจากแบบสอบถาม
2. ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ตัวเลข ทั้งตัวเลขที่บอกจํานวน ตัวเลขบอกลําดับที่ และตัวเลขที่ บอกการเปรียบเทียบ การวิเคราะห์จะใช้สถิติเข้ามาช่วยทั้งสถิติในการบรรยาย xxxx ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ฯลฯ และสถิติในการอ้างอิงเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่าง หาความxxxxxxxx หรือการทํานาย จากกระบวนการประชุมการมีส่วนร่วมของชุมชนที่ตําบลxxxxxxxxเมื่อxxxxxx 5 กรกฎาคม
2562 มีผู้นําชุมชน 12 คน และชาวบ้านเข้าร่วมประชุมจํานวน 250 คน วิเคราะห์ผลโดยใช้การทํา การเกษตรเป็นหลัก และตามมาด้วยความต้องการด้านต่างๆของเกษตรกร โดยxxxxxxวิเคราะห์ ปัญหาออกเป็น 2 ด้าน คือ ด้านทรัพยากรทางการเกษตร และด้านเศรษฐกิจสังคมนอกเหนือจาก ปัญหาที่กล่าวถึงนี้ เกษตรกรในตําบลประดู่ยืนไม่มีปัญหา หรือความสําคัญของปัญหาน้อยมากในเรื่อง อื่นๆ xxxxเรื่องโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภค หนี้สิน หรือการศึกษา
ด้านทรัพยากรทางการเกษตร
1. ทรัพยากรดินเป็นปัญหาหลักของพื้นที่ตําบลxxxxxxxx
ปัญหา | สาเหตุ | ความต้องการ | แนวทางแก้ปัญหา |
- ดินปนทรายและxxxx xxxx | วัตถุต้นกําเนิดดิน | - | ปรับปรุงบํารุงดินด้วย ปุ๋ยอินทรีย์ |
- ดินดาน | การไถพรวนด้วย xxxxxxxxxxxขนาดใหญ่ | - | ใช้ไถระเบิดดินดาน |
- ดินปนหิน และลูกรัง | วัตถุต้นกําเนิดดิน | ปรับปรุงบํารุงดินด้วย ปุ๋ยอินทรีย์ | |
- ความxxxxxxxxxxxต่ํา | วัตถุต้นกําเนิดดิน และ การใช้พื้นที่ทํา การเกษตรต่อเนื่องโดย ไม่มีการปรับปรุงบํารุง ดินเพิ่มเติม | เทคโนโลยีการ ปรับปรุงบํารุงดินที่ ถูกต้อง | ปรับปรุงบํารุงดินด้วย ปุ๋ยอินทรีย์ |
2. ทรัพยากรน ําเป็นปัญหาหลักของพื้นที่
ปัญหา | สาเหตุ | ความต้องการ | แนวทางแก้ปัญหา |
- แหล่งน้ําxxxxxxxx ขาดน้ําในฤดูxxxx | เกิดจากฝนทิ้งช่วง และ มีปริมาณน้ําฝนน้อย | - | xxxxxxงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แก้ไขปัญหา |
- ไม่มีแหล่งน้ําขนาด ใหญ่ไว้กักเก็บน้ํา | ไม่มีพื้นที่สาธารณะ เพียงพอสําหรับก่อสร้าง | - | xxxxxxงานxxxxxxxx หาพื้นที่ที่เหมาะสม สําหรับก่อสร้างแหล่ง น้ํา |
- ปริมาณน้ําxxxxxxxxxx ต่อความต้องการของ เกษตรกร | - เกิดจากฝนทิ้งช่วง และมีปริมาณน้ําฝนน้อย - ไม่มีแหล่งน้ําขนาด ใหญ่ไว้กักเก็บน้ํา | - | ปรับเปลี่ยนประเภท พืชที่ปลูกให้เหมาะสม กับปริมาณน้ํา |
3. ทรัพยากรพืช
ปัญหา | สาเหตุ | ความต้องการ | แนวทางแก้ปัญหา |
ข้าว | |||
- ราคาผลผลิตต่ํา | - | - ให้รัฐประกันราคา ผลผลิต | ใช้เทคโนโลยีเพื่อลด ต้นทุนการผลิต |
- ผลผลิตxxxxxxxxxx xx ปริมาณน้อย | - เกิดภัยxxxx | - | จัดหาแหล่งน้ําสํารอง สําหรับปลูกข้าว |
- ผลผลิตxxxxxxxxxx xx ปริมาณน้อย | - เกิดโรคและแมลงศัตรู ข้าว | - เทคโนโลยีการ ป้องกันกําจัดศัตรูพืช | - ประชาสัมพันธ์ให้ ความรู้เกษตรกร |
- ผลผลิตxxxxxxxxxx xx ปริมาณน้อย | - ดิ น ข าดความ xx xx xxxxxxx | - | ปรับปรุงบํารุงดินให้ เหมาะสม |
-เงินทุนสําหรับการ จัดการ | - แหล่งเงินทุนที่มี พบว่า ดอกเบี้ยสูง | - แหล่งเงินทุน ดอกเบี้ยต่ํา | - xxxxxxงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ช่วยแก้ไขปัญหา |
อ้อยโรงงาน | |||
- ต้นทุนการผลิตสูง | - | แนะนําเทคโนโลยีลด ต้นทุนการผลิต | ใช้เทคโนโลยีเพื่อลด ต้นทุนการผลิต |
- ราคาผลผลิตต่ํา | - | ให้รัฐประกันราคา ผลผลิต | ใช้เทคโนโลยีเพื่อลด ต้นทุนการผลิต |
-ได้ผลผลิตน้อย | - เกิดภัยxxxx | - | จัดหาแหล่งน้ําสํารอง สําหรับปลูกอ้อย |
- เก็บเกี่ยวผลผลิตไม่ทัน | - ขาดxxxxxxxxxxx และ แรงงานในการเก็บเกี่ยว | การสนับสนุน xxxxxxxxxxxจากโรงงาน | xxxxxxงานโรงงาน เรื่องการจัดการเก็บ เกี่ยวผลผลิตให้ เหมาะสม |
-เงินทุนสําหรับการ จัดการ | - แหล่งเงินทุนที่มี พบว่า ดอกเบี้ยสูง | - แหล่งเงินทุน ดอกเบี้ยต่ํา | - xxxxxxงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ช่วยแก้ไขปัญหา |
มันสําปะหลัง | |||
- ต้นทุนการผลิตสูง | - | แนะนําเทคโนโลยีลด ต้นทุนการผลิต | ใช้เทคโนโลยีเพื่อลด ต้นทุนการผลิต |
- ราคาผลผลิตต่ํา | - | ให้รัฐประกันราคา ผลผลิต | ใช้เทคโนโลยีเพื่อลด ต้นทุนการผลิต |
-ได้ผลผลิตน้อย | - เกิดภัยxxxx | - | จัดหาแหล่งน้ําสํารอง สําหรับปลูกอ้อย |
-ได้ผลผลิตน้อย | - เกิดโรคและแมลงศัตรู มันสําปะหลัง | - เทคโนโลยีการ ป้องกันกําจัดศัตรูพืช | - ประชาสัมพันธ์ให้ ความรู้เกษตรกร |
ปัญหา | สาเหตุ | ความต้องการ | แนวทางแก้ปัญหา |
มันสําปะหลัง (ต่อ) | |||
-เงินทุนสําหรับการ จัดการ | - แหล่งเงินทุนที่มี พบว่า ดอกเบี้ยสูง | - แหล่งเงินทุน ดอกเบี้ยต่ํา | - xxxxxxงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ช่วยแก้ไขปัญหา |
ด้านปศุสัตว์ | |||
- ต้นทุนการผลิตสูง | -พันธุ์สัตว์ อาหาร และ ยารักษาโรคมีราคาสูง | ควบคุมราคาพันธุ์สัตว์ อาหาร และยารักษา โรค | ใช้เทคโนโลยีเพื่อลด ต้นทุนการผลิต |
- ราคาสัตว์เลี้ยงต่ํา | - | ให้รัฐประกันราคา ผลผลิต | ใช้เทคโนโลยีเพื่อลด ต้นทุนการผลิต |
-ได้ผลผลิตน้อย | - เกิดโรคคะบาดในสัตว์ | - เทคโนโลยีการ ป้องกันกําจัด | - ประชาสัมพันธ์ให้ ความรู้เกษตรกร |
-เงินทุนสําหรับการ จัดการฟาร์ม | - แหล่งเงินทุนที่มี พบว่า ดอกเบี้ยสูง | - แหล่งเงินทุน ดอกเบี้ยต่ํา | - xxxxxxงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ช่วยแก้ไขปัญหา |
ด้านเศรษฐกิจและสังคม
ปัญหา | สาเหตุ | ความต้องการ | แนวทางแก้ปัญหา |
กลุ่มไม้กวาดดอกหญ้า | |||
- วัตถุดิบสําหรับผลิตไม้ กวาดมีราคาสูง | -ในพื้นที่ไม่มีพืชสําหรับ ผลิตไม้กวาด ต้องซื้อ จากนายทุน | -การควบคุมราคา | - |
- ราคาไม้กวาดต่ํา | -ถูกพ่อค้ากดราคา | -การประกันราคา | - |
-เงินทุนสําหรับการ จัดการ | - แหล่งเงินทุนที่มี พบว่า ดอกเบี้ยสูง | - แหล่งเงินทุน ดอกเบี้ยต่ํา | - xxxxxxงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ช่วยแก้ไขปัญหา |
การถือครองที่ดิน | |||
-เกษตรกรบางส่วนยังไม่ มีเอกสารสิทธิ์ที่ดิน | - ที่ดินที่ทําการเกษตร เกษตรอยู่เป็นเพียง ใบ ภบท. 5 และ สทก. | -หน่วยงานรัฐออก เอกสารสิทธิ์ให้เป็น สปก. | -xxxxxxงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
การประกอบอาชีพเสริม | |||
-รายได้ภาคการเกษตร xxxxxxxxxxต่อการดํารง ชีพ | - ไม่มีอาชีพเสริมจาก การทําการเกษตร | -ภาครัฐเข้ามาxxxxxxxx อาชีพต่าง ๆ | -xxxxxxงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
5.1 ทรัพยากรดิน
บทที่ 5 การประเมินคุณภาพที่ดิน
จากการสํารวจทรัพยากรดินตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย โดยกลุ่มวาง แผนการใช้ที่ดิน สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 กรมพัฒนาที่ดิน พบว่ามีหน่วยแผนที่ดินจํานวน28หน่วย โดยมีการประเมินคุณภาพที่ดิน ดังแสดงไว้ในตารางที่ 5-1
5.2 ประเภทการใช้ที่ดิน
ประกอบด้วยพืชเศรษฐกิจหลัก หรือพืชอัตลักษณ์ (Signature crops) ที่ปลูกอยู่ในปัจจุบัน ของตําบลxxxxxxxxได้แก่ ข้าวมันสําปะหลัง อ้อยถั่วเขียวxxxxxx พืชที่มีxxxxxxxxxด้านคุณภาพและ ราคาตลาด (Promising crop) ได้แก่ กล้วยน้ําว้า เป็นต้น พืชทางเลือกที่ปลูกเป็นรายได้เสริมหลังฤดู การทํานา ได้แก่ ถั่วเขียวxxxxxxพืชผัก เป็นต้น
5.3 ผลการประเมินคุณภาพที่ดิน
จากการใช้คู่มือการประเมินคุณภาพที่ดิน สําหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับตําบลและ ระดับจังหวัด (xxxxxxxx และคํารณ 2562) ประเมินคุณภาพที่ดิน ได้จําแนกชั้นความเหมาะสมทาง กายภาพและข้อจํากัดของประเภทการใช้ที่ดิน ดังนี้
ข้าวนาปี
ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (Highly suitable : S1)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดน้อยสําหรับการเจริญเติบโตของข้าวนาปี และมีศักยภาพการให้ผล ผลิต 80–100 เปอร์เซ็นต์ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของxxxxxxxxxxที่ปลูกจากการสํารวจไม่ พบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าวในพื้นที่ตําบลxxxxxxxx
ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable : S2)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดปานกลางสําหรับการเจริญเติบโตของข้าวนาปี และมีศักยภาพการ ให้ผลผลิต 40–80 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของxxxxxxxxxxที่ปลูก จากการ สํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดิน ดังกล่าว 2 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2m: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับข้าวนาปี พบข้อจํากัดมีความ เสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบชลประทานหรือแหล่งน้ําใน ไร่นา
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2ms: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับข้าวนาปี พบข้อจํากัดมีความ เสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง และดินมีความxxxxxxxxxxxต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทํา ระบบชลประทานหรือแหล่งน้ําในไร่นา และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
ชั้นที่มีความเหมาะสมน้อย (Marginally suitable : S3)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดสูงสําหรับการเจริญเติบโตของข้าวนาปี และมีศักยภาพการให้ผล ผลิต 20–40 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของxxxxxxxxxxที่ปลูก จากการสํารวจพบ หน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 1 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน S3m : มีความเหมาะสมน้อยสําหรับข้าวนาปี พบข้อจํากัดมีความเสี่ยง ต่อการขาดแคลนน้ําระดับรุนแรง แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบชลประทานหรือสร้างแหล่งน้ําขนาด ใหญ่ในไร่นาหรือปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ ที่ใช้น้ําน้อยกว่า xxxx พืชไร่ ไม้ผล ไม้ยืนต้นxxxxxx หรือ ขุดบ่อน้ําขนาดเล็กเพื่อทําเกษตรผสมผสาน เป็นต้น
ชั้นที่ไม่มีความเหมาะสม (Not suitable : N)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดสูงมากสําหรับการเจริญเติบโตของข้าวนาปี และมีศักยภาพการ ให้ผลผลิตน้อยกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของxxxxxxxxxxที่ปลูก จากการ สํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 4 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน Nm : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับข้าวนาปี พบข้อจํากัดเป็นดินดอนไม่ขัง น้ํามีความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับรุนแรงมาก แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ ที่ใช้น้ําน้อยกว่า xxxx พืชไร่ ไม้ผล และไม้ยืนต้นxxxxxx เป็นต้น
หน่วยคุณภาพที่ดิน Ntm : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับข้าวนาปี พบข้อจํากัดเป็นดินดอน พื้นที่มีความลาดชัน ไม่ขังน้ํามีความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับรุนแรงมาก แก้ไขข้อจํากัดโดย ปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ ที่ใช้น้ําน้อยกว่า xxxx พืชไร่ ไม้ผล และไม้ยืนต้นxxxxxx เป็นต้น
หน่วยคุณภาพที่ดิน Ntrm : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับข้าวนาปี พบข้อจํากัดเป็นดินดอน พื้นที่มีความลาดชัน เป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นไม่ขังน้ํามีความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา ระดับรุนแรงมาก แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ ที่ใช้น้ําน้อยกว่าและมีระบบรากที่ xxxxxxx xxxx ไม้ยืนต้นxxxxxx เป็นต้นโดยขุดหลุมปลูกให้กว้างและลึก รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หน่วยคุณภาพที่ดิน Nmr : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับข้าวนาปี พบข้อจํากัดเป็นดินดอน เป็น ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นไม่ขังน้ํามีความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับรุนแรงมาก แก้ไข ข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ ที่ใช้น้ําน้อยกว่า และมีระบบรากที่xxxxxxx xxxx ไม้ยืนต้นxx
xxxx เป็นต้นโดยขุดหลุมปลูกให้กว้างและลึก รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก
อ้อยโรงงาน
ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (Highly suitable : S1)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดน้อยสําหรับการเจริญเติบโตของอ้อยโรงงาน และมีศักยภาพการ ให้ผลผลิต 80–100 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์อ้อยโรงงานที่ปลูก จากการสํารวจไม่พบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าวในพื้นที่ตําบลxxxxxxxx
ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable : S2)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดปานกลางสําหรับการเจริญเติบโตของอ้อยโรงงาน และมีศักยภาพ การให้ผลผลิต 40–80 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์อ้อยโรงงานที่ปลูก จากการสํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 6 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2m: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับอ้อยโรงงาน พบข้อจํากัดมี ความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบชลประทานหรือแหล่ง น้ําในไร่นา
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2n: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับอ้อยโรงงาน พบข้อจํากัดเป็นดิน เนื้อหยาบมีความxxxxxxในการอุ้มน้ําและดูดยึดธาตุอาหารต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดยการปรับปรุงบํารุง ดินด้วยอินทรียวัตถุ และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2ns: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับอ้อยโรงงาน พบข้อจํากัดเป็น ดินเนื้อหยาบมีความxxxxxxในการอุ้มน้ําและดูดยึดธาตุอาหารต่ําและดินมีความxxxxxxxxxxxต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดยการปรับปรุงบํารุงดินด้วยอินทรียวัตถุ และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่า วิเคราะห์ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2mrs: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับอ้อยโรงงาน พบข้อจํากัดมี ความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง เป็นดินตื้นถึงชั้นxxxxxxxxxxและดินมีความxxxx
xxxxxxxต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบชลประทานหรือแหล่งน้ําในไร่นา ปรับปรุงบํารุงดินด้วย อินทรียวัตถุ และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2o: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับอ้อยโรงงาน พบข้อจํากัดมีความ เสี่ยงต่อการแช่ขังน้ําระดับปานกลาง แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบระบายน้ําในไร่นาหรือยกร่องปลูก หน่วยคุณภาพที่ดิน S2ons: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับอ้อยโรงงาน พบข้อจํากัดมี ความเสี่ยงต่อการแช่ขังน้ําระดับปานกลาง เนื้อดินหยาบมีความxxxxxxในการดูดยึดธาตุอาหารต่ํา และดินมีความxxxxxxxxxxxต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบระบายน้ําในไร่นาหรือยกร่องปลูก
ปรับปรุงบํารุงดินด้วยอินทรียวัตถุ และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
ชั้นที่มีความเหมาะสมน้อย (Marginally suitable : S3)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดสูงสําหรับการเจริญเติบโตของอ้อยโรงงาน และมีศักยภาพการ ให้ผลผลิต 20–40 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์อ้อยโรงงานที่ปลูก จาก การสํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 2 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน S3r : มีความเหมาะสมน้อยสําหรับอ้อยโรงงาน พบข้อจํากัดเป็นดินตื้น ถึงชั้นชั้นxxxxxxxxxxแก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนxxxxxxxชนิดอื่นที่มีระบบรากxxxxxxx xxxx ไม้ยืนต้นxxxxxx เป็นต้นโดยขุดหลุมปลูกให้กว้างและลึก รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก
หน่วยคุณภาพที่ดิน S3o : มีความเหมาะสมน้อยสําหรับอ้อยโรงงาน พบข้อจํากัดมีความเสี่ยง ต่อการแช่ขังน้ําระดับรุนแรง แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบระบายน้ําในไร่นาหรือยกร่องปลูกสูง หรือ ปรับเปลี่ยนเป็นปลูกข้าวนาปี
ชั้นที่ไม่มีความเหมาะสม (Not suitable : N)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดสูงมากสําหรับการเจริญเติบโตของอ้อยโรงงาน และมีศักยภาพการ ให้ผลผลิตน้อยกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์อ้อยโรงงานที่ปลูก จากการสํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว3 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน Nt: ไม่มีความเหมาะสมสําหรับอ้อย พบข้อจํากัดเป็นพื้นที่ที่มีความลาด ชัน แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ xxxx พืชไร่ ไม้ผลและไม้ยืนต้นxxxxxx เป็นต้น
หน่วยคุณภาพที่ดิน Nr : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับอ้อย พบข้อจํากัดเป็นดินตื้นถึงชั้นเศษ หินหรือหินพื้น แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ xxxx ไม้ยืนต้นxxxxxx เป็นต้นโดยขุด หลุมปลูกให้กว้างและลึก รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก
หน่วยคุณภาพที่ดิน Ntr : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับอ้อย พบข้อจํากัดเป็นพื้นที่ที่มีความลาด ชัน และดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้น แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ ที่มีระบบราก xxxxxxx xxxx ไม้ยืนต้นxxxxxx เป็นต้นโดยขุดหลุมปลูกให้กว้างและลึก รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก
ข้าวโพดในฤดูฝน
ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (Highly suitable : S1)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดน้อยสําหรับการเจริญเติบโตของข้าวโพดในฤดูฝน และมีศักยภาพ การให้ผลผลิต 80–100 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์ข้าวโพดในฤดูฝนที่ ปลูก จากการสํารวจไม่พบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าวในพื้นที่ตําบลxxxxxxxx
ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable : S2)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดปานกลางสําหรับการเจริญเติบโตของข้าวโพดในฤดูฝน และมี ศักยภาพการให้ผลผลิต 40–80 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์ข้าวโพดใน ฤดูฝนที่ปลูก จากการสํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 4 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2m: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับข้าวโพดในฤดูฝน พบข้อจํากัด ดินมีความxxxxxxxxxxxต่ําระดับปานกลาง แก้ไขข้อจํากัดโดยใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่า วิเคราะห์ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2n: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับข้าวโพดในฤดูฝน พบข้อจํากัด เป็นเนื้อดินหยาบมีความxxxxxxในการอุ้มน้ําและดูดยึดธาตุอาหารต่ําระดับปานกลาง ปรับปรุงบํารุง ดินด้วยอินทรียวัตถุ และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2ns: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับข้าวโพดในฤดูฝน พบข้อจํากัด เนื้อดินหยาบมีความxxxxxxในการอุ้มน้ําและดูดยึดธาตุอาหารต่ําระดับปานกลาง และดินมีความxxxx xxxxxxxต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับปรุงบํารุงดินด้วยอินทรียวัตถุ และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสม ตามค่าวิเคราะห์ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2ons: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับข้าวโพดในฤดูฝน พบข้อจํากัด มีความเสี่ยงต่อการแช่ขังน้ําระดับปานกลาง เนื้อดินหยาบมีความxxxxxxในการอุ้มน้ําและดูดยึดธาตุ อาหารต่ําระดับปานกลาง และดินมีความxxxxxxxxxxxต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบระบายน้ําใน ไร่นาหรือยกร่องปลูกสูง ปรับปรุงบํารุงดินด้วยอินทรียวัตถุ และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตาม ค่าวิเคราะห์ดิน
ชั้นที่มีความเหมาะสมน้อย (Marginally suitable : S3)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดสูงสําหรับการเจริญเติบโตของข้าวโพดในฤดูฝน และมีศักยภาพ การให้ผลผลิต 20–40 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์ข้าวโพดในฤดูฝนที่ ปลูก จากการสํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 2 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน S3r: มีความเหมาะสมน้อยสําหรับข้าวโพดในฤดูฝน พบข้อจํากัดเป็นดิน ตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้น แก้ไขข้อจํากัดโดยการปรับเปลี่ยนชนิดพืชปลูกที่มีระบบรากxxxxxxx xxxx ไม้ยืนต้นxxxxxxโดยขุดหลุมปลูกให้กว้างและลึก รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก
หน่วยคุณภาพที่ดิน S3o : มีความเหมาะสมน้อยสําหรับข้าวโพดในฤดูฝน พบข้อจํากัดมี ความเสี่ยงต่อการแช่ขังน้ําระดับรุนแรง แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบระบายน้ําในไร่นาหรือยกร่อง ปลูกสูง หรือปรับเปลี่ยนเป็นปลูกข้าวนาปี
ชั้นที่ไม่มีความเหมาะสม (Not suitable : N)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดสูงมากสําหรับการเจริญเติบโตของข้าวโพดในฤดูฝน และมีศักยภาพ การให้ผลผลิตน้อยกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์ข้าวโพดในฤดู ฝนที่ปลูก จากการสํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 4 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน No : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับข้าวโพดในฤดูฝน พบข้อจํากัดเป็นดินนา มีความเสี่ยงต่อการแช่ขังของน้ําระดับรุนแรงมาก แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ ที่ ทนการแช่ขังของน้ํามากกว่า xxxx xxxx อ้อย และเกษตรผสมผสาน เป็นต้น
หน่วยคุณภาพที่ดิน Nt: ไม่มีความเหมาะสมสําหรับอ้อย พบข้อจํากัดเป็นพื้นที่ที่มีความลาดชัน แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ xxxx ไม้ผล และไม้ยืนต้นxxxxxx เป็นต้น
หน่วยคุณภาพที่ดิน Nr : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับอ้อย พบข้อจํากัดเป็นดินตื้นถึงชั้น เศษหินหรือหินพื้น แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ ที่มีระบบรากxxxxxxx xxxx ไม้ยืนต้น xxxxxx เป็นต้นโดยขุดหลุมปลูกให้กว้างและลึก รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก
หน่วยคุณภาพที่ดิน Ntr : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับอ้อย พบข้อจํากัดเป็นพื้นที่ที่มีความลาด ชัน และดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือชั้นหินพื้น แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ ที่มีระบบ รากxxxxxxx xxxx ไม้ยืนต้นxxxxxx เป็นต้นโดยขุดหลุมปลูกให้กว้างและลึก รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก ปุ๋ย คอก
ข้าวโพดนอกฤดูฝน
ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (Highly suitable : S1)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดน้อยสําหรับการเจริญเติบโตของข้าวโพดนอกฤดูฝน และมี ศักยภาพการให้ผลผลิต 80–100 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์ข้าวโพด นอกฤดูฝนที่ปลูก จากการสํารวจไม่พบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าวในพื้นที่ตําบลxxxxxxxx
ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable : S2)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดปานกลางสําหรับการเจริญเติบโตของข้าวโพดนอกฤดูฝน และมี ศักยภาพการให้ผลผลิต 40–80 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์ข้าวโพด นอกฤดูฝนที่ปลูก จากการสํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 2 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2mrs: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับข้าวโพดนอกฤดูฝน พบ ข้อจํากัดมีความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง ดินเป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหิน และดินมีความ xxxxxxxxxxxต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบชลประทานหรือแหล่งน้ําในไร่นา และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุ อาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2ms: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับข้าวโพดนอกฤดูฝน พบ ข้อจํากัดมีความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง และดินมีความxxxxxxxxxxxต่ํา แก้ไข ข้อจํากัดโดยจัดทําระบบชลประทานหรือแหล่งน้ําในไร่นา และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตาม ค่าวิเคราะห์ดิน
ชั้นที่มีความเหมาะสมน้อย (Marginally suitable : S3)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดสูงสําหรับการเจริญเติบโตของข้าวโพดนอกฤดูฝน และมีศักยภาพ การให้ผลผลิต 20–40 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์ข้าวโพดนอกฤดูฝน ที่ปลูก จากการสํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 1 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน S3m : มีความเหมาะสมน้อยสําหรับข้าวโพดนอกฤดูฝน พบข้อจํากัดมี ความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับรุนแรงแก้ไขข้อจํากัดโดยขุดแหล่งน้ําในไร่นา หรือปรับเปลี่ยน เป็นxxxxxxxที่ทนxxxxมากกว่า
