สัญญาเลขที่ RDG 55501141
รายงานฉบับxxxxxxx
สัญญาเลขที่ RDG 55501141
โครงการ “สังเคราะห์ผลการวิจัยยางพารา ปี 2555”
โดย
xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxx และคณะ
มีนาคม 2557
สัญญาเลขที่ RDG 55501141
โครงการ “สังเคราะห์ผลการวิจัยยางพารา ปี 2555” รายงานฉบับxxxxxxx
หัวหน้าโครงการ xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxx
คณะนักวิจัยร่วม นายพายับ xxxxxxxxxxx นายxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxx xxxxxxxxx
ที่ปรึกษาโครงการ xx.xxxxxx xxxxxxxxx
ช่วงเวลาของรายงาน ตั้งแต่xxxxxx 15 กันยายน 2555 – 14 กันยายน 2556
(ขยายระยะเวลา 3 เดือนจนถึง 15 ธันวาคม 2556)
ลักษณะโครงการ เป็นโครงการเดี่ยว ครอบคลุมการติดตาม และ
สังเคราะห์โครงการวิจัยด้านยางพาราขนาดใหญ่ จํานวน 44 โครงการ
บทสรุปสําหรับผู้บริหาร (Executive Summary)
ชื่อเรื่อง : โครงการสังเคราะห์ผลการวิจัยยางพาราปี 2555
ผู้วิจัย: xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxx นายพายับ xxxxxxxxxxx
นายxxxxx xxxxxเวคีxxxx xxxxxxxxx xxxxxxxxx
ปีที่พิมพ์ : 2557
แหล่งทุน : สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
โครงการสังเคราะห์ผลการวิจัยยางพาราปี 2555 มีวัตถุประสงค์ 4 ประการคือ (1) เพื่อให้มีกระบวนการใน การสรุปและสังเคราะห์ผลงานวิจัยด้านยางพาราxxxxxxรับการสนับสนุนทุนจาก วช. และ สกว. เผยแพร่ให้กับ สาธารณชนได้รับทราบ (2) เพื่อให้นักวิจัยxxxxxxดําเนินโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพและxxxxxxxxxx (3) เพื่อ รวบรวมองค์ความรู้xxxxxxรับจากการวิจัย และเผยแพร่ให้นักวิจัยและบุคคลทั่วไปมีความรู้สําหรับนําไปxxxxxxการวิจัย และนําผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ทั้งในเชิงของการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพาราและการพัฒนาในเชิงพาณิชย์ และ
(4) เพื่อให้ สกว. มีกรอบทิศทางในการพิจารณาโครงการด้านยางพาราที่สอดคล้องกับxxxxxxxxxxxxxเกี่ยวข้อง ทั้ง xxxxxxxxxxการพัฒนายางพารา พ.ศ. 2552-2556 และxxxxxxxxxxวิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 และ เตรียมพร้อมสําหรับรองรับxxxxxxxxxxการพัฒนายางพาราในระยะต่อไป หลักการและทฤษฎีที่ใช้ในการสังเคราะห์ ประกอบด้วย แนวทางการพิจารณาความเหมาะสมของข้อเสนอโครงการพัฒนาของหน่วยงานราชการและ รัฐวิสาหกิจ การติดตามและประเมินผลโครงการตามหลักวิชาการ การวิเคราะห์จุดต่าง (Gap Analysis) โดย สังเคราะห์จากข้อมูลรายละเอียดแผนงาน/โครงการวิจัยยางพาราปี 2555 ซึ่งมีอยู่ทั้งสิ้น 44 โครงการ รวมทั้ง จาก รายงานผลการดําเนินงานวิจัยรอบ 6 เดือน (ร่าง) รายงานฉบับxxxxxxxของแผนงาน/โครงการตามความเห็นของ ผู้ทรงคุณวุฒิ และจากการประชุมติดตามความxxxxxxxxแผนงาน/โครงการระยะ 4 เดือน และระยะ 8 เดือนระหว่าง นักวิจัย ผู้ทรงคุณวุฒิ สกว. ตลอดจนการเดินทางไปติดตามความxxxxxxxxในพื้นที่สําหรับโครงการที่คัดเลือก นอกจากนั้น ยังได้ศึกษาทิศทางการวิจัยยางพาราจากการวิเคราะห์จุดต่าง (Gap Analysis) ใน 2 ระดับคือ ระหว่าง xxxxxxxxxxการพัฒนายางพารา พ.ศ. 2552-2556 กับxxxxxxxxxxวิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 และ ระหว่างแผนงาน/โครงการวิจัยด้านยางพาราปี 2555 กับแนวทางการพัฒนางานวิจัยที่กําหนดไว้ในxxxxxxxxxxวิจัย ยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 รวมxxxxxxปรับปรุงแบบประเมินแผนงาน/โครงการของผู้ทรงคุณวุฒิโดยใช้แนว ทางการพิจารณาข้อเสนอโครงการควบคู่กับแนวทางการติดตามประเมินผล
สรุปผลการศึกษา
1. แผนงาน/โครงการส่วนxxxxxxxxในกลยุทธ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิมและผลิตภัณฑ์ใหม่ แต่งบประมาณ ส่วนใหญ่ถูกจัดสรรให้แผนงาน/โครงการในกลยุทธ์การผลักดันนโยบายด้านยางพารา แผนงาน/โครงการทั้งหมด xxxxxxรับการอุดหนุนงบประมาณวิจัยจาก สกว. (12 แผนงาน 44 โครงการ งบประมาณ 63.72 ล้านบาท) ส่วนใหญ่ (6 แผนงาน 18 โครงการ) ดําเนินการเพื่อตอบxxxxต่อกลยุทธ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิมและผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มี ศักยภาพแต่งบประมาณส่วนใหญ่ (ร้อยละ 42.33) ได้รับการจัดสรรเพื่อสนับสนุนกลยุทธ์ในการผลักดันนโยบายด้าน ยางพารา (3 แผนงาน 13 โครงการ) โดยกลยุทธ์การสนับสนุนการส่งออกได้รับสนับสนุนน้อยที่สุดทั้งจํานวน แผนงาน/โครงการ (1 แผนงาน 5 โครงการ) และงบประมาณเพียงร้อยละ 11.08
2. xxxxxxxxxxวิจัยยางพารา พ.ศ. 2555-2559มีวัตถุประสงค์ กลยุทธ์ และแนวทางxxxxxxxเหมือนและ แตกต่างกับxxxxxxxxxxการพัฒนายางพารา พ.ศ. 2552-2556 ประเด็นที่เหมือนกัน xxxx ต้องการยกระดับ ความxxxxxxด้วยการxxxxxประสิทธิภาพและxxxxxxxxxxxของอุตสาหกรรมตั้งแต่ต้นน้ําจนถึงปลายน้ําที่เน้นการใช้ เทคโนโลยีเพื่อxxxxxผลผลิต ให้ความสําคัญกับเรื่องของระบบโลจิสติกส์และห่วงxxxxxxxxx สิ่งแวดล้อม การพัฒนา “คน” การxxxxxxxxตลาดทั้งในและต่างประเทศ เป็นต้น แต่ยังมีจุดต่าง (Gap) ที่xxxxxxxxxxวิจัยยางพาราxxxxxxระบุ และให้ความสําคัญในหลายประเด็น xxxx (1) รายได้และความเป็นอยู่ของเกษตรกรชาวสวนยาง และการเป็น ศูนย์กลางอุตสาหกรรมยางของxxxxxxxอย่างชัดเจน (2) แนวทางและมาตรการรองรับ AEC หรือความร่วมมือระหว่าง ประเทศในรูปแบบใดๆ โดยเฉพาะไตรภาคียางพารา (ITRC) (3) แนวทางและมาตรการที่เกี่ยวข้องกับความร่วมมือ งานวิจัยกับต่างประเทศ และการบูรณาการงานวิจัยระหว่างหน่วยงานภายในประเทศ (4) คาร์บอนเครดิต เป็นต้น
นอกจากนั้น xxxxxxxxxxวิจัยยางพาราขาดการกําหนดแนวทางxxxxxxxxxในประเด็นการพัฒนาปัจจัยเอื้อ (Enabling Factors) ได้แก่ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน (โลจิสติกส์ พลังงาน ระบบข้อมูลสารสนเทศ เครือข่ายการวิจัย เป็นต้น) ระบบมาตรฐาน ตลาด (ระบบ และการxxxxxxxxxxxxในและต่างประเทศ) ด้านการเงินและการลงทุน (ไม่ใช่ เฉพาะ Cess) และ “คน” (นักวิจัย เกษตรกร แรงงานในสวนยาง ผู้ประกอบการและแรงงานในอุตสาหกรรม) รวมถึง ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม
3. เป้าหมายของแผนงาน/โครงการวิจัยปี 2555 ไม่สะท้อนเป้าหมายในระดับxxxxxxxxxxการวิจัย ยางพารา เมื่อพิจารณาจากผลผลิตโครงการวิจัย พ.ศ. 2555 เปรียบเทียบกับเป้าหมายxxxxxxxxxxวิจัยยางพารา พ.ศ. 2555-2559 พบว่า xxxxxxxxxxวิจัยยางพาราxxxxxxกําหนดเป้าหมาย (Target) ไว้ชัดเจน การกําหนดเป้าหมาย ของโครงการจึงไม่xxxxxxสะท้อนถึงเป้าหมายระดับxxxxxxxxxx การสังเคราะห์ในครั้งนี้จึงพิจารณาเปรียบเทียบใน ระดับกลยุทธ์ โดยพบว่า การสนับสนุนทุนวิจัยในปี พ.ศ. 2555 สนับสนุนกลยุทธ์ของxxxxxxxxxxวิจัยยางพาราทั้ง 4 กลยุทธ์ เพียงแต่การวิจัยที่สนับสนุนกลยุทธ์ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้มีประสิทธิภาพและสนับสนุนการ ส่งออกยังมีอยู่จํากัด ซึ่งสรุปภาพรวมได้ดังนี้
3.1 ด้านนโยบาย ในปี 2555 สกว. ได้ริเริ่มให้ความสําคัญกับการสนับสนุนทุนวิจัยเพื่อตอบโจทย์ ประเด็นเชิงนโยบาย โดยให้ความสําคัญกับประเด็นแนวทางและมาตรการรักษาเสถียรภาพราคายางพารา การศึกษา ข้อมูลการปล่อยคาร์บอนเครดิตของสวนยางพารา การวางนโยบายด้านการลงทุนระหว่างประเทศ และการวางแผน เพื่อรองรับการแข่งขันที่เป็นผลกระทบจากนโยบายของคู่แข่งขัน (ประเทศมาเลเซีย) การศึกษาระบบxxxxxxxของสวน ยางพารา และการวางระบบบริหารจัดการยางใช้แล้ว รวมทั้งการศึกษาแนวทางและมาตรการเพื่อกระตุ้นความ ต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ยางพาราภายในประเทศ โดยเฉพาะกับหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับเป้าหมายของ xxxxxxxxxxวิจัยยางพาราฯ แล้ว ยังขาด (Gap) ในส่วนที่เป็นการศึกษากฎ xxxxxxxxxxจะสนับสนุนการผลิตและการ ประกอบการทั้งในภาพรวม รายสาขา และรายประเด็นที่สําคัญ
3.2 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ (เดิม และใหม่) ผลิตภัณฑ์xxxxxxxกําหนดไว้เป็นเป้าหมายของxxxxxxxxxxวิจัย ยางพารา พ.ศ. 2555-2559 คือ ยางล้อ ถุงมือยาง ผลิตภัณฑ์เส้นด้ายยางยืด ถุงยางอนามัย ซึ่งในโครงการวิจัย พ.ศ. 2555 มีโครงการที่เกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิมในส่วนของการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตยางล้อรถประหยัด พลังงานและถุงมือยาง ทําให้เกิดช่องว่าง (Gap) ในส่วนของผลิตภัณฑ์xxxxxxxเหลือที่ยังxxxxxxมีการจัดทําโครงการวิจัย รองรับในปีนี้ รวมทั้ง ขาดการวิจัยในส่วนของการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรมยาง ล้อ ซึ่งได้กําหนดเป็นแนวทางการพัฒนาภายใต้กลยุทธ์นี้
สําหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ งานวิจัย พ.ศ. 2555 ให้ความสําคัญกับโครงการที่ใช้ประโยชน์จาก สารที่ไม่ใช่ยางในน้ํายางสด (ในที่นี้คือ พอลิเมอร์) สําหรับเป็นวัตถุดิบผลิตภัณฑ์ใหม่ทางเภสัชกรรม และการวิจัย พัฒนาxxxxxxxxแบคทีเรียเพื่อช่วยย่อยสลายพลาสติกพอลิแลกไทด์ ทําให้เกิดช่องว่าง (Gap) ในส่วนของการสร้าง บุคลากรวิจัยด้านน้ํายางเข้าสู่อุตสาหกรรมน้ํายางข้น การเผยแพร่ผลงานวิจัย และการแลกเปลี่ยนความรู้ด้านน้ํายาง รวมxxxxxxพัฒนาการผลิตและการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากไม้ยางพาราให้มีคุณภาพ
3.3 การสนับสนุนการส่งออก โครงการวิจัยในปี พ.ศ. 2555 เพื่อสนับสนุนการส่งออก มีการพัฒนา ฟิล์มบรรจุภัณฑ์ย่อยสลายง่ายที่ใช้ในการยืดอายุการเก็บรักษาคุณภาพเห็ดฟางสดเพื่อส่งออก การพัฒนามาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ยางรองรางรถไฟ ยางถอนขนไก่ และยางล้อตันสําหรับรถฟอร์คลิฟท์ ซึ่งในส่วนของการส่งออกนี้ ยังขาด (Gap) ในหลายประเด็นที่จะช่วยสนับสนุนการส่งออกสําคัญตามที่มีการกําหนดแนวทางไว้ในกลยุทธ์นี้ ได้แก่ การ พัฒนาระบบพลังงานในอุตสาหกรรมยางที่มีประสิทธิภาพ การเผยแพร่ความรู้ในการออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ยาง เทคโนโลยีสะอาด การพัฒนาด้านโลจิสติกส์ในรูปแบบของการปรับปรุงกระบวนการเพื่อลดต้นทุนโลจิสติกส์ตลอด xxxxxxxอุปทาน
3.4 การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้มีประสิทธิภาพ ตามxxxxxxxxxxวิจัยยางพารา พ.ศ. 2555-2559 กําหนดเป้าหมายไว้สําหรับอุตสาหกรรมต้นน้ําและอุตสาหกรรมกลางน้ํา ซึ่งมีโครงการรองรับในปี พ.ศ. 2555 น้อย ทําให้ขาด (Gap) ในประเด็นสําคัญหลายเรื่องที่มีการกําหนดแนวทางไว้ภายใต้กลยุทธ์นี้ ได้แก่ การพัฒนาพันธุ์ยางให้
เหมาะสมกับพื้นที่และความต้องการของอุตสาหกรรม การมีเครื่องมือกรีดยางที่มีประสิทธิภาพ มีการถ่ายทอดแนว ปฏิบัติการดูแลบําxxxxxxxxสวนยางพร้อมทั้งxxxxxทักษะบุคลากรกรีดยาง การสร้างxxxxxxxxxxxให้กับยางก้อนถ้วยและ เศษยาง การทดสอบหาสิ่งปนเปื้อนในน้ํายาง การถ่ายทอดเทคโนโลยีใหม่และxxxxxxxxxชาวบ้าน การมีเทคนิคการ ผลิตและวิธีการควบคุมคุณภาพน้ํายางและการขึ้นรูปให้ตรงตามความต้องการของอุตสาหกรรม มีเทคนิคการผลิต และวิธีการควบคุมคุณภาพยางแห้งและการผลิตยางxxxxxxxเหมาะสมเพื่อลดต้นทุนการผลิต
4. แบบประเมินของ วช.และ สกว. มีประเด็นที่ควรปรับปรุงและxxxxxความครบถ้วนตามหลักวิชาการ ประเด็นการประเมินโครงการที่ วช. และ สกว. กําหนดไว้ในแบบประเมินทั้ง 4 แบบในขั้นตอนต่างๆ ได้แก่ แบบ ประเมินข้อเสนอโครงการ แบบประเมินแผนงานวิจัย แบบประเมินความxxxxxxxxโครงการ และแบบประเมินร่าง รายงานฉบับxxxxxxxยังมีประเด็นที่ควรปรับปรุง ประกอบด้วย (1) ประเด็นที่ควรเพิ่มเติมให้ครบถ้วนตามหลัก วิชาการติดตามและประเมินผล โดยรักษาประเด็นที่มีอยู่เดิมและเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจของผู้บริหาร (2) การ ปรับปรุงข้อความต่างๆให้มีความชัดเจนเพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องมีความเข้าใจตรงกัน และ (3) ประเด็นที่xxxxxตัดออก สรุปได้ดังนี้
4.1 การประเมินข้อเสนอโครงการ มีประเด็นที่ควรเพิ่มเติมหรือปรับปรุงให้ชัดเจน ประกอบด้วย (1) การประเมินความสอดคล้องกับxxxxxxxxxxการพัฒนายางฯ และxxxxxxxxxxการวิจัยยางฯ (2) การประเมินความ จําเป็นของโครงการ (3) การปรับปรุงประเด็นการประเมินวัตถุประสงค์โดยขยายการวิเคราะห์ถึงความสอดคล้อง ระหว่างวัตถุประสงค์กับความจําเป็นของโครงการ (4) การประเมินความxxxxxxxและความเชื่อมโยงกับโครงการอื่น และ (5) การประเมินความเหมาะสมด้านการบริหารโครงการ
4.2 การประเมินแผนงานวิจัย วช. และ สกว. xxxxxxใช้แบบประเมินข้อเสนอโครงการที่ปรับปรุง ใหม่ตามข้อ 4.1 เนื่องจาก การประเมินผลแผนงานไม่เหมาะสมต่อการนํามาใช้ประเมินแผนงานวิจัย การวัดผลสําเร็จ ของแผนงานxxxxวัดความสําเร็จที่ระดับผลผลิตภายใต้แผนงานโดยไม่มีตัวชี้วัดความสําเร็จของแผนงาน การมีแบบ ประเมินหลายชุดที่มีประเด็นคล้ายกันสร้างความยุ่งยากต่อการสรุปผลและอาจสร้างความสับสนให้แก่เจ้าหน้าที่และ ทําให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพน้อยกว่าที่ควร และการเปลี่ยนโครงการย่อยเป็นกิจกรรมทําให้การวิเคราะห์ความ เชื่อมโยงทําได้ง่ายกว่าการประเมินโครงการที่มีวัตถุประสงค์หลากหลาย และช่วยให้การประเมินโครงการมี ประสิทธิภาพxxxxxxxขึ้น
4.3 การประเมินความxxxxxxxxโครงการ มีประเด็นที่ควรเพิ่มเติมหรือปรับปรุงให้ชัดเจน ประกอบด้วย
(1) การประเมินวิเคราะห์ประสิทธิภาพการดําเนินโครงการได้แก่ ด้านกําลังคน ด้านงบประมาณและความพร้อมของ สถานที่วิจัย (2) การประเมินระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดว่าเป็นไปตามแผนหรือไม่ (3) การประเมินความถูกต้องตาม หลักวิชาการ ความชัดเจนและกระชับของกิจกรรม (เนื้อหาเดิม) และคุณภาพทางวิชาการของการนําเสนอรายงาน
(4) การประเมินกระบวนการxxxxxxงานระหว่างผู้รับทุนกับ สกว.ในระหว่างการดําเนินงาน (5) การประเมินการ ติดตามกํากับของผู้บริหารโครงการอย่างสม่ําเสมอ และ (6) การประเมินวิธีแก้ไขปัญหาxxxxxxxxxxผู้วิจัยดําเนินการ
4.4 การประเมินร่างรายงานฉบับxxxxxxx ประเด็นการประเมินที่ควรเพิ่มเติมหรือปรับปรุงให้ชัดเจน ประกอบด้วย (1) การประเมินเวลาที่ใช้ทําการวิจัยจริง (2) การประเมินงบประมาณที่ใช้จริง (3) การประเมินความ ครบถ้วนของผลผลิตและการวิเคราะห์ปริมาณงานที่ดําเนินการเสร็จสิ้น และ (4) การประเมินการค้นพบสิ่งใหม่ๆ ทางวิชาการหรือการxxxxxผลxxxxxxได้คาดxxxx
5. ระหว่างดําเนินโครงการ (ในช่วง 8 เดือน) มีโครงการเพียงร้อยละ 50 ที่xxxxxxดําเนินงานตรงตาม กําหนดระยะเวลาและดําเนินกิจกรรมได้ตามแผนที่กําหนดไว้ โดยส่วนใหญ่ดําเนินการxxxxxในช่วง 4 เดือนแรก เนื่องจาก อยู่ในขั้นตอนการทบทวนเอกสารรายงานที่เกี่ยวข้อง ถึงแม้มีปัญหาความxxxxxxxxxเกิดจากการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการวิจัย และการนัดหมายกับผู้ประกอบการเพื่อขอข้อมูล แต่ในช่วง 8 เดือนของระยะเวลาโครงการ ส่วนใหญ่ล่าช้ากว่าข้อเสนอโครงการเนื่องจาก การรวบรวมข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์แบบจําxxx ปัญหาการติดตั้ง เครื่องมือ การเก็บข้อมูลภาคสนาม และการสร้างอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบเพิ่มเติม ทั้งนี้ จากการประชุมเพื่อ ติดตามความxxxxxxxxการดําเนินโครงการในรอบ 4 เดือน และ 8 เดือน รวมทั้ง การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่าง นักวิจัย ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้บริหาร สกว. และผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรคxxxxxxส่งผลต่อความสําเร็จ หรือล้มเหลวของการดําเนินโครงการวิจัยและการนําไปใช้ประโยชน์ ประกอบด้วย
5.1 การดําเนินโครงการวิจัยขาดความเหมาะสมทางวิชาการ เนื่องจาก ความxxxxxxxxxxของ การศึกษาข้อมูลและทบทวนงานที่เกี่ยวข้อง การวางแผนและกําหนดกระบวนการศึกษาวิจัยไม่เหมาะสม ทั้งในส่วน ของการอ้างอิงข้อมูล การเลือกใช้วิธีการหรือเทคนิค รวมทั้งวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือxxxxxxเหมาะสม กระบวนการวิจัยมีขั้นตอนxxxxxxเหมาะสมและบางกรณีขาดความจําเป็น
5.2 ผลการศึกษายังไม่น่าเชื่อถือหรือยังไม่ชัดเจนเพียงพอ เนื่องจาก มีวิธีการนําเสนอไม่ชัดเจน โดยเฉพาะการอธิบายคํานิยาม ขาดความน่าเชื่อถือ ถูกต้อง และแม่นยํา ซึ่งมาจากจํานวนข้อมูลน้อยเกินกว่าที่จะ เป็นตัวแทน รวมxxxxxxxทันสมัย
5.3 ความล่าช้าในการติดต่อxxxxxxขอข้อมูลจากภาคเอกชน
5.4 บางโครงการไม่xxxxxxนําไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยแบบมุ่งเป้าได้ หรือ หากใช้ได้ต้องวิเคราะห์ข้อมูลเพิ่มเติม มีการหารือร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพิจารณาใช้ประโยชน์ ปรับ วัตถุประสงค์ของโครงการใหม่ และหากจะนําไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ได้ต้องมีผลการวิจัยในเรื่องของต้นทุน ด้วย
6. เมื่อสิ้นสุดโครงการ (จัดส่งร่างรายงานฉบับxxxxxxx) โครงการวิจัยส่วนใหญ่xxxxxxดําเนินการได้ ครบถ้วนทุกกิจกรรม และxxxxxวัตถุประสงค์ตามข้อเสนอโครงการxxxxxxรับอนุมัติจาก วช. และ สกว. แต่ส่วน ใหญ่ยังไม่xxxxxxดําเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อพิจารณาจากระยะเวลาของโครงการ โดยโครงการส่วน ใหญ่ใช้ระยะเวลาดําเนินโครงการเต็มตามที่กําหนดไว้ และได้รับอนุมัติให้ขยายเวลาจาก สกว. xxxxxขึ้นอีก 2-3 เดือน xxxxเดียวกับคุณภาพของร่างรายงานฉบับxxxxxxxxxxขาดความครบถ้วนxxxxxxxตามมาตรฐานการเขียน รายงานในประเด็นต่างๆ ได้แก่ วิธีนําเสนอยังไม่เป็นขั้นตอน การอธิบายเชื่อมโยงเหตุและผลยังไม่ต่อเนื่องxxxxxxxx กัน ข้อมูลและผลวิเคราะห์ยังไม่น่าเชื่อถือ และการใช้ถ้อยคําอธิบายเข้าใจยาก และที่สําคัญคือ โครงการส่วนใหญ่ (กว่าร้อยละ 80) เป็นงานวิจัยประยุกต์ที่นําไปใช้เป็นข้อมูลสําหรับเปรียบเทียบ ต้องนําไปพัฒนาxxxxxxจึงจะ xxxxxxนําไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ได้ มีโครงการเพียงเกือบร้อยละ 20 เท่านั้นที่xxxxxxนําไปใช้ประโยชน์ใน เชิงพาณิชย์และสังคมได้เลย xxxxเดียวกับความรู้ใหม่ๆ xxxxxxรับจากโครงการวิจัยด้านยางพาราปี 2555 มีเพียง 5 โครงการ
7. สรุปประเด็นปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อความสําเร็จในการสนับสนุนการวิจัยด้านยางพาราแบบมุ่งเป้า เกิดจากข้อจํากัดในทุกขั้นตอนของกระบวนการวิจัยได้แก่
7.1 ปัญหาคุณภาพของนักวิจัยที่เกิดจากกระบวนการวิจัยตั้งแต่การวางแผน การกําหนดเทคนิค และวิธีการดําเนินงาน และการรายงาน วิเคราะห์ได้จาก (1) การดําเนินโครงการวิจัยขาดความเหมาะสมทาง วิชาการอันเนื่องมาจากการศึกษาข้อมูลและทบทวนงานที่เกี่ยวข้องxxxxxxxxxx การวางแผนและกําหนดกระบวนการ ศึกษาวิจัยไม่เหมาะสมทั้งในรูปของการอ้างอิงข้อมูล การเลือกใช้วิธีการหรือเทคนิค รวมทั้งวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือxxx xxxเหมาะสม (2) ผลการศึกษายังไม่น่าเชื่อถือ หรือยังไม่ชัดเจนเพียงพอ (3) การเขียนรายงานขาดความครบถ้วน xxxxxxxตามหลักการเขียนรายงานxxxxxxมาตรฐาน ทั้งในรูปของการนําเสนอxxxxxxเป็นขั้นตอน การอธิบายเชื่อมโยงเหตุ และผลไม่ต่อเนื่องxxxxxxxxกัน และการใช้ถ้อยคําอธิบายเข้าใจยาก ไม่อ้างอิงxxxxxxxxx และ (4) ดําเนินโครงการxxxxxx xxxxxxxxxส่งรายงานได้ตามระยะเวลาที่กําหนด (รวมxxxxxxรับการอนุมัติให้ขยายระยะเวลาxxxxxขึ้น 2-3 เดือน) และไม่ xxxxxxดําเนินโครงการให้ได้xxxxxxxxxตอบxxxxวัตถุประสงค์ของการวิจัยได้ครบถ้วน
7.2 ขาดข้อมูลxxxxxxxxxx ถูกต้อง ซึ่งเกิดจากข้อจํากัดในการติดต่อxxxxxxงานกับหน่วยงานอื่นๆ โดย เฉพาะที่เกิดจากการติดต่อxxxxxxขอข้อมูลจากภาคเอกชน ทั้งในรูปของการติดต่อเพื่อสัมภาษณ์ และการเข้าเยี่ยม ชมโรงงาน
7.3 โครงการวิจัยส่วนใหญ่ยังไม่xxxxxxตอบโจทย์วิจัยแบบมุ่งเป้าได้ เมื่อพิจารณาจากผลงานวิจัย ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 81.8 ของโครงการทั้งหมด) เป็นงานวิจัยประยุกต์ที่จําเป็นต้องได้รับการพัฒนาxxxxxx ไม่xxxxxx นําไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ได้ทันที ต้องมีการนําไปทดลองหรือดําเนินกิจกรรมเพิ่มเติม xxxx การหารือร่วมกับผู้มี ส่วนได้เสียเพิ่มเติม การนําไปทดลองกับพื้นที่อื่น การคํานวณหาความคุ้มทุน (Cost-benefit Analysis) เป็นต้น
เนื่องจาก โครงการวิจัยส่วนใหญ่ริเริ่มจากความสนใจของนักวิจัยมากกว่าเป็นความต้องการของผู้ใช้ นักวิจัยแปลง กรอบการวิจัยประจําปีของ วช. และxxxxxxxxxxวิจัยยางพาราของ สกว. ไม่ตรงตามxxxxxรมย์ นอกจากนั้น จํานวน นักวิจัยรายใหม่ที่เป็นเป้าหมายอีกประการหนึ่งของการสนับสนุนงานวิจัยแบบมุ่งเป้าของ สกว. ในปี 2555 มีจํานวน ไม่ถึงร้อยละ 50 ของนักวิจัยทั้งหมด ส่วนใหญ่เป็นนักวิจัยรายxxxxxxxxxxได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สกว.ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (ทั้งนี้ ไม่รวมโครงการxxxxxxxxและขนาดเล็กซึ่งโครงการสังเคราะห์ฯ นี้ไม่ครอบคลุมถึง)
7.4 ปัญหาเชิงโครงสร้าง การสนับสนุนและดําเนินโครงการวิจัยยางพาราในปี 2555 นอกจากจะมี ปัญหาของกระบวนการทํางานแล้วยังมีปัญหาเชิงโครงสร้างอีกหลายประการที่เห็นควรปรับปรุงเพื่อให้การสนับสนุน การวิจัยเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมและมีประสิทธิภาพมากขึ้นประกอบด้วย 4 ส่วนคือ (1) โจทย์วิจัยไม่สอดคล้องกับ ความต้องการของผู้ใช้ โดยเฉพาะในเชิงพาณิชย์ อันเนื่องมาจาก ขาดระบบเชื่อมโยงความต้องการงานวิจัยของภาค ธุรกิจกับนักวิจัย การเสนอแนะทิศทางการวิจัยxxxxxxรับจากการติดตามและประเมินผลงานวิจัยไม่ทันกับการพิจารณา อนุมัติงบประมาณในปีถัดไป ขาดการศึกษาโจทย์วิจัยในแต่ละแนวทางการพัฒนาที่กําหนดไว้ในxxxxxxxxxxการวิจัย ยางพารา และประเด็นที่ให้ความสําคัญในแต่ละปีที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ (2) นักวิจัยสาขายางพารารายใหม่ที่ ขอรับทุนสนับสนุนการวิจัยในแต่ละปีมีจํานวนน้อย ทําให้มีข้อจํากัดของการได้รับมุมมองใหม่ๆ ด้านการวิจัย และ พัฒนายางพารา และนักวิจัยที่มีอยู่บางส่วนยังไม่มีคุณภาพเมื่อพิจารณาจากการพัฒนาโครงการวิจัยที่ยังขาด ประสิทธิภาพ xxxx ขาดกิจกรรมรองรับที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของแผนงานและโครงการย่อยไม่ xxxxxxxxกัน และบางแผนงานไม่ควรจะเป็นแผนงานเพราะโครงการย่อยมีลักษณะเป็นกิจกรรมมากกว่าที่จะเป็น โครงการ เป็นต้น (3) การบริหารจัดการที่ยังไม่เอื้อต่อการดําเนินงานวิจัยตั้งแต่การกําหนดกรอบการวิจัย การ พิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัย การทําสัญญา การเบิกจ่ายเงินแก่นักวิจัย จนถึงการติดตามความxxxxxxxxและ ประเมินผลการวิจัยเพื่อสนับสนุนการวิจัยแบบมุ่งเป้า และ (4) การบูรณาการการทํางานระหว่าง วช. และ สกว. และ หน่วยงานอื่นๆ ในรูปของเครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช. หรือ 6ส+1ว) ยังไม่ครอบคลุมตัวแทนจาก ภาครัฐกับภาคเอกชนที่มีส่วนได้เสียกับงานวิจัยอย่างครบถ้วน
ข้อเสนอแนะ
1. ให้ความสําคัญกับกระบวนการพัฒนาโจทย์วิจัยที่xxxxxผลการวิจัยแบบมุ่งเป้ามากขึ้น โดย
1.1 สนับสนุนภาคเอกชน และหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง xxxx กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวง พลังงาน และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น เข้าเป็นเครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) และปรับปรุงการxxxxxxงานและระบบการทํางานของหน่วยงานสนับสนุนการวิจัยเพื่อให้xxxxxxแสวงหา โจทย์วิจัยยางพาราแบบมุ่งเป้าในช่วงปี 2557-2559 ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของนักวิจัย ผู้ประกอบการแปรรูป ยาง ผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ยางและนักวิชาการตามกรอบของxxxxxxxxxxวิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 ได้อย่าง ครบถ้วนและมีการใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น โดยข้อมูลที่ใช้ประกอบการพิจารณาประกอบด้วย รายงานผลการ
ช
สังเคราะห์ช่องว่างการวิจัยที่ค้นพบจากการดําเนินโครงการสังเคราะห์ผลการวิจัยยางพาราในแต่ ละปี สถานการณ์ ด้านยางพาราที่เปลี่ยนแปลงไป และประเด็นที่รัฐบาลให้ความสําคัญในลําดับสูง ก่อนนํามาจัดทําเป็นกรอบการวิจัย ประจําปีประกาศต่อสาธารณะเพื่อให้นักวิจัยที่สนใจจัดทําข้อเสนอโครงการเสนอ สกว. พิจารณาต่อไป
1.2 ปรับกระบวนการพัฒนาโจทย์วิจัยแบบมุ่งเป้าเพื่อนําไปสู่การใช้ประโยชน์จากเดิมที่ส่วนใหญ่มาจาก ความต้องการของนักวิจัยและเผยแพร่ไปสู่การใช้ประโยชน์ (Supply Led) มาเป็นการนําความต้องการในการใช้ ประโยชน์มาเป็นโจทย์เพื่อหานักวิจัยที่สนใจมาร่วมดําเนินโครงการ (Partnership-demand Driven) แยกกลุ่มตาม การใช้ประโยชน์ใน 2 ลักษณะคือ (1) ประเภทที่ต้องการการต่อยอดจากองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน ไปสู่เชิงพาณิชย์ และ (2) การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ได้ทันที โดย
1.2.1 สนับสนุนการศึกษาเพื่อพัฒนาโจทย์วิจัยจากแนวทางการพัฒนาที่กําหนดไว้ใน แต่ละกลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 ที่มีกระบวนการรวบรวม และวิเคราะห์ ความต้องการของการใช้ประโยชน์ สําหรับใช้เป็นแนวทางการกําหนดกรอบการพัฒนาโจทย์วิจัยสําหรับนักวิจัยในแต่ ละปี
1.2.2 ปรับแนวทางการพัฒนาโจทย์วิจัยในระดับการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ในลักษณะของการมี ผลผลิต (Output) ที่อยู่ในรูปของผลิตภัณฑ์ (Products) มากกว่าอยู่ในรูปของวิธีการ
1.2.3 จัดให้มีระบบหรือกลไกสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือในการดําเนินโครงการวิจัยระหว่าง นักวิจัยและนักอุตสาหกรรมที่เหมาะสมและปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม
2. พัฒนาศักยภาพนักวิจัย (รุ่นเก่าและรุ่นใหม่) ในกระบวนการทําวิจัยอย่างต่อเนื่อง ครอบคลุมตั้งแต่ การพัฒนาหัวข้อวิจัยให้ตอบโจทย์วิจัยตามที่ วช. และ สกว. กําหนด ทักษะในการเขียนข้อเสนอโครงการและการ จัดทํารายงาน ความรู้ ความเข้าใจทางด้านเทคโนโลยีการยางในประเด็นโจทย์วิจัยภายใต้ยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราฯ รวมทั้งความรู้ทางด้านการวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ วิธีการบริหารจัดการโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ โดย จัดให้มีหลักสูตรและกิจกรรมการฝึกอบรมนักวิจัยยางพาราแบบมุ่งเป้าทั้งนักวิจัยเดิมที่เคยได้รับทุนวิจัยจาก สกว. และนักวิจัยใหม่ที่ยังไม่เคยได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจาก สกว.
3. เพิ่มจํานวนนักวิจัยยางพารารุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ โดย
3.1 กําหนดเป้าหมายการผลิตนักวิจัยยางพารารุ่นใหม่ให้ชัดเจนในแต่ละปี เพื่อสามารถกําหนดแนวทาง ในการดําเนินงานให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างมีทิศทางที่เหมาะสม
3.2 สร้างเครือข่ายการพัฒนาและผลิตนักวิจัยยางพารารุ่นใหม่ที่มีคุณภาพกับสถาบันการศึกษา ใน ลักษณะของการสนับสนุนทุนวิจัยให้กับนักศึกษาทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ที่ผ่านการ
ซ
ฝึกอบรมตามหลักสูตรที่กําหนดร่วมกันระหว่าง สกว. และสถาบันการศึกษา และได้รับการคัดเลือกเพื่อให้ได้ นักศึกษาที่มีคุณภาพเพียงพอ
4. พัฒนาระบบการเผยแพร่ผลงานวิจัยไปสู่การใช้ประโยชน์
4.1 จัดกลุ่มงานวิจัยออกตามการใช้ประโยชน์เพื่อกําหนดระดับและแนวทางการต่อยอด รวมทั้งระบุ กลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้ใช้
4.2 จัดกิจกรรมเผยแพร่ผลงานให้เข้าถึงผู้สนใจและผู้ใช้ทั้งในวงกว้างและกลุ่มเฉพาะ เจาะจงในรูปแบบ การจัดประชุม การจัดทําเอกสารเผยแพร่ การเผยแพร่ผลงานทางเว็บไซด์ของ วช. และ สกว.
