e-Signature “ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์”
e-Signature “ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์”
การลงลายมือในสัญญา หมายxxx xxxยืนยันหรือรับรองเนื้อหาหรือข้อความxxxxxxxx กําหนดให้ต้อง มีหลักฐานเป็นหนังสือและลายมือชื่อคู่สัญญาไว้เพื่อเป็นหลักฐานในการฟ้องร้องบังคับคดี xxxx การทําสัญญา เช่าอสังหาริมทรัพย์ หรือสัญญากู้ยืมเงิน สัญญาเช่าซื้อ อย่างไรก็ตามในยุคที่ผู้คนจําเป็นจะต้องเว้นระยะห่าง ทางสังคม การทําสัญญาด้วยกระดาษอาจจะไม่สะดวกเหมือนเดิม แต่ทําผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ xxxx จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (อีเมล) ลายเซ็นหรือการลงลายมือชื่อจะทําในลักษณะใดได้บ้าง สัญญาเหล่านั้นถึงจะ xxxxxxxตามกฎหมาย
ปัจจุบันจึงเกิดกฎหมายเพื่อรองรับการใช้งาน e-Signature หรือ “ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์” ที่กําหนดไว้ในกฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ อันหมายxxx xxxสร้างชุดข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็น ในรูปแบบ ตัวเลข xxxxx เสียง หรือสัญลักษณ์อื่นใด เพื่อให้แสดงความxxxxxxxxกับบุคคลผู้เป็นเจ้าของชุดข้อมูล ดังกล่าว โดย ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ แบ่งออกเป็นรูปแบบได้ ดังนี้ (1) ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบทั่วไป (ตามมาตรา 9 ของ พ.ร.บ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ) ให้xxxxxxลงลายมือชื่อแล้ว ต้องxxxxxxระบุ เจ้าของลายมือชื่อได้ มีลักษณะที่แสดงxxxxxของเจ้าของลายมือชื่อ และการใช้วิธีการที่เชื่อถือ (2) ลายมือชื่อ อิเล็กทรอนิกส์การให้บริการกันในกลุ่ม (ตามมาตรา 26 ของ พ.ร.บ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ) ให้xxxxxxเป็นลายมือชื่อที่เชื่อถือได้ ตัวอย่างหนึ่งของลายมือชื่อประเภทนี้ คือ ลายมือชื่อดิจิทัลที่ให้บริการ กันในกลุ่ม โดยเข้ารหัสลับ (Encrypt) ที่xxxxxxตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของลายมือชื่อและข้อความ อิเล็กทรอนิกส์ได้ขณะลงนามเจ้าของข้อมูลเป็นผู้ควบคุมการลงนามของตัวเอง โดยxxxxxxคนอื่นมาสวมรอย หรือบังคับให้ทํา (3) ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ให้บริการโดยผู้ให้บริการออกใบรับรอง (ตามมาตรา 26 ของ พ.ร.