ชั้นที่ไม่มีความเหมาะสม (Not suitable : N)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดสูงมากสําหรับการเจริญเติบโตของข้าวโพดนอกฤดูฝน และมี ศักยภาพการให้ผลผลิตน้อยกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์ ข้าวโพดนอกฤดูฝนที่ปลูก จากการสํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 2 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน Nm : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับข้าวโพดนอกฤดูฝน พบข้อจํากัดเป็นxxx xxxxxxมีความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับรุนแรงมาก แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืช อื่นๆ ที่ทนxxxxมากกว่า
หน่วยคุณภาพที่ดิน Ntm : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับข้าวโพดนอกฤดูฝน พบข้อจํากัดเป็น พื้นที่ลาดชัน ที่มีความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับรุนแรงมาก แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็น ชนิดพืชอื่นๆ ที่ทนxxxxมากกว่า
พืชผักในฤดูฝน
ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (Highly suitable : S1)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดน้อยสําหรับการเจริญเติบโตของพืชผักในฤดูฝน และมีศักยภาพ การให้ผลผลิต 80–100 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของxxxxxxxxxผักในฤดูฝนที่ ปลูก จากการสํารวจไม่พบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าวในพื้นที่ตําบลxxxxxxxx
ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable : S2)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดปานกลางสําหรับการเจริญเติบโตของพืชผักในฤดูฝน และมี ศักยภาพการให้ผลผลิต 40–80 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของxxxxxxxxxผักใน ฤดูฝนที่ปลูก จากการสํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 6 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2m: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับพืชผักในฤดูฝน พบข้อจํากัดมี ความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง และดินมีความxxxxxxxxxxxต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดย จัดทําระบบชลประทานหรือแหล่งน้ําในไร่นา และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2ms: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับพืชผักในฤดูฝน พบข้อจํากัดมี ความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง และดินมีความxxxxxxxxxxxต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดย จัดทําระบบชลประทานหรือแหล่งน้ําในไร่นา และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2mn: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับผักในฤดูฝน พบข้อจํากัดมี ความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง และเนื้อดินหยาบมีความxxxxxxในการอุ้มน้ําและดูด ยึดธาตุอาหารต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบชลประทานหรือแหล่งน้ําในไร่นา ปรับปรุงบํารุงดิน ด้วยอินทรียวัตถุ และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2mns: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับผักในฤดูฝน พบข้อจํากัดมี ความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง เนื้อดินหยาบมีความxxxxxxในการอุ้มน้ําและดูดยึด ธาตุอาหารต่ํา และดินมีความxxxxxxxxxxxต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบชลประทานหรือแหล่งน้ํา ในไร่นา ปรับปรุงบํารุงดินด้วยอินทรียวัตถุ และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2rms: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับข้าวโพดในฤดูฝน พบ ข้อจํากัดมีความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง เป็นดินตื้นถึงชั้นชั้นxxxxxxxxxxและดินมี ความxxxxxxxxxxxต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบชลประทานหรือแหล่งน้ําในไร่นา ปรับปรุงบํารุง ดินด้วยอินทรียวัตถุ และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2ons : มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับผักในฤดูฝน พบข้อจํากัดเป็น ดินนามีความเสี่ยงต่อการแช่ขังของน้ําระดับปานกลาง เนื้อดินหยาบมีความxxxxxxในการอุ้มน้ําและ ดูดยึดธาตุอาหารต่ํา และดินมีความxxxxxxxxxxxต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบระบายน้ํา ยกร่อง ปลูกสูง ร่วมกับปรับปรุงบํารุงดินด้วยอินทรียวัตถุ และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่า วิเคราะห์ดิน หรือ ปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ ที่ทนการแช่ขังของน้ํามากกว่า xxxx xxxx และเกษตร ผสมผสาน เป็นต้น
ชั้นที่มีความเหมาะสมน้อย (Marginally suitable : S3)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดสูงสําหรับการเจริญเติบโตของพืชผักในฤดูฝน และมีศักยภาพการ ให้ผลผลิต 20–40 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของxxxxxxxxxผักในฤดูฝนที่ปลูก จากการสํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 1 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน S3o : มีความเหมาะสมน้อยสําหรับพืชผักในฤดูฝน พบข้อจํากัดมีความ เสี่ยงต่อการแช่ขังน้ําระดับรุนแรง แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบระบายน้ําในไร่นาหรือยกร่องปลูกสูง หรือปรับเปลี่ยนเป็นปลูกข้าวนาปี
ชั้นที่ไม่มีความเหมาะสม (Not suitable : N)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดสูงมากสําหรับการเจริญเติบโตของพืชผักในฤดูฝน และมีศักยภาพการให้ผล ผลิตน้อยกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของxxxxxxxxxผักในฤดูฝนที่ปลูก จากการสํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 3 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน Nt : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับพืชผักในฤดูฝน พบข้อจํากัดเป็นพื้นที่ ลาดชัน แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ xxxx พืชไร่ ไม้ผล หรือ ไม้ยืนต้นxxxxxx
หน่วยคุณภาพที่ดิน Ntr : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับพืชผักในฤดูฝน พบข้อจํากัดเป็นพื้นที่ ลาดชันและเป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นแก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ ที่มี ระบบรากxxxxxxx xxxx ไม้ผล หรือไม้ยืนต้นxxxxxxโดยขุดหลุมปลูกให้กว้างและลึก รองก้นหลุมด้วย ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก
หน่วยคุณภาพที่ดิน No : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับพืชผักในฤดูฝน พบข้อจํากัดเป็นดินนามี ความเสี่ยงต่อการแช่ขังของน้ําระดับรุนแรงมาก แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ ที่ทน การแช่ขังของน้ํามากกว่า xxxx xxxx อ้อยโรงงาน และเกษตรผสมผสาน เป็นต้น
พืชผักนอกฤดูฝน
ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (Highly suitable : S1)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดน้อยสําหรับการเจริญเติบโตของพืชผักนอกฤดูฝน และมีศักยภาพ การให้ผลผลิต 80–100 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของxxxxxxxxxผักนอกฤดูฝนที่ ปลูก จากการสํารวจไม่พบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าวในพื้นที่ตําบลxxxxxxxx
ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable : S2)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดปานกลางสําหรับการเจริญเติบโตของพืชผักนอกฤดูฝน และมี ศักยภาพการให้ผลผลิต 40–80 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของxxxxxxxxxผักนอก ฤดูฝนที่ปลูก จากการสํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 1 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2ms: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับพืชผักนอกฤดูฝน พบข้อจํากัด มีความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง และดินมีความxxxxxxxxxxxต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดย จัดทําระบบชลประทานหรือแหล่งน้ําในไร่นา และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ ดิน
ชั้นที่มีความเหมาะสมน้อย (Marginally suitable : S3)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดสูงสําหรับการเจริญเติบโตของพืชผักนอกฤดูฝน และมีศักยภาพ การให้ผลผลิต 20–40 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของxxxxxxxxxผักนอกฤดูฝนที่ ปลูก จากการสํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 1 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน S3m : มีความเหมาะสมน้อยสําหรับพืชผักนอกฤดูฝน พบข้อจํากัดมี ความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับรุนแรง แก้ไขข้อจํากัดโดยขุดแหล่งน้ําในไร่นา หรือปรับเปลี่ยน เป็นxxxxxxxที่ทนxxxxมากกว่า
ชั้นที่ไม่มีความเหมาะสม (Not suitable : N)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดสูงมากสําหรับการเจริญเติบโตของพืชผักนอกฤดูฝน และมี ศักยภาพการให้ผลผลิตน้อยกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของxxxxxxxxxผัก นอกฤดูฝนที่ปลูก จากการสํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 2 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน Nm : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับพืชผักนอกฤดูฝน พบข้อจํากัดเป็นxxx xxxxxxมีความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับรุนแรงมาก แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืช อื่นๆ ที่ทนxxxxมากกว่า
หน่วยคุณภาพที่ดิน Ntm : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับพืชผักนอกฤดูฝน พบข้อจํากัดเป็น พื้นที่ที่มีความลาดชัน และมีความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับรุนแรงมาก แก้ไขข้อจํากัดโดย ปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ ที่ทนxxxxมากกว่า
มันสําปะหลัง
ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (Highly suitable : S1)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดน้อยสําหรับการเจริญเติบโตของมันสําปะหลัง และมีศักยภาพการ ให้ผลผลิต 80–100 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์มันสําปะหลังที่ปลูก จากการสํารวจไม่พบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าวในพื้นที่ตําบลxxxxxxxx
ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable : S2)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดปานกลางสําหรับการเจริญเติบโตของมันสําปะห ลัง และมี ศักยภาพการให้ผลผลิต 40–80 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์มัน สําปะหลังที่ปลูก จากการสํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 4 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2m: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับมันสําปะหลัง พบข้อจํากัดมี ความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบชลประทานหรือแหล่ง น้ําในไร่นา
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2mn: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับมันสําปะหลัง พบข้อจํากัดมี ความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง และเนื้อดินหยาบมีความxxxxxxในการอุ้มน้ําและดูด ยึดธาตุอาหารต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบชลประทานหรือแหล่งน้ําในไร่นา ปรับปรุงบํารุงดิน ด้วยอินทรียวัตถุ และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2mns: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับมันสําปะหลัง พบข้อจํากัดมี ความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง เนื้อดินหยาบมีความxxxxxxในการอุ้มน้ําและดูดยึด ธาตุอาหารต่ํา และดินมีความxxxxxxxxxxxต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบชลประทานหรือแหล่งน้ํา ในไร่นา ปรับปรุงบํารุงดินด้วยอินทรียวัตถุ และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2mo: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับมันสําปะหลัง พบข้อจํากัดมี ความเสี่ยงต่อการแช่ขังน้ําในฤดูฝนระดับปานกลาง และเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําในช่วงxxxx แก้ไข ข้อจํากัดโดยจัดทําระบบระบายน้ําในไร่นาหรือยกร่องปลูกจัดทําระบบชลประทานหรือแหล่งน้ําในไร่ นา ปรับปรุงบํารุงดินด้วยอินทรียวัตถุ และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
