มรม. ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) การบูรณาการความร่วมมือเพื่อขับเคลื่อนโครงการส่งเสริม โอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา “พาน้องกลับมาเรียน” ระดับจังหวัด
<.. image(รูปภาพประกอบด้วย ลูกศร คำอธิบายที่สร้างโดยอัตโนมัติ) removed ..>
ปี ที่ 50 ฉบับที่ 013 ประจ˚ำวันพฤหัสบดีที่ 15 เดือนกันยำยน พุทธศักรำช 2565
มรม. ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) การบูรณาการความร่วมมือเพื่อขับเคลื่อนโครงการxxxxxxxx โอกาส ความxxxxxxx และความเท่าเทียมทางการศึกษา “พาxxxxxxxxxxเรียน” ระดับจังหวัด
xxxxxx 7 กันยายน 2565 ที่ห้องประชุม 307 ศาลากลางจังหวัดมหาสารคาม xx.xxxxxxxxx xxxxxxx คณบดีคณะวิทยาการจัดการ รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือ (MOU) การบูรณาการความร่วมมือเพื่อขับเคลื่อนโครงการxxxxxxxxโอกาส ความxxxxxxx และความเท่าเทียม ทางการศึกษา “พาxxxxxxxxxxเรียน” ระดับจังหวัด ระหว่าง จังหวัดมหาสารคาม กับ หน่วยงานทางการศึกษา และภาคีเครือข่ายในจังหวัดมหาสารคาม มีxxxxxxx xxxxxx ศึกษาธิการจังหวัดมหาสารคาม พร้อมด้วย หัวหน้า ส่วนราชการ ผู้แทนหัวหน้าส่วนราชการ ผู้บริหารหน่วยงานทางการศึกษาเข้าร่วม โดยxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxx เป็นประธานในพิธี การลงนามในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการบูรณาการxxxxxxงานร่วมกับ หน่วยงานที่จัดการศึกษาและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ภายใต้การบันทึกการลงนามข้อตกลงร่วมกัน (MOU) ในการติดตาม ค้นหาดูแล ช่วยเหลือ ผู้เรียนที่หลุดออกจากระบบนักศึกษา ให้กลับเข้าสู่ระบบศึกษาอย่างมีคุณภาพหรือต่อในระดับที่สูงขึ้น ทั้งในระดับการศึกษาภาคบังคับ การศึกษาระดับมัธยมศึกษา การศึกษาระดับอาชีวศึกษา และการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการฝึกอบรมอาชีพและพัฒนาฝีมือเพื่อการมีงานทำอย่างเหมาะสม ในส่วนของจังหวัดมหาสารคาม มีนักเรียน นักศึกษา ที่หลุดจากระบบการศึกษา รวม 903 คน โดย หน่วยงานทางการศึกษา ได้xxxxxxการติดตาม นักเรียน นักศึกษา ที่หลุดจากระบบนักศึกษา ผ่านโครงการ “พาxxxxxxxxxxเรียน” โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนัก เรียนของสถานศึกษา (ข้อมูลxxxxxx 10 สิงหาคม 2565) ปรากฏผล ดังนี้ 1.) กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาแล้ว 532 คน 2.) ยังไม่กลับเข้าสู่ระบบ
การศึกษา 371 คน (ติดตามแล้วไม่กลับเข้าสู่ระบบการศึกษา 282 คน, อยู่ระหว่างการติดตาม 89 คน)
ทั้งนี้ มีหน่วยงานที่เข้าร่วมพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) จำนวน 17 หน่วยงาน ประกอบด้วย จังหวัดมหาสารคาม, สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดมหาสารคาม, สถานีตำรวจภูธรจังหวัดมหาสารคาม, กองxxxxxการ รักษาความมั่นคงภายในจังหวัดมหาสารคาม, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, อาชีวะศึกษาจังหวัดมหาสารคาม, สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม, สำนักงานxxxxxxxxการxxxxxxxxxxxxxxจังหวัดมหาสารคาม, สำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดมหาสารคาม, สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดมหาสารคาม, สำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดมหาสารคาม, สำนักงานxxxxxxxxxxและกีฬาจังหวัดมหาสารคาม, สำนักงาน กศน.จังหวัดมหาสารคาม, สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามหาสารคาม, สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1, เขต 2, เขต 3
มรม.จัดโครงการแนะแนวการศึกษาผ่านครูแนะแนวโรงเรียนเครือข่ายร่วมพัฒนาวิชาชีพครู
xxxxxx 31 สิงหาคม 2565 xxxxxxxxxxxเฉลิมพระเกียรติ 80 xxxxx มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม xx.xxxxxxxxx xxxxxxx คณบดีคณะวิทยาการจัดการ รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เป็นประธานเปิดโครงการแนะแนวการศึกษาผ่านครูแนะแนว โรงเรียนเครือข่ายร่วมพัฒนาวิชาชีพ ตามที่ มหาวิทยาลัย ราชภัฏมหาสารคาม ได้จัดโครงการแนะแนวการศึกษาผ่านครูแนะแนวโรงเรียนเครือข่ายร่วมพัฒนา วิชาชีพ และการแนะแนวเป็นกระบวนการช่วยเหลือบุคคลให้เข้าใจตนเองและสิ่งแวดล้อม เพื่อการตัดสินใจด้านการศึกษา การประกอบอาชีพ หรือวิธีการแก้ปัญหาให้กับตนเอง เพื่อที่จะxxxxxxปรับตัวได้อย่างxxxxxxxxx มีความxxxxxxxxxxxxx ในชีวิต พัฒนาตนเองได้ถึงขีดสุดในทุกๆ ด้าน
โดยมีคณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ทั้ง 9 คณะ ภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ประกอบด้วย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะxxxxxxxxxx คณะรัฐศาสตร์และxxxxxxxxxxxxxxxx คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาการจัดการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะครุศาสตร์ ร่วมกันประชาสัมพันธ์ข้อมูล การศึกษาระดับxxxxxxตรี แก่คณะครูแนะแนวและตัวแทนนักเรียนในการตัดสินใจศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ประจำปีการศึกษา 2566 xxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxx xxxxxxx รองอธิการบดี รักษาราชการแทนคณบดี คณะครุศาสตร์ กล่าวรายงาน มีครูแนะแนวและตัวแทนนักเรียนจากโรงเรียนเครือข่ายร่วมพัฒนาวิชาชีพ xxxxxxxxxxxสินธุ์ และโรงเรียนที่สนใจจากจังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดขอนแก่น จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดกาฬสินธุ์ เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้
จดหมำยข่ำวพระxxxx ปี ท่ี 50 ฉบับที่ 013 ประจ˚ำวันพฤหัสบดีที่ 15 เดือนกันยำยน พ.ศ. 2565 หน้ำ 2
การตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสถาบัน ปีการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผลการประเมินอยู่ที่คะแนน 4.66 คุณภาพอยู่ใน ระดับดีมาก
xxxxxx 6-7 กันยายน 2565 ที่ห้องประชุมรองศาสตราจารย์ xx.xxxxxxx xxxxx xxxx 5 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 72 xxxxx มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม xx.xxxxxxxxx xxxxxxx คณบดีคณะวิทยาการจัดการ รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัย ราชภัฏมหาสารคาม กล่าวต้อนรับคณะกรรมการ และเปิดโครงการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสถาบัน ประจำปีการศึกษา 2564 โดยxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxx xxxxxxx ผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานและประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัย ราชภัฏมหาสารคาม เป็นผู้กล่าวรายงาน
ตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ซึ่งเป็นไปตามกรอบ มาตรฐานอุดมศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม พุทธศักราช 2562 ประกาศโดยสภามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เพื่อให้การxxxxxxการประกันคุณภาพการศึกษาเป็นไปตามภารกิจของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ด้านการพัฒนาxxxxxxxx ให้มีความxxxxxxxx และยั่งยืน ด้วย 6 องค์ประกอบ จำนวน 22 ตัวบ่งชี้ โดยผลการxxxxxxxxxxxxบริหารจัดการและพัฒนาหลักสูตร จำนวน 110 หลักสูตร จากคณะ 9 คณะ และระดับปฏิบัติการจากทุกๆ หน่วยงานที่xxxxxxงานตามพันธกิจของมหาวิทยาลัย ผลการxxxxxxงานจัดการศึกษาของสถาบันมีผลการประเมินตนเองอยู่ที่คะแนน 4.62 คุณภาพอยู่ใน ระดับดีมาก
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในครั้งนี้ ได้รับเกียรติจาก xx.xxxxx xxxxxxxxxx จากมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด เป็นประธานกรรมการ และมีคณะกรรมการประเมินฯ ประกอบด้วย รศ.xxxxx xxxxxxxxx จากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, xx.xxxxxx xxxxxxxxx จากมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, xx.xxxxxxx xxxxxx จากมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, xx.xxxxxxx xxxxxกุล จากมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด เป็นกรรมการ และxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxx จากมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เป็นผู้xxxxxxxxxxx ซึ่งการประเมินฯ ในครั้งนี้ ได้รับความร่วมมือจากบุคลากรทุกคณะ หน่วยงานสนับสนุน xxxxxxxกันขับเคลื่อน และพัฒนาคุณภาพการศึกษามาอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้แล้วการxxxxxxการประเมินฯ ดังกล่าว มหาวิทยาลัยได้มีการจัด การประเมินให้สอดคล้องกับมาตรการการป้องกันตนเองจากโรคระบาด COVID-19 มีการจำกัดจำนวนผู้เข้าร่วมประชุม และจัดช่วงเวลาให้บุคลากรมาให้รายละเอียดแต่ละตัวบ่งชี้ ส่วนบุคคลภายนอก ได้จัดให้เป็นสัมภาษณ์แบบออนไลน์ โดยมีผลการ xxxxxxงานจัดการศึกษาของสถาบันมีผลการประเมินจากคณะกรรมการอยู่ที่คะแนน 4.66 คุณภาพอยู่ใน ระดับดีมาก