4.3 ออกระเบียบ หรือข้อกําหนดให้นักวิจัยต้องขออนุญาต สกว. ในการนํางานวิจัยไปเผยแพร่สู่ สาธารณะในรูปแบบต่างๆ อย่างเคร่งครัด ทั้งกรณีงานวิจัยยังไม่สิ้นสุด และกรณีงานวิจัยที่สิ้นสุดแล้วโดยสมบูรณ์
4.4 จัดกิจกรรมสนับสนุนการนําไปใช้ประโยชน์ให้กับกลุ่มเป้าหมายที่เน้นธุรกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม (SMEs) เช่น จัดให้มีคลีนิกสําหรับให้คําปรึกษาแนะนําการนําผลวิจัยไปใช้ประโยชน์ พัฒนาระบบพี่เลี้ยงเพื่อเข้า ไปช่วยเหลือในการนําผลงานวิจัยไปปรับใช้กับธุรกิจ สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานสนับสนุนปัจจัยเอื้อต่างๆ อาทิ การ จดทรัพย์สินทางปัญญา แหล่งเงินทุน และการเพิ่มทักษะบุคลากรและความสามารถของผู้ประกอบการ เป็นต้น
4.5 สนับสนุนการขยายผลงานวิจัยในแนวนอน เพื่อขยายผลการนําไปใช้ประโยชน์ให้กว้างขวางมากขึ้น เช่น การเปลี่ยนพื้นที่เป้าหมาย และการพัฒนากับผลิตภัณฑ์ใหม่ เป็นต้น
5. ปรับปรุงการบริหารจัดการงานสนับสนุนและกํากับการวิจัย โดย
5.1 กําหนดให้ สกว. เป็นผู้รับผิดชอบในการสนับสนุนนักวิจัยแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ตั้งแต่การเปิดรับข้อเสนอโครงการ พิจารณาสนับสนุนโครงการ การเบิกจ่ายเงินทุนแก่นักวิจัย และการติดตาม ประเมินผลการสนับสนุนทุนวิจัยในแต่ละปี
5.2 ปรับปรุงประสิทธิภาพการพิจารณาอนุมัติโครงการวิจัย โดย
5.2.1 พัฒนาระบบการอนุมัติแผนงาน/โครงการให้เป็น Package ที่มีระยะเวลาต่อเนื่องจนได้ผล การศึกษาสําหรับนําไปใช้ประโยชน์ได้จริง เพื่อให้เห็นภาพความเชื่อมโยงการทํางานโดยรวมในแต่ละปี และสามารถ ติดตามประเมินผลการดําเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
5.2.2 ให้ความสําคัญกับการพิจารณาคุณลักษณะของ “แผนงาน” และ “โครงการภายใต้แผนงาน” ให้เป็นมาตรฐานมากขึ้น เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงของวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการดําเนินงานที่สามารถ ตอบสนองได้ทั้งในระดับรายโครงการและระดับรวมของแผนงาน
ฌ
5.2.3 โครงการที่ต่อเนื่องควรประเมินผลของการทํางานปีที่ผ่านมาให้แล้วเสร็จตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายก่อนการอนุมัติ และให้ระบุผลที่ได้รับในปีที่ผ่านมาไว้อย่างชัดเจนในข้อเสนอโครงการ
5.2.4 ข้อเสนอโครงการควรมีการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ และระบุผู้ใช้ประโยชน์ให้ ชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการนําไปต่อยอดตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยแบบมุ่งเป้า
5.3 พัฒนาระบบการติดตามประเมินผลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดย
5.3.1 วช. และ สกว. พิจารณานําผลการปรับปรุงแบบประเมินที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ไปปรับใช้ใน โครงการวิจัยปี 2556
5.3.2 เร่งรัดการปฎิบัติงานของนักวิจัย และการให้ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิให้เป็นไปตามแผนที่
กําหนด
5.3.3 ศึกษารูปแบบการจัดชั้นคุณภาพ (Rating) นักวิจัยเดิมที่ได้รับทุนสนับสนุนจาก สกว. โดยใช
เกณฑ์การจัดส่งรายงานตามระยะเวลาที่กําหนด ความครบถ้วนของการดําเนินกิจกรรม การบรรลุเป้าหมายและ วัตถุประสงค์ และคุณภาพของการนําเสนอผลงานและการเขียนรายงาน
5.4 ปรับปรุงระเบียบการทําสัญญาและการเบิกจ่ายเงินโดย
5.4.1 ทบทวนปรับลดระยะเวลาการจัดส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ที่กําหนดไว้ในสัญญาจากเดิมที่ให้ สามารถส่งร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ได้ภายใน 90 วันนับจากวันสิ้นสุดสัญญา และอีก 90 วันในการปรับปรุงรายงาน หลังจากได้รับความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิก่อนที่จะมีการปรับในกรณีเกิน 180 วัน ซึ่งทําให้การทํางานของนักวิจัยมี ความล่าช้า ไม่สามารถนําผลที่ได้มาสนับสนุนการบริหารจัดการของ วช. และ สกว. ในปีถัดไปได้
6. ทิศทางงานวิจัยในปี 2556-2559
6.1 ควรให้ความสําคัญกับแนวทางการวิจัยที่กําหนดไว้ในยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราที่ยังไม่ได้ดําเนินการ ในปี 2555 ได้แก่ การศึกษากฎ ระเบียบที่จะสนับสนุนการผลิตและการประกอบการทั้งในภาพรวม รายสาขา และ รายประเด็นที่สําคัญ การพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิมที่เป็นเป้าหมายนอกเหนือจากถุงมือยางและยางล้อ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ เส้นด้ายยางยืด ถุงยางอนามัยการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรมยางล้อการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ใหม่ในส่วนของการสร้างบุคลากรวิจัยด้านน้ํายางเข้าสู่อุตสาหกรรมน้ํายางข้น และการเผยแพร่ผลงานวิจัย และแลกเปลี่ยนความรู้ด้านน้ํายาง รวมถึงการพัฒนาการผลิต และการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากไม้ยางพาราให้มีคุณภาพ ประเด็นสนับสนุนการส่งออก ได้แก่ การพัฒนาระบบพลังงานในอุตสาหกรรมยางที่มีประสิทธิภาพ การเผยแพร่ ความรู้ในการออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ยาง เทคโนโลยีสะอาด การพัฒนาด้านโลจิสติกส์ในรูปแบบของการปรับปรุง
กระบวนการเพื่อลดต้นทุนโลจิสติกส์ตลอดห่วงโซ่อุปทาน การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ได้แก่ การ พัฒนาพันธุ์ยางให้เหมาะสมกับพื้นที่และความต้องการของอุตสาหกรรม การมีเครื่องมือกรีดยางที่มีประสิทธิภาพ มี การถ่ายทอดแนวปฏิบัติการดูแลบํารุงรักษาสวนยางพร้อมทั้งเพิ่มทักษะบุคลากรกรีดยาง การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ ยางก้อนถ้วยและเศษยาง วิธีการทดสอบหาสิ่งปนเปื้อนในน้ํายาง การถ่ายทอดเทคโนโลยีใหม่และภูมิปัญญาชาวบ้าน การมีเทคนิคการผลิตและวิธีการควบคุมคุณภาพน้ํายางและการขึ้นรูปให้ตรงตามความต้องการของอุตสาหกรรม เทคนิคการผลิต และวิธีการควบคุมคุณภาพยางแห้งและการผลิตยางหนืดเหมาะสมเพื่อลดต้นทุนการผลิต
6.2 การพัฒนานักวิจัยยางพารารุ่นใหม่ และเพิ่มศักยภาพนักวิจัยเดิมโดยมีขอบเขตการดําเนินงาน ประกอบด้วย การสํารวจประเด็นความต้องการอบรมเพื่อเพิ่มทักษะการวิจัยของนักวิจัยสําหรับนํามาจัดหลักสูตรให้ ตรงกับความต้องการของนักวิจัย อบรมเทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการและการเขียนรายงานที่ถูกต้อง
6.3 การสังเคราะห์ผลการวิจัยยางพาราปี 2556 เพื่อติดตามผลลัพธ์ของโครงการวิจัยยางพาราปี 2555 ทั้งกลุ่มที่เป็นข้อมูลขั้นพื้นฐานหรือการนําไปประยุกต์ใช้สําหรับการผลักดันนโยบายที่สําคัญและการนําผลการวิจัยไป ใช้ในเชิงพาณิชย์และสังคม ตลอดจนสังเคราะห์ผลการดําเนินโครงการวิจัยปี 2556 ตามกรอบการวิจัยโครงการ สังเคราะห์ผลการวิจัยยางพาราปี 2555
บทคัดย่อ
การสังเคราะห์ผลการวิจัยยางพาราปี 2555 จากข้อมูลรายละเอียดแผนงาน/โครงการ และที่ปรากฎใน รายงานผลการดําเนินงานรอบ 6 เดือน และ (ร่าง) รายงานฉบับสมบูรณ์ของแผนงาน/โครงการวิจัยยางพาราปี 2555 ซึ่งมีอยู่ทั้งสิ้น 44 โครงการ ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ และจากการประชุมติดตามความก้าวหน้าแผนงาน/โครงการ ตลอดจนการเดินทางไปติดตามความก้าวหน้าในพื้นที่สําหรับโครงการที่คัดเลือก รวมทั้ง การศึกษาทิศทางการวิจัย ยางพาราจากการวิเคราะห์จุดต่าง (Gap Analysis) ใน 2 ระดับคือ ระหว่างยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 กับยุทธศาสตร์การพัฒนายางพารา พ.ศ. 2552-2556 และระหว่างแผนงาน/โครงการวิจัยด้านยางพารา
ปี 2555 กับแนวทางการพัฒนางานวิจัยที่กําหนดไว้ในยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 และการ ปรับปรุงแบบประเมินแผนงาน/โครงการของผู้ทรงคุณวุฒิโดยใช้แนวทางการพิจารณาข้อเสนอโครงการควบคู่กับแนว ทางการติดตามประเมินผลผลการวิเคราะห์พบว่า (1) แผนงาน/โครงการส่วนใหญ่อยู่ในกลยุทธ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์ เดิมและผลิตภัณฑ์ใหม่ แต่งบประมาณส่วนใหญ่ถูกจัดสรรให้แผนงาน/โครงการในกลยุทธ์การผลักดันนโยบายด้าน ยางพาราและการวิจัยที่สนับสนุนกลยุทธ์ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้มีประสิทธิภาพและสนับสนุนการ ส่งออกยังมีอยู่จํากัด (2) ยุทธศาสตร์การพัฒนายางพารา พ.ศ. 2552-2556 มีวัตถุประสงค์ กลยุทธ์ และแนวทางทั้งที่ เหมือนและแตกต่างกับยุทธศาสตร์วิจัยยางพารา พ.ศ. 2555-2559 (3) เป้าหมายของแผนงาน/โครงการวิจัยปี 2555 ไม่สะท้อนเป้าหมายในระดับยุทธศาสตร์ของยุทธศาสตร์วิจัยยางพารา (4) แบบประเมินของ วช.และ สกว. มีประเด็น ที่ควรปรับปรุงและเพิ่มความครบถ้วนตามหลักวิชาการทั้งแบบประเมินข้อเสนอโครงการแบบประเมินแผนงานวิจัย แบบประเมินความก้าวหน้าโครงการ และแบบประเมินร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ (5) โครงการวิจัยส่วนใหญ่สามารถ ดําเนินการได้ครบถ้วนทุกกิจกรรม และบรรลุวัตถุประสงค์ตามข้อเสนอโครงการที่ได้รับอนุมัติจาก วช. และ สกว. แต่ ยังไม่สามารถดําเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อพิจารณาจากระยะเวลาของโครงการรวมทั้งยังขาดคุณภาพตาม หลักวิชาการ และความสามารถในการนําไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ เนื่องจาก ปัญหาคุณภาพของนักวิจัยที่เกิด จากกระบวนการวิจัยตั้งแต่การวางแผน การกําหนดเทคนิคและวิธีการดําเนินงาน และการรายงานขาดข้อมูลที่ เพียงพอ ถูกต้อง และตรงตามกําหนดเวลาผลงานวิจัยส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยพื้นฐานที่จําเป็นต้องได้รับการพัฒนาต่อ ยอด ไม่สามารถนําไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ได้ทันที ต้องมีการนําไปทดลองหรือดําเนินกิจกรรมเพิ่มเติม เช่น การ หารือร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียเพิ่มเติม การนําไปทดลองกับพื้นที่อื่น รวมทั้งการทดลองในระดับโรงงานเพิ่มเติมจากการ ทดลองในระดับห้องปฏิบัติการ การคํานวณหาความคุ้มทุน (Cost-benefit Analysis) เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมี ปัญหาเชิงโครงสร้างที่สําคัญคือ ขาดระบบเชื่อมโยงความต้องการงานวิจัยของภาคธุรกิจกับนักวิจัย ทําให้โจทย์วิจัยไม่ สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ นักวิจัยรุ่นใหม่ในแต่ละปีมีจํานวนน้อยทําให้มีข้อจํากัดของการได้รับมุมมองใหม่ๆ ด้านการวิจัย การบริหารจัดการที่สนับสนุนงานวิจัยยังขาดประสิทธิภาพตั้งแต่การกําหนดกรอบการวิจัย การ พิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัย การทําสัญญา การเบิกจ่ายเงินแก่นักวิจัย จนถึงการติดตามความก้าวหน้าและ
ประเมินผลการวิจัย และตัวแทนจากภาครัฐกับภาคเอกชนที่มีส่วนได้เสียกับงานวิจัยยังไม่ได้เข้ามามีส่วนร่วมใน กระบวนการบูรณาการงานวิจัยในรูปของเครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช. หรือ 6ส+1ว) (6) ผลจาก การสังเคราะห์ทั้งหมดนํามาประมวลออกมาเป็นข้อเสนอแนะในประเด็นหลักทั้งในเรื่องของการพัฒนากระบวนการ พัฒนาโจทย์วิจัยแบบมุ่งเป้า การเพิ่มจํานวนนักวิจัยรุ่นใหม่พร้อมทั้งพัฒนาศักยภาพนักวิจัยทั้งเดิมและใหม่ การ พัฒนาระบบการเผยแพร่ผลงานวิจัยไปสู่การใช้ประโยชน์ และมีการปรับปรุงการบริหารจัดการงานสนับสนุนและ กํากับการวิจัยทั้งในเรื่องของการกําหนดขอบเขตความรับผิดชอบของ สกว. ในลักษณะของ “One Stop Service” การปรับปรุงประสิทธิภาพการพิจารณาอนุมัติโครงการวิจัย การพัฒนาระบบการติดตามประเมินผลให้มีประสิทธิภาพ มากขึ้น การปรับปรุงระเบียบการทําสัญญาและการเบิกจ่ายเงินทั้งในเรื่องของการทบทวนระยะเวลาผ่อนผันและการ จัดส่งรายงาน (7) ทิศทางงานวิจัยที่เสนอคือ การให้ความสําคัญกับแนวทางการวิจัยที่กําหนดไว้ในยุทธศาสตร์วิจัย ยางพาราแห่งชาติที่ยังไม่ได้ดําเนินการในปี 2555 การพัฒนาศักยภาพของนักวิจัยรุ่นใหม่และนักวิจัยเดิม รวมทั้งการ สังเคราะห์ผลการวิจัยยางพาราอย่างต่อเนื่องโดยให้ความสําคัญกับการเพิ่มกระบวนการในการต่อยอดการใช้ ประโยชน์ผลงานวิจัยในปีที่ผ่านมา
Abstract
The synthesis of rubber research results of 2012 was mainly initiated from many sources of data such as details on 44 projects supported by the National Research Council of Thailand (NRCT) and the Thailand Research Fund (TRF), 6 month progressreports and draft final reports, evaluation of specialist, project monitoring meetings, and site visits on selected projects. In addition, gap analysiswas conducted at 2 levels. One is the comparison between the National Rubber Research Strategies during 2012-2016 and the Rubber Development Strategies during 2009-2013 and another one is the comparison between rubber research projects in 2012 and the National Rubber Research Strategies during 2012-2016. Moreover, the project evaluation forms were also adjusted to be more appropriate and more complete. The following results were founded as (1) Most of the projects are under the strategy of developing new and old products but budget was mainly allocated to the strategy of rubber policy enhancement while researches supporting the strategy of developing production technology efficiency and the strategy of export supporting are limited, (2) The Rubber Development Strategies during 2009-2013 and the National Rubber Research Strategies during 2012-2016 are both similar and different objectives, strategies, and guidelines, (3) The targets of supported projects do not totally reflect the targets ofthe National Rubber Research Strategies, (4) The project evaluation forms of NRCT and TRF have some issues needed to be adjusting and increasing the completion following the academic concept for such forms as proposal evaluation form, research plan evaluation form, project progressive evaluation form, and draft final report evaluation form, (5) Most supported research projects can fulfill all the activities and meet the objectives accomplishment as shown in project proposals, however, they can’t efficiently implement according to timing. Moreover, many of them are under academic qualification and can’t be instantly commercialized since the under qualified of researchers, inadequate, inaccuracy, and unpunctuality of data, mostly the basic researches which needed to be further developed for commercialization such as conducting forums among stakeholders, testing on others sites, and conducting cost-benefit analysis, etc. Additionally, there are some structural problems such as lacking of connection systembetween business research needs and researchers which resulting in the non-related between research topics and users’ needs, less new researches every year to receive more research aspects, insufficiency and inefficiency of enabling factors to support researches in terms of research topic initiatives, proposal evaluation, contracting and cash disbursement to researchers, monitoring and evaluation, and less involvement of related private sector and some other public sector concerned in the National Research Management Organization Network. (6) All synthesis results from (1) to (5) led to the main recommendations as development of targeting research topic
system, increasing of new researches together with enhancing the potential of both new and old researchers, development of research utilization system, improving supporting management and monitoring system in terms of new role and responsibility of TRF as “one stop service”, improving the efficiency of project proposal approval, enhancing of monitoring and evaluation system, adjusting contracting statements and cash disbursement system by reviewing reports submitting flexibility. (7) The proposed research directions are emphasizing on the guidelines under the National Rubber Research Strategies which no projects approved in 2012, the potential development of researchers both new and old ones, and continuously on rubber project result synthesis by increasing process of research utilization on the precedingprojects.
สารบัญ
สรุปรายงานสําหรับผู้บริหาร (Executive Summary) บทคัดย่อ
Abstract
หน้า
บทที่ 1 บทนํา 1
1. ความเป็นมาของโครงการ 1
2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1
3. กิจกรรมการดําเนินงาน 2
4. ระยะเวลาดําเนินโครงการ 3
5. แผนการดําเนินงานโครงการ 4
6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ 4
บทที่ 2 หลักการและทฤษฎีที่ใช้ในการสังเคราะห์ 5
1. การวิเคราะห์จุดต่าง (Gap Analysis) 5
2. กรอบแนวคิดในการวิเคราะห์ เพื่อปรับปรุงแบบประเมินโครงการ และแผนงานวิจัย 11
บทที่ 3 การสังเคราะห์ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์และการประเมินแบบประเมินโครงการ 14
1. การจัดกลุ่มแผนงาน/โครงการวิจัยด้านยางพาราปีงบประมาณ 2555 15
2. การวิเคราะห์หาจุดต่าง (Gap Analysis) 16
3. การทบทวนแบบฟอร์มประเมินโครงการ 19
บทที่ 4 การติดตามความก้าวหน้า และการสังเคราะห์ผลการดําเนินงานของโครงการวิจัยด้านยางพารา ปีงบประมาณ 2555 27
1. การติดตามความก้าวหน้าผลการดําเนินงานโครงการวิจัยด้านยางพารา 27
2. การสังเคราะห์ผลการประเมินงานวิจัยของผู้ทรงคุณวุฒิในเชิงเนื้อหา ความก้าวหน้า และร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ของแผนงาน/โครงการ 35
3. ปัญหาการสนับสนุนและดําเนินโครงการวิจัยเชิงโครงสร้าง 38
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ 42
1. สรุปผลการศึกษา 42
2. ข้อเสนอแนะ 46
เอกสารอ้างอิง 50
ภาคผนวก
ภาคผนวก 1 สรุปสาระสําคัญโครงการวิจัยยางพาราที่ วช. และ สกว. สนับสนุนปีงบประมาณ 2555 ภาคผนวก 2 (ร่าง) แบบประเมิน 1 การประเมินข้อเสนอโครงการวิจัยที่ขอสนับสนุนทุนจาก วช.
และ สกว.
วช. และ สกว.
(ร่าง) แบบประเมิน 2 การประเมินความก้าวหน้าโครงการวิจัยที่ขอสนับสนุนทุนจาก
(ร่าง) แบบประเมิน 1 การประเมินร่างรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัยที่ขอ สนับสนุนทุนจาก วช. และ สกว.
ภาคผนวก 3 ผลการสังเคราะห์รายงานฉบับสมบูรณ์แผนงานและโครงการวิจัยยางพาราปี 2555
จําแนกตามยุทธศาสตร์ของยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559
ภาคผนวก 4 กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการนําผลจากโครงการไปใช้ประโยชน์
บทที่ 2
หลักการ และทฤษฎีที่ใช้ในการสังเคราะห์
1. การวิเคราะห์จุดต่าง (Gap Analysis)
1.1 จาก iStockphoto/alexsl การวิเคราะห์จุดต่าง (Gap Analysis) คือ เครื่องมือที่ช่วยให้หา ส่วนต่างระหว่างสถานการณ์ปัจจุบันกับสิ่งที่คาดหวังไว้ในอนาคต รวมถึงงานที่จะต้องทําเพื่อเติมเต็มจุดต่าง หรือช่องว่างดังกล่าว การวิเคราะห์จุดต่างสามารถดําเนินการได้ในทุกขั้นตอนของโครงการ เพื่อวิเคราะห์ ความก้าวหน้า แต่จะมีประโยชน์สูงสุดในขั้นตอนของการเริ่มต้นโครงการ และจะมีประโยชน์ต่อเมื่อได้มีการ แจกแจงกิจกรรมที่ต้องทําเพื่อทําให้โครงการสมบูรณ์ก่อนส่งมอบ
การใช้ Gap Analysis สําหรับพัฒนากระบวนการทํางานให้ดีขึ้นสามารถทําได้ภายใต้ กระบวนการตามขั้นตอนดังนี้
1.1.1 ระบุผลลัพธ์ที่ต้องการ (Identify Your Future State) เมื่อเสร็จสิ้นโครงการ
1.1.2 วิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน (Analyze Current Situation)
1.1.3 ระบุแนวทางที่จะเติมเต็มจุดต่าง (Identify How to Bridge the Gap) ตัวอย่างเช่น
ผลลัพธ์ที่ต้องการ | สถานการณ์ปัจจุบัน | แนวทางที่จะเติมเต็มจุดต่าง |
สามารถตอบโทรศัพท์ได้ ร้อยละ90 ภายใน 2 วินาที | ประมาณร้อยละ 50 ที่สามารถ ตอบโทรศัพท์ได้ภายใน 2 วินาที | 1. พัฒนาระบบการรายงานปริมาณ โทรเข้า และระบบการจัดคิว เพื่อให้ มั่นใจว่ามีจํานวนพนักงานให้บริการ เพียงพอในช่วงเวลาที่มีผู้ใช้บริการ มาก 2. รับคนเพิ่มตามความจําเป็น 3. พัฒนาระบบที่ให้ผู้โทรฯ สามารถ จองคิวโทรกลับได้ในช่วงเวลาที่มี ผู้ใช้บริการมาก |
ในประเทศไทย มีการนําวิธีการวิเคราะห์จุดต่างนี้มาใช้ในวงการธุรกิจและภาครัฐ เช่น สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ใช้ในการวิเคราะห์ทิศทาง นโยบาย และกําหนดประเด็น ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้องกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนบริหารราชการ
ของส่วนราชการและจังหวัด1 โดยใช้เป็นเครื่องมือในการหาจุดต่างระหว่างระดับความสําคัญของประเด็น ยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่คาดหวังให้เกิดขึ้นกับสถานภาพปัจจุบันของการบริหารทรัพยากร บุคคลว่ามีความแตกต่างกันเพียงไร แล้วหาค่าเฉลี่ยของคะแนนความแตกต่างในแต่ละประเด็นที่เรียกว่า “จุดต่าง”
ทั้งนี้ ในการศึกษาภายใต้โครงการสังเคราะห์ผลการวิจัยยางพาราปี 2555 การวิเคราะห์จุดต่าง (Gap Analysis) จะดําเนินการเปรียบเทียบในเชิงพรรณนา (Descriptive) ในระดับยุทธศาสตร์และระดับ โครงการคือ ระหว่างยุทธศาสตร์การพัฒนายางพารา พ.ศ. 2552-2556 และยุทธศาสตร์วิจัยยางพารา แห่งชาติ พ.ศ. 2555–2559 ว่า มีความสอดคล้องกันในแนวทางและมาตรการที่กําหนดไว้มากน้อยเพียงใด และวิเคราะห์ช่องว่างของโครงการวิจัยยางพาราในปี พ.ศ. 2555 กับวัตถุประสงค์เป้าหมายของยุทธศาสตร์ วิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555–2559 ว่า สามารถตอบสนองต่อวัตถุประสงค์และเป้าหมายดังกล่าวได้ มากน้อยเพียงใด เพื่อนําไปสู่การกําหนดทิศทางการวิจัยในอนาคต
1.2 ยุทธศาสตร์การพัฒนายางพารา พ.ศ. 2552-2556
คณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติได้จัดทํายุทธศาสตร์การพัฒนายางพารา พ.ศ. 2552-
2556 ต่อเนื่องเป็นฉบับที่ 3 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา สนับสนุนการ ผลิตวัตถุดิบที่มีคุณภาพ และพัฒนาระบบตลาด สร้างความเข้มแข็งและเพิ่มความสามารถในการแข่งขันให้ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยาง สนับสนุนให้ผลิตภัณฑ์ยางไทยมีคุณภาพ และพัฒนาให้ไทยเป็นศูนย์กลาง อุตสาหกรรมยางของภูมิภาค สนับสนุนการเพิ่มมูลค่ายางธรรมชาติโดยการแปรรูปและนํายางธรรมชาติมา ผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ยางเพิ่มขึ้น รวมทั้ง เพิ่มการใช้ผลิตภัณฑ์ยาง และเพิ่มการส่งออก เกษตรกรชาวสวนยาง สามารถพึ่งตนเองได้ มีสวัสดิการสังคม และมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ในขณะที่ ผู้ประกอบการสามารถ พัฒนาตนเองและแข่งขันกับผู้ผลิตต่างประเทศได้ เกษตรกรมีรายได้เพิ่มจากการขายคาร์บอนเครดิตภายใต้ กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism : CDM) หรือภายใต้การตลาดแบบสมัคร ใจ (Voluntary Market) โดยมีเป้าหมายประกอบด้วย
1.2.1 เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตยางพาราต่อหน่วยไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 คือ จาก 278 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปีในปี พ.ศ. 2551 เป็น 306 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปีในปี พ.ศ. 2556 หรือทําให้ผลผลิตโดยรวม ของประเทศเพิ่มจาก 3.09 ล้านตันในปี พ.ศ. 2551 เป็น 3.4 ล้านตันในปี พ.ศ. 2556
1.2.2 เพิ่มปริมาณการใช้ยางธรรมชาติในประเทศขึ้นอีกร้อยละ 46 คือ จาก 397,495 ตันในปี พ.ศ. 2551 เป็น 580,000 ตัน คิดเป็นเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 12.87 เป็นร้อยละ 17.0 ของผลผลิตในปีเดียวกัน
1.2.3 ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยางของไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันกับต่างชาติมาก ขึ้น สามารถเพิ่มมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ยางและไม้ยางจาก 178,935 ล้านบาทในปี พ.ศ. 2551 เป็น 230,000 ล้านบาทในปี พ.ศ. 2556
1.2.4 เกษตรกรมีรายได้จากการทําสวนยางไม่น้อยกว่าปีละ 15,000 บาทต่อไร่ และเกษตรกร ที่ปลูกใหม่มีรายได้จากการขายคาร์บอนเครดิต
1 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) “ คู่มือการจัดทําแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลตามแนวทาง HR Scorecard” 2549
1.2.5 เกษตรกรชาวสวนยางหรือคนกรีดยางมีสวัสดิการสังคม
กลยุทธ์การพัฒนาภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนายางพารา พ.ศ. 2552-2556 ประกอบด้วย 8 กลยุทธ์หลัก คือ
กลยุทธ์ที่ 1 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพยางที่เป็นวัตถุดิบ โดยการพัฒนาการ ผลิตยางของเกษตรกรโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทั้งในเรื่องของมาตรฐานวัสดุปลูกและความหลากหลาย ของพันธุ์ยางที่เหมาะสมกับแต่ละพื้นที่ การกรีดยางตามขนาดที่เหมาะสม การใช้สัดส่วนของปุ๋ยเคมีและปุ๋ย อินทรีย์ที่เหมาะสม การปลูกพืชตระกูลถั่วปกคลุมดิน รวมถึงการส่งเสริมให้ความรู้ในการเก็บผลผลิตน้ํายาง อย่างถูกต้อง การสนับสนุนเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรให้แปรรูปผลผลิตเบื้องต้นด้วยวิธีการที่ถูกต้อง และเหมาะสม ตลอดจนการพัฒนาระบบและกระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยีผ่านศูนย์เรียนรู้ยางพารา
กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนาระบบตลาดยางในประเทศและต่างประเทศ โดยการพัฒนาระบบ ข้อมูลข่าวสารทางการตลาดให้มีเอกภาพ ถูกต้อง และแม่นยํา ทันต่อเหตุการณ์ สามารถเข้าสู่กลุ่มเป้าหมาย ได้อย่างกว้างขวาง สนับสนุนส่งเสริมสถาบันเกษตรกรให้เป็นแหล่งรวบรวมยางและซื้อขายยาง พัฒนาระบบ ตลาดยางในประเทศผ่านทางการสนับสนุนการซื้อขายในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า สนับสนุนการตลาด ต่างประเทศและขยายตลาดส่งออกยางและผลิตภัณฑ์ยาง โดยส่งเสริมเรื่องมาตรฐานยางพาราและสร้าง เอกลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ยางพาราของไทย รักษาเสถียรภาพราคายางผ่านทางการกําหนดแผนรองรับความ ผันผวนของราคายางจากการบริหารจัดการสต็อกในประเทศ การบริหารจัดการเงินสงเคราะห์การปลูก ทดแทน ประกันรายได้เกษตรกรใช้กลไกเงิน Cess และสนับสนุนการใช้ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า (AFET) ในการบริหารความเสี่ยงจากความผันผวนของราคา
กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาด้านอุตสาหกรรมแปรรูปยาง ผลิตภัณฑ์ยางและไม้ยางพารา โดย การขยายผลการวิจัยไปสู่การปฏิบัติ กําหนดมาตรการให้หน่วยงานภาครัฐใช้ผลิตภัณฑ์ยางที่ผลิตในประเทศ ส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางพาราขนาดกลางและขนาดย่อม ใช้ มาตรการทางภาษีเพื่อจูงใจให้มีการผลิตและการส่งออกผลิตภัณฑ์ยางมากขึ้น ผลักดันการลงทุนเพื่อใช้ยาง ดิบสร้างมูลค่าเพิ่มและเร่งอัตราการใช้ยางในประเทศ ผ่านทางการกําหนดเขตเศรษฐกิจพิเศษเพื่อส่งเสริม การลงทุนควบคู่กับการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายโลจิสติกส์ และสร้างเครือข่ายเกษตรกรสนับสนุนปัจจัยการ ผลิตให้กับเขตเศรษฐกิจพิเศษ ทบทวนและกําหนดนโยบายส่งเสริมการลงทุนด้านอุตสาหกรรมแปรรูปยาง ให้ความสําคัญกับการลดต้นทุนพลังงาน ปรับปรุงเครื่องมือเครื่องจักรและจัดหาแหล่งเงินกู้ให้แก่ อุตสาหกรรมแปรรูปยาง การผลิตถุงมือยางและการผลิตยางล้อของผู้ประกอบการ SME ผลักดันงานวิจัย และการทดสอบผลิตภัณฑ์ยางให้มีมาตรฐานระดับสากลด้วยการพัฒนาห้องปฏิบัติการและสถาบันพัฒนา มาตรฐาน รวมทั้งศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาง การปรับปรุงและจัดทํามาตรฐานยางล้อชนิดต่างๆ ยาง ขั้นปฐม เช่น ยางคอมปาวด์ และอื่นๆ เป็นต้น เพื่อลดต้นทุนการผลิต จัดทําแผนการบริหารวัตถุดิบไม้ ยางพารา และสนับสนุนอุตสาหกรรมแปรรูปไม้ยางพารา
กลยุทธ์ที่ 4 การปรับปรุงระบบบริหารจัดการภาครัฐ โดยการตรา พ.ร.บ.การยางแห่ง ประเทศไทย และปรับปรุง พ.ร.บ.กองทุนสงเคราะห์การทําสวนยาง ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานถุง มือยาง การควบคุมราคาขายยางล้อ รวมทั้งกฎ ระเบียบเพื่อสนับสนุนการใช้ผลิตภัณฑ์ยางในประเทศ
กลยุทธ์ที่ 5 การผลักดันความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน โดยการบูรณาการงานวิจัยถึงผลกระทบ การปรับตัว และการใช้ประโยชน์จากประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนเพื่อเป็นศูนย์กลางยางของอาเซียน ผลักดันความร่วมมือในการทํางานร่วมกันระหว่างสภ าความ ร่วมมือไตรภาคียางพารา 3 ประเทศในการรักษาเสถียรภาพราคา ผลักดันการจัดตั้งกองทุนรักษาเสถียรภาพ ราคาร่วมกับบริษัทร่วมทุนยางระหว่างประเทศ (IRCo)
กลยุทธ์ที่ 6 การสนับสนุนการวิจัย โดยการวิจัยตามแผนงานเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิต ในรูปของเทคโนโลยีชีวภาพ พัฒนาพันธุ์ยางให้มีคุณสมบัติตรงตามความต้องการของเกษตรกรและ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการวิจัยด้านการบํารุงรักษาสวนและการเก็บเกี่ยว การวิจัยเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสะอาดในรูปของการใช้ประโยชน์จากคาร์บอนเครดิต การปรับสภาพน้ําเสียที่เกิดจากกระบวน การผลิตยางพาราตลอดห่วงโซ่มูลค่า ศึกษาวิจัยเพื่อลดต้นทุนการตลาดและโลจิสติกส์ วิจัยเพื่อพัฒนาด้าน อุตสาหกรรมยางที่สําคัญของประเทศ เช่น ผลิตภัณฑ์จากน้ํายางข้นและน้ํายางแห้ง ผลิตภัณฑ์ยางขั้นต้น อาทิ ยางคอมปาวด์ รวมทั้งด้านอื่นๆ อาทิ ไม้ยางพารา นาโนเทคโนโลยี และเทคนิควิศวกรรมเคมี เป็นต้น การร่วมมือด้านงานวิจัยกับต่างประเทศ เช่น องค์การความร่วมมือทางวิชาการของประเทศฝรั่งเศส (CIRAD) คณะกรรมการวิจัยและพัฒนาด้านยางระหว่างประเทศ (IRRDB) สถาบันวิจัยยางของประเทศต่างๆ เป็นต้น และบูรณาการงานวิจัยระหว่างหน่วยงาน
กลยุทธ์ที่ 7 การเสริมรายได้ และยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกรชาวสวนยาง โดยการ ผลักดันระบบการออมเงินเพื่อสวัสดิการผ่านทางกองทุน Cess ผลักดันให้เกิดการเพิ่มรายได้จากคาร์บอน เครดิต พัฒนาเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรให้เข้มแข็ง รวมทั้ง การจัดทําทะเบียนเกษตรกรเพื่อเป็น ฐานข้อมูลกลางภาครัฐ
กลยุทธ์ที่ 8 การพัฒนาบุคลากรด้านยางพารา โดยการฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการ กรีด การเก็บเกี่ยวผลผลิต การบํารุงรักษาสวน และการอารักขายาง รวมทั้งการพัฒนาและอบรมบุคลากร ผู้ปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมยาง สนับสนุนการผลิตบุคลากรระยะยาว โดยการสนับสนุนสถาบัน การศึกษาจัดทําหลักสูตรการศึกษาด้านยางพาราทั้งในระดับต่ํากว่าปริญญาตรีและปริญญาตรีขึ้นไป จัดทํา แผนอัตรากําลังบุคลากรที่ทํางานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับยางพารา รวมทั้งจัดทําแผนแก้ไขปัญหาแรงงาน ทั้งภาคการผลิตและภาคอุตสาหกรรมยาง ตลอดจนสนับสนุนทุนสําหรับการศึกษาวิจัยในการพัฒนา บุคลากรดังกล่าว
1.3 ยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ.2555-25592
ยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 จัดทําขึ้นโดยสํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) เพื่อให้การทําวิจัยด้านยางพาราของประเทศมีความชัดเจนขึ้น ผลิตผลงานวิจัย ได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้งานอย่างแท้จริง ลดความซ้ําซ้อนของงานวิจัย และเพิ่มความเข้มแข็งให้กับ อุตสาหกรรมยางพาราทั้งระบบ รวมทั้งเงินงบประมาณถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งมีกระบวนการจัดทํา เริ่มจากการทบทวนงานวิจัยของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับยางพาราในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (ปี พ.ศ. 2549- 2553) ได้แก่ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) วช. สกว. และสถาบันวิจัยยาง
2 ยุทธศาสตรว์ ิจัยยางพาราแห่งชาติ โดย สกว. สิงหาคม 2555
(สวย.) กรมวิชาการเกษตร สรุปได้ว่า โครงการส่วนใหญ่ (ร้อยละ 43.77 เมื่อพิจารณาจากจํานวนโครงการ) เป็นงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมยาง เช่น การจัดการโรงงาน การสร้างและออกแบบ พัฒนาอุปกรณ์ เครื่องจักร การมาตรฐาน การตลาด และห่วงโซ่อุปทาน เป็นต้น รองลงมาได้แก่ งานวิจัยสนับสนุน อุตสาหกรรมปลายน้ําร้อยละ 24.54 งานวิจัยต้นน้ําร้อยละ 15.38 และงานวิจัยสนับสนุนอุตสาหกรรม กลางน้ําร้อยละ 15.20 โดยงานวิจัยเกี่ยวกับไม้ยางพาราและการแปรรูป รวมทั้งเกี่ยวกับยุววิจัยยางพารา มีน้อยมากในสัดส่วนเพียงร้อยละ 0.92 และร้อยละ 0.18 ตามลําดับ (ตารางที่ 2.1)
จากการประชุมระดมความคิดเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน ได้ข้อสรุป เป็นยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 จํานวน 4 ยุทธศาสตร์ กําหนดเป้าหมายที่จะ ยกระดับความสามารถของอุตสาหกรรมต้นน้ําจนถึงปลายน้ําให้สามารถก้าวเป็นผู้นําในอุตสาหกรรม ยางพาราทุกด้าน โดยมีกลยุทธ์การพัฒนาภายใต้ 4 ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การผลักดันนโยบายที่จําเป็น ครอบคลุมทั้งระบบ ตั้งแต่การผลิต การพัฒนา บุคลากร และงานวิจัย (การรักษาเสถียรภาพราคา การใช้เงินสงเคราะห์ Cess ให้เกิดประโยชน์สูงสุด การพัฒนากําลังคน และเพิ่มจํานวนตลอดจนคุณภาพของนักวิจัย วิเคราะห์ความต้องการกําลังคนเพื่อจัดทํา หลักสูตรในสถาบันการศึกษา) การตลาด (สนับสนุนความต้องการยางพาราในประเทศโดยหน่วยงานภาครัฐ และการรับรองผลิตภัณฑ์ใหม่) และกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
ตารางที่ 2. 1 จํานวนโครงการที่ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจาก 4 หน่วยงานในช่วงปี พ.ศ. 2549-2553
ประเด็นหัวข้อ | จํานวนโครงการของแต่ละหน่วยงาน (โครงการ/ร้อยละ) | ||||
สวทช. | สกว. | วช. | สวย. | รวม | |
งานวิจัยต้นน้ํา | - | 8 (2.2) | - | 76 (56) | 84 (15.38) |
งานวิจัยสนับสนุนอุตสาหกรรมกลางน้ํา | 17 (50) | 59 (16.0) | - | 7 (5) | 83 (15.20) |
งานวิจัยสนับสนุนอุตสาหกรรมปลายน้ํา | 7 (21) | 108 (29.4) | 3 (33) | 16 (12) | 134 (24.54) |
งานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมยาง | 10 (29) | 187 (51) | 5 (56) | 37 (27) | 239 (43.77) |
ไม้ยางและการแปรรูป | - | 4 (1.1) | 1 (11) | - | 5 (0.92) |
โครงการยุววิจัยยางพารา | - | 1 (0.3) | - | - | 1 (0.18) |
รวม | 34 (100) | 367 (100) | 9 (100) | 136 (100) | 546 (100) |
ที่มา : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิม และผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีศักยภาพ
ครอบคลุมผลิตภัณฑ์เดิมที่มีความโดดเด่นและใช้ยางพาราในลําดับต้นๆ ได้แก่ อุตสาหกรรมยางล้อ
(การจัดตั้งห้องปฏิบัติการทดสอบผลิตภัณฑ์ สร้างความเข้มแข็งกําลังคนด้านวิศวกรรมและช่างเทคนิค พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการประหยัดพลังงานและลดต้นทุน การหาสารอื่นทดแทนการใช้ Aromatic Oil ที่มีการห้ามใช้ในประเทศแถบยุโรป) และอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์จากน้ํายางข้น (ถุงมือยาง-ห้องปฏิบัติการ รับรองคุณภาพ เทคโนโลยี และเครื่องจักรที่มีประสิทธิภาพเทียบเท่าหรือมากกว่ามาเลเซีย เส้นด้ายยางยืด
– คุณภาพที่สม่ําเสมอ การแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในกระบวนการผลิต ถุงยางอนามัย – คุณภาพเทียบเท่า ผลิตภัณฑ์จากน้ํายาสังเคราะห์ เทคโนโลยีเพื่อลดการใช้แรงงาน) และผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีศักยภาพ อาทิ
การใช้ประโยชน์จากสารที่ไม่ใช่ยางในน้ํายางสด การวิจัยผลิตภัณฑ์ยางให้มีสมบัติเทียบเท่าพลาสติกชีวภาพ การวิจัยไม้ยางพารา และการสร้างบุคลากรวิจัยในทุกระดับ เช่น สาขาชีวเคมี เคมีวิเคราะห์ เป็นต้น
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสนับสนุนการส่งออก ครอบคลุมการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (จัดตั้ง เครือข่ายวิจัยยางพารา ระบบพลังงานที่มีประสิทธิภาพสูง การพัฒนาอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ยาง สนับสนุน เทคโนโลยีสะอาด จัดตั้งศูนย์ข้อมูลสารสนเทศด้านยางพาราครบวงจร) การพัฒนาโลจิสติกส์ตลอดห่วงโซ่ อุปทาน (รูปแบบที่เหมาะสม และการกระจายตัวของตลาดในแต่ละท้องถิ่น ฐานข้อมูลเพื่อกําหนดการ กระจายพื้นที่ปลูกยางพารา และจัดตั้งอุตสาหกรรมกลางน้ําที่เหมาะสม) การมาตรฐานยางและผลิตภัณฑ์ ยาง (ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพน้ํายางและการควบคุมปัจจัยดังกล่าว ยกเลิกการห้ามนําเข้าน้ํายางสกิม เป็นวัตถุดิบในการผลิตยางแท่ง กําหนดมาตรฐานยางและผลิตภัณฑ์ยางของประเทศ ควบคู่กับการสร้าง ความร่วมมือด้านมาตรฐานกับต่างประเทศ)
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมเทคโนโลยี 2 กลุ่มคือ เทคโนโลยีสําหรับอุตสาหกรรมต้นน้ํา (พัฒนาพันธุ์ยาง เครื่องมือกรีดยาง การดูแล บํารุงรักษาสวน ยางและการพัฒนาฝีมือแรงงาน สร้างมูลค่าเพิ่มในยางก้อนถ้วยและเศษยาง พัฒนาอุปกรณ์ทดสอบและ วิเคราะห์น้ํายาง พัฒนากระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยีใหม่หรือภูมิปัญญาชาวบ้านไปยังเกษตรกร ให้สามารถใช้ประโยชน์ได้จริง) เทคโนโลยีสําหรับอุตสาหกรรมกลางน้ํา (ควบคุมคุณภาพ และปรับปรุง สมบัติน้ํายางข้นและยางแห้ง)
2. กรอบแนวคิดในการวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงแบบประเมินโครงการและแผนงานวิจัย
2.1 แนวทางการพิจารณาความเหมาะสมของข้อเสนอโครงการ ในการพิจารณาของคณะ รัฐมนตรี เพื่ออนุมัติให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจต่างๆ ดําเนินโครงการพัฒนาจากแหล่งเงินต่างๆ โดยเฉพาะที่ใช้เงินกู้จากต่างประเทศนั้น เจ้าของโครงการจะต้องศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ และ จัดทํารายละเอียดส่งให้สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) พิจารณา ก่อนนําเสนอคณะรัฐมนตรี โดยประเด็นที่ สศช. ใช้พิจารณาข้อเสนอโครงการจะมีทั้งสิ้น 10 ประเด็น ได้แก่ ภาพรวมการดําเนินงานของโครงการ ความสอดคล้องกับนโยบาย และยุทธศาสตร์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง ความจําเป็นของโครงการ ความสมบูรณ์และความเชื่อมโยงกับโครงการอื่น ความเหมาะสมด้านกายภาพ ความเหมาะสมด้านเทคนิค ความเหมาะสมด้านเศรษฐกิจ และการเงิน ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) และ
การมีส่วนร่วมของชุมชน ความเหมาะสมด้านการบริหารโครงการ และผลกระทบต่อนโยบายเศรษฐกิจ มหภาค3
อย่างไรก็ดี โครงการวิจัยที่เสนอขอรับการสนับสนุนทุนจาก วช. และ สกว. มีขอบเขตการ ทํางานและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับโครงการแคบกว่าโครงการพัฒนาของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ ดังนั้น จึง ได้คัดเลือกประเด็นการพิจารณาโครงการของ สศช. ในส่วนที่มีความเหมาะสมต่อการประเมินข้อเสนอ โครงการที่ขอสนับสนุนทุนวิจัย และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ วช.และ สกว. รวมทั้งสิ้น 7 ประเด็น ประกอบด้วย
2.1.1 ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนายางพาราฯ และยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราฯ รัฐบาลได้จัดทํายุทธศาสตร์การพัฒนายางพารา พ.ศ. 2552-2556 โดยมีวัตถุประสงค์สําคัญ เช่น เพื่อ ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา สนับสนุนการผลิตวัตถุดิบที่มีคุณภาพและพัฒนาระบบตลาด สนับสนุนให้ผลิตภัณฑ์ยางไทยมีคุณภาพ สนับสนุนการเพิ่มมูลค่ายางธรรมชาติโดยการแปรรูปและการผลิต เป็นผลิตภัณฑ์ รวมทั้งเกษตรกรมีรายได้เพิ่มจากการขายคาร์บอนเครดิตภายใต้กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism: CDM) หรือภายใต้การตลาดแบบสมัครใจ (Voluntary Market) เป็นต้น ในขณะเดียวกัน สกว.ได้จัดทํายุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 โดยมี วัตถุประสงค์สนับสนุนโครงการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนายางพาราดังกล่าว ดังนั้น จึงต้องประเมินว่าโครงการที่ขอรับการสนับสนุนทุนวิจัย มีวัตถุประสงค์สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ การพัฒนายางพารา และยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติหรือไม่เพียงใด และจะต้องปรับปรุงหรือไม่ อย่างไร
2.1.2 ความจําเป็นของโครงการ ในกรณีโครงการมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนา ยางพารา และยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ จําเป็นต้องพิจารณาว่าโครงการดังกล่าวต้องการแก้ไข ปัญหาอะไรของอุตสาหกรรมยางพารา และปัญหาดังกล่าวมีความรุนแรงเพียงใด เป็นการแก้ปัญหาโดยรวม หรือแก้ปัญหาเฉพาะจุด โดยวิเคราะห์จากหลักการ เหตุผล และวัตถุประสงค์ของโครงการ ซึ่งจะช่วยให้ ผู้บริหารพิจารณาได้ว่าจําเป็นต้องมีโครงการนี้หรือไม่ หรือต้องปรับปรุงอย่างไร เมื่อวิจัยแล้วประชาชน และสังคมจะได้อะไร และเนื่องจากเป็นโครงการแบบมุ่งเป้า จึงต้องพิจารณาว่า ผู้ใช้ประโยชน์จากโครงการ (Users) เป็นใคร
2.1.3 ความสมบูรณ์และความเชื่อมโยงกับโครงการอื่น เป็นการพิจารณาถึงการบรรลุ วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการวิจัยโดยรวม ซึ่งสามารถพิจารณาจากสาระสําคัญของโครงการต่างๆ ที่ขอรับการสนับสนุนทุนวิจัย เช่น การวิจัยในเรื่องใกล้เคียงกันแต่ดําเนินงานในพื้นที่ที่ต่างกัน ซึ่งสามารถใช ข้อมูลพื้นฐานร่วมกันและนําผลการวิจัยมาวิเคราะห์ร่วมกัน เพื่อยืนยันความถูกต้องแม่นยําของข้อมูลและ ข้อค้นพบใหม่ๆ ตลอดจนเชื่อมโยงข้อมูลเป็นภาพรวมที่กว้างขวางมากขึ้น ซึ่งจะทําให้โครงการต่างๆ สามารถประสานการทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการใช้ข้อมูลและองค์ความรู้จากโครงการที่เคยมี การวิจัยมาก่อน และสามารถนํามาต่อยอดให้งานวิจัยสมบูรณ์และมีประโยชน์มากขึ้น เป็นต้น
3 สํานักวิเคราะห์โครงการลงทุนภาครัฐ แนวทางและหลักเกณฑ์การวิเคราะห์โครงการ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ 2540 หน้า 4 - 13
2.1.4 ความเหมาะสมด้านเทคนิค (วิธีดําเนินงาน) เพื่อพิจารณาว่ากิจกรรมที่เสนอมีความ เหมาะสมครบถ้วน และสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ หรือควรปรับปรุง อย่างไร
2.1.5 ความเหมาะสมด้านการเงิน ประเมินว่ากิจกรรมและผลผลิตที่เสนอมีความเหมาะสมกับ งบประมาณที่เสนอขอหรือไม่ และครอบคลุมกิจกรรมต่างๆ ที่เสนอขอครบถ้วนสมบูรณ์เพียงใด
2.1.6 ความเหมาะสมด้านการบริหารโครงการ พิจารณาว่าผู้รับผิดชอบโครงการจะสามารถ ดําเนินโครงการได้สําเร็จตามวัตถุประสงค์หรือไม่ มีวิธีการบริหารโครงการที่มีประสิทธิภาพหรือไม่ เช่น การกําหนดเวลาทํางาน การจัดทีมนักวิจัยที่มีคุณภาพและจํานวนพอเพียงต่อการดําเนินโครงการ และ การแบ่งความรับผิดชอบ และการจัดหาสถานที่วิจัย เป็นต้น
2.1.7 การนําไปใช้ประโยชน์ ประเมินว่าผลผลิตของโครงการจะนําไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร และใครคือผู้ได้ประโยชน์โดยตรง
2.2 แนวทางการพิจารณาความเหมาะสมของแผนงาน เนื่องจาก ภายใต้แผนงานวิจัยจะมี โครงการย่อยหลายโครงการ ทําให้การประเมินข้อเสนอแผนงานวิจัยมีความยุ่งยากและซับซ้อนมากขึ้น โดยแนวทางการประเมินผลแผนงานในทางวิชาการนั้น จะต้องประเมินข้อเสนอโครงการทุกโครงการภายใต้ แผนงาน ครอบคลุมทั้งประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และผลกระทบของโครงการ ตลอดจนความเชื่อมโยง ระหว่างโครงการ จึงนําผลการประเมินรายโครงการมาสรุปเป็นภาพรวม และประเมินผลตอบแทนทาง เศรษฐกิจและสังคมทั้งทางตรง และทางอ้อมด้วย ส่วนประเด็นการประเมินแผนงาน ประกอบด้วย การประเมินปัจจัยภายนอกและภายในที่มีผลกระทบต่อแผนงาน ความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสีย สถานภาพ ของแผนงานภายในองค์กร (คงอยู่/ยกเลิก/ขยาย/โอนให้หน่วยงานอื่น) และการทบทวนภารกิจองค์กร4
2.3 แนวทางการติดตามความก้าวหน้า และประเมินผลของโครงการ การติดตามความก้าวหน้า และประเมินผลของโครงการในทางวิชาการจะมีคํานิยาม วัตถุประสงค์ และการใช้ประโยชน์ที่แตกต่างกัน ดังนี้
2.3.1 การติดตามความก้าวหน้าการดําเนินโครงการ คือ กระบวนการตรวจสอบ/กํากับ/ เฝ้าระวังการดําเนินแผนงาน/โครงการอย่างต่อเนื่องโดยมีระบบจัดเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยนําเข้า กิจกรรม และผลผลิต วัตถุประสงค์ของการติดตามความก้าวหน้าการดําเนินโครงการคือ ต้องการทราบว่า การดําเนินงานเป็นไปตามแผนหรือไม่ มีความพร้อมของปัจจัย (กําลังคน/งบประมาณ/สถานที่) หรือไม่ ระยะเวลาดําเนินงานแต่ละกิจกรรมเป็นไปตามแผนหรือไม่ มีการประสานงานในระหว่างดําเนินงานกับ ผู้เกี่ยวข้องเพียงใด และผู้บริหารโครงการได้ติดตามกํากับอย่างสม่ําเสมอหรือไม่ มีปัญหาและอุปสรรค ที่เกิดขึ้นระหว่างดําเนินงานหรือไม่ และจะปรับปรุงการดําเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กําหนดอย่างไร ส่วนประโยชน์ของการติดตามความก้าวหน้าเพื่อนําไปใช้แก้ไขปัญหาต่างๆ ระหว่างดําเนินงาน5
4 วัฒนา วงค์เกียรติรัตน์ และสุริยา วีรวงศ์ คู่มือการประเมินผลโครงการ สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2543 หน้า 39 - 41
5 สถาบันดํารงราชานุภาพ กระทรวงมหาดไทย คู่มือการติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนาระดับจังหวัด เอกสารวชาการ สดร.
