Leasing
xxxxxxxxxxxx
โดย นายประดิษฐ แปนxxx
xxxxxนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขากฎหมายเอกชน
คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. 2553
Leasing
By Mr.Xxxxxx Xxxxxxxx
A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Master of Law
Department of Private law Faculty of Law Thammasat University 2010
บทคัดยอ
การศึกษาเรื่องสัญญาลิสซิ่ง ผูเขียนมีวัตถุประสงคในการวิเคราะห กฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งตามหลักกฎหมายตางประเทศ โดยศึกษาในกลุมประเทศ Common Law , Civil Law และอนุสัญญาวาดวยลิสซิ่งทางการเงินระหวางประเทศ ค.ศ.1988(UNIDROIT Convention on International Financial Leasing,1988) และวิเคราะหเปรียบเทียบกับกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งในประเทศไทย ตามประกาศ อธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีการคา (ฉบับที่ 53) เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไข ระยะเวลาที่ใหเชาทรัพยสิน และเกณฑการคํานวณทุนทรัพยของทรัพยxxxxxxให เชาบางประการ ทอาศัยอํานาจตามประมวลรัษฎากร และตามประกาศกระทวงการคลัง เรื่อง เงื่อนไขในการอนุญาตใหบริษัทเงินทุนประกอบกิจการใหเชาทรัพยสินแบบxxสซิ่ง และรางพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจxxสซิ่ง พ.ศ เพื่อใหทราบถึงหลักกฎหมาย
เกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งในสาระสําคัญของสัญญาลิสซิ่ง เรื่อง การเกิดสัญญา แบบของ สัญญา คุณสมบัติของคูสัญญา ประเภทของทรัพยสินในสัญญา หนาที่และความรับผิด ของคูสัญญา และการสิ้นสุดของสัญญาลิสซิ่ง นอกจากนี้ยังไดศึกษาเปรียบเทียบ สัญญาลิสซิ่งกับสัญญาซื้อขาย สัญญาเชาทรัพย และสัญญาเชาซ้ือตามxxxxxx กฎหมายแพงและพาณิชยอีกดวย
ทั้งนี้ เพื่อใหทราบถึงลกษณะของสัญญาลิสซิ่งวา เปนสัญญาประเภทใด และการบังคับใชกฎหมายกับสัญญาลิสซิ่ง ควรจะเปนไปในลักษณะใดจึงจะมีความ เหมาะสมถูกตองแทจริงตามxxxxxรมณของคูสัญญา xxxxxหนาที่และความรับผิดของ คูสัญญาในสัญญาลิสซิ่ง ควรจะเปนอยางไร และสัญญาลิสซิ่งควรจะสิ้นสุดลงเมื่อใด รวมทั้งศึกษาปญหาที่เกิดขึ้นในทางปฏิบัติในการทําสัญญาลิสซิ่งในปจจุบันและมีความ จําเปนหรือไม ที่จะมีการควบคุมการทําสัญญาลิสซิ่ง เพื่อเปนการคุมครองผูบริโภค โดย เปนศึกษาวิจัยจากเอกสาร (Documentary Research)
จากการศึกษาพบวา สัญญาลิสซิ่ง เปนสัญญาไมมีชื่ออยางหนึ่ง เกิดขึ้น จากการประกอบธุรกิจลิสซิ่ง เปนธุรกิจประเภทการบริการจัดหาเงินทุน (Financing) คือ สัญญาที่บุคคลผูเปนเจาของทรัพยสิน หรือเปนผูจัดหาทรัพยสิน นําทรัพยสินนั้นออกให บุคคลอื่นไดใชหรือไดรับประโยชนในทรัพยสินนั้น ดวยการชําระคาลิสซิ่งตอบแทนในการ ใชหรือการไดรับประโยชนในทรัพยสินตามระยะเวลาที่ตกลงกัน โดยเมื่อสิ้นสุดสัญญา
แลว บุคคลxxxxxใชหรือไดรับประโยชนในทรัพยสิน มีxxxxxในการเลือกซื้อทรัพยสิน ทํา สญญาลิสซิ่งตอ หรือสงมอบทรัพยสินนนคืน
สัญญาลิสซิ่ง ไมใชสัญญาเชาทรัพย และไมใชสัญญาเชาซื้อ แตเปน สัญญาที่มีลักษณะพิเศษ โดยเฉพาะเปนสัญญาที่มีคูสัญญาสามฝายและมีการกอนิติ
สัมพันธระหวาง lessor (ผูใหเชา) กับ lessee (ผเชา) และ supplier (ผูจดสงอุปกรณส หรือผูผลิต) ไวในลกษณะพิเศษ
ินคา
การบังคับใชกฎหมายกับสัญญาลิสซิ่งในปจจุบัน ศาลจะใชบทบัญญัติ ลักษณะ เชาทรัพย เชาซื้อ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาใชบังคับในฐานะที่ เปนบทบัญญัติของกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง เพราะสัญญาลิสซิ่งไมมีกฎหมายxxxxxxx ไว นอกจากนี้อาจใชหลักการตีความสัญญาในการตีความสัญญาลิสซิ่งไดอีก แตอยางไรก็ ตาม การใชหลักการตีความสัญญามาใชกับการตีความสัญญาลิสซิ่งมีขอจํากัด และมี ปญหาในทางปฏิบัติ ดังนั้นจึงxxxxxxจะมีกฎหมายของฝายบริหารกําหนดใหการประกอบ ธุรกิจลิสซิ่งเปนธุรกิจที่ควบคุมสัญญา เพื่อใหมีสัญญามาตรฐาน (Standard Form Contract) มาใชบังคับกับสัญญาลิสซิ่ง และใหมีการxxxxxxxกฎหมายมาใชบังคับกับ สัญญาลิสซิ่งโดยเฉพาะ โดยxxxxxxxคํานิยามความหมายของสัญญาลิสซิ่งเอาไว และ การทําสัญญาลิสซิ่งไมตองกําหนดแบบของสัญญาเอาไว ผูใหเชา (the lessor) ใน สัญญาลิสซิ่ง คือ บุคคลซึ่งไดแกบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล และผูเชา (the lessee) ใน สัญญาลิสซิ่ง คือ บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล ที่ตxxxxxครอบครองและใชทรัพยสินxxx xxxxxลิสซิ่ง เพื่อตนเอง ครอบครัว หรือบุคคลที่อาศัยในครอบครัวเดียวกันนั้น หรือ วัตถุประสงคในทางเศรษฐกิจ กิจการอุตสาหกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกรรม หรือ กิจการบริการอยางอนก็ได โดยประเภทของทรัพยสินทเปนวตถุแหงสญญาxxxxxนั้น ไดแก อสังหาริมทรัพยและสังหาริมทรัพยและเมื่อสัญญาลิสซิ่งเกิดขึ้นแลว ผูใหลิสซิ่ง (the lessor) มีหนาที่ในการสงมอบทรัพยสินใหแกผูเชาในสภาพที่ซอมxxxxxแลว และเหมาะ แกการใชประโยชน ผูใหเชามีหนาทในการสงมอบทรัพยxxxxxxไมชํารุดบกพรองหรือไมทําให ผูเชาตองถูกxxxxxxxx หากทรัพยสินนั้นชํารุดบกพรองหรือถูกxxxxxxxxxxวาจะเกิดขึ้นกอน ขณะ หรือหลังจากทําสัญญาแลวผูใหลิสซิ่งตองรับผิด นอกจากนี้ผูใหลิสซิ่งยังมีxxxxxเรียก คาปรับจากผูลิสซิ่งไดหากผูลิสซิ่งไมชําระคาลิสซิ่ง และมีxxxxxในการบอกเลิกสัญญาหาก ผูลิสซิ่งผิดสัญญาในขxxxxเปนสาระสําคัญ รวมทั้งหนาที่ของผูใหลิสซิ่งที่จะตองไปโอน กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินใหแกผูลิสซิ่ง เมื่อผูลิสซิ่งแสดงxxxxxซื้อทรัพยสิน และผูลิสซิ่งก็มี หนาที่ในการใชทรัพยสินดวยตนเอง หามนําทรัพยสินไปใหเชาชวง และตองทําการ
บําxxxxxxxxและซอมแซมทรัพยxxxxxxเชา และการประกันภัยทรัพยสิน รวมทั้งมีxxxxxในการ เลือกซื้อทรัพยสินเมอครบกําหนดระยะเวลาเชา
สวนการสิ้นสุดของสัญญาลิสซิ่งนั้น xxxxxxจะสิ้นสุดลงโดยขอตกลงใน สัญญา โดยการบอกเลิกสัญญาของผูใหลิสซิ่งเมื่อผูลิสซ่ิงไมชําระคาลิสซิ่งxxxxxxxx ลิสซิ่ง หรือทําผิดสัญญาในขxxxxเปนสาระสําคัญ เมื่อไมใชทรัพยโดยชอบหรือไมxxxx xxxxxทรัพยxxxxxxเชาโดยผูใหเชาไดบอกกลาวใหทําใหถูกตองแลวแตผูเชาไมปฏิบัติตาม นอกจากนี้ผูใหลิสซิ่งยังมีxxxxxบอกเลิกสัญญาเมื่อผูลิสซิ่งนําทรัพยxxxxxxลิสซิ่งไปใหลิสซิ่ง ชวงหรือโอนxxxxxxxxลิสซิ่ง โดยมิไดรบความยินยอมจากผูใหลิสซิ่ง
การใชxxxxxบอกเลิกสัญญาของผูลิสซิ่ง ในกรณีที่ผูใหลิสซิ่งไมมีการสง มอบทรัพยสินหรือสงมอบทรัพยสินชักชา หรือสงมอบทรัพยสินไมตรงxxxxxxxxลิสซิ่ง การสงมอบทรัพยxxxxxxไมเหมาะแกการใชประโยชน หรือเมอผูใหxxxxxไมแกไขความชํารุด บกพรองที่รายแรง เมื่อผูลิสซิ่งไดบอกกลาวใหผูใหลิสซิ่งซอมแซมแลวแตผูใหลิสซิ่งไมทํา รวมทั้งเมื่อทรัพยxxxxxxลิสซิ่งสูญหายบางสวน และสวนที่เหลือไมไดประโยชนxxxxxxxx ผูลิสซิ่งก็มีxxxxxบอกเลิกสัญญาได
การสิ้นสุดของสัญญาลิสซิ่งโดยผลของกฎหมาย ในกรณีที่สิ้นระยะเวลา ที่ตกลงกันไวโดยไมตองมีการบอกกลาวลวงหนา ทรัพยที่ลิสซิ่งสูญหายทั้งหมด เมื่อมีการ การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยxxxxxxลิสซิ่ง รวมทั้งการสิ้นสุดลงของสัญญาลิสซิ่ง ในกรณีที่ผู ลิสซิ่งที่เปนนิติบุคคล พนxxxxxxxเปนนิติบุคคล เลิกประกอบกิจการ หรือตกเปนบุคคล ลมละลาย
เนื่องจากการทําสัญญาลิสซิ่งในปจจุบัน มักทําในรูปแบบสัญญา
สําเร็จรูป ดังนั้นสัญญาลิสซิ่งดังกลาวจึงxxxภายใตบังคับตามความหมายของสัญญา สําเร็จรูป ในมาตรา 3 วรรคสี่ แหงพระราชบัญญัติวาดวยขอสัญญาxxxxxเปนธรรม พ.ศ. 2540 และหากสัญญาดังกลาวหากผูใหลิสซิ่งเปนผูประกอบธุรกิจ และผูลิสซิ่งเปนบุคคล xxxxxไดเปนผประกอบอาชีพเปนทางคาxxxxของตน กรณีดังกลาวก็จะเปนคดีผูบริโภคตาม พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ.2551 แตถาผูลิสซิ่ง เปนผูที่ใชทรัพยสินใน การประกอบอุตสาหกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกรรม หรือบริการอยางอื่นเปนทางคา xxxx ดังนั้นขอพิพาทเกี่ยวกับxxxxxหนาxxxxxxxxxxxลิสซิ่ง จึงไมเปนคดีผูบริโภค ตาม พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ. 2551 แตอยางใด
จากปญหาดังกลาวผูเขียนจึงขอเสนอแนะแนวทางการแกไขปญหาการ บังคับใชกฎหมายกับสัญญาลิสซิ่งดังนี้ คือ ใชหลักการตีความสัญญาโดยตองคํานึงถึง ความxxxxxxและเปนธรรมซึ่งผประกอบการคาพาณิชยxxxxxจะxxxxxและปฏิบัติตอกัน และมีการ
xxxxxxxกฎหมายของฝายบริหารกําหนดใหการประกอบธุรกิจลิสซิ่งเปนธุรกิจที่ควบคุม สัญญา เพื่อใหมีสัญญามาตรฐาน (Standard Form Contract) มาใชบังคับกับสัญญา ลิสซิ่ง รวมทั้งการxxxxxxxกฎหมายมาใชบังคับกับสัญญาลิสซิ่งโดยเฉพาะ โดยตราเปน พระราชบัญญัติสัญญาลิสซิ่ง ตอไป
Abstract
This paper seeks to analyze Leasing based on international principles of law such as Common law, Civil law and UNIDROIT Convention on International Financial Leasing 1988. This paper also analyses and compares these international principles with the Thai Law of Leasing based on the Revenue Department’s Declaration number 53 about the Law Governing Turnover Tax. This Declaration covers Leasing principles, methods, conditions, and lease periods. The Declaration also deals with the calculation of value of certain leased properties based on both the Fiscal Code and the conditions laid out in the Ministry of Finance’s Declaration on the Governing to permit capital companies to execute leasing contracts. Finally the Revenue Department’s Declaration covers a Bill regarding Leasing which consists of Leasing principles, contract formation requirements, contractual formalities, qualifications of the parties to a contract, types of property of contract, duties and liabilities of parties, and termination of Leasing. In addition, this study compares Leasing with Purchase contracts, and Lease contracts with Hire purchase contracts based on the Civil and Commercial Code.
This paper argues that Leasing, the enforcement of Leasing, and the parties’ rights and liabilities upon termination of a Leasing contract, should operate according to the intention of the parties. Moreover, this study uses Documentary Research to show current practical problems associated with drawing up Leasing contracts, and whether consumer protection laws should be available to protect parties to a Leasing contract.
Leasing is an innominate contract which is made by the leasing business. This business is a financing service, whereby under a finance lease, the asset owner or asset supplier allows the lessee to acquire the right to use the asset for most of its useful life in return for a rental payment or other benefits based on a stipulated lease period. The lessee finally has the option to buy, send back, or continue leasing at the end of the lease period.
Leasing is not a Lease and Hire Purchase, but rather it is a type of specific transaction generally involving three parties instead of two (the lessor, lessee and supplier or manufacturer).
Presently, the Thai court applies the law of Hire of Property and Hire Purchase found in the Civil and Commercial Code to resolve Leasing enforcement cases. The court may use the principles of contractual interpretation despite these principles having constraints and practical problems. Therefore, the government should legislate to control the leasing transaction for Standard Form Contract. The Law must have an express definition of Leasing. Furthermore, express formalities for Leasing contracts are not necessary.
Under Leasing, the lessor is the natural person or juristic person, and the
xxxxxx is the natural person or juristic person who wants to acquire the right to possess and use the leased property for personal use, or for family or economic objectives such as industry, agriculture, commerce and services. The types of property which can be leased are both properties and real properties. When Leasing commences, the lessor has to transfer the leased property without defects or disturbance of rights to the lessee. If the leased property has some defects or disturbance of rights before transfer of property, the lessor will bare liability for any damage caused by the relevant defect at the time of, or after transfer. However, the lessor has a right to claim for any unpaid rental payments by the lessee. Furthermore, the lessor has the right to terminate the Leasing contract if the lessee makes a fundamental breach of contract. The lessor also has a duty to transfer ownership to the lessee when the lessee evinces their intention to purchase the property. The lessee has the right only to use the leased property by him or herself. Moreover, the lessee cannot enter into a sublease agreement, and must preserve and fix the leased property including taking out insurance on the property. Finally, the lessee has an option to renew the Leasing contract, or buy or return the leased property at the end of the lease period.
The Leasing contract can be terminated as per the contractual terms, or by the lessor in the case that the lessee fails to make rental payments, the lessee makes a fundamental breach of contract, or, the lessee uses the leased property for a purpose which the lessor has expressly prohibited and so informed the lessee prior to conclusion of the contract. Furthermore, the lessor has the right to terminate if the lessee enters into a sublease agreement without the lessor’s permission.
The lessee can invoke the right to terminate the contract in the case that the lessor fails deliver the leased property, the lessor delivers the leased property with delay, delivers a property other than that stipulated in the contract, or, delivers property that is unable to fulfill the lessee’s purpose for leasing. Furthermore, the lessee can terminate the contract if the lessor delivers the property without repairing any known defects which were communicated to the lessee prior to transfer, including leased property that has broken or missing parts which render the property useless.
According to current law, termination of the contract in cases involving the natural person occurs at the end of the stipulated lease period without requiring any advanced communication between the parties. Additionally, termination will occur in the case that the leased property is lost by the lessor in its entirety at the time of delivery. In the case that the lessor is a juristic person, leasing contracts will terminate if the juristic person stops its business or goes bankrupt.
Due to the fact that Leasing is presently being made by Standard Form Contract, Leasing is governed by the definition of Standard Form Contract in section 3 paragraph 4 of The Unfair Contract Terms Act, B.E. 2540 (1997). In the case that the lessor is a business owner and the lessee is normally not a business owner, the Consumer Case Procedure Act 2551 (2008) will apply. However, if the lessee uses the leased property as part of their normal business which falls within the categories of industry, agriculture, commerce or other services, then the Consumer Case Procedure Act 2551 (2008) will not apply.
From this study, this paper asserts that the solution to the problems surrounding the enforcement of Leasing should come from the principles of contractual interpretation with respect to bona fides which business owners should be aware of and apply in their conduct with each other. Furthermore the government should legislate to stipulate the types of leasing transactions to be controlled by specific Leasing contract law, namely the enactment of the current Bill in Parliament regarding Leasing. Finally, the Standard Form Contract should particularly be applied to Leasing transactions in the future.
กิตติกรรมประกาศ
xxxxxนิพนธฉบับนี้เกิดขึ้นได จากการสนับสนุนของคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx ผูเขียนขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงตอทานผูชวย ศาสตราจารย xx.xxxxxxxxx xxxxx ที่xxxxxรับเปนอาจารยที่ปรึกษา และทานไดเสียสละ เวลาใหความรู ใหคําแนะนํา คําชี้แนะและขอมูลตางๆ จนทําใหผูเขียนxxxxxxxxxจะเขียน xxxxxนิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปได และขอกราบขอบพระคุณ ศาสตราจารย ดร.xxxxxx xxxxxxxxx ประธานกรรมการสอบxxxxxนิพนธ ศาสตราจารย ดร.ไพโรจน xxxxxxxxx และ อาจารยไพโรจน วายุภาพ กรรมการสอบxxxxxนิพนธ ที่xxxxxสละเวลาxxxxxคารับเปน กรรมการสอบxxxxxนิพนธ และใหคําชี้แนะในประเด็นปญหาตางๆ เพื่อเปนแนวทางให ผูเขียนปรับปรุงxxxxxนิพนธxxxxxxใหมีความถูกตองและสมบูรณxxxxxxxขึ้น
ผูเขียนขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูง ตอผูชวยศาสตราจารยxxxxxx xxจันทร คณบดีคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxx ในฐานะที่เปนครูผูเปxxxxรัก ที่ ใหความxxxxx และสนับสนุนสงเสริมใหลูกศิษยไดมีโอกาสในการศึกษาตอในครั้งนี้ และ ขอกราบขอบพระคุณศาสตราจารย ดร.ประกอบ xxxxxxxxx อธิการบดีมหาวิทยาลัย xxxxxxxxxxx อาจารยxxxxxx xxxxx และผูชวยศาสตราจารยxxxวัฒน สุทธิแพทย ที่ให โอกาสผูเขียนในการลาศึกษาตอและสนับสนุนทุนการศึกษาใหแกผูเขียน ทั้งใหความ ชวยเหลือและใหกําลังใจแกผเขียนเรื่อยมา
xxxxxนิพนธฉบับนี้สําเร็จลงไดดวยความรวมมือและกําลังใจจากหลายฝาย ผูเขียนตองขอขอบคุณ xxxxxxxxxxxx xxxจันทร ที่ใหกําลังใจผูเขียนมาโดยตลอด พี่อวน พี่ คําปน รุนxxxxxxใหความอนุเคราะหตัวอยางสัญญาลิสซิ่ง xxxxxxxxx xxxxxxxx เพื่อนรักที่ ใหกําลังใจและใหคําปรึกษาและคนควาขxxxxxxxเปนภาษาตางประเทศ คุณxxxxx xxxxxกุล รุนนองที่ชวยในการแปลภาษาตางประเทศ คุณxxxxxx พลรัมย และลูกศิษย ชุมนุมโปงลางนิติศาสตรออนซอนทุกคน ที่ชวยพิมพงาน และชวยทํางานอยางxxxxxxxใน ขณะที่ผูเขียนตองใชเวลาไปศึกษาและเขียนxxxxxนิพนธ และที่ขาดไมไดคือกําลังใจจากพี่ xxxxxx แปนทอง พี่ทิพย สายสุด ที่เปนตัวแทนของคุณพอทา แปนทอง และคุณแมสี แปนทอง บิดามารดาของผูเขียนที่ลวงลับไปแลว
หากxxxxxนิพนธฉบับนี้พอจะใหเกิดประโยชนประการใดxxxบาง ผูเขียนขอม อบไวแกบุคคลxxxxxกลาวมาทุกทานโดยทั่วกัน หากมีขอบกพรองผิดพลาดประการใด ผเขียนขอนอมรับเอาไวแตเพียงผูเดียว
นายประดิษฐ แปนxxx xxxxxxxxลยธรรมศาสตร พ.ศ. 2553
สารบัญ
หนา บทคัดยอ ................................................................................................................. (1)
กิตติกรรมประกาศ.................................................................................................... (9)
บทที่
1. บทนํา.......................................................................................................... 1
1.1 สภาพปญหาและความสําคัญของปญหา.......................................... 1
1.2 วตถุประสงคของการศึกษา.............................................................. 10
1.3 ขอบเขตของการศึกษา .................................................................... 10
1.4 วิธีการศึกษา .................................................................................. 11
1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ .............................................................. 11
2. แนวความคิดพนฐานและวิวัฒนาการของหลกกฎหมายเกยวกับสัญญา ลิสซิ่งในตางประเทศ .................................................................................... 13
2.1 ประเทศระบบ Common Law ........................................................ 13
ก. กฎหมายลิสซิ่งของประเทศสหรัฐอเมริกา .................................... 13
ข. กฎหมายลิสซิ่งของประเทศอังกฤษ ............................................. 17
2.2 ประเทศระบบ Civil Law ............................................................... 24
ก. กฎหมายxxxxxของประเทศฝรั่งเศส............................................. 24
ข. กฎหมายลิสซิ่งของประเทศเยอรมน ............................................ 27
2.3 อนุสัญญาวาดวยลิสซิ่งทางการเงินระหวางประเทศ ค.ศ.1988
(UNIDROIT Convention on International Financial Leasing1988) .. 31 3. หลักกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งในประเทศไทย .......................................... 38
3.1 การเกิดขึ้นและความหมายของสัญญาลิสซิ่ง..................................... 39
3.1.1 แบบของสัญญา................................................................... 56
3.1.2 คุณสมบัติของคูสัญญา......................................................... 58
3.1.3 ประเภทของทรัพยสินในสญญาลั ิสซิ่ง..................................... 60
3.1.4 ประเภทของสญญาลิสซิ่ง...................................................... 61
3.2 xxxxxหนาที่ของผประกอบธุรกิจลิสซิ่ง ................................................ 64
3.3 xxxxxหนาทของผูเชา ........................................................................ 70
3.4 การสิ้นสุดของสัญญาลิสซิ่ง ............................................................. 76
3.5 เปรียบเทียบสัญญาลิสซิ่งกบเอกเทศสัญญาอื่นๆ............................... 80
3.5.1 เปรียบเทียบสัญญาxxxxxกับสัญญาเชาทรพย......................... 80
3.5.2 เปรียบเทียบสญญาxxxxxกับสญญาเชาซื้อ............................. 84
3.5.3 เปรียบเทียบสัญญาลิสซิ่งกับสัญญาซื้อขาย............................ 93 4. บทวิเคราะหในเชิงกฎหมายเปรียบเทียบ......................................................... 101
4.1 ลกษณะของสญญาลิสซิ่งเปนสัญญาประเภทใด ............................... 101 4.2 การบังคับใชกฎหมายกบสญญาลิสซิ่ง.............................................. 117
4.2.1 การนําบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
บรรพ 1, 2 มาใชบังคับกับสญญาxxxxxโดยการตีความสญญา. 132
4.2.2 การนําบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
บรรพ 3 ลกษณะเชาทรพย มาใชบงคบกั ับสัญญาลิสซิ่ง
ในฐานะที่เปนบทบัญญัติของกฎหมายทใกลเคียงอยางยง
4.2.3 การนําบทบญxxxxในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 3 ลกษณะเชาซื้อมาใชบงคบกับสัญญาลิสซิ่ง ในฐานะที่เปนบทบัญญัติของกฎหมายทใกลเคียงอยางยงิ่
....... 137
....... 155
4.2.4 การปรบใชหลักกฎหมายตามแนวคําวินิจฉัยของศาลฎีกา ........ 165
4.3 ปญหาเรื่องxxxxx หนาที่ และความรบผิดของผูประกอบธุรกิจลิสซิ่ง....... 169
4.3.1 ความหมายของผูประกอบธุรกิจลิสซิ่ง .................................... 170
4.3.2 หนาทของผประกอบธุรกิจลิสซิ่งในสัญญาลิสซิ่ง...................... 174
4.3.3 ความรับผิดในความชํารุดบกพรองของทรัพยสินในสัญญาลิสซงิ่ ของผูประกอบธุรกิจลิสซิ่ง ..................................................... 195
4.3.4 ความรบผิดในการxxxxxxxxของทรัพยสินในสัญญาลิสซงิ่
ของผูประกอบธุรกิจลิสซิ่ง ..................................................... 197
4.4 ปญหาเรื่องxxxxx หนาที่ ของผบริโภคในสญญาลิสซิ่ง.......................... 199
4.4.1 ความหมายของผูบริโภคในสญญาลิสซิ่ง ................................ 200 4.4.2 หนาทของผูบริโภคในสัญญาลิสซงิ่ ......................................... 203
4.5 ปญหาการสิ้นสุดของสญญาลิสซิ่ง ................................................... 218
4.5.1 การสนสุดลงของสญญาxxxxxโดยขอตกลงในสญญา .............. 219
4.5.2 การสนสุดลงของสญญาลิสซิ่งโดยการบอกเลิกสัญญาของ
ผประกอบธุรกิจลิสซิ่ง ........................................................... 220
4.5.3 การสนสุดลงของสญญาลิสซิ่งโดยการบอกเลิกสัญญาของ ผูบริโภค .............................................................................. 222
4.5.4 การสนสุดลงของสญญาลิสซิ่งโดยผลของกฎหมายตาม
บทบัญญัติของกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยง ............................ 224
4.6 ปญหาการควบคุมสญญาxxxxxเพอเปนการคุมครองผูบริโภค............. 230
4.6.1 การทําสัญญาลิสซิ่งของผประกอบธุรกิจใหเชาซอแทนการ
ทําสญญาเชาซื้อ .................................................................. 231
4.6.2 การนํากฎหมายเกยวกบการคุมครองผูบริโภคดานสญญา
มาใชกบสัญญาลสซิ ิ่ง........................................................... 232
4.6.3 การนํากฎหมายวาดวยขอสญญาxxxxxเปนxxxxxxใชกับ
สัญญาลิสซิ่ง ....................................................................... 234
5. สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ................................................................. 237
5.1 บทสรุป.......................................................................................... 237
5.2 ขอเสนอแนะ. ................................................................................. 249
บรรณานุกรม ........................................................................................................... 252
ภาคผนวก
ก. รางพระราชบญxxxxสัญญาลิสซิ่ง พ.ศ............................................................. 286
ข. รางประกาศคณะกรรมการวาดวยสญญา เรื่องใหธุรกิจxxxxxเปนธุรกิจ
ที่ควบคุมสัญญา พ.ศ.................................................................................... | 294 | |
ค. | รางพระราชบญxxxxการประกอบธุรกิจลิสซิ่ง พ.ศ............................................. | 298 |
ง. | ตัวอยางสัญญาลิสซิ่ง ................................................................................... | 303 |
จ. | คําxxxxxxxสรรพากร ที่ ท.ป.4/2528................................................................. | 324 |
ฉ. | ประกาศกระทรวงการคลัง เรอง เงื่อนไขในการอนุญาตใหบริษัทเงินทุน ประกอบกิจการใหเชาทรพยสินแบบxxสซิ่ง....................................................... | 326 |
ช. | อนุสัญญาวาดวยลิสซิ่งทางการเงินระหวางประเทศ ค.ศ.1988 UNIDROIT |
Convention on International Financial Leasing (Ottawa, 28 May 1988) ...... 332
ประวัติการศึกษา...................................................................................................... 342
บทที่ 1
บทนํา
1.1 สภาพปญหาและความสําคัญของปญหา
หลักสําคัญในการทํานิติกรรมและสัญญาคือ หลักอิสระในทางแพง (Private Autonomy) และหลักเสรีภาพในการแสดงเจตนา ซงมีรูปแบบที่แสดงออกมาเปนรูปธรรม คือ หลักเสรีภาพในการทําสัญญา (Freedom of Contract) โดยบุคคลทุกคนมีอิสระที่จะ ตกลงทําสัญญากับบุคคลใดก็ได และสามารถกําหนดวัตถุประสงคของสัญญา และแบบ ของสัญญาไดเอง โดยกฎหมายจะเขาไปจํากัดเสรีภาพในการแสดงเจตนาบางกรณี เชน ความสามารถของบุคคล แบบ วัตถุประสงค เปนตน แตบุคคลก็มีเสรีภาพในการ แสดงเจตนาที่สามารถที่จะตกลงกันใหแตกตางไปจากบทบัญญัติของกฎหมายก็ได ถากฎหมายในเรองดังกลาวมิใชกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรม อนั ดีของประชาชน จากหลักการดังกลาวจึงทําใหเกิดมีการตกลงทําสัญญากันของบุคคลที่มี ความหลากหลาย โดยเฉพาะในการประกอบธุรกิจในปจจุบัน มีสัญญาเกิดขึ้นจํานวนมาก ทั้งที่เปนเอกเทศสัญญาหรือสัญญาที่มีชื่อ ดังที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชย และสัญญาอื่นที่ไมไดบัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยหรือ เรียกวาสญญาไมมีชื่อนั่นเอง
สัญญาลิสซิ่ง เปนสัญญาไมมีชื่ออยางหนึ่ง และไมไดบัญญัติไวในประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย เกิดขึ้นจากการประกอบธุรกิจลิสซิ่ง เปนธุรกิจประเภทการ บริการจดหาเงินทุน (Financing) โดยฝายที่ตองการทรัพยสินที่เปนเครื่องจักรและอุปกรณ ตางๆ ในการประกอบกิจการแตไมมีเงินลงทุนซื้อ ไดไปติดตอขอใหบุคคลอีกฝายหนึ่งซึ่ง เปนผูประกอบธุรกิจ หรือสถาบันการเงินใหเปนผูลงทุนซื้อทรัพยสิน ที่เปนเครื่องจักรและ อุปกรณตางๆ มา แลวทําสัญญาใหฝายที่ตองการใชทรัพยสินนั้นเชาทรัพยสินนั้นไปใช ประโยชน โดยชําระคาเชาเปนรายเดือน และเมื่อสิ้นสุดสัญญาเชาแลว ก็สามารถมีสิทธิ ตัดสินใจซื้อและเปนเจาของทรัพยสินที่เชาได ในราคาที่ตกลงกันไวลวงหนา ซึ่งราคาที่ซื้อ ขายกันนั้นจะมีมูลคานอยกวาราคาทรัพยสิน โดยสัญญาดังกลาวนั้นเรียกวาสัญญาเชา แบบลิสซิ่ง หรือสัญญาลิสซงิ
1
ในประเทศไทยมีการประกอบธุรกิจลิสซิ่ง ตั้งแตป พ.ศ. 2521 ตอมาไดมีการ ขยายตัวเพิ่มขึ้นตามความตองการใชเครื่องจักรของผูประกอบการอุตสาหกรรมขนาด กลางและขนาดยอม แตเนื่องจากธุรกิจลิสซิ่งเปนเรื่องใหมที่เกิดขึ้น อีกทั้งผูประกอบธุรกิจ ลิสซิ่งมักจะประกอบธุรกิจใหเชาซื้อควบคูกันไปดวย จึงทําใหเกิดความเขาใจวา สัญญา ลิสซิ่ง คือ สัญญาเชาทรัพยและสัญญาเชาซื้อ ซึ่งการเชาทรัพยและการเชาซื้อมีบัญญัติไว ในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยของไทย แตกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งไมมี กฎหมายบัญญัติไวโดยเฉพาะ และไมไดบัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ตอมาเมื่อป พ.ศ. 2534 ไดมีประกาศของกระทวงการคลัง และประกาศของธนาคารแหง
ประเทศไทย เรื่อง เงื่อนไขการอนุญาตใหบริษัทเงินทุนประกอบกิจการใหเชาทรัพยสินแบบ
ลิสซิ่ง โดยประกาศดังกลาวไดกําหนด ความหมายของสัญญาเชาแบบลิสซิ่ง หลักเกณฑ และเงื่อนไข และขอกําหนดตางๆ เชน ประเภทของทรัพยสินที่สามารถนํามาใหเชาแบบ ลิสซิ่งได วิธีการคํานวณคาเชา หนาที่และความรับผิดของคูสัญญา และระยะเวลาใน การเชา เปนตน
ในปจจุบัน ผูประกอบธุรกิจลิสซิ่ง มักจะประกอบธุรกิจใหเชาซอรวมกันไปดวย อีก ทั้งยังไมมีกฎหมายเรื่องลิสซิ่งบัญญัติไวเปนการเฉพาะ หลักเกณฑการประกอบธุรกิจ ลิสซิ่งตามประกาศกระทรวงการคลังและประกาศธนาคารแหงประเทศไทยก็มีลักษณะ ใกลเคียงกับลักษณะซื้อขายแบบมีเงื่อนไข ลักษณะเชาทรัพย และเชาซื้อ ตามประมวล กฎหมายแพงและพาณิชยเปนอยางมาก จนทําใหผูที่เกี่ยวของทั่วไปเขาใจวา ลิสซิ่ง คือ เชาซื้อ อีกทั้งในปจจุบันไดมีการบัญญัติกฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภค โดยเฉพาะการคุมครองผูบริโภคดานสัญญามาใชบังคับ ตามพระราชบัญญัติคุมครอง ผูบริโภค พ.ศ.2521 (แกไขเพิ่มเติม พ.ศ.2541) และตามกฎหมายฉบับดังกลาวไดให อํานาจคณะกรรมการวาดวยสัญญา ออกประกาศกําหนดหลักเกณฑของสัญญาที่ถูก ควบคุมเพื่อเปนการคุมครองผูบริโภคกอนทําสัญญาไดและไดมีประกาศคณะกรรมการวา ดวยสัญญา เรื่อง ใหธุรกิจใหเชาซื้อรถยนตและรถจักรยานยนตเปนธุรกิจที่ควบคุมสัญญา จึงเกิดปญหาของการเลี่ยงที่จะไมปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการวาดวยสัญญาฉบับ ดังกลาวของผูประกอบธุรกิจใหเชาซื้อรถยนตและรถจักรยานยนต โดยการทําสัญญาเชา แบบลิสซิ่ง หรือสัญญาลิสซิ่งกับผูบริโภค หรือผูเชาซื้อรถยนต หรือรถจักรยานยนตแทน การทําสัญญาเชาซื้อ เพราะสัญญาเชาแบบลิสซิ่ง หรือสัญญาลิสซิ่ง เปนสัญญาที่ไมถูก ควบคุม จึงสามารถที่จะทําขอตกลงตางๆในสัญญาใหแตกตางไปจากเรื่องเชาทรัพยและ เชาซื้อได อีกทั้งเรื่อง ลิสซิ่ง ก็ไมมีบทบัญญัติของกฎหมายบัญญัติไวเปนการเฉพาะ และเมอมีขอพิพาทเรื่องสิทธิหนาที่ของคูสัญญาตามสัญญาขึ้นสูการพิจารณาคดีของศาล