ชั้นที่มีความเหมาะสมน้อย (Marginally suitable : S3)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดสูงสําหรับการเจริญเติบโตของมันสําปะหลัง และมีศักยภาพการ ให้ผลผลิต 20–40 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์มันสําปะหลังที่ปลูก จากการสํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 3 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน S3r: มีความเหมาะสมน้อยสําหรับมันสําปะหลัง พบข้อจํากัดเป็นดินตื้น ถึงชั้นกรวดxxxxxxxxxxxxx แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนชนิดพืชปลูก เป็นพืชที่มีระบบรากxxxxxxx xxxx ไม้ยืนต้นxxxxxxโดยขุดหลุมปลูกให้กว้างและลึก รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก
หน่วยคุณภาพที่ดิน S3ro : มีความเหมาะสมน้อยสําหรับมันสําปะหลัง พบข้อจํากัดเป็นดิน ตื้นถึงชั้นกรวดxxxxxxxxxxxxxและมีความเสี่ยงต่อการแช่ขังน้ําระดับรุนแรง แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทํา ระบบระบายน้ําในไร่นาหรือยกร่องปลูกสูง และปรับเปลี่ยนเป็นปลูกข้าวนาปี และอ้อยโรงงาน เป็น ต้น พร้อมทั้งปรับปรุงบํารุงดินด้วยอินทรียวัตถุ
หน่วยคุณภาพที่ดิน S3o : มีความเหมาะสมน้อยสําหรับมันสําปะหลัง พบข้อจํากัดมีความ เสี่ยงต่อการแช่ขังน้ําระดับรุนแรง แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบระบายน้ําในไร่นาหรือยกร่องปลูกสูง หรือปรับเปลี่ยนเป็นปลูกข้าวนาปี และอ้อยโรงงาน เป็นต้น
ชั้นที่ไม่มีความเหมาะสม (Not suitable : N)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดสูงมากสําหรับการเจริญเติบโตของมันสําปะหลัง และมีศักยภาพ การให้ผลผลิตน้อยกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์มันสําปะหลังที่ ปลูก จากการสํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 4 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน No : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับมันสําปะหลัง พบข้อจํากัดเป็นดินนามี ความเสี่ยงต่อการแช่ขังของน้ําระดับรุนแรงมาก แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ ที่ทน การแช่ขังของน้ํามากกว่า xxxx xxxx อ้อยโรงงาน และเกษตรผสมผสาน เป็นต้น
หน่วยคุณภาพที่ดิน Nt : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับมันสําปะหลัง พบข้อจํากัดเป็นพื้นที่มีความ ลาดชันสูง แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ xxxx ปลูกไม้ยืนต้นxxxxxx
หน่วยคุณภาพที่ดิน Nr : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับมันสําปะหลัง พบข้อจํากัดเป็นดินตื้น มาถึงชั้นเศษหินxxxxxxxมากหรือหินพื้น แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ ที่มีระบบ รากxxxxxxxxxxx ไม้ยืนต้นxxxxxxเป็นต้นโดยขุดหลุมปลูกให้กว้างและลึก รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก ปุ๋ย คอก
หน่วยคุณภาพที่ดิน Nrt : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับมันสําปะหลัง พบข้อจํากัดเป็นพื้นที่ลาด ชันและเป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหินxxxxxxxมากหรือหินพื้น แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืช อื่นๆ ที่มีระบบรากxxxxxxx xxxx ไม้ยืนต้นxxxxxxโดยขุดหลุมปลูกให้กว้างและลึก รองก้นหลุมด้วย ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก
มะนาว
ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (Highly suitable : S1)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดน้อยสําหรับการเจริญเติบโตของมะนาว และมีศักยภาพการให้ผล ผลิต 80 – 100 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์มะนาวที่ปลูก จากการ สํารวจไม่พบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าวในพื้นที่ตําบลxxxxxxxx
ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable : S2)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดปานกลางสําหรับการเจริญเติบโตของมะนาว และมีศักยภาพการ ให้ผลผลิต 40–80 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์มะนาวที่ปลูก จากการ สํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 3 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2m: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับมะนาว พบข้อจํากัดมีความ เสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง และดินมีความxxxxxxxxxxxต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทํา ระบบชลประทานหรือแหล่งน้ําในไร่นา และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2mn: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับมะนาว พบข้อจํากัดมีความ เสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง และเนื้อดินหยาบมีความxxxxxxในการอุ้มน้ําและดูดยึด ธาตุอาหารต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบชลประทานหรือแหล่งน้ําในไร่นา ปรับปรุงบํารุงดินด้วย อินทรียวัตถุ และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2mns: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับมะนาว พบข้อจํากัดมีความ เสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง เนื้อดินหยาบมีความxxxxxxในการอุ้มน้ําและดูดยึดธาตุ อาหารต่ํา และดินมีความxxxxxxxxxxxต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบชลประทานหรือแหล่งน้ําในไร่ นา ปรับปรุงบํารุงดินด้วยอินทรียวัตถุ และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
ชั้นที่มีความเหมาะสมน้อย (Marginally suitable : S3)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดสูงสําหรับการเจริญเติบโตของมะนาว และมีศักยภาพการให้ผล ผลิต 20–40 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์มะนาวที่ปลูก จากการสํารวจ พบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 2 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน S3r : มีความเหมาะสมน้อยสําหรับมะนาว พบข้อจํากัดมีความเสี่ยงเป็น ดินตื้นถึงชั้นเศษหินxxxxxxxแก้ไขข้อจํากัดโดยการขุดหลุมปลูกให้กว้างและลึก รองก้นหลุมด้วยปุ๋ย หมัก ปุ๋ยคอก หรือปรับเปลี่ยนชนิดพืชปลูก พร้อมทั้งปรับปรุงบํารุงดินด้วยอินทรียวัตถุxxxx ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ หรือไม้ยืนต้นxxxxxxโดยขุดหลุมปลูกให้กว้างและลึก รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก เป็นต้น
หน่วยคุณภาพที่ดิน S3tr : มีความเหมาะสมน้อยสําหรับมะนาว พบข้อจํากัดมีสภาพพื้นที่ ลาดชันและเป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหินxxxxxxxแก้ไขข้อจํากัดโดยขุดหลุมปลูกให้กว้างและลึก รองก้น หลุมด้วยปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอกพร้อมทั้งจัดทําระบบxxxxxxxxดินและน้ํา หรือปรับเปลี่ยนชนิดพืชปลูก พร้อม ทั้งปรับปรุงบํารุงดินด้วยอินทรียวัตถุxxxx ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ หรือไม้ยืนต้นxxxxxxโดยขุดหลุมปลูกให้ กว้างและลึก รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก เป็นต้น
ชั้นที่ไม่มีความเหมาะสม (Not suitable : N)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดสูงมากสําหรับการเจริญเติบโตของมะนาว และมีศักยภาพการ ให้ผลผลิตน้อยกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์มะนาวที่ปลูก จาก การสํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 4 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน No : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับมะนาว พบข้อจํากัดเป็นดินนามีความ เสี่ยงต่อการแช่ขังของน้ําระดับรุนแรงมาก แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ ที่ทนการ แช่ขังของน้ํามากกว่า xxxx xxxx อ้อยโรงงาน และเกษตรผสมผสาน เป็นต้น
หน่วยคุณภาพที่ดิน Nt : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับมะนาว พบข้อจํากัดเป็นพื้นที่ลาดชัน แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ xxxx ปลูกไม้ยืนต้นxxxxxx
หน่วยคุณภาพที่ดิน Nr : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับมะนาว พบข้อจํากัดเป็นดินตื้นถึงชั้นเศษ หินxxxxxxxมากหรือชั้นหินพื้น แก้ไขข้อจํากัดโดยการปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ xxxx ปลูกไม้ยืน ต้นxxxxxxโดยขุดหลุมปลูกให้กว้างและลึก รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก
หน่วยคุณภาพที่ดิน Nrt : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับมะนาว พบข้อจํากัดเป็นพื้นที่ลาดชัน และเป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหินxxxxxxxหรือชั้นหินพื้น แก้ไขข้อจํากัดโดยการปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืช อื่นๆ xxxx ปลูกไม้ยืนต้นxxxxxx โดยขุดหลุมปลูกให้กว้างและลึก รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก
มะม่วง
ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (Highly suitable : S1)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดน้อยสําหรับการเจริญเติบโตของมะม่วง และมีศักยภาพการให้ผล ผลิต 80–100 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของxxxxxxxxxxxxที่ปลูก จากการ สํารวจไม่พบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าวในพื้นที่ตําบลxxxxxxxx
ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable : S2)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดปานกลางสําหรับการเจริญเติบโตของมะม่วง และมีศักยภาพการ ให้ผลผลิต 40–80 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของxxxxxxxxxxxxที่ปลูก จากการ สํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 3 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2m: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับมะม่วง พบข้อจํากัดมีความ เสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบชลประทานหรือแหล่งน้ําใน ไร่นา และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2mn: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับมะม่วง พบข้อจํากัดมีความ เสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง และเนื้อดินหยาบมีความxxxxxxในการอุ้มน้ําและดูดยึด ธาตุอาหารต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบชลประทานหรือแหล่งน้ําในไร่นา ปรับปรุงบํารุงดินด้วย อินทรียวัตถุ และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2mns: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับมะม่วง พบข้อจํากัดมีความ เสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง เนื้อดินหยาบมีความxxxxxxในการอุ้มน้ําและดูดยึดธาตุ อาหารต่ํา และดินมีความxxxxxxxxxxxต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบชลประทานหรือแหล่งน้ําในไร่ นา ปรับปรุงบํารุงดินด้วยอินทรียวัตถุ และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
ชั้นที่มีความเหมาะสมน้อย (Marginally suitable : S3)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดสูงสําหรับการเจริญเติบโตของมะม่วง และมีศักยภาพการให้ผล ผลิต 20–40 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของxxxxxxxxxxxxที่ปลูก จากการสํารวจ พบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 2 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน S3r : มีความเหมาะสมน้อยสําหรับมะม่วง พบข้อจํากัดเป็นดินตื้นถึงชั้น เศษหินระดับรุนแรง แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับปรุงเฉพาะหลุมปลูก หรือปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ xxxx ปลูกไม้ยืนต้นxxxxxxเป็นต้น
หน่วยคุณภาพที่ดิน S3tr : มีความเหมาะสมน้อยสําหรับมะม่วง พบข้อจํากัดเป็นพื้นที่ลาดชัน และดินตื้นถึงชั้นเศษหินระดับรุนแรง แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับปรุงเฉพาะหลุมปลูก หรือปรับเปลี่ยนเป็น ชนิดพืชอื่นๆ xxxx ปลูกไม้ยืนต้นxxxxxxเป็นต้น
ชั้นที่ไม่มีความเหมาะสม (Not suitable : N)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดสูงมากสําหรับการเจริญเติบโตของมะม่วง และมีศักยภาพการ ให้ผลผลิตน้อยกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของxxxxxxxxxxxxที่ปลูก จาก การสํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 4 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน No : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับมะม่วง พบข้อจํากัดเป็นดินนามีความ เสี่ยงต่อการแช่ขังของน้ําระดับรุนแรงมาก แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ ที่ทนการ แช่ขังของน้ํามากกว่า xxxx xxxx อ้อยโรงงาน และเกษตรผสมผสาน เป็นต้น
หน่วยคุณภาพที่ดิน Nt : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับมะม่วง พบข้อจํากัดเป็นพื้นที่ลาดชัน ระดับรุนแรงมาก แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ xxxx ปลูกไม้ยืนต้นxxxxxx
หน่วยคุณภาพที่ดิน Nr : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับมะม่วง พบข้อจํากัดเป็นดินตื้นถึงชั้นเศษ หินxxxxxxxมากหรือชั้นหินพื้น แก้ไขข้อจํากัดโดยการปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ xxxx ไม้ยืนต้นxx xxxx หรือป่าไม้เศรษฐกิจเป็นต้น โดยขุดหลุมปลูกให้กว้างและลึก รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก
หน่วยคุณภาพที่ดิน Nrt : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับมะม่วง พบข้อจํากัดเป็นพื้นที่ลาดชัน และเป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหินxxxxxxxมากหรือชั้นหินพื้น แก้ไขข้อจํากัดโดยการปรับเปลี่ยนเป็นชนิด พืชอื่นๆ xxxx ไม้ยืนต้นxxxxxx หรือป่าไม้เศรษฐกิจ เป็นต้น โดยขุดหลุมปลูกให้กว้างและลึก รองก้น หลุมด้วยปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก
ไม้ยืนต้นxxxxxx
ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (Highly suitable : S1)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดน้อยสําหรับการเจริญเติบโตของไม้ยืนต้นxxxxxx และมีศักยภาพ การให้ผลผลิต 80–100 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์ไม้ยืนต้นxxxxxxที่ ปลูก จากการสํารวจไม่พบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าวในพื้นที่ตําบลxxxxxxxx
ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable : S2)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดปานกลางสําหรับการเจริญเติบโตของไม้ยืนต้นxxxxxx และมี ศักยภาพการให้ผลผลิต 40–80 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์ไม้ยืนต้นxx xxxxที่ปลูก จากการสํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว 7 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2m: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับไม้ยืนต้นxxxxxx พบข้อจํากัดมี ความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบชลประทานหรือแหล่ง น้ําในไร่นา และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2ms: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับไม้ยืนต้นxxxxxx พบข้อจํากัดมี ความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง และดินมีความxxxxxxxxxxxต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดย จัดทําระบบชลประทานหรือแหล่งน้ําในไร่นา และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2mn: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับไม้ยืนต้นxxxxxx พบข้อจํากัดมี ความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง และเนื้อดินหยาบมีความxxxxxxในการดูดยึดธาตุ แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบชลประทานหรือแหล่งน้ําในไร่นา ปรับปรุงดินด้วยอินทรียวัตถุ และใส่ ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2mns: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับไม้ยืนต้นxxxxxx พบข้อจํากัดมี ความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลางเนื้อดินหยาบมีความxxxxxxในการดูดยึดธาตุ และดิน มีความxxxxxxxxxxxต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบชลประทานหรือแหล่งน้ําในไร่นา และใส่ปุ๋ยxxxxx ธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2rn: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับไม้ยืนต้นxxxxxx พบข้อจํากัดเป็น ดินตื้นถึงชั้นเศษหิน หรือxxxxxxxxxx และเนื้อดินหยาบมีความxxxxxxในการดูดยึดธาตุอาหารต่ําแก้ไข ข้อจํากัดโดยการขุดหลุมปลูกให้กว้างและลึก รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุ อาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2rmns: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับไม้ยืนต้นxxxxxx พบข้อจํากัด มีความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา เป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือxxxxxxxxxxเนื้อดินหยาบมีความxxxxxx ในการดูดยึดธาตุ และดินมีความxxxxxxxxxxxต่ํา แก้ไขข้อจํากัดโดยจัดทําระบบชลประทานหรือแหล่ง น้ําในไร่นา ขุดหลุมปลูกให้กว้างและลึก รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ปรับปรุงดินด้วยอินทรียวัตถุ และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหารให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
หน่วยคุณภาพที่ดิน S2trmns: มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับไม้ยืนต้นxxxxxx พบ ข้อจํากัดเป็นพื้นที่ลาดชัน มีความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ําระดับปานกลาง เป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหิน หรือxxxxxxxxxxเนื้อดินหยาบมีความxxxxxxในการดูดยึดธาตุ และดินมีความxxxxxxxxxxxต่ํา แก้ไข ข้อจํากัดโดยจัดทําระบบxxxxxxxxดินและน้ํา ระบบชลประทานหรือแหล่งน้ําในไร่นา ขุดหลุมปลูกให้ กว้างและลึก รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ปรับปรุงดินด้วยอินทรียวัตถุ และใส่ปุ๋ยxxxxxธาตุอาหาร ให้เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดิน
ชั้นที่มีความเหมาะสมน้อย (Marginally suitable : S3)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดสูงสําหรับการเจริญเติบโตของไม้ยืนต้นxxxxxx และมีศักยภาพการ ให้ผลผลิต 20–40 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์ไม้ยืนต้นxxxxxxที่ปลูก จากการสํารวจไม่พบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าวในพื้นที่ตําบลxxxxxxxx
ชั้นที่ไม่มีความเหมาะสม (Not suitable : N)
หมายถึง ที่ดินที่มีข้อจํากัดสูงมากสําหรับการเจริญเติบโตของไม้ยืนต้นxxxxxx และมีศักยภาพ การให้ผลผลิตน้อยกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ ของความxxxxxxการให้ผลผลิตสูงสุดของพันธุ์ไม้ยืนต้นxxxxxx ที่ปลูก จากการสํารวจพบหน่วยคุณภาพที่ดินดังกล่าว2 หน่วย ได้แก่
หน่วยคุณภาพที่ดิน No : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับไม้ยืนต้นxxxxxx พบข้อจํากัดเป็นดินนามี ความเสี่ยงต่อการแช่ขังของน้ําระดับรุนแรงมาก แก้ไขข้อจํากัดโดยปรับเปลี่ยนเป็นชนิดพืชอื่นๆ ที่ทน การแช่ขังของน้ํามากกว่า xxxx xxxx อ้อยโรงงาน และเกษตรผสมผสาน เป็นต้น
หน่วยคุณภาพที่ดิน Nt : ไม่มีความเหมาะสมสําหรับไม้ยืนต้นxxxxxx พบข้อจํากัดเป็นพื้นที่ ลาดชันสูงมาก ควรxxxxxxxxให้เป็นพื้นที่ป่าไม้
หน่วยแผนที่ดิน | ข้าวนาปี | อ้อยโรงงาน | ข้าวโพด ในฤดูฝน | ข้าวโพด นอกฤดูฝน | พืชผัก ในฤดูฝน | พืชผัก นอกฤดูฝน | มันสําปะหลัง | มะนาว | มะม่วง | ไม้ยืนต้นxxxxxx |
Ch-B | Nm | S3r | S3r | Nm | S2ms | Nm | S3r | S3r | S3r | S2rmns |
Ch-C | Nm | S3r | S3r | Nm | S2ms | Nm | S3r | S3r | S3r | S2rmns |
Hs-A | Nm | S3r | S3r | Nm | S2m | Nm | S3r | S3r | S3r | S2rmns |
Kak-D | Ntrm | Nt | Nt | Ntm | Nt | Ntm | Nt | S3tr | S3tr | S2trmns |
Kp-B | Nm | S2m | S2m | Nm | S2m | Nm | S2mo | S2m | S2m | S2rn |
Li-B | Nmr | Nr | Nr | Nm | S2m | Nm | Nr | Nr | Nr | S2rmns |
Li-C | Nmr | Nr | Nr | Nm | S2m | Nm | Nr | Nr | Nr | S2rmns |
Li-D | Ntrm | Ntr | Ntr | Nm | Ntr | Nm | Nrt | Ntr | Ntr | S2trmns |
Ly-B | Nm | S2mrs | Nr | S2mrs | S2mrs | Nm | Nr | Nr | Nr | S2ms |
Ml-C | Nmr | Nr | Nr | Nm | S2ms | Nm | Nr | Nr | Nr | S2rmns |
Ml-D | Ntrm | Ntr | Ntr | Ntm | Nt | Ntm | Nt | Ntr | Ntr | S2trmns |
Ms-A | S2m | S2o | S3o | S3m | S3o | S3m | No | No | No | No |
Skt-A | S2m | S2o | S3o | S3m | S3o | S3m | No | No | No | No |
Skt-lb,pd-A | S2ms | S3o | No | S2ms | No | S2ms | No | No | No | No |
Sp-B | Nm | S2ns | S2ns | Nm | S2mns | Nm | S2mns | S2mns | S2mns | S2mns |
Sp-gm,fl-A | S3m | S2ons | S2ons | Nm | S2ons | Nm | S3o | S2mns | Sm2ns | S2mns |
Sp-gm,lsk-A | S3m | S3r | S3r | Nm | S2ons | Nm | S3ro | S3r | S3r | S2mns |
Sp-hb,lsk-B | Nm | S3r | S3r | Nm | S2mn | Nm | S3r | S3r | S3r | S2mns |
Sp-hb-B | Nm | S2n | S2n | Nm | S2mn | Nm | S2mn | S2mn | S2mn | S2mn |
Sp-lsk-B | Nm | S3r | S3r | Nm | S2mns | Nm | S3r | S3r | S3r | S2mns |
5-15
5-15
หน่วยแผนที่ดิน | ข้าวนาปี | อ้อยโรงงาน | ข้าวโพดในฤดูฝน | ข้าวโพดนอกฤดูฝน | พืชผักในฤดูฝน | พืชผักนอกฤดูฝน | มันสําปะหลัง | มะนาว | มะม่วง | ไม้ยืนต้นxxxxxx |
Ssr-A | S2ms | S2os | S3o | S3m | S3o | S3m | No | No | No | No |
Ty-B | Nmr | Nr | Nr | Nm | S2mns | Nm | Nr | Nr | Nr | S2rmns |
Ty-C | Nmr | Nr | Nr | Nm | S2mns | Nm | Nr | Nr | Nr | S2rmns |
Ty-D | Ntmr | Nt | Nt | Ntm | Nt | Ntm | Nt | Nt | Nt | S2trmns |
Ty-D-RC | Ntmr | Nt | Nt | Ntm | Nt | Ntm | Nt | Nt | Nt | S2trmns |
Ws-B | Nm | S2m | S2m | Nm | S2m | Nm | S2m | S2m | S2m | S2m |
Ws-C | Nm | S2m | S2m | Nm | S2m | Nm | S2m | S2m | S2m | S2m |
SC | Ntm | Nt | Nt | Nm | Nt | Nm | Nt | Nt | Nt | Nt |
5-16
5-16
บทที่ 6 แผนการใช้ที่ดิน
6.1 xxxxxxในการจัดทําแผนการใช้ที่ดินตําบล
ในการจัดทําแผนการใช้ที่ดินตําบลฉบับนี้ได้ใช้ “xxxxxxเศรษฐกิจพอเพียง” เป็นหลักโดยมี รายละเอียดดังนี้
“เศรษฐกิจพอเพียงเป็นxxxxxxxxxถึงแนวทางการดํารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุก ระดับตั้งแต่ระดับครอบครัวระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดําเนิน
ไปในทางxxxxxxxโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณความมีเหตุผลรวมถึงความจําเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวxxxxx พอxxxxxต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้อง อาศัยความรอบรู้ความรอบคอบและความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนําวิชาการต่างๆ มาใช้ในการ วางแผนและดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องxxxxxxxxxxพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่รัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสํานึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์xxxxxx และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสมดําเนินชีวิตด้วยความอดทน ความxxxxx xxxxxxxxxxและความ รอบคอบ เพื่อให้xxxxxและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและxxxxxxxxxxxxxด้าน วัตถุสังคมสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอก”
6.2 นโยบายแห่งรัฐในการกําหนดแผนการใช้ที่ดินตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย
แผนการใช้ที่ดินตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย ได้กําหนดไว้ตามกรอบของ นโยบายแห่งรัฐดังรายละเอียดในตารางที่ 6-1
ตารางที่ 6-1 นโยบายแห่งรัฐที่เกี่ยวข้องกับแผนการใช้ที่ดิน ตําบลxxxxxxxx
ลําดับ | กฎหมาย/xxxxxxxxxx/แผนการ ปฏิบัติ/แผนแม่บท | รายละเอียด |
1 | xxxxxxxxxxแห่งอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 | มาตรา 72 (1) วางแผนการใช้ที่ดินของประเทศไทย เหมาะสมกับสภาพของพื้นที่และศักยภาพของที่ดิน ตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน |
2 | xxxxxxxxxxชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) | xxxxxxxxxxxxx 2 ด้านการสร้างความxxxxxxในการ แข่งขัน xxxxxxxxxxxxx 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพ ชีวิตที่เป็นxxxxต่อสิ่งแวดล้อม |
3 | แผนการxxxxxxประเทศด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม | ประเด็นย่อยที่ 2.1 จัดทําแผนการใช้ที่ดินของชาติทั้ง ระบบให้สอดคล้องและเหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ประเด็นย่อยที่ 2.2 xxxxxxxxการใช้ประโยชน์ที่ดินให้ เป็นxxxxกับสิ่งแวดล้อม |
ตารางที่ 6-1 นโยบายแห่งรัฐที่เกี่ยวข้องกับแผนการใช้ที่ดิน (ต่อ)
ลําดับ | กฎหมาย/xxxxxxxxxx/แผนการ ปฏิบัติ/แผนแม่บท | รายละเอียด |
4 | แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) | xxxxxxxxxxxxx 3 การสร้างความxxxxxxxxทางเศรษฐกิจ และแข่งขันได้อย่างยั่งยืน xxxxxxxxxxxxx 4 การเติบโตที่เป็นxxxxกับสิ่งแวดล้อม เพื่อหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน |
5 | นโยบายและแผนการบริหาร จัดการที่ดินและทรัพยากรดิน ของประเทศ (พ.ศ. 2560-2579) | xxxxxxxxxxxxx 2 ด้านใช้ที่ดินและทรัพยากรดินเพื่อให้ เกิดประโยชน์สูงสุด xxxxxxxxxxxxx 4 ด้านการบริหารจัดการที่ดินและ ทรัพยากรดิน |
6 | แผนพัฒนาจังหวัดสุโขทัย (พ.ศ.2561-2564) | ประเด็นxxxxxxxxxxxxx 1 พัฒนาและยกระดับการ xxxxxxxxxxมรดกโลกxxxxxxxxxxความxxxxxxในการ แข่งขัน การค้าการลงทุนภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม สินค้าและบริการ และพัฒนาความ เชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมและโลจิสติกส์ ประเด็นxxxxxxxxxxxxx 2 พัฒนาคน คุณภาพชีวิต และ สังคม xxxxxxxxอารยธรรมและความสุขอย่างยั่งยืน ประเด็นxxxxxxxxxxxxx 3 พัฒนาการบริหารจัดการน้ํา และการจัดการทรัพยากรฯ อย่างเป็นระบบอย่างยั่งยืน ภายใต้การพัฒนาจังหวัดที่เป็นxxxxกับสิ่งแวดล้อม ประเด็นxxxxxxxxxxxxx 4 xxxxxxxxxxความมั่นคงภายใน จังหวัดการเตรียมความพร้อมรับภัยพิบัติและขยาย ความร่วมมือระหว่างประเทศ ประเด็นxxxxxxxxxxxxx 5 พัฒนาระบบการบริหาร จัดการภาครัฐและบริการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพและ ทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบได้ |