04/2541 หน้า 95 - 96
2.3.2 การประเมินผลการดําเนินโครงการ คือ กระบวนการตัดสินคุณค่าของสิ่งใดสิ่งหนึ่งตาม ตัวชี้วัด โดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐานที่กําหนดไว้โดยครอบคลุมถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผล วัตถุประสงค์ของการประเมินผลการดําเนินโครงการเพื่อเป็นสารสนเทศสําคัญต่อผู้บริหารหรือผู้มีอํานาจ ตัดสินใจถึงความเหมาะสม และการบรรลุผลสําเร็จของการดําเนินงาน เวลาที่เสร็จ งบประมาณที่ใช้ปริมาณ งานที่เสร็จ และการบรรลุผลที่ไม่ได้คาดหวัง ประโยชน์ของการประเมินเพื่อเสนอแนะปรับเปลี่ยนระหว่าง ดําเนินงานเพื่อให้เกิดผลตามเป้าหมาย หรือวางแผนพัฒนาให้ดีขึ้นในอนาคต6
วัตถุประสงค์หลักในการประเมินข้อเสนอโครงการของ วช. และ สกว. เพื่อพิจารณาความเหมาะสม ของวิธีดําเนินงาน ความเหมาะสมของงบประมาณ และการนําผลผลิตของโครงการไปใช้ประโยชน์ตลอดจน ประเด็นอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของผู้บริหารในการอนุมัติ หรือไม่อนุมัติโครงการต่อไป ซึ่ง วัตถุประสงค์ดังกล่าวสอดคล้องกับหลักการพิจารณาความเป็นไปได้ของโครงการลงทุนของภาครัฐที่ สศช. ถือปฏิบัติ ดังนั้น ในการศึกษาครั้งนี้จึงนําแนวทางและหลักการวิเคราะห์โครงการของ สศช. มาใช้เป็นเกณฑ์ พิจารณาแบบประเมินข้อเสนอโครงการของ วช. และ สกว. เพื่อเสนอแนะประเด็นที่สมควรพิจารณา ปรับปรุงแบบประเมินดังกล่าวให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ในขณะเดียวกัน วัตถุประสงค์ของการติดตามความก้าวหน้าโครงการนั้น วช. และ สกว. ต้องการ ตรวจสอบว่า การดําเนินงานเป็นไปตามแผนที่กําหนดไว้ในสัญญาหรือไม่ และมีอุปสรรคเกิดขึ้นระหว่าง ดําเนินงานหรือไม่ เพื่อปรับปรุงการดําเนินงานให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ในขณะที่ การ ประเมินผลร่างรายงานฉบับสมบูรณ์มีวัตถุประสงค์ เพื่อพิจารณาการบรรลุผลสําเร็จของการดําเนินงาน ซึ่งวัตถุประสงค์ดังกล่าวสอดคล้องกับหลักทางวิชาการของการติดตาม และประเมินผลที่สากลยึดถือ จึงสามารถนําหลักเกณฑ์การติดตามประเมินผลทางวิชาการมาใช้เป็นเกณฑ์พิจารณาปรับปรุงแบบ ประเมินผลของ วช. และ สกว. ให้ได้มาตรฐานมากยิ่งขึ้น
ดังนั้น เพื่อให้การบูรณาการแบบประเมินความก้าวหน้าและร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ของ วช. และ สกว. มีเกณฑ์พิจารณาปรับปรุงแบบประเมินฯ เพื่อเติมประเด็นที่ยังขาดให้สมบูรณ์ และคงประเด็นที่มี ความเหมาะสมไว้ รวมทั้งได้มาตรฐานตามหลักวิชาการด้านการติดตามและประเมินผล จึงนําแนวทาง ที่ได้กล่าวมาทั้งหมดข้างต้นมาใช้เป็นเครื่องมือในการศึกษาครั้งนี้
6 อ้างแล้ว หน้า 96 - 97
บทที่ 3
การสังเคราะห์ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์ และการประเมินแบบประเมินโครงการ
1. การจัดกลุ่มแผนงาน/โครงการวิจัยด้านยางพาราปีงบประมาณ 2555
จากจํานวนแผนงาน/โครงการวิจัยยางพาราขนาดใหญ่ทั้งหมดที่ได้รับการอุดหนุนงบประมาณจาก วช. และ สกว. (12 แผนงาน 44 โครงการ งบประมาณ 63.72 ล้านบาท) ได้มีการจัดกลุ่มแผนงาน/โครงการ แยกตามกลยุทธ์ของยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 เป็น 4 กลุ่ม โดยพิจารณาจาก วัตถุประสงค์และผลผลิตของแผนงาน/โครงการ สรุปได้ว่า ส่วนใหญ่ (6 แผนงาน 18 โครงการ) ดําเนินการ เพื่อตอบสนองต่อกลยุทธ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิมและผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีศักยภาพแต่งบประมาณส่วนใหญ่
26.97 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 42.33) ได้รับการจัดสรรเพื่อสนับสนุนกลยุทธ์การผลักดันนโยบายด้าน ยางพารา (3 แผนงาน 13 โครงการ) โดยที่การสนับสนุนการส่งออกได้รับสนับสนุนการทําวิจัยน้อยที่สุดทั้ง จํานวนแผนงาน/โครงการ (1 แผนงาน 5 โครงการ) และงบประมาณเพียง 7.06 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 11.08)
ตารางที่ 3.1 การจัดกลุ่มแผนงาน/โครงการแยกตามกลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ
พ.ศ. 2555-2559
กลยุทธ์ | จํานวน (แผนงาน/โครงการ) | งบประมาณ (ล้านบาท) | สัดส่วน (ร้อยละ) |
1. การผลักดันนโยบายที่จําเป็น | 3 /13 | 26.97 | 42.33 |
2. การพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิมและผลิตภัณฑ์ ใหม่ที่มีศักยภาพ | 6/18 | 16.66 | 26.14 |
3. การสนับสนุนการส่งออก | 1/5 | 7.06 | 11.08 |
4. การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้มี ประสิทธิภาพ | 2/8 | 13.03 | 20.45 |
รวม | 12/44 | 63.72 | 100.00 |
(รายละเอียดแผนงาน/โครงการแสดงในภาคผนวก 1)
2. การวิเคราะห์หาจุดต่าง (Gap Analysis)
การวิเคราะห์หาจุดต่าง (Gap Analysis) ดําเนินการใน 2 ส่วนหลักคือ การวิเคราะห์หาจุดต่าง ระหว่างยุทธศาสตร์การพัฒนายางพารา พ.ศ. 2552-2556 กับยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 และการวิเคราะห์หาจุดต่างของโครงการวิจัยปี 2555 โดยรวมกับยุทธศาสตร์วิจัยยางพารา
แห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 ใน 3 ประเด็น ได้แก่ (1) ความสอดคล้องของวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของ โครงการวิจัยปี 2555 โดยรวมกับวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของยุทธศาสตร์วิจัยยางพารา (2) ความ
สามารถของผลผลิตโครงการวิจัยปี 2555 ในการแก้ไขปัญหาของอุตสาหกรรมยางพารา และ (3) เสนอ ประเด็นการสนับสนุนการวิจัยที่ตอบสนองทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพาราในอนาคต
2.1 การวิเคราะห์หาจุดต่างระหว่างยุทธศาสตร์การพัฒนายางพารา พ.ศ. 2552-2556 กับ ยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 ในการวิเคราะห์ส่วนนี้เป็นการเปรียบเทียบทั้ง วัตถุประสงค์/เป้าหมายยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และแนวทาง (ดังแสดงในแผนภาพ) ซึ่งสรุปประเด็นสําคัญดังนี้
2.1.1 วัตถุประสงค์/เป้าหมายของทั้ง 2 ยุทธศาสตร์มีส่วนที่เหมือนกันคือ ต้องการยกระดับ ความสามารถด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพ และเพิ่มมูลค่าของอุตสาหกรรมตั้งแต่ต้นน้ําจนถึงปลายน้ําที่เน้น การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มผลผลิตแต่มีจุดต่าง (Gap) คือ
1) ยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติไม่ได้เน้นในเรื่องของรายได้และความเป็นอยู่ของ เกษตรกรชาวสวนยางซึ่งไม่ได้เป็นกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับประโยชน์จากงานวิจัยโดยตรง
2) ยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติไม่ได้มีการระบุถึงประเด็นการเป็นศูนย์กลาง อุตสาหกรรมยางของภูมิภาคอย่างชัดเจน
2.1.2 กลยุทธ์และแนวทางของทั้ง 2 ยุทธศาสตร์มีส่วนที่เหมือนกันคือ ให้ความสําคัญกับเรื่อง ของระบบโลจิสติกส์และห่วงโซ่มูลค่า สิ่งแวดล้อม การพัฒนา “คน” การส่งเสริมตลาดทั้งในและ ต่างประเทศ แต่มีจุดต่าง (Gap)คือ
1) ยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติไม่ได้ระบุถึงแนวทางและมาตรการรองรับ AEC หรือ ความร่วมมือระหว่างประเทศในรูปแบบใดๆ โดยเฉพาะไตรภาคียางพารา (ITRC) ซึ่งมีผลต่อการส่งออกยาง ไปต่างประเทศของไทย
2) ยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติไม่ได้ระบุถึงแนวทาง และมาตรการที่เกี่ยวข้องกับ ความร่วมมืองานวิจัยกับต่างประเทศ และการบูรณาการงานวิจัยระหว่างหน่วยงานภายในประเทศ
3) ยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติมีความชัดเจนในการกําหนดประเภทของ อุตสาหกรรม ซึ่งแบ่งเป็น ยางล้อ ถุงมือยาง ถุงยางอนามัย เส้นด้ายยางยืด และผลิตภัณฑ์ใหม่ และมี แนวทางของแต่ละประเภทกําหนดไว้
4) ไม่มีการระบุประเด็นของคาร์บอนเครดิตไว้ในยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ แต่มี การระบุไว้เป็นแนวทางหนึ่งที่ชัดเจนของยุทธศาสตร์การพัฒนายางพารา
5) ประเด็นสําคัญที่จัดเป็นปัจจัยเอื้อ (Enabling Factors) ได้แก่ โครงสร้างพื้นฐาน (โลจิสติกส์ พลังงาน ระบบข้อมูลสารสนเทศ เครือข่ายการวิจัย) ระบบมาตรฐาน ตลาด (ระบบ และการ ส่งเสริมทั้งในและต่างประเทศ) ด้านการเงินและการลงทุน (ไม่ใช่เฉพาะ Cess) และ “คน” (เกษตรกร แรงงานในสวนยาง และแรงงานในอุตสาหกรรม ผู้ประกอบการ นักวิจัย) รวมถึงประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์วิจัยยางพารานําไปไว้ในกลยุทธ์การสนับสนุนการส่งออก ซึ่งต่างจากยุทธศาสตร์การพัฒนา ยางพาราที่กําหนดเป็นแนวทางแยกแต่ละประเด็น เช่น ตลาด สิ่งแวดล้อม (เทคโนโลยีสะอาด) โลจิสติกส์ มาตรฐาน และบุคลากร เป็นต้น
2.2 การวิเคราะห์หาจุดต่างของโครงการวิจัย พ.ศ. 2555 โดยรวมกับยุทธศาสตร์วิจัยยางพารา แห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 เมื่อพิจารณาจากผลผลิตโครงการวิจัย พ.ศ. 2555 เปรียบเทียบกับเป้าหมาย ยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 พบว่า การกําหนดเป้าหมายของโครงการไม่สะท้อนถึง เป้าหมายระดับยุทธศาสตร์ เนื่องจาก ยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราไม่ได้กําหนดเป้าหมาย (Target) ไว้ชัดเจน
การสังเคราะห์ในครั้งนี้จึงพิจารณาเปรียบเทียบในระดับกลยุทธ์ โดยพบว่า ทุนวิจัยในปี พ.ศ. 2555 สนับสนุนกลยุทธ์ของยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติทั้ง 4 กลยุทธ์ เพียงแต่การวิจัยที่สนับสนุนกลยุทธ์ ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้มีประสิทธิภาพและสนับสนุนการส่งออกยังมีอยู่จํากัด ซึ่งสรุปภาพรวม ได้ดังนี้
2.2.1 ด้านนโยบาย ในปี 2555 สกว. ได้ริเริ่มให้ความสําคัญกับการสนับสนุนทุนวิจัยเพื่อตอบ โจทย์ประเด็นเชิงนโยบายโดยให้ความสําคัญกับการวิจัยในประเด็นของแนวทางและมาตรการรักษา เสถียรภาพราคายางพาราการศึกษาข้อมูลการปล่อยคาร์บอนเครดิตของสวนยางพารา การวางนโยบายด้าน การลงทุนระหว่างประเทศ และการวางแผนเพื่อรองรับต่อสภาพการแข่งขันที่เป็นผลกระทบจากนโยบาย ของคู่แข่งขัน (ประเทศมาเลเซีย) การศึกษาระบบนิเวศน์ของสวนยางพารา และการวางระบบบริหารจัดการ ยางใช้แล้ว รวมทั้งการศึกษาแนวทางและมาตรการเพื่อกระตุ้นความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ยางพารา ภายในประเทศ โดยเฉพาะกับหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับเป้าหมายของยุทธศาสตร์วิจัย ยางพาราแห่งชาติแล้ว ยังขาดจุดต่าง (Gap) ในส่วนที่เป็นการศึกษากฎ ระเบียบที่จะสนับสนุนการผลิตและ การประกอบการ ทั้งในภาพรวม รายสาขา และรายประเด็นที่สําคัญ
2.2.2 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ (เดิม และใหม่) ผลิตภัณฑ์เดิมที่กําหนดไว้เป็นเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 คือ ยางล้อ ถุงมือยาง ผลิตภัณฑ์เส้นด้ายยางยืด ถุงยาง อนามัย ซึ่งในโครงการวิจัย พ.ศ. 2555 มีโครงการที่เกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิมเพียง 2 ผลิตภัณฑ์คือ การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตยางล้อรถประหยัดพลังงาน และการทําผลิตภัณฑ์จากถุงมือยางที่มีกลิ่นหอม อีกทั้งขาดการวิจัยในส่วนของการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรมยางล้อที่ได้ กําหนดเป็นแนวทางการพัฒนาภายใต้กลยุทธ์นี้
สําหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ งานวิจัย พ.ศ. 2555 ให้ความสําคัญกับโครงการที่ใช้ ประโยชน์จากสารที่ไม่ใช่ยางในน้ํายางสด (ในที่นี้คือ พอลิเมอร์) สําหรับเป็นวัตถุดิบผลิตภัณฑ์ใหม่ทางเภสัช กรรม และการวิจัยพัฒนาสายพันธ์แบคทีเรียเพื่อช่วยย่อยสลายพลาสติกพอลิแลกไทด์ โดยยังมีช่องว่าง (Gap) ในส่วนของการสร้างบุคลากรวิจัยด้านน้ํายางเข้าสู่อุตสาหกรรมน้ํายางข้น และการเผยแพร่ผลงาน วิจัย และแลกเปลี่ยนความรู้ด้านน้ํายาง รวมถึงการพัฒนาการผลิตและการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากไม้ยางพารา ให้มีคุณภาพ
2.2.3 การสนับสนุนการส่งออก โครงการวิจัยในปี พ.ศ. 2555 เพื่อสนับสนุนการส่งออก มีการพัฒนาฟิล์มบรรจุภัณฑ์ย่อยสลายง่ายที่ใช้ในการยืดอายุการเก็บรักษาคุณภาพเห็ดฟางสดเพื่อส่งออกไป ประเทศเยอรมนี การพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ยางรองรางรถไฟ ยางถอนขนไก่ และยางล้อตันสําหรับรถ ฟอร์คลิฟท์ ซึ่งในกลยุทธ์การส่งออกนี้ ยังไม่ครอบคลุมหลายประเด็นที่จะช่วยสนับสนุนการส่งออกสําคัญ ตามที่มีการกําหนดแนวทางไว้ในกลยุทธ์นี้ ได้แก่ การพัฒนาระบบพลังงานในอุตสาหกรรมยางที่มี ประสิทธิภาพ การเผยแพร่ความรู้ในการออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ยาง เทคโนโลยีสะอาด การพัฒนาด้าน โลจิสติกส์เพื่อลดต้นทุนโลจิสติกส์ตลอดห่วงโซ่อุปทาน
2.2.4 การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้มีประสิทธิภาพ ตามยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่ง ชาติ พ.ศ. 2555-2559 กําหนดเป้าหมายไว้สําหรับอุตสาหกรรมต้นน้ําจนถึงอุตสาหกรรมปลายน้ํา ซึ่งมี โครงการรองรับในปี พ.ศ. 2555 น้อย ยังไม่ครอบคลุมประเด็นสําคัญหลายเรื่องที่กําหนดแนวทางไว้ภายใต้ กลยุทธ์นี้ ได้แก่ การพัฒนาพันธุ์ยางให้เหมาะสมกับพื้นที่และความต้องการของอุตสาหกรรม การมีเครื่องมือ
กรีดยางที่มีประสิทธิภาพ มีการถ่ายทอดแนวปฏิบัติการดูแลบํารุงรักษาสวนยาง พร้อมทั้งเพิ่มทักษะ บุคลากรกรีดยาง การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับยางก้อนถ้วย และเศษยาง การทดสอบหาสิ่งปนเปื้อนในน้ํายาง การถ่ายทอดเทคโนโลยีใหม่ และภูมิปัญญาชาวบ้าน การมีเทคนิคการผลิต และวิธีการควบคุมคุณภาพน้ํา ยาง และการขึ้นรูปให้ตรงตามความต้องการของอุตสาหกรรม ตลอดจนเทคนิคการผลิต และวิธีการควบคุม คุณภาพยางแห้ง และการผลิตยางหนืดที่เหมาะสม เพื่อลดต้นทุนการผลิต
3. การทบทวนแบบฟอร์มประเมินโครงการ
3.1 แนวคิดการปรับปรุงแบบประเมินโครงการ เมื่อแบ่งตามช่วงเวลาของโครงการที่ขอรับการ สนับสนุนทุนวิจัยจาก วช. และ สกว. สามารถแบ่งออกได้ 3 ระยะได้แก่ การเสนอขออนุมัติโครงการ การติดตามความก้าวหน้าระหว่างดําเนินโครงการ และการประเมินร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ ซึ่งการประเมิน แต่ละช่วงเวลาจะมีวัตถุประสงค์ และการนําผลจากการประเมินไปใช้ประโยชน์ที่แตกต่างกัน สํานักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้ออกแบบประเมิน สําหรับใช้ประเมินโครงการที่ขอรับการสนับสนุนทุนวิจัยรวม 4 แบบ ประกอบด้วย (1) แบบประเมิน ข้อเสนอโครงการ (2) แบบประเมินข้อเสนอแผนงานวิจัย (3) แบบติดตามความก้าวหน้า และ (4) แบบ ประเมินร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ของโครงการ แบบประเมินของ วช. และ สกว. แต่ละแบบจะมีประเด็นที่ มอบให้ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาในรายละเอียดแตกต่างกัน ทําให้การนําผลการประเมินมาใช้เพื่อประกอบการ พิจารณาอนุมัติโครงการมีความยุ่งยากและไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ดังนั้น จึงจําเป็นต้องบูรณาการแบบ ประเมินของทั้ง 2 หน่วยงานให้เป็นเอกภาพ เพื่อให้สามารถนําไปใช้ประเมินโครงการทั้ง 3 ระยะได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งในช่วงที่ผ่านมา วช. และ สกว. ได้บูรณาการแบบประเมินข้อเสนอโครงการและ แบบประเมินข้อเสนอแผนงานวิจัยเรียบร้อยแล้ว คงเหลือแบบประเมินที่ต้องบูรณาการอีก 2 แบบคือ แบบ ประเมินรายงานความก้าวหน้า และแบบประเมินร่างรายงานฉบับสมบูรณ์
3.2 การวิเคราะห์แบบประเมินของ วช. และ สกว.
3.2.1 การประเมินข้อเสนอโครงการ ในการประเมินข้อเสนอโครงการของ วช. และ สกว. มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพิจารณาความเหมาะสมของวิธีดําเนินงาน ความเหมาะสมของงบประมาณ และการ นําผลผลิตของโครงการไปใช้ประโยชน์ ตลอดจนประเด็นอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของผู้บริหาร ในการอนุมัติหรือไม่อนุมัติโครงการซึ่งวัตถุประสงค์ดังกล่าวสอดคล้องกับหลักการพิจารณาความเป็นไปได้ ของโครงการลงทุนของภาครัฐที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ถือปฏิบัติ ดังนั้น จึงสามารถนําแนวทางและหลักการวิเคราะห์โครงการของ สศช.มาใช้เป็นเกณฑ์พิจารณา แบบประเมินข้อเสนอโครงการของ วช. และ สกว. เพื่อเสนอแนะประเด็นที่สมควรพิจารณาปรับปรุงแบบ ประเมินฯ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
1) กรอบการประเมินข้อเสนอโครงการที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน วช. และ สกว. ได้กําหนด ไว้ 5 ประเด็นคือ (1) ประเมินวัตถุประสงค์ว่าชัดเจนหรือไม่ ทําได้หรือไม่ ส่วนไหนควรทํา ส่วนไหนไม่ควรทํา ทําแล้วจะบรรลุแผนงานหรือไม่ (2) ประเมินความครบถ้วนของการสํารวจเอกสาร เพื่อไม่ให้เสียเวลาทําซ้ํา และรู้ว่าสามารถทําต่อจากคนอื่นได้อย่างไร เพื่อให้คําตอบที่เร็ว ประหยัดค่าใช้จ่าย และแสดงให้เห็นว่า ผู้เสนอโครงการมีความเข้าใจเรื่องที่จะทําเพียงใด (3) ประเมินวิธีวิจัยโดยตรวจสอบวิธีการตลอดจนวัสดุ อุปกรณ์ว่าได้ผลสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และผลที่คาดว่าจะได้รับหรือไม่ ต้องทําทุกอย่างหรือไม่ มีทางเลือกอื่นหรือไม่ มีอุปสรรคอะไรบ้าง แผนการดําเนินงานและเวลาเหมาะสมกับวิธีการที่เสนอหรือไม่
(4) ประเมินผลผลิตว่า จะเชื่อมโยงถึงจุดที่จะนําไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร และ (5) ประเมินความเหมาะสม ด้านการเงินโดยพิจารณาว่าเนื้องาน และผลผลิตเหมาะสมกับงบประมาณที่เสนอขอหรือไม่ มีอะไรบ้าง ที่ไม่จําเป็นต้องทําโดยไม่กระทบต่อผลผลิตอย่างมีนัยสําคัญ
2) แบบการประเมินข้อเสนอโครงการเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน เมื่อพิจารณาสาระใน แบบประเมินที่บูรณาการแล้วระหว่าง วช. และ สกว. พบประเด็นสําคัญ ดังนี้
2.1) ประเด็นที่ยังขาดและสมควรเพิ่มเติมได้แก่ การประเมินความสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์การพัฒนายางพารา และยุทธศาสตร์วิจัยยางพารา ซึ่งจะเป็นข้อมูลสําหรับผู้บริหารใช้ ประกอบการพิจารณาว่าโครงการที่เสนอมีความจําเป็นเพียงใด การประเมินความเชื่อมโยงกับโครงการอื่น และประเมินการบริหารโครงการ ซึ่งเป็นประเด็นการพิจารณาว่าการดําเนินโครงการมีประสิทธิภาพเพียงใด
2.2) ประเด็นที่มีอยู่แล้วแต่ยังไม่ชัดเจนและอาจทําให้ผู้ประเมินมีความเข้าใจ แตกต่างกันได้แก่ การประเมินวัตถุประสงค์ ซึ่งนอกจากจะวิเคราะห์ถึงความชัดเจน และทําได้หรือไม่ ส่วน ไหนควรทํา ส่วนไหนไม่ควรทํา ทําแล้วจะบรรลุแผนงานที่ตั้งไว้หรือไม่ ควรเพิ่มการวิเคราะห์วัตถุประสงค์ ที่กําหนดว่ามีความสอดคล้องกับปัญหาเพียงใด ซึ่งจะช่วยให้มองเห็นความเชื่อมโยงของวัตถุประสงค์กับการ แก้ไขปัญหา นอกจากนั้น การใช้ถ้อยคําการประเมิน “เนื้องาน” ในวิธีดําเนินงาน อาจทําให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง เข้าใจว่าเป็นการวิเคราะห์รายละเอียดของกิจกรรม ซึ่งไม่สอดคล้องกับเป้าหมายที่ต้องการวิเคราะห์กิจกรรม ทั้งหมด ส่วนการประเมินด้านการเงินและการนําไปใช้ประโยชน์ในแบบประเมินที่มีอยู่เดิมนั้นเหมาะสมแล้ว
ตารางที่ 3.2 การเปรียบเทียบหลักเกณฑ์การประเมินข้อเสนอโครงการของ วช. และ สกว. กับเกณฑ์มาตรฐาน
เกณฑ์มาตรฐาน | แบบประเมินของ วช. และสกว. |
1. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนา ยางพาราและยุทธศาสตร์วิจัยยางพารา | 1. ประเมินความสาํ คัญของปัญหาว่าอยู่ในกรอบยุทธศาสตร์วิจัย ยางพาราหรือไม่ |
2. ความจําเป็นของโครงการ | 2. ไม่ได้ประเมินแต่ประเมินวัตถุประสงค์ว่าชัดเจนหรือไม่ ทําได้ หรือไม่ ส่วนไหนควรทํา ส่วนไหนไม่ควรทํา |
3. ความสมบูรณ์และความเชื่อมโยงกับ โครงการอื่น | 3. ไม่ได้ประเมิน |
4. ความเหมาะสมด้านวิธีดําเนนิ งาน | 4. ตรวจสอบวิธีการว่าจะได้ผลสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และผลที่ คาดว่าจะได้รับหรือไม่ ต้องทําทุกอย่างหรือไม่ มีทางเลือกอื่น หรือไม่ แผนงานและเวลาเหมาะสมกับวิธีการที่เสนอหรือไม่ มี อุปสรรคอะไร |
5. ความเหมาะสมด้านการเงิน | 5. ประเมินว่าเนื้องานและผลผลิตเหมาะสมกับงบประมาณที่เสนอ ขอหรือไม่ |
6. ความเหมาะสมด้านการบริหารโครงการ | 6. ไม่ได้ประเมิน |
7. การนําไปใช้ประโยชน์ | 7. ประเมินว่าผลผลิตจะเชื่อมโยงถึงจุดที่จะนําไปใช้ประโยชน์ได้ อย่างไร |
3.2.2 การประเมินข้อเสนอแผนการวิจัย
1) กรอบการประเมินแผนงานวิจัยที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน วช. และ สกว. กําหนดไว้ 5 ประเด็น ได้แก่ (1) การประเมินความสําคัญของปัญหาว่าอยู่ในกรอบยุทธศาสตร์การวิจัยยางหรือไม่ (2) การประเมิน
วัตถุประสงค์ว่าชัดเจนหรือไม่ ทําได้หรือไม่ ส่วนไหนควรทํา ส่วนไหนไม่ควร (3) การประเมินวิธีวิจัยโดย ตรวจสอบวิธีการว่าได้ผลสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และผลที่คาดว่าจะได้รับหรือไม่ ต้องทําทุกอย่างที่เสนอ หรือไม่ มีทางเลือกอื่นหรือไม่ มีอุปสรรคอะไร แผนงานและเวลาเหมาะสมกับวิธีการที่เสนอหรือไม่ (4) การ ประเมินผลผลิตจะเชื่อมโยงถึงจุดที่จะนําไปใช้ประโยชน์อย่างไร และ (5) การประเมินความเหมาะสมด้าน การเงิน โดยพิจารณาว่าเนื้องานและผลผลิตเหมาะสมกับงบประมาณที่เสนอขอหรือไม่ มีอะไรบ้างที่ไม่ จําเป็นต้องทําโดยไม่กระทบต่อผลผลิตอย่างมีนัยสําคัญ ซึ่งประเด็นการประเมินในส่วนที่ (2) ถึง (5) มีสาระสําคัญคล้ายกับการประเมินข้อเสนอโครงการ
2) แบบการประเมินข้อเสนอแผนการวิจัยเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน เมื่อพิจารณาสาระใน แบบประเมินที่บูรณาการแล้วระหว่าง วช. และ สกว. พบว่า กรอบการประเมินแผนงานวิจัยข้างต้นมี สาระสําคัญใกล้เคียงกับการประเมินข้อเสนอโครงการ ซึ่งไม่สอดคล้องกับประเด็นการประเมินแผนงานที่ต้อง ประเมินปัจจัยภายนอกและภายในที่มีผลกระทบต่อแผนงาน
3.2.3 การประเมินความก้าวหน้าของโครงการ วัตถุประสงค์ของการติดตามและประเมิน ความก้าวหน้าโครงการของ วช. และ สกว. เพื่อตรวจสอบว่า การดําเนินงานของโครงการเป็นไปตามแผนที่ เสนอไว้หรือไม่ รวมทั้ง ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างการดําเนินงาน สําหรับนําไปปรับปรุงการ ดําเนินงาน ส่วนการประเมินผลร่างรายงานฉบับสมบูรณ์มีวัตถุประสงค์เพื่อพิจารณาการบรรลุผลสําเร็จของ การดําเนินงาน ซึ่งสอดคล้องกับหลักวิชาการของการติดตามและประเมินผลที่สากลยึดถือ ดังนั้น จึงสามารถ นําหลักเกณฑ์การติดตาม ประเมินผลทางวิชาการมาใช้เป็นเกณฑ์พิจารณาปรับปรุงแบบประเมินผลของ วช. และ สกว. ให้ได้มาตรฐานยิ่งขึ้น และเมื่อพิจารณาแบบประเมินความก้าวหน้าโครงการของ วช. และ สกว. ในปัจจุบัน ที่ยังไม่ได้บูรณาการแบบเข้าด้วยกัน พบประเด็นสําคัญ ดังนี้
1) ประเด็นการประเมินที่ตรงกัน แบบประเมินความก้าวหน้าโครงการของ วช. และ สกว. มีสาระตรงกัน 4 ประเด็นคือ การประเมินผลงานเทียบกับแผน การประเมินความครบถ้วนของกิจกรรมและ การดําเนินงานตามระยะเวลาที่กําหนด ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ซึ่งสอดคล้องกับหลักวิชาการ ติดตามประเมินผลโดยแบบของ สกว. มีประเด็นมากกว่าของ วช.
2) ประเด็นการประเมินที่มีความซ ําซ้อนหรือมีสาระคล้ายกัน แบบประเมินของ สกว. ใน ส่วนของความก้าวหน้าของงานเมื่อเทียบกับแผนที่วางไว้ (ข้อ 2) มีสาระคล้ายกับในส่วนของความครบถ้วน ของสิ่งที่ทํา (ข้อ 4) ซึ่งควรอยู่ในข้อเดียวกัน ส่วนแบบของ วช. ในส่วนของผลการวิจัยเทียบกับแผนงาน และ งานที่ดําเนินการวิจัยไปแล้วว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ระเบียบวิธีวิจัย และแผนการดําเนินงานวิจัย หรือไม่ (ข้อ 2) มีสาระคล้ายกับในส่วนของความก้าวหน้าของโครงการ ที่ต้องการทราบว่าผู้วิจัยได้ดําเนินการวิจัย อะไรบ้าง ผลเป็นอย่างไร มีปัญหาและอุปสรรคหรือไม่ (ข้อ 3) ซึ่งควรอยู่ในข้อเดียวกัน
3) ประเด็นการประเมินอยู่ผิดขั นตอน แบบประเมินของ วช. ในส่วนของการประเมินผล งานเทียบกับวัตถุประสงค์ (ข้อ 1) และแบบของ สกว. ในส่วนของการประเมินการตัดสินคุณค่าของผลงาน โดยแบ่งเป็น 5 ระดับ คือ ดีมาก/ดี/ปานกลาง/พอใช้/ปรับปรุง (ข้อ 2 ถึงข้อ 5) เป็นประเด็นการประเมินผล ของร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ จึงไม่ควรอยู่ในขั้นตอนการติดตามความก้าวหน้า ในขณะที่การประเมิน ความก้าวหน้าของงานในข้ออื่นๆได้ให้คําตอบที่ชัดเจน และมีข้อมูลเชิงประจักษ์สนับสนุนที่เพียงพอแล้ว
4) ประเด็นที่ยังไม่ครอบคลุม ประกอบด้วย การประเมินความพร้อมของปัจจัย (กําลังคน/ งบประมาณ/สถานที่) ระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดของการดําเนินงานแต่ละกิจกรรม การประสานงาน ระหว่างการดําเนินงาน และการติดตามกํากับของผู้บริหารโครงการ
ตารางที่ 3.3 การเปรียบเทียบหลักเกณฑ์การประเมินความก้าวหน้าของโครงการตามแบบฟอร์มของ วช. และ สกว. กับเกณฑ์มาตรฐาน
เกณฑ์ | ประเด็นของ วช. | ประเด็นของ สกว. |
1. ความพร้อมของปัจจัย (กําลังคน/งบประมาณ/ สถานที่) | 1. ไม่ได้ประเมิน | 1. ไม่ได้ประเมิน |
2. การดําเนินงานตามแผน | 2. ผลการวิจัย (เทียบกับแผนงาน และงานว่าเป็นไปตามวัตถุ ประสงค์ ระเบียบวิธีวิจัยหรือไม่) | 2. ความก้าวหน้า (เทียบกับแผนที่วาง ไว้) และตัดสินว่าผลงานอยู่ระดับใด คือ ดีมาก/ดี/ปานกลาง/พอใช้/ ปรับปรุง |
3. ระยะเวลาดําเนินงานแต่ ละกิจกรรม | 3. ความก้าวหน้า (ดําเนินการวิจัย อะไรบ้าง ผลเป็นอย่างไร) | 3. เนื้อหาและคุณภาพทางวิชาการ และการนําเสนอ และตัดสินว่าผลงาน อยู่ระดับใดคือ ดีมาก/ดี/ปานกลาง/ พอใช้/ปรับปรุง |
4. การประสานงานระหว่าง ดําเนินงาน | 4. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมของ ผู้ทรงคุณวุฒิ | 4. ความครบถ้วนของงานตามแผน และตัดสินว่าผลงานอยู่ระดับใดคือ ดี มาก/ดี/ปานกลาง/พอใช้/ปรับปรุง |
5. การติดตามกํากับของ ผู้บริหาร | 5. สรุปความเห็น (ควรให้ทําต่อ หรือไม่) | 5. การสร้างผลงานและตัดสินว่า ผลงานอยู่ระดับใดคือ ดีมาก/ดี/ปาน กลาง/พอใช้/ปรับปรุง |
6. ปัญหาและอุปสรรค | 6. ปัญหาและอุปสรรค | 6. ข้อพึงระวังที่ต้องเอาใจใส่ |
3.2.4 การประเมินร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ของโครงการ เมื่อพิจารณาแบบประเมินร่าง รายงานฉบับสมบูรณ์ของ วช. และสกว. ที่ยังไม่ได้บูรณาการแบบประเมินเข้าด้วยกัน พบประเด็นสําคัญ ดังนี้
1) ประเด็นการประเมินที่ตรงกันประเด็นการประเมินของ วช. และ สกว. มีสาระตรงกับ หลักเกณฑ์การประเมินผลรวม 4 ประเด็นได้แก่ (1) การประเมินการบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย
(2) การประเมินความครบถ้วนของผลผลิต (3) ประเด็นที่ควรวิจัยเพิ่มเติม และ (4) การนําไปใช้ประโยชน์
2) ประเด็นที่อยู่ผิดขั นตอน แบบประเมินของ วช. มี 2 ประเด็นที่ไม่ควรอยู่ในการ ประเมินร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ ได้แก่ (1) การประเมินว่าการวิจัยเกี่ยวกับอะไร เพราะเป็นประเด็นใน ขั้นตอนการประเมินข้อเสนอโครงการ และ (2) การประเมินว่าได้ทําตามข้อเสนอโครงการวิจัยหรือไม่ เนื่องจากเป็นประเด็นการประเมินความก้าวหน้าของโครงการ
3) ประเด็นที่ยังไม่ครอบคลุม คือ การประเมินการบรรลุเบื้องต้นที่ใช้วัดประสิทธิภาพ เช่น เวลาที่เสร็จ งบประมาณที่ใช้ และปริมาณงานที่เสร็จ เป็นต้น
ตารางที่ 3.4 การเปรียบเทียบหลักเกณฑ์การประเมินร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ตามแบบฟอร์มของ วช. และ สกว. กับเกณฑ์มาตรฐาน
เกณฑ์ | ประเด็นของ วช. | ประเด็นของ สกว. |
1. การบรรลุผลตาม วัตถุประสงค์ | 1. การวิจัยเกี่ยวกับอะไร | 1. ผลงานมีความท้าทาย/ยาก/ง่าย นักวิจัยใช้ความอุตสาหะเพียงไร |
2. เวลาที่ดําเนินการเสร็จ สิ้น | 2. ทําตามข้อเสนอโครงการวิจัยหรือไม่ | 2. ผลงานเทียบกับวัตถุประสงค์และ ผลผลตมีความครบถ้วนหรือไม่ |
3. งบประมาณที่ใช้ | 3. บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ วิจัย หรือไม่ | 3. คุณภาพรายงาน เช่น เนื้อหา ครบถ้วน รูปแบบ ความมีเหตุผลของ การวิเคราะห์ ความแม่นยํา ถูกต้องของ ข้อมูล |
4. ปริมาณงานที่ดําเนินการ เสร็จสิ้น | 4. ค้นพบสิ่งใหม่ๆ ทางวิชาการหรือไม่ | 4. ความสมบูรณ์ของรายงาน |
5. การบรรลุผลที่ไม่ได้ คาดหวัง | 5. สรุปความเห็นต่อผลการวิจัย 5.1 ประโยชนที่ได้จากผลวิจัย 5.2 หน่วยงานที่ควรนาํ ผลวิจัยไปใช้ 5.3 เรื่องที่ควรทําวิจัยต่อ 5.4 การเผยแพร่รายงานการวิจัย | 5. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม เช่น ประเด็นที่ ควรวิจัยเพิ่ม การนําไปใช้ประโยชน์ |
6. ความเห็นโดยสรุป รายงานอยู่ในระดับใด ดี มาก/ดี/พอใช้/ไม่ดี |
3.3 ข้อเสนอแนะการปรับปรุงและบูรณาการแบบประเมินของ วช.และ สกว.