แลว เมอไมมีบทบัญญัติของกฎหมายในเรื่อง สัญญาลิสซิ่ง บัญญัติไวเปนการเฉพาะ การ ที่ศาลจะนํากฎหมายมาปรับใชแกคดีจึงตองนําบทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง ใน ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยลักษณะซื้อขาย เชาทรัพย เชาซื้อ มาบังคับใชกับ สัญญาลิสซิ่ง
ซึ่งผูเขียนจะไดนําเสนอประเด็นปญหาทางกฎหมาย และเสนอแนวทางในการ แกไขปญหาเกี่ยวกับสญญาลิสซิ่ง ดังนี้
1. ประเด็นปญหาลักษณะของสัญญาลิสซิ่ง
การทําสัญญาเชาแบบลิสซิ่ง (Leasing) มีวิวัฒนาการมาจากการใหเชาธรรมดา (Rental) ซงในสมัยกอนเปนการใหเชาแบบถือครอง (Lease hold ) ไดแก การใหเชาที่ดิน และอุปกรณทางการเกษตร และจากการใหเชาแบบถือครองธรรมดาไดพัฒนามาเปนการ ใหเชาซื้อ ตอมาระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมทําใหเกิดการผลิตเพื่ออุตสาหกรรมเปน จํานวนมาก การใหเชาและการใหเชาซื้อจึงไมเพียงพอตอความตองการใชทรัพยสิน ในการประกอบธุรกิจในภาคอุตสาหกรรม สัญญาใหเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่ง(Leasing) จึงเกิดขึ้นในการประกอบธุรกิจประเภทบริการจัดหาเงินทุน (Financing) โดยเจริญเติบโต ควบคูกับการใหเชาทรพยประเภทอื่นและการใหเชาซื้อ
การใหเชาแบบลิสซิ่งไดเริ่มมีขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา มีชื่อเรียกวา Rental Capital ในป ค.ศ.1954 ประเภทสินคาที่สามารถนํามาใหเชาแบบลิสซิ่ง ไดแก รถยนต เครื่องจักรและอุปกรณตางๆในอุตสาหกรรม เครื่องคอมพิวเตอร ตูรถไฟ และ เครื่องจักรที่ใชในการกอสรางดวย กลาวโดยสรุปไดวา ลิสซิ่ง (Leasing) ไมไดมีตนกําเนิด หรือที่มาทางนิติศาสตร แตเมื่อกลาวถึง คําวา ลิสซิ่ง (Leasing) แลว คนทั่วไปมักจะ เขาใจความหมายวา เปนธุรกิจเกี่ยวของกับการเงินการธนาคารหรือสถาบันการเงินตางๆ หมายถึง การบริการจัดหาเงินทุน (Financing) แบบหนึ่ง โดยเปนเครื่องมือในการจัดหา ทรัพยสินประเภทเครื่องจักรอุปกรณ เพื่อนํามาใชประโยชนในกิจการการผลิตและการ ประกอบธุรกิจตางๆแทนการซื้อ ซึ่งการใหบริการในลักษณะลิสซิ่งนี้ จะทําในรูปแบบของ การเชา หรือสัญญาเชาแบบลิสซิ่ง โดยผูใหเชาจะเปนผูลงทุนซื้อทรัพยสินมาใหเชาแลว เก็บผลประโยชนที่เปนคาเชาทรัพยสินจากผูเชา เมื่อสิ้นสุดสัญญาเชา ผูเชามีสิทธิเลือกที่ จะซื้อทรัพยสินที่เชาเปนกรรมสิทธิ์ของตนเอง หรือทําสัญญาเชาตอ หรือสงมอบทรัพยสิน ที่เชาคืนใหแกผใหเชาก็ได ตามแตจะตกลงกัน
การทําสัญญาลิสซิ่งระหวางผูประกอบธุรกิจลิสซิ่งกับผูบริโภคที่เกิดขึ้นตามหลัก เสรีภาพในการทําสัญญาซึ่งผูบริโภคไมมีอํานาจที่จะตอรองเพื่อแกไขหรือเปลี่ยนแปลง
ขอสัญญาได อีกทั้งการเขาทําสัญญาลิสซิ่งของผูบริโภคกับผูประกอบธุรกิจลิสซิ่ง ซึ่งผูประกอบธุรกิจลิสซิ่งในปจจุบันนี้มักจะประกอบธุรกิจใหเชาซื้อไปพรอมกัน และขอตกลงตามสัญญาลิสซิ่งที่คูสัญญาตกลงกันก็มีลักษณะใกลเคียงกันกับลักษณะ ของสัญญาซื้อขายแบบมีเงื่อนไข สัญญาเชาทรัพย และสัญญาเชาซื้อ ตามประมวล กฎหมายแพงและพาณิชยเปนอยางมาก ดังนั้นจึงมีปญหาความหมายของสัญญาลิสซิ่ง วามีลักษณะอยางไร เกิดขึ้นในประเทศใด และประเทศตางๆที่มีการนําสัญญาลิสซิ่งไปใช นั้น มีหลักการและวัตถุประสงคของสัญญาลิสซิ่งที่มีลักษณะเปนแบบเดียวกันกับสัญญา ลิสซิ่งที่เกิดขึ้นหรือไม และเมื่อนําสัญญาลิสซิ่งไปใชแลว ประเทศตางๆมีการบัญญัติ สัญญาลิสซิ่งไวในกฎหมายเพื่อใหเกิดความชัดเจนแนนอนหรือไม ซึ่งผูเขียนมีความ พยายามที่จะคนควาและวิเคราะห ความหมาย ลักษณะ และสาระสําคัญที่เปน วตถุประสงคของสัญญาลิสซิ่งอันควรจะเปน ตามเจตนาของคูสัญญาที่ตองการจะผูกพัน รวมทงความชดเจนของสัญญาลิสซิ่ง วาควรจะมีการบัญญัติไวในกฎหมายหรือไม ตอไป
2. ประเด็นปญหาเรื่องการบังคบใชกฎหมายกับสัญญาลิสซิ่ง การทําสัญญาลิสซิ่งของผูประกอบธุรกิจลิสซิ่งหรือผูประกอบธุรกิจใหเชาซื้อกับ
ผูบริโภคในปจจุบันนี้ โดยลักษณะของธุรกิจลิสซิ่งและธุรกิจการใหเชาซื้อแลวเปนการ ใหบริการทางการเงินอยางหนึ่ง ผูประกอบธุรกิจมักจะมีอํานาจตอรองที่เหนือกวา และจะเปนผูกําหนดเนื้อหาที่เปนขอตกลงในสัญญา โดยการทําสัญญาลิสซิ่งในรูปของ สัญญาสําเร็จรูป โดยที่คูสัญญาอีกฝายหนึ่งที่เปนผูบริโภคไมมีอํานาจที่จะแกไข เปลี่ยนแปลงขอตกลงหรือเงื่อนไขในสัญญาได มีแตเพียงพิจารณาวาจะทําสัญญาหรือไม เทานั้น (take it or leave it) ดังนั้นเมื่อมีการตกลงเขาทําสัญญากันแลว คูสัญญายอมมี ความผูกพันตามขอตกลงในสัญญา เนื่องจากสัญญาลิสซิ่งไมมีบทบัญญัติของกฎหมาย บัญญัติไวเปนการเฉพาะ และไมไดบัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย หลักเกณฑการประกอบธุรกิจลิสซิ่งตามประกาศของกระทรวงการคลัง และประกาศของ ธนาคารแหงประเทศไทยก็มีลักษณะใกลเคียงกับลักษณะของสัญญาซื้อขายแบบมี เงื่อนไข สัญญาเชาทรัพย และสญญาเชาซื้อ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยเปน อยางมาก จนทําใหบุคคลโดยทั่วไปที่เขาทําสัญญาลิสซิ่งเขาใจวา สัญญาลิสซิ่ง คือ สัญญาเชาซื้อ ดังนั้นจึงเกิดปญหาในการที่จะนํากฎหมายมาบังคับใชกับสัญญาลิสซิ่งวา จะนําบทบัญญัติของประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยในบรรพ 1 หลักทั่วไป และบรรพ 2 หนี้ โดยการตีความสัญญาซึ่งเปนเจตนาที่แทจริงของบุคคลผูเขาทําสัญญา ซึ่งการตีความสัญญาลิสซิ่งนั้น ตองพิจารณาถึงเจตนาที่แทจริงของคูสัญญาที่ตองการ
ผูกพันและพิจารณาถึงความประสงคในทางสุจริตและพิเคราะหถึงปกติประเพณี ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 368 หรือการวินิจฉัยโดยอาศัยประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 4 วรรคสอง โดยอาศัยกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง เพราะกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องนี้ยังไมมีการบัญญัติไวโดยเฉพาะ ดังนั้นกฎหมายที่จะนามา ปรับใชแกคดีจึงอาศัยกฎหมายลักษณะเชาทรัพย เชาซื้อ มาบังคับใชกับสัญญาลิสซิ่งใน ฐานะที่เปนบทบัญญัติของกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง ซึ่งผูเขียนมีความพยายามที่จะ
คนควาวิเคราะห ถึงปญหาการบังคับใชกฎหมายกบสัญญาลิสซิ่ง วาควรจะนําบทบัญญต
ในเรื่องใดมาบังคับใชกับสัญญาลิสซิ่ง และหากมีการเขาทําสัญญาลิสซิ่งโดยเขาใจวา เปนการทําสัญญาเชาซื้อ คูสัญญาจะตองผูกพันกันอยางไร โดยผูเขียนจะไดทําการศึกษา คนควาตอไป
3. ประเด็นปญหาเรื่องสิทธิ หนาที่ และความรบผิดของผูประกอบธุรกิจลิสซิ่ง เนื่องจากในปจจุบันยังไมมีกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่ง บัญญัติไวเปนการ
เฉพาะ แตการประกอบธุรกิจลิสซิ่งและการทําสัญญาลิสซิ่งไดรับความนิยม และมีการทํา สัญญาลิสซิ่งเกิดขึ้นจํานวนมาก สัญญาลิสซิ่งเปนสัญญาที่ทําไดตามหลักหลักอิสระ ในทางแพง (Private Autonomy) และหลักเสรีภาพในการทําสัญญา(Freedom of Contract) ดังนั้นคูสัญญาจึงสามารถที่จะตกลงสิทธิหนาที่ระหวางคูสัญญาในเนื้อหาของ สัญญาไดเอง แตในทางปฏิบัติอาจเกิดปญหาขอพิพาท เรอง สิทธิ หนาที่ และความรบผิด ของคูสัญญาได เพราะสิทธิหนาที่ของคูสัญญาในบางเรื่องไมไดมีการตกลงและกําหนดไว ในสัญญา อีกทั้งในเรื่องสิทธิหนาที่ของคูสัญญาตามสัญญาลิสซิ่งก็ไมมีกฎหมายบัญญัติ ไว ทําใหในปจจุบันมีการทําสัญญาลิสซิ่งโดยที่คูสัญญายังไมมีความเขาใจถึงสิทธิ หนาที่ และความรับผิดที่จะตองผูกพันตามสัญญาลิสซิ่ง ดงนั้นการทําสัญญาลิสซิ่งโดยไมมีความ เขาใจถึงสิทธิ หนาที่ และความรับผิดดังกลาวจึงถือวาเปนชองวางของสัญญา ดังนั้นเมื่อ มีคดีขอพิพาทขึ้นสูการพิจารณาของศาล การที่ศาลจะวินิจฉัยคดีนั้นไดจะตองวินิจฉยโดย การตีความสัญญา เมื่อสิทธิหนาที่ของคูสัญญาตามสัญญาลิสซิ่งไมมีกฎหมายบัญญัติไว โดยชัดแจง เหมือนกับสัญญาเชาทรัพย เชาซื้อ และสัญญาซื้อขาย การวินิจฉัยคดีศาลก็ อาจนําหลักกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่งมาใชในการวินิจฉัย โดยอาศัยหลักของมาตรา 4 วรรคสอง ซึ่งสิทธิ หนาที่ และความรับผิดของผูประกอบธุรกิจลิสซิ่ง ตามประกาศ กระทรวงการคลังกําหนดไว ไมมีความครอบคลุมในเรื่องสําคัญ เชน ความรับผิดใน ความชํารุดบกพรอง และการรอนสิทธิในทรพยสินตามสัญญาลิสซิ่ง สิทธิในการบอก เลิกสัญญาของผูเชาในกรณีที่ทรัพยสินที่เชาชํารุดบกพรอง ซึ่งในปจจุบันนี้ยังไมมีคํา
พิพากษาศาลฎีกาที่ไดวินิจฉัยในประเด็นดังกลาว ทั้งนี้ผูเขียนมีความพยายามที่จะศึกษา วิเคราะหถึงสิทธิ หนาที่ และความรับผิดของผูประกอบธุรกิจลิสซิ่งตามสัญญาลิสซิ่ง โดย ศึกษาวิเคราะหจากกฎหมายสัญญาลิสซิ่งของตางประเทศ และอนุสัญญาวาดวยลิสซิ่ง ทางการเงินระหวางประเทศ ค.ศ.1988 (UNIDROIT Convention on International Financial Leasing,1988) เพื่อเปนแนวทางในการบัญญัติหลักเกณฑในการทําสัญญา ลิสซิ่ง เรื่อง สิทธิ หนาที่ และความรับผิดของผูประกอบธุรกิจลิสซิ่ง และเปนแนวทาง ปฏิบัติที่เปนไปในทิศทางเดียวกันและถูกตองตามกฎหมายตอไป
4. ประเด็นปญหาเรื่อง สิทธิและหนาที่ของผูบริโภคในสัญญาลิสซิ่ง
เมื่อพิจารณาจากลักษณะของสัญญาลิสซิ่งแลว มักจะเปนสัญญาระหวางผู ประกอบธุรกิจซึ่งเปนผูใหเชาหรือผูประกอบธุรกิจลิสซิ่ง กับผูเชาซึ่งเปนผูใชหรือ ไดรับประโยชนในทรัพยสินที่เชาซึ่งเปนผูบริโภค สัญญาลิสซิ่งดังกลาวจึงเปนสัญญา ระหวางผูบริโภค กับผูประกอบธุรกิจการคาหรือวิชาชีพ เมื่อพิจารณาจากความหมาย และสาระสําคัญของสัญญาลิสซิ่งแลว สัญญาลิสซิ่งเปนสัญญาไมมีชื่ออยางหนึ่งที่ คูสัญญาสามารถที่จะตกลงทําสัญญากันอยางไรก็ได ที่ไมขดตอกฎหมายหรือขัดตอความ สงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน ตามหลักเสรีภาพในการทําสัญญา และ หลักเกณฑตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย แตเนื่องจากหลัก เกณฑเกี่ยวกับ สัญญาลิสซิ่ง ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมิไดบัญญัติไวเปนการเฉพาะ แต กฎหมายที่นํามาบังคับใชกับสัญญาลิสซิ่ง เปนหลักเกณฑตามประกาศของ กระทรวงการคลัง และประกาศของอธิบดีกรมสรรพากร ซึ่งเมื่อพิจารณาหลักเกณฑ เหลานั้นแลวจะพบวา เปนหลักเกณฑที่จํากัดหลักเสรีภาพในการทําสัญญา เชน จํากัดคุณสมบัติของผูใหเชาไวเฉพาะธนาคารพาณิชย บริษัทเงินทุนหลักทรัพย บริษัท เครดิตฟองซิเอร หรือหางหุนสวนนิติบุคคลที่มีทุนจดทะเบียนที่รับชําระแลวไมต่ํากวา
60 ลานบาท จํากัดคุณสมบัติของผูเชาไวเฉพาะนิติบุคคลเทานั้น ซึ่งผูเขียนมีความ พยายามที่จะศึกษาวา สัญญาลิสซิ่งสามารถที่จะทําขึ้นระหวางบุคคลธรรมดากับบุคคล ธรรมดา หรือนิติบุคคลที่ไมใชผูประกอบการกับบุคคลธรรมดาไดหรือไม ตามหลักอิสระ ในทางแพง และหลักเสรีภาพในการทําสัญญา เพราะขอกําหนดดังกลาวไมเคารพ ขอบเขตทางกฎหมายของบุคคลอื่น ทําใหบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่ไมมีคุณสมบัติ ดังกลาวไมสามารถที่จะเปนผูใหเชาหรือไมสามารถที่จะตัดสินใจเกี่ยวกับขอบเขตทาง กฎหมายของตนเองดวยตนเองในทางทรัพยสินได โดยจะไดวิเคราะห เปรียบเทียบกับ สัญญาซื้อขายแบบมีเงื่อนไข สัญญาเชาทรัพย และสัญญาเชาซื้อ เพื่อเปนแนวทางในการ
บัญญัติหลักเกณฑในการทําสัญญาลิสซิ่ง เรื่องสิทธิและหนาที่ของผูบริโภคในสัญญา ลิสซิ่ง และเปนแนวทางปฏิบัติที่เปนไปในทิศทางเดียวกันและถูกตองตามกฎหมายตอไป
5. ประเด็นปญหาการสิ้นสุดของสัญญาลิสซิ่ง การสิ้นสุดของสัญญาลิสซิ่งอาจเกิดจาก การเลิกสัญญาซึ่งเปนการทํานิติกรรมอัน
ใหมเพื่อระงับสิทธิ หรือระงับนิติสัมพันธอันเดิมที่มีผลผูกพันระหวางคูสัญญา การเลิก สัญญานั้นเกิดจากคูสัญญาทั้งสองฝายตกลงกันเลิกสัญญาที่ไดทําขึ้นแลว หรือการบอก เลิกสัญญาโดยคูสัญญาเพียงฝายใดฝายหนึ่งเปนฝายบอกเลิกสัญญา โดยที่คูสัญญาอีก ฝายหนึ่ง ไมจําตองเห็นพองดวยซึ่งการเลิกสัญญาโดยวิธีนี้จะตองเปนไปตามบทบัญญัติ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 2 หนี้ เรื่องการบอกเลิกสัญญาโดยขอ สัญญา มาตรา 386 กลาวคือ ไดมีการระบุไวในสัญญาวา ถามีการผิดสัญญาหรือการไม ชําระหนี้อยางใดอยางหนึ่งของคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งก็ใหสิทธิคูสัญญาอีกฝายหนงบอก เลิกสัญญาได และนอกจากนี้ยังมีการบอกเลิกสัญญาโดยบทบัญญัติของกฎหมาย มาตรา 387 กับมาตรา 388 เปนกรณีที่ลูกหนี้ไมชําระหนี้ทําใหเจาหนี้มีสิทธิบอกเลิก สัญญาได และมาตรา 389 เปนกรณีที่การชําระหนี้กลายเปนพนวิสัยเพราะเหตุอยางใด อยางหนึ่งที่จะโทษลูกหนี้ไดเจาหนี้มีสิทธิบอกเลิกสัญญาได โดยวิธีการบอกเลิกสัญญา จะตองมีการแสดงเจตนาบอกเลิกสัญญา โดยคูสัญญาฝายที่มีสิทธิในการบอกเลิกสัญญา ไปยังคูสญญาอีกฝายหนึ่งแลวยอมมีผลทําใหสัญญานั้นระงับสนไปหรือสญญาสิ้นสุดลง
การทําสัญญาลิสซิ่งในปจจุบันนี้ มีการทําสัญญาลิสซิ่งอยู 2 ประเภท คือ สัญญา เชาชนิดลงทุน (Financial Lease) ลักษณะของสัญญาลิสซิ่งประเภทนี้จะมีการตกลง ไมใหผูเชาบอกเลิกสัญญาเชากอนครบกําหนดระยะเวลาในสัญญาเชา และสัญญาเชา ชนิดดําเนินงาน (Operating Lease) ลกษณะของสัญญาลิสซิ่งประเภทนี้ จะมีการตกลง ใหผูเชาสามารถบอกเลิกสัญญากอนครบกําหนดระยะเวลาในสัญญาได ซึ่งกรณีดังกลาว ถือไดวาการสิ้นสุดของสัญญาลิสซิ่งโดยขอตกลงในสัญญาลิสซิ่งแตละประเภทนี้มีความ แตกตางกัน และสัญญาลิสซิ่งมักจะมีขอกาหนดหามผูเชาบอกเลิกสัญญาซงเมื่อมีการตก ลงกันไวในสัญญาแลว ผูเชาก็ไมสามารถที่จะบอกเลิกสัญญาโดยอาศัยบทบัญญัติของ กฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 3 เอกเทศสัญญา ลักษณะ 4 เชา ทรัพยมาใชบังคับได เพราะตองถือตามเจตนาที่คูสัญญาไดแสดงไวในสัญญาลิสซิ่งตาม หลักความศักดิ์สิทธิของการแสดงเจตนา และเมื่อพิจารณาถึงหลักเกณฑที่นํามาใชบังคับ กับผูประกอบธรกิจลิสซิ่งตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง เงื่อนไขในการอนุญาตให บริษัทเงินทุนประกอบกิจการใหเชาทรัพยสินแบบลีสซิ่ง ขอ 5(8) การบอกเลิกสัญญา เมื่อ ผูเชาผิดนัดไมชําระคาเชาสองงวดติด ๆ กัน หรือเมื่อผูเชากระทําผิดสัญญาในขอที่เปน
สวนสําคัญ บริษัทเงินทุนตองแจงการบอกเลิกสัญญาพรอมดวยเหตุผลเปนหนังสือใหผู เชาทราบลวงหนาไมนอยกวาสามสิบวันนับแตวันที่ผูเชาไดรับหนังสือดังกลาว ในหนังสือ บอกเลิกสัญญานั้นใหระบุดวยวา หากผูเชาชําระคาเชางวดที่คางชําระหรือแกไข การผิดสัญญาในขอที่เปนสวนสําคัญดังกลาว แลวแตกรณี ภายในสามสิบวันนับ แตวันที่ไดรับหนังสือบอกเลิกสัญญาการบอกเลิกสัญญานั้นเปนอันระงับไป ในกรณีที่ผิดนัดไมชําระคาเชาสองงวดติดตอกัน หรือกระทําผิดสัญญาในขอที่ เปนสวนสําคัญ ภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับหนังสือบอกเลิกสัญญา ใหการบอก เลิกสญญานั้นเปนอนระงับไป ซึ่งหลักเกณฑดงกลาวเปนการนําหลักเกณฑในบทบัญญัติ ของประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 3 เอกเทศสัญญา มาตรา 574 ลักษณะเชา
ซื้อมาใชกับการบอกเลิกสัญญาลิสซิ่ง
นอกจากนี้การสิ้นสุดของสัญญา อาจเกิดจากการครบกําหนดระยะเวลาตามที่ ตกลงไวในสัญญา ซึ่งเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาดังกลาวแลวสัญญาก็เปนอันระงับสิ้นไป และ เนื่องจากสัญญาลิสซิ่งเปนสัญญาเชาทรัพยชนิดหนึ่ง และในปจจุบันนี้ไมมีกฎหมาย บัญญัติไวเปนการเฉพาะ ดังนั้นการสิ้นสุดของสัญญาลิสซิ่งก็อาจเกิดจากทรัพยสินที่ทํา สัญญาลิสซิ่งนั้นเสียหายหรือสูญหายทั้งหมด สัญญาลิสซิ่งก็ระงับไปทันทีโดยไมตอง คํานึงวาการเสียหายหรือสูญหายนั้นเกิดจากความผิดของฝายใด หรือเกิดจากเหตุสุดวิสัย ซึ่งเปนการนําบทบัญญัติของประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 3 เอกเทศสัญญา ลักษณะ 4 เชาทรัพย มาใชบังคับโดยอนุโลม นอกจากนี้ก็ยังมีปญหาวา เมื่อผูเชาใน สัญญาลิสซิ่งตาย หรือตกเปนบุคคลลมละลายในกรณีที่ผูเชาเปนบุคคลธรรมดา หรือผูเชา ที่เปนนิติบุคคลพนสภาพจากการเปนนิติบุคคลแลว สัญญาลิสซิ่งจะสิ้นสุดลงหรือไม
จากขอแตกตางและปญหาตางๆของการสิ้นสุดลงของสัญญาลิสซิ่ง ทั้งที่เปนกรณี ที่มีการตกลงไวในสัญญาที่หามผูเชาบอกเลิกสัญญา กอนครบกําหนดระยะเวลาในการ เชา โดยที่ผูเชาไมสามารถนําบทบัญญัติของประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 3 เอกเทศสัญญา ลักษณะเชาทรัพยมาใชบังคับได และการใหสิทธิผูเชาในการบอกเลิก สัญญาเมื่อผูเชาผิดนัดไมชําระคาเชาสองงวดติดๆกัน หรือผูเชากระทําผิดสัญญาในขอที่ เปนสวนสําคัญ ซึ่งเปนการนําหลักเกณฑในบทบัญญัติของประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชย บรรพ 3 ลักษณะเชาซื้อมาใชบังคบกับสัญญาลิสซิ่ง รวมทั้งการสิ้นสุดของสญญา เมื่อทรัพยสินที่ทําสัญญาลิสซิ่งนั้นเสียหายหรือสูญหายทั้งหมด ซึ่งเปนการนําบทบัญญัติ ของประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 3 เอกเทศสัญญา ลักษณะเชาทรัพยมาใช บังคับกบสัญญาลสซิ่ง ซึ่งขอแตกตางดงกลาวผูเขียนมีความพยายามที่จะศึกษาวิเคราะห
ถึงการสนสุดของสญญาลิสซิ่งวา ควรจะมีหลกเกณฑในการสิ้นสุดของสัญญาอยางไร จึง จะมีความเหมาะสมและใชบังคับไดอยางถูกตองตามกฎหมายตอไป
6. ประเด็นปญหาการควบคุมสัญญาลิสซงเพื่อเปนการคุมครองผูบริโภค
เนองจากในทางปฏิบัติของผูประกอบธุรกิจลิสซิ่งและผูประกอบธุรกิจใหเชาซอ จะ
มีการประกอบทั้งธุรกิจลิสซิ่งและธุรกิจเชาซื้อไปพรอมกัน เพราะเปนการใหบริการทาง การเงินเหมือนกัน แตในการทําสัญญาระหวางผูประกอบธุรกิจกับผูบริโภคมักจะทําเปน สัญญาลิสซิ่ง เพราะสัญญาลิสซิ่งเปนสัญญาที่ไมถูกควบคุมตามประกาศคณะกรรมการ สัญญา เรื่อง ใหธุรกิจใหเชาซื้อรถยนตและรถจักรยานยนตเปนธุรกิจที่ควบคุมสัญญา ตามกฎหมายวาดวยการคุมครองผูบริโภค และเนื่องจากในปจจุบันยังไมมีกฎหมาย เกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งบัญญัติไวเปนการเฉพาะ แตการประกอบธุรกิจลิสซิ่งและการทํา สัญญาลิสซิ่งไดรับความนิยมและมีการทําสัญญาลิสซิ่งเกิดขึ้นเปนจํานวนมาก แตกฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภคไมสามารถที่จะเขาไปควบคุมการกําหนด ขอตกลงในสัญญาลิสซิ่ง เกี่ยวกับสิทธิ หนาที่ และความรับผิดของคูสัญญาซึ่งเปนการ คุมครองผูบริโภคกอนเขาทําสัญญา ในสัญญาลิสซิ่งไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะ การทําสัญญาลิสซิ่งรถยนตและรถจักรยานยนต ทําใหผูประกอบธุรกิจใหเชาซื้อรถยนต และรถจักรยานยนตไปทําสัญญาลิสซิ่งกับผูบริโภคแทนการทําสัญญาเชาซื้อ เพราะสัญญาเชาซื้อเปนสัญญาที่ถูกควบคุมตามกฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภค ซึ่งผูเขียนจะไดทําการศึกษาคนควาวิเคราะหขอตกลงในสัญญาลิสซิ่งเกี่ยวกับสิทธิ หนาที่ และความรับผิดของคูสัญญา เพื่อเปนการชวยลดปญหาขอสัญญาที่ไมเปนธรรม และไม เปนการคุมครองผูบริโภคดานสัญญาในสัญญาลิสซิ่ง ตามกฎหมายวาดวยขอสัญญาที่ไม เปนธรรม และกฎหมายวาดวยการคุมครองผูบริโภค รวมทั้งเสนอแนะแนวทางในการ บัญญัติกฎหมายลักษณะสัญญาลิสซิ่ง ที่กําหนดสิทธิ หนาที่ และความรับผิดของ คูสัญญาในสัญญาลิสซิ่ง เพื่อเปนแนวทางในการกําหนดหลักเกณฑเพื่อควบคุมการทํา สัญญาลิสซิ่งที่เปนการคุมครองผูบริโภคทางดานสัญญา ตามกฎหมายวาดวยการ คุมครองผูบริโภค และกฎหมายวาดวยขอสัญญาที่ไมเปนธรรม และมีความเหมาะสมกับ สภาพปญหา และระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยตอไป
1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา
ลิสซิ่ง
1. ศึกษาแนวคิดพื้นฐานและวิวัฒนาการของหลักกฎหมายเกี่ยวกับสัญญา
2. ศึกษาความหมาย ประเภท และสาระสําคญของสัญญาลิสซิ่ง
3. ศึกษาเปรียบเทียบสัญญาลิสซิ่งกับกฎหมายที่บัญญัติไวในประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชยลักษณะซื้อขาย เชาทรพย และเชาซื้อ
4. ศึกษาปญหาการนําหลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาใชกับสญญาลิสซิ่ง
5. ศึกษาปญหาเรองสิทธิ หนาที่ และความรับผิดของผูประกอบธุรกิจลิสซิ่ง
6. ศึกษาปญหาเรื่องสิทธิและหนาที่ของผูบริโภคในสญญาลิสซิ่ง
7. ศึกษาปญหาการสิ้นสุดของสัญญาลิสซิ่ง
8. ศึกษาปญหาการควบคุมสัญญาลิสซิ่งเพื่อเปนการคุมครองผูบริโภค
1.3 ขอบเขตของการศึกษา
1. ศึกษาวิเคราะหกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งตามหลักกฎหมาย ตางประเทศโดยศึกษาในกลุมประเทศ Common Law, Civil Law และอนุสัญญาวา ดวยลิสซิ่งทางการเงินระหวางประเทศ ค.ศ1988 (UNIDROIT Convention on International Financial Leasing 1988)
2. ศึกษาวิเคราะหกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งในประเทศไทยตามประกาศ
อธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีการคา (ฉบับที่ 53) เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไข ระยะเวลาที่ใหเชาทรัพยสิน และเกณฑการคํานวณทุนทรัพยของทรัพยสินที่ให เชาบางประการที่อาศัยอํานาจตามประมวลรัษฎากร
3. ศึกษาวิเคราะหกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งในประเทศไทย ตาม ประกาศกระทวงการคลังซึ่งอาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติธนาคารพาณิชย พ.ศ. 2522 และพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจการเงิน ธุรกิจหลักทรัพย และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร พ.ศ. 2522 และพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ.2551
4. ศึกษาวิเคราะห เปรียบเทียบ หลักกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่ง ในสาระสําคัญของสัญญาลิสซิ่ง เรื่อง การเกิดสัญญา แบบของสัญญา คุณสมบัติของ คูสัญญา ประเภทของทรัพยสินในสัญญา หนาที่และความรับผิดของคูสัญญา และการ สิ้นสุดของสัญญาลิสซิ่ง
5. ศึกษาเปรียบเทียบหลักกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งกับสัญญาซื้อขาย สัญญาเชาทรัพย และสัญญาเชาซื้อตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
6. ศึกษาวิเคราะหในเชิงกฎหมายเปรียบเทียบวา ลักษณะของสัญญาลิสซิ่ง เปนสัญญาประเภทใด และการบังคับใชกฎหมายกับสัญญาลิสซิ่งควรจะเปนไปใน ลักษณะใด จึงจะมีความเหมาะสมถูกตองแทจริงตามเจตนารมณของคูสัญญา
7. ศึกษาวิเคราะหปญหาเรื่อง สิทธิ หนาที่ และความรับผิดของผูประกอบ ธุรกิจลิสซิ่งในความชํารุดบกพรอง และความรับผิดในการรอนสิทธิของทรัพยสินใน สญญาลิสซิ่ง
8. ศึกษาวิเคราะหปญหาการสิ้นสุดของสัญญาลิสซิ่ง
9. ศึกษาวิเคราะหปญหาการควบคุมสัญญาลิสซิ่งเพื่อเปนการคุมครอง
ผูบริโภค
1.4 วิธีการศึกษา
ในการศึกษาเพื่อจัดทําวิทยานิพนธฉบับนี้ ผูเขียนไดทําการศึกษาและวิเคราะห ปญหาที่เกิดขึ้นในปจจุบัน โดยเปนศึกษาวิจัยจากเอกสาร (Documentary Research) หนังสือ ตํารา บทความ วิทยานิพนธ วารสาร และแนวคําพิพากษาของศาล รวมทั้ง ขอมูลเอกสารทางกฎหมายที่ปรากฏในรูปขอมูลสื่ออิเลคทรอนิกส และเว็บไซดตางๆ ทั้ง ภาษาไทยและภาษาตางประเทศ
1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรบ
จากการศึกษาเรื่องสัญญาลิสซิ่ง โดยทําการศึกษาวิเคราะหเปรียบเทียบ สัญญา
ลิสซิ่งในกฎหมายตางประเทศ และกฎหมายของประเทศไทย รวมทั้งการวิเคราะหป เกิดขึ้นกับสญญาลิสซิ่ง ในประเด็นตางๆ ผูเขียนคาดวาจะไดรับประโยชนดังนี้
ญหาท
ลิสซิ่ง
1. ไดทราบแนวคิดพื้นฐานและวิวัฒนาการของหลักกฎหมายเกี่ยวกับสัญญา
2. ทําใหทราบความหมาย ประเภท และสาระสําคัญ สิทธิหนาที่ และการ
สิ้นสุดลงของสัญญาลิสซิ่ง
3. ทําใหทราบลักษณะของสัญญาลิสซิ่งเปนสัญญาประเภทใด และการบังคับ ใชกฎหมายกับสญญาลิสซิ่งควรจะเปนไปในลักษณะใด
4. ทําใหทราบสิทธิ หนาที่ และความรับผิดของผูประกอบธุรกิจลิสซิ่ง ใน ความชํารุดบกพรอง และความรับผิดในการรอนสิทธิ ของทรัพยสินในสัญญาลิสซิ่ง
5. ทําใหทราบปญหาและแนวทางในการควบคุมสัญญาลิสซิ่งเพื่อเปนการ คุมครองผูบริโภค
6. เพื่อจัดทําขอเสนอแนะใหมีการปรับปรุงและแกไขกฎหมายที่เก่ียวของ ให สอดคลองกับการทําสัญญาลิสซิ่ง ที่เกิดขึ้นจริงในการประกอบธุรกิจในปจจุบัน ทั้งนี้ เพื่อใหเกิดความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่ง และเพื่อเปนการคุมครองผูบริโภค ตอไป
บทที่ 2
แนวความคิดพื้นฐานและวิวัฒนาการของหลกกฎหมายเกยวกบ สัญญาลิสซิ่งในตางประเทศ
การทําสัญญาเชาแบบลิสซิ่ง (Leasing) มีวิวัฒนาการมาจากการใหเชาธรรมดา (Rental) ซึ่งในสมัยกอนเปนการใหเชาแบบถือครอง (Lease hold ) ไดแก การใหเชา ที่ดินและอุปกรณทางการเกษตร และจากการใหเชาแบบถือครองธรรมดาไดพัฒนามาเปน การใหเชาซื้อ ตอมาระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมทําใหเกิดการผลิตเพื่ออุตสาหกรรมเปน จํานวนมาก การใหเชาและการใหเชาซื้อจึงไมเพียงพอตอความตองการใชทรัพยสิน ในการประกอบธุรกิจในภาคอุตสาหกรรม สัญญาใหเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่ง (Leasing) จึงเกิดขึ้นในการประกอบธุรกิจประเภทบริการจัดหาเงินทุน (Financing) โดย เจริญเติบโตควบคูกับการใหเชาทรัพยประเภทอื่นและการใหเชาซื้อ โดยแยกพิจารณา วิวัฒนาการของประเทศตางๆตามระบบกฎหมายดังนี้
2.1 ประเทศระบบ Common Law
ก. กฎหมายลิสซิ่งของประเทศสหรัฐอเมริกา
การใหเชาแบบลิสซิ่งไดเริ่มมีขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา มีชื่อเรียกวา Rental Capital ในป ค.ศ.1954 ประเภทสินคาที่สามารถนํามาใหเชาแบบลิสซิ่ง ไดแก รถยนต เครื่องจักรและอุปกรณตางๆในอุตสาหกรรม เครื่องคอมพิวเตอร ตูรถไฟ และเครื่องจักร ที่ใชในการกอสรางดวย กลาวโดยสรุปไดวา ลิสซิ่ง (Leasing) ไมไดมีตนกําเนิดหรือที่มา ทางนิติศาสตร แตเมื่อกลาวถึง คําวา ลิสซิ่ง (Leasing) แลว คนทั่วไปมักจะเขาใจ ความหมายวา เปนธุรกิจเกี่ยวของกับการเงินการธนาคารหรือสถาบันการเงินตางๆ หมายถึง การบริการจัดหาเงินทุน (Financing) แบบหนึ่ง โดยเปนเครื่องมือในการจัดหา ทรัพยสินประเภทเครื่องจักรอุปกรณ เพื่อนํามาใชประโยชนในกิจการการผลิตและการ ประกอบธุรกิจตางๆแทนการซื้อ ซึ่งการใหบริการในลักษณะลิสซิ่งนี้ จะทําในรูปแบบของ การเชา หรือสัญญาเชาแบบลิสซิ่ง โดยผูใหเชาจะเปนผูลงทุนซื้อทรัพยสินมาใหเชาแลว เก็บผลประโยชนที่เปนคาเชาทรัพยสินจากผูเชา เมื่อสิ้นสุดสัญญาเชา ผูเชามีสิทธิเลือกที่ จะซื้อทรัพยสินที่เชาเปนกรรมสิทธิ์ของตนเอง หรือทําสัญญาเชาตอ หรือสงมอบทรัพยสิน
13
ที่เชาคืนใหแกผูใหเชาก็ได ตามแตจะตกลงกัน ซึ่งสาระสําคัญของกฎหมายลิสซิ่งของ สหรัฐอเมริกาสามารถแยกพิจารณาไดดงตอไปนี้
คณะกรรมการเพื่อการรวบรวมกฎหมายของมลรัฐ (The Commissioners on Uniform States Laws) ไดใหความเห็นชอบในการบรรจุกฎหมายวาดวยกิจการลิสซิ่งใน วัสดุอุปกรณ (Uniform Equipment Leasing Law) ไวใน The Uniform Commercial Code 1 Article 2A Financial Lease Section 2A-103(g) โดยใหคํานิยามของคําวา “Financial Lease” หมายถึง การลิสซิ่ง ซึ่ง (1) ผูใหเชามิไดเปนผูเลือก ผลิต หรือขาย สินคา (2) ผูใหเชาไดมาซึ่งสินคา หรือสิทธิในความเปนเจาของ หรือสิทธิในการใช ประโยชนเพราะเหตุที่มีการลิสซิ่ง และ (3) สําเนาของสัญญาซงเปนหลักฐานแสดงการซื้อ สินคาของผูใหเชาซึ่งผเชาไดรบขณะหรอกอนลงนามในสัญญาลิสซิ่ง หรือการที่ผูเชาไดให ความเห็นชอบในหลักฐานดังกลาว ถือเปนเงื่อนไขแหงความมีผลของสัญญาลิสซิ่ง ซึ่ง ตามบทบัญญัติดังกลาวจะประกอบไปดวย บทบัญญัติในเรื่องการเยียวยาความเสียหาย ในกรณีที่มีการผิดสัญญา การเยียวยาความเสียหายของผูใหเชา ไดแก การเรียกคืนและ ครอบครองทรัพยสินที่ใหเชา การเรียกคาเสียหายในหนี้คาเชาที่เกิดขึ้นในอนาคต นอกจากนี้ยังไดบัญญัติครอบคลุมไปถึงประเด็นตางๆ ที่คูกรณี ไดมีการตกลงกันไวใน สัญญาดวย เชน การโอนสิทธิในการไดรับประกันจากผูขายไปยังผูเชา และนอกจากนี้ คูกรณียังสามารถมีอิสระในการทําสัญญาเปนอยางอื่นนอกจากที่ไดกําหนดไวใน Article 2A ดังกลาวไดอีกดวย จากบทบัญญัติดังกลาวสามารถแยกลักษณะสําคัญของสัญญา เชาแบบลิสซิ่ง หรือสัญญาลิสซิ่งได ดังนี้
1. คุณสมบัติของผใหเชา
บทบัญญัติใน Article 2A มิไดบัญญัติถึงคุณสมบัติของผูใหเชาหรือผูประกอบ ธุรกิจลิสซิ่งไวโดยผประกอบธุรกิจลิสซิ่งในสหรัฐอเมริกาสามารถแบงได 4 ประเภทดังนี้ 2
1 The Uniform Commercial Code หรือ UCC มีลักษณะคลายกับประมวล กฎหมายแพงและพาณิชยของไทย เปนการรวบรวมหลักกฎหมายของมลรัฐ ตลอดจน หลักกฎหมายจากคําพิพากษาของศาลมลรัฐตางๆ (State Courts) หรือศาลรัฐบาลกลาง (Federal Courts) โดยคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิในสาขานิติศาสตร
2 โชติชัย สุวรรณาภรณ, “แนวคิดเบื้องตนในการกํากับดูแลและพัฒนาธุรกิจ Leasing ในประเทศไทยโดยดูตัวอยางธุรกิจ Leasing ในประเทศสหรัฐอเมริกา,” วารสาร การเงินการคลัง.น.73-74,(กันยายน 2540)
1.1 ผูประกอบธุรกิจลิสซิ่งที่เปนธนาคารพาณิชย หรือบริษัท Holding company ที่จัดตั้งโดยธนาคารพาณิชยโดยตองอยูภายใตการกํากับดูแลของทางการ และตองปฏิบัติตามกฎหมาย The Bank Holding Company Act. , The competitive Equality Banking Act. และ Regulation Y เนื่องจากเปนสถาบันการเงินที่รับฝากเงิน ของประชาชนจึงไมควรที่จะทําธุรกิจในลักษณะที่ไมใชการใหสินเชื่อหรือที่มีความเสี่ยงสูง เกินไป
1.2 ผูประกอบธุรกิจลิสซิ่งที่เปนบริษัทในเครือของผูผลิตอุปกรณ หรือ เครื่องจักร (Captive Leasing Companies) เปนผูประกอบธุรกิจลิสซิ่งที่ผูผลิตอุปกรณ หรือเครื่องจักรตั้งขึ้นมาเพื่อชวยเหลือในการขายสินคาของตนเอง ผูประกอบธุรกิจลิสซิ่ง ประเภทนี้ไมไดอยูภายใตการควบคุมของทางการ
1.3 ผูประกอบธุรกิจลิสซิ่งที่เปนบริษัทในเครือของบริษัทจากตางประเทศ ซึ่งก็มีสิทธิเทาเทียมกับบริษัทที่อยูในประเทศ และถาบริษัทตางประเทศนั้นเปนสถาบัน การเงินก็จะตองถูกควบคุมโดยอยูภายใตการกํากับดูแลของทางการและตองปฏิบัติตาม กฎหมายเชนเดียวกนกับสถาบันการเงินภายในประเทศ
1.4 ผูประกอบธุรกิจลิสซิ่งอิสระ คือไมมีความเกี่ยวพันทางโครงสรางผู ถือหุนกับสถาบันการเงินและผูผลิต ผูประกอบการประเภทนี้มีมากที่สุดในสหรัฐอเมริกา และไมถูกควบคุมดวยกฎระเบียบใดๆ
บทบัญญัติใน Article 2A มิไดกําหนดคุณสมบัติของผูเชาเอาไวชัดเจน คงมีแต กําหนดใหผูเชาตองนําทรัพยสินที่เชาไปใชในการประกอบอาชีพของตนเทานั้น (Professional Use) ดงนั้นคุณสมบัติของผูเชาจึงเปนไปตามหลักกฎหมายทั่วไปที่จะตอง มีความสามารถในการทํานิติกรรมตามกฎหมาย และตองเปนผูประกอบอาชีพที่ตองใช ทรัพยสินในทางอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม
2. ทรัพยสินทใหเชา
บทบัญญัติใน Article 2A มิไดกําหนดประเภทของทรัพยสินที่ใหเชาไว คง กําหนดแตลักษณะของ Financial Lease วา ผูใหเชาไดทรัพยสินที่ใหเชามาโดยมิไดเปน ผูเลือก หรือจัดหาทรัพยสินเทานั้น เวนแต หามมิใหเชาเครื่องจักร อุปกรณที่มีลักษณะการ ใชงานเฉพาะ ดังนั้นทรัพยสินที่ใหเชาจึงมิไดมีการจํากัดประเภทของทรัพยสินไว เวนแต เครื่องจักรอุปกรณที่มีลักษณะการใชงานเฉพาะเทานั้น และผูใหเชาตองมีกรรมสิทธิ์ใน ทรัพยสินที่ใหเชา
3. ระยะเวลาในการเชา
กฎหมายไดกําหนดระยะเวลาในการเชา (Lease Term) ตองไมต่ํากวารอยละ 75
ของอายุการใชงานของทรพยสิน
4. หนาที่ของผใหเชา ผูใหเชามีหนาที่ในการสงมอบทรัพยสินใหแกผูเชาไดใชประโยชนในทรัพยสินที่
เชา และมีหนาที่ในการยอมขายทรัพยสินที่เชาและโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินใหแกผูเชา
5. สิทธิของผูเชา
ในระหวางกําหนดระยะเวลาเชา ผูเชาไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญาเชาฝายเดียว แตเมื่อครบกําหนดระยะเวลาในการเชาแลวผูเชามีสิทธิซื้อทรัพยสินที่เชา โดยราคาที่ซื้อ ขายนั้นตองไมต่ํากวารอยละ 10 ของราคาทรัพยสิน และสามารถใชการชําระคาเชาเปน สวนหนึ่งของการชําระราคาซื้อขาย และผูเชามีสิทธิที่จะไดรับโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินที่ เชาจากผใหเชาดวย
6. หนาที่ของผูเชา
โดยหลักแลว ผูเชามีหนาที่ชําระเงิน เพราะผูใหเชานําทรัพยสินออกใหเชา เนื่องจากตองการเงิน นอกจากนี้ ผูเชามีหนาที่ตองรักษาทรัพยสินที่เชาใหอยูในสภาพดี โดยการประกันภัยทรัพยสิน บํารุงรักษาซอมแซม และจัดหาชิ้นสวนมาทดแทนชิ้นสวนที่ ชํารุด เพื่อใหทรัพยสินอยูในสภาพที่เหมาะสม และสามารถจําหนายหรือใหเชาตอไดเมื่อ สนสุดสัญญาเชา นอกจากนี้ผูเชายังมีหนาที่ที่จะไมเคลื่อนยายทรัพยสินและนําทรัพยสิน ไปวางเปนหลักประกัน
7. ประเภทของสัญญาลิสซิ่ง
ในสหรัฐอเมริกา ลิสซิ่ง (Leasing) ใชในความหมายอยางกวาง กลาวคือ หมายความรวมถึงการเชา (Rent) การเชาซื้อ (Hire-purchase) และการซื้อขายสินคา ผอนสงดวย แตในทางปฏิบัติลักษณะของลิสซิ่งจะมีความแตกตางจากสัญญาเหลานั้น ซึ่งสามารถแบงประเภทของสญญาลิสซงตามลักษณะของเศรษฐกิจไดดงนี้ 3
7.1 Dirty Leases เปนการลิสซิ่งที่มีวัตถุประสงคเพื่อเปนหลักประกัน ซงมีลกษณะคลายกับการกูยืมเงิน (Loans)
3 สุดาทิพย เทวกุล ,“ธุรกิจลิสซิ่ง”, (วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2531) ,น.107.