บ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ) คล้ายรูปแบบที่ 2) แต่เพิ่มเติมโดยมีใบรับรองที่ออกโดย ผู้ให้บริการออกใบรับรอง เพื่อสนับสนุนลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้น จึงxxxxxxตรวจสอบ ความเปลี่ยนแปลงได้โดยผู้ให้บริการที่เป็นตัวกลาง ตัวอย่างของลายมือชื่อประเภทนี้ คือ ลายมือชื่อดิจิทัล ที่ให้บริการโดยผู้ให้บริการออกใบรับรองนั่นเองในตอนนี้xxxxxxทําได้โดยการลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะxxxxxxxxxxxชื่อบนแท็บเล็ต สมาร์ทโฟน การพิมพ์ชื่อตอนท้ายของอีเมล การกดปุ่มยอมรับข้อตกลง หรือเงื่อนไขต่าง ๆ การใช้ Username-Password หรืออื่น ๆ ได้ทั้งหมด เพราะกฎหมายxxxxxxจํากัดกรอบ หรือประเภทเทคโนโลยีไว้ แต่ได้ให้คุณสมบัติในการพิจารณาเอาไว้ ถ้าครบองค์ประกอบทั้ง 3 ข้อก็ถือเป็น ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้ และอยู่ภายใต้มาตรา 9 ของ พ.ร.บ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ ทั้งนี้
หากผู้ที่ทําธุรกรรมหรือสัญญา จะต้องพึ่งระวังเสมอก่อนลงนามในสัญญา หรือการกดปุ่มยอมรับข้อตกลงหรือ
เงื่อนไขต่าง ๆ
กองเผยแพรแ่ ละxxxxxxxพนั ธ์ หมายเลขโทรศพั ท์ ๐๒ ๑๔๑๓๔๗๐-๕ โทรสาร ๐๒ ๑๔๓ ๙๗๗๒-๓ E-mail : xx.xxxx@xxxxx.xxx
“อินฟxxเอนเซอร์ รูปแบบใหม่การโฆษณา”
ในปัจจุบันปฏิเสธxxxxxxเลยว่าผู้บริโภคมักหาข้อมูลก่อนตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ ซึ่งการรีวิว จากคนที่มีชื่อเสียงหรือมีผู้ติดตามจํานวนมากในโลกxxxxxxล นั้นเป็นจุดเปลี่ยนสําคัญในด้านการตลาดที่มี แนวโน้มเจาะจงเฉพาะกลุ่มxxxxxxxขึ้น ซึ่งเป็นการปรับเปลี่ยนการโฆษณาในรูปแบบใหม่
การโฆษณาในรูปแบบนี้ “อินฟxxเอนเซอร์ (Influencer)” เป็นส่วนสําคัญที่เข้ามามีxxxxxxx ในด้านการตัดสินใจซื้อสินค้าต่าง ๆ อินฟxxเอนเซอร์ คืออะไร? ถ้าจะแปลแบบตรงตัว หมายถึง “ผู้ทรงxxxxxxx บนโลกxxxxxxล” ซึ่งจะบอกว่าใครก็xxxxxxเป็น อินฟxxเอนเซอร์ได้ในปัจจุบัน เพราะไม่ว่าเราหันไปทางไหน ก็จะพบ Blogger Youtuber Instagrammer ที่เป็นผู้มีxxxxxxxต่อผู้ที่ติดตามบนxxxxxxล โดยมีความxxxxxx ในการสื่อสาร สร้างการรับรู้แบรนด์ หรือแม้กระทั่งมีxxxxxxxโน้มน้าวใจให้กลุ่มเป้าหมายxxxxxxควักกระเป๋า ซื้อสินค้าตามที่อินฟxxเอนเซอร์เหล่านั้นแนะนําได้ แน่นอนว่าการปรับเปลี่ยนการบอกเล่าด้วยการโฆษณาโดย อาศัยเหล่า อินฟxxเอนเซอร์ เองก็ยังxxxxxxเป็นการโฆษณาอย่างหนึ่งบรรดาอินฟxxเอนเซอร์เอง ก็ต้องพึ่งระวัง เรื่องของการรีวิวสินค้าxxxxxxจะเข่าข่ายผิดกฎหมาย ขัดต่อศีลธรรม หรือหลอกลวงผู้บริโภค รวมxxxxxxใช้ ข้อความโฆษณาที่เข้าข่ายเป็นเท็จ เกินความจริง หรือทําให้เกิดความเข้าใจผิดในสาระสําคัญของสินค้า เพราะการที่อินฟxxเอนเซอร์ ให้ข้อมูลแก่ผู้บริโภคจะต้องรับผิดชอบในข้อมูลนั้น เพราะตามกฎหมายระบุชัดเจน ว่าผู้พูดต้องรับผิดชอบในเนื้อหาที่พูด หากพูดบรรยายxxxxxxxของผลิตภัณฑ์เกินไปจากความจริงหรือxxxxxx xxxxxxxทําให้หลงเชื่อหรือคล้อยตามในสาระสําคัญxxxxxxเป็นความจริง จะxxxxxxเป็นการกระทําที่ผิดกฎหมาย xxxxxxx