รูปที่ 6-1 เป้าหมายการพัฒนาจังหวัดสุโขทัย 2561-2564
แผนพัฒนาจังหวัดสุโขทัย พ.ศ. 2561-2564 กําหนดวิสัยทัศน์ “เมืองมรดกโลกเลิศล้ํา เมือง เศรษฐกิจสร้างสรรค์และนวัตกรรม เมืองแห่งอารยธรรมและความสุขอย่างยั่งยืน”และเป้าประสงค์ รวม ดังนี้
1. อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP)
2. รายได้จากการxxxxxxxxxxที่xxxxxขึ้น
3. อัตราการxxxxxxxxxxลดลง
4. ครัวเรือนยากจนจนลดลง
5. ความสําเร็จของการxxxxxxxxการเกษตรแปลงใหญ่
6. อัตราส่วนแพทย์ต่อประชาชนที่เหมาะสม
7. พื้นที่xxxxxxxxxxxxxxขึ้น
8. กระบวนงานภาครัฐxxxxxxรับการพัฒนา โดยกําหนดประเด็นxxxxxxxxxx 5 ประเด็น ได้แก่
ประเด็นxxxxxxxxxxxxx 1 พัฒนาและยกระดับการxxxxxxxxxxมรดกโลกxxxxxxxxxxความxxxxxx ในการแข่งขัน การค้าการลงทุนภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม สินค้าและบริการ และพัฒนาความ เชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมและโลจิสติกส์
เป้าประสงค์ พัฒนาระบบเศรษฐกิจของจังหวัดให้มีความxxxxxและขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย 1) ร้อยละของรายได้จากการxxxxxxxxxxที่xxxxxขึ้น 2) ร้อยละของ รายได้จากภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม xxxxxxผลิตสินค้าและบริการที่xxxxxขึ้น 3) ร้อยละที่xxxxxขึ้น
ของโครงสร้างพื้นฐานxxxxxxรับการพัฒนา 4) ร้อยละครัวเรือนxxxxxxxxลดลง 5) ร้อยละความสําเร็จของ
การดําเนินการxxxxxxxxเกษตรแปลงใหญ่ 6) ร้อยละรายได้จากการจําหน่ายสินค้าชุมชนที่xxxxxขึ้น 7) จํานวนผลิตภัณฑ์ OTOP ที่ผ่านการคัดสรรสุดยอด OTOP
แนวทางการพัฒนา 1) xxxxxxxxและพัฒนาศักยภาพ และผู้ประกอบการ 2) พัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน โครงสร้างคมนาคมและโลจิสติกส์เพื่อรอบรับการxxxxxxxxxx การเกษตร/ อุตสาหกรรมการผลิตและบริการ 3) พัฒนาศักยภาพบุคลากรผู้ประกอบการโดยใช้เทคโนโลยีและ นวัตกรรมการยกระดับ และxxxxxศักยภาพการxxxxxxxxxx การเกษตร การอุตสาหกรรม การผลิตและ การบริการ
แผนงาน 1) พัฒนาภาพโครงสร้างพื้นฐานและโครงข่ายคมนาคมเพื่อการxxxxxxxxxxและ
การเกษตร 2) พัฒนาและยกระดับการxxxxxxxxxxมรดกโลก 3) xxxxxxxxความxxxxxxในการแข่งขัน พัฒนาศักยภาพ มาตรฐานการเกษตร อุตสาหกรรม และการผลิตสินค้าและบริการ
ประเด็นxxxxxxxxxxxxx 2 พัฒนาคน คุณภาพชีวิต และสังคม xxxxxxxxอารยธรรมและความสุข อย่างยั่งยืน
เป้าประสงค์ ประชาชนในจังหวัดมีคุณภาพชีวิตxxxxxและสุโขทัยเป็นเมืองสังคมน่าอยู่และxx xxxxxxxอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย 1) ร้อยละอัตราการxxxxxxxxxxลดลง 2) ร้อยละของxxxxxxxxxx ลดลง 3) อัตราของแพทย์ต่อxxxxxxxxxxเหมาะสม 4) ค่าเฉลี่ยคะแนน Q Net ของนักเรียนที่xxxxxขึ้น
5) ร้อยละจํานวนคดีอาชญากรรมที่ลดลง
แนวทางการพัฒนา 1) พัฒนาการศึกษาระดับและการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2) xxxxxxxx วัฒนธรรมและxxxxxxxxxxxxxxxxx 3) xxxxxxxxและสร้างความตระหนักในด้านคุณธรรมจริยธรรม จิต สาธารณะและxxxxxรัฐและคุณภาพคน 4) เตรียมความพร้อมรองรับสังคมผู้สูงอายุ และผู้พิการ 5) พัฒนาระบบสาธารณสุขให้ได้มาตรฐาน
แผนงาน พัฒนาคน สังคม และคุณภาพชีวิต และxxอัตลักษณ์ประเพณี วัฒนธรรมxxxx xxxxxxxxxxxxx
ประเด็นxxxxxxxxxxxxx 3 พัฒนาการบริหารจัดการน้ําและการจัดการทรัพยากรฯ อย่างเป็น ระบบอย่างยั่งยืนภายใต้การพัฒนาจังหวัดที่เป็นxxxxกับสิ่งแวดล้อม
เป้าประสงค์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบและ
ยั่งยืน
ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย 1) ร้อยละพื้นที่xxxxxxxxxxxxxxขึ้น 2) ร้อยละที่xxxxxขึ้นของแหล่งน้ํา
ในแต่ละอําเภxxxxxxxรับการพัฒนา 3) ร้อยละความสําเร็จของการบริหารจัดการขยะมูลฝอย 4) ร้อยละ ความสําเร็จของการพัฒนาการบริหารจัดการน้ํา
แนวทางการพัฒนา 1) พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ําและทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบและยั่งยืน 2) xxxxxxxxและพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรมและxxxxx ประสิทธิภาพการxxxxxxxxพลังงานและพลังงานxxxxx
แผนงาน พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ํา และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่าง เป็นระบบและยั่งยืน
ประเด็นxxxxxxxxxxxxx 4 xxxxxxxxxxความมั่นคงภายในจังหวัดการเตรียมความพร้อมรับภัย พิบัติและขยายความร่วมมือระหว่างประเทศ
เป้าประสงค์ ประชาชนสังคมมั่นคงปลอดภัยมีระบบเตรียมความพร้อมรับภัยพิบัติและ สถาปนาความxxxxxxxxกับเมืองประเทศศักยภาพ
ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย 1) ร้อยละความสําเร็จในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
2) สัดส่วนคดีอาชญากรรมต่อประชาชน (คดี/แสนคน) 3) อัตราผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรทางบก ต่อประชากรแสนคน 4) จํานวนเมืองในประเทศศักยภาพxxxxxxสถาปนาความxxxxxxxxเมืองพี่เมืองน้อง
5) ร้อยละความสําเร็จของการพัฒนาระบบเตรียมความพร้อมรับภัยพิบัติและสาธารณภัย แนวทางการพัฒนา 1) xxxxxประสิทธิภาพความมั่นคงและความปลอดภัยโดยบูรณาการ
ความร่วมมือทุกภาคส่วน 2) ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยใช้กลไกxxxxxรัฐ 3) พัฒนาระบบ เตรียมความพร้อมกับภัยพิบัติและการป้องกันและxxxxxxสาธารณภัย
แผนงาน xxxxxxxxxxความมั่นคงปลอดภัยและความสุขของประชาชน ประเด็นxxxxxxxxxxxxx 5 พัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐและบริการภาครัฐที่มี
ประสิทธิภาพและทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบได้
เป้าประสงค์ พัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐทันสมัย/จังหวัด 4.0 และเป็นไปตามหลัก xxxxxxxxxx
ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย 1) จํานวนการพัฒนานวัตกรรมในการบริหารจัดการระบบงาน ของจังหวัด 2) จํานวนกระบวนการงานของจังหวัดด้านการบูรณาการ ทําxxxxxxลดพลังงาน การ ป้องกันและปราบปรามการทุจริต การอํานวยความสะดวกแก่ประชาชน และการxxxxxประสิทธิภาพ ของส่วนราชการ 3) ร้อยละความสําเร็จในการจัดทําและดําเนินโครงการของจังหวัดตามxxxxxxxxxx
ชาติ 20 ปี
แนวทางการพัฒนา 1) xxxxxxxxพัฒนาคุณภาพให้บริการภาครัฐ 2) พัฒนากระบวนงาน
ให้บริการของภาครัฐให้มีประสิทธิภาพโปร่งใสและตรวจสอบได้ 3) สนับสนุนการขับเคลื่อนการดําเนิน
แผนงาน/โครงการภายใต้xxxxxxxxxxชาติระยะ 20 ปี
แผนงาน พัฒนาและxxxxxประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาครัฐและให้บริการประชาชน
6.3 แผนการใช้ที่ดิน
แผนการใช้ที่ดินตําบลxxxxxxxx อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย ได้กําหนดออกเป็น 15 เขต ดังนี้ (ตารางที่ 6-2 และรูปที่ 6-1)
6.3.1 เขตทํานา มีเนื้อที่ประมาณ 42,366 ไร่
1) เขตxxxนำxxxxภำพกำรผลิตปำนกลำง (221) เป็นนำในพื้นที่xxxxxxxเขตชลประทำน กลยุทธ์ในกำรพัฒนำ คือกำรลดต้นทุนกำรผลิต กิจกรรมที่สํำคัญ ได้แก่ xxxxxxxxกำรพัฒนำแหล่งน้ํำ ทำงกำรเกษตร xxxxxxxxกำรใช้ปุ๋ยตำมค่ำวิเครำะห์ดิน xxxxxxxxกำรรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อลดต้นทุนกำร ผลิต xxxxxxxxกำรใช้สำรอินทรีย์xxxxxสำรเคมีทำงกำรเกษตร xxxxxxxxกำรปลูกข้ำวพันธุ์ใช้น้ํำน้อย และxxxxxxxxกำรxxxxxxxใช้น้ํำน้อยxxxxxกำรxxxนำปรัง เป็นต้น มีเนื้อที่รวมประมำณ 32,232 ไร่ พบ ปัญหำในกำรใช้ที่ดินในปัจจุบัน ได้แก่
(1) 221m: พบข้อจํากัดปานกลางด้านเสี่ยงขาดแคลนน้ํา มีเนื้อที่ประมาณ 1,836 ไร่
(2) 221ms: มีข้อxxxกัดปำนกลำงด้ำนเสี่ยงขำดแคลนน้ํำ และควำมxxxxxxxxxxxต่ํำ มีเนื้อที่ประมำณ 30,396 ไร่
2) เขตทํานาศักยภาพการผลิตต่ํา (231) เป็นนาในพื้นที่xxxxxxเขตชลประทาน กล xxxxxในการพัฒนา คือการปรับเปลี่ยนชนิดพืชปลูก กิจกรรมที่สําคัญ ได้แก่ xxxxxxxxปรับเปลี่ยนการ ผลิตทางการเกษตรxxxxxxxxการพัฒนาแหล่งน้ําทางการเกษตร xxxxxxxxการปลูกxxxxxxxxxxใช้น้ําน้อยเพื่อ บริโภคในครัวเรือน และxxxxxxxxการxxxxxxxใช้น้ําน้อยxxxxxการทํานา เป็นต้น หน่วยแผนที่ 231m: พบข้อจํากัดรุนแรงด้านเสี่ยงขาดแคลนน้ํา มีเนื้อที่ประมาณ 10,134 ไร่
6.3.2 เขตปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มีเนื้อที่รวมประมาณ 2,565 ไร่
1) เขตปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ศักยภาพการผลิตปานกลาง (222C) เป็นพื้นที่xxxxxx เขตชลประทาน กลยุทธ์ในการพัฒนา คือ การลดต้นทุนการผลิต กิจกรรมที่สําคัญ ได้แก่ xxxxxxxxการ พัฒนาแหล่งน้ําทางการเกษตร xxxxxxxxการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน xxxxxxxxการรวมกลุ่มเกษตรกร เพื่อลดต้นทุนการผลิต และxxxxxxxxการใช้สารอินทรีย์xxxxxสารเคมีทางการเกษตร เป็นต้น พบ ปัญหาในการใช้ที่ดินในปัจจุบัน ได้แก่ หน่วยแผนที่ 222Cm: พบข้อจํากัดปานกลางด้านเสี่ยงขาด แคลนน้ํา มีเนื้อที่ประมาณ 491 ไร่
2) เขตปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ศักยภาพการผลิตต่ํา (232C) เป็นพื้นที่xxxxxxxเขต ชลประทาน กลยุทธ์ในการพัฒนา คือ การปรับเปลี่ยนชนิดพืชปลูก กิจกรรมที่สําคัญ ได้แก่ xxxxxxxx ปรับเปลี่ยนการผลิตทางการเกษตร xxxxxxxxการพัฒนาแหล่งน้ําทางการเกษตร และxxxxxxxxการปลูก ข้าวโพดฤดูxxxx เป็นต้น มีเนื้อที่รวมประมาณ 2,074 ไร่ พบปัญหาในการใช้ที่ดินในปัจจุบัน ได้แก่
(1) หน่วยแผนที่ 232Cr: มีข้อจํากัดรุนแรงด้านดินตื้นถึงชั้นเศษหินxxxxxxxมาก หรือชั้นหินพื้นควรปรับเปลี่ยนพืชปลูก มีเนื้อที่ประมาณ 2,048 ไร่
(2) หน่วยแผนที่ 232Ct: มีข้อจํากัดรุนแรงด้านการชะล้างพังทลายของดิน เนื่องจาก พื้นที่มีความลาดชัน มีเนื้อที่ประมาณ 26 ไร่
6.3.3 เขตปลูกมันสําปะหลัง มีเนื้อที่ประมาณ 15,138 ไร่
1) เขตปลูกมันสําปะหลังศักยภาพการผลิตปานกลาง (222CS) เป็นพื้นที่xxxระบาย น้ําดีนอกเขตชลประทาน กลยุทธ์ในการพัฒนา คือ การลดต้นทุนการผลิต กิจกรรมที่สําคัญ ได้แก่ xxxxxxxxการพัฒนาแหล่งน้ําทางการเกษตร xxxxxxxxการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน xxxxxxxxการรวมกลุ่ม เกษตรกรเพื่อลดต้นทุนการผลิต และxxxxxxxxการใช้สารอินทรีย์xxxxxสารเคมีทางการเกษตร เป็นต้น มีเนื้อที่รวมประมาณ 7,811 ไร่ พบปัญหาในการใช้ที่ดินในปัจจุบัน ได้แก่
(1) 222CSm: พบข้อจํากัดปานกลางด้านเสี่ยงขาดแคลนน้ํา มีเนื้อที่ประมาณ 867 ไร่
(2) 222CSms: พบข้อจํากัดปานกลางด้านเสี่ยงขาดแคลนน้ําและความxxxxxxxxxxx ต่ํา มีเนื้อที่ประมาณ 496 ไร่
(3) 222CSmn: พบข้อจํากัดปานกลางด้านเสี่ยงขาดแคลนน้ํา ดินเนื้อหยาบดูดยึด ธาตุอาหารxxxxx มีเนื้อที่ประมาณ 1,346 ไร่
(4) 222CSmo: พบข้อจํากัดปานกลางด้านเสี่ยงขาดแคลนน้ําในช่วงฤดูxxxxและเสี่ยง ต่อการแช่ขังของน้ําเป็นเวลานานในฤดูฝน มีเนื้อที่ประมาณ 399 ไร่
2) เขตปลูกมันสําปะหลังศักยภาพการผลิตต่ํา (232CS) เป็นพื้นที่ลุ่มระบายน้ําเลวนอก เขตชลประทาน กลยุทธ์ในการพัฒนา คือ การปรับเปลี่ยนชนิดพืชปลูก กิจกรรมที่สําคัญ ได้แก่ xxxxxxxxปรับเปลี่ยนการผลิตทางการเกษตร และxxxxxxxxการพัฒนาแหล่งน้ําทางการเกษตร เป็นต้น มี เนื้อที่รวมประมาณ 12,090 ไร่ พบปัญหาในการใช้ที่ดินในปัจจุบัน ได้แก่
(1) หน่วยแผนที่ 232CSr: มีข้อจํากัดรุนแรงด้านเป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหินxxxxxxx มาก หรือชั้นหินพื้น มีเนื้อที่ประมาณ 9,766 ไร่
(2) หน่วยแผนที่ 232CSo: มีข้อจํากัดรุนแรงด้านเสี่ยงต่อการแช่ขังน้ํา มีเนื้อที่ ประมาณ 1,721 ไร่
(3) หน่วยแผนที่ 232CSro: มีข้อจํากัดรุนแรงด้านเป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหินxxxxxxx มาก หรือชั้นหินพื้น และเสี่ยงต่อการแช่ขังน้ํา มีเนื้อที่ประมาณ 327 ไร่
(4) หน่วยแผนที่ 232CSt: มีข้อจํากัดรุนแรงด้านการชะล้างพังทลายของดิน เนื่องจากพื้นที่มีความลาดชัน มีเนื้อที่ประมาณ 41 ไร่
(5) หน่วยแผนที่ 232CStr: มีข้อจํากัดรุนแรงด้านการชะล้างพังทลายของดิน เนื่องจากพื้นที่มีความลาดชันและเป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหินxxxxxxxมาก หรือชั้นหินพื้น มีเนื้อที่ ประมาณ 9,766 ไร่
6.3.4 เขตปลูกอ้อยโรงงาน มีเนื้อที่รวมประมาณ 17,332 ไร่
1) เขตปลูกอ้อยโรงงำนxxxxภำพกำรผลิตปำนกลำง (222S) เป็นพื้นที่xxxxxxเขต ชลประทำน กลยุทธ์ในกำรพัฒนำ คือ กำรลดต้นทุนกำรผลิต กิจกรรมที่สํำคัญ ได้แก่ xxxxxxxxกำร พัฒนำแหล่งน้ํำทำงกำรเกษตร ส่งเสริมกำรใช้ปุ๋ยตำมค่ำวิเครำะห์ดิน ส่งเสริมกำรรวมกลุ่มเกษตรกร เพื่อลดต้นทุนกำรผลิต และส่งเสริมกำรใช้สำรอินทรีย์ทดแทนสำรเคมีทำงกำรเกษตร เป็นต้น มีเนื้อที่ รวมประมำณ 12,539 ไร่ พบปัญหำในกำรใช้ที่ดินในปัจจุบันได้แก่
