Contract
การด˚าเนินขอพิพาทอนุญาโตตุลาการ
สมาคมประกนวินาศภยไทย
นางสาวดลหทย ชนะนนท
กรรมการชมรมนักกฎหมายประกนภัยxxxยนต์
1
2
สญญาการระงบขอพพาท
โดยอนุญาโตตุลาการ สมาคมประกนวินาศภยไทย
สัญญาฉบับนี้ทําขึ้นระหว่างบริษัทประกันวินาศภัย ซึ่งปรากฏนามท้ายสัญญานี้ เพื่อ ตกลงระงับข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ และให้xxxxxxสัญญานี้มีผลผูกพันบริษัทผู้เข้าร่วม ลงxxxxxxxก่อนแล้ว และที่จะเข้าร่วมลงนามภายหลัง
โดยคู่สัญญาตกลงเสนอข้อพิพาททางแพ่งที่เกิดขึ้นแล้ว หรือที่จะเกิดในxxxxxให้ อนุญาโตตุลาการเป็นผู้ชี้ขาด
โดยข้อพิพาท ข้อขัดแย้งหรือข้อเรียกร้องใด ๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างกัน ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับ xxxxxxxxxxxxxx และความรับผิดตามxxxxxxxxxxxxxxระหว่างกัน อันxxxxxxxxxมาจาก การรับประกันภัยของทั้ง 2 xxxxxxxได้รับประกันภัยไว้จากผู้เอาประกันภัยของแต่ละฝ่าย รวมทั้งปัญหาการผิดxxxxxxxxxxxxxx การบอกเลิกxxxxxxxxxxxxxx หรือความxxxxxxx แห่งxxxxxxxxxxxxxxของแต่ละฝ่าย
3
ข้นตอนการดาเนินกระบวนการ
ระงบขอพิพาทของสานกงานอนุญาโตตุลาการ ดงน
1. ผู้เสนอข้อพิพาทยื่นคําเสนอข้อพิพาทต่อเลขาธิการ พร้อมสําเนา 3 ชุด และชําระค่าธรรมเนียม (700,1000,5000) ตามxxxxxxxxx ตามลําดับ
2. เลขาธิการตรวจสํานวนเห็นว่าถูกต้องสั่งรับ พร้อมกําหนดวันนัดประชุม xxxxxxxx หากเห็นว่าไม่ถูกต้องจะสั่งให้แก้ไขเพิ่มเติมภายในกําหนด หากไม่ดําเนินการ อาจสั่งจําหน่ายข้อพิพาท
3. ส่งสําเนาคําเสนอข้อพิพาทให้คู่กรณี พร้อมกําหนดนัดประชุมxxxxxxxx เพื่อนัดเจรจา
ข้นตอนการดาเนินกระบวนการ
4 ระงบขอพิพาทของสานกงานอนุญาโตตุลาการ ดงน้
4. คู่กรณีจะยื่นคําคัดค้านภายใน 15 วัน นับแต่xxxxxxได้รับสําเนาคําเสนอ ข้อพิพาท และจะยื่นข้อเรียกร้องแย้งมาในคําคัดค้านก็ได้ โดยถ้ามีการ เรียกร้องแย้งจะต้องชําระค่าธรรมเนียมคิดตามจํานวนที่เรียกร้องแย้งด้วย หรือxxxxxxxxจะยื่นคําร้องให้เรียกxxxxxxxxร่วมxxxxxxxxอนุญาโตตุลาการก็ได้
5. ในกรณีxxxxxxxxxxxxตกลงกันได้เนื่องจากมูลเหตุแห่งข้อพิพาทนั้น มีการ ฟ้องร้องดําเนินคดีอาญา และอยู่ระหว่างการดําเนินกระบวนพิจารณาคดี ของศาลชั้นต้น ก่อนการตั้งอนุญาโตตุลาการ ให้เลขาธิการจําหน่าย ข้อพิพาทนั้นชั่วคราว และเมื่อมีคําพิพากษาของศาลชั้นต้นในคดีอาญา ดังกล่าวแล้ว ให้เลขาธิการนัดประชุมxxxxxxxxเพื่อเจรจาตกลงxxxxxxxxxxx ข้อพิพาทตามแนวคําพิพากษาของศาลชั้นต้นในคดีอาญาต่อไป
5
1. การระงับขอพพาท โดยการxxxxxxขอพพาท
การระงบขอพิพาทจะมี 2 แนวทาง คือ
🠶 วันนัดประชุมxxxxxxxx นัดแรก ให้xxxxxแต่ละฝ่ายในการเลื่อนการประชุมxxxxxxxxเพื่อเจรจาได้ ฝ่ายละ 1 นัด โดยไม่เสียค่าธรรมเนียม และจะมีการxxxxxxข้อพิพาทในนัดประชุมxxxxxxxx xxxxxx 3 โดยเลขาธิการจะบันทึกและทําสัญญาxxxxxxข้อพิพาทให้xxxxxxxx
🠶 หรือในกรณีที่ยังไม่xxxxxxตกลงกันได้ และxxxxxxxจะxxxxxxข้อพิพาทนั้น ให้xxxxxแต่ละ ฝ่ายในการเลื่อนการประชุมxxxxxxxxเพื่อเจรจาได้อีก ฝ่ายละ 2 นัด โดยเสียค่าธรรมเนียมครั้ง ละ 300 บาท โดยเลขาธิการจะบันทึกและทําสัญญาxxxxxxข้อพิพาทให้xxxxxxxxxxxxกัน
🠶 ซึ่งเมื่อครบกําหนดแล้ว หากยังไม่xxxxxxxxxxxxข้อพิพาทได้ จะต้องตั้งอนุญาโตตุลาการ เพื่อชี้ขาดตามกระบวนการต่อไป
🠶การxxxxxxข้อพิพาทนั้น หากxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxข้อพิพาท อีกฝ่ายอาจยื่นคําเสนอ ข้อพิพาทต่อสํานักงานอนุญาโตตุลาการเป็นข้อพิพาทใหม่ เพื่อให้ชี้ขาดไปxxxxxxxxได้ ภายใน 10 ปี นับแต่xxxxxxทําสัญญาxxxxxxข้อพิพาท
6
2. การระงับขอพพาท โดยอนุญาโตตุลาการชขาด
การระงบขอพิพาทจะมี 2 แนวทาง คือ
🠶 xxxxxxxxxxxxxxxxxตกลงxxxxxxข้อพิพาทได้ ให้เลขาธิการดําเนินการตั้งอนุญาโตตุลาการ 1 คน
เพื่อให้พิจารณาชี้ขาดพร้อมกําหนดวันนัดพิจารณานัดแรก และมีคําสั่งให้xxxxxxxxชําระ ค่าธรรมเนียมการตั้งอนุญาโตตุลาการตามxxxxxxxxx โดยชําระฝ่ายละครึ่ง (ไม่เกิน 5 ล้านบาท คิด ร้อยละ 2 แต่ไม่ต่ํากว่า 2,000 บาท)
🠶 โดยการพิจารณานัดแรก xxxxxxxxxxประเด็นข้อพิพาท,กําหนดหน้าที่นําxxx xxxxxxxxต้องยื่นพยาน เอกสารต่าง ๆ ภายในนัดให้ครบ มิฉะนั้นอนุญาโตตุลาการ อาจไม่รับฟังพยานเอกสารที่ยื่น ภายหลังได้ และกําหนดนัดสืบพยานตามหน้าที่นําสืบ
🠶 ในการสืบพยาน จะเป็นการสืบพยานเอกสารหรือนําบุคคลxxxxx หรือหากพยานบุคคลไม่ xxxxxxมาxxx xxxxxxxxขอให้อนุญาโตตุลาการ มีคําสั่งให้เดินxxxxxสืบได้ โดยอนุญาโตตุลาการ จะให้ผู้ช่วยเลขาธิการไปxxxxxxก็ได้ โดยผู้อ้างต้องนําไปและเสียค่าใช้จ่าย ตามที่ อนุญาโตตุลาการมีคําสั่ง หากผู้เสนอข้อพิพาทไม่มา อาจพิจารณาจําหน่ายหรือหากxxxxxxxxxxมา อาจพิจารณาไปฝ่ายเดียวก็ได้ หรืออนุญาโตตุลาการอาจให้ผู้เชี่ยวชาญทํารายงานความเห็นเป็น หนังสือก็ได้
7
2. การระงับขอพพาท โดยอนุญาโตตุลาการชขาด
การระงบขอพิพาทจะมี 2 แนวทาง คือ
🠶 ซึ่งเมื่อสืบพยานเสร็จแล้ว อนุญาโตตุลาการ จะมีคําชี้ขาดภายใน 180 วัน นับแต่วันตั้ง อนุญาโตตุลาการ หากไม่ทันตามกําหนด xxxxxxxxxxxตกลงให้ขยายระยะเวลาก็ได้
🠶 เมื่ออนุญาโตตุลาการชี้ขาดเสร็จแล้ว สํานักงานฯ จะจัดส่งสําเนาคําชี้ขาดให้xxxxxxxx xxxxxxxxxxxx ต้องปฏิบัติตามคําชี้ขาด เมื่อได้รับคําชี้ขาดโดยกําหนดตามxxxxxxได้รับ ในปัจจุบันมีการเซ็นรับโดย ผู้รับมอบอํานาจxxxxxxxxแต่ละฝ่าย หรือหากมีการส่งทางไปรษณีย์ จะxxxxxxxxxรับเอกสารตาม ไปรษณีย์ตอบรับ
🠶 แต่หากคําชี้ขาดนั้น มีข้อผิดพลาดหรือผิดหลงxxxxxxxx xxxxxxxxฝ่ายใดอาจร้องขอให้แก้ไข ให้ถูกต้อง หรือหากจะให้ทําคําชี้ขาดเพิ่มเติมในประเด็นข้อสาระสําคัญที่ยังxxxxxxxxxxxx xxxxxxxx ต้องร้องขอภายใน 30 วัน นับแต่xxxxxxสําเนาคําชี้ขาดไปถึง หรือxxxxxxไปถึงแล้ว
🠶 หากxxxxxxxxxxxปฏิบัติตามคําxxxxxx xxxxxxxxอีกฝ่ายต้องยื่นคําร้องขอต่อศาลที่มีเขตอํานาจเพื่อให้ ศาลมีคําสั่งบังคับตามคําชี้ขาดภายใน 3 ปี นับแต่xxxxxxสําเนาคําชี้ขาดไปถึง หรือxxxxxxไปถึงแล้ว
พระราชบญญตั ิอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545
8
มาตรา ๑๔ ในกรณีที่คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งฟ้องคดีเกี่ยวกับข้อพิพาทxxx xxxxxอนุญาโตตุลาการโดยมิได้เสนอข้อพิพาทนั้นต่อคณะxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxx xxxxxxxxxxxxxxxถูกxxxxxxxยื่นคําร้องต่อศาลที่มีเขตอํานาจxxxxxxกว่าวันยื่น คําให้การหรือภายในระยะเวลาที่มีxxxxxยื่นคําให้การตามกฎหมายให้มีคําสั่งจําหน่าย คดี เพื่อให้คู่สัญญาไปดําเนินการทางอนุญาโตตุลาการ และเมื่อศาลทําการไต่สวน แล้วเห็นว่าไม่มีเหตุที่ทําให้สัญญาอนุญาโตตุลาการนั้นเป็นโมฆะ หรือใช้บังคับxxxxxx หรือมีเหตุที่ทําให้ไม่xxxxxxปฏิบัติxxxxxxxxนั้นxxx xxให้มีคําสั่งจําหน่ายคดีนั้นเสีย
ในระหว่างการพิจารณาคําร้องของศาลตามวรรคหนึ่ง คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง อาจเริ่มดําเนินการทางอนุญาโตตุลาการได้ หรือคณะอนุญาโตตุลาการอาจดําเนิน กระบวนพิจารณาต่อไป และมีคําชี้ขาดในข้อพิพาทนั้นได้
พระราชบญญตั ิอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545
9
มาตรา ๔๑ ภายใต้บังคับมาตรา ๔๒ มาตรา ๔๓ และมาตรา ๔๔ คําชี้ ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการไม่ว่าจะได้ทําขึ้นในประเทศใดให้xxxxxx xxxxxxxx และเมื่อได้มีการร้องขอต่อศาลที่มีเขตอํานาจย่อมบังคับได้ตามคํา ชี้ขาดนั้น
มาตรา ๔๒ เมื่อxxxxxxxxฝ่ายใดxxxxxxxจะให้มีการบังคับตามคําชี้ขาด ของคณะอนุญาโตตุลาการให้xxxxxxxxฝ่ายนั้นยื่นคําร้องต่อศาลที่มีเขต อํานาจภายในกําหนดเวลาสามปีนับแต่xxxxxxอาจบังคับตามคําxxxxxxxxxเมื่อ ศาลได้รับคําร้องดังกล่าวให้รีบทําการไต่สวน และมีคําพิพากษาโดยxxxx
สญญาและบนทึกขอตกลงทีเกียวของกบการระงบั ขอพิพาท
10
1. xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxค่าเสียหายซึ่งกันและกันตามกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์
2. บันทึกข้อตกลงการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนระหว่างบริษัทประกันภัย
3. ข้อตกลงการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนการประกันภัยxxxยนต์ระหว่างบริษัท ประกันภัย แบบ MOTOR FAST -TRACK
4. สัญญาสละxxxxxเรียกร้องค่าเสียหายซึ่งกันและกันตามเอกสารแนบท้ายความ คุ้มครองเพิ่มเติมการประกันภัยค่ารักษาพยาบาล (รย.02)
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxค่าเสียหายซึ่งกนและกนตาม
11 กรมธรรมประกนภยรถยนต์
สัญญาฉบับนี้ทําขึ้นระหว่างบริษัทประกันวินาศภัยซึ่งปรากฏนามท้ายสัญญานี้ เพื่อ
ตกลงสละxxxxxเรียกร้องค่าเสียหายซึ่งกันและกัน และให้xxxxxxสัญญานี้มีผลผูกพันบริษัท ผู้เข้าร่วมลงนามนับแต่xxxxxxบริษัทดังกล่าวเข้าร่วมลงนามในสัญญานี้ ซึ่งผลxxxxxxxxx xxxxxดังกล่าวให้มีผลผูกพันต่อบริษัทที่เข้าร่วมลงxxxxxxxก่อนแล้ว และที่จะเข้าร่วมลง นามภายหลัง โดยมีรายละเอียด ดังนี้
• รถยนต์ที่เอาประกันภัยไว้กับผู้เข้าร่วมสัญญาแต่ละฝ่าย ประเภทรถยนต์ ชนิด 4 ล้อ ทุกประเภท ทั้งนี้ไม่รวมถึงรถที่จดทะเบียน น้ําหนักรวมเกินกว่า 4 ตัน หรือที่จด ทะเบียนที่นั่งเกินกว่า 20 คน รถทั้งสองประเภทดังกล่าวไม่อยู่ในบังคับของสัญญานี้
12
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxค่าเสียหายซึ่งกนและกนตาม
กรมธรรมประกนภยรถยนต
• ผู้เข้าร่วมสัญญาตกลงสละxxxxxเรียกร้องค่าเสียหายซึ่งกันและกันต่อรถยนต์ ซึ่งเกิด จากการชนหรือความxxxxxxหลีกเลี่ยงการชน หรือเกิดจากการใช้รถ ซึ่งก่อให้เกิด ความเสียหายต่อรถยนต์ที่เอาประกันภัยไว้กับผู้ร่วมสัญญา โดยผู้เข้าร่วมสัญญาแต่ละ ฝ่ายจะรับผิดชอบในความเสียหายของรถยนต์ที่ตนรับประกันภัยไว้ภายใต้จํานวนเงิน เอาประกันภัยที่กําหนดไว้ในกรมธรรม์ประกันภัยโดยไม่คํานึงว่าจะเป็นความประมาท ของฝ่ายใด โดยการสละxxxxxเรียกร้องค่าเสียหายซึ่งกันนี้ ให้หมายความรวมxxxxxx สละสิทธเรียกร้องต่อผู้เอาประกันภัยของผู้ร่วมสัญญา และบุคคลซึ่งต้องรับผิดต่อเหตุ ละเมิดดังกล่าว เพียงเท่าที่จํานวนเงินเอาประกันภัยคุ้มครองความรับผิดต่อ บุคคลภายนอกที่กําหนดไว้ในกรมธรรม์ของผู้ร่วมสัญญาที่ต้องรับผิดเท่านั้น
13
บนทึกขอตกลงการชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนระหว่างบริษท
ประกนภย
บันทึกข้อตกลงฉบับนี้ทําขึ้นระหว่างบริษัทประกันภัย ซึ่งปรากฏนามท้ายบันทึก ข้อตกลงนี้ เพื่อให้การเรียกร้องและการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนระหว่างบริษัทเป็นไปด้วย ความรวดเร็ว อํานวยความสะดวกให้แก่ผู้เอาประกันทั้งสองฝ่าย และรักษาชื่อเสียง ภาพพจน์ ต่อxxxxxประกันภัย โดยให้xxxxxxบันทึกข้อตกลงนี้ มีผลผูกพันบริษัทผู้เข้าร่วม ลงนามนับแต่xxxxxx บริษัทดังกล่าวเข้าร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงนี้ ซึ่งผลผูกพันตาม บันทึกข้อตกลงดังกล่าวให้มีผลผูกพันต่อบริษัทที่เข้าร่วมลงxxxxxxxก่อนแล้ว และที่จะเข้า ร่วมลงนามภายหลัง โดยมีรายละเอียด ดังนี้
• (ข้อ 5) การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนระหว่างกัน ให้ชดใช้ตามรายการความเสียหายxxx xxxxxและรวมถึงความxxxxxxxxxxต่อเนื่องจากอุบัติเหตุ ตามหลักเกณฑ์ คือ ซ่อมอู่ ทั่วไป ชดใช้เต็มจํานวน 100 เปอร์เซนต์ หากซ่อม ณ ศูนย์บริการของตัวแทน จําหน่ายรถยนต์ ให้ชดใช้ค่าแรง 80 เปอร์เซนต์ และค่าอะไหล่ 100 เปอร์เซนต์
14
บนทึกขอตกลงการชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนระหว่างบริษท
ประกนภย
• (ข้อ 7) การชดใช้xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxสละxxxxxเรียกร้องค่าเสียหายซึ่งกันและ กัน ในกรณีบริษัทประกันภัยฝ่ายถูกชดใช้ค่าซ่อมรถยนต์ซึ่งเอาประกันภัยไว้กับตนไม่ เต็มจํานวนความเสียหาย หรือผู้เอาประกันภัยฝ่ายถูกไม่ใช้xxxxxเรียกร้องค่าซ่อมรถยนต์ จากบริษัทประกันภัยของตนเอง แต่ไปใช้xxxxxเรียกร้องจากบริษัทประกันภัยฝ่ายผิด เมื่อบริษัทประกันภัยฝ่ายผิดชดใช้ค่าซ่อมรถยนต์ไปเพียงใด ให้เรียกร้องค่าซ่อม ดังกล่าวจากบริษัทประกันภัยฝ่ายถูกได้
• (ข้อ 8) การชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ตามหลักสํารองจ่าย (พรบ.) หากผู้โดยสารในรถ ของบริษัทประกันภัยฝ่ายถูกเรียกร้องค่ารักษาพยาบาลและค่าปลงศพ จากบริษัท ประกันรถฝ่ายผิดโดยตรง หรือบริษัทประกันรถฝ่ายผิดxxxxxxxจะชดใช้ดังกล่าว บริษัทประกันรถฝ่ายผิดจะต้องตรวจสอบว่ามีการขอรับเงินดังกล่าวจากบริษัทฝ่าย ถูกแล้วหรือไม่
ขอตกลงการชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนการประกนภยxxxยนต์
15 ระหว่างบริษทประกนภยั แบบ MoToR FAST -TRACK
บันทึกข้อตกลงฉบับนี้ทําขึ้นระหว่างบริษัทประกันภัย ซึ่งปรากฏนามท้ายบันทึก
ข้อตกลงนี้ เพื่อให้การเรียกร้องและการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนระหว่างบริษัทเป็นไปด้วย ความรวดเร็ว โดยหลักความxxxxxxใจต่อกันอย่างยิ่ง รวมทั้งหลักความxxxxxxxxxและให้เกียรติ ต่อกัน โดยให้xxxxxxบันทึกข้อตกลงนี้ มีผลผูกพันบริษัทผู้เข้าร่วมลงนามนับแต่xxxxxxบริษัท ดังกล่าวเข้าร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงนี้ ซึ่งผลผูกพันตามบันทึกข้อตกลงดังกล่าวให้มี ผลผูกพันต่อบริษัทที่เข้าร่วมลงxxxxxxxก่อนแล้ว และที่จะเข้าร่วมลงนามภายหลัง โดยมี รายละเอียด ดังนี้
• จํานวนเงินที่เรียกร้อง ภาคสมัครใจ จํานวนxxxxxxxxxxxxxxxxxเรียกร้องแต่ละ อุบัติเหตุไม่เกิน 15,000 บาท (51 บริษัท)และ 50,000 บาท(29 บริษัท) ตามที่ลงนาม ท้ายข้อตกลง
ขอตกลงการชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนการประกนภยxxxยนต์
16 ระหว่างบริษทประกนภยั แบบ MoToR FAST -TRACK
• ภาคบังคับ จํานวนxxxxxxxxxxxxxxxxxเรียกร้องแต่ละอุบัติเหตุต่อผู้ประสบภัยต่อราย ไม่เกินจํานวนเงินค่าเสียหายเบื้องต้น
• ใช้เอกสารใบแจ้งหนี้เรียกร้องค่าสินไหมทดแทน และสําเนาใบเสร็จ หรือหลักฐานการ รับเงินของผู้เอาประกันภัย
• โดยคู่สัญญาตกลงชดใช้เต็มจํานวนตามรายการความxxxxxxxxxxเกิดขึ้นจริงและได้จ่าย ไปจริง
17
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxค่าเสียหายซึ่งกนและกนตาม
เอกสารแนบทายความคุมครองxxxxเติมการประกนภย ค่ารกษาพยาบาล (รย.02)
สัญญาฉบับนี้ทําขึ้นระหว่างบริษัทประกันวินาศภัย ซึ่งปรากฏนามท้ายสัญญานี้ เพื่อ ตกลงสละสิทธเรียกร้องค่ารักษาพยาบาลซึ่งกันและกัน รายละเอียดดังนี้
• รถยนต์ รถจักรยานยนต์ และรถอื่น ๆ ที่มีการคุ้มครองการประกันภัยรถยนต์ภาค สมัครใจและมีความคุ้มครองตามเอกสารแนบท้ายความคุ้มครองเพิ่มเติมการ ประกันภัยค่ารักษาพยาบาล(รย.02) ไว้กับผู้เข้าร่วมสัญญาแต่ละฝ่าย
• ผู้เข้าร่วมสัญญาตกลงสละxxxxxเรียกร้องค่ารักษาพยาบาลซึ่งกันและกัน ในอุบัติเหตุที่ ทําให้บุคคลของแต่ละฝ่ายได้รับบาดเจ็บต้องเข้ารับการรักษาพยาบาล ซึ่งแต่ละฝ่าย ต้องรับผิดชอบค่ารักษาพยาบาลตามความคุ้มครอง ภายใต้จํานวนเงินเอาประกันภัยที่ กําหนดไว้ในกรมธรรม์ โดยไม่คํานึงว่าเป็นความประมาทของฝ่ายใด
18