ครุฯ จัดกิจกรรมการแสดงนิทรรศการและการสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้
xxxxxx 31 สิงหาคม 2565 ที่ห้องประชุม Conference Room 2 คณะวิทยาการจัดการ xxxxxxxxxระxxx xxxxจักร์ แจ้งว่า คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ได้xxxxxxการภายใต้ความรับผิดชอบในการพัฒนาโรงเรียนในxxxxxxxx ซึ่งสอดรับ กับxxxxxxxxxxมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ในการพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรให้มี คุณภาพตามมาตรฐานวิชาการและ วิชาชีพ และมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นหน้าที่สำคัญของมหาวิทยาลัยในxxxxxxxx xxxต้องมีส่วนร่วมในการxxxxxxxxและ สนับสนุนในการเตรียมเด็ก เตรียมครูให้พร้อมเข้าสู่สังคมในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลง ให้โรงเรียนในxxxxxxxxมีความxxxxxxxxทางวิชาการ และยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สูงขึ้น คณะครุศาสตร์ จึงได้จัดทำโครงการการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของบุคลากรทางการศึกษา เพื่อแก้ปัญหาและยกระดับคุณภาพการศึกษา ขั้นพื้นฐานของโรงเรียนในxxxxxxxxมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม จากผลการxxxxxx โครงการในปี 2565 โดยการพัฒนาครู นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ในโรงเรียนเครือข่ายร่วมพัฒนาวิชาชีพครูของมหาวิทยาลัย ราชภัฏมหาสารคาม 4 จังหวัด ประกอบไปด้วย จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดขอนแก่น จังหวัด มหาสารคาม และจังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 20 โรงเรียน โดยมีผลxxxxxxจากการxxxxxxโครงการ ทำให้ได้สาระสนเทศให้ครูนำไปจัดการเรียนการสอนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แนวทางการพัฒนาด้านการอ่าน การเขียนและการคิด วิเคราะห์ ได้กระบวนการพัฒนาการอ่าน การเขียน ครูมีสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้xxxxxขึ้น xxxxxxพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ และสื่อประกอบการจัดการเรียนรู้มากมาย ทั้งสื่อ ประเภทดิจิทัล และสื่อประเภทวิธีการ อีกทั้งยังพบว่า xxxxxxยกระดับคุณภาพด้านการอ่านและเขียนของนักเรียนให้สูงขึ้นได้ โดย นักเรียนมีทักษะการอ่าน การเขียนและการคิดวิเคราะห์สูงขึ้น เป็นไปตามเป้าหมาย และสะท้อนถึงความสำเร็จของโครงการและ xxxxxxขยายผลการพัฒนาไปสู่โรงเรียนอื่นๆ ในเขตพื้นทไี่ ด้
การจัดกิจกรรมในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ครู นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ได้แสดงนิทรรศการและการสะท้อนผล การจัดการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ ซึ่งจะทำให้ครู นักศึกษาครูได้สารสนเทศ ข้อดี ข้อจำกัด ในการจัดการเรียนรู้หลังจากได้จัดกระบวนการเรียนรู้ไปแล้ว ซึ่งจะทำให้ครูxxxxxxปรับประยุกต์ใช้ทั้งข้อดี ข้อจำกัด ของกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้เกิดประสิทธิภาพต่อไป โดยภายในงาน xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxx รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เป็นประธานกล่าวเปิดโครงการ มีคณะครูจากโรงเรียนเครือข่ายร่วมพัฒนาวิชาชีพครู ของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 4 จังหวัด ประกอบไปด้วย จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดขอนแก่น จังหวัด มหาสารคาม และ จังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 20 โรงเรียน เข้าร่วมกิจกรรมการแสดงนิทรรศการและการสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ในโครงการยกระดับ คุณภาพ การเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานกลุ่มโรงเรียน xxxxxxxxxxxสินธุ์