ประเด็นการประเมินโครงการที่ วช. และ สกว. กําหนดไว้ในแบบประเมินทั้ง 4 แบบยังมี ประเด็นที่ควรปรับปรุง ประกอบด้วย (1) ประเด็นที่ควรเพิ่มเติมให้ครบถ้วนตามหลักวิชาการติดตาม และ ประเมินผลโดยรักษาประเด็นที่มีอยู่เดิมและเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจของผู้บริหารไว้ (2) การปรับปรุง ถ้อยคําต่างๆให้มีความชัดเจน เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจตรงกัน และ (3) ประเด็นที่สมควรตัดออก ดังนี้
3.3.1 การประเมินข้อเสนอโครงการ
1) ประเด็นการประเมินที่ควรเพิ่มเติมหรือปรับปรุงให้ชัดเจน ประกอบด้วย การประเมิน ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนายางพารา และยุทธศาสตร์วิจัยยางพารา การประเมินความจําเป็น
ของโครงการ การปรับปรุงประเด็นการประเมินวัตถุประสงค์โดยขยายการวิเคราะห์ถึงความสอดคล้อง ระหว่างวัตถุประสงค์กับความจําเป็นของโครงการการประเมินความสมบูรณ์และความเชื่อมโยงกับโครงการ อื่นและการประเมินความเหมาะสมด้านการบริหารโครงการ
2) ประเด็นอื่นๆ ในแบบของ วช. และ สกว. ที่ควรคงไว้ ได้แก่ ความครบถ้วนของการ สํารวจเอกสาร การประเมินความเหมาะสมด้านวิธีวิจัยว่าเหมาะสมและช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ การประเมินความเหมาะสมด้านการเงินว่ากิจกรรมและผลผลิตเหมาะสมกับงบประมาณที่เสนอขอหรือไม่ การประเมินการนําไปใช้ประโยชน์ของผลงานวิจัยได้เพียงใด สรุปการประเมินข้อเสนอโครงการ (สนับสนุน/ ไม่สนับสนุน) ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะอื่นๆ
( รายละเอียดตามร่างแบบประเมิน 1 ในภาคผนวก 2)
3.3.2 การประเมินแผนงานวิจัย วช. และ สกว. ควรใช้แบบประเมินข้อเสนอโครงการที่ ปรับปรุงใหม่ตามข้อ 3.3.1 ซึ่งจะทําให้ได้ข้อมูลที่เพียงพอต่อการตัดสินใจของผู้บริหาร และสามารถรองรับ ข้อเสนอโครงการที่มีหลายกิจกรรมได้โดยไม่จําเป็นต้องใช้แบบประเมินแผนงานวิจัยเพิ่ มขึ้นอีกแบบหนึ่ง เนื่องจาก
1) การประเมินผลแผนงานไม่เหมาะสมต่อการนํามาใช้ประเมินแผนงานวิจัย เพราะ ประเด็นการประเมินผลแผนงานจะมีขอบเขตกว้างขวางครอบคลุมถึงการปรับปรุงโครงสร้าง และการบริหาร องค์กรโดยรวม จึงไม่เหมาะต่อการนํามาประเมินแผนงานวิจัยที่มีขอบเขตการประเมินแคบกว่า โดยการ ประเมินข้อเสนอโครงการก็สามารถให้ข้อมูลที่ผู้บริหารต้องการได้อย่างชัดเจน และครบถ้วน
2) การวัดผลสําเร็จของแผนงานนิยมวัดความสําเร็จที่ระดับผลผลิตภายใต้แผนงาน โดยไม่มีตัวชี วัดความสําเร็จของแผนงาน ดังเห็นได้จากการจัดทําแผนงาน และการวัดผลสําเร็จของ แผนงานในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจําปีของสํานักงบประมาณ ซึ่งพบว่า งบประมาณของ วช. และ สกว. จะอยู่ภายใต้แผนงานส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย โดย วช. มีผลผลิตที่ต้องบรรลุ คือ การจัดทํา นโยบาย และยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ และการพัฒนาระบบการวิจัยของประเทศ โดยมีตัวชี้วัดได้แก่ สัดส่วนผลงานวิจัยที่ถูกนําไปใช้ประโยชน์ ส่วน สกว. มีผลผลิตที่ต้องบรรลุ 2 ผลผลิต คือ (1) การสนับสนุน การวิจัย วัดผลด้วยจํานวนทุนวิจัย และจํานวนผลงานวิจัยที่ถูกนําไปใช้ประโยชน์ และ (2) การสร้าง ผลงานวิจัยและนักวิจัยที่มีคุณภาพ วัดผลด้วย จํานวนทุนใหม่ และจํานวนผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการระดับสากล เป็นต้น
3) การมีแบบประเมินหลายชุดที่มีประเด็นคล้ายกันนอกจากจะสร้างความยุ่งยากต่อการ สรุปผลแล้ว ยังอาจสร้างความสับสนให้แก่เจ้าหน้าที่และทําให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพน้อยกว่าที่ควร
4) การเปลี่ยนโครงการย่อยเป็นกิจกรรม ทําให้การวิเคราะห์ความเชื่อมโยงทําได้ง่ายกว่า การประเมินโครงการที่มีวัตถุประสงค์หลากหลาย และช่วยให้การประเมินโครงการมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
3.3.3 การประเมินความก้าวหน้าโครงการ
1) ประเด็นการประเมินที่ควรเพิ่มเติมหรือปรับปรุงให้ชัดเจน
1.1) ความก้าวหน้าเทียบกับข้อเสนอโครงการที่ได้รับการอนุมัติโดยเพิ่มประเด็น การประเมินที่สามารถใช้วิเคราะห์ประสิทธิภาพการดําเนินโครงการได้แก่ การประเมินด้านกําลังคน
ว่ามีจํานวนและคุณวุฒิเป็นไปตามแผนหรือไม่ การประเมินว่างบประมาณได้รับตามแผนหรือไม่และสถานที่ วิจัยพร้อมหรือไม่เพียงใด
1.2) ขยายความการประเมินระยะเวลาการดําเนินงานให้ชัดเจนโดยเพิ่มการพิจารณา ว่าแต่ละกิจกรรมได้เริ่มต้นและสิ้นสุดเป็นไปตามแผนหรือไม่
1.3) ขยายความประเด็นให้ชัดเจนในส่วนการประเมินเนื้อหาและคุณภาพทางวิชาการ และการนําเสนอโดยขยายการประเมินว่าสาระการนําเสนอมีความถูกต้องตามหลักวิชาการ ชัดเจนและ กระชับหรือไม่ และแก้ไขคําว่า “เนื้อหา” เป็น “กิจกรรม” เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจตรงกัน
1.4) กระบวนการประสานงานระหว่างผู้รับทุนกับ สกว.ในระหว่างการดําเนินงาน
1.5) การติดตามกํากับของผู้บริหารโครงการอย่างสม่ําเสมอ
1.6) การประเมินวิธีแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่ผู้วิจัยดําเนินการ
2) ประเด็นอื่นๆ ในแบบของ วช. และ สกว. ที่ควรคงไว้ ได้แก่
2.1) การประเมินว่าผู้วิจัยได้ดําเนินงานอะไรบ้าง ครบถ้วนตามแผนหรือไม่ และ
ผลเป็นอย่างไร
2.2) ความเห็นโดยรวมของความก้าวหน้าและข้อเสนอแนะปรับปรุง หรือระวังเพื่อให้
การทํางานมีประสิทธิภาพและได้ผลผลิตตามแผนที่วางไว้
2.3) ข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิต่อ สกว. (รายละเอียดตามร่างแบบประเมิน 2 ในภาคผนวก 2)
3.3.4 การประเมินร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ ประเด็นการประเมินที่ควรเพิ่มเติมหรือปรับปรุงให้ ชัดเจน ประกอบด้วย (1) การประเมินเวลาที่ใช้ทําการวิจัยจริง (2) การประเมินงบประมาณที่ใช้จริง (3)
การประเมินความครบถ้วนของผลผลิต และการวิเคราะห์ปริมาณงานที่ดําเนินการเสร็จสิ้น และ (4) การ ประเมินการค้นพบสิ่งใหม่ๆ ทางวิชาการ หรือการบรรลุผลที่ไม่ได้คาดหวัง
บทที่ 4 การติดตามความก้าวหน้าและการสังเคราะห์
ผลการดําเนินงานของโครงการวิจัยด้านยางพาราปีงบประมาณ 2555
1. การติดตามความก้าวหน้าผลการดําเนินงานโครงการวิจัยด้านยางพารา
การติดตามความก้าวหน้าผลการดําเนินโครงการวิจัยด้านยางพาราปีงบประมาณ 2555 ดําเนินการ ขึ้นเพื่อรับทราบผลการดําเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อความสําเร็จของโครงการ และหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน โดยดําเนินการใน 3 ส่วนคือ
ส่วนที่ 1 ประมวลจากความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เข้าร่วมประชุมจากการจัดประชุมร่วมกับ นักวิจัย ผู้ทรงคุณวุฒิ และ สกว. ในรอบ 4 เดือน และ8 เดือนของระยะเวลาโครงการเมื่อวันที่ 11 มกราคม 2556 และวันที่ 24-25 มกราคม 2556
ส่วนที่ 2 การเดินทางไปติดตามความก้าวหน้าของโครงการจํานวน 3 แผนงาน/โครงการคือ (1) แผน งานการศึกษาสมดุลคาร์บอนและน้ํา เพื่อใช้เป็นข้อมูลจัดทําคาร์บอนฟุตพริ้นท์และวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของสวน ยางพาราเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 ณ.สวนยางพาราทดลองในเขตพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา (2) แผนงาน การวิจัยเพื่อผลิตยางคุณภาพพิเศษ เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2556 ณ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ (3) โครงการการประเมินศักยภาพการเพิ่มอัตราการผลิตก๊าซชีวภาพด้วยการ หมักร่วมและอัตราการทดแทนเชื้อเพลิงไม้ฟืนของสหกรณ์ผลิตยางแผ่นรมควันเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2556 ณ. สหกรณ์สํานักงานกองทุนสงเคราะห์การทําสวนยาง (สกย.) จังหวัดสงขลา
ส่วนที่ 3 การเข้าร่วมประชุมระดมสมองกับผู้วิจัยและผู้ที่เกี่ยวข้องในแต่ละโครงการ โดยสรุปสาระสําคัญได้ดังนี้
1.1 จํานวนแผนงานวิจัยและโครงการที่ติดตามความก้าวหน้า
โครงการวิจัยยางพาราขนาดใหญ่ที่ สกว. ให้การสนับสนุนงบวิจัยในปี พ.ศ. 2555 มีทั้งสิ้น 44 โครงการประกอบด้วยโครงการเดี่ยวจํานวน 10 โครงการและโครงการย่อยที่อยู่ภายใต้แผนงานวิจัยต่างๆ
จํานวน 12 แผนงานอีก 34 โครงการ โดยโครงการดังกล่าวเป็นโครงการที่รายงานความก้าวหน้ารอบ 4 เดือน
จํานวน 29 โครงการ และรายงานความก้าวหน้ารอบ 8 เดือนจํานวน 15 โครงการ เมื่อจําแนกโครงการวิจัย
ยางพาราปี พ.ศ. 2555 ออกตามกลยุทธ์ของยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555 -2559 พบว่า
กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิมและใหม่ที่มีศักยภาพมีจํานวนโครงการมากที่สุดถึง 18 โครงการคิดเป็น
ร้อยละ 40.9 ของจํานวนโครงการทั้งหมด รองลงมาเป็นกลยุทธ์ที่ 1 การผลักดันนโยบายที่จําเป็นจํานวน
13 โครงการคิดเป็นร้อยละ 29.5ของจํานวนโครงการทั้งหมดกลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต ให้มีประสิทธิภาพ ร้อยละ 18.2 และกลยุทธ์ที่ 3 การสนับสนุนการส่งออก ร้อยละ 11.4 ตามลําดับ (ตารางที่ 4.1)
ตารางที่ 4.1 จํานวนแผนงาน/โครงการวิจัยด้านยางพาราที่ สกว. สนับสนุนปี 2555
กลุ่มโครงการ 4 เดือน | กลุ่มโครงการ 8 เดือน | จํานวน โครงการ ทั้งหมด | |||||||
กลยุทธ์ | แผนงาน | จํานวน โครงการ เดี่ยว | รวม จํานวน โครงการ | แผนงานวิจัย | จํานวน โครงการ เดี่ยว | รวม จํานวน โครงการ | |||
จํานวน แผน | จํานวน โครงการ | จํานวน แผน | จํานวน โครงการ | ||||||
1 การผลักดัน นโยบายที่ จําเป็น | 0 | 0 | 7 | 7 | 3 | 6 | 0 | 6 | 13 |
2 การพัฒนา ผลิตภัณฑ์เดิม และใหม่ที่มี ศักยภาพ | 4 | 11 | 0 | 11 | 2 | 7 | 0 | 7 | 18 |
3 การ สนับสนุนการ ส่งออก | 1 | 4 | 0 | 4 | 0 | 0 | 1 | 1 | 5 |
4 การพัฒนา เทคโนโลยีการ ผลิตให้มี ประสิทธิภาพ | 2 | 6 | 1 | 7 | 0 | 0 | 1 | 1 | 8 |
รวม | 7 | 21 | 8 | 29 | 5 | 13 | 2 | 15 | 44 |
1.2 ผลการดําเนินงานเมื่อเทียบกับแผนปฏิบัติงานที่กําหนดไว้ในข้อเสนอโครงการ การดําเนิน โครงการของทั้ง 44 โครงการสามารถดําเนินงานเป็นไปตามตารางเวลาที่กําหนดไว้ในข้อเสนอโครงการจํานวน 24 โครงการ หรือคิดเป็นร้อยละ 54.5 ของทั้งหมด ส่วนที่เหลืออีก 20 โครงการ หรือร้อยละ 45.5 ล่าช้ากว่า ข้อเสนอโครงการ โดยการดําเนินงานของกลุ่มโครงการที่ดําเนินการมาแล้ว 4 เดือนส่วนใหญ่จะเป็นไปตาม ข้อเสนอโครงการ ในขณะที่ กลุ่มโครงการที่ดําเนินการมาแล้ว 8 เดือนจะล่าช้ากว่าข้อเสนอโครงการ ค่อนข้างมาก (ตารางที่ 4.2)
1.2.1 การดําเนินโครงการกลุ่ม 4 เดือนส่วนใหญ่ (ร้อยละ 69) เป็นไปตามข้อเสนอเนื่องจาก อยู่ในขั้นตอนการทบทวนเอกสารรายงานที่เกี่ยวข้องและเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้วิจัย โครงการในกลุ่ม 4 เดือนจํานวนรวม 29 โครงการสามารถดําเนินงานได้ตามข้อเสนอโครงการจํานวน 20 โครงการ คิดเป็นร้อยละ
69 ของจํานวนโครงการทั้งหมด โดยโครงการที่ดําเนินการล่าช้ากว่าแผนส่วนใหญ่เป็นโครงการในกลยุทธ์การ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้มีประสิทธิภาพ รองลงมาคือ กลยุทธ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิมและใหม่ และ กลยุทธ์การผลักดันนโยบายที่จําเป็น โดยมีเพียงโครงการภายใต้กลยุทธ์การสนับสนุนการส่งออกที่สามารถ ดําเนินการได้ตามแผนทุกโครงการ สาเหตุหลักของความล่าช้าคือ (1) การจัดหาวัสดุสําหรับใช้ทดสอบมีความ ล่าช้าและรอวัตถุดิบที่ต้องสั่งซื้อจากต่างประเทศ (2) นักวิจัยไม่สามารถนัดหมายผู้ประกอบการเพื่อนัด สัมภาษณ์ รวมทั้งเพื่อเก็บข้อมูลสภาวะการทํางานในโรงงานสําหรับใช้ออกแบบพัฒนาอุปกรณ์ทดลองต้นแบบ
(3) เพิ่มขั้นตอนการทดสอบซ้ํา และ (4) ใช้เวลากับการจัดทําหนังสือขอข้อมูลที่ทันสมัย แต่ยังไม่ได้เผยแพร่ อย่างเป็นทางการจากหน่วยงานภาครัฐ
1.2.2 การดําเนินโครงการกลุ่ม 8 เดือนส่วนใหญ่ (ร้อยละ 73.3) ล่าช้ากว่าข้อเสนอโครงการ โครงการในกลุ่มนี้มีทั้งหมด 15 โครงการ ดําเนินงานได้ตามแผนที่วางไว้ 4 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 26.7 ของ จํานวนโครงการทั้งหมด ที่เหลือโดยเฉพาะกลุ่มโครงการในกลยุทธ์การผลักดันนโยบายที่จําเป็นไม่สามารถ ดําเนินการได้ตามแผนทุกโครงการเนื่องจาก ต้องใช้เวลาสําหรับรวบรวมข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์แบบจําลอง ปัญหาเกี่ยวกับการติดตั้งเครื่องมือสําหรับเก็บข้อมูลภาคสนาม และการจัดหาพื้นที่ทดลองตามวัตถุประสงค์ ของโครงการเป็นไปอย่างล่าช้า รวมทั้งการสร้างอุปกรณ์เพื่อใช้ในการทดสอบเพิ่มเติม
ตารางที่ 4.2 สรุปความก้าวหน้าผลการดําเนินโครงการวิจัยจําแนกตามกลยุทธ์ของยุทธศาสตร์วิจัย
ยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559
กลยุทธ์ | กลุ่มโครงการ 4 เดือน | กลุ่มโครงการ 8 เดือน | รวม | ||||||
เป็นไป ตามแผน | ช้ากว่า แผน | รวม | เป็นไป ตามแผน | ช้ากว่า แผน | รวม | เป็นไป ตามแผน | ช้ากว่า แผน | รวม |
1 การผลักดันนโยบายที่จําเป็น 5 | 2 | 7 | 0 | 6 | 6 | 5 | 8 | 13 |
2 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เดมิ และ 7 | 4 | 11 | 4 | 3 | 7 | 11 | 7 | 18 |
ใหม่ที่มีศักยภาพ | ||||||||
3 การสนับสนุนการส่งออก 4 | 0 | 4 | 0 | 1 | 1 | 4 | 1 | 5 |
4 การพัฒนาเทคโนโลยีการผลตให | ||||||||
มีประสิทธิภาพ 4 | 3 | 7 | 0 | 1 | 1 | 4 | 4 | 8 |
รวม 20 | 9 | 29 | 4 | 11 | 15 | 24 | 20 | 44 |
29
˚าน น & า&
& า&& 4 น ' า า น า น า น
& า&& 4 น
20
11
7
5 7 5 6
5
3
1
& 71
2 3
& 63 & 100
4
& 50
&
& 69
แผนภาพที่ 2 แสดงผลความก้าวหน้าเทียบกับแผนของโครงการรอบ 4 เดือน จําแนกตามกลยุทธ์
˚าน น & า&
& า&& 8 น ' า า น า น า น 15
& า&& 8 น
8
6
0
1
4
0 1 4
0
0
2
& 0
3
& 50 -
4
& 0
&
& 26
แผนภาพที่ 3 แสดงผลความก้าวหน้าเทียบกับแผนของโครงการรอบ 8 เดือนจําแนกตามกลยุทธ์
1.3 ปัญหาอุปสรรคที่มีผลต่อความสําเร็จหรือล้มเหลวของการดําเนินงานโครงการ
จากการประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าการดําเนินโครงการในรอบ 4 เดือนและ 8 เดือน รวมทั้ง การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักวิจัย ผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานภาครัฐ ผู้ประกอบการ ผู้บริหาร สกว. และผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับปัญหา อุปสรรคที่มีผลต่อความสําเร็จหรือล้มเหลวของการ ดําเนินโครงการวิจัย ดังนี้
1.3.1 การดําเนินโครงการวิจัยขาดความเหมาะสมทางวิชาการ ใน 3 ประเด็นหลัก ดังนี้
1) การศึกษาข้อมูล และทบทวนงานที่เกี่ยวข้องไม่เพียงพอ มีจํานวน 6 โครงการ คิดเป็น ร้อยละ 14 ของโครงการทั้งหมดที่ผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่า นักวิจัยควรทบทวนเอกสารเพิ่มเติมในส่วนที่เกี่ยวข้องทั้ง ในเชิงทฤษฎีและผลการวิจัยที่เกี่ยวเนื่อง เช่น โครงการศึกษาโยบายและมาตรการรักษาเสถียรภาพราคา ยางพาราของประเทศไทยด้วยกองทุนรักษาเสถียรภาพราคาและแนวทางที่เหมาะสมในการจัดตั้ง โครงการการ จัดทําคาร์บอนเครดิตและคาร์บอนฟุตพริ้นท์จากการดําเนินการปลูกสร้างสวนยางพาราตามนโยบายส่งเสริม การปลูกสร้างสวนยางพาราระยะที่ 3 แปดแสนไร่ และโครงการการตรวจหาสารที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียใน ซีรัมของน้ํายางพารา เป็นต้น
2) การวางแผน และกําหนดกระบวนการศึกษาวิจัยไม่เหมาะสม ในประเด็นต่างๆ ได้แก่
2.1) การอ้างอิงข้อมูล การเลือกใช้วิธีการหรือเทคนิคที่ไม่เหมาะสม มีจํานวน 18 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 41.9 ของโครงการทั้งหมด เช่น
2.1.1) โครงการแนวทางการสนับสนุนด้านการลงทุนระหว่างประเทศของ อุตสาหกรรมยางพาราไทย ที่ไม่มีการกําหนดข้อสมมติฐานการวิจัยและกําหนดวิธีการศึกษาที่ครอบคลุมเฉพาะ นโยบายส่งเสริมการลงทุนที่ผ่านสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนเพียงมิติเดียว ทําให้ข้อเสนอ แนวทางการกําหนดนโยบายสนับสนุนด้านการลงทุนระหว่างประเทศไม่ครบถ้วน สมบูรณ์ รวมทั้งการใช้ข้อมูล ผลิตภัณฑ์ได้รวมยางและพลาสติกแทนที่จะป็นผลิตภัณฑ์ยางที่เป็นขอบเขตหลักของงานวิจัยเท่านั้น
2.1.2) โครงการการศึกษาแนวทางและมาตรการเพื่อกระตุ้นอุปสงค์ยางพารา ภายในประเทศ มีการกําหนดตัวแปรในสมการวิเคราะห์อุปสงค์ยางพาราที่มีเฉพาะตัวแปรที่แสดงให้เห็นการ เปลี่ยนแปลง (Demand Change) แต่ขาดตัวแปรที่แสดงการยกระดับอุปสงค์ (Demand Shift)
2.1.3) โครงการการตรวจหาสารที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียในซีรัมของน้ํายางพารา มีปัญหาตรวจหาสารสกัดที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียไม่พบเพราะนักวิจัยไม่ได้ปรับปรุงวิธีวิจัยตาม ข้อแนะนํา ของผู้ทรงคุณวุฒิ
2.1.4) โครงการการเตรียมแผ่นแปะผิวหนังลิโคเคนจากน้ํายางธรรมชาติโปรตีนต่ํา ผสมแป้งชนิดต่างๆ ที่ควรหาวิธีการเทแป้งผสมในน้ํายางที่ทําให้แป้งไม่ตกตะกอน
2.1.5) โครงการการใช้หางน้ํายางเพื่อผลิตเอนไซม์ย่อยสลายพอลิแลกไทด์จากเชื้อ แอคติโนมัยสีท โดยใช้กระบวนการหมักแบบเปิดควรทดลองในหางน้ํายางที่ยังไม่เติมกรด และปรับวิธีการ
ทดลองโดยจัดเตรียมสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย แทนการหาวิธีปรับตัว เชื้อให้เข้ากับสภาพแวดล้อมซึ่งจะช่วยประหยัดเวลาในการวิจัยเป็นต้น
2.2) การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือที่ไม่เหมาะสม มีจํานวน 8 โครงการ คิดเป็น ร้อยละ 18.6 ของโครงการทั้งหมดที่นักวิจัยเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือไม่เหมาะสม เช่น
2.2.1) โครงการการตรวจหาสารที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียในซีรัมของน้ํายางพารา นักวิจัยใช้ทั้ง Methanol และ Ethanol ในกระบวนการสกัด ซึ่งผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นว่าจะให้ผลการวิจัย ที่ไม่ต่างกันทําให้เสียเวลา
2.2.2) โครงการการเตรียมระบบซูโดลาเท็กซ์จากยางแท่ง (STR5L) เพื่อใช้เป็น ระบบนําส่งยา นักวิจัยเลือกใช้สารเคมีในผลิตภัณฑ์ยางที่ทําให้ผู้บริโภคแพ้ได้ง่าย ซึ่งจะเป็นปัญหาต่อการ นําไปใช้ผลิตจําหน่าย และควรใช้สารเคมีที่ผลิตจากธรรมชาติแทนสารเคมีที่ผลิตจากอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
2.2.3) โครงการการเตรียมแผ่นแปะผิวหนังลิโคเคนจากน้ํายางธรรมชาติโปรตีนต่ํา ผสมแป้งชนิดต่างๆ ผู้ทรงคุณวุฒิแนะนําให้นักวิจัยเปลี่ยนตัวยาที่มีการใช้มากในท้องตลาด เช่น ยาแก้ปวด เพื่อให้การผลิตสําหรับจําหน่ายมีความคุ้มทุนแทนการเลือกใช้ยาชาตามที่นักวิจัยใช้อยู่ในโครงการ เป็นต้น
3) การดําเนินกระบวนการวิจัยไม่เหมาะสมหรือไม่จําเป็น มีจํานวน 4 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 9.3 ของทั้งหมดที่มีลําดับขั้นตอนการทํางานที่ไม่เหมาะสม เช่น โครงการการตรวจหาสารที่มี ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียในซีรัมของน้ํายางพารา มีขั้นตอนการสกัดสารบางขั้นตอนที่นักวิจัยใช้น้ําสกัดซ้ํากันถึง สองครั้ง ในขณะที่ขั้นตอนอื่นใช้วิธีสกัดหลายรูปแบบ เป็นต้น และมี 2 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 4.7 ของ ทั้งหมดที่มีขั้นตอนที่ไม่จําเป็น เช่น โครงการการเตรียมระบบซูโดลาเท็กซ์จากยางแท่ง (STR5L) เพื่อใช้เป็น ระบบนําส่งยาที่นักวิจัยใช้เวลาเตรียมสารเคมีเพื่อวิจัยขึ้นเอง ในขณะที่สามารถซื้อได้จากท้องตลาดทั่วไป
ตารางที่ 4.3 สรุปประเด็นปัญหาการวิจัยเกี่ยวกับความไม่เหมาะสมทางวิชาการ
การศึกษา ข้อมูลและ ทบทวนงานที่ เกี่ยวข้อง ไม่เพียงพอ | การวางแผนและกําหนด กระบวนการศึกษาวิจัย | การดําเนินกระบวนวิจัย | |||
กลยุทธ์ | |||||
วิธีการหรือ เทคนิคไม่ เหมาะสม | วัสดุ อุปกรณ์ ไม่ เหมาะสม | ขั้นตอนการ ทํางานไม่ เหมาะสม | มีขั้นตอน ที่ไม่จําเป็น | ||
1 การผลักดันนโยบายที่ จําเป็น | 4 | 6 | 2 | 0 | 0 |
2 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิม และใหม่ที่มีศักยภาพ | 2 | 10 | 5 | 3 | 2 |
3 การสนับสนุนการส่งออก | 0 | 1 | 0 | 0 | 0 |
4 การพัฒนาเทคโนโลยีการ ผลิตให้มีประสิทธิภาพ | 0 | 1 | 1 | 1 | 0 |
รวม | 6 | 18 | 8 | 4 | 2 |
า˚ น า& า˚ าน
' า
น น
' ' ˚า น
า& า
'
5%
11%
16%
21%
า&
47%
& ' า
า&
า&
' า
แผนภาพที่ 4 แสดงการจําแนกโครงการวิจัยที่พบว่ามีประเด็นปัญหาเกี่ยวกับความไม่เหมาะสมทางวิชาการ
1.3.2 ผลการศึกษายังไม่น่าเชื่อถือหรือยังไม่ชัดเจนเพียงพอ โดยสรุปใน 2 ประเด็น คือ
1) วิธีนําเสนอไม่ชัดเจน มีจํานวน 14 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 32.5 ของโครงการทั้งหมดที่ นักวิจัยไม่ได้อธิบายคํานิยามเช่น
1.1) โครงการการวิเคราะห์ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมยางพาราของไทยจากเป้าหมาย การเป็นศูนย์กลางยางพาราโลกของมาเลเซีย และข้อตกลงภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน นักวิจัยไม่ได้ให้ ความหมายของการเป็นศูนย์กลางยางพาราโลกของมาเลเซียให้ชัดเจน
1.2) โครงการแนวทางการสนับสนุนด้านการลงทุนระหว่างประเทศของอุตสาหกรรม ยางพาราไทย ขาดความชัดเจนในการนําเสนอการศึกษาระหว่างการลงทุนจากต่างประเทศในไทยและการ ลงทุนในต่างประเทศ รวมทั้งประเภทการลงทุนที่แยกวัตถุประสงค์ระหว่างการลงทุนเพื่อออกไปหาวัตถุดิบและ เพื่อแสวงหาตลาด
1.3) โครงการการตรวจหาสารที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียในซีรัมของน้ํายางพารา นักวิจัย ไม่ได้อธิบายผลการวิจัยหรือเหตุผลของการเลือกใช้สารเคมีต่างๆ ให้ผู้อ่านเข้าใจได้อย่างชัดเจนหรืออธิบายสั้น เกินไปเป็นต้น
2) ขาดความน่าเชื่อถือ ถูกต้อง แม่นยํา มีจํานวน 13 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 30.3 ของ โครงการทั้งหมดที่ผลการวิจัยยังไม่น่าเชื่อถือ หรือข้อมูลที่นํามาใช้วิเคราะห์ไม่น่าเชื่อถือ เช่น
2.1) โครงการพัฒนายุทธศาสตร์สําหรับการปลูกยางพาราของประเทศไทยด้วย ประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ ที่จํานวนตัวอย่างในพื้นที่น้อยเกินไปจึงไม่สามารถเป็นตัวแทนของประชากร ได้และข้อมูลที่ใช้อ้างอิงล้าสมัย
2.2) โครงการการวิเคราะห์นโยบายที่เหมาะสมเพื่อการจัดการยางรถยนต์ใช้แล้วของ ประเทศไทย นักวิจัยประมาณการปริมาณยางล้อใช้แล้วให้มีจํานวนเท่ากับยางล้อที่ผลิตในแต่ละปี ซึ่ง ผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่าข้อมูลยังขาดความน่าเชื่อถือ
2.3) โครงการแนวทางการสนับสนุนด้านการลงทุนระหว่างประเทศของอุตสาหกรรม ยางพาราไทย มีกระบวนการเก็บข้อมูลทั้งที่เป็นข้อมูลทุติยภูมิ และการออกแบบสัมภาษณ์ไม่ครบถ้วนเพราะ การวางกรอบการศึกษาวิจัยไม่ครอบคลุมประเด็นที่ควรจะเป็น เช่น ไม่ได้แยกวัตถุประสงค์ของการลงทุน ในต่างประเทศว่าเพื่อออกไปหาวัตถุดิบ หรือแสวงหาตลาดหรือทั้งสองอย่าง เป็นต้น
ตารางที่ 4.4 ประเด็นปัญหา อุปสรรคที่เกิดจากการความไม่น่าเชื่อถือและชัดเจนของโครงการ
กลยุทธ์ | วิธีนําเสนอไม่ชัดเจน | ขาดความน่าเชื่อถือ ถูกต้อง แม่นยํา |
1 การผลักดันนโยบายที่จําเป็น | 5 | 4 |
2 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิม และใหม่ที่มีศักยภาพ | 4 | 6 |
3 การสนับสนุนการส่งออก | 1 | 1 |
4 การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้มีประสิทธิภาพ | 4 | 2 |
รวม | 14 | 13 |
1.3.3 ปัญหาความล่าช้าในการขอข้อมูลจากภาคเอกชน บางโครงการจําเป็นต้องได้ข้อคิดเห็น จากผู้ประกอบการภาคเอกชนแต่ไม่สามารถนัดสัมภาษณ์ได้ตามกําหนดเวลา เช่น โครงการการศึกษา ผลกระทบของปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาเสถียรภาพของราคายางพารา หรือกรณีของโครงการการออกแบบ และสร้างเครื่องทดสอบประสิทธิภาพการใช้งานของผลิตภัณฑ์ยางถอนขนไก่ที่มีข้อจํากัดในการเข้าไปตรวจ เยี่ยมโรงงานตามข้อเสนอโครงการที่กําหนดไว้ เป็นต้น
1.3.4 ประเด็นอื่นๆ ถึงแม้ว่าการวิจัยยังไม่เสร็จสมบูรณ์แต่มีบางโครงการที่ผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่า คงไม่สามารถนําไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยแบบมุ่งเป้าได้หรือหากใช้ได้ต้องวิเคราะห์ข้อมูล เพิ่มเติม ประกอบด้วย
1) โครงการพัฒนายุทธศาสตร์สําหรับการปลูกยางพาราของประเทศไทยด้วย ประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ จะเป็นประโยชน์ต่อการกําหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ไม่มากนัก เนื่องจาก
ดูเฉพาะมิติการปลูกซึ่งจํากัดมากและไม่ควรมีการต่อยอดโครงการนี้ในปีต่อไป อีกทั้งควรมีการหารือร่วมกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพิจารณาใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัยที่เสนอในครั้งนี้
2) โครงการตรวจหาสารที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียในซีรัมของน้ํายางพารา มีข้อคิดเห็นให้ ปรับปรุงจํานวนมากถึง 18 ข้อ เช่น การไม่ปรับปรุงวิธีวิจัยตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิแนะนํา วิธีการวิจัยไม่เหมาะสม การอธิบายผลการวิจัยไม่ชัดเจน และการทบทวนเอกสารเพิ่มเติม เป็นต้น ซึ่งรวมถึงเห็นควรยุติโครงการ หรือ ปรับวัตถุประสงค์ใหม่ โดยให้ศึกษาฤทธิ์ต้านอื่นๆ เช่น ฤทธิ์ต้านการอักเสบ ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์กระตุ้น การสร้างคอลลาเจน และอื่นๆ เป็นต้น
3) โครงการการใช้หางน้ํายางเพื่อผลิตเอนไซม์ย่อยสลายพอลิแลกไทด์จากเชื้อแอคติโน มัยสีทโดยใช้กระบวนการหมักแบบเปิด หากจะให้ใช้ประโยชน์ในเชิงอุตสาหกรรมได้ต้องมีผลการวิจัย ในเรื่องต้นทุนด้วย เช่น จํานวนซีรัมที่ได้ รายได้ และค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นจากการใช้น้ํายาง 100 กิโลกรัม เป็นต้น
2. การสังเคราะห์ผลการประเมินงานวิจัยของผู้ทรงคุณวุฒิในเชิงเนื้อหา ความก้าวหน้า และ ร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ของแผนงาน/โครงการ
ถึงแม้ระยะเวลาที่เริ่มต้นและสิ้นสุดแผนงาน/โครงการด้านยางพาราปี 2555 แตกต่างกัน แต่เมื่อรวม ระยะเวลาที่บางแผนงาน/โครงการได้รับอนุมัติให้ขยายเวลาการวิจัยจาก สกว. ออกไปอีก 3 เดือนแล้ว ทุกแผนงาน/โครงการต้องส่ง (ร่าง) รายงานฉบับสมบูรณ์ให้ สกว. ภายในวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 เพื่อ สกว.จะได้นําส่งรายงานดังกล่าวให้ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินก่อนการจัดทํารายงานฉบับสมบูรณ์ส่ง สกว. ปรากฏว่า มีแผนงาน/โครงการที่จัดทําร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ส่งให้ สกว. ภายในกําหนดเวลารวมทั้งสิ้น 33 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 75 ของโครงการทั้งหมด แยกเป็นโครงการเดี่ยว 9 โครงการ และโครงการย่อยที่
อยู่ภายใต้แผนงานวิจัย 9 แผนงานรวม 24 โครงการ ซึ่งผู้ทรงคุณวุฒิได้ประเมินรายงานฉบับสมบูรณ์ของแต่ละ แผนงาน/โครงการตามประเด็นต่างๆ ที่ วช. และ สกว. กําหนดจํานวน 6 ประเด็นแล้ว ดังนั้น ในการ สังเคราะห์งานวิจัยจึงใช้ข้อมูลจาก 33 โครงการดังกล่าวเป็นตัวแทนของทั้ง 44 โครงการที่ได้รับอนุมัติจาก สกว. ในปี 2555 สรุปได้ดังนี้
2.1 โครงการวิจัยส่วนใหญ่สามารถดําเนินการได้ครบถ้วนทุกกิจกรรมและบรรลุวัตถุประสงค์ตาม ข้อเสนอโครงการที่ได้รับอนุมัติจาก วช. หรือ สกว. มีจํานวน 25 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 75.8 ของ โครงการทั้งหมดที่สามารถดําเนินโครงการวิจัยครบถ้วนทุกกิจกรรมและบรรลุวัตถุประสงค์ตามข้อเสนอ โครงการ ส่วนที่เหลืออีก 8 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 24.2 ดําเนินกิจกรรมวิจัยไม่ครบตามข้อเสนอโครงการ เพราะหมดเวลาก่อน หรือเขียนวัตถุประสงค์ไว้แต่ไม่มีกิจกรรมรองรับ ประกอบด้วย กลยุทธ์ที่ 1 มี 6 โครงการ ได้แก่ แผนงานวิจัยเรื่อง การวิจัยเชิงนโยบายการจัดทําคาร์บอนเครดิต คาร์บอนฟุตพริ้นท์ และวอเตอร์ฟุต พริ้นท์จากการดําเนินการปลูกสร้างสวนยางระยะที่ 3 แปดแสนไร่ (2 โครงการย่อย) แผนงานวิจัยเรื่อง การศึกษาสมดุลคาร์บอนและน้ํา เพื่อใช้เป็นข้อมูลจัดทําคาร์บอนฟุตพริ้นท์และวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของสวน ยางพารา (2 โครงการย่อย) โครงการแนวทางการสนับสนุนด้านการลงทุนระหว่างประเทศของอุตสาหกรรม ยางพาราไทยที่กําหนดวัตถุประสงค์ไว้ 3 ข้อแต่มีมีกิจกรรมการวิจัยรองรับเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์เพียงข้อ เดียว และโครงการการศึกษาผลกระทบของปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาเสถียรภาพของราคายางพาราที่ยังไม่มี
รายงานผลการดําเนินกิจกรรมตามข้อเสนอโครงการถึง 4 กิจกรรม ส่วนที่เหลืออีก 1 โครงการอยู่ใน กลยุทธ์ที่ 2 คือ โครงการการออกแบบยางล้อรถเชิงวิศวกรรมสําหรับยางล้อรถประหยัดพลังงาน ที่กําหนด วัตถุประสงค์ให้มีการนําองค์ความรู้ไปถ่ายทอดให้ผู้ประกอบการ แต่ในร่างรายงานไม่มีกิจกรรมรองรับ เช่นเดียวกัน
2.2 โครงการส่วนใหญ่ไม่สามารถดําเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อพิจารณาจากระยะเวลา ของโครงการ โดยโครงการส่วนใหญ่สามารถดําเนินการได้เพียงร้อยละ 75.8 ของแผน แต่ใช้ระยะเวลาดําเนิน โครงการเต็มตามที่กําหนดไว้ และถึงแม้ได้รับอนุมัติให้ขยายเวลาจาก สกว. เพิ่มขึ้นอีก 2-3 เดือน ก็ยังไม่ สามารถทํางานให้ได้ผลผลิตที่ตอบสนองวัตถุประสงค์การวิจัยได้อย่างครบถ้วน
2.3 คุณภาพของร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ขาดความครบถ้วนสมบูรณ์ตามหลักการเขียนรายงาน ที่ได้มาตรฐาน มีโครงการร้อยละ 57.6 ที่ยังขาดคุณภาพของการจัดทํารายงานที่สมบูรณ์ในประเด็นต่างๆ ได้แก่ วิธีนําเสนอยังไม่เป็นขั้นตอน การอธิบายเชื่อมโยงเหตุและผลยังไม่ต่อเนื่องสัมพันธ์กัน ข้อมูลและ ผลวิเคราะห์ยังไม่น่าเชื่อถือ และการใช้ถ้อยคําอธิบายเข้าใจยาก โดยแต่ละโครงการมีประเด็นที่สมควรปรับปรุง มากน้อยแตกต่างกันไป ทั้งนี้ มีเพียง 2 กลยุทธ์ที่มีโครงการต้องปรับปรุงคุณภาพของร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ คือ (1) กลยุทธ์การผลักดันนโยบายที่จําเป็น มีโครงการที่ต้องปรับปรุง 13 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 100 ของโครงการทั้งหมด โดยครอบคลุมทั้ง 4 ประเด็น และ (2) กลยุทธ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิมและใหม่ที่มี ศักยภาพ มีโครงการที่ต้องปรับปรุง 6 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 42.9 ของโครงการทั้งหมด โดยส่วนใหญ่เป็น การใช้ถ้อยคําอธิบายเข้าใจยากและวิธีนําเสนอยังไม่เป็นขั้นตอน
2.4 ผลงานวิจัยด้านยางพาราในปี 2555 ได้ความรู้ที่สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกันไป ตามระดับและขั้นตอนของการพัฒนา โดยผลงานวิจัยส่วนใหญ่ 27 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 81.8 ของ โครงการทั้งหมดเป็นงานวิจัยประยุกต์ที่จําเป็นต่อการพัฒนาเพราะนักวิจัยสามารถนําไปใช้เป็นข้อมูลสําหรับ เปรียบเทียบหรือนําไปพัฒนาต่อยอดเล็กน้อย ก็สามารถนําไปใช้ในเชิงพาณิชย์หรือเชิงสังคมได้ สําหรับ ผลงานวิจัยที่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยางพาราสามารถนําไปใช้ในเชิงพาณิชย์และหน่วยราชการนําไป กําหนดเป็นมาตรฐานผลิตภัณฑ์ยางได้มีจํานวน 6 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 18.2 ของโครงการทั้งหมด ประกอบด้วย โครงการการยืดอายุการเก็บรักษาและการรักษาคุณภาพเห็ดฟางด้วยบรรจุภัณฑ์พลาสติกย่อย สลายได้จากยางพาราได้อย่างปลอดภัยสําหรับผู้บริโภคเพื่อการส่งออก โครงการยางธรรมชาติที่มีกลิ่นหอม นาน และแผนงานวิจัยเรื่องการวิจัยเพื่อการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ยางไทย ซึ่งประกอบด้วย 3 โครงการ ย่อยได้แก่ โครงการวิจัยเพื่อกําหนดมาตรฐานยางรองรางรถไฟ โครงการวิจัยเพื่อกําหนดมาตรฐานยางถอนขน ไก่ และโครงการการวิจัยเพื่อกําหนดมาตรฐานยางล้อตันสําหรับรถฟอร์คลิฟท์ และโครงการวิจัยการประเมิน ศักยภาพการเพิ่มอัตราการผลิตแก๊สชีวภาพด้วยการหมักร่วมและอัตราการทดแทนเชื้อเพลิงไม้ฟืนของสหกรณ์ ผลิตยางแผ่นรมควัน
2.5 ผลงานวิจัยยางพาราได้ค้นพบความรู้ใหม่ๆที่นอกเหนือจากที่กําหนดไว้ในวัตถุประสงค์การ วิจัยเพียงส่วนน้อยเท่านั้น โดยมีโครงการจํานวน 5 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 15.2 ของโครงการทั้งหมดที่จะ เป็นประโยชน์ทางวิชาการและการวิจัยในอนาคต ประกอบด้วย โครงการการวิเคราะห์นโยบายที่เหมาะสม เพื่อการจัดการยางรถยนต์ใช้แล้วของประเทศไทย โครงการการศึกษานโยบายและมาตรการรักษาเสถียรภาพ
ราคายางพาราของประเทศไทยด้วยกองทุนรักษาเสถียรภาพราคาฯ และโครงการการยืดอายุการเก็บรักษาและ การรักษาคุณภาพเห็ดฟางด้วยบรรจุภัณฑ์พลาสติกย่อยสลายได้จากยางพาราได้อย่างปลอดภัยสําหรับผู้บริโภค เพื่อการส่งออก เพราะเป็นงานวิจัยที่ยังไม่มีการศึกษาในประเทศไทยมาก่อน ส่วนโครงการการตรวจหาสารที่มี ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียในซีรัมของน้ํายางพารา ได้พบวิธีการสกัดซีรัมที่ทําให้ได้น้ําตาลคิวบราซิทอลและสาร สกัดเมทานอลในคราวเดียวกัน และโครงการศักยภาพการผลิตไฮโดรเจนและมีเทนจากซีรัม ที่ได้จากการจับตัว น้ํายางตามหลักการไบโอรีไฟเนอรี่ ทําให้ได้ระบบต้นแบบในระดับห้องปฏิบัติการที่มีสมรรถนะสําหรับการผลิต ทั้งพลังงานและมวลชีวภาพในรูปของสาหร่ายจากการบําบัดซีรัมน้ํายางสกิม
ตารางที่ 4.5 สรุปผลการประเมิน (ร่าง) รายงานฉบับสมบูรณ์จําแนกตามกลยุทธ์ของยุทธศาสตร์วิจัย ยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559
กลยุทธ์ | ผลงานวิจัย | การบรรลุ วัตถุประสงค์ | ประสิทธิภาพ | คุณภาพ | การใช้ประโยชน์ | ได้ความรู้ ใหม่ | ||||||
ครบ | ไม่ ครบ | บรรลุ | ไม่ บรรลุ | มี | ไม่มี | มี | ไม่มี | ข้อมูล พื้นฐาน | เชิง พาณิชย์ | ได้ | ไม่ได้ | |
กลยุทธ์ที่ 1 การผลักดัน นโยบายที่จําเป็น | 7 | 6 | 7 | 6 | 7 | 6 | 0 | 13 | 13 | 0 | 2 | 11 |
กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนา ผลิตภัณฑ์เดิมและใหม่ที่มี ศักยภาพ | 12 | 1 | 12 | 1 | 12 | 1 | 7 | 6 | 13 | 0 | 2 | 11 |
กลยุทธ์ที่ 3 การสนับสนุน การส่งออก | 5 | 0 | 5 | 0 | 5 | 0 | 5 | 0 | 1 | 4 | 1 | 4 |
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนา เทคโนโลยีการผลิต | 1 | 1 | 2 | 0 | 1 | 1 | 2 | 0 | 0 | 2 | 0 | 2 |
รวม | 25 | 8 | 26 | 7 | 25 | 8 | 14 | 19 | 27 | 6 | 5 | 28 |
สัดส่วนร้อยละ | 75.8 | 24.2 | 78.8 | 21.2 | 75.8 | 24.2 | 42.4 | 57.6 | 81.8 | 18.2 | 15.2 | 84.8 |
ที่มา : ภาคผนวก3
ตารางที่ 4.6 จํานวนโครงการที่มีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ดีและโครงการที่ควรปรับปรุงจําแนกตามกลยุทธ์ และประเด็นการนําเสนอ
กลยุทธ์ | การอธิบาย เชื่อมโยงเหตุ และผล | ข้อมูลและ ผลวิเคราะห์ | การนําเสนอ เป็นลําดับ | การใช้ ถ้อยคํา | บทสรุปและ เสนอแนะ | |||||
ดี | ปรับปรุง | น่าเชื่อถือ | ปรับปรุง | ดี | ปรับปรุง | ง่าย | ยาก | มี | ไม่มี | |
กลยุทธ์ที่ 1 การผลักดัน นโยบายที่จําเป็น | 2 | 11 | 5 | 2 | 3 | 4 | 4 | 3 | 2 | 5 |
กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนา ผลิตภัณฑ์เดิมและใหม่ที่มี ศักยภาพ | 13 | 0 | 13 | 0 | 11 | 2 | 7 | 6 | 13 | 0 |
กลยุทธ์ที่ 3 การสนับสนุน การส่งออก | 5 | 0 | 5 | 0 | 5 | 0 | 5 | 0 | 5 | 0 |
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนา เทคโนโลยีการผลิต | 1 | 0 | 1 | 0 | 1 | 0 | 1 | 0 | 1 | 0 |
รวม | 7 | 11 | 10 | 2 | 8 | 4 | 9 | 3 | 7 | 5 |
ที่มา : ภาคผนวก3
3. ปัญหาการสนับสนุนและดําเนินโครงการวิจัยเชิงโครงสร้าง
เมื่อนําปัญหาการดําเนินโครงการวิจัยที่ค้นพบจากการติดตามความก้าวหน้าการดําเนินงานมา สังเคราะห์ร่วมกับผลการประเมินงานวิจัยของผู้ทรงคุณวุฒิพบว่า ปัญหาการสนับสนุนและดําเนินโครงการวิจัย ยางพาราในปี 2555 นอกจากจะมีปัญหาของกระบวนการทํางานแล้ว ยังมีปัญหาเชิงโครงสร้างอีกหลาย ประการที่จําเป็นต้องปรับปรุงเพื่อให้การสนับสนุนการวิจัยเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมและมีประสิทธิภาพมาก ขึ้น ซึ่งสรุปได้ดังนี้
3.1 นักวิจัยสาขายางพารารายใหม่ที่ขอรับทุนสนับสนุนการวิจัยในแต่ละปีมีจํานวนน้อยและ นักวิจัยที่มีคุณภาพมีจํานวนจํากัด ดังเห็นได้จากนักวิจัยด้านยางพาราที่ส่งข้อเสนอโครงการต่อ วช. และ