7.2 Net Leases เปนกิจการทางการเงินที่สําคัญ ในกรณีที่ผูใหเชา จําตองรับความเสี่ยงภัยอยางมากในมูลคาทเหลออยูของวสดุอปกรณ แตในขณะเดียวกนั ก็มีความเปนไปไดที่จะกอใหเกิดผลกําไรแกผูใหเชาไดมากเชนกัน
7.3 Tax Oriented Leases เปนการใหเชาแบบลิสซิ่งที่มีลักษณะ สอดคลองกับบทบัญญัติแหงประมวลรัษฎากร (Internal Revenue Code) ซึ่งมักจะมี การเปลี่ยนแปลงอยูเสมอเพื่อใหรัฐสภาสามารถจัดเก็บภาษีไดในจํานวนมากที่สุด และ เพื่อใหสอดคลองกบนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศ
7.4 Operating Leases เปนการใหเชาแบบลิสซิ่งที่เปนการเชาในระยะ สั้น เปนสัญญาเชาที่ผูเชามีสิทธิบอกเลิกการเชาและคืนทรัพยสินที่เชาใหแกผูใหเชา กอน หมดอายุสัญญาได ทรัพยสินที่เชามักเปนทรัพยสินที่ซื้องายขายคลอง และผูใหเชาก็ มักจะคิดคาเสี่ยงภัยไวรวมกับคาเชาที่เรียกเก็บดวย นอกจากนี้ผูใหเชายังเปนผูรับผิดชอบ ในความชํารุดเสียหายของทรพยสินที่ใหเชาและตองใหบริการเกี่ยวกับการบํารุงรกษา และ ซอมแซมความชํารุดบกพรองดวย การเชาประเภทนี้มีลักษณะเชนเดียว กับสัญญาเชา ธรรมดา (Rent)
7.5 Short Term Rentals คือสญญาเชาที่มีระยะเวลาการเชาสั้น
7.6 Financial Leases สัญญาเชาชนิดลงทุน เปนสัญญาเชาแบบ ลิสซิ่งที่มีระยะเวลาในการเชาปานกลาง หรือตลอดอายุการใชงานของตัวทรัพย โดยผูเชา ไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญากอนสิ้นสุดระยะเวลาในการเชา และผูเชาเปนผูมีหนาที่ออก คาใชจายในการซอมแซมและคาบริการอยางอื่น และเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาในการเชาแลว ผูเชาสามารถใชการชําระคาเชาเปนสวนหนึ่งของการกําหนดราคาซื้อขาย และเปนการ ชําระราคาซอขายทรัพยสินที่เชาได
ข. กฎหมายลิสซิ่งของประเทศอังกฤษ
ในประเทศองกฤษ การทําสัญญาเชาแบบลิสซิ่งตองอาศยกฎหมายทวไป และ กฎหมายอื่นทเกี่ยวของมาใชบงคับ โดยกฎหมายองกฤษไดแยกประเภทของสญญาให เชาแบบลิสซงไวในประเภทเดียวกนกับ สญญาเบลเม็นท หมายถึงกรณีทเปน Bailment Lease 4 ซึ่งเปนวิธีการทางกฎหมายอยางหนึ่ง ที่บุคคลที่จะตองการจะซื้อทรัพยสินสิ่งใด
สงหนึ่งแตในขณะนั้นยังไมมีทุนทรพยเพียงพอ อาจจะประกันการครอบครองทรัพยสินนนั้
4 Tom Clark, Leasing,(London : Mc Graw-Hill Book Co.,1978),pp.79-82.
ของตนโดยยงสงวนสิทธิในการใชประโยชนในทรัพยสินนั้นตราบเทาทเขายังชําระคาเชา
ตามจํานวนทกําหนด ซงการคานวณการจํ ายคาเช านั้นตอง มนใจไดวาจานวนเงิํ นที่ผเชู า
จายตามระยะเวลาตามสัญญานนจะสามารถหกกลบคาใชจายตนทุนเริ่มแรกได และเปน การคืนคาใชจายตนทุนใหแกผูใชเชาตลอดอายุของสัญญา1 และจะกลายเปนเจาของ กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินนนโดยสมบูรณเมอชําระครบงวดที่ตกลงไว ซงอาจจะตองชําระเงิน เพิ่มขึ้นอีก แตก็เปนจํานวนเพียงเล็กนอยเทานั้น ซงจะตองตกอยูภายใตหลักเกณฑของ กฎหมายคอมมอนลอว (Common Law Rule) เชนเดียวกับสัญญาในทางพาณิชยอนๆ แตในบางกรณี พระราชบัญญัติบางฉบับเชน พระราชบัญญัติวาดวยการใหสินเชื่อแก ผูบริโภค ค.ศ. 1974 (The Consumer Credit Act 1974) และพระราชบญญัติวาดวย ความไมเปนธรรมของขอความในสัญญา ค.ศ. 1977 (The Unfair Contract Term Act 1977) อาจตองนํามาบงคบใชกบสัญญาลิสซิ่งดวย
กฎหมายเกี่ยวกับสัญญา Bailment ไดรับอิทธิพลจากคําพิพากษา ไดพัฒนา
สัญญาเชา (leasing or hiring) ใหมีความหลากหลายมากขึ้น เชน สัญญา finance lease สัญญา operating lease และ สัญญา hire purchase และเนื่องจากสัญญา Bailment มีลักษณะที่ใกลเคียงกับสัญญาใหเชาแบบลิสซิ่ง และสัญญาเชาซื้อ แต สัญญาเชาซื้อก็แตกตางจากสัญญาใหเชาแบบลิสซิ่งตรงที่ สัญญาเชาซื้อไมใชสัญญา Bailment โดยมีหลักเกณฑในการแยกความแตกตาง คือ การมีขอสงวนในการโอน กรรมสิทธิ์ จากลักษณะดังกลาวทําใหการใหเชาทรพยสินแบบลิสซิ่งในประเทศอังกฤษ ไม มีกฎหมายบัญญัติไวโดยเฉพาะ จึงตองนํากฎหมายทั่วไป และกฎหมายอื่นๆที่เกี่ยวของ มาบังคับใช หลักเกณฑของการแยกประเภทของสัญญาวาจะตกอยูภายใตหลักเกณฑ ของกฎหมายใดในอังกฤษ จะตองพิจารณาสัญญาแตละประเภทเสียกอน ซึ่งสามารถ แยกพิจารณาลกษณะที่สําคัญของสัญญาเชาแบบลิสซิ่งไดดังนี้
1. คุณสมบัติของผูใหเชา ดวยเหตุที่ไมมีกฎหมายเรื่องลิสซิ่งบัญญัติไวโดยเฉพาะ จึงไดนํากฎหมายทั่วไป
เกี่ยวกับการเชาทรัพย เชาซื้อ และการซื้อขายแบบมีเงื่อนไข มาบังคับใช คุณสมบัติของ ผใหเชาจึงไมมีกําหนดไว แตมีพระราชบญญัติวาดวยการใหสินเชื่อแกผูบริโภค ค.ศ. 1974 (The Consumer Credit Act 1974) บัญญัติสถานะของเจาของทรัพยสินหรือผูใหเชาไม
5 Robert Drake and James Rider, European Financing Laws,(London : Chancery Law Publishing ,1990 ) , pp 70-73.
จํากัดวา จะเปนบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลก็ได ที่มีความสามารถตามกฎหมาย สามารถเขาทําสัญญาได
2. คุณสมบัติของผูเชา
ไมมีการกําหนดคุณสมบัติของผูเชาเอาไวอยางชัดเจน ดังนั้นคุณสมบัติของผูเชา จึงเปนไปตามคุณสมบัติของกฎหมายทั่วไป ที่จะตองมีความสามารถในการทํานิติกรรม ตามกฎหมาย และตองเปนผูประกอบอาชีพที่ตองใชทรัพยสินในทางอุตสาหกรรมและ พาณิชยกรรมของตนเอง (Professional Use)
3.ทรัพยสินที่ใหเชา
ไดมีการนํากฎหมายลักษณะเชาทรัพยแบบธรรมดา มาใชกับการใหเชาแบบ ลิสซิ่ง ซึ่งการเชาทรพยดังกลาวอยูภายใตพระราชบญญัติวาดวยการใหสินเชอแกผบริโภค ค.ศ. 1974 (The Consumer Credit Act 1974) มีวัตถุประสงคเพื่อสรางความคุมครอง แกผูบริโภค ซึ่งรวมถึงผูเชาดวย มิไดบัญญัติวา ทรัพยสินประเภทใดตองอยูภายใต กฎหมายนี้ จึงตองถือวาทรัพยสินทุกประเภทตองอยูภายใตการควบคุมของกฎหมายนี้ และผูใหเชาตองเปนเจาของทรัพยสินสามารถที่จะนําทรัพยสินไปให ผูเชา ไดครอบครอง และใชสอยทรัพยสินได ดังนั้นทรัพยสินที่ใหเชาแบบลิสซิ่งไดจึงเปนทรัพยสินทุกประเภท ทั้งอสังหาริมทรัพย และสังหาริมทรัพย แตสัญญาใหเชาแบบลิสซิ่ง จะถูกควบคุมโดย ขอบัญญัติควบคุมการเชา ค.ศ. 1973 (The Control of Hiring Order 1973) โดย ทรัพยสินที่ถูกควบคุมไดแก รถยนตนั่งสวนบุคคลของเอกชน เครื่องรับโทรทัศน วิทยุ และเครองใชไฟฟา เปนตน
4. ระยะเวลาในการเชา
ในสัญญาเชาแบบลิสซงจะกําหนดระยะเวลาในการเชาเทากับอายุการใชงานของ ทรัพยสิน ซึ่งคาเชาจะครอบคลุมราคาทรัพยสิน และคาบริการทางการเงิน (Finance Charge) และสิทธิประโยชนในทางภาษี
5. หนาที่ของผูใหเชา ผูใหเชามีหนาที่ในการสงมอบทรัพยสินใหแกผูเชาไดใชประโยชนในทรัพยสินที่
เชา และมีหนาที่ในการยอมขายทรัพยสินที่เชาและโอนกรรมสิทธิ์ในทรพยสินใหแกผูเชา
6. สิทธิของผเชา ในอังกฤษไมมีกฎหมายบัญญัติเรื่องการใหเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่ง ไวโดยเฉพาะ
จึงตองบังคับตามหลักเสรีภาพในการแสดงเจตนาของคูสัญญา ถามีการตกลงในสัญญา เชาใหผูเชามีสิทธิเลือกซื้อทรัพยสินที่เชาเมื่อสัญญาเชาสิ้นสุดลง ก็ตองบังคับตาม ขอตกลงนั้นและนํากฎหมายลักษณะซื้อขายมาใชบังคับ โดยผูเชาจะยกเลิกสัญญาเชา ฝายเดียวไมได
7. หนาที่ของผูเชา
มีการนําขอบัญญัติควบคุมการเชาค.ศ. 1973 (The Control of Hiring Order 1973) มาบังคับใชกับการใหเชาแบบลิสซิ่ง โดยกําหนดให ผูเชาชําระคาเชาตามสัญญา ในแตละงวดสามารถกําหนดจํานวนที่แนนอนในขณะเริ่มสัญญา ซึ่งจํานวนคาเชาที่ตอง ชําระในแตละครั้งมีอัตราไมนอยกวารอยละ 25 ของคาเชาทั้งหมดตามสัญญา และเมื่อ ส้ินสุดอายุของสัญญาผูเชาไมสามารถที่จะเรียกคืนคาเชาที่ไดชําระไปแลว และผูเชามี หนาที่ตองรักษาทรัพยสินที่เชาใหอยูในสภาพดี โดยการประกันภัยทรัพยสิน บํารุงรักษา ซอมแซมและจัดหาชิ้นสวนมาทดแทนชิ้นสวนที่ชํารุด เพื่อใหทรัพยสินอยูในสภาพที่ เหมาะสมและสามารถจําหนาย หรือ ใหเชาตอได เมื่อสัญญาเชาสิ้นสุดลง ผูเชามีหนาที่ ไมเคลื่อนยายทรัพยสิน และไมนําทรัพยสินไปวางเปนหลกทรัพยค้ําประกัน
8. ประเภทของสัญญาลิสซิ่ง 6
8.1 Finance Leasing
ภายใตสัญญา Finance lease ผูใหเชาจะเขาถือสิทธิ์ในทรัพยสิน และ มี สิทธิในเงินเพื่อการใหกู สิทธิในทรัพยจะยังอยูที่ผูใหเชา สวนผูเชาจะมีสิทธิในการใชสอย ทรัพยตามที่มันมีประโยชน การคํานวณการจายคาเชานั้นตองมั่นใจไดวาจํานวนเงินที่ผู เชาจายตามระยะเวลาตามสัญญานั้นจะสามารถหักกลบคาใชจายตนทุนเริ่มแรกได และ เปนการคืนคาใชจายตนทุนใหแกผใชเชาตลอดอายุของสัญญา
สัญญา Finance lease เปน tax-oriented คือ การใชผลประโยชนทางภาษี เกยวกับกรรมสิทธิ์ในทรัพยเพอเปนชองทางใหผเชาจายคาเชาต่ํากวาที่ควรจะตองจาย
เนื่องจากสัญญา finance lease มุงหมายใหทรัพยอยูกับผูเชาตลอด ระยะเวลาตามวัตถุประสงคของการเชา การคืนทรัพยในทายที่สุดแกผูใหเชาไมไดถูกมุง หมายเอาไว ณ เวลาสิ้นสุดของสัญญาหากมีคุณคาที่เหลืออยูของทรัพยสินใหคุณคา
6 Ibid,pp. 70-72.
ดงกลาวตกไดแกผเชา โดยปกติวิธีที่ถูกใชกนแพรหลายในการไดรับสิทธินี้คือ กําหนดใหมี ระยะเวลาชวงที่สองที่เริ่มนับตั้งแตเวลาสิ้นสุดของระยะเวลาชวงแรก ในระหวางนั้นผูเชา สามารถจายคาเชาเพียงในนามได แตอยางไรก็ตามผูเชาไมมีสิทธิโดยแจงชัดในการไดมา ซึ่งทรัพย ณ เวลาสิ้นสุดของสญญา สิทธิเชนวานั้นอาจจะกอตั้งสญญาเชาซื้อ และผูใหเชา ไมมีสิทธิเขียนความยินยอมเกี่ยวกับคาใชจายตนทุนนอกเหนือจากนั้นไมวาจะเปนกรณี ดังกลาวหรือไม
ภายใตการดําเนินตามสัญญา Finance lease ผูใหเชาตองไมเขาไปยุง เกี่ยวกับชางซอมที่คอยควบคุมตามสัญญาเชา หรือการประกันวาผูเชา จะรักษาทรัพยให อยูในสภาพดีหรือไม แตผูใชเชาตองแนใจวาสัญญาไดสงวนอัตราเงินในการคืนเอาไวแลว ดงนนโดยทั่วไปสัญญา finance lease จะรวมขอกําหนดตางๆไวในสัญญา ดังนี้
1.ขอกําหนดที่กําหนดใหสิทธิแกผูใหเชาเรียกคาเชาที่เหลืออีกตอไป โดยผูเชาตองจายคาเชาไมวาจะสามารถใชทรัพยสินไดหรือไมก็ตาม “Hell of High Water”
2.ขอกําหนดในการแสดงภาษีและขอสันนิษฐานตางๆในจํานวนการ
ชําระคาเชา ที่ตองถูกคํานวณ และการจัดใหมีการแกไขตางๆเพื่อสงวนไวซึ่งการคืนภาษี ภายหลังซึ่งอาจจะเปนขอสันนิษฐานที่ถูกพิสูจนวาไมถูกตองหรือหรือไมถูกตองตั้งแตตน
3.ขอกําหนดตางๆในกรณีที่สัญญาสิ้นสุดกอนเวลาอันควร ผูใหเชา ตองไดรบจํานวนเงินเทากับการชําระคาเชา ในปจจุบันโดยตองยอมรับวาสัญญาเชายังคง ดําเนินตอไปตามระยะเวลาเดิมที่ไดกําหนดไว พรอมกับคาชดเชยที่ตองจายเพิ่มในกรณีที่ สัญญาสิ้นสุดกอนกําหนด เนื่องมาจากขอเท็จจริงที่วาการชําระคาเชาถูกเรงใหเกิดขึ้น และจํานวนเงินดังกลาวที่ไดรับมากอนหนาอาจจะถูกผูใหเชานําไปใชในการลงทุนใหม และ รวมถึงราคาที่สามารถเปลี่ยนเปนตัวเงินไดของทรัพยในขณะที่สัญญาสิ้นสุดกอน เวลาอันควรถามี
Finance leasing มี 3 ประเภท ดังนี้
ก. Full Amortization Lease เปนการลิสซิ่งที่ระยะเวลาในการเชาไดถูก กําหนดไวเปนระยะเวลาเทากับอายุการใชงานของทรัพยเกิดขึ้นในการลิสซิ่งรถยนตซึ่ง แบงเปน 2 ชวง ในชวงแรกคาเชาจะครอบคลุมราคาเต็มจํานวนของรถยนตบวกกับ คาบริการทางการเงิน (Finance Charge) และในชวงทสอง สามารถขยายตอจากการเชา ระยะเวลาที่หนึ่งได โดยไมมีการกําหนดคาเชาเอาไว เมื่อสัญญาเชาสิ้นสุดลงผูใหเชาจะ ขายรถยนต และเงินที่ไดจากการขายรถยนตจะคืนใหแกผูเชาในฐานที่เปนคาเชาที่ไดรับ คืน ซึ่งในกรณีนี้ผูเชาเปนผูรับความเสี่ยงในราคาที่ลดลงของทรัพยสินนั้น
ข. Open-Ended Lease เกิดขึ้นในการลิสซิ่งรถยนต โดยบริษัทลิสซิ่งจะ ซื้อทรัพยสิน คือรถยนต ตามคําขอของผูเชาและจะนําไปทําการลิสซิ่งแกผูเชาภายใน ระยะเวลาทไดตกลงกันไว โดยผูเชามีสิทธิทจะเลือกซอทรัพยสินเมื่อสิ้นสุดการเชาในเวลา ใดก็ไดภายหลังระยะเวลาขั้นต่ําไดสิ้นสุดลง โดยปกติแลวระยะเวลาขั้นต่ําจะเทากับ 12 เดือน โดยการชําระเงินคาเชางวดสุดทายจะมีการกําหนดไวลวงหนาเปนจํานวนรอยละ ของราคารถยนต
ค. Balloon Leasing เกิดขึ้นในสัญญาลิสซิ่งรถยนต โดยผูเชาตกลงที่จะ ชําระคาเชาและมีสิทธิเลือกซื้อรถยนต หลังจากระยะเวลาในการเชาไดสิ้นสุดลงแลว โดย สามารถซื้อไดในราคาตามมูลคาทเหลืออยูของทรัพยสินนั้น
8.2 Contract Hire หรือ Operating leases
ภายใตสัญญา operating lease มุงหมายใหผูเชาไดใชประโยชนในทรัพยสินแต
เพียงบางสวนเทานั้น โดยผูใหเชาอาจใหเชาทรัพยสินมากกวาครั้งหนง
หรือ อาจใหม
ีผเชา
หลายคนในเวลาเดียวกันก็ได สัญญานไมไดคาดหวังใหคาใชจายตนทุนเริ่มแรกนั้นถูกหัก กลบโดยสมบูรณในระหวางอายุของสัญญาเชาแตอยางใด อีกท้งการจายคาเชาก็ไมนํามา คํานวณบนขอสันนิษฐานนี้ดวย จํานวนของการจายคาเชาจะคํานวณจากราคาตลาดหรือ ราคากลาง ซึ่งสะทอนใหเห็นวาไมเพียงแตขอกําหนดความยินยอมจะมีผลตอผูใหเชา เทานั้น แตยังรวมถึงคุณคาที่เหลืออยูของทรัพยที่ใหเชา ณ เวลาส้ินสุดสัญญาเชาอีกดวย ผูใหเชาตองการคาใชจายตนทุนคืน และ ตองการไดผลกําไรคืนจากการใหเชาอีก หรือ การขายทรัพยสิน ณ เวลาสิ้นสุดของสัญญาเชา
ดังนั้นภายใตสัญญา operating lease ความเสี่ยงทางเศรษฐกิจจะยังคงอยูที่ ผูใหเชา ความเสี่ยงดังกลาว เชน ความชํารุดบกพรองของทรัพย การที่ทรัพยสินเสียหาย และ การซอมแซมทรัพยสินในกรณีที่มันเสียหาย ความเสียหายในภัยพิบัติ และ ความ เสี่ยงในความลาสมัยของทรพย ในสวนสิทธิประโยชนที่เหลืออยูของทรัพยซึ่งอาจจะเปน สาระสําคัญ ณ เวลาที่สัญญาสิ้นสุดยังคงอยูกับผใหเชาดวย
ดังนั้นภายใตสญญา operating lease ผใหเชาตองมนใจวาตนมีความสามารถใน การเอาทรัพยสินกลับมาได ในเรื่องของเงื่อนไขในการคืนทรัพยสินนั้น ทรัพยสินดังกลาว ตองไดรับการประกันความเสียหายในระยะเวลาของสัญญาอีกดวย ดังนั้นในเบื้องตนจึง ตองแนใจกอนวา ทรัพยสินอยูในสภาพที่เหมาะสม และตองมีการชดใชคาเสียหายเต็ม จํานวนในกรณีที่มีความรับผิดบางประการเกิดขึ้นนอกเหนือการเชาทรัพยสินดังกลาว ซึ่ง
ทรัพยสินนั้นตองไดรับการรับประกันอยางเพียงพอกับดอกเบี้ยที่ผูใหเชากําหนดไว และ สวนอื่นๆที่ถูกเคลื่อนยาย ถูกนํากลับคืน หรือถูกแทนที่
เนื่องจากความเสี่ยงทางเศรษฐกิจอันเกี่ยวกับทรัพยสินภายใตสัญญา operating lease ไมไดอยูที่ผูเชา ดังนั้น สัญญา operating lease จึงไมตองแสดงบัญชีงบดุลของผู เชา ผูเชาจึงไมตองระบุ ทรัพยสิน หรือ การจายคาเชาลงบนบญชีงบดุลดังกลาว
contract hire เกิดขึ้นในสัญญาลิสซิ่งรถยนต โดยผูใหเชาจะจัดหารถยนต ใหแกผูเชา และมีการกําหนดระยะเวลาในการเชาไว โดยผูใหเชาจะตองรับผิดชอบใน ราคาที่ลดต่ําลงตามระยะเวลาของทรัพยสินที่ใหเชา และเมื่อสัญญาเชาสิ้นสุดลงแลว รถยนตจะตองคืนใหกับผูใหเชา ซึ่งจะเปนผูไดรับผลกําไรหรือขาดทุนจากการขายรถยนต ที่ใหเชา และในสัญญา contract hire อาจมีขอตกลงเพิ่มเติมเกี่ยวกับการบํารุงรักษา ซอมแซมทรพยสิน ซึ่งโดยปกติผูใหเชาจะเปนผูรับผิดชอบในการซอมแซมและบํารุงรักษา ทรัพยสิน รวมทั้งการหารถยนตแทนที่ในกรณีที่จําเปน
ความแตกตางของสัญญาลิสซิ่ง (finance lease) กับสัญญาเชาซื้อ (hire purchase contract) ในประเทศอังกฤษ
สัญญา hire purchase และสัญญา finance lease มีความคลายคลึงกันใน หลายๆเรื่อง ภายใตการดําเนินการตามสัญญาเชาซื้อนั้น ทรัพยสินที่เจาของขายนั้นเพื่อ สินเชื่อบาน ซึ่งใหเชาทรัพยแกผูใหเชา ผูใหเชาจะจัดใหมีการมัดจํา และ การจายเงินที่ตก ลงกันตามระยะเวลาการเชา ซึ่งตางกับ สัญญา finance lease ตรงที่ ผูใหเชาการจัดการ เชาซื้อตองไดรับความยินยอมอยางแจงชัดในการไดมาซึ่งทรัพยสินสําหรับจํานวนเงินที่ตั้ง เอาไว ณ เวลาสิ้นสุดสัญญาเชา
โดยทั่วไปการดําเนินการตามสัญญาเชาซื้อ จะกระทําเปนกิจจะลักษณะในทุก สวนๆของทรัพยนั้น และ ผูเชายังมีสิทธิในการเลือกการไดมาซึ่งทรัพยสิน การดําเนินการ ตามสัญญาเชาซื้อถือเปนวัตถุประสงคทางบัญชีในการดําเนินการจัดการทรัพยสิน อยาง เดียวกันเพื่อผูใหเชา ดังนั้นทรัพยดังกลาวตองถูกระบุอยูในบัญชีงบดุลของผูใหเชา และ คาเชาที่ยังไมไดชําระถือเปนความผิด เนื่องจากจุดประสงคในการใหสิทธิในการเขียน ขอกําหนดเพิ่มเติมนั้น ผูใหเชาจะอยูในฐานะเจาของทรัพยสินในระยะแรก ของการ ดําเนินการ และตองสิทธิในการเรียกรองขอกําหนดเพิ่มเติมอนๆในลักษณะเดียวกันดวย
เนื่องจากสัญญาเชาซื้อถูกใชกันอยางแพรหลายในหมูผูบริโภค สิทธิทางการเงิน ของพวกเขาจึงตองถูกควบคุมโดย พระราชบัญญัติทางการเงินเกี่ยวกับผูบริโภค (The Consumer Credit Act) ซึ่งดูแลจัดการเรื่องการเงินของผูบริโภค
2.2 ประเทศระบบ Civil Law
ก. กฎหมายลิสซิ่งของประเทศฝรั่งเศส
การใหเชาแบบลิสซิ่งในประเทศฝรั่งเศส เรียกอีกอยางหนึ่งวา credit-bail โดย สภาพถือวา เปนเรื่องของการประกอบธุรกิจใหความชวยเหลือทางดานเงินทุนขั้นพื้นฐาน (basically financial in nature) สําหรับรูปแบบอื่นๆของธุรกิจใหเชาแบบลิสซิ่ง เชน operating lease นั้นในฝรั่งเศสถือวาเปนกรณีของการใหเชาโดยทั่วๆไป (hiring) และ ตองตกอยูภายใตบังคบแหงกฎหมายพาณิชยของฝรงเศส
ในฝรั่งเศสไดบัญญัติกฎหมายเกี่ยวกับลิสซิ่งไวโดยเฉพาะ โดยผูประกอบธุรกิจให เชาแบบลิสซิ่งตองถูกควบคุมภายใตกฎหมายเลขที่ 66/455 ลงวันที่ 2 กรกฎาคม ค.ศ. 1966 ซึ่งเปนกฎหมายที่วาดวยการกําหนดขอบเขตของธุรกิจใหเชาแบบลิสซิ่ง และตัว บุคคลผูประกอบธุรกิจที่เกี่ยวของกับการใหเชาแบบลิสซิ่ง โดย crédit-bail ไดถูกใหคํา นิยามตามกฎหมายดังกลาววาเปนการปฏิบัติการทเกี่ยวกับการใหเชาแบบลิสซิ่ง ในสินคา ทุน หรือวัสดุเครื่องมือเครื่องใชที่มีการซื้อขายเพื่อนํามาใชในกิจการ โดยผูประกอบการ ลิสซิ่งยังคงเปนเจาของกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินดังกลาว และในการปฏิบัติการของบริษัท ดังกลาว อาจอนุญาตใหผูเชาสามารถที่จะขอซื้อทรัพยสิน สินคา หรือวัสดุ เครื่องมือ เครื่องใช ที่เชานั้นได ไมวาจะโดยทั้งหมดหรือบางสวนในราคาที่ตกลงกัน หรืออยางนอย เทากับราคาปกติที่จายเปนคาเชาอยู
หรือกลาวอีกนัยหนึ่งวา สญญา finance lease ในภาษาฝรั่งเศสเรียกวา crédit- bail คือ สัญญาเชาที่เชาทั้งสังหาริมทรัพยควบคูไปกับสิทธิในการซื้อทรัพยสิน ที่ราคาใน ทรัพยสินนั้นตองคํานึงถึงคาเชาตองถูกจายดวย สัญญาลิสซิ่งในฝรั่งเศสนั้น คือ การ ใหบริการทางการเงินโดยอาศัยใหธนาคาร หรือ บริษัททางการเงินซื้ออสังหาริมทรัพย หรือ ทรัพยสินสวนบุคคลตามความตองการของลูกคา และ ใหเอาทรัพยสินดังกลาวใหลูกคา เชาตามคาเชาที่ไดตกลงกนไว กับ สิทธทางเลือกในการซื้อทรพยสินนั้น ณ เวลาสิ้นสุดของ ระยะเวลาตามสัญญา 7 ดังนั้นใน สัญญา leasing นั้นจะเปน สัญญาที่มีคูสัญญา 3 ฝาย เสมอ 8
7 Alexis Maitland Hudson , France Practical Commercial Law , (London : Longman Group Ltd ,1991 ) ,pp.167-168.
8 Ibid,p.169.
ในฝรั่งเศสนนมีเพียงสถาบนทางการเงินเทานั้นที่สามารถเปนผูทําสัญญา crédit- bail ในสังหาริมทรัพยตามกฎหมายได สวนสัญญาแบบอื่นที่ไมใชสัญญา crédit-bail
บริษัทตางๆที่ไมใชธนาคาร หรือ สถาบันการเงินสามารถทําได นอกจากนี้ธนาคารแหง ประเทศฝรั่งเศสยังอนุญาตใหผูประกอบการและผูผลิตสินคา มีสวนเขามาในสัญญา crédit-bail ในฐานะผูใหเชาในผลิตภัณฑ หรือ สินคาของพวกเขาอีกดวย และใน กฎหมายฉบับดังกลาว ก็ใหใชบังคับ กับการทําสัญญาลิสซิ่งอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยที่ ถูกใชเพื่อวัตถุประสงคเฉพาะ การกอสรางและอุปกรณตนทุนรวมทั้ง Goodwill
การทําสัญญา crédit-bail นั้น ตองทําการจดทะเบียนเปนเอกสารสาธารณะไว เปนหลักฐาน หากไมจดทะเบียนตามที่กฎหมายกําหนดจะมีผลเกิดขึ้นกับกรรมสิทธิ์ของผู เชาในทรัพยสินที่ใหเชา เพราะอาจจะไมสามารถบังคับไดตามกฎหมายระหวางผูเชากับ บุคคลที่สามได
ภายใตบังคับของกฎหมายภาษีฝรั่งเศส ทรัพยที่เปนวัตถุแหงการเชานั้นยอมตอง เสื่อมราคาไปตามสภาพปกติของทรพย โดยไมจําตองพิจารณาถึงระยะเวลาในการเชา
การเชาทรัพยสินสวนบุคคลจะตองนําไปจดทะเบียนแบบพิเศษ ณ ศาลพาณิชย (the Commercial Court) ในพื้นที่ที่ผูเชาดําเนินธุรกิจอยู สัญญาเชาอสังหาริมทรัพยที่ นานเกินกวา 12 ป ตองมีการบันทึกไวในสํานักการจดทะเบียนที่ดิน (the Land Registry) หากไมทําตามที่กฎหมายกําหนด สัญญาเชาดังกลาวจะเปนโมฆะไมสามารถใชยันกับ บุคคลที่สามไดตามกฎหมาย 9 ดังนั้น โดยปกติสัญญา finance lease ตองระบุระยะเวลา ในการมีอยูโดยปกติของทรัพยสินที่ใหเชาลงไปดวย ซึ่งสามารถแยกลักษณะสําคัญของ สัญญาลิสซิ่ง ในประเทศฝรั่งเศสไดดังนี้
1. คุณสมบัติของผูใหเชา
ผูประกอบธุรกิจลิสซิ่งในฝรั่งเศส สวนใหญดําเนินการโดยสถาบันการเงิน และ บริษัทลิสซิ่งโดยทั่วไปมีสถานะทางกฎหมายเปนบริษัทเงินทุน (financial enterprise) ผู ประกอบกิจการจะตองไดรบอนุญาตจากกระทรวงการคลัง ดังนั้น ผูใหเชาจึงเปนธนาคาร พาณิชยและสถาบันการเงิน และมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกําหนดไว เชน จะตองมีทุน เบื้องตนจํานวน 100,000 ฟรังค และตองจดทะเบียนกับสภาการเงินแหงชาติ (Conseil National du Cre’dit) นอกจากนี้ธนาคารแหงประเทศฝรั่งเศสยังอนุญาตให ผูประกอบการและผูผลิตสินคามีสวนเขามาในสัญญา crédit-bail ในฐานะผูใหเชาใน
ผลิตภัณฑ หรือ สินคาของพวกเขาอีกดวย 10 และในฝรั่งเศสมีเพียงสถาบันทางการเงิน เทานั้นที่จะสามารถทําสัญญา finance lease ในการเชาอสังหาริมทรัพยได
2. คุณสมบัติของผูเชา ประเทศฝรั่งเศสมิไดกําหนดคุณสมบัติของผูเชาเอาไวชัดเจน คงมีแตกําหนดใหผู
เชาตองนําทรัพยสินที่เชาไปใชในการประกอบอาชีพของตนเองเทานั้น คือจะตองใช ทรัพยสินในทางอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม เทานั้น
3. ระยะเวลาในการเชา
กฎหมายกําหนดไว ใหมีระยะเวลาเทากับอายุการใชงานของทรัพยสิน หากเปน สัญญาเชาอสังหาริมทรัพยที่นานเกินกวา 12 ป ตองมีการบันทึกไวในสํานักการจด ทะเบียนที่ดิน (The Land Registry) หากไมทําตามที่กฎหมายกําหนดสัญญาเชา ดังกลาวจะเปนโมฆะไมสามารถใชยันกับบุคคลที่สามไดตามกฎหมาย
4. ทรัพยสินที่ใหเชา
ประเทศฝรั่งเศสไดมีระเบียบของ crédit-bail วา ทรัพยสินที่ใหเชาตองเปน ทรัพยสินเฉพาะสินคาทุนหรือวัสดุเครื่องมือเครื่องใช ที่มีการซื้อขายเพื่อนํามาใชในกิจการ รวมทั้งกฎหมายไดอนุญาตใหบริษัทลิสซิ่งใหเชาเครื่องจักรอุปกรณที่มีลักษณะเพื่อการใช งานเฉพาะได และในฝร่ังเศสมีเพียงสถาบันทางการเงินเทานั้นที่จะสามารถทําสัญญา finance lease ในการเชาอสังหาริมทรัพยได
6.หนาที่ของผูใหเชา ผูใหเชามีหนาที่ในการสงมอบทรัพยสินใหแกผูเชาไดใชประโยชนในทรัพยสินที่
เชา และ มีหนาที่ในการยอมขายทรัพยสินที่เชาและโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินใหแกผูเชา
1. สิทธิของผูเชา
ในการสัญญาลิสซิ่ง ผูเชาจะไดรบสิทธิในการใชสอยทรัพยไดตามความพอใจของ ตน และ เมื่อสิ้นสุดสัญญา ผูเชาอาจจะซื้อทรัพยสินที่ใหเชานั้นภายหลังหรือไมก็ได ใน กรณีที่สัญญาเชามีการกําหนดสิทธิเพียงฝายเดียวในการซื้อทรัพยสินที่ใหเชาของผูเชา ผู เชาตองระบุลงไปดวยวา สิทธิดังกลาวนั้นจะถูกใชเมื่อใด และ ภายใตเงื่อนไขอะไร ใน กรณีที่สญญาเชาดังกลาวเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย บรรดากฎ และ ระเบียบตางๆที่วาดวย
สิทธิเพียงฝายเดียวในการซื้ออสังหาริมทรัพย ใหใชโดยขอยกเวนของขอกําหนดที่ซึ่ง สิทธิ เพียงฝายเดียวในการซื้อทรัพยสินนั้นถูกจดทะเบียนในสิทธิทางภาษีตามกฎหมาย 11
8.หนาที่ของผูเชา
โดยหลักแลว ผูเชามีหนาที่ชําระเงิน เพราะผูใหเชานําทรัพยสินออกใหเชา เนื่องจากตองการเงิน นอกจากนี้ ผูเชาไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญาเชาฝายเดียวในระหวาง อายุสัญญาเชา และผูเชามีหนาที่ตองรักษาทรัพยสินที่เชาใหอยูในสภาพดี บํารุงรักษา ซอมแซมและจัดหาชิ้นสวนมาทดแทนชิ้นสวนที่ชํารุด เพื่อใหทรัพยสินอยูในสภาพที่ เหมาะสมและสามารถจําหนาย หรือ ใหเชาตอได เมื่อสัญญาเชาสิ้นสุดลง ผูเชามีหนาที่ ไมเคลื่อนยายทรัพยสิน และไมนําทรัพยสินไปวางเปนหลักทรัพยค้ําประกัน นอกจากนี้ผู เชายงมีหนาที่ในการประกันภยในทรัพยที่ใหเชาตามสัญญาเชาปกติ
9. ประเภทของสัญญาลิสซิ่ง
ในประเทศฝรั่งเศส มีรูปแบบของการใหเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่งอยู 2 ประเภท
9.1 Locating Simple เปนสัญญาลิสซิ่งที่เครงครัด สัญญาลักษณะนี้ไมอาจที่ จะกอใหเกิดสิทธิแกผเชาที่จะเลือกซื้อทรัพยสินได แตทรัพยสินนั้นอาจขายใหแกผูเชาเมื่อ สญญาสนสุดลงแลว แตทั้งนี้ผูเชาและผูใหเชาไมตองผูกพันที่จะซื้อขายทรัพยสิน สัญญา ลิสซงลกษณะนี้จะอยภายใตกฎหมายทั่วไป และบริษัททุกชนิดสามารถเขาทําสัญญาได
9.2 Finance Leasing or Crédit-bail เปนรูปแบบการเชาที่ผูเชามีสิทธิที่จะซื้อ ทรัพยสินที่เชาได ไมวาทั้งหมด หรือแตบางสวนในราคาที่ตกลงกัน หรืออยางนอย ก็ เทากับราคาปกติที่จายเปนคาเชาอยู เมื่อสิ้นสุดสัญญาเชาแลว
ข. กฎหมายลิสซิ่งของประเทศเยอรมัน
การทําสัญญาลิสซิ่ง จะถูกทําในกรณีที่ ผูเชาซึ่งยึดถือสิทธิตามกฎหมายใน อสังหาริมทรัพยที่ใหเชาจัดใหมี upfront financing (การเงินลวงหนา) ในสวนของผูเชา ทําไดโดยเขามาทําสัญญาเชา และ รับผิดชอบในการชําระคาเชาใหแกผูใหเชาครบถวน ตามสัญญา รวมถึง คาใชจาย refinancing ที่เกิดจากผูใหเชา และคาเสื่อมราคาในทรัพย
ทใหเชาดวย 12 ในเยอรมนสัญญา financing leasing ถือเปนสญญาเชาที่ผิดจากสัญญา เชาทวไป ซึ่งมีลักษณะพิเศษตรงที่ผเชาไดกําหนดสินคา และเปนหนี้ในการหักกลบลบหนี้ เต็มจํานวน ในราคาของสินคา บรรดาความเสี่ยงทโอนไปยังผเชาตามขอตกลง 13 นบแตป 1970 เปนตนมา ไดการหลั่งไหลของเงินและภาษี นําไปสูการพัฒนามาตรฐานของ สัญญา Leasing ประเภทใหม ซึ่งคลายคลึงกับสัญญา Leasing ในประมวลกฎหมาย แพงเยอรมันใน มาตรา 535 ในสวนที่ผูใหเชาอนุญาตใหผูเชามีสิทธิในการใชวัตถุที่ใหเชา เพื่อใชยันการเชา อยางไรก็ตามสัญญาประเภทนี้ไดสรางความสัมพันธระหวางสามฝาย ดวยกนคือ 14
(1) ผูผลิต หรือ ผูขาย ทรพยสินอันเปนวัตถุแหงสญญาเชา
(2) ผูใหเชาซึ่งอยูในฐานะผูซื้อทรัพยสินอันเปนวัตถุแหงสัญญาเชาและ
(3) ผเชาซึ่งอยูในฐานะผใชทรัพยสินอันเปนวตถุแหงสัญญาเชานั้น
และภายใตการจัดทําสัญญาเชาลิสซิ่งดังกลาว ทําใหสัญญาลิสซิ่งมีความ แตกตางจากสัญญาเชาตามมาตรา 535-580a แหงประมวลกฎหมายแพงเยอรมัน ดงนี้ 15
(1) ผใหเชาทําใหเสียโดยสมบูรณซึ่งหนาทในการบํารุงรักษาทรัพยสินอันเปน วัตถุแหงสัญญาเชา และ บรรดาหนี้ค้ําประกันตางๆ และ แทนที่ผูใหเชาจะโอนสิทธิในการ
ค้ําประกันแกผูเชา ที่ซึ่งผูเชาสามารถใชสิทธิดังกลาวยันกับผูผลต เปนวัตถุแหงสญญาเชาจากการซื้อ และ
หรือ ผูขายทรัพยสินอัน
12 Robert Drake and James Rider,supra note 5, pp.149-150.
13 Kare Lilleholt,Anders Victorin l,Andreas Fotschl,Berte-Elen R. Konow,Andreas Meidell, Amund Bjoranger Torum. Principles of European Law Study Group on a European Civil Code Lease of Goods,(New York : Oxford University Press, 2008).