(1) 222Sm: พบข้อจํากัดปานกลางด้านเสี่ยงขาดแคลนน้ํา มีเนื้อที่ประมาณ 8,143 ไร่
(2) 222Smns: พบข้อจํำกัดปำนกลำงด้ำนเสี่ยงขำดแคลนน้ํำ ดินเนื้อหยาบดูดยึด ธาตุอาหารไม่ดี และควำมอุดมสมบูรณ์ต่ํำ มีเนื้อที่ประมำณ 754 ไร่
(3) 222Smrs: พบข้อจํำกัดปำนกลำงด้ำนเสี่ยงขำดแคลนน้ํำ เป็นดินตื้นถึงชั้นกรวด ลูกรัง และควำมอุดมสมบูรณ์ต่ํำ มีเนื้อที่ประมำณ 972 ไร่
(4) 222Sos: พบข้อจํำกัดปำนกลำงด้ำนเสี่ยงต่อกำรแช่ขังน้ํำ และควำมอุดม สมบูรณ์ต่ํำ มีเนื้อที่ประมำณ 2,670 ไร่
2) เขตปลูกอ้อยโรงงานศักยภาพการผลิตต่ํา (232S) เป็นพื้นที่ลุ่มระบายน้ําเลวนอกเขต ชลประทาน กลยุทธ์ในการพัฒนา คือ การปรับเปลี่ยนชนิดพืชปลูก กิจกรรมที่สําคัญ ได้แก่ ส่งเสริม ปรับเปลี่ยนการผลิตทางการเกษตร ส่งเสริมการพัฒนาแหล่งน้ําทางการเกษตร ส่งเสริมการปรับรูป แปลงนา และส่งเสริมการปลูกอ้อยเหลื่อมฤดู (ข้ามแล้ง) เป็นต้น มีเนื้อที่รวมประมาณ 4,793 ไร่ พบ ปัญหาในการใช้ที่ดินปัจจุบัน ได้แก่
(1) หน่วยแผนที่ 232So: มีข้อจํากัดรุนแรงด้านเสี่ยงขาดแคลนน้ํา มีเนื้อที่ประมาณ
518 ไร่
(2) หน่วยแผนที่ 232Sr: มีข้อจํากัดรุนแรงด้านเป็นดินตื้นถึงเศษหินหนาแน่นมาก
หรือชั้นหินพื้น มีเนื้อที่ประมาณ 4,141 ไร่
(3) หน่วยแผนที่ 232St: มีข้อจํากัดรุนแรงด้านพื้นที่มีความลาดชันสูง มีเนื้อที่
ประมาณ 37 ไร่
(4) หน่วยแผนที่ 232Str: มีข้อจํากัดรุนแรงด้านพื้นที่มีความลาดชันสูง และเป็นดิน
ตื้นถึงเศษหินหนาแน่นมาก หรือชั้นหินพื้น มีเนื้อที่ประมาณ 97 ไร่
6.3.5 เขตปลูกสัก มีเนื้อที่รวมประมาณ 1,133 ไร่
1) เขตปลูกสักศักยภาพการผลิตปานกลาง (223T) เป็นพื้นที่ดอนนอกเขตชลประทาน กลยุทธ์ในการพัฒนา คือ การลดต้นทุนการผลิต กิจกรรมที่สําคัญ ได้แก่ ส่งเสริมการพัฒนาแหล่งน้ํา ทางการเกษตร ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อลดต้นทุนการ ผลิต และส่งเสริมการใช้สารอินทรีย์ทดแทนสารเคมีทางการเกษตร มีเนื้อที่รวมประมาณ 924 ไร่ พบ ปัญหาในการใช้ที่ดินปัจจุบัน ได้แก่
(1) หน่วยแผนที่ 223Tm: มีข้อจํากัดปานกลางด้านเสี่ยงขาดแคลนน้ํา มีเนื้อที่
ประมาณ 99 ไร่
(2) หน่วยแผนที่ 223Tms: มีข้อจํากัดปานกลางด้านเสี่ยงขาดแคลนน้ํา และความ
อุดมสมบูรณ์ต่ํา มีเนื้อที่ประมาณ 70 ไร่
(3) หน่วยแผนที่ 223Tmns: มีข้อจํากัดปานกลางด้านเสี่ยงขาดแคลนน้ํา ดินเนื้อ หยาบดูดยึดธาตุอาหารไม่ดี และความอุดมสมบูรณ์ต่ํา มีเนื้อที่ประมาณ 214 ไร่
(4) หน่วยแผนที่ 223Trmns: มีข้อจํากัดปานกลางด้านเป็นดินตื้นถึงกรวดลูกรัง หรือเศษหินหนาแน่น เสี่ยงขาดแคลนน้ํา ดินเนื้อหยาบดูดยึดธาตุอาหารไม่ดี และความอุดมสมบูรณ์ ต่ํา มีเนื้อที่ประมาณ 525 ไร่
(5) หน่วยแผนที่ 223Ttrmns: มีข้อจํากัดปานกลางด้านพื้นที่ลาดชัน เป็นดินตื้นถึง กรวดลูกรัง หรือเศษหินหนาแน่น เสี่ยงขาดแคลนน้ํา ดินเนื้อหยาบดูดยึดธาตุอาหารไม่ดี และความ อุดมสมบูรณ์ต่ํา มีเนื้อที่ประมาณ 16 ไร่
2) เขตปลูกสักศักยภำพกำรผลิตต่ํำ (233T) เป็นพื้นที่ลุ่มระบำยน้ํำเลวนอกเขต ชลประทำน กลยุทธ์ในกำรพัฒนำ คือ กำรปรับเปลี่ยนชนิดพืชปลูก กิจกรรมที่สํำคัญ ได้แก่ ส่งเสริม ปรับเปลี่ยนกำรผลิตทำงกำรเกษตร ส่งเสริมกำรปรับรูปแปลงนำ และส่งเสริมกำรพัฒนำแหล่งน้ํำทำง กำรเกษตร เป็นต้น ได้แก่ หน่วยแผนที่ 233To: มีข้อจํำกัดรุนแรงด้ำนเสี่ยงแช่ขังของน้ํำเป็นเวลำนำน ควรปรับเปลี่ยนเป็นข้ำว อ้อย หรือเกษตรผสมผสำน มีเนื้อที่ประมำณ 209 ไร่
6.3.6 เขตปลูกไม้ยืนต้นผสม มีเนื้อที่รวมประมาณ 241 ไร่
1) เขตปลูกไม้ยืนต้นผสมศักยภาพการผลิตปานกลาง (223TR) เป็นพื้นที่ดอนนอกเขต ชลประทาน กลยุทธ์ในการพัฒนา คือ การลดต้นทุนการผลิต กิจกรรมที่สําคัญ ได้แก่ ส่งเสริมการ พัฒนาแหล่งน้ําทางการเกษตร ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกร เพื่อลดต้นทุนการผลิต และส่งเสริมการใช้สารอินทรีย์ทดแทนสารเคมีทางการเกษตร มีเนื้อที่รวม ประมาณ 241 ไร่ พบปัญหาในการใช้ที่ดินปัจจุบัน ได้แก่
(1) หน่วยแผนที่ 223TRmn: มีข้อจํากัดปานกลางด้านเสี่ยงขาดแคลนน้ํา และดิน เนื้อหยาบดูดยึดธาตุอาหารไม่ดี มีเนื้อที่ประมาณ 38 ไร่
(2) หน่วยแผนที่ 223TRrmns: มีข้อจํากัดปานกลางด้านเป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหิน หนาแน่นมาก หรือชั้นหินพื้นเสี่ยงขาดแคลนน้ํา เนื้อดินหยาบดูดยึดธาตุอาหารไม่ดี และความอุดม สมบูรณ์ต่ํา มีเนื้อที่ประมาณ 203 ไร่
6.3.7 เขตปลูกยูคาลิปตัส มีเนื้อที่ประมาณ 582 ไร่
1) เขตปลูกยูคาลิปตัส ศักยภาพการผลิตปานกลาง (223U) เป็นพื้นที่ดอนนอกเขต ชลประทาน กลยุทธ์ในการพัฒนา คือ การลดต้นทุนการผลิต กิจกรรมที่สําคัญ ได้แก่ ส่งเสริมการ พัฒนาแหล่งน้ําทางการเกษตร ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกร
เพื่อลดต้นทุนการผลิต และส่งเสริมการใช้สารอินทรีย์ทดแทนสารเคมีทางการเกษตร มีเนื้อที่รวม ประมาณ 546 ไร่ พบปัญหาในการใช้ที่ดินปัจจุบัน ได้แก่
(1) หน่วยแผนที่ 223Umn: มีข้อจํากัดปานกลางด้านเสี่ยงขาดแคลนน้ํา และดินเนื้อ หยาบดินเนื้อหยาบดูดยึดธาตุอาหารไม่ดี มีเนื้อที่ประมาณ 25 ไร่
(2) หน่วยแผนที่ 223Umns: มีข้อจํากัดปานกลางด้านเสี่ยงขาดแคลนน้ํา ดินเนื้อ หยาบดินเนื้อหยาบดูดยึดธาตุอาหารไม่ดี และความอุดมสมบูรณ์ต่ํา มีเนื้อที่ประมาณ 39 ไร่
(3) หน่วยแผนที่ 223Ums: มีข้อจํากัดปานกลางด้านเสี่ยงขาดแคลนน้ํา และความ อุดมสมบูรณ์ต่ํา มีเนื้อที่ประมาณ 69 ไร่
(4) หน่วยแผนที่ 223Urmns: มีข้อจํากัดปานกลางด้านเป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหิน หนาแน่นมาก หรือชั้นหินพื้นเสี่ยงขาดแคลนน้ํา ดินเนื้อหยาบดูดยึดธาตุอาหารไม่ดี และความอุดม สมบูรณ์ต่ํา มีเนื้อที่ประมาณ 413 ไร่
2) เขตปลูกยูคำลิปตัส ศักยภำพกำรผลิตต่ํำ (233U) เป็นพื้นที่ลุ่มระบำยน้ํำเลวนอกเขต ชลประทำน กลยุทธ์ในกำรพัฒนำ คือ กำรปรับเปลี่ยนชนิดพืชปลูก กิจกรรมที่สํำคัญ ได้แก่ ส่งเสริม ปรับเปลี่ยนกำรผลิตทำงกำรเกษตร ส่งเสริมกำรปรับรูปแปลงนำ และส่งเสริมกำรพัฒนำแหล่งน้ํำทำง กำรเกษตร เป็นต้น ได้แก่ หน่วยแผนที่ 233Uo: มีข้อจํำกัดรุนแรงด้ำนเสี่ยงแช่ขังของน้ํำเป็นเวลำนำน ควรปรับเปลี่ยนเป็นข้ำว อ้อย หรือเกษตรผสมผสำน มีเนื้อที่ประมำณ 36 ไร่
6.3.8 เขตปลูกยางพารา มีเนื้อที่ประมาณ 1,080 ไร่ ได้แก่ เขตปลูกยำงพำรำศักยภำพกำรผลิต ต่ํำ (233R) เป็นพื้นที่ดอนนอกเขตชลประทำนซึ่งอยู่ในเขตภูมิอำกำศร้อนแล้ง กลยุทธ์ในกำรพัฒนำ คือ กำรปรับเปลี่ยนชนิดพืชปลูก กิจกรรมที่สํำคัญ ได้แก่ ส่งเสริมปรับเปลี่ยนกำรผลิตทำงกำรเกษตร ส่งเสริมกำรปรับรูปแปลงนำ และส่งเสริมกำรพัฒนำแหล่งน้ํำทำงกำรเกษตร เป็นต้น พบปัญหาในการ ใช้ที่ดินปัจจุบัน ได้แก่
(1) หน่วยแผนที่ 233Rm: มีข้อจํำกัดรุนแรงด้ำนเสี่ยงต่อกำรขำดแคลนน้ํำ ควรปรับ เปลี่ยนเป็นพืชไร่ ไม้ยืนต้น ไม้ผล หรือเกษตรผสมผสำน มีเนื้อที่ประมำณ 1,080 ไร่
6.3.9 เขตปลูกปำล์มน้ํำมัน มีเนื้อที่ประมำณ 48 ไร่ ได้แก่ เขตปลูกปำล์มน้ํำมันศักยภำพกำร ผลิตต่ํำ (233P) เป็นพื้นที่ดอนนอกเขตชลประทำนซึ่งอยู่ในเขตภูมิอำกำศร้อนแล้ง กลยุทธ์ในกำร พัฒนำ คือ กำรปรับเปลี่ยนชนิดพืชปลูก กิจกรรมที่สํำคัญ ได้แก่ ส่งเสริมปรับเปลี่ยนกำรผลิตทำง กำรเกษตร ส่งเสริมกำรปรับรูปแปลงนำ และส่งเสริมกำรพัฒนำแหล่งน้ํำทำงกำรเกษตร เป็นต้น พบ ปัญหาในการใช้ที่ดินปัจจุบัน ได้แก่
(1) หน่วยแผนที่ 233Pm: มีข้อจํำกัดรุนแรงด้ำนเสี่ยงเสี่ยงขำดแคลนน้ํำ ควรปรับ เปลี่ยนเป็นพืชไร่ ไม้ยืนต้น ไม้ผล หรือเกษตรผสมผสำน มีเนื้อที่ประมำณ 48 ไร่
6.3.10 เขตปลูกไม้ผลผสม มีเนื้อที่ประมาณ 123 ไร่
1) เขตปลูกปลูกไม้ผลผสม ศักยภาพการผลิตปานกลาง (224F) เป็นพื้นที่ดอนนอกเขต ชลประทาน กลยุทธ์ในการพัฒนา คือ การลดต้นทุนการผลิต กิจกรรมที่สําคัญ ได้แก่ ส่งเสริมการ พัฒนาแหล่งน้ําทางการเกษตร ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกร เพื่อลดต้นทุนการผลิต และส่งเสริมการใช้สารอินทรีย์ทดแทนสารเคมีทางการเกษตร เป็นต้น มีเนื้อที่ รวมประมาณ 100 ไร่ พบปัญหาในการใช้ที่ดินในปัจจุบัน ได้แก่
(1) 224Fm: มีข้อจํากัดปานกลางด้านเสี่ยงขาดแคลนน้ํา มีเนื้อที่ประมาณ 67 ไร่
(2) 224Frmns: มีข้อจํากัดปานกลางด้านเป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหินหนาแน่นมาก หรือ ชั้นหินเสี่ยงขาดแคลนน้ํา ดินเนื้อหยาบดูดยึดธาตุอาหารไม่ดี และความอุดมสมบูรณ์ต่ํา มีเนื้อที่ ประมาณ 33 ไร่
2) เขตปลูกปลูกไม้ผลผสม ศักยภาพการผลิตต่ํา (234F) เป็นพื้นที่ดินทรายจัดและดิน ลุ่มระบายน้ําเลวนอกเขตชลประทาน กลยุทธ์ในการพัฒนา คือ การปรับเปลี่ยนชนิดพืชปลูก กิจกรรม ที่สําคัญ ได้แก่ ส่งเสริมปรับเปลี่ยนการผลิตทางการเกษตร ส่งเสริมการพัฒนาแหล่งน้ําทางการเกษตร และส่งเสริมการปรับรูปแปลงนา เป็นต้น พบปัญหาในการใช้ที่ดินในปัจจุบัน ได้แก่ หน่วยแผนที่ 234Fo: มีข้อจํากัดรุนแรงด้านเสี่ยงต่อการแช่ขังน้ํา มีเนื้อที่ประมาณ 23 ไร่
6.3.11 เขตปลูกลําไย มีเนื้อที่ประมาณ 185 ไร่
1) เขตปลูกลําไยศักยภาพการผลิตปานกลาง (224L) เป็นพื้นที่ดอนนอกเขตชลประทาน กลยุทธ์ในการพัฒนา คือ การลดต้นทุนการผลิต กิจกรรมที่สําคัญ ได้แก่ ส่งเสริมการพัฒนาแหล่งน้ํา ทางการเกษตร ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อลดต้นทุนการ ผลิต และส่งเสริมการใช้สารอินทรีย์ทดแทนสารเคมีทางการเกษตร เป็นต้น มีเนื้อที่ประมาณ 47 ไร่ พบปัญหาในการใช้ที่ดินในปัจจุบัน ได้แก่ หน่วยแผนที่ 224Lm: มีข้อจํากัดปานกลางด้านเสี่ยงขาด แคลนน้ํา มีเนื้อที่ประมาณ 47 ไร่
2) เขตปลูกลําไยศักยภาพการผลิตต่ํา (234L) เป็นพื้นที่ดินทรายจัดและดินลุ่มระบายน้ํา เลวนอกเขตชลประทาน กลยุทธ์ในการพัฒนา คือ การปรับเปลี่ยนชนิดพืชปลูก กิจกรรมที่สําคัญ ได้แก่ ส่งเสริมปรับเปลี่ยนการผลิตทางการเกษตร ส่งเสริมการพัฒนาแหล่งน้ําทางการเกษตร และ ส่งเสริมการปรับรูปแปลงนา เป็นต้น มีเนื้อที่รวมประมาณ 138 ไร่ พบปัญหาในการใช้ที่ดินในปัจจุบัน ได้แก่
ประมาณ 29 ไร่
(1) หน่วยแผนที่ 234Lo: มีข้อจํากัดรุนแรงด้านเสี่ยงต่อการแช่ขังน้ํา มีเนื้อที่
(2) หน่วยแผนที่ 234Lr: มีข้อจํากัดรุนแรงด้านเป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหินหนาแน่น มี
เนื้อที่ประมาณ 109 ไร่
6.3.12 เขตปลูกมะม่วง มีเนื้อที่ประมาณ 214 ไร่
1) เขตปลูกมะม่วงศักยภาพการผลิตปานกลาง (224M) เป็นพื้นที่ดอนนอกเขต ชลประทาน กลยุทธ์ในการพัฒนา คือ การลดต้นทุนการผลิต กิจกรรมที่สําคัญ ได้แก่ ส่งเสริมการ พัฒนาแหล่งน้ําทางการเกษตร ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกร เพื่อลดต้นทุนการผลิต และส่งเสริมการใช้สารอินทรีย์ทดแทนสารเคมีทางการเกษตร เป็นต้น มีเนื้อที่ รวมประมาณ 139 ไร่ พบปัญหาในการใช้ที่ดินในปัจจุบัน ได้แก่
(1) หน่วยแผนที่ 224Mm มีข้อจํากัดปานกลางด้านเสี่ยงขาดแคลนน้ํา มีเนื้อที่
ประมาณ 114 ไร่
(2) หน่วยแผนที่ 224Mmn: มีข้อจํากัดปานกลางด้านเสี่ยงขาดแคลนน้ํา และดินเนื้อ
หยาบดูดยึดธาตุอาหารไม่ดี มีเนื้อที่ประมาณ 25 ไร่
2) เขตปลูกมะม่วงศักยภาพการผลิตต่ํา (234M) เป็นพื้นที่ดอนนอกเขตชลประทำนซึ่ง อยู่ในเขตภูมิอำกำศร้อนแล้ง กลยุทธ์ในกำรพัฒนำ คือ กำรปรับเปลี่ยนชนิดพืชปลูก กิจกรรมที่สํำคัญ
ได้แก่ ส่งเสริมปรับเปลี่ยนกำรผลิตทำงกำรเกษตร จัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ํำ และส่งเสริมกำรพัฒนำ แหล่งน้ํำทำงกำรเกษตร เป็นต้น มีเนื้อที่รวมประมาณ 75 ไร่ พบปัญหาในการใช้ที่ดินปัจจุบัน ได้แก่
(1) หน่วยแผนที่ 234Mr มีข้อจํากัดรุนแรงด้านเป็นดินตื้นถึงกรวดลูกรัง หรือเศษหิน หนาแน่น มีเนื้อที่ประมาณ 62 ไร่
(2) หน่วยแผนที่ 234Mrt: มีข้อจํากัดรุนแรงด้านพื้นที่ลาดชันเสี่ยงต่อการชะล้าง พังทลายของดิน และเป็นดินตื้นถึงกรวดลูกรัง หรือเศษหินหนาแน่น มีเนื้อที่ประมาณ 13 ไร่
6.3.12 เขตป่ำไม้ มีเนื้อที่ประมาณ 25,882 ไร่ ได้แก่
1) หน่วยแผนที่ 111: พื้นที่ป่ำไม้สมบูรณ์ในเขตป่ำไม้ตำมกฎหมำย มีเนื้อที่ประมำณ
23,194 ไร่
2) หน่วยแผนที่ 112: พื้นที่บุกรุกทํำกำรเกษตรในเขตป่ำไม้ตำมกฎหมำย มีเนื้อที่
ประมำณ 2,688 ไร่
6.3.13 เขตแหล่งน้ํา ได้แก่ หน่วยแผนที่ 300: แหล่งน้ําธรรมชาติ อ่างเก็บน้ํา บ่อน้ําในไร่นา เป็นต้น มีเนื้อที่ประมาณ 2,927 ไร่
6.3.14 เขตเขตชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง ได้แก่ หน่วยแผนที่ 400: หมู่บ้านบนพื้นที่ราบ สถานที่ราชการ โรงงานอุตสาหกรรม ลานตากและแหล่งรับซื้อทางการเกษตร ฯลฯ มีเนื้อที่ประมาณ 5,234 ไร่
6.3.15 เขตอื่นๆ มีเนื้อที่ประมาณ 10,134 ไร่ ได้แก่
1) หน่วยแผนที่ 501: ถนนและเส้นทางคมนาคม มีเนื้อที่ประมาณ 176 ไร่
2) หน่วยแผนที่ 502: พื้นที่ป่าละเมาะ ไร่ร้าง และทุ่งหญ้าธรรมชาติ มีเนื้อที่ประมาณ
6,730 ไร่
ตารางที่ 6-2 เขตการใช้ที่ดินตําบลนาขุนไกร อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย
เขตการใช้ที่ดิน | พื้นที่เขตเกษตรกรรม | |||||
ศักยภาพการผลิตสูง (มีข้อจํากัดเล็กน้อย) | เนื้อที่ | ศักยภาพการผลิตปานกลาง (มีข้อจํากัดปานกลาง) | เนื้อที่ | ศักยภาพการผลิตต่ํา (มีข้อจํากัดรุนแรง) | เนื้อที่ | |
ข้าว | 221m: มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา | 1,836 | - | - | 231m: มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา | 10,134 |