สกว. กว่าร้อยละ 50 ของนักวิจัยทั้งหมดเป็นนักวิจัยรายเดิมที่เคยได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สกว.ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ทําให้มีข้อจํากัดของการได้รับมุมมองใหม่ๆ ด้านการวิจัยและพัฒนายางพาราเพื่อตอบสนองการ วิจัยแบบมุ่งเป้าของ สกว. และการเปลี่ยนแปลงของภาวะเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้ง ขาดการพัฒนานักวิจัย รุ่นใหม่เพื่อทดแทนหรือเสริมนักวิจัยรุ่นปัจจุบัน นอกจากนั้น ความเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิที่ ได้รับจากการประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าแผนงาน/โครงการ และจากการประเมิน (ร่าง) รายงานฉบับ สมบูรณ์พบว่า ให้นักวิจัยทบทวนผลงานวิจัยเพิ่มเติม หรือปรับปรุงขั้นตอนการวิจัยให้เป็นไปตามขั้นตอน มาตรฐาน ตลอดจนหาข้อมูลสนับสนุนการอธิบายผลการวิจัยให้มีความน่าเชื่อถือ รวมทั้ง ให้มีการปรับปรุง คุณภาพการนําเสนอรายงานเป็นไปตามมาตรฐานการวิจัยก่อนเผยแพร่ต่อสาธารณะ ซึ่งเหล่านี้เป็นเครื่องบ่งชี้ ให้เห็นถึงข้อจํากัดของจํานวนนักวิจัยที่มีคุณภาพ
3.2 โครงการวิจัยยางพาราปี 2555 บางส่วนยังไม่สามารถตอบสนองนโยบายการวิจัยแบบมุ่งเป้า ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยที่การวิจัยส่วนใหญ่เป็นการวิจัยประยุกต์ยังไม่สะท้อนถึงความสอดคล้องของโจทย์ วิจัยต่อการนําผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ได้อย่างเต็มที่ สาเหตุจาก (1) การกําหนดโจทย์วิจัยยัง ไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (2) นักวิจัยแปลงกรอบการวิจัยประจําปีของ วช. และยุทธศาสตร์วิจัย ยางพาราแห่งชาติของ สกว. ได้ไม่ตรงตามเจตนารมณ์ของ วช.และ สกว. ดังเห็นได้จากโครงการวิจัยที่ขอรับ การสนับสนุนในปี 2555 บางส่วนไม่ได้รับการสนับสนุนให้ดําเนินงานวิจัย จนทําให้เปิดรับข้อเสนอ โครงการวิจัยเพิ่มเติม ซึ่งกระทบต่อแผนการบริหารจัดการของ สกว. (3) นักวิจัยส่วนใหญ่ยังกําหนดกิจกรรม การวิจัยไม่ครบถ้วน โดยเฉพาะขาดข้อมูลทางด้านต้นทุนหรือทางด้านตลาด ซึ่งมีส่วนสําคัญในการสนับสนุน การตัดสินใจของผู้ประกอบการ หรือนักลงทุนทางด้านความคุ้มค่าของการนําผลงานวิจัยไปต่อยอดในเชิง พาณิชย์เพิ่มเติมจากผลการวิจัยที่ยืนยันความเหมาะสมทางด้านเทคนิค หรือด้านการผลิต และ (4) ขาด กระบวนการวิจัยในลักษณะของสหวิชาการ ในขณะที่ โครงการต้องการองค์ความรู้จากนักวิจัยสาขาอื่นๆ มา ประกอบนอกเหนือจากเทคนิคด้านยาง
3.3 การบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการวิจัยแบบมุ่งเป้าของ สกว. ควรได้รับการปรับปรุง เมื่อ
สังเคราะห์ระบบการสนับสนุนการวิจัยที่ วช. และ สกว. ดําเนินการในปัจจุบัน พบประเด็นที่เป็นประโยชน์ ที่ควรดําเนินงานต่อไป และประเด็นที่ควรปรับปรุงในแต่ละขั้นตอน ดังนี้
3.3.1 การกําหนดกรอบวิจัยแบบมุ่งเป้าโดยการมีส่วนร่วมจากหลายภาคี และการมี ยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราเป็นกรอบ เพื่อให้นักวิจัยใช้เป็นกรอบพัฒนาข้อเสนอโครงการเป็นความคิดริเริ่ม ที่ดี ปี พ.ศ. 2555 เป็นปีแรกที่เริ่มมีการจัดทํายุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 ภายใต้ ยุทธศาสตร์การพัฒนายางพารา พ.ศ. 2552-2556 และ วช .และ สกว. ได้ร่วมกันกําหนดกรอบวิจัยเพื่อมุ่งหวัง ที่จะนําไปสู่การพัฒนาโจทย์วิจัยแบบมุ่งเป้าที่สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้ในเชิงพาณิชย์และสังคม ซึ่งเป็น ความคิดริเริ่มที่ดีมากเพราะ มีความสอดคล้องกับสถานการณ์และสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคม ในยุคที่ต้องแข่งขันกันโดยอาศัยความรู้และการผลิตที่มีประสิทธิภาพเป็นเครื่องมือ อย่างไรก็ตาม กรอบการ วิจัยที่ประกาศให้นักวิจัยจัดทํารายละเอียดโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนทุนวิจัยนั้นยังมีขอบเขตที่ค่อนข้าง กว้าง ส่งผลให้โครงการที่ได้รับทุนสนับสนุนส่วนใหญ่ค่อนข้างเป็นงานวิจัยประยุกต์ที่ต้องการการต่อยอด เพิ่มเติม ส่วนงานวิจัยที่มีความพร้อมสําหรับให้ผู้เกี่ยวข้องนําไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์และเชิงสังคมยังมีไม่ มากเท่าที่ควร
3.3.2 การพัฒนาโครงการวิจัยยังมีประสิทธิภาพไม่เต็มที่ ผลจากการติดตามความก้าวหน้าการ ดําเนินโครงการที่ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยและการประเมินร่างรายงานฉบับสมบูรณ์พบว่า มีจุดอ่อนบาง ประการที่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการดําเนินโครงการวิจัย เช่น ขาดกิจกรรมรองรับที่สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของแผนงานและของโครงการย่อยไม่สัมพันธ์กันและไม่ควรจะเป็นแผนงานเพราะ โครงการย่อยภายใต้แผนงานมีลักษณะเป็นเพียงกิจกรรมและขั้นตอนการดําเนินงานมากกว่าที่จะเป็นโครงการ นอกจากนั้น การพิจารณาโครงการต่อเนื่องยังมีข้อจํากัดจากการขาดข้อมูลผลการวิจัยในระยะแรกเพื่อ ประกอบการพิจารณาเนื่องจากนักวิจัยส่งรายงานล่าช้า
3.3.3 เงื่อนไขที่กําหนดในสัญญาและการเบิกจ่ายเงินงบประมาณส่งผลต่อประสิทธิภาพ การบริหารงานวิจัย
1) ในการเสนอผลงาน สกว.กําหนดให้ผู้วิจัยเสนอรายงานผลการวิจัยฉบับร่างภายใน ระยะเวลาไม่เกิน 90 วันนับจากวันสิ้นสุดโครงการตามสัญญา หรือไม่เกิน 90 วันนับจากวันที่ได้รับการอนุมัติ ขยายระยะเวลา และเมื่อได้รับแจ้งผลการประเมินคุณภาพ ผู้รับทุนสามารถแก้ไขปรับปรุงร่างรายงาน ฉบับสมบูรณ์ให้แล้วเสร็จส่ง สกว. ภายใน 90 วันนับจากวันที่ได้รับแจ้งก่อนที่ สกว. จะเบิกจ่ายเงินงวดสุดท้าย ที่ยังค้างอยู่ หากผู้รับทุนปรับปรุงร่างรายงานการวิจัยและส่ง สกว. เกินกว่า 90 วัน แต่ไม่เกิน 180 วันถือว่า ผู้รับทุนส่งผลงานล่าช้า ซึ่ง สกว. สามารถลดค่าตอบแทนที่ยังคงค้างอยู่ครึ่งหนึ่งจากที่กําหนดไว้ในสัญญาได้ ซึ่งเงื่อนไขดังกล่าวส่งผลต่อการติดตามและประเมินผลโครงการล่าช้า ไม่สามารถนําผลไปใช้ในการกําหนด โจทย์วิจัย และแนวทางการบริหารงานวิจัยแบบมุ่งเป้าที่สมบูรณ์ในปีถัดไปได้
2) การพิจารณาอนุมัติให้นักวิจัยจัดซื้อครุภัณฑ์หลักค่อนข้างล่าช้าส่งผลให้การดําเนินงาน โครงการไม่เป็นไปตามแผน
3.3.4 การติดตามและการประเมินความก้าวหน้าโครงการขาดประสิทธิภาพและยังไม่มีระบบ การประเมินผลสําเร็จของโครงการที่ชัดเจน ผลการติดตามความก้าวหน้าการดําเนินโครงการวิจัยในปี 2555 พบว่า นักวิจัยเกือบทั้งหมดจัดส่งเอกสารรายงานต่างๆ ให้ สกว. ล่าช้ากว่าที่กําหนดในสัญญาค่อนข้างมาก ในขณะเดียวกัน กรณีที่ สกว. ใช้ระบบประเมินโครงการโดยผู้ทรงคุณวุฒิในขั้นตอนต่างๆ ซึ่งเป็นกระบวนการ ที่ทําให้ สกว. ได้ข้อมูลที่ครบถ้วนและรอบด้าน รวมทั้งได้ข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์จากผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ แต่ระบบประเมินโครงการดังกล่าวขึ้นอยู่กับช่วงเวลาว่างของผู้ทรงคุณวุฒิเป็นหลัก ซึ่งพบว่า ผู้ทรงคุณวุฒิ ส่งผลการประเมินรายงานฉบับต่างๆ ล่าช้าค่อนข้างมากเช่นเดียวกัน รวมทั้ง การติดตามความก้าวหน้าการ ดําเนินโครงการวิจัยในพื้นที่มีปัญหาค่อนข้างมาก อันเกิดจากความยุ่งยากในการนัดหมายเวลาของนักวิจัย กับผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ตรงกัน นอกจากนี้ สกว.ยังไม่มีระบบการประเมินผลสําเร็จหลังสิ้นสุดโครงการที่ ดําเนินงานอย่างสม่ําเสมอและต่อเนื่อง ทําให้ผู้บริหารที่เกี่ยวข้องไม่ทราบอย่างชัดเจนว่างบประมาณงานวิจัย ที่ลงทุนในแต่ละปีได้ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมหรือไม่เพียงใด
3.4 การสนับสนุนการวิจัยยางพาราของหน่วยงานสนับสนุนการวิจัยทั้งภาครัฐและเอกชน ยังไม่ครอบคลุมผู้มีส่วนได้เสียครบถ้วน ในปี พ.ศ. 2555 คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้บูรณาการ ระบบบริหารจัดการการวิจัยของประเทศ โดยดําเนินงานร่วมกันระหว่างองค์กรและหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง กับการวิจัยและพัฒนา จัดตั้งเป็นเครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช. หรือ 6ส + 1ว) ประกอบ ไปด้วย สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สํานักงานพัฒนาการวิจัยเกษตร (สวก.) สํานักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สํานักงานนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม แห่งชาติ (สวทน.) สํานักงานวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และ วช. โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและพัฒนาทั้งหมดดังกล่าวได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบบริหาร จัดการการวิจัยและพัฒนาในด้านหลักๆ ตามพื้นฐานและความเหมาะสมของแต่ละหน่วยงาน ซึ่งการบูรณาการ ดังกล่าวนี้ถือเป็นกลไกสําคัญที่ช่วยให้เกิดเอกภาพในการบริหารจัดการการวิจัยทั้งระบบ อย่างไรก็ตาม ระบบบูรณาการนี้เป็นเพียงจุดเริ่มต้นของการทํางานร่วมกันของหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องด้านการผลิตและ
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี แต่ยังขาดการมีส่วนร่วมจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมยางพาราและ ผลิตภัณฑ์ เช่น สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม และกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เป็นต้น รวมทั้ง ยังขาดภาคธุรกิจเอกชนที่เป็นผู้มีบทบาทสําคัญต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารา โดยเฉพาะ ผู้ประกอบการขนาดกลางและเล็ก ในขณะที่เอกชนรายใหญ่บางรายที่มีขีดความสามารถในการทําการวิจัย ด้วยตัวเองโดยไม่รอพึ่งผลการวิจัยจากภาครัฐได้อยู่แล้ว
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ
จากวัตถุประสงค์ของโครงการสังเคราะห์ผลการวิจัยยางพาราปี 2555 ที่ประกอบด้วย (1) เพื่อให้มี กระบวนการในการสรุปและสังเคราะห์ผลงานวิจัยด้านยางพาราที่ได้รับการสนับสนุนทุนจาก วช. และ สกว. เผยแพร่ให้กับสาธารณชนได้รับทราบ (2) เพื่อให้นักวิจัยสามารถดําเนินโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล (3) เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ที่ได้รับจากการวิจัย และเผยแพร่ให้นักวิจัย และบุคคลทั่วไปมี ความรู้สําหรับนําไปต่อยอดการวิจัย และนําผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ทั้งในเชิงของการพัฒนาอุตสาหกรรม ยางพารา และการพัฒนาในเชิงพาณิชย์ และ (4) เพื่อให้ สกว. มีกรอบทิศทางในการพิจารณาโครงการด้าน ยางพาราที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องทั้งยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 และ ยุทธศาสตร์การพัฒนายางพารา พ.ศ. 2552-2556 และเตรียมพร้อมสําหรับรองรับยุทธศาสตร์พัฒนา ยางพาราในฉบับต่อไป ทั้งนี้ เพื่อนําไปสู่การให้ข้อเสนอแนะทิศทางการต่อยอดงานวิจัย ทั้งในรูปของการทํา วิจัยต่อเนื่อง กระบวนการเผยแพร่และปฏิบัติ ทั้งในเชิงองค์ความรู้และเชิงพาณิชย์ รวมถึงการกํากับ ทิศทางการพัฒนางานวิจัยในปีต่อๆ ไปนั้น สามารถสรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะได้ดังนี้
1. สรุปผลการศึกษา
1.1 โครงการวิจัยยางพาราขนาดใหญ่แบบมุ่งเป้าที่ สกว. ให้การสนับสนุนงบวิจัยในปี พ.ศ. 2555 มี ทั้งสิ้น 44 โครงการ จํานวนเงิน 63.72 ล้านบาท ประกอบด้วย โครงการเดี่ยวจํานวน 10 โครงการ และ โครงการย่อยที่อยู่ภายใต้แผนงานวิจัยต่างๆ จํานวน 12 แผนงานอีก 34 โครงการ โดยโครงการส่วนใหญ่ (ร้อยละ 40.9) อยู่ในกลยุทธ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิมและใหม่ที่มีศักยภาพ รองลงมาอยู่ในกลยุทธ์ การผลักดันนโยบายที่จําเป็น (ร้อยละ 29.5) กลยุทธ์การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้มีประสิทธิภาพ (ร้อยละ 18.2) และกลยุทธ์การสนับสนุนการส่งออก (ร้อยละ 11.4) ตามลําดับ แต่งบประมาณส่วนใหญ่ (ร้อยละ 42.3) ได้จัดสรรเพื่อสนับสนุนกลยุทธ์ในการผลักดันนโยบายด้านยางพารา รองลงมาได้แก่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิมและผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีศักยภาพ และการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้มี ประสิทธิภาพ ร้อยละ 26.1 และร้อยละ 20.4 ตามลําดับ โดยที่การสนับสนุนการส่งออกได้รับงบประมาณ สนับสนุนน้อยที่สุด (ร้อยละ 11.1) และมีจํานวนโครงการน้อยที่สุดเช่นกัน แสดงให้เห็นถึงทิศทางการ สนับสนุนทุนวิจัยของ วช. และ สกว. ในปี 2555 ที่ให้ความสําคัญทางด้านนโยบายมาเป็นลําดับต้นๆ และ การพัฒนาผลิตภัณฑ์และประสิทธิภาพการผลิตเพื่อสนับสนุนความต้องการภายในประเทศมากกว่ามุ่งเน้น การส่งออก ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายและทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพาราของประเทศ
1.2 การวิเคราะห์หาจุดต่าง (Gap Analysis) ซึ่งดําเนินการใน 3 ส่วนคือ การวิเคราะห์หาจุดต่าง ระหว่างยุทธศาสตร์การพัฒนายางพารา พ.ศ. 2552-2556 กับยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 และการวิเคราะห์หาจุดต่างของโครงการวิจัยปี 2555 โดยรวมกับยุทธศาสตร์วิจัยยางพารา แห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 รวมทั้ง การวิเคราะห์จุดต่างของแบบประเมินโครงการที่ วช. และ สกว. ใช้อยู่ใน ปัจจุบันกับมาตรฐานการติดตามและประเมินผลตามหลักวิชาการ สรุปผลดังนี้
1.2.1 การวิเคราะห์จุดต่างของยุทธศาสตร์การพัฒนายางพารา พ.ศ. 2552-2556 กับ ยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 พบว่า ยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติยังไม่มีการ ระบุประเด็นแนวทางการพัฒนาที่ปรากฎในยุทธศาสตร์การพัฒนายางพาราหลายประเด็นหลักๆ เช่น รายได้ และความเป็นอยู่ของเกษตรกรชาวสวนยาง แนวทางและมาตรการรองรับ AEC หรือความร่วมมือระหว่าง ประเทศในรูปแบบใดๆ โดยเฉพาะไตรภาคียางพารา (ITRC) ซึ่งมีผลต่อการส่งออกยางไปต่างประเทศ ของไทย แนวทางและมาตรการที่เกี่ยวข้องกับความร่วมมืองานวิจัยกับต่างประเทศ และการบูรณาการ งานวิจัยระหว่างหน่วยงานภายในประเทศตลอดจนประเด็นของคาร์บอนเครดิต
1.2.2 การวิเคราะห์จุดต่างของโครงการวิจัย พ.ศ. 2555 โดยรวมกับยุทธศาสตร์วิจัย ยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 พบว่า การกําหนดเป้าหมายของโครงการยังไม่สะท้อนถึงเป้าหมาย ระดับยุทธศาสตร์ของยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติที่สามารถระบุโดยเปรียบเทียบได้อย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม เมื่อวิเคราะห์จุดต่างในระดับแนวทางและมาตรการของยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ พบว่า การสนับสนุนทุนวิจัยในปี พ.ศ. 2555 ยังขาด (Gap) ประเด็นการสนับสนุนแยกตามกลยุทธ์ภายใต้ ยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติอีกหลายประเด็น ดังนี้
1) การผลักดันนโยบายที่จําเป็น โครงการที่ได้รับการสนับสนุนได้ให้ความสําคัญกับการ หาแนวทาง และมาตรการรักษาเสถียรภาพราคายางพารา การวางแผนเพื่อรองรับการแข่งขันกับประเทศ คู่แข่ง การศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับคาร์บอนเครดิตของสวนยางพารา การวางระบบบริหารจัดการยางใช้แล้ว รวมทั้งการศึกษาแนวทาง และมาตรการเพื่อกระตุ้นความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ยางพาราภายในประเทศ โดย ยังขาด (Gap) งานวิจัยในประเด็นที่ได้กําหนดเป็นแนวทางการพัฒนาในกลยุทธ์นี้ คือ การศึกษา กฎ ระเบียบที่จะสนับสนุนการผลิต และการประกอบการทั้งในภาพรวม รายสาขา และรายประเด็น ที่สําคัญ
2) การพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิมและผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีศักยภาพ มีเพียงโครงการวิจัยพัฒนา ผลิตภัณฑ์ยางล้อรถประหยัดพลังงาน และถุงมือยาง ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เดิมที่เป็นเป้าหมายในยุทธศาสตร์ การวิจัยยางพาราที่ได้รับการสนับสนุนโครงการวิจัย ยังขาด (Gap) งานวิจัยในประเด็นที่ได้กําหนด เป็นแนวทาง การพัฒนาในกลยุทธ์นี้ ได้แก่ การวิจัยผลิตภัณฑ์เป้าหมายอื่นๆ เช่น ผลิตภัณฑ์เส้นด้าย ยางยืด และถุงยางอนามัย เป็นต้น รวมทั้ง การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและผู้ประกอบการด้าน อุตสาหกรรมยางล้อ ส่วนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ให้ความสําคัญกับโครงการที่ใช้ประโยชน์จากสาร ที่ไม่ใช่ยางในน้ํายาง สําหรับเป็นวัตถุดิบผลิตภัณฑ์ใหม่ทางเภสัชกรรม และการวิจัยพัฒนาสายพันธ์ แบคทีเรียเพื่อช่วยย่อยสลายพลาสติกพอลิแลกไทด์ ยังขาด (Gap) ในส่วนของการสร้างบุคลากรวิจัย ด้านน้ํายางเข้าสู่อุตสาหกรรมน้ํายางข้น และการเผยแพร่ผลงานวิจัย และแลกเปลี่ยนความรู้ด้านน้ํายาง รวมถึงการพัฒนาการผลิตและการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากไม้ยางพาราให้มีคุณภาพ
3) การสนับสนุนการส่งออก มีโครงการรองรับกลยุทธ์นี้น้อยมาก ได้แก่ การพัฒนาฟิล์ม บรรจุภัณฑ์ย่อยสลายง่ายที่ใช้ในการยืดอายุการเก็บรักษาคุณภาพเห็ดฟางสดเพื่อส่งออก และการพัฒนา มาตรฐานผลิตภัณฑ์ยางรองรางรถไฟ ยางถอนขนไก่ และยางล้อตันสําหรับรถฟอร์คลิฟท์ ยังขาด (Gap) ประเด็นที่เป็นแนวทางในกลยุทธ์ ได้แก่ การพัฒนาระบบพลังงานในอุตสาหกรรมยางที่มีประสิทธิภาพ การเผยแพร่ความรู้ในการออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ยาง เทคโนโลยีสะอาด การพัฒนาด้านโลจิสติกส์ ในรูปแบบของการปรับปรุงกระบวนการเพื่อลดต้นทุนโลจิสติกส์ตลอดห่วงโซ่อุปทาน
4) การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้มีประสิทธิภาพ มีโครงการรองรับไม่มากเมื่อเทียบกับ กลยุทธ์ด้านนโยบายและด้านการพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์เดิมและใหม่ ทําให้ยังขาด (Gap) ในประเด็น สําคัญหลายเรื่อง ได้แก่ การพัฒนาพันธุ์ยางให้เหมาะสมกับพื้นที่และความต้องการของอุตสาหกรรม การมีเครื่องมือกรีดยางที่มีประสิทธิภาพ การถ่ายทอดแนวปฏิบัติการดูแลบํารุงรักษาสวนยางพร้อมทั้ง เพิ่มทักษะบุคลากรกรีดยาง การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับยางก้อนถ้วยและเศษยาง วิธีการทดสอบหาสิ่ง ปนเปื้อนในน้ํายาง การถ่ายทอดเทคโนโลยีใหม่และภูมิปัญญาชาวบ้าน เทคนิคการผลิตและวิธีการ ควบคุมคุณภาพน้ํายางและการขึ้นรูปให้ตรงตามความต้องการของอุตสาหกรรม รวมทั้งเทคนิคการผลิต และวิธีการควบคุมคุณภาพยางแห้ง
1.2.3 การวิเคราะห์แบบประเมินโครงการ เพื่อให้เกิดความเหมาะสม และบูรณาการระหว่าง แบบประเมินของ วช. และ สกว. ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันรวม 4 แบบ ประกอบด้วย แบบประเมินข้อเสนอ โครงการ แบบประเมินข้อเสนอแผนการวิจัย แบบประเมินความก้าวหน้าของโครงการ และแบบประเมิน ร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ โดยนํามาเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานตามหลักการประเมินผล ซึ่งผลการศึกษา สรุปได้ว่า
1) แบบประเมินข้อเสนอโครงการ มีทั้งประเด็นที่ควรเพิ่มเติม เช่น ความสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์การพัฒนายางและยุทธศาสตร์การวิจัยยางพารา และความเชื่อมโยงกับโครงการอื่นๆ เป็นต้น และที่ยังขาดความชัดเจน เช่น การวิเคราะห์ความสอดคล้องของวัตถุประสงค์และสภาพปัญหา นอกจาก ความสามารถในการดําเนินการได้ตามแผนงาน รวมทั้ง ควรนิยามความหมายของคําว่า “เนื้องาน” ให้ ชัดเจนว่าเป็นการวิเคราะห์กิจกรรมทั้งหมด ไม่ใช่วิเคราะห์รายละเอียดของกิจกรรม
2) แบบประเมินข้อเสนอแผนการวิจัย ซึ่งประเด็นส่วนใหญ่มีสาระคล้ายกับแบบประเมิน ข้อเสนอโครงการ จึงควรเพิ่มเติมในส่วนของการประเมินปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในที่มีผลกระทบต่อ แผนงาน
3) แบบประเมินความก้าวหน้าของโครงการ ทั้งแบบของ วช. และ สกว. มีบางประเด็นที่ มีการประเมินตรงกัน เช่น การประเมินผลงานเทียบกับแผน การประเมินความครบถ้วนของกิจกรรมและ การดําเนินงานตามระยะเวลาที่กําหนด ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ เป็นต้น ในขณะที่ ทั้งแบบของ วช. และ สกว. มีบางส่วนซ้ําซ้อนหรือมีสาระคล้ายกัน อยู่ผิดขั้นตอน รวมทั้ง ยังขาดประเด็นที่ควรเพิ่มเติม ได้แก่ การประเมินความพร้อมของปัจจัยต่างๆ เช่น กําลังคน งบประมาณ และสถานที่ เป็นต้น ระยะเวลา เริ่มต้นและสิ้นสุดของการดําเนินงานแต่ละกิจกรรม การประสานงานระหว่างการดําเนินงานและการติดตาม กํากับของผู้บริหารโครงการ
4) แบบประเมินร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ของโครงการ ทั้งแบบของ วช. และ สกว. มี ประเด็นการประเมินบางส่วนที่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์การประเมินผลเหมือนกัน แต่ยังมีบางประเด็นที่อยู่ ผิดขั้นตอน และควรได้รับการเพิ่มเติมเข้าไว้ในแบบประเมิน เช่น การประเมินประสิทธิภาพของการบรรลุผล สําเร็จของโครงการ (เวลาที่เสร็จ งบประมาณที่ใช้ และปริมาณงานที่ดําเนินการเสร็จสิ้น) เป็นต้น
1.3 การติดตาม และสังเคราะห์ความก้าวหน้าการดําเนินงานของแผนงาน และโครงการ จาก การวิเคราะห์การดําเนินงานของแผนงาน/โครงการใน 2 ช่วงเวลาของโครงการคือ ระหว่างดําเนินโครงการ และเมื่อสิ้นสุดโครงการ (จัดส่งร่างรายงานฉบับสมบูรณ์) พบว่า
1.3.1 ระหว่างดําเนินโครงการ ในช่วง 4 เดือนแรกของการดําเนินโครงการ นักวิจัยสามารถ บริหารโครงการเป็นไปตามแผนงานในสัดส่วนร้อยละ 69 ซึ่งสูงกว่าผลการดําเนินงานในระยะหลังของ โครงการ (8 เดือน) ที่เป็นไปตามแผนเพียงร้อยละ 26.7 เนื่องจาก ในระยะ 4 เดือนแรกอยู่ในขั้นตอนของ การทบทวนเอกสารรายงานที่เกี่ยวข้อง และการเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้วิจัย แต่ยังคงมีปัญหาความล่าช้า ที่เกิดขึ้นจากการรวบรวมข้อมูลที่ต้องมีการนัดหมาย และการจัดหาวัสดุสําหรับใช้ทดสอบและเพิ่มขั้นตอน การทดสอบซ้ํา ส่วนปัญหาความล่าช้าของระยะหลังของโครงการเกิดจากการหาพื้นที่เป้าหมาย การติดตั้ง เครื่องต้นแบบและแบบจําลองทางคณิตศาสตร์ที่ยังคงไม่แล้วเสร็จ
1.3.2 สิ้นสุดโครงการ มีโครงการที่สามารถจัดส่งร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ให้ สกว.ได้ภายใน เวลาที่กําหนดร้อยละ 75.0 ของโครงการทั้งหมด โดยสามารถดําเนินโครงการวิจัยครบถ้วนทุกกิจกรรมและ ได้ผลงานวิจัยรวมทั้งบรรลุวัตถุประสงค์ทุกข้อครบถ้วนตรงตามข้อเสนอโครงการร้อยละ 75.8 ของโครงการ ที่จัดส่งร่างรายงานฯ นอกจากนี้ จากการสังเคราะห์ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิในร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ที่ นักวิจัยจัดส่งให้ สกว. พบว่า จํานวนมากถึงร้อยละ 57.6 ของทั้งหมดเป็นรายงานที่ยังเขียนไม่ได้คุณภาพ ครบถ้วนสมบูรณ์ตามหลักการเขียนรายงานที่ได้มาตรฐาน ในขณะที่ผลการวิจัยที่สามารถนําไปใช้ประโยชน์ ในเชิงพาณิชย์และสังคมได้มีสัดส่วนเพียงร้อยละ 18.2 ของทั้งหมด ส่วนที่เหลือสามารถนําไปใช้เป็นข้อมูล พื้นฐานสําหรับการวิจัยต่อไปและใช้ประกอบการพิจารณาผลักดันนโยบายที่จําเป็นได้ นอกจากนี้ ผลงานวิจัยยางพาราได้ค้นพบความรู้ใหม่ๆ ที่นอกเหนือจากที่กําหนดไว้ในวัตถุประสงค์การวิจัยจํานวน 5 เรื่องหรือร้อยละ 15.2 ของโครงการทั้งหมด
1.4 ประเด็นปัญหา ผลการติดตามและสังเคราะห์ความก้าวหน้าของโครงการ พบประเด็นปัญหาที่ เป็นอุปสรรคต่อการสนับสนุนการวิจัยด้านยางพาราแบบมุ่งเป้าหลายประการ ได้แก่
1.4.1 ปัญหาคุณภาพของนักวิจัยที่เกิดจากกระบวนการวิจัยตั้งแต่การวางแผน การกําหนด เทคนิคและวิธีการดําเนินงาน และการรายงาน วิเคราะห์ได้จาก (1) การดําเนินโครงการวิจัยขาดความ เหมาะสมทางวิชาการอันเนื่องมาจากการศึกษาข้อมูลและทบทวนงานที่เกี่ยวข้องไม่เพียงพอ การวางแผน และกําหนดกระบวนการศึกษาวิจัยไม่เหมาะสมทั้งในรูปของการอ้างอิงข้อมูล การเลือกใช้วิธีการหรือเทคนิค รวมทั้งวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือที่ไม่เหมาะสม (2) ผลการศึกษายังไม่น่าเชื่อถือ หรือยังไม่ชัดเจนเพียงพอ (3) การเขียนรายงานขาดความครบถ้วนสมบูรณ์ตามหลักการเขียนรายงานที่ได้มาตรฐาน ทั้งในรูปของการ นําเสนอที่ไม่เป็นขั้นตอน การอธิบายเชื่อมโยงเหตุและผลไม่ต่อเนื่องสัมพันธ์กัน และการใช้ถ้อยคําอธิบาย เข้าใจยาก ไม่อ้างอิงที่ชัดเจน (4) ดําเนินโครงการล่าช้า ไม่สามารถส่งรายงานได้ตามระยะเวลาที่กําหนด (รวมที่ได้รับการอนุมัติให้ขยายระยะเวลาเพิ่มขึ้น 2-3 เดือน) และไม่สามารถดําเนินโครงการให้ได้ผลผลิตที่ ตอบสนองวัตถุประสงค์ของการวิจัยได้ครบถ้วน
1.4.2 ขาดข้อมูลที่เพียงพอ ถูกต้อง และตรงตามกําหนดเวลา ซึ่งเกิดจากข้อจํากัดในการ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ โดยเฉพาะที่เกิดจากการติดต่อประสานขอข้อมูลจากภาคเอกชน ทั้งใน รูปของการติดต่อเพื่อสัมภาษณ์ และการเข้าเยี่ยมชมโรงงาน
1.4.3 โครงการวิจัยส่วนใหญ่ยังไม่สามารถตอบโจทย์วิจัยแบบมุ่งเป้าได้ เมื่อพิจารณาจาก ผลงานวิจัยส่วนใหญ่ (ร้อยละ 81.8 ของโครงการทั้งหมด) เป็นงานวิจัยประยุกต์ที่จําเป็นต้องได้รับการ พัฒนาต่อยอด ไม่สามารถนําไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ได้ทันที ต้องมีการนําไปทดลองหรือดําเนินกิจกรรม เพิ่มเติม เช่น การหารือร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียเพิ่มเติม การนําไปทดลองกับพื้นที่อื่น การคํานวณหาความ
คุ้มทุน (Cost-benefit Analysis) การทดลองในระดับโรงงานนอกเหนือจากระดับห้องปฏิบัติการ เป็นต้น เนื่องจาก โครงการวิจัยส่วนใหญ่ริเริ่มจากความสนใจของนักวิจัยมากกว่าเป็นความต้องการของผู้ใช้ นักวิจัย แปลงกรอบการวิจัยประจําปีของ วช. และยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราของ สกว. ไม่ตรงตามเจตนารมย์ นอกจากนั้น จํานวนนักวิจัยรายใหม่มีจํานวนไม่ถึงร้อยละ 50 ของนักวิจัยทั้งหมด ส่วนใหญ่เป็นนักวิจัย รายเดิมที่เคยได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สกว. ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา
1.4.4 ปัญหาเชิงโครงสร้าง การสนับสนุนและดําเนินโครงการวิจัยยางพาราในปี 2555 นอกจากจะมีปัญหาของกระบวนการทํางานแล้วยังมีปัญหาเชิงโครงสร้างอีกหลายประการที่จําเป็นต้อง ปรับปรุงเพื่อให้การสนับสนุนการวิจัยเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมและมีประสิทธิภาพมากขึ้นประกอบด้วย 4 ส่วนคือ
1) โจทย์วิจัยไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ โดยเฉพาะในเชิงพาณิชย์เนื่องมาจาก ขาดระบบเชื่อมโยงความต้องการงานวิจัยของภาคธุรกิจกับนักวิจัย การเสนอแนะทิศทาง การวิจัยที่ได้รับ จากการติดตามและประเมินผลงานวิจัยไม่ทันกับการพิจารณาอนุมัติงบประมาณในปีถัดไป ขาดการศึกษา โจทย์วิจัยในแต่ละแนวทางการพัฒนาที่กําหนดไว้ในยุทธศาสตร์การวิจัยยางพารา และประเด็นที่ให้ ความสําคัญในแต่ละปีที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้
2) นักวิจัยสาขายางพารารายใหม่ที่ขอรับทุนสนับสนุนการวิจัยในแต่ละปีมีจํานวนน้อย ทําให้มีข้อจํากัดของการได้รับมุมมองใหม่ๆ ด้านการวิจัยและพัฒนายางพารา และนักวิจัยที่มีอยู่บางส่วนยัง ไม่มีคุณภาพเมื่อพิจารณาจากขั้นตอนการพัฒนาโครงการวิจัยที่ยังขาดประสิทธิภาพ เช่น ขาดกิจกรรม รองรับที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของแผนงานและโครงการย่อยไม่สัมพันธ์กัน และบาง แผนงานไม่ควรจะเป็นแผนงาน เพราะโครงการย่อยมีลักษณะเป็นกิจกรรมมากกว่าที่จะเป็นโครงการ รวมทั้ง คุณภาพของผลงานวิจัยที่ยังไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ เป็นต้น
3) การบริหารจัดการที่ยังไม่เอื้อต่อการดําเนินงานวิจัยตั้งแต่การกําหนดกรอบการวิจัย การพิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัย การทําสัญญา การเบิกจ่ายเงินแก่นักวิจัย จนถึงการติดตามความ ก้าวหน้าและประเมินผลการวิจัยเพื่อสนับสนุนการวิจัยแบบมุ่งเป้าของ สกว. ที่ยังไม่มีประสิทธิภาพ
4) การบูรณาการการทํางานระหว่าง วช. และ สกว. และหน่วยงานอื่นๆ ในรูปของ เครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช. หรือ 6ส+1ว) ยังไม่ครอบคลุมตัวแทนจากภาครัฐกับ ภาคเอกชนที่มีส่วนได้เสียกับงานวิจัยอย่างครบถ้วน
2. ข้อเสนอแนะ
เพื่อให้การสนับสนุนการวิจัยยางพาราของ วช. และ สกว. มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ สอดคล้องกับเป้าหมายการสนับสนุนงานวิจัยแบบมุ่งเป้าที่เน้นการนําไปต่อยอดใช้ประโยชน์ และการสร้าง นักวิจัยรุ่นใหม่ เห็นควรดําเนินการในประเด็นต่างๆ ดังนี้
2.1 ให้ความสําคัญกับกระบวนการพัฒนาโจทย์วิจัยที่บรรลุผลการวิจัยแบบมุ่งเป้าได้มากขึ้น
โดย
2.1.1 สนับสนุนภาคเอกชน และหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงอุตสาหกรรม
กระทรวงพลังงาน และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น เข้าเป็นเครือข่ายองค์กร บริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) และปรับปรุงการประสานงานและระบบการทํางานของหน่วยงาน
สนับสนุนการวิจัยเพื่อให้สามารถแสวงหาโจทย์วิจัยยางพาราแบบมุ่งเป้าในช่วงปี 2557-2559 ด้วย กระบวนการมีส่วนร่วมของนักวิจัย ผู้ประกอบการแปรรูปยาง ผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ยาง และนักวิชาการตามกรอบ ของยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 ได้อย่างครบถ้วนและมีการใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น โดยข้อมูลที่ใช้ประกอบการพิจารณาประกอบด้วย รายงานผลการสังเคราะห์ช่องว่างการวิจัยที่ค้นพบจาก การดําเนินโครงการสังเคราะห์ผลการวิจัยยางพาราในแต่ละปี สถานการณ์ด้านยางพาราที่เปลี่ยนแปลงไป และประเด็นที่รัฐบาลให้ความสําคัญในลําดับสูง ก่อนนํามาจัดทําเป็นกรอบการวิจัยประจําปีประกาศต่อ สาธารณะเพื่อให้นักวิจัยที่สนใจจัดทําข้อเสนอโครงการเสนอ สกว. พิจารณาต่อไป ซึ่งจะช่วยให้การพัฒนา ระบบงานวิจัยยางพาราของประเทศมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการร่วมกันพัฒนาโจทย์วิจัยที่ หลากหลายและสอดคล้องกับความต้องการของอุตสาหกรรมและการแข่งขันของประเทศ รวมทั้งการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันหรือใช้อุปกรณ์บางอย่างร่วมกันโดยไม่ต้องลงทุนซ้ําซ้อน
2.1.2 ปรับกระบวนการพัฒนาโจทย์วิจัยแบบมุ่งเป้าเพื่อนําไปสู่การใช้ประโยชน์จากเดิม ที่ส่วนใหญ่มาจากความต้องการของนักวิจัย และเผยแพร่ไปสู่การใช้ประโยชน์ (Supply Led) มาเป็นการนํา ความต้องการในการใช้ประโยชน์มาเป็นโจทย์เพื่อหานักวิจัยที่สนใจมาร่วมดําเนินโครงการ (Partnership- Demand Driven) แยกกลุ่มตามการใช้ประโยชน์ใน 3 ลักษณะคือ (1) เป็นฐานข้อมูลหรือองค์ความรู้เพื่อ งานวิชาการ/นโยบาย (2) ประเภทที่ต้องการการต่อยอดจากองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาในเชิงพาณิชย์ และ
(3) การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ โดย
1) สนับสนุนการศึกษาเพื่อพัฒนาโจทย์วิจัยจากแนวทางการพัฒนาที่กําหนดไว้ ในแต่ละกลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 ที่มีกระบวนการรวบรวม และ วิเคราะห์ความต้องการของการใช้ประโยชน์ สําหรับใช้เป็นแนวทางการกําหนดกรอบการพัฒนาโจทย์วิจัย สําหรับนักวิจัยในแต่ละปี
2) ปรับแนวทางการพัฒนาโจทย์วิจัยในระดับการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ในลักษณะของ การมีผลผลิต (Output) ที่อยู่ในรูปของผลิตภัณฑ์ (Products) มากกว่าอยู่ในรูปของวิธีการ
3) จัดให้มีระบบหรือกลไกสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือในการดําเนินโครงการวิจัยระหว่าง นักวิจัยและนักอุตสาหกรรมที่เหมาะสมและปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม
2.2 พัฒนาศักยภาพนักวิจัย (รุ่นเก่าและรุ่นใหม่) ในกระบวนการทําวิจัยอย่างต่อเนื่อง ครอบคลุมตั้งแต่การพัฒนาหัวข้อวิจัยให้ตอบโจทย์วิจัยตามที่ วช. และ สกว. กําหนด ทักษะในการเขียน ข้อเสนอโครงการ และการจัดทํารายงาน ความรู้ ความเข้าใจทางด้านเทคโนโลยีการยางในประเด็นโจทย์ วิจัยภายใต้ยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราฯ รวมทั้งความรู้ทางด้านการวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ วิธีการ บริหารจัดการโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดให้มีหลักสูตรและกิจกรรมการฝึกอบรมนักวิจัยยางพารา แบบมุ่งเป้าทั้งนักวิจัยเดิมที่เคยได้รับทุนวิจัยจาก สกว. และนักวิจัยใหม่ที่ยังไม่เคยได้รับการสนับสนุนทุนวิจัย จาก สกว.
2.3 เพิ่มจํานวนนักวิจัยยางพารารุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ โดย
2.3.1 กําหนดเป้าหมายการผลิตนักวิจัยยางพารารุ่นใหม่ให้ชัดเจนในแต่ละปี เพื่อสามารถ กําหนดแนวทางในการดําเนินงานให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างมีทิศทางที่เหมาะสม
2.3.2 สร้างเครือข่ายการพัฒนาและผลิตนักวิจัยยางพารารุ่นใหม่ที่มีคุณภาพกับสถาบัน การศึกษา ในลักษณะของการสนับสนุนทุนวิจัยให้กับนักศึกษาทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และ ปริญญาเอก ที่ผ่านการฝึกอบรมตามหลักสูตรที่กําหนดร่วมกันระหว่าง สกว. และสถาบันการศึกษา และ ได้รับการคัดเลือกเพื่อให้ได้นักศึกษาที่มีคุณภาพเพียงพอ
2.4 พัฒนาระบบการเผยแพร่ผลงานวิจัยไปสู่การใช้ประโยชน์
2.4.1 จัดกลุ่มงานวิจัยออกตามการใช้ประโยชน์ เพื่อกําหนดระดับและแนวทางการต่อยอด รวมทั้ง ระบุกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้ใช้
2.4.2 จัดกิจกรรมเผยแพร่ผลงานให้เข้าถึงผู้สนใจและผู้ใช้ทั้งในวงกว้างและกลุ่มเฉพาะ เจาะจง ในรูปของการจัดประชุม การจัดทําเอกสารเผยแพร่ การเผยแพร่ผลงานทางเว็บไซด์ของ วช. และ สกว.
2.4.3 ออกระเบียบ หรือข้อกําหนดให้นักวิจัยต้องขออนุญาต สกว. ในการนํางานวิจัยไป เผยแพร่สู่สาธารณะในรูปแบบต่างๆ ทั้งกรณีงานวิจัยยังไม่สิ้นสุด และกรณีงานวิจัยที่เสร็จสิ้นสมบูรณ์
2.4.4 จัดกิจกรรมสนับสนุนการนําไปใช้ประโยชน์ให้กับกลุ่มเป้าหมายที่เน้นธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (SMEs) เช่น จัดให้มีคลีนิกสําหรับให้คําปรึกษาแนะนําการนําผลวิจัยไปใช้ประโยชน์ พัฒนา ระบบพี่เลี้ยงเพื่อเข้าไปช่วยเหลือในการนําผลงานวิจัยไปปรับใช้กับธุรกิจ สร้างเครือข่ายกับหน่วยง าน สนับสนุนปัจจัยเอื้อต่างๆ อาทิ การจดทรัพย์สินทางปัญญา แหล่งเงินทุน และการเพิ่มทักษะบุคลากรและ ความสามารถของผู้ประกอบการ เป็นต้น
2.4.5 สนับสนุนการขยายผลงานวิจัยในแนวนอน เพื่อขยายผลการนําไปใช้ประโยชน์ ให้กว้างขวางมากขึ้น เช่น การเปลี่ยนพื้นที่เป้าหมาย และการพัฒนากับผลิตภัณฑ์ใหม่ เป็นต้น
2.5 ปรับปรุงการบริหารจัดการงานสนับสนุนและกํากับการวิจัย โดย
2.5.1 กําหนดให้ สกว. เป็นผู้รับผิดชอบในการให้การสนับสนุนนักวิจัยในลักษณะเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ตั้งแต่การเปิดรับข้อเสนอโครงการ พิจารณาสนับสนุนโครงการ การเบิกจ่ายเงินทุน แก่นักวิจัย และการติดตามประเมินผลการสนับสนุนทุนวิจัยในแต่ละปี
2.5.2 ปรับปรุงประสิทธิภาพการพิจารณาอนุมัติโครงการวิจัย โดย
1) พัฒนาระบบการอนุมัติแผนงาน/โครงการให้เป็น Package ที่มีระยะเวลาต่อเนื่องจน ได้ผลการศึกษาสําหรับนําไปใช้ประโยชน์ได้จริง เพื่อให้เห็นภาพความเชื่อมโยงการทํางานโดยรวมในแต่ละปี และสามารถติดตามประเมินผลการดําเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
2) ให้ความสําคัญกับการพิจารณาคุณลักษณะของ “แผนงาน” และ “โครงการภายใต้ แผนงาน” ให้เป็นมาตรฐานมากขึ้น เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงของวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการ ดําเนินงานที่สามารถตอบสนองได้ทั้งในระดับรายโครงการ และระดับรวมของแผนงาน
3) โครงการที่ต่อเนื่องควรประเมินผลของการทํางานปีที่ผ่านมาให้แล้วเสร็จตาม วัตถุประสงค์และเป้าหมายก่อนการอนุมัติในระยะต่อไป และให้ระบุผลที่ได้รับในปีที่ผ่านมาไว้อย่างชัดเจน ในข้อเสนอโครงการ
4) ข้อเสนอโครงการควรมีการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ และระบุผู้ใช้ประโยชน์ ให้ชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการนําไปต่อยอดตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยแบบมุ่งเป้า
2.5.3 พัฒนาระบบการติดตามประเมินผลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดย
1) วช. และ สกว. พิจารณานําผลการปรับปรุงแบบประเมินที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ไปปรับ ใช้ในโครงการวิจัยปี 2557 เป็นต้นไป
2) เร่งรัดการปฎิบัติงานของนักวิจัย และการให้ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิให้เป็นไปตาม
แผนที่กําหนด
3) ศึกษารูปแบบการจัดชั้นคุณภาพ (Rating) นักวิจัยเดิมที่ได้รับทุนสนับสนุนจาก สกว.