14 Marco Ardizzoni,Bjoern Bodewaldt, Thilo Von Bodungen , Kristofer Bott, Marco Hartmann-Ruppel, Chistof Kleinmann, Klaus Kupka , Ralf Luedeke , Matthias Menke , Ursel Pall , Felix Prozorov- Bastians ,Dietmar Voelker , Franzjska Wagner ,Sarah Wilkens ,and Florian Wolff , German Tax and Business Law , (London : Sweet&Maxwell ,2005) ,pp.1041-1042.
15 Ibid,p.1042.
(2) ตามหลักเกณฑที่วา คูสัญญาไดตกลงกันกําหนดระยะเวลาพื้นฐานใน การเชาทรัพยสินอันเปนวัตถุแหงสัญญาเชาเอาไว นับเปนกฎเกณฑที่ซึ่งถูกหักกลบอยาง เต็มรูปแบบในระหวางระยะเวลาพื้นฐานเชนนั้นของสัญญาเชา กับสิทธิในการขยาย ระยะเวลา หรือ สิทธิในการซื้อทรัพยสินอันเปนวัตถุแหงสัญญาเชาภายหลังสัญญาเชา สิ้นสุดลง
นอกจากนี้ในสัญญาลิสซิ่ง บรรดาความเสี่ยงที่โอนไปยังผูเชาตามขอตกลง และ อันหลังนี้ไมมีการเยียวยาความเสียหายในกรณีขาดความตกลงกันกับผูใหเชา และ นอกจากนี้สิทธิการเยียวยาแกไขความเสียหายของผูใหเชากับผูจัดหาทรัพยสินจะถูกโอน ไปยังผูเชา ความสัมพันธทางกฎหมายระหวางผูเชาผูจัดหาทรัพยสินจะถูกจํากัดเพื่อการ เยียวยาความเสียหายเทานี้ โดยไมคํานึงถึงในฐานะความสัมพันธกันในทางสัญญา 16 ซึ่งสามารถ สรุปสาระสําคัญของสัญญาลิสซิ่ง ในประเทศเยอรมัน ไดดังตอไปนี้
1. คุณสมบัติของผูใหเชา ไมมีกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งบัญญัติไวโดยเฉพาะ ดังนั้นผูใหเชาจึงเปน
บุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลก็ได
2. คุณสมบัติของผูเชา ไมมีกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซ่ิงบัญญัติไวโดยเฉพาะ ดังนั้นผูใหเชาจึงเปน
บุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลก็ได
3. ระยะเวลาในการเชา
ระยะเวลาในการเชาจะถูกกําหนดในคําวินิจฉัยภายใน (circular letter rulings) ทออกโดย German tax administration ระยะเวลาในการเชาตองไมนอยกวา 40 % และ ไมมากกวา 90 % ของระยะเวลาการใชประโยชนทางเศรษฐกิจตามปกติทรัพยนั้น 17
16 Kare Lilleholt ,Anders Victorin l ,Andreas Fotschl,Berte-Elen R. Konow, Andreas Meidell, Amund Bjoranger Torum. , Principles of European Law Study Group on a European Civil Code Lease of Goods ,(New York : Oxford University Press, 2008).
17 Robert Drake and James Rider,supra note 5, p.150
4. ทรพยสินทใหเชา
ไมมีกฎหมายบัญญัติไวโดยเฉพาะ ดังนั้น สังหาริมทรัพย และอสังหาริมทรัพย ก็ สามารถที่จะนําออกใหเชาได
5. หนาที่ของผูใหเชา ผูใหเชามีหนาที่ในการสงมอบทรัพยสินใหแกผูเชาไดใชประโยชนในทรัพยสินที่
เชา และ มีหนาที่ในการยอมขายทรัพยสินทเชาและโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินใหแกผูเชา
6. สิทธิและหนาที่ของผูเชา
โดยหลักแลว ผูเชามีหนาที่ชําระเงิน เพราะผูใหเชานําทรัพยสินออกใหเชา เนื่องจากตองการเงิน นอกจากนี้ ผูเชามีหนาที่ในการบํารุงรกษาทรพยสินอันเปนวัตถุแหง สญญาเชา และมีสิทธิในการขยายระยะเวลา หรือ สิทธิในการซื้อทรัพยสินอันเปนวัตถุแหง สญญาเชาภายหลังสัญญาเชาสิ้นสุดลง
7. ประเภทของสัญญาลิสซิ่ง
ประเภทตางๆของสัญญาลิสซิ่ง ที่ถูกพัฒนาขึ้นในประเทศเยอรมัน มีดังนี้ 18
7.1 Financial Leasing
ขอตกลงเชนนั้นไดมีระยะเวลาพื้นฐานที่กําหนดไวซึ่งโดยปกติ จะ ประมาณ 4-5 ป ตามหลักเกณฑในเรื่องการขยายระยะเวลา หรือ สิทธิในการซื้อ ณ เวลา สิ้นสุดของสัญญา โดยปกติการจายคาเชาของผูเชาในระหวางระยะเวลาพื้นฐานจะ ครอบคลุมราคา และ คาใชจายทั้งหมดของผูใหเชาซึ่งรวม ราคาซื้อ ดอกเบี้ย และ ความ เสี่ยงดานการเงิน และ รวมถึงผลกําไรดวย
7.2 Real estate Leasing
สัญญาแบบนี้เปนรูปแบบพิเศษของสัญญา financial leasing ที่โดย ปกติจะมีระยะ เวลาเชามากกวา 30 ปขึ้นไป โดยปกตินั้นผูใหเชาในฐานะเจาของทรัพยสิน
18 Marco Ardizzoni,Bjoern Bodewaldt, Thilo Von Bodungen , Kristofer Bott, Marco Hartmann-Ruppel, Chistof Kleinmann, Klaus Kupka , Ralf Luedeke , Matthias Menke , Ursel Pall , Felix Prozorov- Bastians ,Dietmar Voelker , Franzjska Wagner ,Sarah Wilkens ,and Florian Wolff ,supra note14, p.1042.
และ ผูพัฒนาที่ดินตองใหคําบอกกลาวบุริมสิทธิสําหรับการซื้อภายหลังการสิ้นสุดของ ระยะเวลาเชาตามสญญา ที่ซึ่งตองจดทะเบียนกับเจาหนาที่ทะเบียนที่ดิน
7.3 Manufacturer leasing และสัญญา Sale&Lease back รูปแบบที่ พัฒนาไปไกลของสัญญาลิสซิ่งในประเทศเยอรมัน
มีกรณีของกฎหมายโดยกวางๆที่แยกแยะใหเห็นความแตกตาง ระหวางประเภท ของการเชา ในเรื่องการตกลงเชาจากสัญญาที่มีลักษณะที่คลายกันอื่นๆ เชน สัญญา ประเภทผสมของการขาย และ เชา หรือ สัญญาประเภทผสมระหวางการใหกู และ การ ขาย เปนตน นอกจากนี้ตองสอดรบกบหลกเกณฑตางๆในการเชา ที่กําหนดไวในประมวล กฎหมายแพง และ หลักเกณฑในการเชาใน Standard Terms และ Conditional Act ซึ่งนํามาใชบังคับกับสัญญาลิสซิ่งดวย
2.3 อนุสัญญาวาดวยลิสซิ่งทางการเงินระหวางประเทศ ค.ศ.1988
(UNIDROIT Convention on International Financial Leasing,1988 )
ในสหภาพยุโรปไดมีการจัดตั้งองคกรที่มีวัตถุประสงคในการสราง เอกภาพทาง กฎหมายเอกชนในชาติตางๆขึ้น ชื่อวา International Institute for the Unification of private law หรือเรียกวา Unidroit ตอมาไดจัดตั้งคณะทํางานเพื่อศึกษาเกี่ยวกับธุรกิจ ลิสซิ่ง เนื่องจากเปนธุรกิจใหมที่เกี่ยวกับการเงินและระบบกฎหมายของประเทศตางๆ ไม ยอมรับวาลิสซิ่งเปนเอกเทศสัญญาทางธุรกิจการเงินประเภทใหม และไดมีการนํา หลักเกณฑของเอกเทศสัญญาในเรื่องซื้อขาย (Sale) ฝากทรัพย (Bailment) กูยืม (Loan) เชาทรัพย (Hire-Property) และเชาซื้อ (Hire-purchase) มาบังคับใชกับสัญญา ลิสซิ่ง ซึ่งทําใหผูใหเชาแบบลิสซิ่งซึ่งเปนเจาของกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินที่เชา จะตองรับผิด ในความชํารุดบกพรองของทรัพยสินที่สงมอบแกผูเชา รวมทั้งตองรับผิดในการรอนสิทธิ ( Disturbance) อนุสัญญาวาดวยลิสซิ่งทางการเงินระหวางประเทศค.ศ.1988 (UNIDROIT Convention on International Financial Leasing,1988) จึงได กําหนด ความหมาย การเกิดขึ้นของสัญญาลิสซิ่ง ประเภทของทรัพยสิน สิทธิและหนาที่ ของคูสญญา และการสิ้นสุดของสัญญาไวดังตอไปนี้ 19
19 ดูภาคผนวก ช,UNIDROIT Convention on International Financial Leasing (Ottawa, 28 May 1988) CHAPTER II - RIGHTS AND DUTIES OF THE PARTIES.
1. ความหมายของสญญาลิสซิ่ง 20
1.1 สัญญาลิสซิ่ง คือ สัญญาซึ่งคูสัญญาอีกฝายหนึ่งเรียกวาผูใหเชา
(The Lessor)
1.2 ตกลงเขาทําสัญญาจัดสงอุปกรณกับบุคคลที่สาม เรียกวา ผูจัดสง
อุปกรณสินคา อันเปนผลใหผูใหเชาไดมาซึ่งสินคาตนทุนและเครื่องจักรอุปกรณประเภท อื่น ซึ่งตอไปนี้จะเรียกรวมกันวาอุปกรณสินคาที่มีคุณสมบัติตามที่คูสัญญาอีกฝายหนึ่ง เรียกวา ผูเชา ตองการ
1.3 ตกลงเขาทําสัญญาลิสซิ่ง (the leasing agreement) กับคูสัญญา อีกฝายหนงเรียกวา ผเชา ใหสิทธิผูเชาในการใชสอย อุปกรณสินคา และผูเชาตองชําระคา เชา เปนคาตอบแทนใหกับผใหเชา
1.4 โดยขอตกลงดงกลาวมีลักษณะเฉพาะ ดังนี้
1.4.1 ผูเชาจะเปนผูกําหนดคุณสมบัติหรือคุณลักษณะของ อุปกรณสินคา และกําหนดเลือกผูจัดสงอุปกรณสินคาดวยตนเอง โดยมิไดอาศัยความรู ความเชี่ยวชาญและดุลยพินิจของผูใหเชาแตอยางใด
1.4.2 ผูใหเชาไดมาซึ่งอุปกรณสินคาเพื่อประโยชนเกี่ยวกับ สัญญาลิสซิ่ง โดยที่ผูจัดสงอุปกรณสินคาไดรูถึงสัญญาเชนวานั้น ไมวาผูใหเชาหรือผูเชา จะไดเขาทําสัญญาลิสซงกันแลวหรือไม
1.4.3 การคิดคํานวณคาเชา ซึ่งจะตองชําระตามสัญญาลิสซิ่ง นั้น ตองกระทําโดยถือเสมือนวาเปนการชําระราคาคาอุปกรณสินคาทั้งหมดหรือแต บางสวน และในกรณีการชําระคาเชาบางสวน คาเชาจะตองมากพอสมควร
1.5 การบังคับใชตามอนุสัญญานี้ อนุสัญญานี้ใชบังคับกับสัญญาลิสซิ่ง ไมวาผูเชาจะมีสิทธิเลือกที่จะซื้ออุปกรณสินคา หรือตอระยะเวลาเชาออกไป หรือไม และไมวาราคาหรือคาเชาตางๆจะมีมูลคาเล็กนอยเพียงใด
1.6 อนุสัญญานี้ ใชบังคับกับการกอนิติสัมพันธลิสซิ่งทางการเงินสําหรับ อุปกรณสินคาทุกประเภท เวนแตการกอนิติสัมพันธนั้นไดเกิดขึ้นเพื่อประโยชน ในการใช สอยเปนสวนตวของผูเชา หรือในครอบครัวของผเชา ที่ไมใชทางการคา
20 ดูภาคผนวก ช, Article 1 UNIDROIT Convention on International Financial Leasing,1988.
จากคํานิยาม ของสัญญาลิสซิ่ง ตามอนุสัญญาวาดวยลิสซิ่งทางการเงินระหวาง ประเทศ ค.ศ.1988 สามารถใหความหมายของสัญญาลิสซิ่ง คือ สัญญาซึ่งคูสัญญาอีก ฝายหนึ่ง เรียกวา ผูใหเชา (lessor) ไดทําสัญญา 2 ฉบับ โดยฉบับแรก ผูใหเชา เขาทํา สญญากบผูจัดจําหนาย (supplier) ตามที่ผูเชาระบุ ซึ่งทําใหผูใหเชาไดไปซึ่งกรรมสิทธิ์ใน เครื่องจักรที่ใชในโรงงาน ตัวสินคาและอุปกรณอื่นๆ ตามสัญญาฉบับนี้ และใน ขณะเดียวกัน ผูใหเชาไดทําสัญญาฉบับที่สองที่เรียกวา สัญญาลิสซิ่ง (leasing contract) กับผูเชา (lessee) โดยผูใหเชา ตกลงใหผูเชามีสิทธิใชเครื่องจักรที่ใชในโรงงาน ตัวสินคา และอุปกรณอื่นๆ ดังกลาวซึ่งผูเชาจะชําระคาเชาเปนการตอบแทน และเมื่อสิ้นสุดสัญญา เชา ผเชามีสิทธิเลือกที่จะซื้ออุปกรณสินคา หรือตอระยะเวลาในการเชาออกไปอีก
2. ขอบเขตของการบังคับใชและการตีความ21
อนุสัญญาฉบับนี้ใชบังคับเมื่อ สถานประกอบการของผูเชา ผูใหเชา ผูจัด จําหนายตั้งอยูในรัฐที่เปนภาคีของอนุสัญญา โดยสถานประกอบการของผูเชาและผูให เชาจะตองอยูตางรัฐกัน หรือสัญญาจัดจําหนายและสัญญาลิสซิ่งนั้น อยูภายใตบังคับ การบงคับใชกฎหมายของรัฐทเปนภาคีของอนุสัญญาฉบับนี้
นอกจากนี้อนุสัญญาฉบับนี้ยังคงใชบังคับแกสัญญาลิสซิ่งตอไป แมวาเครื่องจักร ที่ใชในโรงงาน ตัวสินคา และอุปกรณอื่นๆ จะไดถูกนําไปยึดติดหรือเปนสวนควบกับที่ดิน อยางไรก็ตามคูสัญญาของสัญญาจัดสงอุปกรณสินคา หรือสัญญาลิสซิ่ง อาจตกลงกันที่ จะไมนําเอาอนุสัญญาฉบับนี้มาใชบังคับได
ในการตีความ อนุสัญญาฉบับนี้ไดกําหนดหลักเกณฑในการตีความโดยให คํานึงถึงลักษณะระหวางประเทศ และใหตีความไปในทางที่เปนการสงเสริมความเปน อันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อการบังคับใชอนุสัญญาและคํานึงถึงหลักสุจริตในการคาระหวาง ประเทศ
3. ประเภทของทรัพยสิน (The Equipment)
อนุสัญญาวาดวยลิสซิ่งทางการเงินระหวางประเทศ ค.ศ.1988 ไดมีการบญญต
ิถึง
ประเภทของอุปกรณสินคาที่ใชในธุรกิจลิสซิ่ง 22 ไดแกอุปกรณสินทุกประเภทอันเปน
21 ดูภาคผนวก ช, Article 2-6 UNIDROIT Convention on International Financial Leasing, 1988.
อุปกรณที่ใชในทางการคา ไมใชอุปกรณสินคาที่ใชเพื่อประโยชนสวนตัวของผูเชาหรือใน ครอบครัวของผูเชา
4. สิทธิหนาที่และความรับผิดของคูสัญญา สิทธิหนาที่และความรับผิดของคูสัญญาตามอนุสัญญาวาดวยลิสซิ่งทางการเงิน
ระหวางประเทศ ค.ศ.1988 บัญญัติไวใน หมวดที่ 2 มาตรา 7 ถึง มาตรา 14 ดังนี้
4.1 สิทธิ หนาที่ และความรับผิดของผูใหเชา
4.1.1 ผูใหเชามีสิทธิเหนือทรัพยสินทใหเชา 23
โดยผูใหเชามีบุริมสิทธิเหนืออุปกรณสินคาอยูในลําดับกอนและใช ยันเจาพนักงานพิทักษทรัพย (trustee in bankruptcy)และเจาหนี้ทั้งหลาย รวมทั้ง เจาหนี้ที่มีสิทธิเหนืออุปกรณสินคาดวยเหตุจากการยึด หรืออายัดชั่วคราว หรือเพราะเหตุ แหงการบังคับคดีตามคําสั่งศาล แตสิทธิในอุปกรณสินคาที่จะตกใหแกผูใหเชาจะมีผล บริบูรณและใชยันไดตอบุคคลภายนอก เมื่อไดมีการปฏิบัติตามกฎหมายซึ่งใชบังคับแก การนั้นเพื่อใหสาธารณชนรับรู
แตสิทธิเหนือทรัพยสินที่เชาของผูใหเชานี้ ยอมไมกระทบถึงสิทธิของ เจาหนี้ผูทรงสิทธิยึดหนวง (Lien) หรือสิทธิเหนืออุปกรณสินคาที่เกิดขึ้นนอกเหนือจากผล แหงการยึด หรืออายัดชั่วคราว หรือการบังคับคดีตามคําสั่งศาล หรือสิทธิใดๆที่หลัก กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคลกําหนดไวโดยเฉพาะ ในสวนที่เกี่ยวกับ การกัก เรือ การยึดหนวง หรือการจําหนายเรือหรือเครื่องบิน
4.1.2 ผูใหเชามีหนาที่จัดการใหผูเชาไดครองทรัพยโดยปกติสุข ปราศจากการรบกวนขัดสิทธิโดยบุคคลภายนอกผูมีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิอยางอื่นเหนือ ทรัพยนั้น 24 หากมีการรบกวนขัดสิทธิผูใหเชาตองรับผิดในการรอนสิทธิ และผูใหเชาไม อาจตกลงยกเวนความรับผิดในการรอนสิทธิ ที่เกิดขึ้นจากกลฉอฉลในความประมาท เลินเลออยาง รายแรงของตนได
23 ดูภาคผนวก ช, Article 7 UNIDROIT Convention on International Financial Leasing,1988.
4.1.3 ผูใหเชาไมตองรับผิดตอผูเชาในความเสียหายใดๆ ที่เกิดขึ้น แกอุปกรณสินคา ไมตองรับผิดตอบุคคลภายนอกในความเสียหายตอชีวิตรางกายและ ทรัพยสิน อนสืบเนองมาจากอุปกรณสินคานั้น เวนแตผูใหเชาเปนเจาของทรัพยสินนั้น 25
4.1.4 ผูใหเชามีสิทธิเรียกใหผูเชาชําระคาเชาที่คางชําระพรอม ดอกเบยและคาเสียหาอนได เมอผเชาผิดนัดไมชําระคาเชา26
4.1.5 ผูใหเชามีสิทธิบอกเลิกสัญญา และเรียกคืนการครอบครอง อุปกรณสินคา และเรียกคาเสียหาย หากผเชาผิดสัญญาในขอที่เปนสาระสําคัญ 27
4.1.6 ผูใหเชาอาจโอนสิทธิหรือการกระทําใดๆอันเกี่ยวกับสิทธิใน อุปกรณสินคา หรือสิทธิตามสัญญาลิสซิ่งได 28
4.2 สิทธิ หนาที่ และความรับผิดของผูเชา
4.2.1 ผูเชามีหนาที่ชําระคาเชา
4.2.2 ผูเชามีหนาที่ใชสอยอุปกรณสินคาดวยความระมัดระวังและ ตอง สงวน บํารุงรักษาอุปกรณสินคาที่เชานั้นใหอยูในสภาพตามที่ไดรับสงมอบมา แตไม ตองรับผิดในความเสอมราคาเพราะการใชสอยตามปกติ 29
4.2.3 ผูเชาไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญากอนสัญญาลิสซิ่งสิ้นสุดลง เวน แตจะไดรับความยินยอมจากผูใหเชา 30 และผูเชาไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญาจัดสงอุปกรณ สินคา เวนแตจะไดรับความยินยอมจากผูใหเชา
25 ดูภาคผนวก ช, Article 8. 1 a),b),c) UNIDROIT Convention on International Financial Leasing,1988.
26 ดูภาคผนวก ช, Article 13.1 UNIDROIT Convention on International Financial Leasing,1988.
27 ดูภาคผนวก ช, Article 13.2 UNIDROIT Convention on International Financial Leasing,1988.
28 ดูภาคผนวก ช, Article 14.1 UNIDROIT Convention on International Financial Leasing,1988.
29 ดูภาคผนวก ช, Article 9.1 UNIDROIT Convention on International Financial Leasing,1988.
30 ดูภาคผนวก ช, Article 10.2 UNIDROIT Convention on International Financial Leasing,1988.
4.2.4 ผูเชามีสิทธิที่จะสงคืนอุปกรณสินคา หรือมีสิทธิที่จะเลือกที่จะ ใชสิทธิซื้อ หรือเชาตอซงอุปกรณสินคานั้น เมอสัญญาลิสซิ่งไดสนสุดลง 31
4.2.5 ผูเชามีสิทธิที่จะบอกปดไมรับมอบอุปกรณสินคา หรือใชสิทธิ บอกเลิกสัญญาลิสซิ่งในกรณีที่ไมมีการสงมอบอุปกรณสินคาหรือมีการสงมอบแตสงมอบ ชักชา หรือสงมอบไมตรงตามสญญา 32
4.2.6 ผูเชามีสิทธิยึดหนวงคาเชาตามสัญญาลิสซิ่ง จนกวาผูใหเชา จะไดแกไขขอผิดพลาดเพราะเหตุผิดนดหรือผิดสญญา ทไมสามารถปฏิบัติการชําระหนี้ใน การสงมอบอุปกรณสินคาไดตามที่ตกลงกันไวในสัญญา 33
4.2.7 ผูเชาไมสามารถโอนสิทธิในการใชสอยอุปกรณสินคา หรือ สิทธิประการอื่น ตามสัญญาลิสซิ่ง ไปยังบุคคลภายนอก เวนแตจะไดรับความยินยอมจาก ผใหเชา 34
4.3 สิทธิ หนาที่ และความรบผิดของผูจัดสงอุปกรณสินคา 35
ผูจดสงอุปกรณสินคาตองรับผิดตอผเชา เสมือนหนึ่งวาผูเชาเปนคส
ญญา
ตามสัญญาจัดสงอุปกรณสินคา และเสมือนหนึ่งวาผูจัดสงอุปกรณสินคาไดจัดสงอุปกรณ สินคาใหแกผูเชาโดยตรง
5. การสิ้นสุดของสญญา
5.1 เมอครบกําหนดระยะเวลาตามที่สัญญาลิสซิ่งกําหนดไว
5.2 เมอมีการบอกเลิกสญญา
31 ดูภาคผนวก ช, Article 9.2 UNIDROIT Convention on International Financial Leasing,1988.
32 ดูภาคผนวก ช, Article 12.1 a),b) UNIDROIT Convention on International Financial Leasing,1988.
33 ดูภาคผนวก ช, Article 12.3 UNIDROIT Convention on International Financial Leasing,1988.
34 ดูภาคผนวก ช, Article 14.2 UNIDROIT Convention on International Financial Leasing,1988.
35 ดูภาคผนวก ช, Article 10 UNIDROIT Convention on International Financial Leasing,1988.
5.2.1 การบอกเลิกสัญญาโดยผูใหเชา หากผูเชาผิดนัดใน สาระสําคัญ และเปนไปตามสัญญาลิสซิ่ง กําหนดไว ผูใหเชามีสิทธิบอกเลิกสัญญา และ ผูใหเชามีสิทธิเขาครอบครองอุปกรณสินคา และเรียกคาเสียหายเทากับจํานวนที่ผูใหเชา จะไดรับ หากผูเชาปฏิบัติตามสัญญา
5.2.2 การบอกเลิกสัญญาโดยผูเชา เมื่อไดรับความยินยอมจากผู เชา หรือ ในกรณีที่ไมมีการสงมอบอุปกรณสินคาหรือมีการสงมอบแตสงมอบชักชา หรือสง มอบไมตรงตามสัญญา ผูเชาก็มีสิทธิบอกเลิกสัญญาได หากผูเชาเลือกที่จะเลิกสัญญา ลิสซิ่ง ผเชามีสิทธิไดรับคาเชา หรือเงินจํานวนที่ชําระไปแลวลวงหนาคืน
บทที่ 3
หลักกฎหมายเกี่ยวกับสญญาลิสซิ่งในประเทศไทย
สัญญาลิสซิ่งเปนคําใหมในทางธุรกิจ ไมไดมีตนกําเนิดหรือมีที่มาทางนิติศาสตร แตเมื่อกลาวถึงคําวาลิสซิ่งแลว คนทั่วไปมักจะเขาใจความหมายวา เปนธุรกิจที่เกี่ยวของ กับการเงินการธนาคารหรือสถาบันการเงินตางๆ1 ซึ่งหมายถึงการบริการจัดหาเงินทุน (Financing) แบบหนึ่ง โดยเปนเครื่องมือในการจัดหาทรัพยสินประเภทเครื่องจักรอุปกรณ (Equipment) เพื่อนํามาใชประโยชนในกิจการการผลิตและการประกอบธุรกิจตางๆ แทน การซื้อ ซงการบริการในลกษณะลิสซิ่ง นนจะทําในรูปของการเชา 2 เนื่องจากสัญญาลิสซิ่ง เปนสัญญาที่เกิดขึ้นใหมและเปนสัญญาที่ใชในทางธุรกิจ จากการศึกษาแนวความคิด พื้นฐานและวิวัฒนาการของหลักกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่ง ในตางประเทศพบวา ใน บางประเทศไดมีการบัญญัติกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งมาใชบังคับ และในบาง ประเทศไมมีการบัญญัติกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งมาใชบังคับ ดังนั้นในการศึกษา ความหมายของสัญญาลิสซิ่งในประเทศไทย เมื่อพิจารณาตามบทบัญญัติของกฎหมาย เกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งแลวพบวา ไมมีการบัญญัติกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งไว โดยเฉพาะ และพบวามีการทําสัญญาลิสซิ่งกันเกิดขึ้นในทางธุรกิจ รวมทั้งมีการประกอบ ธุรกิจลิสซิ่งเกิดขึ้นในประเทศไทย
สัญญาลิสซิ่ง หรือสัญญาเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่ง มีขึ้นในประเทศไทยครั้งแรกใน ป พ.ศ.2521 โดยไมมีกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่ง บัญญัติไวโดยเฉพาะ และประมวล กฎหมายแพงและพาณิชยก็ไมไดบัญญัติเรื่องลิสซิ่งไว จึงไมปรากฏคําจํากัดความของ สัญญาลิสซิ่ง จนกระทั่งเมื่อป พ.ศ. 2534 ไดมีประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษี การคา(ฉบับที่ 53) เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไข ระยะเวลาที่ใหเชาทรพยสิน และหลักเกณฑการคํานวณทุนของทรัพยสินที่ใหเชาบางประการ ประกาศใชบังคับกับ การใหเชาแบบลิสซิ่ง หรือสัญญาลิสซิ่ง ฉบับแรก ตอมาไดมีประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง เงื่อนไขการอนุญาตใหบริษัทเงินทุน ประกอบกิจการใหเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่ง ลง วันที่ 12 ธันวาคม 2534 ซึ่งการออกประกาศฉบับดังกลาวของกระทรวงการคลังเปนการ
1 Jayavadh Bunnag, “Lease Financing in Thailand” ,Prepared for Asean Law Association Conference in Singapore, 1984.
2 ปราณี ลีลาชีวสิทธิ์ และกาลเกตุ กองเกียรติงาม,”ธุรกิจใหเชาแบบลิสซิ่ง.” รายงานเศรษฐกิจรายเดือน ธนาคารแหงประเทศไทย ,2528, น.30.
38
ออกโดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา 20(6) วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติการ ประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร พ.ศ.2522 แกไข เพิ่มเติม พ.ศ.2528 ซึ่งในปจจุบันไดถูกยกเลิกไป ตาม พระราชบัญญัติธุรกิจสถาบัน
การเงน พ.ศ.2551 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 125 ตอนที่ 27 ก วันที่ 5 กมภาพุ นธ
2551 และใหมีผลใชบังคับเมื่อพนกําหนด 180 วัน นับแตวันประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเปนตนไป และปจจุบันนี้ ประกาศกระทรวงการคลังดังกลาว ยังมีผลใชบังคับ ดังเดิม โดยอาศยบทบัญญัติ มาตรา 158 แหง พระราชบญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 ทใหประกาศกระทรวงการคลัง บรรดาที่ใชบังคับอยูในวันกอนวันที่พระราชบัญญัติ นี้ใชบงคับใหใชบังคับตอไป เทาทไมขัดหรือแยงกับพระราชบญญัตินี้
นอกจากนี้ยังมีการศึกษาลักษณะของสัญญาลิสซิ่งในเชิงธุรกิจ การประกอบ ธุรกิจลิสซิ่ง รวมทั้งการศึกษาถึง การพัฒนาธุรกิจลิสซิ่งในเชิงนิติศาสตร และมีตําราทาง วิชาการ บทความทางวิชาพิมพเผยแพรเรื่อยมา รวมทั้งไดมีคดีขอพิพาทเกี่ยวกับสัญญา ลิสซิ่งขึ้นสูการวินิจฉัยของศาล และตอมาศาลฎีกาไดมีคําพิพากษาวินิจฉัยเกี่ยวกับ สัญญาลิสซิ่งไว ซึ่งเปนประเด็นปญหาวาศาลใชหลักกฎหมายใด ในการวินิจฉัยสัญญา ลิสซิ่ง ดังนั้นในการศึกษาหลักกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งในประเทศไทย จึงสามารถ แยกพิจารณาไดดังนี้
3.1 การเกิดขึ้นและความหมายของสญญาลิสซิ่ง
หลักสําคัญในการทํานิติกรรมและสัญญาคือ หลักอิสระในทางแพง (Private Autonomy) และหลักเสรีภาพในการแสดงเจตนา ซงมีรูปแบบที่แสดงออกมาเปนรูปธรรม คือ หลักเสรีภาพในการทําสัญญา (Freedom of Contract) โดยบุคคลทุกคนมีอิสระที่ จะตกลงทําสัญญากับบุคคลใดก็ได และสามารถกําหนดวัตถุประสงคของสัญญา และ แบบของสญญาไดเอง โดยกฎหมายจะเขาไปจํากัดเสรีภาพในการแสดงเจตนาบางกรณี เชน ความสามารถของบุคคล แบบ วัตถุประสงค เปนตน แตบุคคลก็มีเสรีภาพในการ แสดงเจตนาที่สามารถที่จะตกลงกันใหแตกตางไปจากบทบัญญัติของกฎหมายก็ได ถา กฎหมายในเรื่องดังกลาว มิใชกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดี ของประชาชน จากหลักการดังกลาวจึงทําใหเกิดมีการตกลงทําสัญญากันของบุคคลที่มี ความหลากหลาย โดยเฉพาะในการประกอบธุรกิจในปจจุบัน มีสัญญาเกิดขึ้นจํานวนมาก ทั้งที่เปนเอกเทศสัญญา หรือสัญญาที่มีชื่อ ดังที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชย และสัญญาที่ไมมีชื่อ และไมมีบัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
โดยทั่วไป การเกิดขึ้นของสัญญา เกิดขึ้นได 2 วิธี คือ 1. การเกิดสัญญาโดยชัด แจง 2. การเกิดสัญญาโดยปริยาย
การเกิดสัญญาโดยชัดแจงนั้น เปนกรณีที่บุคคลทั้งสองฝายแสดงเจตนาโดยชัด แจง ดวยวาจา ดวยลายลักษณอักษร หรือโดยวิธีการอื่นใด ทีสามารถแสดงใหบุคคลอีก ฝายหนึ่งทราบถึงเจตนาที่ตองการจะผูกพันได ซึ่งลักษณะของการเกิดสัญญาโดยชัดแจง นั้น สามารถแยกไดดังนี้ คือ
1. สัญญาเกิดขึ้นระหวางบุคคลซึ่งอยูเฉพาะหนา หมายถึงบุคคลที่สามารถ ติดตอสื่อสารเขาใจกันไดในทันที ไมวาจะโดยวิธีใดๆก็ตาม ในกรณีเชนนี้ สัญญาเกิดขึ้น เมื่อฝายหนึ่งไดทําคําเสนอที่จะทําสัญญาไปใหอีกฝายหนึ่งทราบ และเมื่ออีกฝายหนึ่ง ทราบคําเสนอที่จะทําสัญญาแลว ผูรับคําเสนอนั้น ไดตอบรับคําเสนอ หรือที่เรียกวาไดทํา คําสนองตอบรับมา โดยคําสนองนั้นถูกตองตรงตามเจตนาที่ผูเสนอไดเสนอมา โดยไมมี การเปลี่ยนแปลงใดๆ และไดตอบทันที ที่ผูเสนอเสนอมา เมื่อคําเสนอ และคําสนองถูกตอง ตรงกัน สัญญาจึงเกิดขึ้น โดยถือวาสัญญาเกิดขึ้น ณ สถานที่ที่มีการสนองรับคําเสนอ
2. สัญญาเกิดขนระหวางบุคคลผูไมอยูเฉพาะหนา หมายถึง บุคคลที่ไมสามารถ ติดตอสื่อสารกนไดโดยทันที เชน การติดตอทําสัญญากันทางจดหมาย เปนตน ในกรณี เชนนี้สัญญาเกิดเมื่อฝายหนึ่งไดทําคําเสนอไปยังอีกฝายหนึ่งโดยทางจดหมาย เมื่อฝาย หนึ่งไดรับคําเสนอแลว ก็ตอบรับคําเสนอ หรือที่เรียกวาไดทําคําสนองโดยทางจดหมาย แจงไปยังฝายที่ทําคําเสนอ เมื่อคําสนองไดสงไปยังผูทําคําเสนอแลว โดยคําสนองนั้น ถูกตองตรงตามคําเสนอ ไมวาผูทําคําเสนอนั้นจะเปดจดหมายนั้นออกอานหรือไมก็ตาม สัญญานั้นก็เกิดขึ้น หากปรากฏวาคําสนองนั้นไมถูกตองตรงตามคําเสนอ อาจเปน เพราะวา มีการเปลี่ยนแปลง หรือ เปนกรณีที่มีการทําคําสนองมายังฝายที่ทําคําเสนอไม ตรงตามเวลาที่กําหนดไว หรือคําสนองมาถึงลวงเวลา กรณีดังกลาวเทากับวาเปนการ ปฏิเสธคําเสนอ ยอมทําใหคําเสนอนั้นตกไปและทําใหคําสนองนั้นกลับกลายเปนคําเสนอ ขึ้นใหม กรณีดังกลาวสัญญายังไมเกิดจนกวาจะมีการสนองรับของผูเสนอในตอนแรกอีก ครงหนึ่ง
การเกิดขึ้นของสัญญาโดยปริยายนั้น หมายถึง สัญญาที่มิไดเกิดขึ้นจากการ แสดงเจตนาโดยชัดแจงของบุคคลที่เกี่ยวของ แตเกิดจากการกระทําหรือพฤติการณตางๆ ซึ่งในการวินิจฉัยการเกิดขึ้นของสัญญาโดยปริยายนั้น จะวินิจฉัยจากพฤติการณการ ติดตอระหวางกัน โดยพิจารณาเปนกรณีๆไป
ดังนั้นเมื่อมีการทําสัญญาเกิดขึ้นแลว ในบางกรณีการทําสัญญานั้นคูสัญญาทั้ง สองฝายอาจจะไมมีความเทาเทียมกัน ทําใหมีการกําหนดขอตกลงในสัญญาที่ผิดไปจาก
บทบัญญัติของกฎหมายได ซึ่งเมื่อเกิดขอพิพาทขึ้นเกี่ยวกับสิทธิหนาที่ตามสัญญาแลว ก็ จะมีปญหาเรื่อง การนํากฎหมายมาบังคับใชใหเปนไปตามสิทธิหนาที่ที่กฎหมายกําหนด ซึ่งในบางกรณีกฎหมายไดบัญญัติไวโดยชัดแจง เปนขอจากัดสิทธิของคูสัญญาในการตก ลงทําสัญญาในบางประเภท ทั้งนี้เพื่อเปนการคุมครองคูสัญญาในกรณีที่มีการเขาทํา สญญาโดยฐานะที่ไมเทาเทียมกันได
สัญญาลิสซิ่งเปนสัญญาตางตอบแทนชนิดหนึ่ง เกิดขึ้นโดยอาศัยหลักความ ศักดิ์สิทธิ์แหงการแสดงเจตนา ซึ่งทําขึ้นโดยชอบตามหลักทั่วไปในประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย บรรพ 1 แตตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยไมไดบัญญัติลักษณะ ของสัญญาลิสซิ่งไวโดยเฉพาะ ดังนั้นเมื่อมีการแสดงเจตนาตกลงเขาทําสัญญากันของ คูสัญญา และเมอสญญาเกิดขึ้นแลวคูสัญญาจะผูกพันกันตามสัญญาชนิดใด ก็สามารถที่ จะแสดงเจตนาออกมาตามลกษณะสาระสําคัญของสญญาชนิดนั้นๆ
เมื่อพิจารณาจากลักษณะที่เปนสาระสําคัญของสัญญาลิสซิ่งตามหลักกฎหมาย ในตางประเทศแลว สัญญาลิสซิ่งเปนสัญญาเชาอยางหนึ่งที่ผูใหเชาตกลงใหผูเชาไดใช หรือไดรับประโยชนในทรัพยสินที่เชา โดยการชําระคาเชาเปนงวดๆ และมีหนาที่ในการ ซอมแซม ดูแลรักษา และทําประกันภัยทรัพยสินที่เชาเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาในการเชาแลว ใหสิทธิผูเชาในการเลือกที่จะซื้อทรัพยสิน ทําสัญญาเชาตอ หรือสงคืนทรัพยสินที่เชา โดย หากใชสิทธิในการซื้อทรัพยสินผูเชาจะตองจายราคาทรัพยสินอีกจํานวนหนึ่ง และไดรับ โอนกรรมสิทธิ์
ดังนั้นการที่คูสัญญาตกลงที่เขาผูกพันกัน จึงตองพิจารณาเจตนาของคูสัญญา วาเจตนาที่แทจริงนั้นตองการที่จะทําสัญญาอะไร หากตองการที่จะผูกพันกันเปนสัญญา ใดก็ตองแสดงเจตนาออกมาโดยชัดแจงตามหลักการแสดงเจตนาในประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชยมาตรา 171 ซึ่งเมื่อแสดงเจตนาออกมาแลว ก็ตองบังคับตามเจตนาที่ แทจริงที่ไดแสดงออกมา ซึ่งถาหากคูสัญญาตองการที่จะทําสัญญาลิสซิ่งบังคับอยาง ลิสซิ่ง ถาหากไมตองการบังคับอยางสัญญาลิสซิ่งก็ตองเปนอยางอื่นตามที่คูสัญญา ตองการ
เมื่อมีการตกลงทําสัญญากันแลว สัญญานั้นจะเปนสัญญาลิสซิ่งหรือไมก็มี ปญหาการเกิดขึ้นของสัญญาลิสซิ่งในกรณีตางๆดังนี้
กรณีมีการทําสัญญากันดวยวาจา ระหวางผประกอบธุรกิจกับผบริโภคเกิดขนแลว โดยการทําสัญญาดังกลาวผูประกอบธุรกิจไมไดบอกวาทําสัญญาอะไร และไมมีปายชื่อ บอกใหทราบวาเปนการทําธุรกิจลิสซิ่ง และผูบริโภคก็ไปทําสัญญาโดยเอาทรัพยสินจากผู ประกอบธุรกิจไปใชกอน แลวมีการผอนชําระราคาเปนงวดๆ โดยผูบริโภคไมรูวาเปนการ
ทําสัญญาอะไร กรณีดังกลาวอาจมีปญหาวา สัญญาที่เกิดขึ้นดังกลาวเปนสัญญาเชาซื้อ สัญญาลิสซิ่ง หรือสญญาซื้อขายเงินผอน ผเขยนเห็นวา การทําสญั ญาโดยวาจาแลวมีการ เอาทรัพยไปใชแลว และผอนชําระราคาเปนงวดๆ เมื่อผูประกอบธุรกิจไมไดบอกวาเปน สัญญาอะไร และผูบริโภคก็เอาทรัพยสินไปใชแลว กรณีดังกลาวเปนสัญญาซื้อขาย ผอนสง หรือสัญญาซื้อขายเงินผอนเพราะผูบริโภคโดยทั่วไปจะรูจักแตการทําสัญญาซื้อ ขาย ซึ่งก็คือเจตนาที่ผูบริโภคแสดงออกโดยปกติทั่วไป เชน ในการประกอบธุรกิจ จําหนายเครื่องมือเครื่องใชในการเกษตร เปนตน เพราะเมื่อผูบริโภคเอาเครื่องจักรที่ใชใน การเกษตรไปใช แลวก็ผอนเปนงวดๆ กรณีดังกลาวเปนการทําสัญญาซื้อขายผอนสง กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินจะโอนไปยังผูซื้อ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 453 ประกอบมาตรา 458
โดยในการทําสัญญาดังกลาวแมจะทําดวยวาจา โดยตกลงใหผูบริโภคผอนชําระ ราคาเปนงวดๆ ถาผูประกอบธุรกิจไมไดบอกวาเปนการทําสัญญาอะไร การทําสัญญาที่ มีลักษณะดังกลาวก็เปนสัญญาซื้อขายผอนสง และไมเปนการทําสัญญาเชาซื้อตาม ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 572 เพราะไมไดทําเปนหนังสือ เพราะสัญญา เชาซื้อจะตองทําเปนหนังสือ และก็ไมทําใหการทําสัญญาดังกลาวเปนสัญญาลิสซิ่งก็ เพราะวาโดยพฤติกรรมของคูสัญญาในระหวางการทําสัญญาไมไดกลาวอางถึงลักษณะ ของขอตกลงที่เปนสัญญาลิสซิ่งเลย ฉะนั้นโดยพฤติกรรมท่ัวไปจึงเปนที่เขาใจวาเปนการ ทําสัญญาซื้อขายผอนสงหรือสัญญาซื้อขายเงินผอน
ดวยเหตุนี้ หากมีการทําสัญญากันดวยวาจา ระหวางผูประกอบธุรกิจกับผูบริโภค เกิดขึ้นแลว โดยการทําสัญญาดังกลาวผูประกอบธุรกิจไมไดบอกวาทําสัญญาอะไร แตมี ปายชื่อบอกใหทราบวาเปนการทําธุรกิจลิสซิ่ง และผูบริโภคก็ไปทําสัญญาโดยเอา ทรัพยสินจากผูประกอบธุรกิจไปใชกอน แลวมีการผอนชําระราคาเปนงวดๆ โดยผูบริโภค ไมรูวาเปนการทําสญญาอะไร กรณีดังกลาวอาจมีปญหาวา สัญญาที่เกิดขึ้นดังกลาวเปน สัญญาเชาซื้อสัญญาลิสซิ่ง หรือสัญญาซื้อขายเงินผอน ผูเขียนเห็นวา หากผูประกอบ ธุรกิจไมรูวาสัญญาลิสซิ่งกับซื้อขายผอนสงลักษณะเปนอยางไร มีความแตกตางกัน อยางไร การทําสัญญาดังกลาวก็เปนสัญญาซื้อขายผอนสง หรือสัญญาซื้อขายเงินผอน เพราะโดยทั่วไปแลว หากผูประกอบธุรกิจรูถึงสาระสําคัญของสัญญาวาเปนสัญญา ประเภทใด การทําสัญญาก็ตองตกลงกันไวโดยชัดแจงตามสาระสําคัญของสัญญา ในการที่ผูประกอบธุรกิจไมรู ก็แสดงวาเจตนาที่แสดงออกมาตอนทําสัญญานั้น ตองการที่ จะผูกพันตามสัญญาซื้อขายผอนสง เพราะโดยทั่วไปการตกลงทําสัญญาซื้อขายโดยผอน
ชําระราคาเปนงวดๆ ไมไดมีขอตกลงอยางอื่นนั้นเปนการทําสัญญาซื้อขาย และถือโดย ปริยายวา ผูประกอบธุรกิจและผูบริโภคตองการทจะผูกพันตามสัญญาซื้อขายผอนสง
ฉะนั้น กรณีดังกลาวหากผูประกอบธุรกิจทราบวาสาระสําคัญของสัญญาลิสซิ่งมี ลักษณะอยางไร แตเขาทําสัญญากับผูบริโภคโดยที่ไมไดระบุไวในสัญญา กรณีดังกลาว จะเกิดปญหาวาสัญญาที่เกิดขึ้นนี้เปนสัญญาซื้อขายผอนสงหรือเปนสัญญาลิสซิ่ง ผูเขียน เห็นวากรณีดังกลาวสามารถแยกพิจารณาได 2 กรณี
กรณีที่หนึ่งคือ ในกรณีที่ผูประกอบธุรกิจรูวาสัญญาลิสซิ่งมีสาระสําคัญอยางไร แตไมไดบอกกลาวใหผูบริโภคทราบ ในกรณีนี้เมื่อสัญญาเกิดขึ้นแลว แตผูประกอบธุรกิจ ไมไดบอกกลาว และหัวกระดาษก็ไมไดระบุวาเปนสัญญาอะไร หรือทําสัญญาดวยวาจา กรณีดังกลาวผูเขียนเห็นวา สัญญาดังกลาวเปนสัญญาซื้อขายผอนสง ไมเปนสัญญา ลิสซิ่ง เพราะผูบริโภคทั่วๆ ไป เขาใจวาการทําสัญญาที่มีลักษณะดังกลาวเปนการทํา สัญญาซื้อขายผอนสง เพราะหากผูประกอบธุรกิจตองการที่จะผูกพันกับผูบริโภคตาม สัญญาลิสซิ่ง ผูประกอบธุรกิจจะตองบอกกลาวผูบริโภคใหทราบวาเปนการทําสัญญา ลิสซิ่ง อีกทั้งเจตนาของผูประกอบธุรกิจในกรณีดังกลาว โดยหลักแลวจะบงคับตามเจตนา แทจริงภายในใจ แตถาหากพฤติกรรมของผูประกอบธุรกิจที่แสดงออกมาเปนอยางไร ก็จะบงคบตามเจตนาที่แสดงออกมา ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 171 ถึงแมในใจของผูประกอบธุรกิจตองการที่จะผูกพันเปนลิสซิ่ง แตเมื่อไมไดแสดงออกมา บุคคลทั่วไปยอมตองเชื่อและเขาใจวาผูประกอบธุรกิจตองการที่จะผูกพันตามสัญญาซื้อ ขายผอนสง
กรณีที่สองคือในกรณีที่ผูประกอบธุรกิจรูวาสัญญาลิสซิ่งมีสาระสําคัญอยางไร และไดบอกกลาวใหผูบริโภคทราบแลววาเปนการทําสัญญาลิสซิ่ง ดังนนจึงตองบังคับตาม สัญญาลิสซิ่ง ตามที่ไดแสดงออกมาเพราะเจตนาที่แสดงออกมาตรงกับเจตนาภายใน ดังนั้น จึงตองผูกพันตามสัญญาลิสซิ่ง ตามเจตนาที่ไดแสดงออกมาตามหลักการตีความ การแสดงเจตนาในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 171
นอกจากนี้ปญหาทเกิดขึ้นในกรณีที่มีการทําสัญญาลิสซิ่งโดยการเขียนชื่อสัญญา วา สญญาลิสซิ่ง แตขอตกลงเรื่องสิทธิหนาทระหวางคูสัญญา มีลักษณะเปนขอตกลงตาม สัญญาเชาซื้อ มีปญหาวาการจะบังคับใหเปนไปตามสิทธิหนาที่ของคูสัญญาจะบังคับให เปนไปตามชื่อของสัญญา หรือจะบังคับใหเปนไปตามขอตกลงที่กําหนดไวโดยชัดแจงใน สัญญา ในกรณีดังกลาวผูเขียนเห็นวา เมื่อมีขอตกลงในเรื่องสิทธิหนาที่ของคูสัญญา กําหนดไวโดยชัดแจงไวในสัญญาแลว จึงไมมีปญหาเรื่องขอตกลงเรื่องสิทธิหนาที่ของ คูสัญญาซึ่งจะถือวาเปนชองวางของสัญญาอีก ดังนั้นเมื่อสิทธิหนาที่ของคูสัญญากําหนด
ไวโดยชดแจงในสัญญาแลว จึงตองบังคับตามขอตกลงนั้นตามหลักความศักดิ์สิทธิ์ในการ แสดงเจตนา แตก็อาจมีปญหาวา ขอตกลงในสัญญาดังกลาวจะทําใหสัญญานั้นเปน สัญญาเชาทรัพย สัญญาเชาซื้อ หรือสัญญาลิสซิ่ง ผูเขียนเห็นวาการจะพิจารณาวา สัญญาที่ทําขึ้นนั้นเปนสัญญาประเภทใด จะตองพิจารณาถึงขอตกลงในสัญญานั้นๆดวย วาขอตกลงดังกลาวมีเนื้อหาที่เปนสาระสําคัญของสัญญาประเภทใด หากขอตกลงใน สัญญานั้นเปนขอตกลงที่เปนสาระสําคัญของสัญญาเชาซื้อ สัญญานั้นก็เปนสัญญาเชา ซื้อ หากขอตกลงในสัญญานั้นเปนขอตกลงที่เปนสาระสําคัญของสัญญาเชาทรัพย สัญญานั้นก็เปนสัญญาเชาทรัพย โดยใชหลักการตีความการแสดงเจตนาและสัญญา ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 171 และมาตรา 368 ที่บัญญัติวา ในการ ตีความการแสดงเจตนานั้น ใหเพงเล็งถึงเจตนาอันแทจริงยิ่งกวาถอยคําสํานวนหรือ ตัวอกษร และพิจารณาถึงความประสงคในทางสุจริตและพิเคราะหถึงปกติประเพณีดวย
ในกรณีที่มีการตกลงเขาทําสัญญากันโดยทําเปนหนังสือ แตไมไดเขียนชื่อสัญญา วาเปนสัญญาอะไร แตมีขอตกลงใหคูสัญญาอีกฝายหนึ่งจายคาเชาเปนงวดๆ และเมื่อ จายคาเชาครบถวนแลวใหกรรมสิทธิ์ตกเปนของผูเชาทันที เมื่อพิจารณาจากขอตกลงและ การทําสัญญาดังกลาวแลว ผูเขียนเห็นวาเปนการตกลงทําสัญญาเชาซื้อตามประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 572 เพราะเปนขอตกลงที่มีวัตถุประสงคในการโอน กรรมสิทธิ์ และเมื่อทําเปนหนังสือ ก็ถือวาไดทําตามแบบที่กฎหมายกําหนดไวในมาตรา
572 วรรค 2 ดังนั้นสัญญาที่มีขอตกลงดังกลาวจึงเปนสัญญาเชาซื้อโดยสมบูรณมีผล บังคับไดตามกฎหมาย และการบังคับใหเปนไปตามสิทธิหนาที่ของคูสัญญาตองบังคับ ตามสัญญาเชาซื้อ เพราะมีกฎหมายบัญญัติเรื่องสิทธิหนาที่ไวโดยชัดแจงในประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย แมบทบัญญัติในลักษณะเชาซื้อจะไมไดบัญญัติเรื่องสิทธิ หนาที่เอาไว แตเมื่อสัญญาเชาซื้อเปนสัญญาเชาทรัพยอยางหนึ่ง ดังนั้น จึงนําบทบัญญัติ ในเรื่องสิทธิหนาที่ในลักษณะเชาทรัพยมาใชบังคับไดเทาที่ไมขัดกับสาระสําคัญของ สัญญาเชาซื้อ
นอกจากนี้ในกรณีที่มีการตกลงเขาทําสัญญากันโดยทําเปนหนังสือ แตไมไดเขียน ชื่อสัญญาวาเปนสัญญาอะไร แตมีขอตกลงใหคูสัญญาอีฝายหนึ่งจายคาเชาเปนงวดๆ และเมื่อจายคาเชาครบถวนแลวมีขอตกลงใหผูเชามีสิทธิเลือกที่จะซื้อทรัพยสิน เพื่อที่จะ ไดเปนเจาของกรรมสิทธิ์ ขอตกลงที่มีลักษณะดังกลาวนี้ผูเขียนเห็นวา เปนขอตกลงที่เขา ลักษณะสาระสําคัญของสัญญาลิสซิ่ง และเมื่อไมมีขอตกลงเกี่ยวกับสิทธิหนาที่ของ คูสัญญาเอาไว จึงตองบังคับใหเปนไปตามเจตนาที่คูสัญญามุงที่จะผูกพัน โดยหลักการ ตีความการแสดงเจตนาที่ใหเพงเล็งถึงเจตนาอันแทจริงยิ่งกวาถอยคําสํานวนหรือตัวอักษร
และพิจารณาถึงความประสงคในทางสุจริต และพิเคราะหถึงปกติประเพณีดวยตาม ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 171 และมาตรา 368 ดงนนในเรื่องสิทธิหนาที่ ของคูสัญญาในสัญาลิสซิ่งไมมีกฎหมายบัญญัติไว จึงตองบังคับใหเปนไปตามปกติ ประเพณีของสัญญาลิสซิ่งวา ในสัญญาลิสซิ่งโดยทั่วไปคูสัญญามีสิทธิหนาที่ตอกัน อยางไร ก็บังคับใหเปนไปตามนั้น
นอกจากนี้ ในประเทศไทยกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่ง ไมไดบัญญัติไวใน ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ดังนั้นการจะวินิจฉัยวาสัญญาที่เกิดขึ้นนั้นเปน สัญญาลิสซิ่งหรือไม โดยใชหลักกฎหมายใดก็เปนประเด็นปญหาที่ผูเขียนตองการที่จะ ศึกษาวิเคราะหปญหาการบังคับใชกฎหมายกับสัญญาลิสซิ่งในปจจุบันซึ่งจะไดนําเสนอ ในบทตอไป
แมสญญาลิสซิ่งจะสามารถทําไดตามหลักอิสระในทางแพง(Private Autonomy) และหลักเสรีภาพในการแสดงเจตนา ซึ่งมีรูปแบบที่แสดงออกมาเปน รูปธรรม คือ หลัก เสรีภาพในการทําสัญญา (Freedom of Contract) ก็ตาม แตก็จะมีปญหาในการบังคับใช กฎหมายกับสัญญาลิสซิ่ง โดยเฉพาะในปจจุบันนี้มีการทําสัญญาลิสซิ่งกันเกิดขึ้นตรง ตามสาระสําคญของสัญญาลิสซิ่งในกฎหมายตางประเทศ แตเมื่อมีประเด็นขอพิพาทขึ้นสู การวินิจฉัยของศาลแลว ศาลก็ไมสามารถที่จะนําหลักกฎหมายเก่ียวกับสัญญาลิสซิ่ง ที่ เปนหลักกฎหมายของตางประเทศมาใชในการวินิจคดีได การวินิจฉัยคดีจึงตองอาศัย บทบัญญัติของกฎหมายในประมวลกฎหมายแพงพาณิชยในลักษณะเชาทรัพย เชาซื้อ และซอขายมาใช ในฐานะที่เปนบทบัญญัติของกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่งซึ่งผูเขียนเห็น วา เมอไมมีบทบัญญัติของกฎหมายเกี่ยวกบสญญาลสซิ่ง ก็ไมสามารถที่จะนําบทบัญญัติ ของกฎหมายตางประเทศมาใชไดโดยครบถวนสมบูรณ แตอาจใชหลักการตีความสัญญา โดยพิเคราะหถึงปกติประเพณีตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 171
ประกอบมาตรา 368 มาตีความสัญญาลิสซิ่งได
ทั้งนโดยผูทเกยวของไมวาจะเปน ผูพิพากษา ทนายความ และนักกฎหมายตองมี ความรูความเขาใจถึงแนวคิด และสาระสําคัญของสัญญาลิสซิ่งของตางประเทศอยาง ถูกตอง จึงจะสามารถนําแนวคิดและหลักกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งของตางประเทศ
มาบังคับใชกับสัญญาลิสซิ่งที่เกิดขึ้นในปจจุบันนี้ได ซึ่งผูเขียนจะไดศึกษาหลกกฎหั มายที่
เกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งในประเทศไทยในปจจุบันนี้ และนํามาวิเคราะหเปรียบเทียบกับหลัก กฎหมายในตางประเทศ และเสนอแนะแนวทางในการบัญญัติกฎหมายเกี่ยวกับสัญญา ลิสซิ่ง เพื่อนํามาบงคับใชกับประเทศไทย โดยจะไดนําเสนอในบทตอไป
อนึ่ง เนื่องในปจจุบันนี้ มีการทําสัญญาลิสซิ่งเกิดขึ้นในประเทศไทย และเมื่อมี การทําสัญญาลิสซิ่งเกิดขึ้นแลว การจะบังคับใหเปนไปตามสิทธิหนาที่ของคูสัญญาตาม สัญญาลิสซิ่ง จะตองปฏิบัติอยางไร ซึ่งผูเขียนจะไดนําเสนอหลักกฎหมายเกี่ยวกับสัญญา ลิสซ่ิงในประเทศไทย โดยพิจารณาความหมายของสัญญาลิสซิ่งวาคือสัญญาที่มีลักษณะ อยางไร โดยสามารถแยกพิจารณากฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งไดดังตอไปนี้
ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร ที่อาศัยอํานาจตามประมวลรัษฎากร เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไข ระยะเวลาที่ใหเชาทรัพยสิน และเกณฑการคํานวณ ทุนทรัพย ของทรัพยสินที่ใหเชาบางประการ ขอ 1 3 ไดกําหนดความหมายของการใหเชา แบบลิสซิ่งวา การใหเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่ง หมายความวา การใหเชาทรัพยสินที่ซื้อมา เพื่อการใหเชาแกกิจการอุตสาหกรรม เกษตรกรรม หรือพาณิชยกรรม เปนทางคาปกติ โดยผูเชามีหนาที่ตองบํารุงรักษา และซอมแซมทรัพยสินที่เชา ตองรับผิดตอผูใหเชาใน ความสูญหายหรือบุบสลายใดๆอันเกิดแกทรัพยสินที่เชา และผูเชาจะบอกเลิกสัญญากอน กําหนดฝายเดียวไมได แตผูเชาสามารถจะเชาตอ หรือจะซื้อทรัพยสิน หรือสวนใดสวน หนึ่งของทรัพยสินดวยคาเชา หรือราคาที่ตกลงกันโดยคํานึงถึงเงินที่จายไปแลวในรูปคา เชาได
นอกจากนี้กรมสรรพากรยังไดมีการออกคําสั่งกรมสรรพากร ที่ไดใหความหมาย ของลิสซิ่งไว เพื่อประโยชนในการจัดเก็บภาษี ดังนี้ 4 การใหเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่ง หมายความวา การใหเชาทรัพยสินที่เปนไปตามหลักเกณฑดงตอไปนี้
1. ผูใหเชาเปนบริษัท หรือหางหุนสวนนิติบุคคลที่มีทุนจดทะเบียนที่ไดรับชําระ
แลวไมต่ํากวา 60 ลานบาท และเปนผูประกอบการจดทะเบียนภาษม ภาษีมูลคาเพิ่มตามมาตรา 82/3 แหงประมวลรัษฎากร
2. ผูเชาเปนนิติบุคคล
ูลคาเพิ่ม ซึ่งตองเสีย
3. กําหนดเวลาเชาตองมีระยะเวลาตั้งแต 3 ป ขึ้นไปเวนแตทรัพยสินที่ใหเชาเปน ทรัพยสินที่ผใหเชายึดมาจากผเชารายอื่น ระยะเวลาในการใหเชาอาจไมถึง 3 ปก็ได
3 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีการคา (ฉบับที่53) เรื่องกําหนด หลกเกณฑ วิธีการ เงื่อนไข ระยะเวลาที่ใหเชาทรัพยสิน และเกณฑการคํานวณทุนทรพย ของทรัพยสินที่ใหเชาบางประการ ราชกิจจานุเบกษาเลมที่ 108 ตอนที่ 96 วันที่ 30 พฤษภาคม 2534
4 คําสั่งกรมสรรพากรที่ ทป.4/2528 ลงวันที่ 26 กันยายน 2528 แกไขเพิ่มเติม คําสงกรมสรรพากรที่ ทป.29/2534 ลงวันที่ 26 ธันวาคม 2534
ทงนี้ ประกาศดงกลาวเปนการกําหนดหลักเกณฑเพื่อประโยชนในทางภาษีของผู ประกอบธุรกิจลิสซิ่ง โดยการกําหนดความหมายของการใหเชาแบบลิสซิ่ง ไมไดเกี่ยวกับ เรื่องสิทธิในการประกอบธุรกิจลิสซิ่ง ดังนั้นบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลใด จะประกอบ ธุรกิจลิสซิ่งก็สามารถทําได และบุคคลที่จะเปนผูบริโภคไดนั้นก็ไมจํากัดเฉพาะนิติบุคคล เทานั้น แตถาบุคคลใดประกอบธุรกิจลิสซิ่งแลว ตองการที่จะไดรับสิทธิประโยชนในทาง ภาษีหรือตองเสียภาษีอยางไรแลวจะตองเปนไปตามหลกเกณฑตามประกาศดังกลาว
ตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง เงื่อนไขการอนุญาตใหบริษัทเงินทุนประกอบ
กจการใหเชาทรพยสินแบบลิสซิ่ง ลงวนที่ 12 ธนวาคม 2534 5 การใหเชาทรพยสิน แบบ
ลีสซิ่ง หมายความวา การใหเชาทรัพยสินที่ผูใหเชาจัดหามาจากผูผลิตหรือผูจําหนาย หรือทรัพยสินซึ่งยึดไดจากผูเชารายอื่นเพื่อใหผูเชาไดใชประโยชนในกิจการ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกรรม หรือกิจการบริการอยางอื่นเปนทางคา ปกติ โดยผูเชามีหนาที่ตองบํารุงรักษาและซอมแซมทรัพยสินที่เชา ทั้งนี้ ผูเชา จะบอกเ ลิ ก สั ญญากอนครบกําหนดเพียง ฝ ายเ ดี ยวไมไ ด แ ต ผู เ ช า มี สิทธิ ที่ จะซื้อหรือเชาทรัพยสินนั้นตอไป ในราคาหรือคาเชาทไดตกลงกัน
โดยที่ประกาศดังกลาวเปนการกําหนดหลักเกณฑเพื่อควบคุมการทําธุรกรรมของ สถาบันการเงินที่เปนบริษัทเงินทุน โดยการกําหนดความหมายของการใหเชาแบบลิสซิ่ง หลักเกณฑการขออนุญาตประกอบธุรกิจลิสซิ่ง รวมทั้งขอตกลงในสัญญาลิสซิ่ง ไมได เกี่ยวกับเรื่องสิทธิในการประกอบธุรกิจลิสซิ่ง ดังนั้นบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลใดที่ ไมใชบริษัทเงินทุน ก็สามารถที่จะประกอบธุรกิจลิสซิ่งไดโดยไมตองขออนุญาตเพราะ กฎหมายไมไดหามไว รวมทั้งบุคคลที่จะเปนผูบริโภคไดนั้นก็ไมจํากัดเฉพาะนิติบุคคล เทานั้น
นอกจากนี้ สัญญาลิสซิ่งเปนสัญญาที่ทําไดตามหลักหลักอิสระในทางแพง (Private Autonomy) และหลักเสรีภาพในการทําสัญญา(Freedom of Contract) ดังนั้น คูสัญญาจึงสามารถที่จะตกลงสิทธิหนาที่ระหวางคูสัญญาในเนื้อหาของสัญญาไดเอง แตในทางปฏิบัติอาจเกิดปญหาขอพิพาทเรื่อง สิทธิหนาที่และความรับผิดของคูสัญญาได
5 ประกาศกระทรวงการคลังเรื่อง เงื่อนไขการอนุญาตใหบริษัทเงินทุนประกอบ กิจการใหเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่ง ราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เลม 108 ตอน 218 วันที่ 12 ธันวาคม 2534
เพราะสิทธิหนาทของคูสญญาในบางเรื่องไมไดมีการตกลงและกําหนดไวในสัญญา อีกทั้ง ในเรื่องสิทธิหนาที่ของคูสัญญาตามสัญญาลิสซิ่งก็ไมมีกฎหมายบัญญัติไว จึงถือวาเปน ชองวางของสัญญา ดังนั้นเมื่อมีคดีขอพิพาทขึ้นสูการพิจารณาของศาล การที่ศาลจะ วินิจฉัยคดีนั้นไดจะตองวินิจฉัยโดยการตีความสัญญา เมื่อสิทธิหนาที่ของคูสัญญาตาม สัญญาลิสซิ่งไมมีกฎหมายบัญญัติไวโดยชัดแจง เหมือนกับสัญญาเชาทรัพย เชาซื้อ และ สัญญาซื้อขาย การวินิจฉัยคดีศาลก็อาจนําหลักกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่งมาใชในการ วินิจฉัย โดยอาศัยหลักของมาตรา 4 วรรคสอง โดยศาลไดนําบทบัญญัติเรื่องเชาทรัพย เชาซื้อ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 537 และ มาตรา572 มาปรบใช
จากการศึกษาคําพิพากษาของศาลฎีกา ศาลก็ไมไดนําแนวทางตามประกาศ อธิบดีกรมสรรพากร และประกาศกระทรวงการคลังที่มีหลักเกณฑเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่ง ดังกลาวมาใชในการวินิจฉัยคดี แตศาลใชหลักการในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ซึ่งคําพิพากษาศาลฎีกาฉบับแรกที่วินิจฉัยเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่ง คือ คําพิพากษาของ ศาลฎีกาที่ 8810/2543 (ประชุมใหญ)ที่วินิจฉัยวาสัญญาเชาแบบลิสซิ่งไมถือเปนสัญญา เชาซื้อแตถือเปนสัญญาเชาทรัพย จึงไมตองปดอากรแสตมปในเมื่อเปนการเชา สังหาริมทรัพย เปนการวินิจฉัยโดยอาศัยประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 4 วรรคสอง โดยอาศัยกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง เพราะกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องนี้ยังไมมี การบัญญัติไวโดยเฉพาะ ซึ่งตอมาศาลฎีกาไดวินิจฉัยคดีตามแนวคําพิพากษาฉบับ ดังกลาวมาโดยตลอด ตามคําพิพากษาของศาลฎีกาดงตอไปนี้ 6
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 5959/2544 สัญญาใหเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่งที่พิพาทมี ขอความและรายละเอียดเชนสัญญาเชาทรัพย ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย โดยไมมีขอความตอนใดแสดงวาคูสัญญาไดตกลงซื้อหรือเชาซื้อทรัพยสินที่เชา และไม ปรากฏวาคาเชาที่ชําระใหถือเปนสวนหนึ่งของราคาทรัพยสินที่เชา แมจะมีขอตกลงที่ใหผู เชามีสิทธิเลือกซื้อทรัพยสินที่เชา ก็เปนเพียงคํามั่นจะขายทรัพยสินที่เชาใหแกผูเชา หากผู เชาประสงคจะซื้อในอนาคตโดยเสนอราคาจะขายไวลวงหนา สญญาใหเชาทรัพยสินแบบ ลิสซิ่งที่พิพาทจึงเปนสญญาเชาทรพยตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 537 คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 5753/2545 ที่วินิจฉัยวา การเชารถยนตกรณีนี้เปนการ เชาแบบลิสซิ่ง โดยเมื่อครบกําหนดระยะเวลาเชาแลว โจทกมีภาระผูกพันตองใหจําเลยมี สิทธิเลือกซื้อรถยนตที่ใหเชาไดในราคาถูกกวาราคาในทองตลาดเปนการตอบแทน โจทก เปนแหลงเงินทุนประกอบธุรกิจหากําไรจากการใหเชารถยนตหรือการใหเชาซื้อ จึงนาเชื่อ
6 สืบคนจากhttp://deka2007.supremecourt.or.th/deka/web/searchlist.jsp.
วา ในการกําหนดคาเชาแบบลิสซิ่ง โจทกจะตองคํานวณคาซื้อรถยนตและคาดอกเบี้ยเขา ไปเปนสวนหนึ่งของคาเชาดวย ดังนั้น คาเชาที่โจทกกําหนดไวในสัญญาลิสซิ่งจึงนาจะสูง กวาคาเชาตามสัญญาเชาธรรมดา เมื่อโจทกบอกเลิกสัญญาเชาแกจําเลยโดยชอบ และ ยึดรถยนตที่ใหเชาคืนมาจากจําเลย สัญญาเชาระหวางโจทกกับจําเลยยอมสิ้นสุดลงใน วันดังกลาวแลว คูสัญญาจึงตองใหอีกฝายหนึ่งกลับคืนสูฐานะดังที่เปนอยูเดิม ตาม ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 391 วรรคหนึ่ง โจทกจะอาศัยสัญญาเชามา ฟองเรียกคาเชาที่จําเลยคางชําระอีกไมได จะเรียกไดก็แตเพียงคาที่จําเลยไดใชประโยชน จากรถยนตที่เชามาตลอดระยะเวลาที่จําเลยครอบครองรถยนตอยูตามมาตรา 391 วรรค สามเทานั้น
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 6967/2545 สัญญาเชา (โดยมีสิทธิเลือกซื้อ) ระบุวา หาง ฯ จําเลยที่ 1 เชารถยนตคันหนึ่งจากบริษัทโจทกมีกําหนด 4 ป ชําระคาเชาเปนรายเดือน โดยจําเลยที่ 1 ไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญากอนครบกําหนดการเชาแตมีสิทธิจะซื้อรถยนตที่ เชาจากโจทกได โดยบอกกลาวเปนหนังสือไปยังโจทกทางไปรษณียลงทะเบียน ดังนี้ สัญญาเชา (โดยมีสิทธิเลือกซื้อ) ที่ทําตอกันนี้จึงมีลักษณะเปนสัญญาเชาแบบลีสซิ่ง อันเปนสัญญาเชาทรัพยอยางหนึ่ง ที่โจทกในฐานะผูใหเชาใหคํามั่นวาจะขายทรัพยที่เชา ใหแกจําเลยที่ 1 ผูเชาเมื่อครบกําหนดการเชาแลว แตสัญญานี้หาใชสัญญาเชาซื้อตาม ความหมายของประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 572 ไม เพราะในสัญญาเชา ซื้อนั้น เมื่อผูเชาซื้อชําระคาเชาซื้อครบถวนแลว กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินที่เชาซื้อยอมโอนไป ยงผูเชาซื้อทันที โดยคาเชาซื้อรวมไวทั้งคาเชาและคาแหงกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินที่เชาซื้อ ดวย และผูเชาซื้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญาเชาซื้อในเวลาใดก็ได ดวยสงมอบทรัพยสินที่เชา ซื้อคืนแกผูใหเชาซื้อตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 573 แตสัญญาเชา แบบลีสซิ่งเมื่อผูเชาชําระคาเชาจนครบกําหนดการเชาแลว กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินที่เชายัง ไมตกเปนของผูเชาจนกวาจะแสดงเจตนาสนองรับคํามนของผูใหเชาจนเกิดเปนสัญญาซื้อ ขายระหวางผูเชากับผูใหเชาเสียกอนเงินคาเชา ก็ไมอาจถือวารวมคาแหงกรรมสิทธิ์ใน ทรัพยสินที่เชาไวดวย และผูเชาไมอาจบอกเลิกสัญญากอนครบกําหนดการเชาได ดังนั้น เมื่อสัญญาเชา (โดยมีสิทธิเลือกซื้อ) นี้มิใชสัญญาเชาซื้อ จึงไมจําตองปดอากรแสตมป ตามประมวลรัษฎากรฯ มาตรา 118 ก็ใชเปนพยานหลักฐานในคดีแพงได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 491/2546 สัญญาใหเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่ง แมจะมี ขอตกลงใหผูเชามีสิทธิซื้อทรัพยสินที่เชาเมื่อสัญญาเชาแบบลิสซิ่งสิ้นสุดลงแลว ก็เปน เพียงคํามั่นจะขายทรัพยสินที่เชาใหแกผูเชา ถาผูเชาไมใชสิทธิก็ตองคืนทรัพยสินใหแก ผูใหเชา กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินไมไดตกเปนของผูเชาทันทีจึงแตกตางจากสัญญาเชาซื้อ
ในสาระสําคัญ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 572 ซึ่งหากผูเชาชําระ คาเชาซื้อครบตามสัญญา กรรมสิทธในทรัพยสินยอมตกเปนของผูเชาซื้อทันที สญญาให เชาทรัพยสินแบบลิสซิ่งจึงเปนสัญญาเชาสังหาริมทรัพย ซึ่งตามประมวลรัษฎากรฯ มิได กําหนดไววาจะตองปดอากรแสตมป
คําพิพากษาศาลฎีกาท่ี 735/2548 สัญญามีขอความและรายละเอียดเกี่ยวกับ ทรัพยสินที่เชา ระยะเวลาการเชาคาเชาที่ผูเชาตกลงชําระเปนรายเดือน หนาที่ของผูเชา การสูญหายและเสียหายของทรัพยสินที่เชา การผิดสัญญา สิทธิในการยกเลิกสัญญา ของผูใหเชา อันเปนลักษณะของการเชาทรัพยตาม ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 537.โดยไมมีขอความตอนใดแสดงวาคูสัญญาไดตกลงซื้อหรือเชาซื้อทรัพยสินที่ เชา และไมปรากฏวาคาเชาที่ชําระใหถือเปนสวนหนึ่งของราคาทรัพยสินที่เชา แมตาม
สัญญาขอ 6 จะใหผเชามีสิทธิเลือกซ้อทรัพยสินที่เชา ก็เปนเพียงคํามนจะขายทรพยสินท
เชาใหแกผูเชาหากประสงคจะซื้อในอนาคต คูสัญญามิไดมีเจตนาที่จะโอนกรรมสิทธิ์ใน ทรัพยสินที่เชาใหแกกันมาตั้งแตเริ่มแรกดังสัญญาเชาซื้อ สัญญาดังกลาวจึงเปนสัญญา เชาทรพย การบอกเลิกสัญญาเชาทรัพยไมจําตองทําเปนหนังสือ ดังนั้น การมอบอํานาจ ใหทนายความบอกเลิกสัญญาก็ไมจําตองทําเปนหนังสือ เมื่อโจทกมีหนังสือบอกเลิก สญญาพรอมใบตอบรับของไปรษณียมาแสดง จึงถือวาโจทกไดบอกเลิกสัญญาโดยชอบ แลว
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 991/2548 สัญญาเชาแบบลิสซิ่งตามคําฟองโจทกนั้น โจทกผูใหเชาใหคํามั่นจะขายทรัพยที่เชาใหแกจําเลยที่ 1 เมื่อครบสัญญาเชาแลว โดย จําเลยที่ 1 มีสิทธิเลือกซื้อทรัพยสินที่เชาในราคาที่กําหนดไวลวงหนา 934,579.44 บาท หากมิไดผิดขอตกลงหรือเงื่อนไขในสัญญาเชากรรมสิทธิ์ในทรัพยสินที่เชา มิไดตกเปน ของจําเลยที่ 1 ผูเชาทันที สัญญานี้จึงมิใชสัญญาเชาซื้อตามความหมายของประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 572 เพราะสัญญาเชาซื้อนั้นเมื่อผูเชาซื้อชําระคาเชา ซื้อครบแลว กรรมสทธิ์ในทรัพยสินที่เชาซื้อยอมโอนไปยงผูเชาซื้อทันที ดังนั้น สัญญาเชา ตามคําฟองโจทก จึงหาใชสัญญาเชาซื้อที่จะตองปดอากรแสตมปไม
คําพิพากษาฎีกาที่ 2763/2551 วินิจฉัยวา สัญญาเชาทรัพยแบบลีสซิ่งถือไดวา เปนสัญญาเชาทรัพยอยางหนึ่ง ที่ผูใหเชาใหคํามั่นวาจะขายทรัพยสินที่เชาใหแกผูเชา เมื่อครบกําหนดการเชาแลว และกรรมสิทธิ์ไมตกเปนของผูเชาจนกวาจะแสดงเจตนารบคํา มั่นของผูใหเชา จนเกิดเปนสัญญาซื้อขาย เงินคาเชาไมอาจถือรวมคาแหงกรรมสิทธิ์ใน
ทรพยสินทเชาไวดวย และผูเชาไมอาจบอกเลิกสัญญากอนครบกําหนดการเชาได สัญญา เชาทรัพยแบบลิสซิ่งดังกลาวไมใชสญญาเชาซื้อ
จากการศึกษากฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่ง พบวามีการศึกษาเกี่ยวกับ สัญญาลิสซิ่งอยูในวงจํากัด อาจจะเปนเพราะวาเปนเรื่องที่เกิดขึ้นใหม ยังไมเปนที่รูจัก อยางแพรหลาย ซึ่งพอจะรวบรวมความเห็นของนักวิชาการทางนิติศาสตร และผูที่ เกี่ยวของกับการประกอบธุรกิจลิสซิ่ง ไดใหความหมายของสัญญาลิสซิ่งไวดังตอไปนี้
ศาสตราจารย ดร.ไผทชิต เอกจริยกร ใหความเห็นเกี่ยวกับความหมายของ สัญญาลิสซิ่งวาสัญญาลิสซิ่งเปนสัญญาเชาทรัพยธรรมดานี่เอง เพียงแตมีลักษณะพิเศษ ตรงที่ ผูใหเชาจะจัดหาทรัพยสินที่ผูเชาตองการมาใหผูเชา เชา ทรัพยสินนั้นปกติจะเปน สังหาริมทรัพยประเภทเครื่องยนต เครื่องจักร ยานพาหนะ และราคาคาเชาจะคํานวณจาก ราคาทรัพยสินและจากการใชงานไดของทรัพยสินนั้น และเมื่อสัญญาลิสซิ่งสิ้นสุดลงแลว ผูเชามีสิทธิซื้อทรัพยสินที่เชาในราคาที่ตกลงกันไวลวงหนา ซึ่งถาผูเชาไมใชสิทธิก็ตองคืน ทรัพยสินดังกลาวใหแกผูใหเชา 7
รองศาสตราจารย ดร.ศนันทกรณ โสตถิพันธ ไดใหความหมายของสัญญาลิสซิ่ง วา สัญญาลิสซงเปนสัญญาที่มีเปาหมายใหผูประกอบการทางธุรกิจสามารถใชเครื่องจักร ที่ตนตองการไดทันที โดยไมตองใชเงินของตนเองไปลงทุนซื้อ และใหหลักประกันตอผู ลงทุน หรือผูใหเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่งดวยการประกันทางทรัพยตราบเมื่อเงินลงทุนยัง ไมไดรับคืน 8 และทานไดใหความเห็นเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งวา แมสัญญาเชาทรัพยสิน แบบลิสซิ่งสวนใหญที่ใชจะเปนสัญญาทางการเงินก็ตาม แตในทางปฏิบัติของการทํา สัญญาที่ทําในชื่อของสัญญาลิสซิ่ง แตสาระสําคัญของสัญญาอาจเปนสัญญาเชาทรัพย หรือสญญาเชาซื้อ หรือสัญญาไมมีชื่อ ที่ยืนอยูบนหลกเสรีภาพในการทําสัญญาก็ได ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับขอเท็จจริงในแตละครั้งวาสาระสําคญของสญญาที่ทําภายใตชื่อสัญญาลิสซิ่งนั้น เขาลกษณะของสัญญาแบบใด9
7 ไผทชิต เอกจริยกร , คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยลักษณะเชา ทรัพย เชาซื้อความรูเบื้องตนเกี่ยวกับลิสซิ่ง , (กรุงเทพมหสนคร: สํานักพิมพวิญูชน , 2538) ,น. 187.
8 จําป โสตถิพันธ,คําอธิบายกฎหมายลักษณะเชาทรัพย เชาซื้อ. (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพวิญูชน,2547), น.217.
9 เพิ่งอาง,น.228.
นอกจากนี้เมื่อพิจารณาในแงของการประกอบธุรกิจทางเศรษฐกิจ ก็มีการให ความเห็นวาลิสซิ่งเปนบริการจัดหาเงินทุน (Financing) รูปแบบหนึ่งเพื่อจัดหาทรัพยสิน ประเภททุนที่จะนํามาใชในการผลิตและการดําเนินธุรกิจในลักษณะของการใหเชาแทน การซื้อ โดยผูเชา (Lessee) จะตองเปนผูเลือก จัดหา และตกลงราคาทรัพยสินนั้นกับ ผูผลิต และจําหนายโดยตรง และจากนั้นจะตองหาผูใหเชา (Lessor) เพื่อจะจัดซื้อ ทรัพยสินดังกลาวตามราคาที่ตกลงไว และนําทรัพยสินมาใหผูเชาเชาตามราคาและ ระยะเวลาที่กําหนดไวในสญญา 10
คุณสาธิต รังคสิริ ไดใหความหมายของสัญญาลิสซิ่งวา ลิสซิ่งเปนการใหบริการ สินเชื่ออยางหนึ่ง แตใหในรูปของทรัพยสินเครื่องจักร เครื่องมือ เครื่องกลตางๆ แทนที่จะ ใหสินเชื่อในรูปของเงินสด ธุรกิจที่ทําหนาที่เปนผูใหเชาเรียกวา(Lessor) จะเปนตัวกลาง ในการจัดหาทรัพยสินตามที่ผูเชา(Lessee) ตองการโดยผูใหเชายังคงมีกรรมสิทธิ์ใน ทรัพยสินนั้น ในขณะที่ผเชามีสิทธิ์ทจะใชทรพยสินนนดวยการจายคาเชาตามระยะเวลาที่ ตกลงกัน และเมื่อสิ้นสุดสัญญากรรมสิทธิ์ในทรัพยสินนั้นอาจเปลี่ยนเปนของผูเชาหรือไม ก็ได 11
คุณนารี ตัณฑเสถียร ไดใหความหมายของสัญญาลิสซิ่งวา ลิสซิ่งเปนการ ใหบริการสินเชื่อในรูปแบบของทรัพยสิน เครื่องจักร เครื่องใชตางๆ โดยผูใหเชา(Lessor) จะเปนผูจัดหาทรัพยสินจากผูผลิตหรือผูจําหนายทรัพยสินนั้นๆตามความประสงคของผู เชา (Lessee) โดยกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินยังคงเปนของผูใหเชา(Lessor) และผูเชา (Lessee) มีหนาที่ตองจายคาเชาและบํารุงรักษาซอมแซมทรัพยสินที่เชา จนกระทั่งเมื่อ สัญญาสิ้นสุดลงผูเชาจึงมีสิทธิเลือกที่จะซื้อหรือไมซื้อทรัพยสินนั้นตามราคาตลาด(มูลคา คงเหลือ) ซึ่งไดกําหนดไวลวงหนาก็ได 12
คุณลัดดา โภคาสถิตย ไดใหความหมายของสัญญาลิสซิ่งไววา คือสัญญาที่ผู ประกอบธุรกิจลิสซิ่ง จะทําหนาที่เปนคนกลางดานการใหบริการระหวางผูประกอบการที่ ตองการใชเครื่องจักรและอุปกรณตางๆ กับผูผลิตสินคาทุนเหลานั้นโดยทําหนาที่จัดหา
10 ศูนยขอมูลเศรษฐกิจ บริษัท บริการขอมูล ผูจัดการจํากัด(MIS),”ธุรกิจลิสซิ่ง.” หนงสือพิมพผูจัดการรายวัน , ฉบบเสาร-อาทิตย ,(1-2 เมษายน 2538, น.17.)
11 สาธิต รังคสิริ, “ขอลิสซิ่ง ซิ่งสักครั้ง.”เอกสารภาษีอากร,วารสารธรรมนิติ, เลมที่
132 ปที่ 12 ,(กันยายน 2537, น.82.)
12 นารี ตัณฑเสถียร,”ลิสซิ่ง(Financial Lease) กับกฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจลิสซิ่ง, วารสารอัยการ,(2531,น.107.)
เครื่องจักรและอุปกรณมาบริการใหลูกคาในรูปของการเชา ซึ่งสัญญาเชานี้จะทําระหวาง ผูใหเชา (Lessor) กับผูเชา(Lessee)คือผูตองการใชเครื่องจักรและอุปกรณ ธุรกิจลิสซิ่ง จะเปนผูใหคําปรึกษา และทําการตกลงกับผูเชาเกี่ยวกับประเภท ชนิดของทรัพยสิน รวมทั้งอัตราคาเชา ระยะเวลาเชา และขอตกลงเมื่อระยะเวลาสิ้นสุด โดยกรรมสิทธิ์ใน ทรัพยสินนั้นยังคงเปนของผูใหเชา ในขณะที่ผูเชามีสิทธิในการใชทรัพยสินเทานั้น เพราะ วัตถุประสงคของสัญญาเชาแบบลิสซิ่งนี้ ก็เพื่อใชทรัพยสินมากกวาความเปนเจาของใน ทรัพยสิน แตเมื่อสิ้นสุดสัญญาเชาแลว กรรมสิทธ์ิในทรัพยสินจะเปลี่ยนมาเปนของผูเชา หรือไมขึ้นอยูกับวา ผูเชาจะรับขอเสนอของผูใหเชาที่จะขายทรัพยสินนั้นใหดวยราคาที่ตก ลงกันไวหรือไม 13
คุณสุเทพ พงษพิทักษ ไดใหความเหนไววา การใหเชาแบบลิสซิ่ง (Leasing) หรือ (Financial lease) เปนการนําทรัพยสินออกใหเชาประเภทหนึ่ง ซึ่งถือเปนเอกเทศสัญญา ที่คูสญญาจะตกลงกําหนดเงื่อนไขการใหเชาเปนอยางไรก็ได เปนการใหเชาที่มีระยะเวลา ปานกลางถึงระยะยาวขึ้นอยูกับการใชงานของทรัพยสินที่ใหเชา สวนใหญจะเปนการให เชาทรัพยสินประเภททุน หรือเครื่องจักรที่ใชในทาง อุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม(ใน ปจจุบันรวมถึงรถยนต) โดยผูเชา (Lessee)เปนผูรับผิดชอบในการบํารุงรักษาและจายคา เบี้ยประกันภัยความเสียหายตอทรัพยสินที่เชาทั้งนี้มักจะมีขอกําหนด หามมิใหผูเชาบอก เลิกสัญญากอนครบกําหนดเวลาตามสัญญา อาจมีขอตกลงที่ผูใหเชา (Lessor) จะตกลง ขายทรัพยสินทใหเชานนแกผูเชาเมื่อครบกําหนดสัญญา 14
จากการศึกษาความหมายของสัญญาลิสซิ่ง ตามประกาศกระทรวงการคลัง และ ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร และความเห็นของนักวิชาการ ทําใหทราบความหมายของ สัญญาลิสซิ่ง วา คือ สัญญาระหวางผูใหเชากับผูเชาโดยผูเชาจะเปนผูเลือกทรัพยสินจาก ผผลิตหรือผูจําหนายเอง เปนทรพยสนประเภททุน หรอเครองจกรทใชในทาง อุตสาหกรรม และพาณิชยกรรม โดยผูใหเชาเปนผูชําระราคาและเปนเจาของกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินนั้น ในขณะที่ผูเชามีสิทธิจะครอบครองและใชประโยชนจากทรัพยสินดวยการชําระคาเชา ตามที่ตกลงกัน และเปนผูรับผิดชอบในการบํารุงรักษาและจายคาเบี้ยประกันภัยความ
13 ลัดดา โภคาสถิต,”ธุรกิจการใหเชาสินคาทุนแกผูประกอบการลิสซิ่งกับ ภาษีมูลคาเพิ่ม.”สรรพากรสาสน ,ปที่36,(กันยายน 2532, น.78-79.)
14 สุเทพ พงษพิทักษ, “บัญชีภาษีอากรสําหรับธุรกิจใหเชาซื้อและธุรกิจลิสซิ่ง,”
สรรพากรสาสน , ปที40.ฉบบที่ 7. (กรกฎาคม2536 ,น.50.)
เสียหายตอทรัพยสินที่เชาทั้งนี้มักจะมีขอกําหนด หามมิใหผูเชาบอกเลิกสัญญากอนครบ กําหนดเวลา ตามสัญญา เมื่อสิ้นสุดสัญญาเชาผูเชามีสิทธิเลือกที่จะขอซื้อทรัพยสินที่เชา เปนกรรมสิทธิ์ของตน หรือทําสัญญาเชาตอ หรือสงมอบทรัพยคืนแกผูใหเชาก็ได ตามแตจะตกลงกัน
จากความหมายของ สัญญาลิสซิ่ง ดังกลาวสามารถที่จะสรุปสาระสําคัญของ สญญาลิสซิ่งไดดังนี้
1. เปนสญญาใหเชาสังหาริมทรัพยชนิดหนึ่ง
2. ผูใหเชา (Lessor) เปนผูมีหนาที่ในการติดตอและซื้อทรัพยสินจากผูผลิตหรือผู จําหนายตามความตองการใชทรัพยสินของผูเชา (Lessee)
3. ผูเชา (Lessee) เปนผูใชทรัพยสินเพื่อประโยชนในทางอุตสาหกรรม พาณิชย กรรม เกษตรกรรม ของตนมีหนาที่ชําระคาเชาตามอัตราที่ตกลงกัน และมีหนาที่ในการ บํารุงรักษาซอมแซม และประกนภยทรพยสิน
4. เปนสัญญาที่มีกําหนดระยะเวลาในการเชาครอบคลุมระยะเวลาสวนใหญของ อายุการใชงานของทรัพยสิน และผูเชาจะบอกเลิกสัญญาเชากอนครบอายุการเชาไมได
5. เมื่อสิ้นสุดสัญญาเชา ผูเชามีสิทธิ์ซื้อทรัพยสินที่เชาเปนกรรมสิทธิ์ของตนเอง ตามราคาทไดตกลงกันไว หรือสงคืนทรัพยที่เชา หรือทําสัญญาเชาตอ แลวแตจะตกลงกัน ไวในสัญญา
เมื่อพิจารณาจากความหมาย และสาระสําคัญของสัญญาลิสซิ่งแลว สัญญา ลิสซิ่งเปนเอกเทศสัญญาอยางหนึ่ง ที่คูสัญญาสามารถที่จะตกลงทําสัญญากันอยางไรก็ ได ที่เปนการไมขัดตอกฎหมายหรือขัดตอความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของ ประชาชนตามหลักเสรีภาพในการทําสัญญา (Freedom of Contract) เปนหลักการที่ แสดงออกมาเปนรูปธรรมของหลักเสรีภาพในการแสดงเจตนา ซึ่งเปนหลักการพื้นฐานใน การทําสัญญา เปนเรองที่ปจเจกชนใชความเปนอิสระของตนจัดการขอบเขตทางกฎหมาย ของตนรวมกบบุคคลอื่น โดยจะตกลงทําสัญญากับใครอยางไรก็ไดทั้งสิ้น เพียงแตตองไม เปนการขัดตอกฎหมาย ความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชนแลว ยอมทํา ไดเสมอตามหลักเกณฑตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย แตในกรณีของสถาบัน การเงินที่เปนบริษัทเงินทุนที่จะประกอบธุรกิจลิสซิ่งนั้นจะตองเปนไปตามหลักเกณฑตาม ประกาศกระทรวงการคลัง และหากตองการไดรับสิทธิประโยชนในทางภาษีก็ตองเปนไป ตามหลักเกณฑตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
อีกทงในการทําสัญญาลิสซิ่งในทางธุรกิจ มีการทําสัญญาทมีขอตกลง ของสัญญา
ที่หลากหลาย ทั้งผูประกอบธุรกิจลิสซิ่ง ก็มักจะประกอบกิจการเชาซื้อ ควบคูกันไปดวย
อีกทงประชาชนทวไปก็ไมมีความเขาใจที่ดีพอเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่ง ทําใหเกิดความเขาใจ วาสัญญาลิสซิ่ง ก็คือสัญญาเชาซื้อ หรืออาจเขาใจวาสัญญาลิสซิ่งเปนสัญญาเชาทรัพย ซึ่งผูศึกษาเห็นวา สญญาลิสซิ่งมีลักษณะเหมือนกับสัญญาเชาซื้อ เพราะเมื่อผูเชาชําระคา เชาซื้อครบตามจํานวนงวดที่ไดตกลงกัน กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินก็ตกเปนของผูเชา ซึ่งทําให สัญญาลิสซิ่งมีวัตถุประสงคในการโอนกรรมสิทธิ์ เหมือนกับสัญญาเชาซื้อ แมกรรมสิทธจะ โอนตามสัญญาซื้อขายที่เกิดขึ้นภายหลังก็ตาม แตราคาซื้อขายก็ไดนับรวมคาเชาที่ได ชําระไปแลวดวย และคาเชาตามสัญญาลิสซิ่งก็คิดจาก ราคาทรัพยสินบวกดวย ผลประโยชนทางการเงินของผูใหเชาที่เปนดอกเบี้ยและคาใชจายอื่นๆรวมอยูดวย ซึ่งมี ลักษณะเหมือนกันกับคาเชาซื้อ และนอกจากนี้ สัญญาลิสซิ่งก็มีลักษณะเหมือนกับ สัญญาเชาทรัพย เพราะเมื่อสิ้นสุด สัญญาเชาแลว หากผูเชาไมตองการซื้อ ก็ไมได กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินนั้น ดังนั้นวัตถุประสงคของการเชาจึงมีเพียงตองการใชหรือไดรับ ประโยชนในทรัพยสินที่เชาเทานั้น ไมมีวัตถุประสงคในการโอนกรรมสิทธิ์ และเนื่องจาก สญญาลิสซิ่งที่เกิดขึ้นจริงในการประกอบธุรกิจมีหลายประเภท ขึ้นอยูกับหลายปจจัยตาม ขอตกลงในสัญญาระหวางผูใหเชากับผูเชา ดังนั้นจึงมีความจําเปนที่จะตองศึกษา ประเภทตางๆของ สัญญาลิสซ่ิง เพื่อนํามาวิเคราะหและเปรียบเทียบกับสัญญาที่เกิดขึ้น จริง เพื่อเปนแนวทางในการแกไขปรับปรุงหลักเกณฑ และหลักกฎหมายเกี่ยวกับสัญญา ลิสซิ่ง เพื่อใหสามารถใชบังคับใหเปนไปตามสิทธิหนาที่ และสอดคลองกับหลักกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และ เกิดความเปนธรรมกับคูสัญญา ซึ่งผูศึกษา จะไดทําการศึกษาประเภทของสัญญาลิสซิ่ง และนํามาวิเคราะหเปรียบเทียบกับสัญญา ประเภทตางๆตอไป
จากการศึกษาคนควาผลงานการศึกษาวิจัยทางวิชาการเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งใน ประเทศไทย พบวามีมีการศึกษาลักษณะของสัญญาลิสซิ่งในเชิงธุรกิจการประกอบธุรกิจ ลิสซิ่ง รวมทั้งการศึกษาถึงการพัฒนาธุรกิจลิสซิ่งในเชิงนิติศาสตร ไดใหความหมายของ สัญญาลิสซิ่ง หมายถึง ขอตกลงระหวางผูใหเชากับผูเชาโดยผูเชาจะเปนผูเลือกทรัพยสิน จากผูผลิตหรือ ผูจําหนายเอง ผูใหเชาเปนผูชําระราคาและเปนเจาของกรรมสิทธิ์ใน ทรัพยสินนั้น ในขณะที่ผูเชามีสิทธิจะครอบครองและใชประโยชนจากทรัพยสินดวยการ ชําระคาเชาตามที่ตกลงกัน เมื่อสิ้นสุดสัญญาเชาผูเชามีสิทธิเลือกที่จะขอซื้อทรัพยสินที่ เชาเปนกรรมสิทธิ์ของตน หรือทําสัญญาเชาตอ หรือสงมอบทรัพยคืนแกผูใหเชาก็ได
ตามแตจะตกลงกัน 15 สัญญาลิสซิ่งจะเปนกรณีที่มีบุคคลสามฝายคือ ผูเชา ผูใหเชา และผู จัดสงอุปกรณสินคา หรือผูผลิต เปนสัญญาที่ประกอบดวยสองสัญญา คือสัญญาจัดสง อุปกรณระหวางผูใหเชากับผูจัดสงอุปกรณ และ สัญญาลิสซ่ิงระหวางผูใหเชา กับผูเชา ที่ มีลักษณะคลายกับสัญญาเชาทรัพยและเชาซื้อ แตมีขอตกลงพิเศษระหวางคูสัญญา โดย กําหนดเงื่อนไขบางประการที่มีลักษณะเปนการลิสซิ่ง เชน ผูเชาจะบอกเลิกสัญญากอน ครบกําหนดไมได ผเชามีสิทธิเลือกซอทรพยที่เชา หรือตออายุการเชาก็ได 16
เมื่อศึกษาการเกิดขึ้นและความหมายและสาระสําคัญของสัญญาลิสซิ่งแลว ผูเขียนจะไดศึกษาองคประกอบของสญญาลิสซิ่งโดยแยกพิจารณาดังนี้
1.1.1 แบบของสญญา
แบบของสัญญาเปนองคประกอบสวนหนึ่งของสัญญา ซึ่งคูสัญญาสามารถที่จะ ตกลงทําสัญญาในแบบใดก็ได ตามหลักอิสระในทางแพง (Private Autonomy) และ หลักเสรีภาพในการทําสัญญา(Freedom of Contract) แตตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชยไดจํากัดแบบของสัญญาเอาไว ในมาตรา 152 บัญญัติวา การใดมิไดทําให ถูกตองตามแบบที่กฎหมายบังคับไวการนั้นเปนโมฆะ ซึ่งบทบัญญัติดังกลาวเปน กฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอย ตามมาตรา 151 ดังนั้นการทําสัญญาในเรื่องใดที่ มีกฎหมายกําหนดแบบของสัญญาเอาไว คูสัญญาไมสามารถที่จะตกลงทําสัญญาให แตกตางไปจากที่กฎหมายบัญญัติไวได และหากคูสัญญาฝาฝนมีผลทําใหสัญญานั้นตก เปนโมฆะ
สัญญาลิสซิ่งจัดเปนเอกเทศสัญญาประเภทหนึ่งตามตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชยบรรพ 1 และบรรพ 2 วาดวยนิติกรรมและสัญญา แบบแหงสัญญาที่ กฎหมายกําหนดไวจึงไมมี แตก็มีนกวิชาการไดใหความเห็นไวดังนี้
สัญญาเชาแบบลิสซงตองทําเปนลายลกษณอกษรลงลายมือชอผูเชา และผูใหเชา กรณีดังกลาวถือไดวา เปนแบบที่กฎหมายบังคับ กลาวคือ สัญญาเชาแบบลิสซิ่งตองทํา เปนลายลักษณอักษร และลงลายมือชื่อของคูสัญญาทั้งสองฝาย 17 หนังสือเปนแบบของ
15 สุดาทิพย เทวกุล ,”ธุรกิจลิสซิ่ง,” ( วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2531), น.77, 80.
16 เนตรนภา บุญคํา , “ แนวทางการพัฒนาธุรกิจลิสซิ่งในเชิงนิติศาสตร “ (วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ,2539 ), น. 92 ,94.
17 จําป โสตถิพันธุ , อางแลวเชิงอรรถที่ 8, น.224.
นิติกรรม 18 เมื่อพิจารณาจากบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 9 บัญญัติวา เมื่อมีกิจการอันใดซึ่งกฎหมายบังคับใหทําเปนหนังสือ บุคคลผูจะตองทํา หนังสือไมจําเปนตองเขียนเอง แตหนังสือตองลงลายมือชอของบุคคลนั้น
โดยที่มาตรา 152 บัญญัติวา การใดมิไดทําใหถูกตองตามแบบที่กฎหมายบังคับ ไว การนั้นเปนโมฆะ เมอตามประกาศกระทรวงการคลงดงกลาว กําหนดไวเพียงวาสญญา เชาตองทําเปนหนังสือ ไมมีขอความที่กําหนดวา ถาไมทําเปนหนังสือจะตกเปนโมฆะ ผู ศึกษาเห็นวา สัญญาลิสซิ่ง หรือสัญญาเชาแบบลิสซิ่ง เปนสัญญาที่ไมมีแบบที่กฎหมาย กําหนดไว
แบบของสัญญาลิสซิ่งตามกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งของไทยดังกลาว เปน การอธิบายโดยใชหลกเกณฑตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีการคา(ฉบับที่ 53) เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไข ระยะเวลาที่ใหเชาทรัพยสิน และหลักเกณฑ การคํานวณทุนของทรัพยสินที่ใหเชาบางประการ และ ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง เงื่อนไขการอนุญาตใหบริษัทเงินทุน ประกอบกิจการใหเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่ง แมจะมี ขอความวา สัญญาเชาตองทําเปนหนังสือ และมีขอความเหมือนกันกับ บทบัญญัติใน ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ลักษณะเชาซื้อ ในมาตรา 572 วรรคสอง ที่บัญญัติวา สญญาเชาซื้อถาไมทําเปนหนังสือ ทานวาเปนโมฆะ โดยถือวาเปนแบบของสัญญาเชาซื้อ ที่ตองทําเปนหนังสือ หากสัญญาเชาซื้อไมทําเปนหนังสือถือวาไมทําสัญญาตามแบบที่ กฎหมายกําหนด สัญญาตกเปนโมฆะ ซึ่งเปนผลของการ ไมทําสัญญาใหเปนไปตามแบบ ที่กฎหมายกําหนดไว เมื่อสัญญาลิสซิ่งไมไดกําหนดผลวาถาไมทําเปนหนังสือตกเปน โมฆะ การที่ประกาศดังกลาวกําหนดใหสัญญาลิสซิ่งตองทําเปนหนังสือ จึงไมใชการ กําหนดแบบของสญญาลิสซิ่ง
เนื่องจากสัญญาเชาแบบลิสซิ่งในประเทศไทยไมมีกฎหมายรองรับ การทําสัญญา ลิสซิ่งจึงจัดทําขึ้นในรูปแบของสัญญาเชาธรรมดา และในการใหเชาแบบลิสซิ่งในประเทศ ไทยสวนใหญบริษัทจะขายทรัพยสินที่ใหเชาแกผูเชาเลย โดยไดมีการตกลงกับผูเชาดวย วาจาเมื่อตอนทําสัญญาเชาแลว แตจะไมระบุลงในสัญญาวาจะขายทรัพยสินเมื่อหมด สัญญา 19 ซึ่งความเห็นดังกลาวนี้ เปนการใหความเห็นที่สอดคลองกับแนวทางปฎิบัติใน การทําสัญญาลิสซิ่งที่ไมมีแบบที่กฎหมายกําหนดไว ดังนั้นการทําสัญญาลิสซิ่งจึงตองทํา
18 ศักดิ์ สนองชาติ , คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยนิติ กรรมและสัญญา ,(กรุงเทพมหานคร: นิติบรรณาการ,2545) , น.75.
19 สุดาทิพย เทวกุล, อางแลวเชิงอรรถที่ 15 , น. 69 ,75.
เปน สัญญาเชาทรัพย ซึ่งตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ไมถือเปนแบบของ สัญญา อีกทั้ง เมื่อพิจารณาถึงสิทธิหนาที่ของคูสัญญาในสัญญาลิสซิ่งแลว จะมีความ ใกลเคียงกับบทบญญัติเรื่องเชาทรพย 20 สัญญาลิสซงจัดเปนเอกเทศสัญญาประเภทหนึ่ง ตามตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยบรรพ 1 และบรรพ2 วาดวยนิติกรรมและ สัญญา แบบแหงสญญาที่กฎหมายกําหนดไวจึงไมมี 21 โดยถือเอาขอตกลงในสัญญาที่มี ผลเปนการผูกนิติสมพันธขึ้นระหวางบุคคลทเปนคูสญญา
3.1.2 คุณสมบัติของคูสญญา
บทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ไมไดกําหนดจํากัดคุณสมบัติ ของบุคลในการทํานิติกรรม เพียงแตบุคคลตองมีความสามารถสมบูรณ และไมจํากัดวา จะตองเปนนิติบุคคลหรือบุคคลธรรมดาเทานั้น ซึ่งเปนไปตามหลักอิสระในทางแพง และ หลักเสรีภาพในการทําสัญญา
คุณสมบัติของคูสัญญาในสัญญาลิสซิ่งจึงมีผูใหความเห็นไวดังตอไปนี้ ผูใหเชาแบบลิสซิ่ง ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร ที่อาศัยอํานาจตามประมวล
รัษฎากร เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไข ระยะเวลาที่ใหเชาทรัพยสิน และ เกณฑการคํานวณทุนทรัพย ของทรัพยสินที่ใหเชาบางประการตองมีคุณสมบัติดังนี้
(1) ผูใหเชาตองเปนธนาคารพาณิชย บริษัทเงินทุนหลักทรัพย บริษัท เครดิตฟองซิเอร หรือ
(2) เปนบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล ซึ่งมีวัตถุประสงคในการประกอบ กิจการใหเชาแบบลิสซิ่ง ใหเชาซื้อ ซื้อขายผอนชําระ และมีทุนจดทะเบียนที่ไดชําระแลว ไมต่ํากวา 60 ลานบาท ในกรณีที่บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลนั้นประกอบกิจการ อยางอื่นนอกเหนือจากกิจการดังกลาว โดยกิจการอยางอื่นนั้นตองมิใชกิจการผลิตสินคา หรือตัวแทนจําหนายสินคา เงินไดจากการประกอบกิจการอยางอื่นนั้นจะตองไมเกินรอย ละ 25 ของเงินไดทั้งสิ้น กอนหักรายจายในรอบระยะเวลาบัญชี และ
(3) ตองยื่นคําขอจดทะเบียนเปนผูประกอบการคาตออธิบดีกรมสรรพากร และตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง เงื่อนไขการอนุญาตใหบริษัทเงินทุน
ประกอบกิจการใหเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่ง ผูใหเชาแบบลิสซิ่ง ตองเปนนิติบุคคล ประเภท
20 ศักดิ์ สนองชาติ, อางแลวเชิงอรรถที่ 16 , น. 94.
21 อํานาจ เพียรไทย , “ ปญหากฎหมายธุรกิจลิสซิ่งในประเทศไทย : ศึกษากรณี บริษัทจํากัด , ( วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง,2543),น.88.
บริษัทเงินทุนหลักทรัพย หรือบุคคลหรือหางหุนสวนตามความในมาตรา35 วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร พ.ศ.2522 และไดรับอนุญาตจากรฐมนตรี โดยยนคําขอตอธนาคารแหงประเทศไทย
นอกจากนี้ผใหเชายังรวมทงบริษัทหรือหางหนสวนนิติบุคคล ซึ่งมีวัตถุประสงคใน การประกอบกิจการใหเชาแบบลิสซิ่ง ใหเชาซื้อ ซื้อขายผอนชําระ และมีทุนจดทะเบียนที่ ไดชําระแลวไมตากวา 60 ลานบาท และไดรับอนุญาตจากการะทรวงการคลัง
ซึ่งหลักเกณฑดังกลาวนี้เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบ กับบทบัญญัติในประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย ลักษณะเชาทรัพย เชาซื้อแลว กฎหมายไมไดกําหนดจํากัด คุณสมบัติของผูใหเชาซื้อไว เพียงแตผูใหเชาหรือผูใหเชาซื้อจะตองมีกรรมสิทธิ์ใน ทรัพยสินที่จะนําไปใหเชาหรือใหเชาซื้อ และไมจํากัดวาจะตองเปนนิติบุคคลหรือบุคคล ธรรมดาเทานั้น ซึ่งเปนไปตามหลักอิสระในทางแพง และหลักเสรีภาพในการทําสัญญา และผูศึกษาเห็นวาขอกําหนดตามประกาศทั้งสองฉบับดังกลาว เปนการควบคุมการ ดําเนินธุรกิจใหเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่งของสถาบันการเงิน มิใชการออกหลักเกณฑของ กฎหมายมาใชกับสัญญาลิสซิ่งโดยเฉพาะ ดังนั้นผูใหเชาในสัญญาลิสซิ่งจึงเปนไดทั้ง บุคคลธรรมดาและนิติบุคคล และหากนิติบุคคลนั้นเปนบริษัทเงินทุนก็ตองมีคุณสมบัติ ตามหลักเกณฑในประกาศกระทรวงการคลัง และหากตองการไดรับสิทธิประโยชนในทาง ภาษีก็ตองพิจารณาคุณสมบัติตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
ผูเขียนเห็นวาประกาศดังกลาวเปนกฎหมายลําดับรอง จึงควรที่จะมีการบัญญัติ กฎหมายที่มีลําดับศักดิ์เทากับประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาใชกับสัญญาลิสซิ่ง โดยเฉพาะ และแยกกฎหมายที่มีลักษณะเปนการควบคุมการประกอบธุรกิจใหเชา ทรัพยสินแบบลิสซิ่งไวตางหาก กลาวคือ ถาเปนการประกอบธุรกิจใหเชาทรัพยสินแบบ ลิสซงของสถาบันการเงิน หรือนิติบุคคลอื่น จะตองไดรับอนุญาตจากหนวยงานของรัฐ แต ถาไมใชการประกอบธุรกิจก็ใหสามารถทําไดตามหลักอิสระในทางแพง และหลักเสรีภาพ การแสดงเจตนา ซึ่งกรณีดังกลาวจะไมมีการจํากัดคุณสมบัติของผูใหเชาเอาไว ดังนั้น ผูใหเชาจึงเปนนิติบุคคล หรือบุคคลธรรมดาก็ได
คุณสมบัติของผูเชาในสัญญาลิสซิ่ง ก็มีนักวิชาการไดใหความเห็นไววา ผูเชา ตามสัญญาเชาแบบลิสซิ่งจะตองเปนนิติบุคคล ผูประกอบกิจการ อุตสาหกรรมพาณิชย กรรม หรือกิจการบริหารอยางอื่น เปนทางคาปกติ 22 ผูเชาแบบลิสซิ่ง (Leassee) จํากัด
เฉพาะนิติบุคคลเทานั้น 23 ผูเขียนเห็นวาบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลสามารถเปนผูเชา ในสัญาลิสซิ่งได และไมจํากัดวัตถุประสงคในการประกอบกิจการอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หรือกิจการบริหารอยางอื่น เปนทางคาปกติซึ่งเปนไปตามหลักอิสระในทาง แพง และหลักเสรีภาพในการทําสญญา
3.1.3 ประเภทของทรัพยสินในสัญญาลิสซิ่ง
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 4 ทรพยสิน ลกษณะ 2 หมวด 2 แดนแหงกรรมสิทธิ์และการใชกรรมสิทธิ์ มาตรา 1336 บัญญัติวา ภายใตบงคบแหง กฎหมายเจาของทรัพยสินมีสิทธิใชสอย และจําหนายทรัพยสินของตน ซงสิทธิดงกลาว รวมทงสิทธิในการจัดการทรพยสินของตนเอง หรือนําทรพยสินนนไปกอนิติสัมพนธในทาง กฎหมายกบบุคคลใดก็ไดตามตามหลกอิสระในทางแพง (Private Autonomy) และหลัก เสรีภาพในการทําสัญญา (Freedom of Contract) ในฐานที่เปนเจาของกรรมสิทธิ์ใน ทรัพยสินนั้น และเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกบลักษณะของสัญญาเชาทรัพย สัญญาเชา ซื้อ และสัญญาซื้อขายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยแลว เจาของกรรมสิทธิ์ใน ทรพยสินสามารถที่จะนําทรพยสินของตนเองไปใหบุคคลอื่นเชา เชาซื้อ หรือขายก็ได โดย กฎหมายไมไดจํากัด ประเภท ชนิด และราคาของทรัพยไว
ประเภทของทรัพยสินในสญญาลิสซิ่งไดมหลกเกณฑท่ีอธิบายไวดังนี้ ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร ที่อาศัยอํานาจตามประมวลรัษฎากร เรื่อง
กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไข ระยะเวลาที่ใหเชาทรัพยสิน และเกณฑการคํานวณ ทุนทรัพย ของทรัพยสินที่ใหเชาบางประการ ทรัพยสินที่ใหเชาเปนสังหาริมทรัพย ซึ่งผูให เชาซื้อมาเพื่อการใหเชาทรัพยสินแบบลิสซงแกผูเชาโดยเฉพาะ และตองไมเปนทรัพยสินที่ ผานการใชงานมาแลว ทั้งนี้ไมรวมถึงทรัพยสินที่ไดมาจากการผิดสัญญาใหเชาทรัพยสิน แบบลิสซิ่งหรือเปนทรัพยสินทใหเชา โดยการตออายุสัญญาเชาเดิม
และตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง เงื่อนไขการอนุญาตใหบริษัทเงินทุน ประกอบกิจการใหเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่ง ทรัพยสินที่ใหเชาตองมีราคาเงินสดไมต่ํากวา หาแสนบาท ตองเปนทรัพยสินประเภททุนเฉพาะเครื่องจักรหรือเครื่องมือใหม ที่มีราคาซื้อ ขายแนนอนสามารถสอบทานได ซึ่งใชในการอุตสาหกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกรรม หรือกิจการบริการอยางอื่นเทานั้นและตองไมใชทรัพยสินที่โดยสภาพของสินทรัพยนั้นไม สามารถนําไปใหผูอื่นเชาไดอีก และตองไมใชทรัพยสินที่ผานการใชงานมาแลวไมวา
ทรัพยสินดังกลาว จะไดรับการปรับปรุงใหมีลักษณะคลายของใหมหรือไมก็ตามทั้งนี้เวน แต จะเปนทรัพยสินซึ่งยึดมาจากผูเชารายอื่นของบริษัทเงินทุนนั้น หรือเปนทรัพยสิน ที่ใหเชา อันเนื่องมาจากการตออายุสญญา
ผูเขียนเห็นวา หลักเกณฑตามประกาศดังกลาวเปนการขัดตอหลักอิสระในทาง แพง (Private Autonomy) และหลักเสรีภาพในการทําสัญญา(Freedom of Contract) และหลักกรรมสิทธิ์ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เพราะเปนการจํากัดประเภท ของทรัพยสินที่สามารถนําไปทําสัญญาเชาแบบลิสซิ่งหรือสัญญาลิสซิ่งเอาไว
3.1.4 ประเภทของสัญญาลิสซิ่ง
สัญญาลิสซิ่งนั้นมีอยหลายประเภท ในทางวิชาการสามารถแบงแยกประเภทของ สัญญาลิสซิ่งได 3 ประเภท ดังนี้ 24
1. สัญญาเชาทางการเงินหรือเชาทรัพยสินประเภททุน (Financial lease)
สัญญาเชาทางการเงิน หรือเชาทรัพยสินประเภททุน (Financial lease) เปน สัญญาที่ผูใหเชาคือบริษทเงินทุนสนบสนนทางการเงินแกผเชา โดยหาผูจําหนายสินคาทุน ไมวาจะเปนสังหาริมทรัพย หรืออสงหาริมทรัพย มาใหผูเชาเลือก แลวผใหเชาหรือบริษัท เงินทุนจัดซื้อจากผูจําหนาย แลวมาใหผูเชาหรือผูประกอบการทางธุรกิจไดใชประโยชน ชั่วระยะเวลาที่กําหนด และผูเชาหรือผูประกอบการทางธุรกิจชําระคาเชาเปนระยะ โดย เมื่อครบกําหนดระยะเวลาเชาผูเชาหรือผูประกอบการทางธุรกิจ มีสิทธิที่จะเลือกซื้อ ทรัพยสิน นี้หรือไมก็ได ถาเลือกซื้อก็จะตองชําระราคาสวนที่เหลอที่ไดกําหนดไวลวงหนา แลว นอกจากนี้เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาในการเชาแลว ผูเชาหรือผูประกอบธุรกิจอาจขอตอ สัญญาเชา ขอเปลยนทรัพยสินที่เชา หรือสงคืนทรัพยสินที่เชาก็ได
สัญญาเชาประเภทนี้สวนใหญ มีระยะเวลาในการเชาปานกลางและระยะยาว ตงแต 3-5 ปขนไป หรือ เปนการเชาตลอดอายุการใชงานของตวทรัพยที่ทําสัญญาเชา ซงึ่ ผูใหเชาจะไดรับคาเชาคุมกับทุนที่ไดลงไปจากผูเชาเพียงรายเดียว การคิดอัตราคาเชาจะ คิดโดยอาศัยเกณฑการคํานวณราคาทรัพย บวกกําไรและดอกเบี้ยที่ผูประกอบการจะ ไดรับ แลวแบงเฉลี่ยคาเชาออกเปนรายเดือน โดยผูเชาเปนผูมีหนาที่ซอมแซมและ บํารุงรักษา รวมทั้งการประกันภยในความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับทรัพยสินที่เชา การเชา ประเภทนี้ ในระหวางอายุสัญญาเชา ผูเชาไมสามารถบอกเลิกสัญญาเชาได เนื่องจากผู
24 ศนันทกรณ โสถติพันธ , คําอธิบายเชาทรัพย - เชาซื้อ , พิมพครั้งที่ 4 ( กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพวิญูชน , 2551), น.221-222.
เชาเปนผูครอบครองและใชประโยชนจากทรัพยสินที่เชาในระยะยาว หรือ ตลอดอายุการ ใชงานของทรัพยสิน แมทรัพยสินจะไมทันสมัย ผูเชาก็ไมสามารถเปลี่ยนแปลงทรัพยสิน ใหมได
สัญญาลิสซิ่งประเภทนี้สามารถแบงเปนประเภทยอยๆไดอีก 2 ประเภทคือ 1.
สญญาลิสซิ่งในสังหาริมทรพย 2. สญญาลิสซงในอสังหาริมทรัพย
2. สัญญาเชาดําเนินงาน (Operating Lease)
สัญญาเชาชนิดดําเนินงาน (Operating Lease) เปนสัญญาที่ผูใหเชาใหเชา ทรัพยสินที่เปนเครื่องมือในการดําเนินงานหลายๆอยางที่เกี่ยวเนื่องกัน โดยผูเชามีสิทธิใช ทรัพยสินได และผูเชาสามารถบอกเลิกสัญญาไดเมื่อไมมีความจําเปนตองใชทรัพยสินนั้น ตอไป หรือเห็นวาทรัพยสินนั้นหมดประโยชน เปนลักษณะการเชาที่ผูเชาไมมุงหวัง กรรมสิทธิ์
สัญญาเชาประเภทนี้เปนการทําสัญญาเชาในระยะสั้นมีระยะเวลาต่ํากวา 12 ป ลักษณะของทรัพยที่ใหเชามักจะเปนทรัพยที่ซื้องายขายคลอง และมีอายุการใชงานสั้น ผูใหเชาจะตองคิดคาเสี่ยงภัยไวในคาเชาที่เรียกเก็บดวย และจะตองใหเชาแกผูเชาหลาย คนจึงจะคุมเงินลงทุน นอกจากนี้ผูใหเชาตองมีความเชี่ยวชาญพิเศษในการใหบริการ เพราะเปนผูรับผิดชอบคาใชจายเกี่ยวกับการบํารุงรักษาและซอมแซมทรัพยสิน และ สามารถทจะบอกเลิกสัญญาเชากอนครบกําหนดได ซึ่งลักษณะดังกลาว ทําใหสัญญาเชา ชนิดดําเนินงาน (Operating Lease) แตกตางจากสัญญาเชาชนิดลงทุน (Financial
lease)
ทรัพยสินที่นํามาใหเชาในสัญญาเชาชนิดดําเนินงาน( Operating Lease) ไดแก เครื่องจักร เครื่องยนต ยานพาหนะ เครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย เปนตน ทําให การเชาประเภทนี้มีลักษณะเหมือนกับการเชาโดยทั่วไป (Rent) และเปนสัญญาที่ผูเชา ไมไดมงหวังตอกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินที่เชา
3. สัญญาเชาแบบขายแลวเชาคืน (Lease back)
เปนสัญญาซึ่งเจาของขายทรัพยตนเองใหกับบริษัทลิสซิ่ง โดยเมื่อบริษัทลิสซิ่ง ชําระราคาทรัพยแลว พรอมๆกันนั้นก็นําทรัพยนั้นใหผูขายไดใชหรือไดรับประโยชน แตนิติ สัมพันธแบบนี้ผูใหเชาไมมีความผูกพันหรือหนี้ใดๆเกี่ยวกับคุณสมบัติของทรัพยหรือการ ปฏิบัติการชําระหนี้ทเกี่ยวกับตัวทรัพย
นอกจากนี้ ยงมีการแบงสญญาลิสซงตามประเภทของธุรกิจลิสซิ่ง ซึ่งแบงออกเปน
2 ประเภท คือ 25
1. สัญญาเชาชนิดลงทุน (Financial lease)
เปนการทําสัญญาเชาโดยกําหนดระยะเวลาไว สวนใหญเปนการเชาที่มีระยะปาน กลาง และระยะยาวตั้งแต 3-5 ปขึ้นไป โดยธุรกิจลิสซิ่งจะไดรับ รายไดคุมกับเงินลงทุนใน ทรัพยสินจากผเชาเพียงรายเดียว โดยผูใหเชาจะคํานวณคาเชาจากราคาทรัพยสินที่ใหเชา รวมกับดอกเบี้ย และกําไรที่ควรจะไดรับเปนการตอบแทน และผูเชามีภาระในการ บํารุงรักษา การซอมแซม การประกันภัย รวมทั้งบริการอื่นๆ เกี่ยวกับการใชทรัพยสิน และ ฝายใดฝายหนึ่งจะบอกเลิกสัญญากอนกําหนดไมได หลังสัญญาสิ้นสุดลงกรรมสิทธิ์ใน ทรัพยสินขึ้นอยูกับขอตกลงโดยผูเชามีทางเลือกหลายทาง เชน ซื้อดวยราคาที่กําหนดขึ้น เมื่อสิ้นสุดสัญญา ขอตอสัญญาเชา ขอเปลี่ยนแปลงทรัพยสินที่เชา หรือสงคืนทรัพยสิน ซึ่งความจริงแลว สัญญาเชาชนิดลงทุนที่เรากลาวถึงก็คือ “ลิสซิ่ง”ที่เรียกติดปากกัน น่ันเอง 26
2. สัญญาเชาชนิดดําเนินงาน (Operating Lease)
เปนการทําสัญญาเชาระยะสั้นต่ํากวา 12 ป ทรัพยสินที่ใหเชาสวนใหญเปน ทรัพยสินที่ลาสมัยเร็ว ธุรกิจลิสซิ่งจึงคิดคาเสี่ยงภัยไวในคาเชาที่เรียกเก็บดวย และจะตอง ใหเชาแกผูเชาหลายคนจึงจะคุมทุน ผูใหเชามีหนาที่ในการบํารุงรักษา ซอมแซม และ ใหบริการตางๆ และผูเชาสามารถบอกเลิกสญญากอนครบกําหนดตามสัญญาได เมื่อไมมี ความจําเปนตองใชทรัพยสินนั้นอีก หรือเมื่อเห็นวาทรัพยสินนั้นหมดประโยชน ลักษณะ ของสัญญาดังกลาวผูเชาหวังเพียงจะไดประโยชนจากทรัพยสินดังกลาวเทานั้น ไมไดหวัง จะเปนเจาของกรรมสิทธิ์ ซึ่งสัญญาเชาชนิดนี้ คือ สัญญาเชาตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย 27
เมื่อพิจารณาประเภทของสัญญาลิสซิ่งแลวจะพบวา สัญญาลิสซิ่งมี 3 ประเภท โดยสัญญาลิสซิ่งแตละประเภทก็มีความแตกตางกันในเนื้อหา ที่เปนสาระสําคัญของ สัญญา โดยสัญญาลิสซิ่งที่เปนสัญญาเชาชนิดลงทุน (Financial lease) หากมีขอตกลง
ในการซื้อทรัพยสินเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาในการเชาแลว และผเชาไดใชสิทธิในซื้อทรพยสินท
25 ลัดดา โภคาสถิต,อางแลวเชิงอรรถที่ 13 , น. 80-81 , สาธิต รังคสิริ , “สุดยอด เคล็ดวิชาลิสซิ่ง” , วารสารสรรพากรสาสน ปที่ 40 , ฉบับที่ 7,( กรกฎาคม 2536 ,น.4 – 5.),
26 เพิ่งอาง, น.5.
27 เพิ่งอาง, น.5.
เชาแลว สัญญาดังกลาวก็เปนสัญญาที่มีวัตถุประสงคในการโอนกรรมสิทธิ์ ซึ่งมี วัตถุประสงคเหมือนกับสัญญาเชาซื้อตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา
572 สวนสัญญาลิสซิ่งที่เปนสัญญาเชาชนิดดําเนินงาน (Operating Lease) นั้นมี วัตถุประสงคเพียง การใหผูเชาไดใชหรือไดรับประโยชนในทรัพยสิน มิไดมีความมุงหมาย ในการโอนกรรมสิทธิ์ ดังนั้นสัญญาลิสซิ่งประเภทดังกลาว จึงมีลักษณะเหมือนกับ สัญญาเชาทรัพย ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 537 สวนสัญญาลิสซิ่ง แบบขายแลวเชาคืน (Lease back) มีลักษณะคลายกับการกูยืมเงินโดยใชสังหาริมทรัพย เปนหลักประกันในการชําระหนี้ ซึ่งถือเปน การพัฒนารูปแบบของสัญญาลิสซิ่งไปอีก รูปแบบหนึ่ง ที่เกิดขึ้นในการประกอบธุรกิจลิสซิ่ง ซึ่งเปนการใหสินเชื่อทางการเงินอยาง หนึ่ง ดังน้ันเมื่อกลาวถึงสัญญาลิสซิ่ง จึงไมอาจดวนสรุปไปวา เปนสัญญาที่มีโครงสราง ทางกฎหมาย และผลทางกฎหมาย เปนอยางเดียวกันเสมอไป ซึ่งผูเขียนจะไดศึกษา สาระสําคัญของสญญาลิสซิ่ง ตอไป
3.2 สิทธิหนาทของผประกอบธุรกิจลิสซิ่ง
ตามหลักอิสระในทางแพง (Private Autonomy) และหลักเสรีภาพในการทํา สัญญา (Freedom of Contract) คูสัญญามีเสรีภาพที่จะกําหนดเนื้อหาของสัญญา อยางไรก็ได แมในเนื้อหาที่กําหนดอาจแตกตางจากที่กฎหมายกําหนด หากมิใชกฎหมาย ที่แตหลักเสรีภาพในการทําสัญญาในการกําหนดเนื้อหาของสัญญาอาจถูกจํากัดโดย กฎหมาย ซึ่งเปนการจํากัดเสรีภาพของคูสัญญาที่มีอํานาจทางเศรษฐกิจเหนือกวา เพื่อ คุมครองประโยชนของคูสัญญาที่ออนแอกวาหรือดอยกวา ไดแก การจํากัดเสรีภาพ ตาม พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 แกไขเพิ่มเติมพ.ศ.2541 พระราชบัญญัติวา ดวยขอสัญญาที่ไมเปนธรรม พ.ศ. 2540 ซึ่งเปนการคุมครองผบริโภคดานสัญญา
สัญญาลิสซิ่งเปนสัญญาที่ทําไดตามหลักหลักอิสระในทางแพง (Private Autonomy) และหลักเสรีภาพในการทําสัญญา(Freedom of Contract) ดังนั้นคูสัญญา จึงสามารถที่จะตกลงสิทธิหนาทระหวางคูสัญญาในเนื้อหาของสัญญาไดเอง
ซึ่งหลักเกณฑที่เปนการกําหนดสิทธิหนาที่ของผูประกอบธุรกิจสามารถแยก พิจารณาไดดังนี้
ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีการคา(ฉบับที่53) เรื่อง กําหนด หลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไข ระยะเวลาที่ใหเชาทรัพยสิน และหลักเกณฑการคํานวณทุน ของทรัพยสินที่ใหเชาบางประการ ไดกําหนดสิทธิหนาที่ของผประกอบธุรกิจไวดังนี้
ผูใหเชาตองแสดงวิธีการคํานวณคาเชาที่เรียกเก็บอยางชัดเจน
ผูใหเชา ตองยอมใหผูเชา โอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาเชาใหแกบุคคลอื่น ซึ่งมี คุณสมบัติที่จะเปนผูเชาได ทั้งนี้กําหนดระยะเวลาเชาตองไมเกินกวาระยะเวลาที่เหลืออยู ตามสัญญาเดิม
ผูใหเชามีสิทธิเรียกเบ้ียปรับจากผูเชา ในกรณีที่ผูเชาผิดนัดไมชําระคาเชางวดใด งวดหนึ่ง โดยตองระบุไวชัดแจงในสัญญาเชา
ผูใหเชามีหนาที่บอกกลาวกอนเลิกสัญญา ถาผูใหเชาจะใชสิทธิบอกเลิกสัญญา ในกรณีที่ผูเชาผิดนัดไมชําระคาเชา 2 งวด ติดๆ กัน หรือเมื่อผูเชากระทําผิดสัญญาในขอที่ เปนสวนสําคัญ ผูใหเชาจะตองแจงการบอกเลิกสัญญาพรอมดวยเหตุผลเปนหนังสือใหผู เชา ทราบกอนไมนอยกวา 15 วัน
และประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง เงื่อนไขการอนุญาตใหบริษัทเงินทุน ประกอบกิจการใหเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่ง ไดกําหนดสิทธิหนาที่ของผูประกอบธุรกิจไวใน ลักษณะใกลเคียงกันดังนี้คือ
ผูใหเชา ตองยินยอมใหผูเชาโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาเชาใหแกบุคคลอื่น ซงึ่ มีคุณสมบัติที่จะเปนผูเชาไดตามหลกเกณฑที่กําหนดในประกาศนี้ ทั้งนี้ กําหนดระยะเวลา การเชา ตองไมเกินระยะเวลาทคงเหลืออยูตามสัญญาเชาเดิม
ผูใหเชา หรือ บริษัทเงินทุนหลักทรัพย ตองโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินใหแกผูเชา โดยพลันเมื่อสิ้นสุดสัญญาเชาและผูเชาใชสิทธิในการซื้อทรัพยสินที่เชา และไดปฏิบัติตาม เงื่อนไขในการไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินครบถวนตามสญญาเชาแลว
ผูใหเชามีสิทธิเรียกคาปรับจากผูเชา ในกรณีที่ผูเชาผิดนัด ไมชําระคาเชาใน งวดใดงวดหนึ่ง ตองระบุไวชัดแจงในสัญญาเชา แตคาปรับดังกลาวเมื่อคิดเปนอัตรา สวนกับยอดเงินและระยะเวลาที่ผิดนัดแลว ตองไมเกินกวาอัตราดอกเบี้ยเงิน ใหกูยื มที่บริ ษัทเงินทุนสามารถเรี ยกได ตามกฎหมายในขณะทําสัญญาเช า ผูใหเชามีหนาที่บอกกลาวกอนเลิกสญญา เมื่อผูเชาผิดนัดไมชําระคาเชาสองงวด
ติด ๆ กัน หรือเมื่อผูเชากระทําผิดสัญญาในขอที่เปนสวนสําคัญ โดยผูใหเชาตองแจงการ บอกเลิกสัญญาพรอมดวยเหตุผล เปนหนังสือใหผเชาทราบลวงหนาไมนอยกวาสามสิบวนั นับแตวันที่ผูเชาไดรับหนังสือดังกลาว ในหนังสือบอกเลิกสัญญานั้นใหระบุดวยวา หากผู เชาชําระคาเชางวดที่คางชําระหรือแกไขการผิดสัญญาในขอที่เปนสวนสําคัญดังกลาว
แลวแตกรณีภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับหนังสือบอกเลิกสัญญา การบอกเลิก สัญญานั้นเปนอันระงับไป
ผูใหเชาที่เปนเจาของกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินที่เชา ตองจําหนายหรือใหบุคคลอื่น เชาทรัพยสินนั้นตอภายในสามเดือนนบแตวันสิ้นสุดสัญญาเชาหรือนับแตวันที่ยึดมา หรือ ตามที่ไดรบผอนผันจากธนาคารแหงประเทศไทย
สิทธิหนาที่ของผูประกอบธุรกิจในสัญญาลิสซิ่ง ตามกฎหมายเกี่ยวกับสัญญา ลิสซิ่งของไทย เปนการอธิบาย โดยใชหลักเกณฑตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีการคา(ฉบับที่53) เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไข ระยะเวลาที่ให เชาทรัพยสิน และหลักเกณฑการคํานวณทุนของทรัพยสินที่ใหเชาบางประการ และ ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง เงื่อนไขการอนุญาตใหบริษัทเงินทุน ประกอบกิจการให เชาทรัพยสินแบบลิสซิ่ง โดยในสัญญาเชาแบบลิสซิ่งจะกําหนดสิทธิหนาที่ของผูประกอบ ธุรกิจลิสซิ่ง ในฐานะเปนผูใหเชา ไว เชน
ผูใหเชา ตองยินยอมใหผูเชาโอนสิทธิและหนาทตามสัญญาเชาใหแกบุคคลอื่น ซงึ่ มีคุณสมบัติที่จะเปนผูเชาไดตามหลกเกณฑที่กําหนดในประกาศนี้ ทั้งนี้ กําหนดระยะเวลา การเชา ตองไมเกินระยะเวลาทคงเหลืออยูตามสัญญาเชาเดิม
การกําหนดใหผูเชาสามารถโอนทั้งสิทธิและหนาที่ตามสัญญาเชา ไปให บุคคลภายนอกได หรือเรียกวา การโอนสัญญา โดยผูรับโอนจะเขาไปสวมสิทธิทั้งสิทธิ และหนาที่ของคูสัญญาเดิม กรณีนี้ถือวาเปนกรณีพิเศษ เพราะตามบทบัญญัติใน ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยของไทยนั้น ไมไดบัญญัติหลักเกณฑที่คูสัญญาจะตก ลงโอนสัญญาได ซึ่งผูเขียนเห็นวาเปนการโอนสิทธิการเชาตามบทบัญญัติในประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 544 ซึ่งกฎหมายหามไวแตถาตกลงกันไวในสัญญา ก็ สามารถทําได ซึ่งขอกําหนดตามประกาศดังกลาวกําหนดใหกําหนดสิทธิในการโอนสิทธิ หนาที่ตามสัญญาเชา กําหนดไวในสัญญาลวงหนา จึงเทากับวา เปนการกําหนดใหผูให เชาตองใหความยินยอม ใหผูเชาโอนสิทธิหนาที่ตามสัญญาเชาได
ผูใหเชา หรือ บริษทเงินทุนหลักทรัพย ตองโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินใหแกผูเชา โดยพลันเมื่อสิ้นสุดสัญญาเชาและผูเชาใชสิทธิในการซื้อทรัพยสินที่เชา และไดปฏิบัติตาม เงื่อนไขในการไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินครบถวนตามสัญญาเชาแลว
เมื่อพิจารณาจากขอกําหนดดังกลาวแลวพบวา เปนหลักเกณฑของสัญญาลิสซิ่ง ประเภทสญญาเชาชนิดลงทุน (Financial lease) ซงเปนสญญาที่มีขอตกลงใหผูเชามีสิทธิ เลือกซื้อทรัพยสินเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาเชาโดยทําขอตกลงดังกลาว ตั้งแตขณะเริ่มทํา สัญญา และเมื่อครบกําหนดตามสัญญาแลวผูใหเชาตองโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินนั้น
ใหกับผูเชาทันที ซึ่งผูศึกษาเห็นวาสัญญาลิสซิ่ง ที่มีขอตกลงใหผูเชามีสิทธิเลือกซื้อ ทรัพยสินเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาเชา ดังกลาวมีลักษณะเหมือนกับสัญญาเชาซื้อ เพราะเปน สัญญาที่มีวตถุประสงคในทางทรัพยสิน กลาวคือ เปนสัญญาที่มุงใหมีการโอนกรรมสิทธิ์ ในทรัพยสิน ซึ่งในเรื่องดังกลาวรองศาสตราจารย ศนันทกรณ โสตถิพันธ ไดใหความเห็น วา แมจะเปนที่ยอมรับโดยทั่วไปวา สัญญาลิสซิ่งเปนสัญญาเชาอยางหนึ่ง แตก็คงไมอาจ ปรับใชกับหลักเกณฑของสัญญาเชาทรัพยสินตาม มาตรา 537 ไดโดยตรง เพราะเงินที่ ฝายผูประกอบการตองชําระเปนงวดๆ อาจไมอยูในความหมายของคาเชาธรรมดา เพราะ มีลักษณะเปนการคืนทุนใหกับผูลงทุน มากกวาจะเปนเพียงการตอบแทนการใชทรัพย ครั้นจะไปปรับกับหลักเกณฑของสัญญาเชาซื้อก็คงจะไมไดอีก เพราะตามสัญญาเชาซื้อ เมื่อผูเชาซื้อชําระเงินครบตามงวดกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินที่เชาซื้อก็จะตกเปนของผูเชาซื้อ ทันที แตใกรณีของสัญญาลิสซิ่งชนิดลงทุนนั้น กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินจะตกเปนของ ผูประกอบการหรือผูเชาเมื่อไดแสดงเจตนาใชสิทธิเลือกซื้อ ตามที่ตกลงกันไวในสัญญา ลิสซิ่งเทานั้น ทั้งยังตองชําระเงินอีกสวนหนึ่งตามที่ไดตกลงกันไวดวย 28 ผูศึกษาเห็นวา ขอกําหนดตามประกาศดังกลาวเปนการนําเอาลักษณะของสัญญาลิสซิ่งชนิดลงทุน มา กําหนดไวใหเปนหนาที่ของผูใหเชาตามสัญญาลิสซิ่ง ซึ่งทําใหสัญญาลิสซิ่งชนิดลงทุน (Financial lease) มีลักษณะเหมือนกับสัญญาเชาซื้อ
ผูใหเชามีสิทธิเรียกคาปรับจากผูเชา ในกรณีที่ผูเชาผิดนัด ไมชําระคาเชาใน งวดใดงวดหนึ่ง ตองระบุไวชัดแจงในสัญญาเชา แตคาปรับดังกลาวเมื่อคิดเปนอัตราสวน กับยอดเงินและระยะเวลาที่ผิดนัดแลว ตองไมเกินกวาอัตราดอกเบี้ยเงินใหกูยืม ที่บริษัทเงินทุนสามารถเรียกไดตามกฎหมายในขณะทําสัญญาเชา การกําหนด หลักเกณฑ เรื่อง การคิดคาปรับที่กําหนดใหเมื่อคิดเปนอัตราสวนกับยอดเงินและ ระยะเวลาที่ผิดนัดแลว ตองไมเกินกวาอัตราดอกเบี้ยเงินใหกูยืมที่บริษัทเงินทุนสามารถ เรียกไดตามกฎหมายใน ขณะทําสัญญาเชานั้นถือวาเปนการควบคุมการประกอบธุรกิจ ของสถาบันทางการเงินอยางหนึ่งของกระทรวงการคลัง ซึ่งรองศาสตราจารย ศนันทกรณ โสตถิพันธ เห็นวา ประกาศดังกลาวเปนกฎหมายเฉพาะที่ใชกับกลุมผูประกอบธุรกิจ เฉพาะ 29
การเรียกคาปรับในกรณีดังกลาวผูศึกษาเห็นวา ไมใชกรณีการกําหนด สิทธิ หนาที่ของคูสัญญาในสัญญาเชาแบบลิสซิ่งไวเปนการเฉพาะ แตเปนไปตามบทบัญญัติ
28 จําป โสตถิพันธุ , อางแลวเชิงอรรถที่ 8 . น.227.
29 เพิ่งอาง, น. 227.
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เรองการกําหนดเบยปรับ ซงใหสิทธิแกเจาหน สามารถเรียกเบี้ยปรับตามสญญาได ตามมาตรา 381 บัญญัติวา ถาลูกหนี้ไดสญญาไว วา จะใหเบี้ยปรับ เมอตนไมชําระหนี้ใหถูกตองสมควร เชนวา ไมชําระหนี้ตรงตามเวลาที่ กําหนดไวเปนตน นอกจากจะเรียกใหชําระหนี้เจาหนจะเรียกเอาเบยปรับอันจะพึงริบนั้น อีกดวยก็ได ซงหลกเกณฑในการกําหนดเบยปรับตาม สัญญาเชาทรัพยและสัญญาเชา ซอคูสัญญาก็สามารถทจะตกลงกนได ตามหลักเสรีภาพในการทําสัญญา แตตาม
ประกาศดงกลาว ไดกําหนดหลกเกณฑในการคิดเบี้ยปรับเอาไวดวย ทั้งน
เพอใหเกิดความเปนธรรมแกคูสัญญา ทงนเพราะเบยปรับเปนการกําหนดคาเสียหายไว
ลวงหนา ดงนั้นจงไมึ อยภายใตหลกเกณฑของพระราชบัญญัติ หามเรยกี
ดอกเบี้ยเกินอตรา พ.ศ.2497 ซงทําใหผูใหเชาสามารถทจะคิดเบี้ยปรับโดยคํานวณ จากอัตราดอกเบี้ยที่สูงเปนการเอาเปรียบผบริโภค
ผูใหเชามีหนาทบอกกลาวกอนเลิกสัญญา เมื่อผูเชาผิดนัดไมชําระคาเชาสองงวด ติด ๆ กัน หรือเมื่อผูเชากระทําผิดสญญาในขอทเปนสวนสําคัญ โดยผใหเชาตองแจงการ บอกเลิกสัญญาพรอมดวยเหตุผล เปนหนังสือใหผูเชาทราบลวงหนาไมนอยกวาสามสิบวัน นบแตวันที่ผูเชาไดรับหนงสือดังกลาว ในหนงสือบอกเลิกสัญญานนใหระบุดวยวา หากผู เชาชําระคาเชางวดที่คางชําระหรือแกไขการผิดสัญญาในขอทเปนสวนสําคัญดังกลาว แลวแตกรณีภายในสามสิบวนนบแตวนทไดรับหนังสือบอกเลิกสัญญา การบอกเลิก สัญญานนเปนอันระงับไป
ผูเขียนเห็นวาการกําหนดขอตกลงในสัญญาใหสิทธิแกผูใหเชา มีสิทธิบอกเลิก สัญญาเชาไดแตเพียงฝายเดียว เมื่อผูเชาผิดนัดไมชําระคาเชาสองงวดติดๆกัน หรือเมื่อผู เชากระทําผิดสัญญาในขอที่เปนสวนสําคัญ ซึ่งมีลักษณะคลายกันกับการใชสิทธิบอกเลิก สัญญาของผูใหเชาซื้อ เมื่อผูเชาซื้อผิดนัดไมชําระคาเชาซื้อสองงวดติดๆกัน ตามประมวล กฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 574 บัญญัติวา ในกรณีผิดนัดไมใชเงินสองคราว ติดๆกัน หรือกระทําผิดสัญญาในขอที่เปนสวนสําคัญ เจาของทรัพยสินจะบอกเลิกสัญญา เสียก็ได ถาเชนนั้นบรรดาเงินที่ไดใชมาแลวแตกอน ใหริบเปนของเจาของทรัพยสิน และ เจาของทรัพยสินชอบที่จะกลับเขาครอบครองทรัพยสินนั้นไดดวย
แตตามประกาศดังกลาวไมไดกําหนดผลของการบอกเลิกสัญญาลิสซิ่งไวดวย วา จะมีผลอยางไร ซึ่งแตกตางจากกรณีของการบอกเลิกสัญญาเชาซื้อตามประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชย มาตรา 574 ที่บัญญัติผลของการบอกเลิกสัญญาเชาซื้อเอาไว ดังนั้นเมอื่ พิจารณาตามหลักเกณฑในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เรื่องผลของการบอกเลิก สัญญา คูสัญญาจะตองกลับคืนสูฐานะเดิมตาม มาตรา 391 ซึ่งผูเขียนเห็นวา สิทธิใน
การบอกเลิกสัญญาของผูใหเชาตามสัญญาลิสซิ่งนั้น เหมือนกับสิทธิในการบอกเลิก สัญญาของผูใหเชาซื้อตามสัญญาเชาซื้อ แตเมื่อไมไดบัญญัติถึงผลเมื่อมีการบอกเลิก สัญญาไว ดังนั้นจึงใชหลักการในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ที่ใหคูสัญญา กลับคืนสูฐานะเดิม และผใหเชาจะตองคืนเงินคาเชาที่ไดรบชําระไปแลวใหกับผูเชา และผู เชาตองสงมอบทรัพยสินที่เชาคืนใหแกผูใหเชา และหากมีคาเสียหายที่เกิดจากการใช ทรัพยสินดังกลาวผูใหเชาก็มีสิทธิเรียกจากผูเชาได ตามประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชย มาตรา 391 วรรคสาม ซึ่งการกําหนดหลักเกณฑดังกลาวอาจทําใหเกิดความ เขาใจที่สบสนวาสัญญาลิสซิ่งเปนสญญาเชาซื้อได อีกทั้งบทบัญญัติในประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชย ลักษณะเชาทรัพย มาตรา 560 ก็บัญญัติให ผูใหเชาบอกเลิกสัญญา เชาไดถาผเชาไมชําระคาเชาเพียงงวดเดยวหรอเดือนเดียว แตตองมีการบอกกลาวแกผูเชา กอนวาใหชําระคาเชาภายในเวลาใด ซึ่งตองบอกกลาวลวงหนาอยางนอย 15 วัน ซึ่งตาม ประกาศกระทรวงการคลังฉบับดังกลาวไดนําหลักเกณฑเรื่อง การบอกกลาวลวงหนากอน บอกเลิกสัญญาในสัญญาเชาทรัพยมากําหนดไวดวย ผูศึกษาเห็นวาหลักเกณฑดังกลาว เปนการนําบทบญญัติในเรื่องเชาทรัพย และเชาซอมาบัญญัติไวรวมกัน แตก็มีขอบกพรอง เรื่อง การไมกําหนดผลของการบอกเลิกสัญญาไว ซึ่งหากมีคดีขึ้นสูศาลก็จะเปนประเด็น ปญหาทางกฎหมาย ซึ่งในเรื่องนี้ยังไมมีคําวินิจฉัยของศาลฎีกา ผูเขียนเห็นวาควรนํา บทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ตามมาตรา 391 ซึ่งเปนบททั่วไปมาใช กับผลของการบอกเลิกสัญญาลิสซิ่ง
และเงื่อนไขในการบอกเลิกสัญญาลิสซิ่งที่กําหนดใหเมื่อ ผูเชาผิดนัดไมชําระคา เชาสองงวดติดๆกัน ซึ่งแตกตางจากการบอกเลิกสัญญาเชา ตาม มาตรา 560 ที่ผูเชาผิด นัดไมชําระคาเชาเพียงงวดเดียวผูใหเชาก็สามารถบอกเลิกสัญญาได แสดงใหเห็นไดวา ราคาคาเชาเปนงวดที่ผูเชาชําระใหแกผูใหเชา ตามสัญญาลิสซิ่งนั้นมิใชเพียงคาใช ประโยชนในตัวทรัพยเหมือนกับคาเชาธรรมดาแตเปนราคาทรัพยสินที่ใหเชาบวกดวย ผลประโยชนทางการเงินที่เปนดอกเบี้ย และคาใชจายอื่นๆที่รวมอยูดวย ดังนั้นการที่จะ ยอมใหผูใหเชาบอกเลิกสัญญาเชาไดโดยงายเพียงเพราะผูเชาผิดนัดไมชําระคาเชาเพียง งวดเดียว ก็อาจทําใหผูเชาเสียเปรียบ และไมเปนธรรมกับผูเชาได
ผูเขียนมีขอสังเกตวา การใหสิทธิบอกเลิกสัญญาในสัญญาลิสซิ่งนั้น ใหสิทธิ เฉพาะผูใหเชา และหามผูเชาบอกเลิกสัญญาเชาโดยฝายเดียว ซึ่งเปนหลักเกณฑที่ แตกตางจากบทบัญญัติเรื่องเชาทรัพย เชาซื้อ ที่กําหนดให ผูเชาหรือผูเชาซื้อมีสิทธิบอก เลิกสัญญาได
ผูใหเชาที่เปนเจาของกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินที่เชา ตองจําหนายหรือใหบุคคลอื่น เชาทรัพยสินนั้นตอภายในสามเดือนนับแตวันสิ้นสุดสัญญาเชาหรือนับแตวันที่ยึดมา หรือ ตามทไดรบผอนผันจากธนาคารแหงประเทศไทย
เนื่องจากการใหเชาแบบลิสซิ่ง ไมมีกฎหมายบัญญัติไวโดยเฉพาะ สิทธิหนาที่ ของผูประกอบธุรกิจ หากไมมีการตกลงไวในสัญญา จึงตองนําบทบัญญัติลักษณะเชา ทรัพย และเชาซื้อ มาบังคับใชกับสัญญาลิสซิ่ง 30 นอกจากนี้สัญญาลิสซิ่งที่เกิดขึ้น ในทางปฏิบัติของผูประกอบธุรกิจลิสซิ่ง จะมีขอกําหนดและเงื่อนไขของสัญญาที่ คลายคลึงกับสัญญาเชาทรัพยสินทั่วไป แตขอตกลงบางขอก็มีลักษณะพิเศษแตกตาง ออกไป เชน ผูใหเชาไมตองรับผิดชอบในกรณีที่ผูจําหนายหรือผูผลิตไมสงมอบทรัพยสินที่ เชาหรือสงมอบลาชา ผูใหเชาไมตองรับผิดชอบตอผูเชาเกี่ยวกับสภาพหรือคุณภาพของ ทรัพยสินที่เชาหรือในการรอนสิทธิ หรือในความชํารุดบกพรองของทรพยสินที่เชา 31
ซึ่งความเห็นดังกลาวนี้ไมสอดคลองกับสิทธิหนาที่ของผูประกอบธุรกิจตามตาม ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีการคา(ฉบับที่53) เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไข ระยะเวลาที่ใหเชาทรัพยสิน และหลักเกณฑการคํานวณทุนของทรัพยสิน ที่ใหเชาบางประการ และ ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง เงื่อนไขการอนุญาตใหบริษัท เงินทุน ประกอบกิจการใหเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่ง เพราะตามประกาศทั้งสองฉบับ ดังกลาว ไมไดกําหนดใหผูใหเชาตองรับผิดในความชํารุดบกพรองและการรอนสิทธิใน ทรัพยสนที่เชา ตามสัญญาลิสซิ่ง แตอยางใด อีกทั้งหนาที่ในการซอมแซมทรัพยสินที่เปน การซอมแซมใหญก็กําหนดใหเปนหนาที่ของผูเชา ซึ่งผูเขียนเห็นวา การที่จะกําหนดสิทธิ หนาที่และความรับผิดของผูใหเชาตามสัญญาลิสซิ่งนั้น จะตองสอดคลองกับสาระสําคัญ ของการทําสญญาลิสซิ่งอยางแทจริง และตองพิจารณาวาขอตกลงเกี่ยวกับสิทธิหนาที่ของ ผูใหเชาในสัญญาลิสซิ่ง เหมือนหรือแตกตางจากสัญญาเชาทรัพย สัญญาเชาซื้ออยางไร และควรที่จะมีบทบัญญัติของกฎหมายมาใชกับสัญญาลิสซ่ิงโดยเฉพาะหรือไม ซึ่งเปน ประเด็นปญหาที่ผเขียนจะไดวิเคราะหในรายละเอียดในหัวขอตอไป
3.3 สิทธิหนาทของผเชา
ตามหลักอิสระในทางแพง (Private Autonomy) และหลักเสรีภาพในการทํา สัญญา (Freedom of Contract) คูสัญญามีเสรีภาพที่จะกําหนดเนื้อหาของสัญญา
30 อํานาจ เพียรไทย,อางแลวเชิงอรรถที่ 21, น.97- 98.
31 เนตรนภา บุญคํา,อางแลวเชิงอรรถที่ 16, น.79.
อยางไรก็ได แมในเนื้อหาที่กําหนดอาจแตกตางจากที่กฎหมายกําหนด หากมิใชกฎหมาย ที่เกี่ยวกับความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนแลว สัญญานั้นก็ไมเปน โมฆะ แตหลักเสรีภาพในการทําสัญญาในการกําหนดเนื้อหาของสัญญาอาจถูกจํากัดโดย กฎหมาย ซึ่งเปนการจํากัดเสรีภาพของคูสัญญาที่มีอํานาจทางเศรษฐกิจเหนือกวา เพื่อ คุมครองประโยชนของคูสัญญาที่ออนแอกวาหรือดอยกวา ไดแก การจํากัดเสรีภาพ ตาม พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 แกไขเพิ่มเติมพ.ศ.2541 พระราชบัญญัติวา ดวยขอสัญญาที่ไมเปนธรรม พ.ศ. 2540 ซึ่งเปนการคุมครองผบริโภคดานสัญญา
สัญญาลิสซิ่งเปนสัญญาที่ทําไดตามหลักหลักอิสระในทางแพง (Private Autonomy) และหลักเสรีภาพในการทําสัญญา (Freedom of Contract) ดังนั้น คูสัญญาจึงสามารถที่จะตกลงสิทธิหนาที่ระหวางคูสัญญาในเนื้อหาของสัญญาไดเอง
ซึ่งหลักเกณฑที่เปนการกําหนดสิทธิหนาที่ของผูเชาสามารถแยกพิจารณาไดดังนี้
ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีการคา(ฉบับที่53) เรื่อง กําหนด หลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไข ระยะเวลาที่ใหเชาทรัพยสิน และหลักเกณฑการคํานวณทุน ของทรพยสินที่ใหเชาบางประการ ไดกําหนดสิทธิหนาที่ของผประกอบธุรกิจไวดังนี้
ผูเชาตองชําระเงินคาเชาครั้งแรกในอัตราไมนอยกวารอยละ 20 ของมูลคาทุนของ ทรัพยสินที่เชา และตองจายคาเชาตามสัญญา
ผูเชาตองเอาประกันภัยทรัพยสินไวเต็มมูลคาของทรัพยสินที่ใหเชา โดยยก ผลประโยชนใหแกผูใหเชาเปนผูรับตลอดกําหนดเวลาเชา
ผูเชามีหนาที่ตองบํารุงรักษา และซอมแซมทรัพยสินที่เชา ตองรับผิดตอผูใหเชา ในความสูญหายหรือบุบสลายใดๆอันเกิดแกทรัพยสินที่เชา
ผูเชาจะบอกเลิกสัญญาเชากอนกําหนดฝายเดียวไมได ผูเชาจะนําทรัพยสินที่เชาไปใหเชาชวงไมได
ผูเชามีสิทธิจะเชาตอ หรือมีสิทธิที่จะซื้อทรัพยสิน หรือสวนใดสวนหนึ่งของ ทรัพยสิน เมอสัญญาเชาครบกําหนด
และประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง เงื่อนไขการอนุญาตใหบริษัทเงินทุน ประกอบกิจการใหเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่ง ไดกําหนดสิทธิหนาที่ของผูประกอบธุรกิจไวใน ลกษณะใกลเคียงกันดังนี้คือ
ผูเชาตองชําระเงินลวงหนาทันทีที่ทําสัญญาเชาในอัตราไมนอยกวารอยละ 20 -
ของมูลเงินลงทุนในทรัพยสินที่เชา และมีหนาที่ตองจายคาเชาตามสัญญา
ผูเชาตองเอาประกันภัยทรัพยสินไวเต็มมูลคาของทรัพยสินที่ใหเชา โดยยก ผลประโยชนใหแกผูใหเชาเปนผูรับตลอดกําหนดเวลาเชา
ผูเชามีหนาที่ตองบํารุงรักษา และซอมแซมทรัพยสินที่เชา ตองรับผิดตอผูใหเชา ในความสูญหายหรือบุบสลายใดๆอนเกิดแกทรัพยสินที่เชา
ผูเชาจะบอกเลิกสัญญาเชากอนกําหนดฝายเดียวไมได ผูเชาจะนําทรัพยสินที่เชาไปใหเชาชวงไมได
ผูเชามีสิทธิไดรับสวนลด หากผูเชาที่จะชําระราคาคาเชาตามสัญญาคงเหลือสุทธิ กอนถึงกําหนด
ผูเชามีสิทธิจะเชาตอ หรือมีสิทธิที่จะซื้อทรัพยสิน หรือสวนใดสวนหนึ่งของ ทรัพยสิน เมื่อสัญญาเชาครบกําหนด
สิทธิหนาที่ของผูเชาในสัญญาลิสซิ่ง ตามกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่งของไทย เปนการอธิบาย โดยใชหลักเกณฑตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีการคา (ฉบับที่ 53) เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไข ระยะเวลาที่ใหเชาทรัพยสิน และ หลักเกณฑการคํานวณทุนของทรัพยสินที่ใหเชาบางประการ และประกาศ กระทรวงการคลัง เรื่อง เงื่อนไขการอนุญาตใหบริษัทเงินทุน ประกอบกิจการใหเชา ทรัพยสินแบบลิสซิ่ง โดยในสัญญาเชาแบบลิสซิ่งจะกําหนดสิทธิหนาที่ของผูประกอบ ธุรกิจลิสซิ่ง ในฐานะเปนผูใหเชา ไวดงนี้
ผูเชาตองชําระเงินลวงหนาทันทีที่ทําสัญญาเชาในอัตราไมนอยกวารอยละ 20
ของมูลเงินลงทุนในทรัพยสินที่เชา และมีหนาที่ตองจายคาเชาตามสัญญา
เงินลวงหนา หมายความวา เงินที่ผูเชาตองชําระลวงหนาครั้งแรกเมื่อทําสัญญา เพื่อเปนสวนหนึ่งของราคาคาเชาตามสัญญาตางหากจากคาเชารายงวด ซึ่งผูเขียนเห็นวา เงินลวงหนาดังกลาวมีลักษณะเหมือนกับการชําระเงินดาวนของผูเชาซื้อในสัญญาเชาซื้อ และเงินดาวนก็ถือเปนสวนหน่งของคาเชาซื้อดวย
ราคาคาเชาตามสัญญาตองไมเกินเงินลงทุนในทรัพยสินและ ผลประโยชนที่ บริษัทเงินทุนเรียกเก็บ ดังนั้นในการคิดคาเชารายงวดในสัญญาลิสซิ่ง ก็จะมีวิธีการคิด คลายกับการคิดราคาคาเชาซื้อรายงวดในสัญญาเชาซื้อ ซึ่งคาเชารายงวดนั้น คือ ราคา ของทรัพยสินที่เชาบวกดวยผลประโยชนตอบแทนที่บริษัทเงินทุนหรือผูใหเชาเรียกเก็บ จึงมิไดเปนแตเพียงเงินคาตอบแทนในการใชทรัพยเทานั้น แตยังเปนสวนหนึ่งของ คาตอบแทนในการโอนกรรมสิทธิ์ที่จะมีขึ้นในอนาคต ผูเขียนเห็นวา คาเชารายงวดใน สัญญาลิสซิ่ง มีลักษณะเหมือนกับ คาเชาซื้อ ที่ชําระเปนงวดๆ ในสัญญาเชาซื้อ โดย วิธีการคิดคาเชาก็คิดคํานวณจากราคาทรัพยสิน บวกดวยคาใชจายตางๆในการจัดซื้อ
ทรัพยสินหรือการดําเนินงานรวมทั้งผลประโยชนที่เปนอัตราดอกเบี้ยที่ผูประกอบการจะ ไดรับ
ผูเชาตองเอาประกันภัยทรัพยสินไวเต็มมูลคาของทรัพยสินที่ใหเชา โดยยก ผลประโยชนใหแกผใหเชาเปนผูรับตลอดกําหนดเวลาเชา
ผูเชามีหนาที่ตองบํารุงรักษา และซอมแซมทรัพยสินที่เชา ตองรับผิดตอผูใหเชา ในความสูญหายหรือบุบสลายใดๆอันเกิดแกทรัพยสินที่เชา
โดยผูเชามีหนาที่ตองรักษาทรัพยสินที่เชาใหอยูในสภาพดี โดยการประกันภัย ทรัพยสิน บํารุงรักษา ซอมแซม และจัดหาชิ้นสวนมาทดแทนชิ้นสวนที่ชํารุดเพื่อให ทรัพยสินอยูในสภาพที่เหมาะสม และสามารถจําหนายหรือใหเชาตอได เมื่อสิ้นสุด สัญญา มีขอสังเกตวา หนาที่ของผูเชาดังกลาว เปนหนาที่ตามสัญญาลิสซิ่ง ชนิดลงทุน (Financial lease) แตถาเปนสัญญาลิสซิ่งชนิดดําเนินงาน (Operating Lease) หนาที่ใน การบํารุงรักษาซอมแซมทรัพยสิน และการประกันภยทรัพยสิน เปนหนาทของผูใหเชา
ผูเชาจะบอกเลิกสัญญาเชากอนกําหนดฝายเดียวไมได ผูเขียนเห็นวาเปนการนํา หลักเกณฑทเปนหนาทของผเชาในสัญญาลิสซิ่งชนิดลงทุน (Financial lease) มากําหนด ไวเปนหนาที่ของผูเชาในสัญญาลิสซิ่ง เนื่องจากในสัญญาลิสซิ่งชนิดดังกลาว ผูใหเชาจะ เปนผูลงทุนในทรัพยสินที่เชา แลวนําทรพยสินนั้นมาใหผูเชาทําสัญญาเชาแบบลิสซิ่ง โดย ผูเชาจะเปนผูใชประโยชนในทรัพยสินและชําระคาเชา ดังนี้ หากกําหนดใหผูเชามีสิทธิ บอกเลิกสัญญาไดกอน ผูใหเชาที่เปนผูลงทุนก็จะจัดการทรัพยสินที่ใหเชานั้นลําบาก ซึ่ง ผูศึกษามีขอสังเกตวา การหามผูเชาบอกเลิกสัญญาเชาฝายเดียวกอนครบกําหนดสัญญา เชานั้นเกิดขึ้นในสัญญาลิสซิ่งชนิดลงทุน(Financial lease) เทานั้น แตถาเปนสัญญา ลิสซิ่งชนิดดําเนินงาน (Operating Lease) ผูเชาสามารถบอกเลิกสัญญาเชากอนครบ กําหนดสัญญาเชาได
ผูเชาจะนําทรัพยสินที่เชาไปใหเชาชวงไมได ผูเขียนเห็นวา มีลักษณะเหมือนกับ บทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 544 ที่บัญญัติหามผูเชานํา
ทรัพยสินที่เชา ออกใหเชาชวง เวนแตจะตกลงกันไวอยางอื่นในสญญาั ซึ่งเมอในประกาศื่
ฉบับดังกลาวไมไดกําหนดขอยกเวนไว ดังนั้นทรัพยสินตามสัญญาลิสซิ่งจึงหามผูเชานํา ทรัพยสินนั้นไปใหเชาชวง แตมีขอสังเกตวา หากผูเชานําทรัพยสินไปใหเชาชวงผลจะเปน
อยางไร ซงผูศึกษาเห็นวา กรณีดังกลาวเปนการทําผิดสัญญาในสวนที่เปนขอสําคญ กให็
สิทธิผูใหเชาในการบอกเลิกสัญญาได ทั้งนี้เพราะผูเชาเปนผูลงทุนในทรัพยสินที่เชาใน จํานวนที่คอนขางสูง หากปลอยใหผูเชาเอาทรัพยสินที่เชาไปใหเชาชวงได โอกาสที่ทรัพย นั้นจะเสื่อมสภาพเร็วกวาที่กําหนดมีมาก และจะเกิดความเสียหายแกผูลงทุนซึ่งเปน
เจาของทรพยสินนั้น รวมทงผูเชาหากผูเชาใชสิทธิในการซื้อทรัพยสินนั้นเมื่อสนสุดสัญญา เชาผเชาก็จะมีกรรมสิทธในทรัพยสินนนตอไป
ผูเชามีสิทธิไดรับสวนลด หากผูเชาที่จะชําระราคาคาเชาตามสัญญาคงเหลือสุทธิ กอนถึงกําหนด
ผูเชามีสิทธิจะเชาตอ หรือมีสิทธิที่จะซื้อทรัพยสิน หรือสวนใดสวนหนึ่งของ ทรัพยสิน เมื่อสัญญาเชาครบกําหนด ซึ่งขอตกลงในการซื้อทรัพยสินเมื่อครบกําหนด ระยะเวลาในการเชานั้นจะตองมีการตกลงกันไวตั้งแตขณะทําสัญญา และกําหนดราคาไว แนนอนแลว และตามประกาศกระทรวงการคลังก็กําหนดใหผูใหเชาโอนกรรมสิทธ์ิใน ทรัพยสินนั้นใหกับผูเชาทันที เมื่อสิ้นสุดสัญญาเชา หากผูเชาใชสิทธิในการซื้อทรัพยสินที่ เชาและไดปฏิบัติตามเงื่อนไขในการไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินครบถวนตามสัญญา เชาแลว บริษัทเงินทุนตองโอนกรรมสิทธิ์ในทรพยสินใหแกผูเชาโดยพลัน
ผูเขียนเห็นวา การใชสิทธิเลือกซื้อของผูเชานั้น เปนสิทธิของผูเชาที่จะใชสิทธิเลือก ซื้อหรือไมก็ได หากผูเชาใชสิทธิเลือกซื้อ แมจะมีขอตกลงไวตั้งแตเริ่มตนขณะทําสัญญา กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินนั้นก็ยังไมโอนเปนของผูเชาทันที เมื่อสิ้นสุดสัญญาเชา ซึ่งแตกตาง จากสัญญาเชาซื้อ และ กรณีดังกลาวกรรมสิทธิ์จะโอนไปยังผูเชาเมื่อผูเชาแสดงเจตนา สนองรับคําเสนอของผูใหเชาที่จะขายทรัพยสินให การแสดงเจตนาดังกลาวกอใหเกิด สัญญาซ้ือขายเกิดขึ้นภายหลังสัญญาลิสซิ่ง ดังนั้น กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินที่เชาจึงโอนไป เปนกรรมสิทธิ์ของผูเชาซึ่งเปนผูซื้อตามสัญญาซื้อขาย ทําใหสัญญาลิสซิ่ง มีลักษณะเปน
สญญาเชาทรัพย พรอมคํามั่นวาจะขายทรพยสิน และกอใหเกิดสญญาซื้อขายทรพยสินใน
ภายหลัง ซึ่งเมื่อพิจารณาถึงวัตถุประสงคของสัญญาซื้อขาย แมจะเกิดขึ้นในภายหลัง ก็ เปนสัญญาที่ทีวัตถุประสงคในการโอนกรรมสิทธิ์ ดังนั้นสัญญาลิสซิ่ง จึงคลายกับสัญญา เชาซื้อ แมเวลาในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินจะแตกตางกัน กลาวคือ กรรมสิทธิ์ใน ทรัพยสินตามสัญญาลิสซิ่ง โอนเมื่อมีการตกลงซื้อขายทรัพยสินกัน และโอนหลังจากครบ กําหนดระยะเวลาในการเชาแลว ดังนั้นแมผูเชาจะชําระคาเชาครบถวนแลวถายังไมได แสดงเจตนาซื้อทรัพยสินที่เชานั้น กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินนั้นก็ยังไมโอนไปยังผูเชา สวน สัญญาเชาซื้อเมื่อชําระคาเชาซอครบถวนแลว กรรมสิทธิ์ก็จะโอนมาเปนของผูเชาซื้อทันที และสิทธิของผูเชาในการเลือกซื้อทรัพยสินเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาในการเชาแลว จะเกิดขึ้น ในสัญญาลิสซิ่งชนิดลงทุน(Financial lease) เทานั้น
จากการศึกษากฎหมายเกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่ง เกี่ยวกับสิทธิ หนาที่ และความรับ ผิดของสัญญา แมจะมีการกําหนด สิทธิ หนาที่ และความรับผิดของคูสัญญาไวตาม ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีการคา(ฉบับที่53) เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ
วิธีการ เงื่อนไข ระยะเวลาที่ใหเชาทรัพยสิน และหลักเกณฑการคํานวณทุนของทรัพยสิน ที่ใหเชาบางประการ และ ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง เงื่อนไขการอนุญาตใหบริษัท เงินทุน ประกอบกิจการใหเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่ง ไวก็ตาม
สัญญาลิสซิ่งเปนสัญญาที่ทําไดตามหลักหลักอิสระในทางแพง (Private Autonomy) และหลักเสรีภาพในการทําสัญญา(Freedom of Contract) ดังนั้นคูสัญญา จึงสามารถที่จะตกลงสิทธิหนาที่ระหวางคูสัญญาในเนื้อหาของสัญญาไดเอง แตในทาง ปฏิบัติอาจเกิดปญหาขอพิพาทเรื่อง สิทธิหนาที่และความรับผิดของคูสัญญาได เพราะ สิทธิหนาที่ของคูสัญญาในบางเรื่องไมไดมีการตกลงและกําหนดไวในสัญญา อีกทั้งใน เรองสิทธิหนาที่ของคูสัญญาตามสัญญาลิสซิ่งก็ไมมีกฎหมายบัญญัติไว ดังนนในกรณีที่มี ปญหาเกี่ยวกับสิทธิหนาที่ และความรับผิดของคูสัญญา ก็ตองนําขอตกลงของสัญญามา ใชบังคับเทาที่ไมขัดตอความสงบเรียบรอย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชนและในกรณีที่ คูสญญาไมไดตกลงกนในเรื่องใดไวก็ใหนําบทบัญญัติเรื่องเชาทรัพยมาใชบังคับ 32 ผูเขียน เห็นวา เปนชองวางของสัญญา ดังนนเมอมีคดีขอพิพาทขึ้นสูการพิจารณาของศาล การที่ ศาลจะวินิจฉัยคดีนั้นไดจะตองวินิจฉัยโดยการตีความสัญญา หรือ ศาลก็อาจนําหลัก กฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง คือสัญญาเชาทรัพย เชาซื้อ และสัญญาซื้อขาย มาใชในการ วินิจฉัย โดยอาศยหลกของมาตรา 4 วรรคสอง
และนอกจากนี้ ในระหวางการเชาผูเชามีหนาที่ตองปฏิบัติตามขอกําหนดใน สัญญาดงตอไปนี้ 33
ผูเชาตองจายคาเชาเปนรายงวดๆละเทาๆกัน ตลอดอายุสัญญาเชา ผูเชาตอง ดูแลรักษาทรัพยสิน และเปนผูเสียคาใชจายเอง และตองจัดทําประกันภัยทรัพยสินโดย ระบุใหบริษัทผูใหเชาเปนผูรับประโยชน ผูเชาจะโอนสิทธิหรือใหเชาชวงแกบุคคลอื่นไมได และ
เมื่อระยะเวลาการเชาครบกําหนด ผูเชามีสิทธิเลือก ขอซื้อทรัพยสินนั้นเปน กรรมสิทธิ์ของตน หรือเชาทรพยสินนนตอ หรือขายทรัพยสินนั้นแกบุคคลที่สาม
ซึ่งสิทธิหนาที่ของผูเชาดังกลาว มีลักษณะใกลเคียงกับสิทธิหนาที่ของผูเชาตาม ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีการคา(ฉบับที่53) เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ
32 ไผทชิต เอกจริยกร,อางแลวเชิงอรรถที่ 7 , น.187.
33 นงลักษณ หุตะภิญโญ , “ การศึกษาการดําเนินงานของธุรกิจลิสซิ่งในประเทศ ไทย” ( วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาพาณิชยศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , 2529 ) , น.61 – 63.
วิธีการ เงื่อนไข ระยะเวลาที่ใหเชาทรัพยสิน และหลักเกณฑการคํานวณทุนของทรัพยสิน ที่ใหเชาบางประการ และ ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง เงื่อนไขการอนุญาตใหบริษัท เงินทุน ประกอบกิจการใหเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่ง
นอกจากนี้สัญญาลิสซิ่งที่เกิดขึ้นในทางปฏิบัติของผูประกอบธุรกิจลิสซิ่ง จะมี ขอกําหนดและเงื่อนไขของสัญญาที่คลายคลึงกับสัญญาเชาทรัพยสินทั่วไป แตขอตกลง บางขอก็มีลักษณะพิเศษแตกตางออกไป เชน มีการกําหนดใหผูเชาเปนผูเลือกกําหนด ทรัพยที่เชา เมื่อมีการบอกเลิกสัญญาไมวาเพราะเหตุใดๆ ผูเชาตกลงวาจะชําระคาเชา สวนที่เหลือใหแกผูใหเชาจนครบถวน 34
จะเห็นไดวาสิทธิหนาที่ของคูสัญญาในสัญญาลิสซิ่ง มีลักษณะคลายกับสิทธิ หนาที่ของคูสัญญาในสัญญาเชาทรัพย และสัญญาเชาซื้อ โดยการนําเอาขอดีตางๆมา รวมกัน ดังนั้นหากมีปญหาเกี่ยวกับสิทธิหนาที่และความรับผิดของคูสัญญา ก็ตองนํา ขอตกลงของสัญญามาใชบงคับ ตามหลักความศักดิ์สิทธิแหงการแสดงเจตนา เทาที่ไมขัด ตอความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน
และในกรณีที่คูสัญญาไมไดตกลงกันในเรื่องใดไวจะนําบทบัญญัติของกฎหมาย ในเรื่องใดมาใชบังคับ ซึ่งก็มีความเห็นที่แตกตางกัน คือฝายที่เห็นวาใหนําบทบัญญัติเรื่อง เชาทรัพยมาใชบังคับแทน 35 กับฝายที่เห็นวาตองนําบทบัญญัติลักษณะเชาทรัพย และ เชาซื้อ มาบงคบใชกบสัญญาลิสซิ่ง 36
3.4 การสิ้นสุดของสัญญาลิสซิ่ง
การสนสุดของสัญญาตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เกิดขึ้นจากการเลิก สัญญา ซึ่งเปนการทํานิติกรรมอันใหมเพื่อระงับสิทธิหรือระงับนิติสัมพันธอันเดิมที่มีผล ผูกพันระหวางคูสัญญา การเลิกสัญญานั้นเกิดจากคูสัญญาทั้งสองฝายตกลงกันเลิก สญญาที่ไดทําขึ้นแลว หรือการบอกเลิกสัญญาโดยคูสัญญาเพียงฝายใดฝายหนึ่งเปนฝาย บอกเลิกสัญญา โดยที่คูสัญญาอีกฝายหนึ่งไมจําตองเห็นพองดวยซึ่งการเลิกสัญญาโดย วิธีนี้จะตองเปนไปตาม บทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 2 หนี้ เรื่อง การบอกเลิกสัญญาโดยขอสัญญา ตามมาตรา 386 กลาวคือ ไดมีการระบุไวใน
34 เนตรนภา บุญคํา,อางแลวเชิงอรรถที่ 16, น.79.
35 เพิ่งอาง, น. 79.
36 อํานาจ เพียรไทย,อางแลวเชิงอรรถที่ 21, น.88
สัญญาวา ถามีการผิดสัญญา หรือการไมชําระหนี้อยางใดอยางหนึ่งของคูสัญญาฝายใด ฝายหนึ่งก็ใหสิทธิคูสญญาอีกฝายหนึ่งบอกเลิกสัญญาได
นอกจากนี้ ยังมีการบอกเลิกสัญญาโดยบทบัญญัติของกฎหมาย มาตรา 387
มาตรา 388 เปนกรณีที่ลูกหนี้ไมชําระหนี้ทําใหเจาหนี้มีสิทธิบอกเลิกสัญญาได
และมาตรา 389 เปนกรณีที่การชําระหนี้กลายเปนพนวิสัยเพราะเหตุอยางใดอยางหนึ่งที่ จะโทษลูกหนี้ได เจาหนี้มีสิทธิบอกเลิกสัญญาได
โดยวิธีการบอกเลิกสัญญาจะตองมีการแสดงเจตนาบอกเลิกสัญญา โดย คูสัญญาฝายที่มีสิทธิในการบอกเลิกสัญญาไปยังคูสัญญาอีกฝายหนึ่งแลว ยอมมีผลทํา ใหสัญญานั้นระงับสนไปหรือสัญญาสิ้นสุดลง
นอกจากนี้ การสิ้นสุดของสัญญาอาจเกิดจากการครบกําหนดระยะเวลาตามที่ ตกลงไวในสัญญา ซึ่งเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาดังกลาวแลวสัญญาก็เปนอันระงับสิ้นไป
ทั้งนี้ บทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ในบรรพ 3 เอกเทศ สัญญา ลักษณะ 4 เชาทรัพย มาตรา 567 การสิ้นสุดของสัญญาเชาเมื่อทรัพยสินที่เชา เสียหาย หรือสูญหายทั้งหมด สัญญาเชาก็ระงับไปทันทีโดยไมตองคํานึงวาการเสียหาย หรือสูญหายนั้นเกิดจากความผิดของฝายใด หรือเกิดจากเหตุสุดวิสัย
โดยกรณีดังกลาวก็จะมีปญหาในทางกฎหมายวาจะนําบทบัญญัติในดังกลาวมา บังคับใชกับสัญญาลิสซิ่งไดหรือไม นอกจากนี้ก็ยังมีปญหาวา เมื่อผูเชาในสัญญาลิสซิ่ง ตาย หรือตกเปนบุคคลลมละลายในกรณีที่ผูเชาเปนบุคคลธรรมดา หรือผูเชาที่เปนนิติ บุคคลสิ้นสภาพความเปนนิติบุคคลแลว สัญญาลิสซิ่งจะสิ้นสุดลงหรือไม
หลักเกณฑเร่องความระงับของสญญาลิสซิ่งสามารถแยกพิจารณาไดดังนี้ ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีการคา (ฉบับที่53) เรื่อง กําหนด
หลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไข ระยะเวลาที่ใหเชาทรัพยสิน และหลักเกณฑการคํานวณทุน ของทรัพยสินที่ใหเชาบางประการ ไดกําหนดการสิ้นสุดของสัญญาเชา เมื่อครบกําหนด ระยะเวลาในการเชา โดยกําหนดระยะเวลาในการเชาในสัญญาเชาแบบลิสซิ่ง ตองมี ระยะเวลาตั้งแต 3 ป ขึ้นไปแตไมเกินอายุการใชงานของทรัพยสิน ถาทรัพยสินที่เชาเปน ทรัพยสินที่ยึดมาจากผูเชารายอื่นระยะเวลาในการเชาอาจต่ํากวา 3 ป ก็ได
เมื่อผูใหเชาใชสิทธิบอกเลิกสัญญา ในกรณีที่ผูเชาผิดนัดไมชําระคาเชา 2 งวด ติดๆ กัน หรือเมื่อผูเชากระทําผิดสัญญาในขอที่เปนสวนสําคัญ และไดแจงการบอกเลิก สญญาพรอมดวยเหตุผลเปนหนังสือใหผูเชา ทราบกอนไมนอยกวา 15 วัน แลว
ซึ่งประกาศฉบับดังกลาวอาศัยอํานาจตาม มาตรา 79 วรรคสอง (10) แหง ประมวลรัษฎากร แหงบัญชีอัตราภาษีการคา ประเภทการคา 5 ชนิดที่ 2 โดยในตัว
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรขางตนนั้น เปนเรื่องการกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และ เงื่อนไขของการประกอบธุรกิจลิสซิ่ง ซึ่งผูประสงคจะประกอบธุรกิจลิสซิ่งดังกลาวจะตอง ยื่นคําขอเปนผูประกอบการคากับกรมสรรพากร สวนธนาคารพาณิชยและบริษัทเงินทุน นั้น จําเปนตองไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง จึง จะสามารถประกอบธุรกิจลิสซิ่งได ซึ่งตอมาไดมีการออกประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง เงื่อนไขการอนุญาตใหบริษัทเงินทุน ประกอบกิจการใหเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่ง ได กําหนดการสิ้นสุดของสัญญาลิสซิ่งไวในลักษณะใกลเคียงกันดังนี้ คือ เมื่อครบกําหนด ระยะเวลาในการเชา โดยกําหนดระยะเวลาในการเชาในสัญญาเชาแบบลิสซิ่ง ตองมี ระยะเวลาตั้งแต 3 ป ขึ้นไปแตไมเกินอายุการใชงานของทรัพยสิน ถาทรัพยสินที่เชาเปน ทรัพยสินที่ยึดมาจากผเชารายอื่นระยะเวลาในการเชาอาจต่ํากวา 3 ป กได
เมื่อผูใหเชาใชสิทธิบอกเลิกสัญญา ในกรณีที่ผูเชาผิดนัดไมชําระคาเชา 2 งวด ติดๆ กัน หรือเมื่อผูเชากระทําผิดสัญญาในขอที่เปนสวนสําคัญ โดยผูใหเชาตองแจงการ บอกเลิกสัญญาพรอมดวยเหตุผล เปนหนังสือใหผเชาทราบลวงหนาไมนอยกวาสามสิบวนั นับแตวันที่ผูเชาไดรับหนังสือดังกลาว ในหนังสือบอกเลิกสัญญานั้นใหระบุดวยวา หากผู เชาชําระคาเชางวดที่คางชําระหรือแกไขการผิดสัญญาในขอที่เปนสวนสําคัญดังกลาว แลวแตกรณีภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับหนังสือบอกเลิกสัญญา การบอกเลิก สญญานั้นเปนอันระงบไป
ซึ่งการออกประกาศฉบับดังกลาวของกระทรวงการคลัง เปนการออกโดยอาศัย อํานาจตามความในมาตรา 20(6) วรรคหนึ่ง ที่บัญญัติ หามมิใหบริษัทเงินทุนประกอบ กิจการอื่นใดนอกจากธุรกิจเงินทุนในประเภทที่ไดรับอนุญาต เวนแตจะไดรับอนุญาตจาก รัฐมนตรี และในการอนุญาตรัฐมนตรีจะกําหนดเงื่อนไขใดๆ ก็ได แหงพระราชบัญญัติการ ประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร พ.ศ.2522 แกไข เพิ่มเติม พ.ศ.2528 ซึ่งในปจจุบันไดถูกยกเลิกไป ตาม พระราชบัญญัติธุรกิจสถาบัน การเงิน พ.ศ.2551 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 125 ตอนที่ 27 ก วันที่ 5 กุมภาพนธ 2551 และใหมีผลใชบังคับเมื่อพนกําหนด 180 วัน นับแตวันประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเปนตนไป และประกาศกระทรวงการคลังดังกลาวยังมีผลใชบังคับดังเดิม โดย อาศัยบทบัญญัติ มาตรา 158 แหง พระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ.2551 ที่ให ประกาศกระทรวงการคลัง บรรดาที่ใชบังคับอยูในวันกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหใชบงคับตอไป เทาทไมขัดหรือแยงกับพระราชบญญัตินี้
ซึ่งสามารถสรุป การสิ้นสุดของสัญญาลิสซิ่ง ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีการคา(ฉบับที่ 53) เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไข ระยะเวลาที่ให
เชาทรัพยสิน และหลักเกณฑการคํานวณทุนของทรัพยสินที่ใหเชาบางประการ และ ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง เงื่อนไขการอนุญาตใหบริษัทเงินทุน ประกอบกิจการให เชาทรัพยสินแบบลิสซิ่ง มี 2 กรณีคือ 1. เมื่อครบกําหนดระยะเวลาเชาตามสัญญา 2 . เมื่อ ผูใหเชาบอกเลิกสัญญา
นอกจากสัญญาเชามักจะระบุการสิ้นสุดสัญญา จากการครบกําหนดตาม สัญญาเชาแลว การสิ้นสุดของสัญญาเชาอาจเกิดขึ้นไดในกรณีตางๆ เชน ผูเชาหยุดพัก กิจการไมดําเนินการตอไป ผูเชาถูกพิทักษทรัพยหรือลมละลาย ผูเชาควบกิจการกับ กิจการอื่น ผเชาไมสามารถชําระหนี้ไดตามคําพิพากษา 37 นอกจากสัญญาลิสซิ่งจะสิ้นสุด ลง เมื่อครบกําหนดกําหนดระยะเวลาตามที่คูสัญญาตกลงกันไว การสิ้นสุดของสัญญา ดวยเหตุอยางอื่น เชน ผูเชาสิ้นสุดสภาพการเปนนิติบุคคล ทรัพยสินที่เชาสูญหายหรือ เสียหายทั้งหมด สัญญาลิสซิ่งจะสิ้นสุดลงหรือไม ซึ่งผูเขียนเห็นวา หากขอตกลงใน สัญญาลิสซิ่งเรื่องใด คูสัญญาไมไดตกลงกันไว ใหนําบทบัญญัติลักษณะเชาทรัพย เชา ซื้อ มาบงคับใชกับสัญญาลิสซิ่ง
นอกจากนการสิ้นสุดของสัญญาลิสซิ่งอาจเกิดจากการบอกเลิกสัญญา ซึ่งสิทธิใน การบอกเลิกสัญญาลิสซิ่ง ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีการคา(ฉบับที่ 53) เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไข ระยะเวลาที่ใหเชาทรัพยสิน และหลักเกณฑ การคํานวณทุนของทรัพยสินที่ใหเชาบางประการ และ ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง เงื่อนไขการอนุญาตใหบริษัทเงินทุน ประกอบกิจการใหเชาทรัพยสินแบบลิสซิ่ง ผูใหเชา มีสิทธิบอกเลิกสัญญา เมื่อผูเชาผิดนัดไมชําระคาเชาสองงวดติด ๆ กัน หรือเมื่อผูเชา กระทําผิดสัญญาในขอที่เปนสวนสําคัญ โดยผูใหเชาตองแจงการบอกเลิกสัญญาพรอม ดวยเหตุผล เปนหนังสือใหผูเชาทราบลวงหนาไมนอยกวาสามสิบวันนับแตวันที่ผูเชาไดรับ หนังสือดังกลาว ในหนังสือบอกเลิกสัญญานั้นใหระบุดวยวา หากผูเชาชําระคาเชางวดที่ คางชําระหรือแกไขการผิดสัญญาในขอที่เปนสวนสําคัญดังกลาว แลวแตกรณี ภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับหนังสือบอกเลิกสัญญา การบอกเลิกสัญญานั้นเปนอัน ระงับไป ผูเขียนเห็นวา การกําหนดหลักเกณฑในการบอกเลิกสัญญาของผูใหเชา มี ลักษณะคลายกับการใหสิทธิแกผูใหเชาในสัญญาเชาซื้อในการบอกเลิกสัญญา เมื่อผูเชา ซื้อผิดนัดไมชําระคาเชาซื้อ 2 งวด ติดๆกัน ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา
574 แตมีขอสังเกตวาระยะเวลาในการบอกกลาวในการบอกเลิกสัญญาเพราะเหตุ
37 กองบรรณาธิการ ,” กฎหมายธุรกิจ” , วารสารเอกสารภาษีอากร , ปที่ 17,ฉบับ ที่ 195, ( ธันวาคม 2540 , น.85)
ดังกลาว ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร กําหนดระยะเวลาบอกกลาวลวงหนา ไวเพียง 15 วัน และเมื่อพิจารณาบทบัญญัติมาตรา 561 ลักษณะเชาทรัพยที่ผูใหเชามีสิทธิบอกเลิก สัญญาหากผูเชาไมชําระคาเชาโดยตองบอกกลาวลวงหนา 15 วัน ผูเขียนเห็นวาการ กําหนดหลักเกณฑในการเลิกสัญญาดังกลาว เปนการนําบทบัญญัติในลักษณะเชาทรัพย และเชาซื้อ มาใชกับสัญญาลิสซิ่ง
3.5 เปรียบเทียบสัญญาลิสซิ่งกับเอกเทศสญญาอื่นๆ
จากการศึกษากฎหมายที่เกี่ยวกับสัญญาลิสซิ่ง ความหมาย ประเภท และ ลักษณะที่เปนสาระสําคัญของสัญญาลิสซิ่งแลวพบวา ลักษณะของสัญญาลิสซิ่งตามคํา จํากัดความที่ยังไมมีกฎหมายบัญญัติไวโดยเฉพาะ อาจพอสรุปไดวา สัญญาลิสซิ่ง คือ ขอตกลงระหวางผูใหเชาและผูเชาเพื่อการเชาทรพยสิน โดยผูเชาเปนผูเลือกทรัพยสินจาก ผูผลิตหรือผูจําหนายเอง และใหผูใหเชาเปนผูชําระราคาและเปนเจาของกรรมสิทธิ์ใน ทรัพยสินนั้น ในขณะที่ผูเชามีสิทธิ์ที่จะครอบครองและใชประโยชนจากทรัพยสินนั้นดวย การชําระคาเชาเปนงวด ตามระยะเวลาที่ตกลงกัน และเมื่อสิ้นสุดสัญญาเชา ผูเชามีสิทธิ ทจะเลือกซอทรพยสินเปนกรรมสิทธิ์ของตนเอง
จากลักษณะดงกลาวของสัญญาลิสซิ่ง จะเห็นไดวามีลักษณะใกลเคียงกับสัญญา เชาทรัพยสินธรรมดา สัญญาเชาซื้อ และสัญญาซื้อขาย เปนอยางมาก หรืออาจกลาวได วา เปนการนําเอาบทบัญญัติในเรื่องเชาทรัพย เชาซื้อ และซื้อขายมาบัญญัติไวรวมกันใน สัญญาลิสซิ่ง ซึ่งผูศึกษาจะไดทําการศึกษาและเปรียบเทียบสัญญาลิสซิ่งกับสัญญาเชา ทรัพย เชาซื้อ และซื้อขาย ทั้งนี้เพื่อใหเห็นความเหมือนและความแตกตางในสิ่งที่เปน สาระสําคัญของสัญญา เพื่อใหเกิดความเขาใจที่ถูกตองและสามารถนํากฎหมายมาปรับ ใชกับสัญญาลิสซิ่งไดอยางถูกตองตอไป
3.5.1 เปรียบเทียบสัญญาลิสซิ่งกับสัญญาเชาทรพย
1. แบบของสัญญา
การ สั ญญา ลิ สซิ่งตามประกาศอธิบ ดี กรมสรรพากร และประกาศ กระทรวงการคลัง ไดกําหนดหลักเกณฑการทําสัญญาวา สัญญาเชาตองทําเปนหนังสือ และมีขอกําหนดวาผูเชาเพียงฝายเดียวจะบอกเลิกสัญญากอนครบกําหนดไมได กรณี ดังกลาวถือไดวา เปนแบบที่กฎหมายบังคับ กลาวคือ สัญญาเชาแบบลิสซิ่งตองทําเปน ลายลักษณอักษร และลงลายมือชื่อของคูสัญญาทั้งสองฝาย ผูศึกษาเห็นวา สัญญา
ลิสซิ่ง หรือสัญญาเชาแบบลิสซิ่ง เปนสัญญาที่ไมมีแบบที่กฎหมายกําหนดไว การกําหนด หลักเกณฑตามประกาศดังกลาวเปนการกําหนดหลักเกณฑในการทําสัญญาลิสซิ่ง หรือ สัญญาเชาแบบลิสซิ่งเทานั้น แบบแหงสัญญาที่กฎหมายกําหนดไวจึงไมมี อีกทั้งเม่ือ สัญญาลิสซิ่งไมไดกําหนดผลวาถาไมทําเปนหนังสือตกเปนโมฆะ การที่ประกาศดังกลาว กําหนดใหสญญาลิสซิ่งตองทําเปนหนังสือ จึงไมใชการกําหนดแบบของสัญญาลิสซิ่ง
สัญญาเชาทรัพย ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 538 ไมได บัญญัติถึงหลักเกณฑในการทําสัญญาเชาสังหาริมทรัพยเอาไว แตกฎหมายไดกําหนด หลักเกณฑในการทําสัญญาเชาอสังหาริมทรัพยไววา ถามิไดมีหลักฐานเปนหนังสืออยาง หนึ่งอยางใดลงลายมือชื่อฝายที่ตองรับผิดเปนสําคัญจะฟองรองใหบังคับคดีกันไมได สวน การทําสัญญาเชาอสังหาริมทรัพยมีกําหนดกวาสามปขึ้นไป หรือกําหนดตลอดอายุของผู เชาหรือผูใหเชา หากมิไดทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ การเชา นั้นก็จะไมตกเปนโมฆะ เพียงแตจะฟองรองบังคับคดีกันไดเพียงสามป ดังนั้นสัญญาเชา ทรัพยจึงไมมีแบบที่กฎหมายกําหนดไว
2. ประเภทของทรัพยสินในสัญญา
สัญญาลิสซิ่ง ทรัพยสินที่จะนํามาทําสัญญาลิสซิ่งไดนั้น จะถูกกําหนดไวเฉพาะ สังหาริมทรัพย ที่เปนสินคาประเภททุน และทรัพยสินนั้นตองใชในการประกอบ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกรรม เปนทางคาปกติ และผูใหเชาเปนผูมีกรรมสิทธิ์ ในทรัพยสินนั้น และในประเทศไทยไดมีการจํากัดประเภทของทรัพยสินที่เปน สังหาริมทรัพยตองมีราคาไมนอยกวา500,000 บาทจึงจะสามารถนําไปทําสัญญาลิสซิ่งได สัญญาเชาทรัพย ทรัพยสินที่สามารถนําออกใหเชาไดมีทั้งสังหาริมทรัพย และ
อสังหาริมทรัพย และผใหเชาตองมีกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินที่ใหเชา
3. หนาทและความรับผิดของคูสัญญา
สัญญาลิสซิ่งชนิดลงทุน(Financial lease) ผูเชาไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญาเชาฝาย เดียวใน primary lease period และผูเชามีหนาที่ตองรักษาทรัพยสินที่เชาใหอยูในสภาพ ดีโดยการประกันภัยทรัพยสิน บํารุงรักษาซอมแซมและจัดหาชิ้นสวนมาทดแทนชิ้นสวนที่ ชํารุด เพื่อใหทรพยสินอยูในสภาพที่เหมาะสมและสามารถจําหนาย หรือ ใหเชาตอได เมื่อ สัญญาเชาสิ้นสุดลง ผูเชามีหนาท่ีไมเคลื่อนยายทรัพยสิน และไมนําทรัพยสินไปวางเปน หลกทรัพยค้ําประกัน แตในสัญญาลิสซงชนดดําเนินงาน (Operating Lease) ผูเชามีสิทธิ ใชทรัพยสินได และผูเชาสามารถบอกเลิกสัญญาไดเมื่อไมมีความจําเปนตองใชทรัพยสิน
นั้นตอไป หรือเห็นวาทรัพยสินนั้นหมดประโยชน เปนลักษณะการเชาที่ผูเชาไมมุงหวัง กรรมสิทธิ์
สัญญาเชาทรัพย บทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ลักษณะ เชาทรพย ไดบัญญัติหนาที่และความรับผิดของผูใหเชา และของผูเชาไวชัดเจน เชนหนาที่
ของผูเชา มีหนาที่ตองสงวนทรัพยสินทเชาเสมอกับที่วิญูชน จะพึงสงวนทรพยสินของตน
และตองบํารุงรักษาทั้งการซอมแซมเล็กนอย นอกจากนี้ผูเชามีหนาที่ชําระคาเชา ซึ่งเปน คาตอบแทนเฉพาะการไดใชทรัพยเทานั้นและเมื่อสิ้นสุดสัญญาเชา ตองคืนทรัพยสินนั้น ใหแกผูใหเชา
สัญญาลิสซิ่ง ผูเชามีหนาที่ชําระคาเชา การคิดคาเชารายงวดในสัญญาลิสซิ่ง ก็จะมีวิธีการคิดคลายกับการคิดราคาคาเชาซื้อรายงวดในสัญญาเชาซื้อ ซึ่งคาเชาราย งวดนั้น คือ ราคาของทรัพยสินที่เชาบวกดวยผลประโยชนตอบแทนที่บริษัทเงินทุนหรือ ผูใหเชาเรียกเก็บ จึงมิไดเปนแตเพียงเงินคาตอบแทนในการใชทรัพยเทานั้น แตยังเปน สวนหนึ่งของคาตอบแทนในการโอนกรรมสิทธิ์ท่ีจะมีขึ้นในอนาคต และผูใหเชาสามารถ บอกเลิกสัญญาเชาได เมื่อผเชาผิดนัดไมชําระคาเชาสองงวดติดๆกัน หรือเมื่อผูเชากระทํา ผิดสัญญาในขอทเปนสวนสําคัญ
สัญญาเชาทรัพยผูเชามีหนาที่ชําระราคาคาเชา การชําระคาเชาทรัพย ผูเชา สามารถชําระคาเชาดวยเงิน และอาจกําหนดใหใชทรัพยสินอยางอื่นเปนคาเชาไดดวย คาเชาทรัพยนั้นเปนคาใชทรัพยสิน การคํานวณคาเชาจะคํานึงถึงสภาพการใชสอยทรัพย รวมทั้งสถานที่ตั้ง และคุณสมบัติของผูเชา ซึ่งแตกตางจากคาเชาตามสัญญาลสซิ่ง
สัญญาลิสซิ่ง ผูใหเชามีหนาที่ที่จะตองโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินใหแกผูเชาทันที เมื่อผูเชาไดใชสิทธิซอทรัพยสินและปฏิบัติตามเงื่อนไขเพื่อใหไดกรรมสิทธิ์เรียบรอยแลว
สัญญาเชาทรัพย ไมมีวัตถุประสงคในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินที่เชา วตถุประสงคในสัญญาเชาทรัพยคือใหผเชาไดใชหรือไดรับประโยชนในทรัพยสินที่เชา
4. วตถุประสงคและขอตกลงในสัญญา
สัญญาลิสซิ่ง วัตถุประสงคของการทําสัญญาลิสซิ่ง มิไดเปนเพียงการที่ผูเชาได ใชหรือไดรับประโยชนในทรัพยสินที่เชาเทานั้น แตมีลักษณะที่ผูเชาไดประโยชนอยางอื่นที่ เปนทางคาปกติ นอกจากนี้หากเปนสัญญาลิสซิ่งชนิดลงทุน(Financial lease) ซึ่งมี ขอตกลงใหสิทธิผูเชาในการเลือกซื้อทรัพยสินที่เชา เมื่อครบกําหนดระยะเวลาในการเชา แลว หากผูเชาตกลงซื้อทรัพยสินที่เชานั้น ผูใหเชาจะตองโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินที่เชา ใหแกผูเชาทันที ทั้งนี้เมื่อผูเชาไดใชสิทธิซื้อทรัพยสิน และปฏิบัติตามเงื่อนไขเพื่อใหได