221ms: มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา และ ดินอุดมสมบูรณ์ต่ํา | 30,396 | - | - | - | - | |
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ | - | - | 222Cm มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา | 491 | 232Cr มีข้อจํากัดเป็นดินตื้น | 2,048 |
- | - | - | 232Ct มีข้อจํากัดเป็นพื้นที่ลาดชัน | 26 | ||
อ้อย | - | - | 222Sm มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา | 8,143 | 232So มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการแช่ขังของน้ํา | 518 |
- | - | 223Smns มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา เนื้อดินหยาบ และดินอุดมสมบูรณ์ต่ํา | 754 | 232Sr มีข้อจํากัดเป็นดินตื้น | 4,141 | |
- | - | 223Smrs มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา ดินตื้น และดิน อุดมสมบูรณ์ต่ํา | 972 | 232St มีข้อจํากัดด้านความลาดชัน | 37 | |
- | - | 223Sos มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการแช่ขังของน้ํา และดินอุดม สมบูรณ์ต่ํา | 2,670 | 232Str มีข้อจํากัดด้านความลาดชัน และเป็นดินตื้น | 97 | |
มันสําปะหลัง | - | - | 222CSm มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา | 867 | 232CSr มีข้อจํากัดเป็นดินตื้น | 9,766 |
- | - | 222CSmn มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา และดินเนื้อ หยาบ | 1,346 | 232CSt มีข้อจํากัดด้านความลาดชัน | 41 | |
- | - | 222CSmo มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการแช่ขังของน้ํา | 339 | 232CSo มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อแช่ขังของน้ํา | 1,721 | |
- | - | 222CSms มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา และดินอุดม สมบูรณ์ต่ํา | 496 | 232CSro มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการแช่ขังของน้ํา และ ดินตื้น | 327 | |
- | - | - | - | 232CStr มีข้อจํากัดด้านความลาดชัน และดินตื้นถึง ชั้นเศษหิน | 235 | |
ยางพารา | - | - | 223Rm มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา | 1,080 | - | - |
สัก | - | - | 223Tm มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา | 99 | 223To มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการแช่ขังของน้ํา | 209 |
- | - | 223Tmns มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา ดินเนื้อหยาบ และดินอุดมสมบูรณ์ต่ํา | 214 | - | - | |
- | - | 223Tms มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา และดินอุดม สมบูรณ์ต่ํา | 70 | - | - | |
- | - | 223Trmns มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา ดินตื้น เนื้อ ดินหยาบ และดินอุดมสมบูรณ์ต่ํา | 525 | - | - | |
- | - | 223Ttrmns มีข้อจํากัดพื้นที่ลาดชัน เป็นดินตื้น เสี่ยงต่อการ ขาดแคลนน้ําดินเนื้อหยาบ และดินอุดมสมบูรณ์ต่ํา | 16 | - | - |
ตารางที่ 6-2 เขตการใช้ที่ดินตําบลนาขุนไกร อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย (ต่อ)
เขตการใช้ที่ดิน | พื้นที่เขตเกษตรกรรม | |||||
ศักยภาพการผลิตสูง (มีข้อจํากัดเล็กน้อย) | เนื้อที่ | ศักยภาพการผลิตปานกลาง (มีข้อจํากัดปานกลาง) | เนื้อที่ | ศักยภาพการผลิตต่ํา (มีข้อจํากัดรุนแรง) | เนื้อที่ | |
ไม้ยืนต้นผสม | - | - | 223TRmn มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา และดินเนื้อ หยาบ | 38 | - | - |
- | - | 223TRrmns มีข้อจํากัดเป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหิน เสี่ยงต่อการ ขาดแคลนน้ํา ดินเนื้อหยาบ และดินอุดมสมบูรณ์ต่ํา | 203 | - | - | |
ยูคาลิปตัส | - | - | 223Umn มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา และดินเนื้อ หยาบ | 25 | 223Uo มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการแช่ขังของน้ํา | 36 |
- | - | 223Umns มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา และดินเนื้อ หยาบ และดินอุดมสมบูรณ์ต่ํา | 39 | - | - | |
- | - | 223Ums มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา และดินอุดม สมบูรณ์ต่ํา | 69 | - | - | |
- | - | 223Urmns มีข้อจํากัดเป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหิน เสี่ยงต่อการ ขาดแคลนน้ํา ดินเนื้อหยาบ และดินอุดมสมบูรณ์ต่ํา | 413 | - | - | |
ไม้ผลผสม | - | - | 224Fm มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา | 67 | 234Fo มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการแช่ชังของน้ํา | 23 |
- | - | 224Frmns มีข้อจํากัดเป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหิน เสี่ยงต่อการ ขาดแคลนน้ํา ดินเนื้อหยาบ และดินอุดมสมบูรณ์ต่ํา | 33 | - | - | |
ลําไย | - | - | 224Lm มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา | 47 | 234Lr มีข้อจํากัดเป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหิน | 109 |
- | - | 234Lo มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการแช่ชังของน้ํา | 29 | |||
มะม่วง | - | - | 224Mm มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา | 114 | 234Mr มีข้อจํากัดเป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหิน | 62 |
- | - | 224Mmn มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา และดินเนื้อ หยาบ | 25 | 234Mtrmns มีข้อจํากัดเป็นพื้นที่ลาดชัน และดินตื้น ถึงชั้นเศษหิน | 13 | |
ปาล์มน้ํามัน | - | - | - | - | 233Pm มีข้อจํากัดเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา | 48 |
พื้นที่นอกเขตเกษตรกรรม | ||||||
พื้นที่ป่าไม้ | 111: พื้นที่ป่าไม้สมบูรณ์ในเขตป่าไม้ตามกฎหมาย | 150,218 | ||||
112:พื้นที่บุกรุกทําการเกษตรในเขตป่าไม้ตามกฎหมาย | 39,175 | |||||
131: พื้นที่ป่าไม้สมบูรณ์นอกเขตป่าไม้ตามกฎหมาย | 13,881 | |||||
พื้นที่แหล่งน้ํา | 300: แหล่งน้ําธรรมชาติ บ่อน้ําในไร่นา | 2,927 | ||||
พื้นที่ชุมชน สิ่งปลูก สร้าง | 400: พื้นที่ชุมชน สถานที่ราชการ วัด ฯลฯ | 5,234 | ||||
เขตอื่นๆ | 501: พื้นที่ถนนและเส้นทางคมนาคม | 176 | ||||
502: พื้นที่อื่นๆ เช่น ป่าละเมาะ ทุ่งหญ้าธรรมชาติและที่รกร้าง | 6,730 |
6-14
รูปที่ 6-2 เขตการใช้ที่ดิน ตําบลนาขุนไกร อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย
บทที่ 7 การขับเคลื่อนแผนการใช้ที่ดินตําบลนาขุนไกร อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย
7.1 ขั้นตอนการดําเนินงาน
ภายหลังการจัดทํา (ร่าง) แผนการใช้ที่ดินตําบลนาขุนไกร อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัยแล้ว จะต้องดําเนินการดังต่อไปนี้
7.1.1 จัดทําเป้าหมายการดําเนินงานและงบประมาณและกิจกรรมต่างๆ ที่จะดําเนินการใน ปีงบประมาณ 2563-2566
7.1.2 นํา (ร่าง) แผนการใช้ที่ดินตําบลนาขุนไกรไปเสนอต่อ สภาเทศบาลตําบลนาขุนไกรเพื่อมี มติให้ความร่วมมือในกับกรมพัฒนาที่ดินดําเนินการกิจกรรมต่างๆ ที่กําหนดไว้ในแผน
7.1.3 สถานีพัฒนาที่ดินสุโขทัย เสนอเป้าหมายและงบประมาณมายังกรมพัฒนาที่ดิน
7.2 ตัวชี้วัด
7.2.1 จํานวนกิจกรรมที่กรมพัฒนาที่ดินดําเนินการและโครงการวิจัยร่วมกับส่วนราชการอื่นใน ตําบลนาขุนไกร อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย ดังตัวอย่างในตารางที่ 7-1
ตารางที่ 7-1 กิจกรรมของกรมพัฒนาที่ดินในเขตการใช้ที่ดินที่จะดําเนินการในปีงบประมาณ 2563-2566
งาน/โครงการ/กิจกรรม | หน่วย นับ | เป้าหมาย | รวม | งบประมาณ | รวม | ||||||
2563 | 2564 | 2565 | 2566 | 2563 | 2564 | 2565 | 2566 | ||||
1. ส่งเสริมและพัฒนา ศักยภาพด้านการพัฒนา ที่ดิน | |||||||||||
1.1 ศูนย์ถ่ายทอด เทคโนโลยีด้านการพัฒนา ที่ดิน | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - |
1.1.1 ศูนย์ถ่ายทอด เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน (ใหม่) | แห่ง | - | 1 | - | - | 1 | - | 12,750 | - | - | 12,750 |
1.1.2 ศูนย์ถ่ายทอด เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน (ต่อยอด) | แห่ง | - | - | 1 | - | 1 | - | - | 4,000 | - | 4,000 |
2. พัฒนาทรัพยากรที่ดิน และน้ํา | |||||||||||
2.1 ปรับปรุงคุณภาพ ดินในพื้นที่ดินกรด | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - |
2.1.2 ส่งเสริมการ ปรับปรุงพื้นที่ดินกรด | ไร่ | - | 100 | 100 | 100 | 300 | - | 102,500 | 102,500 | 102,500 | 307,500 |
งาน/โครงการ/ กิจกรรม | หน่วย นับ | เป้าหมาย | รวม | งบประมาณ | รวม | ||||||
2563 | 2564 | 2565 | 2566 | 2563 | 2564 | 2565 | 2566 | ||||
2.2 ฟื้นฟูและ ป้องกันการชะล้าง พังทลายของดิน | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - |
2.2.1 ผลิตหญ้า แฝกเพื่อปลูก | ไร่ | 7 | 10 | 10 | - | 27 | - | - | - | - | - |
กล้า | 700,000 | 1,000,000 | 1,000,000 | - | 2,700,000 | 875,000 | 1,250,000 | 1,250,000 | - | 3,375,000 | |
2.2.2 จัดระบบ อนุรักษ์ดินและน้ําบน พื้นที่ลุ่ม - ดอน – สูง | ไร่ | 4,600 | 4,600 | 4,600 | - | 13,800 | 3,077,900 | 3,430,000 | 3,430,000 | - | 9,937,900 |
2.3 ส่งเสริมการใช้ สารอินทรีย์ลดการใช้ สารเคมีทางการเกษตร | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - |
2.3.1 โครงการ ส่งเสริมการใช้ สารอินทรีย์ลดการใช้ สารเคมีทางการเกษตร / เกษตรอินทรีย์ | ไร่ | 200 | 500 | 500 | 500 | - | - | - | - | - | - |
ราย | 20 | 20 | 50 | 50 | - | - | - | - | - | - | |
กลุ่ม | 2 | 5 | 5 | 5 | - | - | - | - | - | - |
งาน/โครงการ/กิจกรรม | หน่วย นับ | เป้าหมาย | รวม | งบประมาณ | รวม | ||||||
2563 | 2564 | 2565 | 2566 | 2563 | 2564 | 2565 | 2566 | ||||
2.3.2 รณรงค์งด เผาฟางและตอซัง | แปลง | - | 1 | - | - | 1 | - | 20,000 | - | - | 20,000 |
2.3.3 สนับสนุน การใช้พืชปุ๋ยสดปรับปรุง บํารุงดิน | ตัน | 2 | 2 | 2 | 2 | 8 | 59,500 | 59,500 | 59,500 | 59,500 | 238,000 |
2.3.4 ส่งเสริมการ ปลูกพืชปุ๋ยสดปรับปรุง บํารุงดิน | ไร่ | 400 | 400 | 400 | 400 | 1,600 | 6,000 | 6,000 | 6,000 | 6,000 | 24,000 |
2.4 การรองรับการ เปลยนแปลงภูมิอากาศ และลดโลกร้อน | ไร่ | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - |
2.4.1 โครงการ จัดทําระบบอนุรักษ์ดิน และน้ําพร้อมปลูกไม้ยืน ต้นโตเร็ว | ไร่ | 150 | 150 | 150 | - | 450 | 170,000 | 170,000 | 170,000 | - | 510,000 |
2.4.2 โครงการ รณรงค์ไถกลบตอซังเพื่อ บรรเทาภาวะโลกร้อน | แปลง | - | 1 | 1 | - | 2 | - | 20,000 | 20,000 | - | 40,000 |
งาน/โครงการ/กิจกรรม | หน่วย นับ | เป้าหมาย | รวม | งบประมาณ | รวม | ||||||
2563 | 2564 | 2565 | 2566 | 2563 | 2564 | 2565 | 2566 | ||||
2.5 พัฒนากลุ่ม เกษตรกรสู่การรับรอง มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ | ไร่ | - | 36.5 | - | - | 36.5 | - | - | - | - | - |
2.6 การก่อสร้างแหล่ง น้ําในไร่นานอกเขต ชลประทาน | บ่อ | 36 | 10 | - | - | 46 | 640,800 | 178,000 | - | - | 818,800 |
2.7 สนับสนุนงาน พัฒนาที่ดินเพื่อส่งเสริม เกษตรทฤษฎีใหม่ | ราย | 124 | - | - | - | 124 | 133,920 | - | - | - | 133,920 |
ตารางที่ 7-2 กิจกรรมของหน่วยงานอื่นๆในเขตการใช้ที่ดินที่จะดําเนินการในปีงบประมาณ 2563-2566
งาน/โครงการ/กิจกรรม | หน่วย | เป้าหมาย | รวม | งบประมาณ | รวม | ||||||
นับ | 2563 | 2564 | 2565 | 2566 | 2563 | 2564 | 2565 | 2566 | |||
1. เยียวยาและช่วยเหลือเกษตรกรจากภัยธรรมชาติ | ราย | 44 | - | - | - | 44 | 678,095 | - | - | - | 678,095 |
2. เพิ่มประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการทาง การเกษตร ซึ่งครอบคลุมการดําเนินงานเกี่ยวกับการ พัฒนาอาสาสมัครเกษตร การสร้างและพัฒนา เกษตรกรรุ่นใหม่ การจัดทํา ระบบทะเบียนครัวเรือน เกษตรกร การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ําเพื่อ การเกษตร และรายการโทรทัศน์เพื่อการเกษตร | ราย | 2 | - | - | - | 2 | 2,000 | - | - | - | 2,000 |
3. พัฒนาเกษตรกรก้าวไปสู่ผู้จัดการฟาร์มแบบมือ อาชีพ (Smart Farmer) | ราย | 2 | - | - | - | 2 | - | - | - | - | - |
4. พัฒนาสหกรณ์ สถาบันเกษตรกร และองค์กร เกษตรกร | กลุ่ม | 2 | - | - | - | 2 | - | - | - | - | - |
5. พัฒนาเกษตรกรตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - |
6. พัฒนาเกษตรอินทรีย์ | ราย | 10 | - | - | - | 10 | - | - | - | - | - |
7. วิจัยและพัฒนาการปศุสัตว์ | ราย | 60 | - | - | - | 60 | 90,000 | - | - | - | 90,000 |
8.พัฒนาแหล่งน้ํา เพิ่มปริมาณเก็บกักน้ําและขยาย พื้นที่ชลประทาน | โครง การ | 31 | 29 | 34 | - | - | 60,522,720 | 81,622,720 | 72,950,667 | - | 215,096,107 |
9. บริหารการจัดที่ดินทํากินเพื่อเกษตรกร | แปลง | 26 | - | - | - | - | - | - | - | - | - |