โดยใช้เกณฑ์การจัดส่งรายงานตามระยะเวลาที่กําหนด ความครบถ้วนของการดําเนินกิจกรรม การบรรลุ เป้าหมายและวัตถุประสงค์ และคุณภาพของการนําเสนอผลงานและการเขียนรายงาน
2.5.4 ปรับปรุงระเบียบการทําสัญญาและการเบิกจ่ายเงินโดยทบทวนปรับลดระยะเวลาการ จัดส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ที่กําหนดไว้ในสัญญา จากเดิมที่ให้สามารถส่งร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ภายใน
90 วัน นับจากวันสิ้นสุดสัญญา และอีก 90 วันในการปรับปรุงรายงานหลังจากได้รับความเห็นของ ผู้ทรงคุณวุฒิ ก่อนที่จะมีการปรับในกรณีเกิน 180 วัน ซึ่งทําให้การทํางานของนักวิจัยมีความล่าช้า ไม่สามารถนําผลที่ได้มาสนับสนุนการบริหารจัดการของ วช. และ สกว.ในปีถัดไปได้
2.6 ทิศทางงานวิจัยในปี 2556-2559
2.6.1 ควรให้ความสําคัญกับแนวทางการวิจัยที่กําหนดไว้ในยุทธศาสตร์วิจัยยางพาราที่ยังไม่ได้ ดําเนินการในปี 2555 ได้แก่ การศึกษากฎ ระเบียบที่จะสนับสนุนการผลิต และการประกอบการทั้งใน ภาพรวม รายสาขา และรายประเด็นที่สําคัญ การพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิมที่เป็นเป้าหมาย ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ เส้นด้ายยางยืด ถุงยางอนามัย และการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรมยางล้อ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ในส่วนของการสร้างบุคลากรวิจัยด้านน้ํายางเข้าสู่อุตสาหกรรมน้ํายางข้น และการ เผยแพร่ผลงานวิจัยและแลกเปลี่ยนความรู้ด้านน้ํายาง รวมถึงการพัฒนาการผลิตและการแปรรูปผลิตภัณฑ์ จากไม้ยางพาราให้มีคุณภาพ ประเด็นสนับสนุนการส่งออก ได้แก่ การพัฒนาระบบพลังงานในอุตสาหกรรม ยางที่มีประสิทธิภาพ การเผยแพร่ความรู้ในการออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ยาง เทคโนโลยีสะอาด การพัฒนา ด้านโลจิสติกส์ ในรูปแบบของการปรับปรุงกระบวนการเพื่อลดต้นทุนโลจิสติกส์ตลอดห่วงโซ่อุปทาน การ พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ได้แก่ การพัฒนาพันธุ์ยางให้เหมาะสมกับพื้นที่และความต้องการ ของอุตสาหกรรม การมีเครื่องมือกรีดยางที่มีประสิทธิภาพ มีการถ่ายทอดแนวปฏิบัติการดูแลบํารุงรักษา สวนยางพร้อมทั้งเพิ่มทักษะบุคลากรกรีดยาง การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับยางก้อนถ้วย และเศษยาง วิธีการ ทดสอบหาสิ่งปนเปื้อนในน้ํายาง การถ่ายทอดเทคโนโลยีใหม่ และภูมิปัญญาชาวบ้าน การมีเทคนิคการผลิต และวิธีการควบคุมคุณภาพน้ํายาง และการขึ้นรูปให้ตรงตามความต้องการของอุตสาหกรรม เทคนิคการ ผลิต และวิธีการควบคุมคุณภาพยางแห้ง และการผลิตยางหนืดเหมาะสม เพื่อลดต้นทุนการผลิต
2.6.1 การพัฒนานักวิจัยยางพารารุ่นใหม่ และเพิ่มศักยภาพนักวิจัยเดิมโดยมีขอบเขตการ ดําเนินงานประกอบด้วย การสํารวจประเด็นความต้องการอบรมเพื่อเพิ่มทักษะการวิจัยของนักวิจัย สําหรับ นํามาจัดหลักสูตรให้ตรงกับความต้องการของนักวิจัย อบรมเทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการและการเขียน รายงานที่ถูกต้อง
2.6.2 การสังเคราะห์ผลการวิจัยยางพาราปี 2556 เพื่อติดตามผลลัพธ์ของโครงการวิจัย ยางพาราปี 2555 โดยเฉพาะผลของการนําโครงการวิจัยไปต่อยอดทั้งการผลักดันนโยบายที่สําคัญ และการ นําผลการวิจัยไปใช้ในเชิงพาณิชย์และสังคม
1. ความเป็นมาของโครงการ
บทที่ 1 บทนํา
สํำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย (สกว.) ได้เห็นควำมสํำคัญของกำรวำงแนวทำงกำรพัฒนำ งำนวิจัยด้ำนยำงพำรำของประเทศอย่ำงเป็นระบบและมีทิศทำงที่ชัดเจนเพื่อให้มีกรอบแนวคิดในกำรพัฒนำ โครงกำรที่สำมำรถส่งเสริมและสนับสนุนกำรพัฒนำอุตสำหกรรมยำงพำรำได้อย่ำงแท้จริง และตรงตำม เป้ำหมำยของกำรพัฒนำ สกว. จึงได้จัดทํำยุทธศำสตร์วิจัยยำงพำรำแห่งชำติ พ.ศ. 2555-2559 ที่ผ่ำนกำร ระดมควำมคิดเห็นจำกทุกภำคส่วนที่เกี่ยวข้องขึ้นเป็นกรอบในกำรพิจำรณำสนับสนุนกำรวิจัยของสํำนักงำน คณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ (วช.) และ สกว. ซึ่งในปี พ.ศ. 2555 มีโครงกำรวิจัยด้ำนยำงพำรำที่ได้รับกำร สนับสนุนจำก สกว. จํำนวนทั้งสิ้น 80 โครงกำร ประกอบด้วย (1) โครงกำรขนำดกลำงและและขนำดเล็ก (วงเงินสนับสนุนกำรวิจัยไม่เกิน 350,000 บำทต่อโครงกำร) จํำนวน 35 โครงกำร (2) โครงกำรขนำดใหญ่
(วงเงินสนับสนุนกำรวิจัยเกินกว่ำ 350,000 บำทต่อโครงกำร) จํำนวน 45 โครงกำร1 ภำยใต้ 12 แผนงำน
เพื่อให้โครงกำรที่ได้รับทุนสนับสนุนจำก วช. และ สกว. สำมำรถดํำเนินกำรได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ และประสิทธิผลตรงตำมวัตถุประสงค์และเป้ำหมำยของโครงกำร ตลอดจนสำมำรถตอบสนองต่อ ยุทธศำสตร์วิจัยยำงพำรำแห่งชำติ พ.ศ. 2555-2559 สกว. จึงได้จัดทํำ “โครงการสังเคราะห์ผลการวิจัย ยางพาราปี 2555” ขึ้น เพื่อประเมินผลงำนวิจัยด้ำนยำงพำรำในปี พ.ศ. 2555 โดยมีเป้ำหมำยในกำร สังเครำะห์ผลกำรติดตำมและประเมินกำรดํำเนินโครงกำรวิจัยภำยใต้กระบวนกำรต่ำงๆ ที่ สกว. กํำหนดขึ้น จัดทํำควำมเห็นและข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อนักวิจัยในกำรปรับปรุงกำรดํำเนินโครงกำรก่อนสิ้นสุด โครงกำรและประโยชน์ในกำรต่อยอดควำมคิดโครงกำรใหม่ๆ ทั้งในรูปของโครงกำรวิจัย และกำรผลักดัน เผยแพร่ผลงำนของโครงกำรร่วมกับหน่วยงำนทั้งภำครัฐและเอกชนเมื่อโครงกำรสิ้นสุดลง นอกจำกนั้น สกว. จะได้รับประโยชน์ในกำรใช้เป็นกรอบทิศทำงสํำหรับพิจำรณำโครงกำรที่ควรได้รับกำรสนับสนุนทุนวิจัยใน ระยะต่อไป
2. วัตถประสงค์ของโครงการ
2.1 เพื่อให้มีกระบวนกำรในกำรสรุปและสังเครำะห์ผลงำนวิจัยด้ำนยำงพำรำที่ได้รับกำรสนับสนุน ทุนจำก วช. และ สกว. เผยแพร่ให้กับสำธำรณชนได้รับทรำบ
2.2 เพื่อให้นักวิจัยสำมำรถดํำเนินโครงกำรได้อย่ำงมีประสิทธิภำพและประสิทธิผล
2.3 เพื่อรวบรวมองค์ควำมรู้ที่ได้รับจำกกำรวิจัยและเผยแพร่ให้นักวิจัยและบุคคลทั่วไปมีควำมรู้ สํำหรับนํำไปต่อยอดกำรวิจัยและนํำผลกำรวิจัยไปใช้ประโยชน์ ทั้งในเชิงของกำรพัฒนำอุตสำหกรรม ยำงพำรำและกำรพัฒนำในเชิงพำณิชย์
1 จำกกำรประชุมเมื่อวันที่ 18 ตุลำคม 2555 ณ ห้องประชุม สกว.ชั้น 18 ที่ประชุมเห็นชอบให้ยุติกำรดํำเนินงำน “โครงกำรศึกษำควำมเป็นไป ได้กำรขำยคำร์บอนเครดิต จำกกำรส่งเสริมกำรปลูกสวนยำงที่เพิ่มขึ้น” ภำยใต้แผนงำนวิจัยเรื่อง นโยบำยคำร์บอนเครดิต คำร์บอนฟุตพริ้นท์ และวอเตอร์ฟุคพริ้นท์ เพื่อกำรปลูกยำงพำรำในพื้นที่ปลูกใหม่ของภำคใต้ ทํำให้เหลือโครงกำรที่จะทํำกำรสังเครำะห์ 44 โครงกำร
2.4 เพื่อให้ สกว. มีกรอบทิศทำงในกำรพิจำรณำโครงกำรด้ำนยำงพำรำที่สอดคล้องกับยุทธศำสตร์ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งยุทธศำสตร์กำรพัฒนำยำงพำรำ พ.ศ. 2552-2556 และยุทธศำสตร์วิจัยยำงพำรำแห่งชำติ พ.ศ. 2555-2559 และเตรียมพร้อมสํำหรับรองรับยุทธศำสตร์พัฒนำยำงพำรำในระยะต่อไป
3. กิจกรรมการดําเนินงาน
3.1 ศึกษำและสรุปรำยละเอียดโครงกำรขนำดใหญ่ที่ได้รับกำรสนับสนุนทุนอุดหนุนกำรวิจัย ประจํำปีงบประมำณ 2555 จํำนวน 44 โครงกำร ตำมข้อเสนอโครงกำร (Project Proposal) และจำกกำร สอบถำมเพิ่มเติมจำกนักวิจัย เพื่อนํำมำจัดกลุ่มประเภทโครงกำรตำมยุทธศำสตร์วิจัยยำงพำรำแห่งชำติ พ.ศ. 2555-2559 รวมทั้งแยกตำมระยะเวลำเริ่มต้นและสิ้นสุดของโครงกำร
3.2 วิเครำะห์หำจุดต่ำง (Gap Analysis) ของโครงกำรวิจัยในปี 2555 กับยุทธศำสตร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนํำมำสู่กำรกํำหนดทิศทำงโครงกำรวิจัยในปีต่อๆไป โดยนํำหลักกำรวิเครำะห์สถำนกำรณ์ปัจจุบัน (Current Situation) กับแนวโน้มควำมต้องกำรในอนำคต (Future State) มำใช้ดังนี้
3.2.1 กำรวิเครำะห์หำจุดต่ำงระหว่ำงยุทธศำสตร์กำรพัฒนำยำงพำรำ พ.ศ. 2552-2556 กับ ยุทธศำสตร์วิจัยยำงพำรำแห่งชำติ พ.ศ. 2555-2559 ว่ำมีควำมเกี่ยวเนื่องและสอดคล้องกันเพียงใด และ มีประเด็นใดที่ต้องเพิ่มให้ครบถ้วนสมบูรณ์
3.2.2 กำรวิเครำะห์หำจุดต่ำงของโครงกำรวิจัยปี 2555 โดยรวมกับยุทธศำสตร์วิจัยยำงพำรำฯ พ.ศ. 2555-2559 ใน 3 ประเด็น ได้แก่
1) วิเครำะห์วัตถุประสงค์และเป้ำหมำยของโครงกำรวิจัยปี 2555 โดยรวมว่ำ มีควำม สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเป้ำหมำยของยุทธศำสตร์วิจัยยำงพำรำฯ เพียงใด
2) วิเครำะห์ผลผลิตของโครงกำรวิจัยปี 2555 โดยรวมว่ำ มีส่วนช่วยแก้ไขปัญหำของ อุตสำหกรรมยำงพำรำอะไรบ้ำง และสอดคล้องกับทิศทำงของยุทธศำสตร์วิจัยยำงพำรำหรือไม่เพียงใด
3) เสนอประเด็นกำรสนับสนุนกำรวิจัยที่ตอบสนองทิศทำงกำรพัฒนำอุตสำหกรรม ยำงพำรำในอนำคตตำมข้อวิเครำะห์ข้ำงต้น
3.3 ทบทวนแบบฟอร์มประเมินข้อเสนอแผนงำน/โครงกำรวิจัย แบบฟอร์มกำรประเมินควำม ก้ำวหน้ำ และแบบฟอร์มกำรประเมินร่ำงรำยงำนฉบับสมบูรณ์ของ สกว. ให้สอดคล้องกับแบบประเมินของ วช. หลักกำรวิเครำะห์โครงกำร และหลักกำรติดตำมประเมินผล ดังนี้
3.3.1 วิเครำะห์แบบฟอร์มประเมินข้อเสนอโครงกำรวิจัยที่บูรณำกำรแล้วของ วช. และ สกว. และแบบฟอร์มประเมินข้อเสนอแผนงำนวิจัยของ วช. และ สกว. เทียบกับหลักกำรและแนวทำงกำร วิเครำะห์ควำมเหมำะสมของโครงกำรลงทุนของภำครัฐ และพิจำรณำควำมครบถ้วนสมบูรณ์ของประเด็น ที่เกี่ยวข้องและที่เห็นควรเพิ่มเติม
3.3.2 วิเครำะห์แบบฟอร์มประเมินรำยงำนควำมก้ำวหน้ำและแบบฟอร์มประเมินร่ำงรำยงำน ฉบับสมบูรณ์ของ วช. และ สกว. เทียบกับหลักกำรติดตำมควำมก้ำวหน้ำ และประเมินผลตำม มำตรฐำนสำกล และพิจำรณำควำมครบถ้วนสมบูรณ์ของประเด็นที่เกี่ยวข้องและที่เห็นควรเพิ่มเติม
3.4 จัดประชุมร่วมกับนักวิจัย ผู้ทรงคุณวุฒิ และ สกว. ในกำรติดตำมควำมก้ำวหน้ำของโครงกำร เพื่อรับทรำบผลกำรดํำเนินงำน ปัญหำ อุปสรรค และผลกระทบที่อำจเกิดขึ้นต่อควำมสํำเร็จของโครงกำร และหำแนวทำงกำรแก้ไขร่วมกันจํำนวน 2 ครั้ง (ระหว่ำงกำรดํำเนินโครงกำร และเมื่อสิ้นสุดโครงกำร)
3.5 ติดตำมควำมก้ำวหน้ำของโครงกำรโดย (1) ตรวจสอบผลกำรดํำเนินงำนกับแผนกำรทํำงำน ที่ผู้วิจัยรำยงำนต่อ สกว. และ (2) กำรติดตำมควำมก้ำวหน้ำของโครงกำรในพื้นที่ได้แก่ กำรติดตำมกำรจัด ประชุมระดมสมองกับผู้ที่เกี่ยวข้องทุกโครงกำร และ (3) กำรเดินทำงไปติดตำมควำมก้ำวหน้ำของโครงกำร ที่ทดลองหรือลงทุนเครื่องมือเพื่อวิจัย โดยคัดเลือกโครงกำรที่เป็น Flagship Project จำกเกณฑ์โครงกำร ที่มีงบประมำณสูง โครงกำรที่มีผลกระทบต่อผู้ที่เกี่ยวข้องในวงกว้ำง และมีปัญหำในกำรดํำเนินงำนที่ส่งผล ต่อควำมสํำเร็จของโครงกำรสูง เพื่อรับรู้และได้เห็นข้อเท็จจริงในพื้นที่โดยตรง สํำหรับนํำมำปรับปรุง ข้อเสนอแนะในกำรแก้ไขปัญหำและอุปสรรคต่ำงๆ จํำนวน 1 ครั้ง (ระหว่ำงกำรดํำเนินโครงกำร)
3.6 ประมวลและสังเครำะห์ผลกำรประเมินงำนวิจัยของผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งในขั้นตอนของรำยงำน ควำมก้ำวหน้ำและร่ำงรำยงำนฉบับสมบูรณ์ของโครงกำร ร่วมกับกำรวิเครำะห์ควำมสอดคล้องกับ ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำยำงพำรำ พ.ศ. 2552-2556 และยุทธศำสตร์วิจัยยำงพำรำแห่งชำติ พ.ศ. 2555-2559
3.7 ให้ข้อเสนอแนะทิศทำงกำรต่อยอดผลงำนกำรวิจัย ทั้งในรูปของกำรทํำวิจัยต่อเนื่อง กระบวนกำรเผยแพร่และปฏิบัติทั้งในเชิงองค์ควำมรู้และเชิงพำณิชย์ รวมถึงกำรกํำกับทิศทำงกำรพัฒนำ งำนวิจัยในปีต่อๆไป
3.8 จัดทํำรำยงำนผลกำรดํำเนินงำนโครงกำรเสนอต่อ สกว. ตำมแบบฟอร์มและระยะเวลำ ที่กํำหนดตำมสัญญำ
4. ระยะเวลาดําเนินโครงการ
1 ปี (15 กันยำยน 2555 – 14 กันยำยน 2556) 2
5. แผนการดําเนินงานของโครงการ
กิจกรรม | ระยะเวลา | ||||||||||||
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | |
1. ศึกษำ สรุปรำยละเอียด และ จัดกลุ่มประเภทโครงกำร | |||||||||||||
2. วิเครำะห์หำส่วนต่ำง (Gap Analysis) โครงกำรวิจัยกับยุทธศำสตร์ที่เกี่ยวข้อง | |||||||||||||
3. ทบทวนแบบฟอร์มประเมินโครงกำร | |||||||||||||
4. จัดประชุมตดตำมควำมก้ำวหน้ำของ โครงกำร จํำนวน 2 ครั้ง | |||||||||||||
5. ตรวจสอบผลกำรดํำเนินงำนกับ |
2 โครงกำรได้รับอนุมัติให้ขยำยเวลำไปสิ้นสุดวันที่ 15 ธันวำคม 2556 เนื่องจำก แผนงำน/โครงกำรที่ไปรับทุนวิจัยปี พ.ศ. 2555 มีกำร ดํำเนินงำนล่ำช้ำ และมีกำรขยำยระยะเวลำโครงกำรออกไปตำมช่วงเวลำต่ำงๆ
แผนกำรทํำงำนของโครงกำร | |||||||||||||
6. ติดตำมกำรจัดประชุมระดมสมองของ ทุกโครงกำร | |||||||||||||
7. เดินทำงไปติดตำมควำมก้ำวหน้ำของ Flagship Project | |||||||||||||
8. ประมวลและสังเครำะห์ผลกำร ประเมินงำนวิจัยของผู้ทรงคุณวุฒิ | |||||||||||||
9. จัดทํำรำยงำนควำมก้ำวหน้ำกำร ดํำเนินโครงกำรครั้งที่ 1 | |||||||||||||
10. ให้ข้อเสนอแนะทิศทำงกำรพัฒนำ และต่อยอดงำนวิจัย | |||||||||||||
11. จัดทํำรำยงำนผลโครงกำร |
6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ
6.1 ได้รู้ถึงผลกำรดํำเนินงำนของโครงกำรภำยใต้กำรสนับสนุนเงินอุดหนุนกำรวิจัยของ วช. และ สกว. ด้ำนยำงพำรำว่ำเป็นไปตำมวัตถุประสงค์ของโครงกำรที่กํำหนดไว้หรือไม่ อย่ำงไร
6.2 ได้รู้ถึงควำมสอดคล้องและเชื่อมโยงของงำนวิจัยด้ำนยำงพำรำกับยุทธศำสตร์ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำยำงพำรำ พ.ศ. 2552-2556 และยุทธศำสตร์วิจัยยำงพำรำแห่งชำติ พ.ศ. 2555-2559
6.3 มีข้อเสนอแนะสํำหรับกำรปรับปรุงกำรดํำเนินงำนพัฒนำยำงพำรำในเชิงนโยบำย และ ทิศทำงกำรจัดทํำโครงกำรงำนวิจัยในอนำคตที่สอดคล้องกับยุทธศำสตร์ด้ำนยำงพำรำที่เกี่ยวข้อง
6.4 มีข้อเสนอแนะสํำหรับกำรปรับปรุงกระบวนกำรบริหำรจัดกำรงำนวิจัยของ วช. และ สกว. นักวิจัยและผู้ทรงคุณวุฒิด้ำนยำงพำรำ
ภาคผนวก 4
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการนําผลจากโครงการไปใช้ประโยชน์
การใช้ประโยชน์โดยตรงจากโครงการสังเคราะห์ผลการวิจัยยางพาราปี 2555 ขึ้นอยู่กับการ พิจารณาของสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) โดยอาจมีกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
1. สกว. จัดทําเอกสารเผยแพร่ผลการดําเนินงานของโครงการ
2. จัดกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ เพื่อเผยแพร่และสนับสนุนให้เกิดการนําไปใช้ประโยชน์ได้จริง จํานวน 3 กิจกรรม เช่น
กิจกรรมที่ 1 จัดทําแบบสอบถามนักวิจัยแผนงาน/โครงการปี 2555 ถึงความสามารถในการ นําไปต่อยอด ผู้ใช้ประโยชน์จากงานวิจัย (Users) และสิ่งที่ วช. และ สกว. ควรดําเนินการต่อไป
กิจกรรมที่ 2 จัดประชุมเพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยไปยังผู้ใช้ (Users) และตรวจสอบความ ต้องการใช้ผลงานวิจัย พร้อมทั้งปัจจัยสนับสนุนต่อการนําไปใช้ประโยชน์ที่ผู้ใช้ต้องการ
กิจกรรมที่ 3 จัดกิจกรรมจับคู่ธุรกิจ (Business Matching) สําหรับโครงการที่อยู่ในกลุ่ม สามารถนําไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ได้
3. การนําผลการสังเคราะห์แผนงาน/โครงการไปใช้ประโยชน์ในการติดตามความก้าวหน้าของ แผนงาน/โครงการในปีต่อๆ ไป เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด
4. การพิจารณาปรับแบบประเมินของ วช. และ สกว. ให้สมบูรณ์และเป็นมาตรฐาน
วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) | |
กลยุทธ์ที่ 1 การผลักดันนโยบายที่จําเป็น | |||
1. แผนงานวิจัยเรื่อง การวิจัย เชิงนโยบายการจัดทําคาร์บอน เครดิต คาร์บอนฟุตพริ้นท์ และ วอเตอร์ฟุตพริ้นท์ จากการ ดําเนินการปลูกสร้างสวนยาง ระยะที่ ๓ แปดแสนไร่ (รหัส RDG 5550005) นักวิจัย 1. รศ.ดร.ประเสริฐ ภวสันต์ 2. ดร.วรพจน์ กนกกัณฑพงศ์ 3. ดร.อารีวรรณ มั่งมีชัย งบประมาณรวม 3.71 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 พ.ค.55-30 เม.ย. 56) | |||
1.1 โครงการการจัดทําคาร์บอน เครดิต และคาร์บอนฟุตพริ้นท์ จากการดําเนินการปลูกสร้าง สวนยางพารา ตามนโยบาย ส่งเสริมการปลูกสร้างสวน ยางพารา ระยะที่ ๓ แปดแสนไร่ นักวิจัย ดร. วรพจน์ กนกกันฑพงษ์ งบประมาณ 1.84 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 พ.ค.55-30 เม.ย. 56) | ศึกษาผลกระทบจาก นโยบายส่งเสริมการปลูก ยางพาราระยะที่ 3 ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคอื่นๆ ของประเทศไทย ที่มีผลต่อ (1) การใช้ ประโยชน์ที่ดินหลังจาก เปลี่ยนแปลงมาปลูกยาง พารา (2) ผลผลิตยางต่อ พื้นที่ (3) ปริมาณการกัก เก็บคาร์บอนในพื้นที่เมื่อ เทียบกับลักษณะการใช้ พื้นที่แบบเดิม (4) การลด การรุกล้้าพื้นที่ป่า และ (5) การทดแทนการใช้ยาง สังเคราะห์ | 1. ศึกษาศักยภาพการกักเก็บ คาร์บอนของพื้นที่ที่ได้รับการ ส่งเสริมการปลูกยางพาราทั่ว ประเทศตามแผน 800,000 ไร่ 2. ศึกษาคาร์บอนฟุตปริ้นท์ของ พืชที่ปลูกมากในพื้นที่ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือก่อนการ ปลูกยางพารา เช่น ข้าว มันส้าปะหลัง ข้าวโพด ปาล์ม และอ้อย เป็นต้น 3. ศึกษาคาร์บอนฟุตพริ้นท์จาก การปลูกยางพารา 4. ศึกษาผลกระทบด้านภาวะ โลกร้อน และการใช้น้้าจาก แผนการปลูก 800,000 ไร่ 5. น้าเสนอข้อมูลประกอบการ จัดท้านโยบายคาร์บอนฟุต พริ้นท์ ส้าหรับยางพารา 6. ศึกษาการจัดท้าคาร์บอน เครดิตในพื้นที่ปลูกยางพารา 7. น้าเสนอโครงการน้าร่องการ ท้าคาร์บอนเครดิตส้าหรับ ยางพารา | 1. ลักษณะพื้นที่ที่เหมาะสมเพื่อ จัดท้าแผนการส่งเสริมการปลูก ยางพารา 800,000 ไร่ 2. คาร์บอนฟุตปริ้นท์ของการ ปลูกยางพาราแต่ละชนดิ เปรียบเทียบกับพืชเศรษฐกิจชนิด อื่นๆ ในพื้นที่เดียวกัน 3. เข้าใจถึงศักยภาพการกักเก็บ คาร์บอนของการปลูกยางพารา เมื่อเทียบกับพืชเศรษฐกิจอื่น ๆ 5. ข้อมูลประกอบการจัดท้า นโยบายดาร์บอนฟุตพริ้นท์ ส้าหรับยางพาราในแง่มุมหนึ่ง ที่ช่วยในการตัดสินใจร่วมกับ นโยบายการสนับสนุนการ เพาะปลูกแง่มุมอื่น 6. สร้างกลไกการด้าเนินการเพื่อ ขอคาร์บอนเครดิตจากนโยบาย ส่งเสริมการปลูกยางพารา 7. พื้นที่น้าร่องส้าหรับการจัดท้า โครงการคาร์บอนเครดิตส้าหรับ ยางพารา |
1.2 โครงการการประเมิน วัฏจักรการใช้น้ําเพื่อการวาง นโยบายการจัดสรรทรัพยากรน้ํา | ศึกษาผลกระทบจาก นโยบายส่งเสริมการปลูก ยางพาราระยะที่ 3 ต่อ | 1. รวบรวมข้อมูลวัฏจักรการใช้ น้้าเพื่อการปลูกยางพารา และ พืชเศรษฐกิจอื่นๆ | 1. ทราบข้อมูลวัฎจักรการใช้น้้า เพื่อการปลูกยางพารา และพืช เศรษฐกิจอื่น ๆ |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
ในพื้นที่เพาะปลูกเพื่อการปลูก ยางพาราอย่างยั่งยืน นักวิจัย ดร.อารีวรรณ มั่งมีชัย งบประมาณ 1.22 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 พ.ค.55-30 เม.ย. 56) | ความต้องการน้้า เพื่อ น้าเสนอแนวนโยบายการ จัดสรรทรัพยากรน้้าเพื่อ การเพาะปลูก เพื่อก่อให้ เกิดความสอดคล้องกับ การใช้น้้าในด้านต่างๆ และเพื่อให้เกิดการพัฒนา สังคมและเศรษฐกิจที่ ยั่งยืน | 2. รวบรวมข้อมูลนโยบายการ จัดการทรัพยากรน้้าการ ชลประทาน และปรมาณน้้าฝน ในพื้นที่ศึกษา 3. ส้ารวจการใช้น้้าในการปลูก ยางพารา ทั้งในส่วน Green, Blue และ Grey water การ เก็บตัวอย่างดิน และศึกษา คุณสมบัติของดิน และค่า ความชื้น 4. น้าการส้ารวจในข้อ 3. เปรียบเทียบกับความต้องการน้้า ของการปลูกพืชชนิดอื่นที่มีอยู่ เดิมในพื้นที่ 5. ศึกษาปริมาณ และคุณภาพ ของน้้ายาง 6. ศึกษาแนวทางที่เหมาะสม ส้าหรับการจัดสรรทรัพยากรน้้า ในพื้นที่ที่มีกิจกรรมการปลูก ยางพารา และนโยบายการใช้ ที่ดินเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ สูงสุด | 2. ทราบสถานการณ์ปัจจุบัน สภาพปัญหาด้านการจัดการ ทรัพยากรน้้าในท้องที่ 3. ทราบปริมาณความต้องน้้าของ แต่ละกิจกรรมในการปลูก ยางพารา 4. ทราบปริมาณความต้องการน้้า ของแต่ละกิจกรรมในการปลูก ยางพารา และทราบความแตกต่าง ปริมาณความต้องการน้้าของ ยางพารา และพืชดั้งเดิมอื่น ๆ ใน พื้นที่ศึกษา 5. ทราบความเชื่อมโยงระหว่าง ปริมาณและคุณภาพของน้้ายาง กับปริมาณความต้องการน้้าของ ยางพารา 6. ทราบแนวทางที่เหมาะสม ส้าหรับการจัดสรรทรัพยากรน้้าใน พื้นที่ปลูกยางพารา เช่น การ จัดสรรระบบชลประทานการจัด สวนยาง และนโยบายการใช้ที่ดิน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด |
2. แผนงานวิจัยเรื่อง การศึกษา สมดุลคาร์บอนและน้ํา เพื่อใช้ เป็นข้อมูลจัดทําคาร์บอนฟุต พริ้นท์ และวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ ของสวนยางพารา (รหัส RDG 5550006) นักวิจัย 1. รศ.ดร.พูนพิภพ เกษมทรัพย์ 2. ดร.ดวงรัตน์ ศตคุณ 3. ดร. เจษฎา ภัทรเลอพงศ์ งบประมาณ 6.90 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (15 มิ.ย. 55-14 มิ.ย. 56) | |||
2.1 โครงการการศึกษาสมดุล คาร์บอน เพื่อใชเป็นข้อมูลจัดทํา คาร์บอนฟุตพริ้นท์ของสวน ยางพารา นักวิจัย | จัดท้าคาร์บอนฟุตพริ้นท์ โดยตรวจวัดองค์ประกอบ หลักของคาร์บอนฟุต พริ้นท์ ด้วยเทคนิค Eddy Covariance ซึ่งวัด | 1. ใช้วิธี Eddy Covariance 1.1 ส้าหรับซ่อมแซม และ ตรวจสอบการท้างานของชุด อุปกรณ์ Eddy covariance และชุดอุปกรณ์ตรวจวัดสภาพ | 1. เพื่อประเมินค่า NPP ของ สวนยางพารา 2. เมื่อประเมินค่า Ra และ Rh 3. ข้อมูลประกอบในการค้านวณ และประเมินความแปรปรวนของ |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
ดร.ดวงรัตน์ ศตคุณ งบประมาณ 3.24 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (15 มิ.ย. 55-14 มิ.ย. 56) | Greenhouse Gas Flux Rate หรืออัตราการ เคลื่อนของคาร์บอน ไดออกไซด์ระหว่างสวน ยางพารา และบรรยากาศ ร่วมกับการประเมิน องค์ประกอบของคาร์บอน ฟุตพริ้นท์จากการเขต กรรม และของเสียที่ เกิดขึ้น และผลผลตที่เก็บ เกี่ยวได้ | ภูมิอากาศ และเก็บข้อมูลอัตรา การเคลื่อนของคาร์บอนของสวน ยางพาราอายุมาก 1.2 ส้ารวจพื้นที่สวนยางพารา ที่มีอายุน้อย และยังไม่เริ่มเปิด กรีด ส้าหรับเก็บข้อมูลอัตราการ เคลื่อนของคาร์บอนของสวน ยางพาราก่อนเปิดกรีด พร้อมทั้ง ติดตั้งชุดอุปกรณ์ Eddy covariance และชุดอุปกรณ์ ตรวจวัดสภาพภูมิอากาศในพื้นที่ สวนยางพารา และเก็บข้อมูล อัตราการเคลื่อนของคาร์บอน 2. ใช้วิธี Soil respiration สร้าง Trench Plot และ ติดตั้ง Soil collar เก็บข้อมูล Soil CO2 efflux ส้าหรับสวน ยางอายุมาก และสวนยางที่มี อายุน้อย และยังไม่เริ่มเปิดกรีด เก็บข้อมูล Soil CO2 efflux (ใน กรณีที่ก้าหนดพื้นที่ในการติดตั้ง ได้และตดตั้งอุปกรณ์แล้ว) 3. เก็บข้อมูลประกอบอื่น ๆ เช่น ข้อมูลด้าน Biometric และ Litter 4. การค้านวณค่า GPP, NEP และ NBP คาร์บอนฟุตพริ้นท์ จากการเขตกรรม ปุ๋ย ยา และ สารเคมีที่ใช้ และของเสียที่ เกิดขึ้น และการค้านวณ คาร์บอนฟุตพริ้นท์ | คาร์บอนฟุตปริ้นต์ 4. ข้อมูลประกอบในการค้านวณ และประเมินความแปรปรวนของ คาร์บอน 5. ข้อมูลประกอบในการค้านวณ คาร์บอนฟุตพริ้นท์ของสวน ยางพารา 6. ค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของสวน ยางพาราอายุมาก |
2.2 โครงการการศึกษาสมดุล น้ํา เพื่อใช้เป็นข้อมูลจัดทํา วอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของสวน ยางพารา นักวิจัย ดร.เจษฎา ภัทรเลอพงศ์ งบประมาณ 3.44 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (15 มิ.ย. 55-14 มิ.ย. 56) | จัดท้าวอร์เตอร์ฟุตพริ้นท์ ของสวนยางพารา จาก การตรวจวัดอัตราการ เคลื่อนของไอน้้าระหว่าง สวนยางพาราและ บรรยากาศด้วยเทคนคิ Eddy covariance ร่วมกับการศึกษาผลผลิต ที่เก็บเกี่ยวได้ | 1. ใช้วิธี Eddy covariance 1.1 ตรวจสอบการท้างานของ ชุดอุปกรณ์ Eddy covariance และชุดอุปกรณ์ตรวจวัดสภาพ ภูมิอากาศ และเก็บข้อมูลอัตรา การเคลื่อนของน้้าของสวน ยางพาราอายุมาก 1.2 ส้ารวจพื้นที่สวนยางพารา อายุน้อย ส้าหรับเก็บข้อมูลการ ใช้น้้าของสวนยางพาราก่อนเปิด | 1. ค่าการคายระเหยน้้าของสวน ยางพาราซึ่งเป็นองค์ประกอบ หลักของวอร์เตอร์ฟุตพริ้นท์ 2. ข้อมูลประกอบในการค้านวณ และประเมินความแปรปรวนของ ของวอร์เตอร์ฟุตพริ้นท์ 3. ค่าวอร์เตอร์ฟุตพริ้นท์ของสวน ยางพาราอายุมาก |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
กรีด 1.3 เก็บข้อมูลอัตราการ เคลื่อนของวอร์เตอร์ของสวน ยางพาราอายุมาก และอายุน้อย 1.4 ติดตั้งชุดอุปกรณ์ Eddy Covariance และชุดตรวจวัด สภาพภูมิอากาศในพื้นที่ 2. เก็บข้อมูลประกอบอื่น ๆ เช่น Sap Flow และ Soil Water Content ผลผลติ เป็น ต้น 3. ค้านวณวอร์เตอร์ฟุตพริ้นท์ ของสวนยางพาราอายุมาก และ อายุน้อย | |||
3. แผนงานวิจัยเรื่อง นโยบาย คาร์บอนเครดิต คาร์บอน ฟุตพริ้นท์ และวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ เพื่อการปลูกยางพาราในพื้นที่ ปลูกใหม่ของภาคใต้ (รหัส RDG 5550007) นักวิจัย 1. ผศ.ดร.จรงค์พันธ์ มุสิกะวงศ์ 2. ดร. ธเนศ ไชยชนะ งบประมาณ 2.99 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (15 มิ.ย. 55-14 มิ.ย. 56) | |||
3.1 โครงการการประเมินการใช้ พลังงานและคาร์บอนฟุตพริ้นท์ สําหรับยางพาราในพื้นที่ภาคใต้ ของประเทศไทย นักวิจัย ดร. ธเนศ ไชยชนะ งบประมาณ 1.36 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (15 มิ.ย. 55-14 มิ.ย. 56) | 1. ศึกษาการใช้ปัจจัยการ ผลิต (Production Factor) และปริมาณการ ใช้พลังงาน (Energy Consumption) ในการ ปลูกยางพาราในพื้นที่ ภาคใต้ของประเทศไทย 2. ประเมินคาร์บอน ฟุตพริ้นท์ (Carbon Footprint) ของการปลูก ยางพาราในพื้นที่ภาคใต้ ของประเทศไทย | 1. รวบรวมข้อมูลพื้นที่ปลูก ยางพารา 2. จัดท้าเอกสาร และแบบเก็บ ข้อมูล 3. คัดเลือกพื้นที่ท้าการศึกษา 4. คัดเลือก และอบรมเจ้าหน้าที่ ช่วยเก็บข้อมูล 5. วิเคราะห์การใช้ปัจจัยในการ ผลิต ต้นทุนการผลิต และ ปริมาณการใช้พลังงาน 6. วิเคราะห์คาร์บอนฟุตพริ้นท์ 7. จัดการประชุมเผยแพร่ผลการ | 1. ข้อมูลพื้นที่ของโครงการ 2. เอกสารแบบสอบถาม 3. มีเจ้าหน้าที่เก็บข้อมูลที่มีความ สามารถในการวิเคราะห์ข้อมูล เบื้องต้นได้ 4. ข้อมูลปัจจัยการผลติ ต้นทุน การผลิต ปริมาณการใช้พลังงาน และคาร์บอนฟุตพริ้นท์ภายใน จังหวัด และแยกตามพื้นที่ปลูก เดิม และพื้นที่ปลูกใหม่ 6. รายงานฉบับสมบูรณ์ และมี การเผยแพร่ผลการวิจัย |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
วิจัย 8. จัดท้ารายงานการวิจัย | |||
3.2 โครงการการประเมิน วอเตอร์ฟุตพริ้นท์ในการปลูก ยางพาราในพื้นที่แห่งใหม่ของ ภาคใต้ นักวิจัย ผศ.ดร.จรงค์พันธ์ มุสิกะวงศ์ งบประมาณ 1.37 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (15 มิ.ย. 55-14 มิ.ย. 56) | เพื่อประเมินวอเตอร์ ฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ จากการปลูกยางพารา พันธุ์ PRIM 600 ในพื้นที่ ปลูกยางใหม่ของภาคใต้ และเสนอแนวทางการลด ค่าวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของ การปลูกยาง | 1. ทบทวนเอกสาร 2. ก้าหนดพื้นที่ศึกษา 3. ท้าบัญชีรายการ และแบบ สอบถาม 4. เก็บข้อมูลภาคสนาม 5. วิเคราะห์ข้อมูลภาคสนาม และวิเคราะห์ตัวอย่าง 6. วิเคราะห์ค่าวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ 7. จัดท้าคู่มือการประเมิน วอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของการปลูก ยาง และรายงานฉบับสมบูรณ์ 5. เขียนบทความตีพิมพ์เผยแพร่ | 1. ข้อมูลพื้นที่การปลูกยาง สารสนเทศภูมิศาสตร์ การปลูก ยาง อากาศ และดิน 2. พื้นที่ศึกษา 3. บัญชีรายการและแบบสอบ ถาม 4. ข้อมูลการปลูกยาง ตัวอย่างดิน และน้้าเสีย 5. ข้อมูลที่ใช้ในการค้านวณ และ ผลการวิเคราะห์ตัวอย่างดินและ น้้าเสีย 6. ค่าวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ผลิตภัณฑ์ ยางพาราของภาคใต้ 7. คู่มือการประเมินวอเตอร์ ฟุตพริ้นท์ และรายงายฉบับ สมบูรณ์ 8. บทความตีพิมพ์เผยแพร่ |
4. โครงการพัฒนายุทธศาสตร์ สําหรับการปลูกยางพาราของ ประเทศไทยด้วยประสิทธิภาพ เชิงนิเวศเศรษฐกิจ (รหัส RDG5550099) นักวิจัย 1. ผศ.ดร.ธันวดี สุขสาโรจน์ 2. ดร.ชีระวิทย์ รัตนพันธ์ 3. ผศ.ดร.กิติกร จามรดุสติ งบประมาณ 0.5 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (15 ส.ค.55-14 ส.ค.56) | 1. มีข้อมูลสภาพเศรษฐกิจ ผลกระทบทางสังคมใน การปลูกยางพารา 2. ทราบสภาพการณ์ของ ยุทธศาสตร์การพัฒนา ยางพารา พ.ศ. 2552- 2556 ด้วยการวิเคราะห์ SWOT 3. ทราบสถานะ และ แนวโน้มประสิทธิภาพเชิง นิเวศเศรษฐกิจที่น้าไปสู่ ความยั่งยืนของการปลูก ยางพารา 4. เพิ่มประสิทธิภาพการ ปลูกยางพาราด้วยการเพิ่ม ประสิทธภาพเชิงนิเวศ เศรษฐกิจ และการ วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ | 1. ทบทวนวรรณกรรม และ ข้อมูล ตั้งแต่แหล่งผลตจนถึง แหล่งจ้าหน่ายยางพารา และ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และ สังคม 2. วิเคราะห์ยุทธ์ศาสตร์ ยางพาราด้วย SWOT 3. ก้าหนดตัวชี้วัดด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคม 4. รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบ ถามหน่วยงานภาครัฐ 11 แห่ง ชาวสวนยางรายเดิม และราย ใหม่ จ้านวน 15 รายจาก 5 ภาค 5. วิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมได้ และประเมินประสิทธิภาพเชิง นิเวศเศรษฐกิจการปลูก ยางพารา 6. ประชุมเชิงปฏิบัติการ 7. ศึกษาแนวโน้มประสิทธิภาพ เชิงนิเวศ 8. เสนอยุทธศาสตร์การปลูก ยางพาราอย่างยั่งยืน | 1. สรุปข้อมูลพื้นฐาน และ ยุทธศาสตร์ในการปลูกยางพารา ของประเทศไทย 2. ตัวชี้วัดประสิทธิภาพเชิงนิเวศ เศรษฐกิจของการปลูกยางพารา ของประเทศไทย 3. ข้อมูลการวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ และประสิทธิภาพ เชิงนิเวศเศรษฐกิจ 4. ข้อเสนอแนะในการพัฒนา ยุทธศาสตร์เพื่อความยั่งยืน 5. ค่าและแนวโน้มประสิทธิภาพ เชิงนิเวศเศรษฐกิจการปลูก ยางพาราอย่างยั่งยืนของประเทศ ไทย 6. การประชุมวิชาการในการปลกู ยางพาราอย่างยั่งยืน 7. ยุทธศาสตร์การปลูกยางพารา อย่างยั่งยืน |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
5. โครงการการวิเคราะห์ นโยบายที่เหมาะสมเพื่อการ จัดการยางรถยนต์ใช้แล้วของ ประเทศไทย (รหัส RDG 5550100) นักวิจัย 1. รศ.ดร.ประเสริฐ ภวสันต์ 2. ดร.ดวงกมล เรือนงาม 3. ดร.อารีวรรณ มั่งมีชัย งบประมาณ 2.01 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (15 ส.ค.55-14 ส. ค.56) | 1. พิจารณาทางเลือกที่ เหมาะสม ส้าหรับการ จัดการยางยานยนต์ ใช้ แล้ว 2. จัดท้าระบบ สารสนเทศภูมิศาสตรยาง ยานยนต์ใช้แล้วในประเทศ ไทย 3. จัดท้าข้อเสนอแนะ ด้านนโยบายการจดการ ยางยานยนต์ใช้แล้ว | 1. ส้ารวจ และรวบรวมข้อมูล ปริมาณ แหล่งรวบรวม การ กระจายตัว และวิธีการจัดการ ยางยานยนต์ใช้แล้วในประเทศ ไทย 2. ศึกษาแนวทาง ข้อก้าหนด กฎหมาย และเทคโนโลยีการ จัดการยางยานยนต์ใช้แล้วใน ต่างประเทศ 3. วิเคราะห์ปัญหาการจัดการ ยางยานยนต์ใช้แล้วของไทยและ ต่างประเทศ รวมทั้งวิเคราะห์ รูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม 4. จัดท้าระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตรยางใช้แล้ว 5. จัดประชุมผเชี่ยวชาญเพื่อ รับฟังข้อเสนอแนะ และคัดเลือก เทคโนโลยี วิธีจัดการยางยาน ยนต์ใช้แล้วที่ดีที่สุด 6. วิเคราะห์ข้อมูลผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม และต้นทุนตลอดวัฏ จักรชีวิตของแต่ละเทคโนโลยี การจัดการยางยานยนต์อย่าง น้อยอย่างละ 3 เทคโนโลยี 7. จัดท้านโยบายการจัดการ ยางยานยนต์จากข้อ 6. และ 7. 8. จัดท้ารายงานฉบับสมบูรณ์ | 1. ข้อมูลปริมาณแหล่งรวบรวม การกระจายตัว และวิธีการจัดการ ยางยานยนต์ใช้แล้วในประเทศไทย 2. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ยาง ใช้แล้ว 3. ข้อเสนอแนะนโยบายการ จัดการยางยานยนต์ใช้แล้วใน ประเทศไทย |
6. โครงการแนวทางการ สนับสนุนด้านการลงทุนระหว่าง ประเทศของอุตสาหกรรม ยางพาราไทย (รหัส RDG 5550102) นักวิจัย 1. ดร. นิภาวรรณ ธิราวัฒน์ 2. ดร.วลีรัตน์ สุวรรณชาติ งบประมาณ 0.60 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (15 ส.ค.55-14 ส. ค.56) | 1. พัฒนากรอบแนวคิด เชิงนโยบาย และสร้างองค์ ความรู้ในผลกระทบ และ บทบาทของมาตรการ ส่งเสริมการลงทุนของไทย นโยบายการค้า และการ ลงทุนระดับภูมิภาคในการ ขยายตัวสต่าง ประเทศ ของบริษัทข้ามชาติเอเชีย และบริษัทข้ามชาติไทยใน อุตสาหกรรมยางพารา 2. รับรู้การเปลี่ยนแปลง ด้านนโยบายการลงทุน ระหว่างประเทศของไทย | 1. รวบรวมข้อมูลด้านนโยบาย การค้า และการลงทุนระหว่าง ประเทศของไทย และระดับ ภูมิภาค 2. จัดสร้างฐานข้อมูล และการ สัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (Semi- structured Interview) โดยใช้ แบบสอบถาม 3. รวบรวมข้อมูลรายบริษัทของ บริษัทข้ามชาติกลุ่มเป้า หมาย รวมทั้งการท้า Pilot Project และทดสอบเครื่องมือในการวิจัย โดยการสัมภาษณจาก แบบสอบถาม | 1. กรอบแนวคิด และข้อมูล นโยบายการค้า การลงทุนของไทย และระดับภูมิภาค 2. ข้อมูลกรณีศึกษารายบริษัทใน เรื่องการลงทุนต่างประเทศของ บริษัทข้ามชาติเอเชีย (การตอบ สนองต่อมาตรการส่งเสริมการ ลงทุนของไทย การรวมตัวทาง เศรษฐกิจประชาคมอาเซียน รวมทั้งปัจจัยระดับประเทศ และ ระดับบริษัทที่เป็นข้อดี ข้อเสีย โอกาส และอุปสรรค) 3. ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบกับต่าง ประเทศ เช่น มาเลเซีย เป็นต้น |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
นโยบายการค้า และการ ลงทุนของภูมิภาคอาเซยน และการปรับตัวของบริษัท ข้ามชาติเอเซีย รวมทั้ง บริษัทข้ามชาติไทย 3. ระบุปัจจัยเฉพาะระดับ ประเทศ และปัจจัยเฉพาะ ระดับบริษัทที่ส้าคัญ รวม ทั้งให้ข้อเสนอแนะแนว ทางการสนับสนุนด้านการ ลงทุนระหว่างประเทศของ อุตสาหกรรมยางพาราไทย แก่ผู้ก้าหนดนโยบาย | 4. วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จาก 3. 5. พัฒนา และให้ข้อเสนอแนะ เชิงนโยบายแก่ผู้ก้าหนดนโยบาย 6. ทบทวนร่างรายงานผลการ วิจัยและปรับปรุง | 4. องค์ความรู้ในเรื่องการเปลี่ยน แปลงบทบาท และผลกระทบของ ปัจจัยเฉพาะระดับบริษัท 5. ค้าแนะน้าเชิงนโยบายแก่ผู้ ก้าหนดนโยบายของไทย 6. รายงานผลงานวิจัยฉบับ สมบูรณ์ | |