xxxจะกล่าวได้ว่าในยุคนี้อินฟxxเอนเซอร์ หรือผู้รีวิวมีส่วนสําคัญในกลไกการตลาดในยุค ออนไลน์ แต่ก่อนจะรีวิวก็ควรหาศึกษาข้อมูลของผลิตภัณฑ์หรือบริการว่าไม่เป็นข้อความที่ห้ามใช้ เป็นเท็จ เกินจริง ซึ่งผิดกฎหมาย และในส่วนของผู้บริโภคเองนั้น ก่อนตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์หรือใช้บริการก็ควรหา ข้อมูลอื่นประกอบการตัดสินใจเพราะต้องตระหนักว่าการรีวิวในโลกออนไลน์ในปัจจุบันก็คือการโฆษณาในอีก รูปแบบหนึ่ง ทั้งนี้หากพบเห็นการรีวิวหรือโฆษณาที่เข้าข่าย เป็นเท็จ เกินจริง หรือทําให้เข้าใจผิดในสาระสําคัญ ท่านxxxxxxแจ้งxxxxxx สายด่วน สคบ. 1166 หรือxxxxxxตรวจสอบการแจ้งเตือนภัยสินค้าประเภทต่าง ๆ ในเว็ปไซต์ xxxxxxxxxxx.xxxx.xx.xx
กองเผยแพรแ่ ละxxxxxxxพนั ธ์ หมายเลขโทรศพั ท์ ๐๒ ๑๔๑๓๔๗๐-๕ โทรสาร ๐๒ ๑๔๓ ๙๗๗๒-๓ E-mail : xx.xxxx@xxxxx.xxx
โปรโมชั่นอย่างไร ? ให้ถูกกฎหมาย
น่าแปลกใจใช่ไหม ? ในหลายครั้งที่เราxxxxxxxxxxลมีเดียต่าง ๆ จะพบเห็นโฆษณาสินค้าที่ สอดแทรกเข้ามา ซึ่งในหลายๆ ครั้งก็เหมือนความxxxxxxxxxxโฆษณาที่สอดแทรกxxxxxxแสดงผลตรงกับความ ต้องการของเราที่เป็นการการค้นหาในอินเตอร์เน็ต หรือแค่การพูดถึงสินค้าเหล่านั้น การตลาดออนไลน์ หรือ การโฆษณาจัดโปรโมชั่นผ่านช่องทางxxxxxxลมีเดีย พบว่าในประเทศไทยxxxxxxลมีเดียที่คนไทยเข้าถึงมากที่สุด ในปี พ.ศ. 2563 ได้แก่ facebook ซึ่งเป็นxxxxxxลมีเดียที่คนไทยใช้เวลาเข้าถึงมากที่สุดในแต่ละวัน โดยพบว่ามี การซื้อสินค้าและบริการผ่านช่องทาง facebook Line Instagram มีxxxxxมาขึ้น หลายธุรกิจนักการตลาดเริ่ม มุ่งเน้นการตลาดออนไลน์โดยการจัดโปรโมชั่นผ่านช่องทางxxxxxxลมีเดีย แต่xxxxxxว่าการให้ใช้ข้อความในการ โฆษณาโปรโมชั่xxxxxxxครบถ้วน มีการใส่รายละเอียดในเงื่อนไขไม่xxxxxxxครบถ้วนตามที่กฎหมายกําหนด นอกจากจะผิดกฎหมายแล้วยังมีโทษอีกด้วย
ถึงตอนนี้เราจะมาแนะนําการใส่ข้อความโปรโมชั่นในสื่อxxxxxxลอย่างไรให้ถูกต้อง การใส่ ข้อความโฆษณาจะต้องระบุ “xxxxxxจัดโปรโมชั่น” การลงxxxxxxจะต้องแจ้งให้ครบxxxx xxx-เดือน-ปี และต้องเป็น "ภาษาไทยเท่านั้น" จําไว้ว่าต้องแจ้งครบxxxxxxxxxxเริ่มและหมดโปรโมชั่น โดยใช้สูตร 3หน้า-3หลัง คือ ว-ด-ป ถึง ว-ด-ป “เงื่อนไขโปรโมชั่น” ต้องแจ้งเงื่อนไขให้ครบแต่แรก xxxx เฉพาะสินค้าที่มีราคาตั้งแต่ 1,000 บาทขึ้นไป และสินค้าตัวไหนไม่เข้าร่วม “ช่องทางการจําหน่าย” ต้องแจ้งด้วยว่าซื้อได้ที่ไหนบ้าง หน้าร้าน, เว็ปไซต์, xxxเฟสบุ๊ค เป็นต้น “สถานที่รับxxxxx” หากมีหลายสาขาต้องแจ้งด้วยว่า "สาขาไหนบ้างที่ร่วมรายการ" และ หากแจ้งว่า "ทุกสาขา" จะต้องมีบอกด้วยว่า "ทุกสาขานั้นมีที่ไหนบ้าง" โดยอาจจะใส่ไว้ใน ลิ้งค์ หรือ ในคอมเม้นต์ “xxxxxxของแถม” ของแถมเป็นอะไร ราคาเท่าไหร่ มีจํานวนกี่ชิ้น ต้องแจ้งให้ครบถ้วน “xxxxxx ของส่วนลด” ถ้าจัดโปรโมชั่น xxxx "ลด 50%" ต้องบอกด้วยว่า สินค้าตัวไหน ลดจากราคาเท่าไหร่ ลดแล้วเหลือ เท่าไหร่ ถึงตอนนี้ไม่ว่าจะเป็นผู้บริโภคที่จะซื้อสินค้า หรือ พ่อค้าแม่ค้าออนไลน์ ทั้งหลาย ก็รู้แล้วว่าข้อความ โฆษณาโปรโมชั่นจะต้องมีการระบุเงื่อนไขอย่างไรให้ครบถ้วน ซึ่งเป็นผลดีต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคเอง แถมพ่อค้าแม่ค้าออนไลน์มือใหม่ หรือผู้ประกอบธุรกิจก็จะไม่ทําผิดกฎหมายอีกด้วย
กองเผยแพรแ่ ละxxxxxxxพนั ธ์ หมายเลขโทรศพั ท์ ๐๒ ๑๔๑๓๔๗๐-๕ โทรสาร ๐๒ ๑๔๓ ๙๗๗๒-๓ E-mail : xx.xxxx@xxxxx.xxx
นวัตกรรมแห่งการคุ้มครองผู้บริโภค
OCPB Connect เป็นแอพพลิเคชั่xxxx สคบ. สร้างมาเพื่ออํานวยความสะดวก ในการติดต่อ ติดตาม ลดขั้นตอน xxxxxความรวดเร็วในการเข้าถึงหรือทําธุรกรรมด้านการคุ้มครองผู้บริโภคกับ สคบ. และกับ หน่วยงานที่มีหน้าที่คุ้มครองผู้บริโภคมากกว่า 30 หน่วยงาน ภายในแอพพลิเคชั่น OCPB Connect มีคุณสมบัติในการให้บริการรับเรื่องร้องเรียนออนไลน์ ที่เกี่ยวกับสินค้าและบริการต่าง ๆ ในชีวิตประจําวัน การยื่นเรื่องร้องเรียนผ่านแอพพลิเคชั่นดังกล่าวยังxxxxxxตรวจสอบหรือติดตามสถานะของเรื่องร้องเรียนว่ามี การดําเนินการถึงขั้นตอนใด ในเชิงป้องกันภายในแอพพลิเคชั่นดังกล่าว ได้จัดทําข้อมูลข่าวสารการเตือนภัย ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภค การแสดงสถิติปัญหาที่มีการร้องเรียนต่อ สคบ. ว่ามีประเด็นอะไร ที่เป็นปัญหาอยู่ในปัจจุบัน หรือจะตรวจสอบสถานะของผู้ประกอบธุรกิจว่าได้มีการจดทะเบียนหรือดําเนินการ ถูกต้องตามที่กฎหมายกําหนดหรือไม่ สําหรับผู้บริโภคหรือผู้ประกอบธุรกิจที่ต้องการค้นหาข้อมูลอื่น ๆ OCPB Connect ก็ได้มีการเชื่อมโยงฐานข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสาธารณสุข การแพทย์ อาหาร ยา การขนส่ง การคมนาคม การเกษตร อุตสาหกรรม มาตรฐานผลิตภัณฑ์ ธุรกิจการค้า การเงิน การประกันภัย ที่ดิน การบังคับคดี การดําเนินคดี การxxxxxxxxxxxxxx ฯลฯ เพื่อรองรับการเข้าถึง ข้อมูลได้อย่างครบถ้วนที่เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค
นอกจากนี้ ภายในแอพพลิเคชั่น ยังมีบริการพิเศษในการถาม-ตอบ ปัญหาต่าง ๆ แบบอัตโนมัติ โดย Chat Bot พี่xxxxxx ช่วยไขข้อข้องใจเกี่ยวกับการใช้สินค้าหรือบริการต่าง ๆ หรือเกิดปัญหา ให้แก่ผู้บริโภค ผู้ประกอบธุรกิจที่ต้องการปรึกษาได้อย่างรวดเร็ว
สคบ. จึงขอแนะนําให้ทุกท่านดาวน์โหลด OCPB Connect ไว้ใช้งานกัน เพราะเป็นอีกหนึ่ง xxxxxxxxxเหมาะสมกับยุคที่การสื่อสารไร้ขีดจํากัด การเข้าถึงข้อมูลที่เป็นประโยชน์เป็นสิ่งจําเป็นที่จะช่วย คุ้มครองxxxxxของผู้บริโภคได้ เพราะxxxxxxให้ข้อมูลด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในยุคกระแสออนไลน์ฟีเวอร์
กองเผยแพรแ่ ละxxxxxxxพนั ธ์ หมายเลขโทรศพั ท์ ๐๒ ๑๔๑๓๔๗๐-๕ โทรสาร ๐๒ ๑๔๓ ๙๗๗๒-๓ E-mail : xx.xxxx@xxxxx.xxx