7. โครงการการศึกษา ผลกระทบ ของปัจจัยที่มีผลต่อ การรักษาเสถียรภาพของราคา ยางพารา (รหัส RDG 5550107) นักวิจัย 1. ดร.วิชัย รุ่งเรืองอนันต์ 2. ผศ.ดร.สมภพ ตลับแก้ว 3. น.ส.สุกัญญา เชิดชูงาม งบประมาณ 1.77 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 ก.ย.55-31 ส.ค.56) | 1. ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อ เสถียรภาพราคายางพารา 2. สร้างระบบโครงสร้าง และความ สัมพันธ์ของ ราคายางพารา 3. สร้างข้อเสนอด้าน นโยบายการรักษา เสถียรภาพราคายางพารา | 1. ศึกษาทฤษฎีอุปสงค์ และ อุปทานการก้าหนดราคา 2. ค้นคว้าข้อมูลปัจจัยที่มี ผลกระทบต่อห่วงโซ่อุปทาน ยางพารา 3. จัดประชุมเสวนา 4. สร้างแบบจ้าลองโครงสร้าง และความสัมพันธ์ของห่วงโซ่ อุปทานยางพาราตามภาวะ ปัจจุบัน (AS-IS) 5. ทดสอบแบบจ้าลอง และ วิเคราะห์ผลความสัมพันธ์ของ ปัจจัย 6. สร้างนโยบายเพื่อรักษา เสถียรภาพราคายางพารา (TO-BE) 7. จ้าลองพฤติกรรมภาพรวม ตลอดห่วงโซ่อุปทานยางพารา (TO-BE) เปรียบเทียบกับ ผลลัพธ์ของนโยบายต่างๆ 8. วิเคราะห์ผล และสรุปข้อดี ข้อเสียของแต่ละนโยบาย 9. สรุปผลวิจัยและเสนอแนะ | 1. ปัจจัยที่มีผลต่อเสถียรภาพ ราคา (เดือนที่ 1-4) 2. ระบบโครงสร้าง และความ สัมพันธ์ของราคายางพารา (เดือนที่ 5-8) 3. นโยบายด้านการรักษา เสถียรภาพราคายางพารา (เดือนที่ 9-12) |
8. โครงการการวิเคราะห์ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรม ยางพาราของไทยจากเป้าหมาย การเป็นศูนย์กลางยางพาราโลก ของมาเลเซีย และข้อตกลง | 1. วิเคราะห์เชิงเปรยบ เทียบห่วงโซ่อุปทาน อุตสาหกรรมยางพาราของ มาเลเซีย และไทย ตั้งแต่ ต้นน้้า กลางน้้า และปลาย | 1. รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิจาก การสัมภาษณเชิงลึก และหรือ การจัดประชุมกลมย่อยที่ ประเทศมาเลเซียและไทย กลุ่มเป้าหมายคือ เกษตรกร | 1. มีฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทาน อุตสาหกรรมยางพาราของ มาเลเซีย และไทยตั้งแต่ต้นน้้า กลางน้้า และปลายน้้า จากการ สัมภาษณ์เชิงลึก และจัดประชุม |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
ภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (รหัส RDG 5550110) นักวิจัย 1. ผศ. ดร.อัทธ์ พิศาลวานิช 2. ผศ. ทัศสุรีย์ เปรมศรีรตน์ 3. ผศ. สุเนตรตรา จันทบุรี 4. นางสาวจีรวดี พุ่มเจริญ 5. นายพูนทวี ชัยวิจิตมลากูล 6. นางสาวณัฐธภา ประธานทรง 7. นางสาววรรณวิภา คันธจันทร์ งบประมาณ 1.71 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 ก.ย.55-31 ส.ค.56) | น้้า 2. วิเคราะห์เชิงเปรยบ เทียบนโยบายของ มาเลเซีย และของไทย รวมถึงข้อตกลงภายใต้ ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน ที่เกี่ยวข้องกับ อุตสาหกรรมยางพาราของ มาเลเซีย และของไทย 3. วิเคราะห์ผลกระทบต่อ อุตสาหกรรมยางพาราของ ไทยจากนโยบายการเป็น ศูนย์กลางยางพาราโลก (World Rubber Center1) ของมาเลเซีย | ผู้ประกอบการ (ผู้ผลิตผลิตภณั ฑ์ ต้นน้้า กลางน้้า ปลายน้้า และผค้า) สถาบัน เอกชน และหน่วยงานรัฐที่ เกี่ยวข้อง 2. รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ 2.1 ด้านนโยบายที่เกี่ยวกับ AEC และอุตสาหกรรมยางพารา มาเลเซีย /ไทย 2.2 ด้านสถิติได้แก่ Global Trade Atlas /FAO /Department of Statistics, Malaysia | กลุ่มย่อยที่ประเทศมาเลเซีย และ ไทย 2. มีฐานข้อมูลนโยบาย อุตสาหกรรมยางพาราของไทย และของมาเลเซีย รวมทั้งนโยบาย อุตสาหกรรมยางพาราภายใต้ AEC 3. มีฐานข้อมูลทางสถิติที่เกี่ยว ข้องกับการผลิต การค้า และการ ลงทุนของมาเลเซียและของไทย 4. มีแบบจ้าลอง Simultaneous Equation Models เพื่อจ้าลอง สถานการณ์การค้ายางพาราของ ไทยที่เกี่ยวโยงกับมาเลเซีย |
9. โครงการการศึกษานโยบาย และมาตรการรักษา เสถียรภาพ ราคายางพาราของประเทศ ไทย ด้วยกองทุนรักษาเสถียรภาพ ราคา และ แนวทางที่เหมาะสม ในการจัดตั้ง (รหัส RDG 5550111) นักวิจัย 1. ดร.มนต์ชัย พินิจจิตรสมุทร 2. ผศ.ดร.วิศิษฏ์ ลิ้มสมบุญชัย 3. น.ส.สุวรรณา สายรวมญาติ 4. ผศ.ดร.อภิญญา วนเศรษฐ์ งบประมาณ 3.56 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 ก.ย.55-31 ส.ค.56) | 1. ศึกษาผลของนโยบาย และมาตรการรักษา เสถียรภาพราคายางที่ผ่าน มา 2. วิเคราะห์หามาตรการ รักษาเสถียรภาพราคาโดย กองทุนรักษาเสถียรภาพ ราคายาง พร้อมทั้ง ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย และรูปแบบการจัดตั้งที่ เหมาะสม 3. ศึกษาวิธีการพยากรณ์ ราคายางพาราในอนาคต เพื่อจ้าลองราคายางพารา และเป็นข้อมูล ส้าหรับ การด้าเนินงานของกองทุน | 1. ศึกษาเอกสารและข้อมูล เกี่ยวกับนโยบายรักษา เสถียรภาพราคา และแนวทาง การใช้กลไกกองทุนรักษา เสถียรภาพราคาสินค้าเกษตร 2. สัมภาษณ์เชิงลึกผู้เกี่ยวข้อง ในประเทศ 3. ประชุมผู้เกี่ยวข้องด้าน นโยบายรักษา เสถียรภาพราคา โดยใช้การด้าเนินงานกองทุน รักษายางพารา 4. วิเคราะห์แบบจ้าลองการ พยากรณ์อนุกรมเวลาราคา ยางพารา 5. ศึกษาดูงานในประเทศ และ ต่างประเทศ 6. วิเคราะห์ และพัฒนาแนว ทางที่เหมาะสมในการด้าเนิน นโยบายรักษาเสถียรภาพราคา ยางพาราด้วยกองทุนฯ 7. น้าเสนอผลการศึกษาและ ประชาพิจารณ์ 8. จัดท้ารายงานฉบับสมบูรณ์ | 1. ข้อมูลการด้าเนินนโยบาย มาตรการรักษาเสถียรภาพราคา ยางที่ผ่านมาของประเทศไทย 2. ข้อมูลกองทุนสินค้าเกษตร แนวทางการด้าเนินงาน รูปแบบ การบริหารจัดการทั้งของไทย และ ต่างประเทศ 3. ข้อมูลจากการสมภาษณ์ และ การระดมความคิดเห็นการใช้ กองทุนฯ ในการรักษาเสถียรภาพ ราคายางพารา 4. แบบจ้าลองการพยากรณ์ ราคายาง และการใช้ข้อมูลราคา ยางเพื่อก้าหนดทิศทางการ ด้าเนินงานกองทุน 5. ข้อมูลการด้าเนินงานกองทุนที่ มีลักษณะคลายกัน วัตถุประสงค์ และทิศทางด้าเนินงานกองทุนของ ไทย และต่างประเทศ 6. แนวทางการด้าเนินนโยบาย มาตรการรักษาเสถียรภาพราคา ยางโดยใช้กองทุน และการพัฒนา รูปแบบ และแนวทางการ ด้าเนินงานกองทุน |
10. โครงการการศึกษาแนวทาง และมาตรการเพื่อกระตุ้นอุปสงค์ | วิเคราะห์ปัจจัย และ ก้าหนดมาตรการในการ | 1. ตรวจสอบเอกสารงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง | 1. ภาพรวม และแนวโน้มการ แปรรูปอุตสาหกรรมแปรรูป |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
ยางพาราภายในประเทศ (รหัส RDG 5550116) นักวิจัย 1. อ.อัจฉรา ปทุมนากุล 2. ดร.ณัฐพล พจนาประเสริฐ 3. ดร.รวิสสาข์ สุชาโต 4. นายสมมาต แสงประดับ งบประมาณ 3.22 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 ก.ย.55-31 ส.ค.56) | กระตุ้นความต้องการใช้ ยางพาราในประเทศ | 2. รวบรวมข้อมูลสถานการณ์ และแนวโน้มของอุตสาหกรรม ยางพารา ปัญหาอุปสรรค ปัจจัย ส้าคัญในการกระตุ้นอุปสงค์ ผลกระทบของยุทธศาสตร์ ยางพาราที่ผ่านมา และ มาตรการสนับสนุนที่ธุรกิจ ต้องการ 3. รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิโดย สัมภาษณ์เชิงลึกผู้ประกอบการ แปรรูปยางพาราในเขต กทม. นครปฐม สระบุรี ปทุมธานี สมุทรสาคร ชลบุรี ระยอง สงขลา และสราษฏร์ธานี 4. สร้าง และวิเคราะห์ แบบจ้าลองทางเศรษฐมิติดู ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการ ยางพารา 5. คัดเลือกอุตสาหกรรม ยางพาราที่มีศักยภาพในการ กระตุ้นความต้องการใช้ ยางพารา เพื่อวิเคราะห์ ผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ 6. สัมภาษณ์ผู้ประกอบการแปร รูปในจีน และมาเลเซีย เปรียบเทียบนโยบายกับไทย 7. จัดประชุมระดมความ คิดเห็น 8. พัฒนาข้อเสนอมาตรการ กระตุ้นอุปสงค์ในประเทศ 9. จัดท้ารายงานฉบับสมบูรณ์ | ยางพารา 2. ลักษณะ รูปแบบ ความต้อง การใช้ยางพาราในประเทศ แยก ตามประเภทอุตสาหกรรมแปรรปู ยางพารา 3. ปัญหาอุปสรรคในการดาเนิน ธุรกิจแปรรูปยางพาราในประเทศ ไทย 4. ปัจจัยส้าคัญในการกระตุ้นอุป สงค์ของยุทธศาสตร์ ผลกระทบ ปัญหาอุปสรรคของนโยบา ย และ มาตรการสนับสนุนอุตสาหกรรม ยางพาราของภาครัฐทผี่ ่านมา 5. มาตรการและนโยบาย สนับสนุนที่ธุรกิจต้องการ 6. แบบจ้าลองทางเศรษฐมิติ 7. อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพใน การกระตุ้นความต้องการใช้ ยางพารา 8. เปรยบเทียบนโยบายสนับสนุน อุตสาหกรรมยางแปรรูปของไทย มาเลเซีย จีน 9. ผลกระทบการพัฒนา อุตสาหกรรมยางพาราที่มี ศักยภาพต่อระบบเศรษฐกิจ 10. แนวทางการพัฒนา อุตสาหกรรมยางพาราที่มี ศักยภาพต่้า 11. มาตรการกระตุ้นความ ต้องการใช้ยางพาราในประเทศ |
กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิมและใหม่ที่มีศักยภาพ | |||
1. แผนงานวิจัยเรื่อง การวิจัย และพัฒนายางล้อรถประหยัด พลังงาน (รหัส RDG 5550004) นักวิจัย 1. ผศ.ดร.กฤษฎา สุชีวะ 2. ดร.ไพโรจน์ จิตต์ธรรม 3. ดร.วุฒิชัย ไทยเจริญ 4. รศ.ดร.ชาคริต สิริสิงห |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
5. ผศ.ดร.ถิราวุธ พงศ์ประยูร งบประมาณ 5.53 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 พ.ค.55-30 เม.ย.56) | |||
1.1 โครงการการออกแบบยาง ล้อรถเชิงวิศวกรรมสําหรับยาง ล้อรถประหยัดพลังงาน นักวิจัย ดร.ไพโรจน์ จิตต์ธรรม งบประมาณ 1.06 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 พ.ค.55-30 เม.ย.56) | เพื่อศึกษาผลความลึกของ ดอกยาง ลายดอกยาง และโครงสร้างของยางล้อ (กรณียางล้อตัน) ที่มีต่อ ค่าความต้านทานการ หมุนของยางล้อรถบรรทุก เล็กเรเดียลและยางล้อตัน โดยใช้การวิเคราะห์ไฟ ไนต์เอลิเมนต์ และน้าผล การ ศึกษาที่ไดไ้ ปใช้ใน การออกแบบเพื่อผลตยาง ล้อรถประหยัดพลังงาน ต้นแบบ | 1. จัดซื้อยางล้อตัวอย่าง 2. อัพเกรดโปรแกรมไฟไนต์ เอลิเมนต์ 3. วัดค่าความต้านทานการหมุน ยางล้อรถตัวอย่าง 4. สร้างแบบจ้าลองของยางล้อ ตัวอย่าง 5. วิเคราะห์ความต้านทานการ หมุนของยางล้อตัวอย่างโดยการ วิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์ 6. ศึกษาผลกระทบของความ ลึกดอกยางต่อความต้านทาน การหมุนโดยการวิเคราะห์ไฟ ไนต์เอลิเมนต์ 7. ศึกษาผลกระทบของลาย ดอกยางต่อความต้านทานการ หมุน โดยการวิเคราะห์ไฟไนต์เอ ลิเมนต์ 8. ศึกษาผลกระทบของโครง สร้างของชั้นยางต่อความต้าน ทานการหมุนโดยการวิเคราะห์ ไฟไนต์เอลิเมนต์ (เฉพาะยางล้อ ตัน) 9. ออกแบบยางล้อตันต้นแบบ เพื่อการประหยัดพลังงานโดย การวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์ | 1. Calibrate and Verify ผล ความต้านทานการหมุนของการ วิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์ 2. องค์ความรู้ในการออกแบบ ดอกยางยางล้อรถบรรทุกขนาด เล็กเรเดียลเพื่อให้ยางรถมีค่า ความต้านทานการหมุนต่้า 3. ความต้านทานการหมุนต่้า ซึ่งสามารถน้าไป ผลิตยางล้อรถ ประหยัดพลังงาน 4. องค์ความรู้ในการออกแบบ ดอกยางยางล้อรถฟอร์คลิฟท์ และโครงสร้างภายในของยางล้อ เพื่อให้ยางล้อรถมีค่าความต้าน ทานการหมุนต่้าซึ่งสามารถน้า ไป ผลิตยางล้อรถประหยัดพลังงาน 5. แบบ Drawing ยางล้อรถ ฟอร์คลิฟท์ต้นแบบ |
1.2 โครงการการพัฒนายาง คอมพาวด์สําหรับยางล้อรถ ประหยัดพลังงาน นักวิจัย ดร.วุฒิชัย ไทยเจริญ งบประมาณ 0.58 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 พ.ค.55-30 เม.ย.56) | เพื่อพัฒนายางคอมพาวด์ ส้าหรับใช้เป็นส่วน ประกอบในการผลิต ต้นแบบยางล้อประหยดั พลังงาน โดยมีเป้าหมาย ของค่าแทนเดลต้าเฉลี่ยไม่ เกิน 0.08 และยังคงมี ความยืดหยุ่น ความ แข็งแรงเชิงกล และมี สมบัตต้านทานการสึกหรอ ในระดับดี | 1. คัดเลือกยางล้อประหยัด พลังงานของผู้ผลิตชั้นน้าที่มีการ จ้าหน่ายในท้องตลาด เพื่อใช้ใน การทดสอบสมบัติต้าน ทานการ หมุนของล้อ และสมบัตเชิงกล ต่างๆของเนื้อยาง เพื่อใช้เป็นค่า อ้างอิงในการเปรียบเทียบและ ก้าหนดเป้า หมายตัวชี้วัดในการ วิจัยและพัฒนา 2. ด้าเนินการวิจัยและพัฒนา ยางคอมพาวด์โดยใช้สมบัติของ | 1. ตัวชี้วัดที่เป็นค่าเป้าหมายของ การพัฒนาสมบัติของวัสดุยาง 2. สูตรยางประหยัดพลังงานที่ พร้อมน้าไปขยายสเกลในระดับ อุตสาหกรรม ทั้งในส่วนของ - ดอกยางและแก้มยาง ส้าหรับยางรถบรรทุกเล็กเรเดียล - ยางชั้นกลางและชั้นนอก (ดอกยาง) ส้าหรับยางล้อตัน |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
วัสดุยางที่ได้จากจากการทดสอบ ในข้อ 1. เป็นค่าอ้างอิงในการ พัฒนา | |||
1.3 โครงการการสร้างความรู้ พื้นฐานสนับสนนการพัฒนายาง ล้อรถประหยัดพลังงาน นักวิจัย รศ.ดร.ชาคริต สิริสิงห งบประมาณ 0.88 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 พ.ค.55-30 เม.ย.56) | เพื่อสร้างองค์ความรู้ พื้นฐานทางด้านการติด ระหว่างยางคอมพาวด์กับ เส้นลวด/เส้นใยเหล็กที่ใช้ เสริมแรงยางล้อรถ และ ความรู้ในการผสมยางกับ สารตัวเติมผสมของเขม่า ด้ากับซิลิกา เพื่อน้าไป ประยุกต์ใช้ในการผลตยาง ล้อรถประหยัดพลังงาน ต้นแบบในแผนงานวิจัยนี้ | 1. จัดเตรยมยางคอมพาวด์ที่มี ชนิด และปริมาณสารปรับปรุง การยึดติดต่างกัน 2. ทดสอบสมบัติต่างๆของยาง คอมพาวด์ที่มีชนิดและปรมาณ สารปรับปรุงการยึดติดต่างกัน 3. จัดเตรยมยางผลิตภัณฑ์ที่มี ชนิดและปรมาณสารปรับปรุง การยึดติด และชนิดผิวโลหะ ต่างกัน 4. ท้าการทดสอบยางผลิตภัณฑ์ ที่มีชนิดและปริมาณสาร ปรับปรุงการยึดติดและชนิดผิว โลหะต่างกัน (บางส่วน) 5. เตรียมยางคอมพาวด์ที่มีสาร ตัวเติมผสมในสภาวะการผสม ต่างๆ 6. ทดสอบยางคอมพาวด์ และ ยางผลตภณั ฑ์มีสารตัวเตมผสม (บางส่วน) 7. ทดสอบยางคอมพาวด์ และ ยางผลตภณั ฑ์มีสารตัวเตมผสม (ส่วนที่เหลือ) 8. ท้าการทดสอบยางผลิตภัณฑ์ ที่มีชนิด และปริมาณสาร ปรับปรุงการยึดติด และชนิดผิว โลหะต่างกัน (ส่วนที่เหลือ) 9. เตรียมยางคอมพาวด์ที่มี ความหนืดตางกัน 10. ทดสอบยางคอมพาวด์และ ยางผลตภณั ฑ์ที่มีความหนืด ต่างกัน 11. วิเคราะห์ผลการทดลอง 12. จัดท้ารายงาน | 1. ยางคอมพาวด์ที่มีชนิดและ ปริมาณสารปรับปรุงการยึดติด ต่างกัน 2. สมบัติต่างๆของยางคอมพาวด์ ที่มีชนิด และปริมาณสารปรับปรุง การยึดติดต่างกัน 3. ยางผลิตภณั ฑ์ที่มีชนิด และ ปริมาณสารปรับปรุงการยึดติด และชนิดผิวโลหะต่างกัน 4. สมบัติยางผลิตภัณฑ์ที่มีชนิด และปริมาณสารปรับปรุงการยึด ติดและชนิดผิวโลหะต่างกัน 5. ยางคอมพาวด์ที่มีสารตัวเตมิ ผสมในสภาวะการผสมต่าง ๆ 6. สมบัติยางคอมพาวด์ และยาง ผลิตภัณฑ์ที่มีสารตัวเติมผสมใน สภาวะการผสมต่าง ๆ (บางส่วน) 7. สมบัติยางคอมพาวด์ และยาง ผลิตภัณฑ์ที่มีสารตัวเติมผสมใน สภาวะการผสมต่าง ๆ (ส่วนที่ เหลือ) 8. ยางผลิตภณั ฑ์ที่มีชนิดและ ปริมาณสารปรับปรุงการยึดติด และชนิดผิวโลหะต่างกัน (ส่วนที่ เหลือ) 9. ยางคอมพาวด์ที่มีความหนืด ต่างกัน 10. สมบัติยางคอมพาวด์และยาง ผลิตภัณฑ์ที่มีความหนืดตางกัน |
1.4 โครงการการดัดแปรผิวซิลิ กาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ เสริมแรงยางล้อรถประหยัด พลังงาน | 1. เพื่อพัฒนาการกระจาย ตัวของซิลิกาในเนื้อยาง คอมปาวด์ โดยการ ปรับปรุงซิลิกาด้วยเทคนิค | 1. เตรียมซิลิกาโดยการปรับปรุง ด้วยเทคนิคแอดไมเซลลาร์ พอลิเมอไรเซชัน เตรียมยางคอม ปาวด์ ศึกษาการกระจายตัวของ | 1. ซิลิกาที่ปรับปรุงด้วยเทคนิค แอดไมเซลลาร์พอลิเมอไรเซซัน ผลการกระจายตัวของซิลิกาในยาง คอมปาวด์ |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
นักวิจัย ผศ.ดร.ถิราวุธ พงศ์ประยูร งบประมาณ 2.74 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 พ.ค.55-30 เม.ย.56) | แอดไมเซลลาร์ พอลิเมอไรเซชัน 2. เพื่อพัฒนาการเกาะติด และการเข้ากันได้ระหว่าง ซิลิกากับเนื้อยาง 3. เพื่อพัฒนาสมบัติทาง กลของยาง เช่น การทน ต่อการฉีกขาด ทนต่อแรง ดึง การทนต่อการสึกหรอ และอื่นๆ ของผลิตภณั ฑ์ ยาง รวมถึงค่า loss factor | ซิลิกาทั้งก่อนและหลังท้าให้ยาง สุก (Curing) 2. ศึกษาและวิเคราะห์ผลการ กระจายตัวซิลิกา ศึกษาและ พัฒนาขั้นตอนการผสมซิลิกาที่ เตรียมขึ้นมากับยาง ศึกษา สมบัติของยาง | 2. ขั้นตอนการผสมซิลิกาที่ ปรับปรุงกันยางทราบสมบัติของ ยางคอมปาวด์ที่ผสมซิลิกาที่ ปรับปรุง |
2. แผนงานวิจัยเรื่อง องค์ประกอบที่ไม่ใช่เนื้อยางของ น้ํายางพารา : ชนิด ปริมาณ ผล ต่อผลิตภัณฑ์และการนําไปใช้ ประโยชน์ (รหัส RD5550008) นักวิจัย: 1. ผศ. ดร. วิไลรัตน์ ชีวเศรษฐ ธรรม 2. ดร.ฐิติมา รุจิราลัย 3. ดร.ประวิทย์ คงจันทร์ 4. ผศ.ดร.ชลธี ชีวะเศรษฐธรรม งบประมาณ 3.69 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 พ.ค.55-30 เม.ย.56) | |||
2.1 โครงการการตรวจหาสารที่ มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียในซีรัม ของน้ํายางพารา นักวิจัย 1. ดร.ฐิติมา รุจิราลัย 2. ผศ.ดร.กานดา ปานทอง งบประมาณ 1.53 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 พ.ค.55-30 เม.ย.56) | เพื่อตรวจหาสารที่มีฤทธิ์ ต้านเชื้อแบคทีเรียในซีรัม ของน้้ายางพารา | 1. เก็บตัวอย่างน้้ายางพารา RRIM 600 อย่างน้อย 2 ครั้งใน 1 ปี บริเวณสงขลา 2. เตรียมซีรัมของน้้ายางพารา ด้วยวิธีการหมุนเหวี่ยง 3. ศึกษาการสกัดซีรัมด้วยน้้า เอทานอล และอีเทอร์ สกัดด้วย ตัวท้าละลายน้้า เอทานอล และ อีเทอร์ แต่ละชนิดท้าซ้้า 3 ครั้ง 4. วิเคราะห์องค์ประกอบในสาร สกัดน้้า เอทานอล และอีเทอร์ ด้วยเทคนิคโครมา โท-กราฟี-แมลสเปกโทรเมตรี 5. ทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อ | วิธีแยกองค์ประกอบในสารสกัด และทราบฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย ของสารสกัด |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
แบคทีเรียของสารสกัดน้้า เอทานอล และอีเทอร์ด้วยวิธี Agar Microdilution ซึ่งใช้ S.Aureus ATCC 25923 6. รายงานองค์ประกอบ และ โครงสร้างของสารที่มีฤทธิ์ต้าน เชื้อแบคทีเรียในสารสกัด | |||
2.2 โครงการศักยภาพการผลิต ไฮโดรเจนและมีเทนจากซีรัมที่ได้ จากการจับตัวน้ํายางตาม หลักการไบโอรีไฟเนอรี่ นักวิจัย 1. ดร.ประวิทย์ คงจันทร์ 2. ดร.สมพงศ์ โอทอง 3. ดร.รัตนา แซ่หลี 4. นายเกียรติปริญญา ลุนแจ้ง งบประมาณ 1.32 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 พ.ค.55-30 เม.ย.56) | เพื่อศึกษาการผลิตแก๊ส ไฮโดรเจนและมีเทนจาก ซีรัมที่ได้จากการจับตัว หางน้้ายาง โดยการบูรณา การกระบวนการย่อย สลายแบบไร้อากาศสอง ขั้นตอนและการเพาะเลี้ยง สาหร่าย | 1. ศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพ และทางเคมีของน้้าสกิมซีรมั 2. ทดลองหาศักยภาพการผลิต แก๊สไฮโดรเจนและแก๊สมีเทน จากกระบวนการสองขั้นตอนที่ 55 oC | 1. ระบบเครื่องปฏิกรณ์ต้นแบบ (ระดับห้องปฏิบัติการ) สาหรับการ ผลิตแก๊สเชื้อเพลิง (ไฮโดรเจนและ มีเทน) คุณภาพสูง 2. แบบจ้าลองทางคณิตศาสตร์ ของระบบเครื่องปฏิกรณ์ชนิด ยูเอเอสบี ส้าหรับกระบวนการ ย่อยสลายแบบไร้อากาศสอง ขั้นตอน 3. บทความวิชาการ |
2.3 โครงการสังกะสีและเตตระ เมธิลไทยูแรม ไดซัลไฟด์ในห่วง โซ่อาหารของลูกปลานิลที่เลี้ยง ด้วยไรน้ําที่ผลิตจากซีรั่มจากการ ผลิตน้ํายางข้น นักวิจัย 1. ผศ.ดร.ชลธี ชีวะเศรษฐธรรม 2. ผศ.ดร.วิไลรัตน์ ชีวะเศรษฐ ธรรม งบประมาณ 0.84 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 พ.ค.55-30 เม.ย.56) | 1. เพื่อศึกษาการสะสม ปริมาณของสังกะสีจาก กระบวนการบ้าบัดน้้าทิ้ง ของน้้ายางข้น ผ่านห่วงโซ่ อาหารจากน้้าทิ้งไปสู่คลอ เรลลา ไรแดง และลูกปลา นิล 2. เพื่อศึกษาการสะสม ปริมาณเตตระเมธิลไทยู แรมไดซัลไฟด์ : TMTD จากกระบวนการบ้าบัดน้้า ทิ้งของน้้ายางข้น ผ่านห่วง โซ่อาหารจากน้้าทิ้ง ไปสู่ คลอเรลลา ไรแดง และลูกปลานิล 3. ศึกษาการเติบโตของลูก ปลานิลที่กินไรแดงที่ เติบโตจากน้้าทิ้งโรงงานน้้า ยางข้นเป็นอาหาร | 1. เก็บรวบรวมข้อมูลและ เตรียมแผนการทดลอง 2. เก็บตัวอย่างน้้าทิ้งจากโรงงาน จ้านวน 9 ครั้งจาก 3 โรงงาน 3. ตรวจสอบคุณสมบัติของน้้า ทิ้ง 4. ผลิตสาหราย ไรแดง และปลา นิลจากน้้าทิ้ง 5. วิเคราะห์ปริมาณซิงออกไซด์ และ TMTD ในตัวอย่าง 6. วิเคราะห์ผลการศึกษา 7. สรุปผลและเขียนรายงาน | 1. ระบบการผลตและการอนุบาล ลูกพันธุ์ปลานิลจากน้้าทิ้งโรงงาน น้้ายางข้น 2. การบ้าบัดน้้าทิ้งโรงงานแปรรูป น้้ายางพาราด้วยกระบวนการของ สิ่งมีชีวิต |
3. แผนงานวิจัยเรื่อง พอลิเมอร์ จากยางธรรมชาติสําหรับผลิต ภัณฑ์ใหม่ทางเภสัชกรรม |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
(รหัส RDG5550101) นักวิจัย 1. ผศ. ดร. วิวัฒน์ พิชญากร 2. นายกมล ปาลรัตน์ 3. ผศ.ดร.ธวัชชัย แพชะมัด 4. ดร.อุษณา พัวเพิ่มพูลศิริ งบประมาณ 2.56 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (15 ส.ค. 55-14 ส.ค.56) | |||
3.1 โครงการการเตรียมระบบซู โดลาเท็กซ์จากยางแท่ง (STR5L) เพื่อใช้เป็นระบบนําส่ง ยา นักวิจัย 1. นายกมล ปาลรัตน์ 2. รศ.ดร.ประภาพร บุญมี งบประมาณ 0.36 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (15 ส.ค. 55-14 ส.ค.56) | เพื่อพัฒนาวิธีการเตรยม ระบบซูโดลาเท็กซ์จากยาง แท่ง STR5L และศึกษา ความเป็นไปได้ในการ บรรจุยาในระบบซูโดลา เท็กซ์เพื่อควบคุมการปลด ปล่อยส้าหรับน้าส่งยาทาง ผิว หนัง 1. เพื่อพัฒนาวิธีการ เตรียมระบบซูโดลาเท็กซ์ จากยางแท่ง STR5L ที่มี สมบัติคงที่ 2. เพื่อพัฒนาระบบน้าส่ง ยาในรูประบบซูโดลาเท็กซ์ จากยางแท่ง STR5L ที่มี ความคงตัว และสามารถ ควบคุมการปลด ปล่อยยา ได้เจลเพื่อรักษาแผลเรื้อรัง | 1. การเตรียมระบบซูโดลาเท็กซ์ จากยางแท่ง STR5L โดยวิธี อิมัลชั่น และก้าจัดตัวท้าละลาย อินทรีย์ 2. การประเมินสมบัติทางเคมี กายภาพของระบบซูโดลาเท็กซ์ 3. การศึกษาความคงตัวของ ระบบซูโดลาเท็กซ์ 4. การบรรจุยาชนิดต่างๆ ที่มี สมบัติแตก ต่างกันในระบบซูโด ลาเท็กซ์ที่มีความคงตัว 5. การประเมินสมบัติทางเคมี กายภาพ การกักเก็บยา และการ ปลดปล่อยยาของระบบซูโดลา เท็กซ์ 6. การศึกษาความคงตัวของ ระบบซูโดลาเท็กซ์ที่บรรจุยา 7. ประเมินความเป็นไปได้ใน การพัฒนาระบบน้าส่งรูปแบบ ใหม่ | 1. กระบวนการเตรียมระบบซูโด ลาเท็กซ์จากยางแท่งที่เหมาะสม 2. สูตรต้ารับระบบซูโดลาเท็กซ์ที่มี สมบัติที่ดี และมีความคงตัว 3. สูตรตารับระบบซูโดลาเท็กซ์ที่ สามารถบรรจุยาบางชนิดได้ ซึ่งมี สมบัติที่ดี และมีความคงตัว 4. สูตรตารับระบบซูโดลาเท็กซ์ที่ สามารถบรรจุยาที่มีความคงตัว 5. ข้อมูลที่สรุปถึงความเป็นไปได้ ในการพัฒนาระบบน้าส่งยา รูปแบบใหม่ |
3.2 โครงการการเตรียมแผ่น แปะผิวหนังลิโคเคนจากน้ํายาง ธรรมชาติโปรตีนต่ําผสมแป้ง ชนิดต่างๆ นักวิจัย 1. ผศ. ดร. วิวัฒน์ พิชญากร 2. รศ.ดร.ประภาพร บุญมี งบประมาณ 0.50 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (15 ส.ค. 55-14 ส.ค.56) | เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์แผ่น แปะผิวหนังลโดเคนในรูป เมทริกซ์ โดยใช้น้้ายาง ธรรมชาติโปรตีนต่้า และมี การผสมแป้งชนิดต่างๆ ให้ ได้แผ่นแปะที่มีรปู แบบ การปลดปล่อยยาที่ แตกต่างกัน 1. เพื่อเตรียมแผ่นแปะ ผิวหนังลิโดเคนในรูป เมทริกซ์ โดยใช้น้้ายาง ธรรมชาติโปรตีนต่้า และมี | (เฉพาะปีที่ 1) 1. การเตรียมน้้ายางธรรมชาติ โปรตีนต่้า 2. การศึกษาอันตรกิริยาระหว่าง ส่วน ประกอบต่างๆ ที่ใช้ในการ เตรียมแผ่นฟลิ ์ม 3. การเตรียมแผ่นแปะระบบ เมทริกซ์จากน้้ายางธรรมชาติ โปรตีนต่้าที่ผสมแป้งชนิดต่างๆ (Non-Pregelatinized Starch) 4. การประเมินสมบัติทาง กายภาพ สมบัติทางกล และ | 1. ได้ส่วนประกอบที่มีความ เป็นไปได้ในการผสมเพื่อเตรียม แผ่นแปะผิวหนังระบบเมทริกซ์ 2. ได้แผ่นแปะผิวหนังระบบ เมทริกซ์ที่มีน้้ายางโปรตีนต่้าและ แป้งเป็นส่วนประกอบ 3. ได้ข้อมูลสมบัติทางกายภาพ สมบัติทางกล และสมบัติทางเคมี ของแผ่นแปะผิวหนังระบบ เมทริกซ์ที่มีน้้ายางโปรตีนต่้า และ แป้งเป็นส่วนประกอบ 4. ได้ข้อมูลสมบัติทางกายภาพ |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
การผสมแป้งชนิดต่างๆ 2. เพื่อศึกษาผลของชนิด และปริมาณแป้งที่ผสม ต่อ อัตราการปลดปล่อยยา และการดูดซึมผ่านผิวหนัง ของยา 3. เพื่อศึกษาผลของวิธี การผสมแป้งในน้้ายาง ธรรมชาติโปรตีนต่้าต่อ อัตราการปลดปล่อยยา และการดูดซึมผ่านผิวหนัง ของยา | สมบัติทางเคมี ของแผ่นฟิล์ม 5. การประเมินคุณภาพของแผ่น แปะที่มียาลิโดเคน | สมบัติทางกล และสมบัติทางเคมี ของแผ่นแปะผิวหนังระบบ เมทริกซ์ที่มีน้้ายางโปรตีนต่้า แป้ง และยาลิโดเคนเป็นส่วนประกอบ และสามารถควบคุมการปลด ปล่อยและการซึมผ่านผิวหนังได้ ตามต้องการ | |
3.3 โครงการการเตรียม โครงสร้างความพรุนสูงจากยาง ธรรมชาติบรรจุยายับยั้งเชื้อโรค นักวิจัย 1. ดร.ธวัชชัย แพชมัด 2. ผศ.ดร.วิวัฒน์ พิชญากร งบประมาณ 0.50 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (15 ส.ค. 55-14 ส.ค.56) | เพื่อเตรียมและประเมิน สมบัติทางเคมีกายภาพ รวมทั้งการออกฤทธิ์ทาง ชีวภาพของโครง สร้าง ความพรุนสูงยางพาราที่ บรรจุยายับยั้งเชื้อโรค ส้าหรับฤทธิ์ต่อต้านเชื้อ โรค และเร่งการงอกของ หลอดเลือดฝอย 1. เพื่อทราบเทคนิคการ ขึ้นรูปและส่วนประกอบที่ เหมาะสมของโครงสร้าง ความพรุนสูงยางพาราที่ ปราศจากยายับยั้งเชื้อโรค 2. เพื่อทราบข้อมูลสมบัติ กายภาพเคมี ของ โครงสร้างความพรุนสูง ยางพาราที่ปราศจากยา ยับยั้งเชื้อโรค ได้แก่ สมบัติการดดซับตัวกลาง สมบัตเชิงกล ลักษณะ ความพรุนและพื้นผิว พลังงานอิสระพื้นผิว ความชอบน้้าของพื้นผิว 3. เพื่อทราบข้อมูลสมบัติ กายภาพเคมีของ โครงสร้างความพรุนสูง ยางพาราที่ปราศจากยา ยับยั้งเชื้อโรคในด้านสมบัติ | 1. การเตรยมโครงสร้างความ พรุนสูงที่ปราศจากยายับยั้งเชื้อ โรค 2. การประเมินโครงสร้างความ พรุนสูงที่ปราศจากยายับยั้งเชื้อ โรค 3. การเตรียมโครงสร้างความ พรุนสูงที่บรรจุยายับยั้งเชื้อโรค 4. วิเคราะห์ผล สรุป และจัดท้า รายงาน | 1. ได้ผลตภณั ฑ์ระดับ ห้องปฏิบัติการ : โครงสร้างความ พรุนสูงที่เตรียมจากยางแท่ง และ ได้สตรหรือส่วนผสมและเทคนิค การขึ้นรูปโครงสร้างดังกล่าว 2. ได้ข้อมูลสมบัติกายภาพเคมีของ โครงสร้างความพรุนสูงที่เตรยม จากยางแท่งในด้านการดูดซับ ตัวกลางสมบัติเชิงกล ลักษณะ ความพรุนและพื้นผิว พลังงาน อิสระพื้นผิว และความชอบน้้าของ พื้นผิว 3. ได้ข้อมูลสมบัติกายภาพเคมีของ โครงสร้างความพรุนสูงที่เตรยม จากยางแท่งในด้านสมบัตเชิง ความร้อน คุณสมบัติเชิงผลึก รวมทั้งการสลายตัวทางชีวภาพ 4. โครงสร้างความพรุนสูง ยางพาราบรรจุยายับยั้งเชื้อโรค 5. ตีพิมพ์ผลงานในวารสารใน ระดับนานาชาติ วารสาร Drug Development Industrial Pharmacy เรื่อง Process parameters on Para Rubber Scaffold Formation 6. น้าเสนอในการประชุมวิชาการ นานาชาติเรื่อง Biodegradability of Para Rubber Scaffold และ Surface Free Energy of Para |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
เชิงความร้อน สมบัติเชิง ผลึก และการสลายตัวทาง ชีวภาพ 4. เพื่อเตรียมโครงสร้าง ความพรุนสูงยางพาราที่ สามารถบรรจุยายับยั้งเชื้อ โรค และทราบสมบัตด้าน ต่างๆ ของโครงสร้าง ดังกล่าว | Rubber Scaffold | ||
3.4 โครงการการเตรียม ไฮโดรเจลจากโครงสร้าง เชื่อมโยงของยางธรรมชาติและ แป้ง เพื่อเร่งการหายของแผล เรื้อรัง นักวิจัย 1. ดร.อุษณา พัวเพิ่มพูนศิรื 2. ผศ.ดร.วริษฏา ศิลาอ่อน งบประมาณ 0.55 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (15 ส.ค. 55-14 ส.ค.56) | เพื่อพัฒนาระบบไฮโดรเจล จากการเชื่อมสายอย่าง สมบูรณ์ของยางพารา และแป้งเพื่อใช้เร่งการ หายของแผลในการรักษา แผลเรื้อรัง 1. เพื่อทราบองค์ประกอบ และสดส่วนที่เหมาะสม ของระบบไฮโดรเจล ที่ เตรียมจากยางธรรมชาติ และแป้งที่ไดจากข้าวหรือ กล้วยพันธุ์พื้นบ้าน 2. เพื่อกักเก็บยาต้นแบบ หรือสารชีววัตถุ และ ศึกษาการปลดปล่อยยา ต้นแบบหรือสารชีววัตถุใน ระบบไฮโดรเจลจาก ยางพารา และแป้ง | 1. ศึกษาผลของปริมาณสาร เชื่อมขวางต่อคุณสมบัติของ ไฮโดรเจล 2. ศึกษาชนิดและปรมาณของ น้้ายางและแป้งต่อคุณสมบัติของ ไฮโดรเจล 3. บรรจุยาหรือสารชีววัตถุใน ไฮโดรเจล 4. ทดสอบสมบัติของไฮโดรเจล ที่บรรจุยาหรือสารชีววัตถุ | 1. ได้อัตราส่วนของยางธรรมชาติ และแป้งในสัดส่วนที่เหมาะสมให้ เกิดไฮโดรเจล 2. ได้ชนิดและปริมาณของสาร เชื่อมที่เหมาะสมให้เกิดไฮโดรเจล 3. ได้ระบบไฮโดรเจลที่เหมาะสม ทั้งทางด้านเคมีและกายภาพและ สามารถเร่งการหายของแผลได้ 4. มีความเข้มข้นที่เหมาะสมของ ยาหรือชีววัตถุที่จะใช้เป็นยา ต้นแบบ และเตรียมต้ารับเพื่อกัก เก็บยาต้นแบบ |
4. แผนงานวิจัยเรื่อง ยางคอม ปาวด์เสริมแรงด้วยซิลิกาสําหรับ ผลิตภัณฑ์ยางล้อประหยัด พลังงาน (รหัส RDG 5550103) นักวิจัย 1. ผศ.ดร.กรรณิการ์ สหกะโร 2. ผศ.ดร.สุฤกษ์ คงทอง งบประมาณ 0.89 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (15 ส.ค. 55-14 ส.ค.56) | |||
4.1 โครงการอิทธิพลของชนิด ยาง ชนิดซิลิกา ชนิดไซเลน และ สารเคมีอื่นในสูตรยางต่อสมบัติ | เพื่อศึกษาอิทธิพลของชนิด ซิลิกา ชนิดไซเลนและ สารเคมีอื่นในสูตรยางที่มี | 1. จัดเตรยมวัสดุ และศึกษา สมบัติของยางที่ใช้ซิลิกาที่มี Specific Surface Area | 1. ทราบผลของการเสริมแรงของ ซิลิกาทั้งแบบ Conventional Precipitated Silica และ Highly |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
ของยางคอมปาวด์สูตรยางล้อ เสริมแรงด้วยซิลิกา นักวิจัย ผศ.ดร.กรรณิการ์ สหกะโร งบประมาณ 0.40 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (15 ส.ค. 55-14 ส.ค.56) | ต่อสมบัติของยางคอม ปาวด์สูตรยางล้อเสริมแรง ด้วยซิลิกา ท้าให้เข้าใจ หลักการพื้นฐานทสี่ ้าคัญ ของเทคโนโลยี ซิลิกา และสามารถเลือก องค์ประกอบในสูตรยาง เพื่อให้ได้สมบัติตาม ต้องการได้ | แตกต่างกันทั้งเกรดที่เป็น Conventional Precipitated Silica และ Highly Dispersible Silica เปรียบเทียบกับสูตรที่ใช้เขม่าด้า ศึกษาระดับการเสริมแรงของ ซิลิกา 2. ศึกษาผลของชนิดไซเลน TESPT, TESPD, NXT ต่อสมบัติ ของยาง 3. ศึกษาผลการใช้ Dithiophosphate แทน DPG 4. วิเคราะห์ สรุปผล และจัดท้า รายงานฉบับสมบูรณ์ | Dispersible Silica ในยางสูตร ยางล้อซึ่งใช้ยางต่างชนิดกัน 3 สูตร 2. ทราบผลของชนิดไซเลนต่อ สมบัตเชิงกลและสมบัติเชิงกล พลวัตของยางที่ได้ ใช้ค่า Loss Tangent ในช่วง 60-80 เพื่อบ่งชี้ แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของค่า Rolling Resistance 3. ทราบผลของการใช้ได้ไทโอ ฟอสเฟตต่อสมบัติของยางที่ เสริมแรงด้วยซิลิกา 4. สรุปผลขององค์ประกอบที่ ส้าคัญในสูตรยางต่อสมบัติของยาง เพื่อให้เป็นแนวทางการออกสูตร ยางให้ได้สมบัติตามต้องการ |
4.2 โครงการความเสถียรของ ยางคอมปาวด์และผลการทํางาน เสริมกันของหมู่อิพอกไซด์กับ สารคู่ควบไซเลนในยาง ธรรมชาติเสริมแรงด้วยซิลิกา” นักวิจัย ผศ.ดร.สุฤกษ์ คงทอง งบประมาณ 0.35 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (15 ส.ค. 55-14 ส.ค.56) | 1. เพื่อศึกษาผลของการใช้ ยางธรรมชาติอิพอกไซด์ ร่วมกับสารคู่ควบ ไซเลนต่ออันตรกริยาทาง เคมีระหว่างซิลิกากับยาง สมบัตเชิงกลและสมบัติ เชิงพลวัตของยางที่ได้ 2. เพื่อศึกษาความเสถียร ของยางคอมปาวด์เสริม แรงด้วยซิลิกาเมื่อใช้ร่วม กับสารคู่ควบไซเลน เปรียบเทียบกับการใช้ยาง ธรรมชาติอิพอกไซด์ร่วม กับสารคู่ควบไซเลน และ ผลที่มีต่อสมบัติเชิงกลและ สมบัตเชิงกลพลวัต | 1. จัดเตรยมวัสดุ และศึกษาผล ของการใช้ยางธรรมชาติอิพอก ไซด์ร่วมกับไซเลนต่อสมบัติของ ยาง 2. ศึกษาความเสถียรของยาง คอมปาวด์เสริมแรงด้วยซิลิกากับ ไซเลน และไซเลนร่วมกับยาง ENR ภายใต้สภาวะการเก็บที่ อุณหภูมต่างๆ ทดสอบสมบัติ เชิงกลพลวัตและการกระจายตัว ของซิลิกาในยาง 3. วิเคราะห์ สรุปผล และจัดท้า รายงานฉบับสมบูรณ์ | 1. ทราบผลของการใช้ยาง ธรรมชาติอิพอกไซด์ร่วมกับ ไซเลนต่อสมบัติของยาง และคาด ว่าจะช่วยลดปริมาณไซเลนที่ใช้ เนื่องจาก มีอันตรกริยาที่เกิดขึ้น จากการมีหมู่อิพอกไซด์ด้วย 2. ทราบผลของสภาวะการเก็บ ต่อการเปลี่ยนแปลงของความหนืด มูนนี่ และสมบัตต่าง ๆ ของยาง คอมปาวด์เสริมแรงด้วยซิลิกา 3. ทราบสมบัตเชิงกลพลวัต (เน้นค่า Loss Tangent ที่บ่งชี้ถึง Rolling Resistance ของยาง) 4. ผลสรุปของโครงการตาม วัตถุประสงค์และรายงานฉบับ สมบูรณ์ |
5. แผนงานวิจัยเรื่อง การใช้ หางน้ํายางเพื่อการผลิตเอนไซม์ อุตสาหกรรมโดยจุลินทรีย์ด้วย กระบวนหมักแบบเปิด (รหัส RDG5550104) นักวิจัย 1. รศ. ดร. วิเชียร กิจปรีชาวนิช 2. ดร.สุขุมาภรณ์ สุขขุม งบประมาณ 1.19 ล้านบาท |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
ระยะเวลา 12 เดือน (15 ส.ค. 55-14 ส.ค.56) | |||
5.1 โครงการการใช้หางน้ํายาง เพื่อผลิตเอนไซม์อัลคาไลด์โปรติ เอส โดย Bacillus สายพันธุ์ทน ร้อนด้วยกระบวนการหมักแบบ เปิด นักวิจัย รศ. ดร. วิเชียร กิจปรีชาวนิช งบประมาณ 0.42 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (15 ส.ค. 55-14 ส.ค.56) | เพื่อคัดเลือกสายพันธ์ แบคทีเรียที่สามารถผลติ เอนไซม์อัลคาไลด์ โปรติ เอส ไดส้ ูง และหา กระบวนการหมักแบบเปิด โดยใช้หางน้้ายางเป็น วัตถุดิบส้าหรับการผลิต เอนไซม์อัลคาไลด์ โปรติเอสจากเชื้อ แบคทีเรียที่คัดเลือกได้ และเอนไซม์ย่อย | 1. วิเคราะห์สมบัติทางเคมีและ กายภาพบางประการของหางน้้า ยาง 2. คัดเลือกสายพันธุ์แบคทีเรียที่ สามารถผลิตเอนไซม์ Alkaline Protease ได้สูง 3. ศึกษาปัจจัยทางกายภาพที่มี ผลกระบวนหมักแบบเปิดต่อ | 1. ทราบสมบัติทางเคมีและ กายภาพบางประการของหางน้้า ยาง 2. สายพันธุ์แบคทีเรียที่สามารถ ผลิตเอนไซม์ Alkaline Protease ได้ดี 3. ปัจจัยที่เหมาะสมในกระบวน การหมักแบบเปิดต่อการผลิต เอนไซม์อัลคาไลด์โปรติเอส และ เอนไซม์ย่อยสลายพอลิแลกไทด์ |
5.2 โครงการการใช้หางน้ํายาง เพื่อผลิตเอนไซม์ย่อยสลายพอลิ แลกไทด์จากเชื้อแอคติโนมัยสีท โดยใช้กระบวนการหมักแบบเปิด นักวิจัย ดร.สุขุมาภรณ์ สุขขุม งบประมาณ 0.30 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (15 ส.ค. 55-14 ส.ค.56) | เพื่อศึกษาการน้าหางน้้า ยางมาใช้เป็นวัตถุดิบใน การผลิตเอนไซม์ย่อยสลาย พอลิแลกไทด์โดยเชื้อ แอคติโนมัยสีท (Actinomadura Keratinilytica) สายพันธุ์ T16-1 | 1. ศึกษาสมบัติทางเคมีและ กายภาพของหางน้้ายาง ส้าหรบั ใช้ในการเลี้ยงเชื้อ จุลินทรีย์ 2. ศึกษาการผลตเอนไซม์ย่อย สลายพอลิแลกไทด์จากเชื้อแอ คติโนมัยสิทสายพันธุ์ T16-1 โดยการตรึงและไม่ตรึงเซลล์ 3. ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมใน การผลิตเอนไซม์ย่อยสลายพอลิ แลกไทด์ในระดับฟลาสก์ 4. ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมใน การผลิตเอนไซม์ย่อยสลายพอลิ แลกไทด์ในระดับถังหมักแบบ Stirrer 5. ศึกษาการผลตเอนไซม์โดย การหมักแบบต่อเนื่องโดยใช้ เซลล์ตรึง 6. สรุปผลงานวิจัย | 1. ทราบสมบัติทางเคมีและ กายภาพของหางน้้ายางเพื่อให้ สามารถน้าไปใช้ในการเลี้ยง เชื้อจุลินทรียไ์ ด้ 2. สามารถผลตเอนไซม์โดยเชื้อ สายพันธุ์ T16-1โดยการตรึงและ ไม่ตรึงเซลล์ 3. สภาวะที่เหมาะสมในการผลติ เอนไซม์ย่อยสลายพอลิแลกไทด์ จากการผลิตระดับฟลาสก์ 4. สภาวะที่เหมาะสมในการผลติ เอนไซม์ย่อยสลายพอลิแลกไทด์ จากการผลิตระดับถังหมัก 5. สามารถผลตเอนไซม์ย่อยสลาย พอลิแลกไทด์ได้ในระบบการหมัก แบบต่อเนื่องโดยหางน้้ายางเป็น วัตถุดิบ 6. สรุปผลการวิจัย |
6. แผนงานวิจัยเรื่อง การ พัฒนาผลิตภัณฑ์ยางถอนขนไก่ที่ ทําจากยางธรรมชาติสําหรับใช้ ในอุตสาหกรรมแปรรูปไก่สดใน ประเทศไทย (รหัส RDG 5550117) นักวิจัย 1. ผศ.ดร.ศุภสิทธิ์ รอดขวญั 2. รศ.ดร.อิทธิพล แจ้งจัด |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
3. อ.ธวัชชัย ชาติต้านาญ งบประมาณ 2.8 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 ก.ย. 55-31 ส.ค. 56) | |||
6.1 โครงการการศึกษาสูตรยาง สําหรับยางถอนขนไก่ประสิทธิ ภาพสูงที่ทําจากยางธรรมชาติ สําหรับอุตสาหกรรมแปรรูปไก่ สด นักวิจัย รศ.ดร.อิทธิพล แจ้งชัด งบประมาณ 0.64 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 ก.ย. 55-31 ส.ค. 56) | เพื่อพัฒนาสูตรยางถอนขน ไก่ที่ท้าจากยางธรรมชาติ ส้าหรับโรงงานแปรรูปไก่ ในประเทศไทย โดยเน้น การใช้วัตถุดิบในประเทศ ให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มี ประสิทธภาพการถอนขน ไก่ และสมบัติที่ดี ที่เป็นไป ตามความต้องการของผู้ใช้ | 1. ออกแบบสูตรยางถอนขนไก่ เตรียมตัวอย่างและทดสอบ สมบัตต่าง ๆ ปรับสตรและ ทดสอบสมบัติ เพื่อให้ได้ยางที่มี สมบัติที่ดี เหมาะสมและมีความ เป็นไปได้ที่จะท้าไปใช้งาน ส้าหรับการผลิตและการใช้งาน จริง 2. ทดลองขึ้นรูปผลตภณั ฑ์จริง และทดสอบการใช้งานจริง | 1. สูตรยางถอนขนไก่ เบื้องต้น ส้าหรับการผลิตและทดสอบการใช้ งานจริงได้แบบสมบูรณเพื่อใช้ใน การสร้างจริง 2. ผลิตภณั ฑ์ยางถอนขนไก่ที่มี สมบัตตามที่ต้องการส้าหรับการใช้ งานจริง |
6.2 โครงการการออกแบบ และ ผลิตผลิตภัณฑ์ยางถอนขนไก่ที่ ใช้ในอุตสาหกรรมแปรรูปไก่สด นักวิจัย ผศ.ดร.ศุภสิทธิ์ รอดขวัญ งบประมาณ 0.71 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 ก.ย. 55-31 ส.ค. 56) | เพื่อท้าการออกแบบและ ผลิตผลิตภณั ฑ์ยางถอน ขนไก่ที่ท้าจากยาง ธรรมชาติให้มีคุณภาพ และใช้ในกระบวนการ ถอนขนไก่ในอุตสาหกรรม แปรรูปไก่สดได้ | 1. ท้าการออกแบบยางถอนขน ไก่จ้านวน 5 รูปแบบเพื่อใช้ใน การผลิตและทดสอบการใช้งาน จริง 2. ท้าการออกแบบแม่พิมพ์และ ขึ้นรูปผลตภณั ฑ์ยางถอนขนไก่ ตามรูปแบบที่ได้ออกแบบไว้ ส้าหรับการใช้งานจริง | 1. รูปแบบยางถอนขนไก่ที่ เหมาะสม 1 รูปแบบเพื่อใช้ในการ ผลิตและทดสอบการใช้งานจริง 2. ผลิตภณั ฑ์ยางถอนขนไก่เพื่อ ใช้ในการผลิตและทดสอบการใช้ งานจริง |
6.3 โครงการการออกแบบ และ สร้างเครื่องทดสอบประสิทธิ ภาพการใช้งานของผลิตภัณฑ์ ยางถอนขนไก่ นักวิจัย นาย ธวัชชัย ชาติต้านาญ งบประมาณ 1.23 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 ก.ย. 55-31 ส.ค. 56) | พัฒนาการออกแบบและ สร้างเครื่องทดสอบ ประสิทธภาพการใช้งาน ตามเงื่อนไขของการ ควบคุมของผลตภณั ฑ์ยาง ถอนขนไก่ โดยสร้างเป็น เครื่องต้น แบบ เพื่อ ทดสอบการใช้ยางถอนขน ไก่ในสภาพจริงเท่านั้น | 1. ท้าการออกแบบการสร้าง เครื่องทดสอบ 2. การด้าเนินการสร้างเครื่อง และการทดสอบ | ได้แบบสมบูรณ์เพื่อใช้ในการ สร้างจริง |
กลยุทธ์ที่ 3 การสนับสนุนการส่งออก | |||
1. โครงการการยืดอายุการเก็บ รักษาและการรักษาคุณภาพเห็ด ฟางด้วยบรรจุภัณฑ์พลาสติก ย่อยสลายได้จากยางพาราได้ อย่างปลอดภัยสําหรับผู้บริโภค เพื่อการส่งออก (รหัส RDG 5550010) นักวิจัย | เพื่อพัฒนาฟิล์มบรรจุ ภัณฑ์ย่อยสลายง่ายที่ใช้ใน การยืดอายุการเก็บรักษา และรักษาคุณภาพเห็ดฟาง สดไม่น้อยกว่า 6 วัน โดย การใช้ยางพาราและ ยางพาราดัดแปรเป็นองค์ ประกอบ โดยพัฒนาความ | 1. พัฒนาฟิล์มบรรจภัณฑ์ ต้นแบบที่เหมาะกับการยืดอายุ เห็ดฟาง โดยการเติมยางพารา และอนุภาคต่างๆ เช่น ซิลิกา ซิโอไลต์ให้ฟิล์มมีการซึมผาน ของแก๊สต่างๆ สูงขึ้น และลด การเกิดหยดน้้าขณะยดอายุพืช เห็ดฟาง | 1. ฟิล์มบรรจภัณฑ์ต้นแบบที่มี การซึมผ่านก๊าชต่าง ๆ สูงขึ้น และ สามารถลดการเกิดหยดน้้า 2. ทราบสภาวะการเปลี่ยนแปลง ทางกายภาพ และเคมีของเห็ดฟาง ภายในบรรจุภัณฑ์ที่พัฒนาขึ้น เปรียบเทียบกับถุงพลาสติก LDPE ทางการค้า เพื่อใช้เป็นข้อมูลใน |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
ดร.อภิตา บุญศิริ งบประมาณ 2.08 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 พ.ค.55-30 เม.ย.56) | สามารถในการเลือกผ่าน แก๊สออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ และ ไอน้้าของฟิล์มบรรจุภัณฑ์ และมีความเหมาะสมใน การใช้งานมากขึ้นในแง่ ของความยืดหยุ่น เพื่อให้ ทราบศักยภาพการส่งออก เห็ดฟางที่บรรจุใน ถุงพลาสติกย่อยสลายได้ จากยางพาราไปยัง ประเทศเยอรมนี | 2. ตรวจสอบสภาวะการเปลี่ยน แปลงทางกายภาพ และเคมีของ เห็ดฟางภายในฟิล์มพลาสติก ย่อยสลายได้ที่มียางพาราเป็น ส่วนประกอบโดยการบรรจุเห็ด ฟางในถุง พลาสติกที่พัฒนาได้ จากข้อ 1. เปรียบเทียบกับ ถุงพลาสติก LDPE ทางการค้า 3. ปรับปรุงฟิล์มบรรจุภัณฑ์ให้มี ความ สามารถในการเลือกซึม ผ่านแก๊สต่างๆ ให้เหมาะสมกับ การยืดอายุเห็ดฟาง โดยการ เพิ่ม-ลดการเติมยางพารา และ ยางดัดแปร (ENR และ COOH- ENR) ที่อัตราส่วน และระดับ ของหมู่ฟังก์ชั่นที่แตกต่างกัน 4. ตรวจสอบเชื้อจุลินทรีย์ก่อ โรคมนุษย์บนฟลิ ์มพลาสติกสตร ที่เหมาะสมส้าหรับการยดอายุ และรักษาคุณภาพเห็ดฟาง 5. ตรวจสอบเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ในเห็ดฟาง | การพัฒนาฟิล์มบรรจุภัณฑ์ที่ สามารถยืดอายุการเก็บรักษาและ รักษาเห็ดฟางโดยไม่ต้องเจาะรไู ด้ ไม่น้อยกว่า 6 วัน 3. ฟิล์มบรรจุภัณฑ์ที่ปลอดภัย จากการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ ก่อโรคมนุษย์ส้าหรับน้ามาบรรจุ เห็ดฟางโดยไม่ต้องเจาะรู 1 สูตร |
2. แผนงานวิจัยเรื่อง การวิจัย เพื่อการพัฒนามาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ยางไทย (รหัส RDG 5550098) นักวิจัย 1. ดร.สุภา วิรเศรษฐ์ 2. นางสาวชญาภา นิ่มสุวรรณ 3. ดร.พงษ์ธร แซ่อุย 4. นายทัศนัย บุญเกิดรตนสกุล 5. ดร.ณัฐพงศ์ นิธิอุทัย งบประมาณ 4.98 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 ส.ค.55-31 ก.ค.56) | |||
2.1 โครงการการวิจัยเพื่อ กําหนดมาตรฐานยางรองราง รถไฟ นักวิจัย นางสาวชญาภา นิ่มสุวรรณ งบประมาณ 0.77 ล้านบาท | เพื่อศึกษาข้อก้าหนด คุณภาพที่เหมาะสมของ แผ่นยางรองรางรถไฟและ จัดท้าเป็นร่าง มาตรฐานยางรองรางรถไฟ เพื่อเสนอสมอ. พิจารณา | 1. ทดสอบยางรองรางรถไฟทั้ง จากผู้ผลิตในและต่างประเทศ/ วิเคราะห์ผลทดสอบการ ทดสอบ/เปรียบเทียบ/ค้นคว้า ข้อมูลมาตรฐานต่างประเทศ/ ประชุมหารือข้อคิดเห็น | 1. ผลทดสอบสมบัติยางรองรถไฟ ที่มีในตลาด/ข้อมูลมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ยางรองรถไฟของ ต่างประเทศ 2. ร่างมาตรฐานยางรองรางรถไฟ |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
ระยะเวลา 12 เดือน (1 ส.ค.55-31 ก.ค.56) | ประกาศใช้เป็นมาตรฐาน ของประเทศ | 2. รวบรวมข้อมูล/ทดสอบ ผลิตภัณฑ์เพิ่ม (หากจ้าเป็น)/ จัดท้าร่างมาตรฐาน/ประชุม หารือข้อคิดเห็น | |
2.2 โครงการการวิจัยเพื่อ กําหนดมาตรฐานยางถอนขนไก่ นักวิจัย ดร.พงษ์ธร แซ่อุย งบประมาณ 0.69 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 ส.ค.55-31 ก.ค.56) | เพื่อศึกษาข้อก้าหนด คุณภาพที่เหมาะสมของ ยางถอนขนไก่และจัดท้า เป็นร่างมาตรฐานยางถอน ขนไก่ เพื่อเสนอ สมอ. พิจารณาประกาศใช้เป็น มาตรฐานของประเทศ | 1. ทดสอบยางถอนขนไก่ทั้งจาก ผู้ผลิตในและต่างประเทศ/ วิเคราะห์ผลทดสอบเปรียบ เทียบ/ค้นคว้าข้อมูลมาตรฐาน ต่างประเทศ/ประชุมหารือ ข้อคิดเห็น 2. รวบรวมข้อมูล/ทดสอบ ผลิตภัณฑ์เพิ่ม (หากจ้าเป็น)/ จัดท้าร่างมาตรฐาน/ประชุม หารือข้อคิดเห็น | 1. ผลทดสอบสมบัติยางถอนขนไก่ ที่มีในตลาด/ข้อมูลมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ยางถอนขนไก่ของ ต่างประเทศ 2. ร่างมาตรฐานยางถอนขนไก่ |
2.3 โครงการการวิจัยเพื่อ กําหนดมาตรฐานยางล้อตัน สําหรับ รถฟอร์คลิฟท์ นักวิจัย นายทัศนัย บุญเกิด งบประมาณ 1.46 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 ส.ค.55-31 ก.ค.56) | เพื่อศึกษาข้อก้าหนดการ ทดสอบและคุณภาพที่ เหมาะสมของยางล้อตัน และจัดท้าเป็นร่าง มาตรฐานยางล้อตัน ส้าหรับรถฟอร์คลิฟท์เพื่อ เสนอ สมอ. พิจารณา ประกาศใช้เป็นมาตรฐาน ของประเทศ | 1. ทดสอบยางยางล้อตันส้าหรับ รถฟอร์คลิฟท์จากผู้ผลิตทั้งภาย ในประเทศ และต่างประเทศ/ วิเคราะห์ผลทดสอบเปรียบ เทียบ/ค้นคว้าข้อมูลมาตรฐาน ต่าง ประเทศ/ประชุมหารือ ข้อคิดเห็น 2. รวบรวมข้อมูล/ทดสอบยาง ล้อตันส้าหรับรถฟอร์คลิฟท์ เพิ่มเติม/จัดท้าร่างมาตรฐาน/ ประชุมหารือข้อคิดเห็น | 1. ผลทดสอบยางล้อต้น ส้าหรับ รถฟอร์คลิฟท์ที่มีในจ้าหน่ายใน ประเทศ/ข้อมูลมาตรฐานยางล้อ ต้นส้าหรับฟอร์คลิฟท์ของ ต่างประเทศ 2. ร่างมาตรฐานยางล้อต้นส้าหรบั รถฟอร์คลิฟท์ |
2.4 โครงการมาตรฐานสากล สําหรับกระบวนการตรวจสอบ ยางครัมป์วัลคาไนซ์ นักวิจัย ดร.ณัฐพงศ์ นิธิอุทัย งบประมาณ 1.69 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 ส.ค.55-31 ก.ค.56) | 1. เพื่อเตรียมกระบวนการ ที่เหมาะสมในการตรวจ สอบยางครัมป์วัลคาไนซ์ 2. เพื่อร่างมาตรฐานการ ตรวจสอบยางครัมป์ วัลคาไนซ์เพื่อน้าเสนอ ในระดับ ASEAN 3. เพื่อร่างและผลักดัน มาตรฐานเข้าระบบ ISO | 1. ทดลองกระบวนการตรวจ สอบตามเอกสารฉบับร่าง 2. ทดลองหาสมบัติยางครัมป์ ทางกายภาพและเคมี 3. ร่างมาตรฐานฉบับ Working Draft 4. Interlaboratory Test Program 5. น้าเสนอร่างฉบับ Working Draft 6. น้าเสนอร่างฉบับ Working Draft ต่อ ASEAN 7. เพิ่มเติม Precision Statement | 1. กระบวนการที่เหมาะสมในการ ตรวจสอบยางครัมป์ วัลคาไนซ์ 2. มาตรฐานการตรวจสอบ ยางครัมป์วัลคาไนซ์ในระดับ ASEAN 3. มาตรฐาน ISO (ISO16097) |
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้มีประสิทธิภาพ | |||
1. โครงการการประเมินศักยภาพ | 1. เพื่อส้ารวจและเก็บ | 1. ศึกษาคุณสมบัติน้้าทิ้งจาก | 1. ทราบปริมาณก๊าซชีวภาพที่ผลติ |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
การxxxxxอัตราการผลิตก๊าซชีวภาพ ด้วยการหมักร่วมและอัตราการ xxxxxเชื้อเพลิงไม้ฟืนของ สหกรณ์ผลิตยางแผ่นรมควัน (รหัส RDG 5550009) นักวิจัย รศ.ดร.xxxxx ไชยประพัทธ์ งบประมาณ 0.79 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 พ.ค.55-30 เม.ษ.56) | ข้อมูลประสิทธิภาพการ ท้างานของระบบบ้าบัดน้้า เสียของสหกรณ์ สกย. และระบบผลิตก๊าซชีวภาพ และxxxxxxก๊าซชีวภาพไป ใช้ประโยชน์ 2. เพื่อตรวจวัดxxxxx และองค์ประกอบของก๊าซ ชีวภาพและxxxxxxของเถ้า ไม้ฟืน 3. เพื่อทดสอบศักยภาพ การหมักร่วมระหว่างวัสดุ ที่หาได้ในพื้นที่กับน้้าเสีย สหกรณ์ สกย. | ระบบผลิตก๊าซชีวภาพของ สหกรณ์ฯ บ้านเก่าร้าง 2. ติดตามตรวจสอบ ประสิทธภาพการท้างานของ ระบบผลิตก๊าซชีวภาพและxxx xxxก๊าซชีวภาพไปใช้ประโยชน์ 3. ส้ารวจและตดตาม ประสิทธภาพระบบบ้าบัดน้้าเสีย ของสหกรณ์อื่นๆ 4. ตรวจวัดปริมาณและ องค์ประกอบก๊าซชีวภาพที่ผลิต ได้ของสหกรณ์ 5. ศึกษาคุณสมบัติของเถ้าไม้ ยางพารา 6. สร้างระบบถังปฏิกรณส์ ้าหรับ ทดลองระบบหมักร่วม 7.ศึกษาศักยภาพการหมักร่วม ด้วยวิธี BMP 8. ทดลองการหมักร่วมใน ห้องปฏิบัติการ 9. จัดท้ารายงาน ปีที่ 1 | ได้จากน้้าเสียสหกรณ์ สกย. และ ศักยภาพของวัสดุหมักร่วมในพื้นที่ 2. ระบบหมักร่วมระดับ ห้องปฎิบัติการเพื่อทดสอบการหมัก ร่วมน้้าเสียสหกรณ์ สกย. |
2. xxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxx (รหัส RDG 5550108) นักวิจัย 1. ผศ.ดร.xxxx xxxxxxบลู ย์ชัย 2. xx.xxxxxx xxxxxxxxxxxx 3. รศ.xx.xxxxx วนิxxxxxxxxxxxxxx งบประมาณ 4.85 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 ก.ย. 55-31 ส.ค. 56) | |||
2.1 โครงการการศึกษาและ พัฒนาขั้นตอนการกําxxxxxxxxใน ยางxxxxxxxxเพื่อผลิตยาง xxxxxxxxสีxxx นักวิจัย xx.xxxxxx xxxxxxxxxxxx งบประมาณ 0.75 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 ก.ย. 55-31 ส.ค. 56) | เพื่อวิจัยและพัฒนา กระบวนการผลตยาง xxxxxxxxสีxxxxxxมีxxxxxx เทียบเท่ากับยาง STR XL | 1. xxxxxxxการฟอกสีxxxxxxx ฟอกสีที่พัฒนาและระยะเวลา การเก็บรักษาในระดับ อุตสาหกรรม 2. ศึกษาการก้าจัดสีด้วยการจับ ตัวเนื้อยางบางส่วนร่วมกับการ ฟอกสีในระดับห้องปฏิบัติการ (น้้ายางสด 1 ลิตร) 3. ศึกษาการก้าจัดสีด้วยระบบ | 1. สารฟอกสีที่xxxxxxน้าไปใช้ได้ จริงในเชิงพาณิชย์ ที่xxxxxxฟอก สียางให้มีxxxxxxเทียบเท่ายาง str xl แต่มีค่าสียางแผ่นในหน่วย โลวิ บอนด์ 3 2. ปัจจัยส้าคัญของสภาวะการเก็บ รักษาที่ส่งผลต่อxxxxxxของยางสี xxx |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
ลอยตัวในระดับห้องปฏิบัติการ (น้้ายางสด 1 ลิตร) | |||
2.2 โครงการการพัฒนายาง xxxxxxxxให้มีความหนืดมูนนี่ต่ํา และxxxxx ปริมาณไนโตรเจน และ ปริมาณเจลต่ํา นักวิจัย ผศ. ดร.xxxx xxxxxxบลู ย์ชัย งบประมาณ 2.52 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 ก.ย. 55-31 ส.ค. 56) | ศึกษาหาวิธีท้ายาง xxxxxxxxให้xxxxxบัตตาม ข้อก้าหนดของยางแท่งชั้น ใหม่ในมาตรฐานยางแท่ง xxxxxโอ (ISO 2000) | 1. ศึกษาหาวิธีลดปริมาณ ไนโตรเจน 2. ศึกษาอุณหภูมิในการอบต่อ ปริมาณไนโตรเจน 3. ศึกษาหาวิธีลดปริมาณเจล และควบคุมความหนืด 4. ศึกษาหาวิธีควบคุมความหนืด มูนนี่ ML 1+4 (100 oC) ให้ได้ 55±10 ร่วมกับได้ปริมาณเจลไม่ เกิน 4 เปอร์เซ็นต์ และxxxxx ไนโตรเจนไม่เกิน 0.3 เปอร์เซ็นต์ 5. ทดลองขยายเสกลโดยท้าใน ระดับ น้้ายาง100 kg จนถึง ระดับ1000 kg และควบคุมให้ ได้xxxxxxตามมาตรฐานที่ก้าหนด เตรียมยางคอมเปานด์และ ทดสอบxxxxxxเทียบกับยาง CV | 1. ทราบชนิดและปริมาณสารเคมี ที่ใช้ 2. การลดปริมาณเจล และยังท้า ให้สมบัตด้านๆอื่นผ่านมาตรฐาน 3. ทราบปริมาณและสารเคมีที่ใช้ ในการลดปริมาณเจลและยังท้าให้ สมบัตด้านอื่นๆผ่านมาตรฐาน 4. ทราบปริมาณและสารเคมีที่ใช้ ในการควบคุมให้ได้xxxxxxตาม มาตรฐานในระดับห้องปฎิบัติการ 5. ยางที่มีxxxxxxตามมาตรฐานเพื่อ ทดสอบxxxxxxการแปรรูป |
2.3 โครงการยางxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxนาน นักวิจัย รศ.xx. xxxxx วนิxxxxxxxxxxxxxx งบประมาณ 1.23 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 ก.ย. 55-31 ส.ค. 56) | 1. สร้างเทคโนโลยีระบบ เก็บxxxxxxxxใช้ได้กับน้้ายาง xxxxxxxx 2. สร้างเทคโนโลยีสูตรยาง กลิ่นหอมยาวนาน 3. สร้างผลิตภณั ฑ์ต้นแบบ ยางกลิ่นหอมยาวนาน | 1. สร้างระบบกักเก็บxxxxxxxxเข้า กันได้กับน้้ายางข้น 2. สร้างเทคโนโลยีการ ประยุกต์ใช้สารให้กลิ่นทไี่ ด้ เพื่อให้ได้ยางxxxxxxxxxxxxx ยาวนาน 3. สร้างและตรวจสอบ ผลิตภัณฑ์ตัวอย่าง | 1. ระบบกักเก็บxxxxxxxxเข้ากันได้กับ น้้ายางข้น 2. เทคโนโลยีและต้นแบบยางตีฟู และยางแบบxxxxxxxมีกลิ่นยาวนาน กว่า 10 เดือน 3. ผลิตภณั ฑ์ยางxxxxxx ต้นแบบ ซึ่งในที่นี้เป็นถุงมือ แม่บ้าน |
3. แผนงานวิจัยเรื่อง ระบบ ต้นแบบในการใช้xxxxxxเชิงไฟฟ้า ในการควบคุมการขึ้นรูปยาง (รหัส RDG 5550112) นักวิจัย 1. xx.xxxxxxx xxxxxxxxx 2. xx.xxxxxxx xxxxxxxxx 3. ผศ.xx.xxxxx xxxxxxxxxxx งบประมาณ 4.89 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 ก.ย.55-31 ส.ค.56) | |||
3.1 โครงการการใช้xxxxxxเชิง ไฟฟ้าในการติดตามกระบวนการ วัลคาไนซ์ของยางขณะขนรูป | 1. เพื่อศึกษาxxxxxxเชิง ไฟฟ้าของยางที่เปลี่ยนไป ในขณะxxxxxxxวัลคาไนซ์ | 1. ศึกษาxxxxxxเชิงไฟฟ้า ผลของ ระบบวัลคาไนซ์ และสารวัลคา ไนซ์ | 1. ความxxxxxxxxของxxxxxxเชิง ไฟฟ้ากับระบบการวัลคาไนซ์ กับ ระบบวัลคาไนซ์ และสารวัลคา |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
นักวิจัย xx.xxxxxxx xxxxxxxxx งบประมาณ 2.12 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 ก.ย.55-31 ส.ค.56) | 2. เพื่อศึกษาหาความ xxxxxxxxของสมบัตเชิง ไฟฟ้าและระดับการ วัลคาไนซ์ของยาง 3. เพื่อติดตาม บันทึก xxxxxxxx xxxxxxเชิง ไฟฟ้าของยางเพื่อน้ามา ประยุกต์ใช้ในการควบคุม กระบวนการขึ้นรูปของ ยาง | 2. ศึกษาxxxxxxเชิงไฟฟ้า ผลของ สารตัวเร่ง และสารตัวเติม | ไนซ์ 2. ความxxxxxxxxของxxxxxxเชิง ไฟฟ้ากับระบบการวัลคาไนซ์ กับ สารเร่ง และสารตัวเดมิ |
3.2 โครงการการพัฒนาเซนเซอร์ สําหรับวัดxxxxxxของยางในขณะ ขึ้นรูป นักวิจัย xx.xxxxxxx xxxxxxxxx งบประมาณ 1.03 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 ก.ย.55-31 ส.ค.56) | 1. ออกแบบและสร้าง เซนเซอร์วัดxxxxxxเชิง ไฟฟ้าของยางในระหว่าง กระบวนการบ่มxxxxxx xxxxxxน้าไปประยุกต์เข้า กับเบ้าอัดยางได้ทันที 2. ใช้เซนเซอร์ที่สร้างขึ้น วัดxxxxxxเชิงไฟฟ้าของยาง เพื่อระบุระดับการบ่มสุก ของเนื้อยาง 3. พัฒนาเซนเซอร์สาหรับ ใช้งานในสภาวะการผลิต ในอุตสาหกรรมได้ โดย เป็นการวัดค่าความจุการ เก็บประจุของยางในขณะ Vulcanization | 1. ออกแบบ สร้าง ทดสอบ หัววัด 2. สร้าง ทดสอบระบบวัด ร่วมกับหัววัด | 1. ได้เซนเซอร์เวอร์ชั่น 1 2. ได้ระบบและทดสอบเซนเซอร์ เวอร์ชั้น 1 |
3.3 โครงการระบบต้นแบบในการ วัดและบันทึกข้อมูลxxxxxxเชิง ไฟฟ้าของยางในขณะวัลคาไนซ์ นักวิจัย ผศ.xx. xxxxx xxxxxxxxxxx งบประมาณ 1.36 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 ก.ย.55-31 ส.ค.56) | 1. พัฒนาระบบที่ใช้ใน การวัดและบันทึก ปริมาณ การวัลคาไนซ์ของการอบ ยาง โดยการวัดxxxxx ทางไฟฟ้า ที่เปลี่ยนไป ระหว่างการ วัลคาไนซ์ 2. พัฒนาระบบและ อัลกอริทึ่มในxxxxxxข้อมูล ปริมาณทางไฟฟ้าxxxxxมา ท้าการตัดสินใจเพื่อหยุด กระบวนการ วัลคาไนซ์ | 1. ทดสอบความxxxxxxx พัฒนา ระบบวัด บันทึก 2. ทดสอบระบบวัดบันทึก | 1. ได้ระบบวัดต้นแบบที่ 1 2. ได้แนวทางการปรับปรุงระบบ ส้าหรับขั้นตอนสุดท้าย |
4. โครงการเครื่องเลื่อยไม้ยาง พาราแบบใหม่เพื่อลดการ | เพื่อวิจัย สร้างต้นแบบ เครื่องเลื่อยใหม่ โดย | 1. ศึกษาข้อจ้ากัด และฟังก์ชั่น การท้างานของxxxxxxxxxxx เพื่อ | 1. รายละเอียดชิ้นส่วนxxxxxxxxxx พร้อมสร้าง |
แผนงาน/โครงการ | วัตถุประสงค์ | วิธีการดําเนินงาน (กิจกรรม) | ผลผลิตของโครงการ (Outputs) |
สูญเสีย” (รหัส RDG 5550113) นักวิจัย ผศ.xx.xxxxxx xxxxxxxx งบประมาณ 2.50 ล้านบาท ระยะเวลา 12 เดือน (1 ก.ย.55-31 ส.ค.56) | ปรับปรุงและพัฒนาxxx xxxจากเครื่องเลื่อยไม้ ยางพาราจากต่างประเทศ ให้เหมาะกับส้าหรับเลื่อย ไม้ยางพาราขนาดเล็ก- กลางส้าหรับ ลดการ สูญเสียเนื้อไม้และต้นทุน การผลิต | เชื่อมโยงการสร้าง หาอุปกรณ์ ประกอบและติดตั้งxxxxxxxxxxx ต้นแบบ 2. ออกแบบและเขียนแบบราย ละเอียดxxxxxxxxxxx 3. จัดหาอุปกรณประกอบxxxxxxx xxxx 4. ศึกษาชนิดของใบเลื่อย และ การเชื่อมต่อใบเลื่อย 5. ทดสอบการท้างานของ เครื่องต้นแบบ ปรับปรุงและ พัฒนา ทดสอบเปรียบเทียบกับ เครื่องแบบเก่า และเครื่องน้าเข้า 6. สรุปxx xxxท้ารายงาน | 2. เครื่องเลื่อยต้นแบบทสี่ ร้าง ปรับปรุง และ พัฒนาจากเครื่อง น้าเข้า ที่ติดตั้งอุปกรณ์พร้อมท้า การทดสอบ |
ภาคผนวก 2
(ร่าง) แบบประเมิน 1 การประเมินข้อเสนอโครงการวิจัยที่ขอสนับสนุนทุนจาก วช. และ สกว.
ชื่อโครงการ …………………………………………………………………
หัวหน้าโครงการ ……………………………………………………………
สังกัดหน่วยงาน ………………………………………………………………..
ความเห็นโดยรวมต่อข้อเสนอโครงการวิจัย
1. ความสอดคล้องกับxxxxxxxxxxการพัฒนายางฯและxxxxxxxxxxการวิจัยยางฯ ขอให้ท่านศึกษาและ พิจารณาว่า โครงการมีความสอดคล้องกับxxxxxxxxxxการพัฒนายางฯและxxxxxxxxxxการวิจัยยางฯ ใน เรื่องใด
ความเห็น ............................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ความจําเป็นของโครงการ ขอให้ท่านศึกษาและพิจารณาว่าโครงการจะช่วยแก้ไขปัญหาอะไรของ อุตสาหกรรมยางพารา ปัญหาดังกล่าวรุนแรงเพียงใด เป็นปัญหาเฉพาะจุด หรือปัญหาโดยรวม และ วัตถุประสงค์ที่กําหนดสอดคล้องกับปัญหาที่ต้องการแก้ไขหรือไม่
ความเห็น ............................................................................. ............................................. ......................
.....................................................................................................................................................................
3. ความxxxxxxxและความเชื่อมโยงกับโครงการอื่น ขอให้ท่านศึกษาและพิจารณาว่าโครงการมีกิจกรรม การดําเนินงานครบถ้วนหรือไม่และจําเป็นต้องมีความเชื่อมโยงกับโครงการอื่นที่เสนอขอรับการสนับสนุน
ในปีเดียวกัน (ถ้ามี) เพื่อให้ผลการวิจัยxxxxxxใช้ประโยชน์ได้อย่างน่าเชื่อถือและกว้างขวางมากขึ้นหรือไม่ ควรปรับปรุงอย่างไรและ โปรดระบุโครงการที่ต้องเชื่อมโยงกับโครงการนี้ด้วย
ความเห็น ............................................................................. .......................................................................
...............................................................................................................................................................
4. ความเหมาะสมด้านวิธีดําเนินงาน (วิธีวิจัย) ขอให้ท่านศึกษาและพิจารณาว่าโครงการมีวิธีดําเนินงาน ที่เหมาะสมและครบถ้วนตามหลักวิชาการและxxxxxxxxxxxวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ หรือไม่หรือควรปรับปรุงอย่างไร
ความเห็น ............................................................................. ..............................................................
……………………………………………………………………….…………………………………………………………………
5. ความเหมาะสมด้านการเงิน ขอให้ท่านศึกษาและพิจารณากิจกรรมและผลผลิตเหมาะสมกับ งบประมาณที่เสนอขอหรือไม่ ครอบคลุมกิจกรรมที่เสนอครบถ้วนหรือไม่
ความเห็น ........................................................................................................................... ..........................
......................................................................................................................................................................
6. ความเหมาะสมด้านการบริหารโครงการ ขอให้ท่านศึกษาและพิจารณาว่าผู้รับผิดชอบโครงการ xxxxxxดําเนินงานให้สําเร็จตามวัตถุประสงค์หรือไม่ วิธีการบริหารโครงการxxxxxxดําเนินงานอย่างมี
ประสิทธิภาพหรือxxx xxxx การกําหนดเวลาทําxxx xxxจัดทีมนักวิจัยที่มีคุณภาพและจํานวนพอเพียงต่อ การดําเนินโครงการ และการแบ่งความรับผิดชอบ และการจัดหาสถานที่วิจัย เป็นต้น
ความเห็น .....................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................
7. การนําไปใช้ประโยชน์ของผลงานวิจัย ขอให้ท่านศึกษาและพิจารณาว่าผลผลิตของโครงการxxxxxx นําไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร และใครคือผู้ได้ประโยชน์โดยตรง
ความเห็น ............................................................................. ....................................................................
.............................................................................................................................................................. ......
8. ความครบถ้วนของการสํารวจเอกสาร ขอให้ท่านศึกษาและพิจารณาผู้วิจัยได้สํารวจเอกสารครบถ้วน เพียงใด
ความเห็น ...................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
9. ความเห็นสรุปการประเมินข้อเสนอโครงการ
..... เห็นควรสนับสนุน
…. เห็นควรสนับสนุน โดยมีข้อแก้ไข ( ระบุ )...............................
.....ไม่ควรสนับสนุนเนื่องจาก.............................................
10. ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ
อนๆ ........................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.......................................
(.......................................)
ผู้ประเมิน
....../........./........
หมายเหตุ : กรณีxxxxxxxว่างไม่พอท่านxxxxxxเขียนความเห็นของแต่ละข้อในหน้าใหม่ได้
(ร่าง) แบบประเมิน 2 การประเมินความxxxxxxxxโครงการวิจัยที่ขอสนับสนุนทุนจาก วช. และ สกว.
ชื่อโครงการ…………………………………………………………………….
หัวหน้าโครงการ……………………………………………………………….
หน่วยงานที่สังกัด………………………………………………………………..
ได้รับการอุดหนุนการวิจัยประเภท...............................................
ประจําปี....................จํานวนเงิน..............................................
รายงานความxxxxxxxxครั้งที่.......ระหว่างเดือน/ปี.......ถึงเดือน/ปี......
ความเห็นโดยรวมต่อรายงานความxxxxxxxx
1. ความxxxxxxxxเทียบกับข้อเสนอโครงการxxxxxxรับการอนุมัติขอให้ท่านศึกษาและพิจารณาดังนี้
1.1 ผู้วิจัยได้ดําเนินงานอะไรบ้าง ครบถ้วนตามแผนหรือไม่และผลเป็นอย่างไร
1.2 โครงการได้จัดหากําลังคนได้ครบถ้วนตามจํานวนและคุณวุฒิตามที่วางแผนไว้หรือไม่
1.3 งบประมาณxxxxxxรับเป็นไปตามแผนหรือไม่
1.4 สถานที่ เครื่องมือ และอุปกรณ์ทําการวิจัยมีความพร้อมหรือไม่เพียงใด
1.5 กิจกรรมต่างๆที่กําหนดไว้ได้เริ่มต้นและสิ้นสุดเป็นไปตามแผนหรือไม่
1.6 ในการดําเนินงานผู้รับทุนได้xxxxxxงานกับ สกว. อย่างต่อเนื่องหรือไม่
1.7 มีการติดตามกํากับของผู้บริหารโครงการอย่างสม่ําเสมอหรือไม่
1.8 การดําเนินงานมีปัญหาอุปสรรคเกิดขึ้นหรือไม่ และผู้วิจัยได้แก้ไขอย่างไร
ความเห็น............................................................................................................................. ........................
..................................................................................................................................................................
2. การดําเนินกิจกรรมและการนําเสนอ ขอให้ท่านศึกษาและพิจารณาว่ากิจกรรมxxxxxxดําเนินงาน มี คุณภาพและสอดคล้องกับหลักวิชาการหรือไม่และการนําเสนอมีความถูกต้องตามหลักวิชาการ ชัดเจน และกระชับหรือไม่
ความเห็น ............................................................................. ............................................... .....................
..................................................................................................................................................................
3. ความเห็นโดยรวมของความxxxxxxxxโครงการ ขอให้ท่านศึกษาและพิจารณาว่าxxxxxให้ดําเนินงาน ต่อหรือไม่
.....xxxxxดําเนินงานต่อไป
.....xxxxxดําเนินงานต่อไปโดยให้ปรับปรุงงาน(ระบุ).............................................................
.....xxxxxยุติการวิจัยเพราะ.................................................................................................. .........
4. ข้อเสนอแนะที่ผู้วิจัยพึงระวังเพื่อให้การทํางานมีประสิทธิภาพ และได้ผลผลิตตามแผนที่วางไว้
................................................................................................................................................... ...................
................................................................................................................................................................
5. ข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิต่อ สกว. ................................................................................................
.............................................................................................................................. .........................
ลงชื่อ...............................
(.......................................)
ผู้ประเมิน
....../........./........
หมายเหตุ : กรณีxxxxxxxว่างไม่พอท่านxxxxxxเขียนความเห็นของแต่ละข้อในหน้าใหม่ได้
(ร่าง) แบบประเมิน 3 การประเมินร่างรายงานฉบับxxxxxxxโครงการวิจัยที่ขอสนับสนุนทุนจาก วช. และ สกว.
ชื่อโครงการ…………………………………………………………………….
หัวหน้าโครงการ……………………………………………………………….
หน่วยงานที่สังกัด………………………………………………………………..
ได้รับการอุดหนุนการวิจัยประเภท...............................................
ประจําปี....................จํานวนเงิน..............................................
ได้รับอนุมัติให้ขยายเวลาจนถึงxxxxxx....เดือน.......ปี......รวม. เดือน
ข้อแนะนําสําหรับผู้ประเมิน
1. ผู้ประเมินจะได้รับเอกสารแนบ 1 ท้ายสัญญา สรุปการให้ทุนวิจัย ขอให้อ่านเพื่อทราบเรื่องทั้งหมดและใช้เป็นข้อมูล พื้นฐานการประเมิน
2. xxxxxให้ความเห็นโดยxxxx ข้อมูลส่วนตัวของผู้ประเมินจะเก็บเป็นความลับ
ความเห็นโดยรวมต่อร่างรายงานฉบับxxxxxxxในแต่ละประเด็น
1. ประเมินการxxxxxวัตถุประสงค์ของการวิจัย ขอให้ท่านศึกษาและพิจารณาดังนี้
1.1 ผลการวิจัยได้ผลผลิตครบถ้วนตามวัตถุประสงค์ที่กําหนดหรือไม่
1.2 เวลาที่ใช้ทําการวิจัยเกิน /พอดีหรือน้อยกว่ากําหนดเพราะอะไร
1.3 การวิจัยใช้งบประมาณอยู่ในวงเงินxxxxxxรับหรือไม่เพราะอะไร
1.4 ปริมาณงานที่เสร็จเมื่อเทียบกับแผนดําเนินงาน
ความเห็น ............................................................................. ............................................... ....................
2. ประเมินการนําผลวิจัยไปใช้ประโยชน์ ขอให้ท่านศึกษาและพิจารณาว่าผลงานวิจัยนําไปใช้ประโยชน์ ได้อย่างไร และใครคือผู้ได้ประโยชน์โดยตรง
ความเห็น ............................................................................................................................. ........................
......................................................................................................................................................................
3. การค้นพบสิ่งใหม่ๆทางวิชาการ/หรือการxxxxxผลxxxxxxได้คาดxxxxขอให้ท่านศึกษาและพิจารณาว่า ผลงานวิจัยมีข้อค้นพบทางวิชาการหรือการxxxxxผลxxxxxxได้คาดxxxxหรือไม่(ระบุ)
ความเห็น ............................................................................. ............................................... .......................
……………………………………………………………………………………………………………………..……………………………
4. ความมีเหตุผลของการวิเคราะห์ ความแม่นยําและถูกต้องของข้อมูลขอให้ท่านศึกษาและพิจารณาว่า ผลงานวิจัยได้วิเคราะห์ถึงเหตุและผลรวมทั้งข้อมูลที่ใช้มีความถูกต้องน่าเชื่อถือหรือไม่
ความเห็น ............................................................................. .......................................................................
.......................................................................................................................... .............................................
5. การปรับปรุงรายงาน ขอให้ท่านศึกษาและพิจารณาว่ารายงานมีข้อควรปรับปรุงหรือไม่ อย่างไรและมี คําแนะนําเพิ่มเติมหรือไม่
ความเห็น .....................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
6. เสนอแนะเรื่องที่ควรทําวิจัยต่อไป (ถ้ามี)
………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
7. การเผยแพร่ผลงานวิจัย ขอให้ท่านศึกษาและพิจารณาว่ารายงานxxxxxเผยแพร่หรือไม่
........xxxxxเผยแพร่
........ไม่xxxxxเผยแพร่เพราะ( ระบุ ).................................................
ลงชื่อ………………………………
(......................................)
ผู้ประเมิน
....../........./........
หมายเหตุ : กรณีxxxxxxxว่างไม่พอท่านxxxxxxเขียนความเห็นของแต่ละข้อในหน้าใหม่ได้
ภาคผนวก 3
ผลการสังเคราะห์รายงานฉบับxxxxxxxแผนงานและโครงการวิจัยยางพาราปี 2555
จําแนกตามกลยุทธ์ของxxxxxxxxxxวิจัยยางพาราแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559
กลยุทธ์: แผนงาน-โครงการ | ประสิทธิผล | การนําไปใช้ประโยชน์ | ประสิทธิภาพ | ผลการสังเคราะห์ | |||
การบรรลุ วัตถุประสงค์ และ เป้าหมาย | ข้อมูลเพื่อการ กําหนดนโยบาย หรือองค์ความรู้ เบื้องต้น | ต้องนําไป วิจัยและ พัฒนา ต่อยอด | พร้อมนําไปใช้ ในเชิงธุรกิจ และสังคม | เป็นไป ตาม แผน | ช้า กว่า แผน | ||
กลยุทธที่ 1 การผลักดันนโยบายที่จําเป็น | |||||||
1. แผนงานวิจัยเรื่อง การวิจัยเชิงนโยบาย การจัดทําคาร์บอน เครดิต คาร์บอนฟุต พริ้นท์ และวอเตอร์ ฟุตพริ้นท์จากการ ดําเนินการปลูกสร้าง สวนยางระยะที่ 3 แปดแสนไร่ | |||||||
1.1 โครงการ การจัดทําคาร์บอน เครดิตและคาร์บอน ฟุตพริ้นท์จากการ ดําเนินการปลูกสร้าง สวนยางพาราตาม นโยบายส่งเสริมการ ปลูกสร้างสวน ยางพาราระยะที่ 3 แปดแสนไร่ | ◕ | ✓ | ✓ | 1. ผู้วิจัยนําเสนอการคํานวณคาร์บอนเครดิตใน พื้นที่ปลูกยางพาราภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยอาศยั การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์จาก ข้อมูลการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกของยางพาราที่ ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลทุติยภูมิ 2. ผลการศึกษาที่ได้จากโครงการยังไม่เหมาะที่ จะนําไปใช้ประโยชน์ในการจัดทําคาร์บอน เครดิตจากการปลูกยางพารา ควรจะต้องนําไป วิเคราะห์เปรียบเทียบกับการคํานวณคาร์บอน เครดิตตามหลักมาตรฐานสากล โดยใช้ข้อมูลที่ เก็บจากการทดลองจริงในภาคสนาม 3. การนําเสนอในร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ ไม่ครบถ้วนตามวัตถุประสงค์โครงการที่ตั้งไว้ ไม่ได้นําเสนอในส่วนสําคัญที่ได้จากการ ศึกษาวิจัย คือ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายจาก การส่งเสริมการปลูกยางพาราระยะที่ 3 ในด้าน การจัดการคาร์บอน ปริมาณก๊าซเรือนกระจก และแนวทางการขายคาร์บอนเครดิต รวมถึง ทิศทางการปลูกยางพาราของประเทศไทย อีก ทั้งเนื้อหาที่เกี่ยวกับมาตรการรองรับอื่นที่จะ เกิดขึ้นจาก Post Kyoto Protocal ตามที่ ผู้วิจัยระบุไว้ในแผนงาน ซึ่งถือเป็นกิจกรรมที่มี ความสําคัญมาก แต่ยังไม่มีรายละเอียดปรากฏ ในร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ |