ตลาดขอตกลงสินคาเกษตร (Contract Farming)
ตลาดขอตกลงสินคาเกษตร (Contract Farming)
ระหวางจงหวัดอุบลราชธานี กับ แขวงจําปาสัก สปป.ลาว
1. ขอมูลพื้นฐาน
1.1 ความเปนxx
xxxเนื่องจาก กรอบxxxxศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี – เจาพระยา– แมโขง (ACMECS : Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy) ระหวางกัมพูชา ลาว พมา ไทย และเวียดนาม หรือชื่อเดิม xxxxศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวาง กัมพูชา ลาว พมา ไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความรวมมือระหวาง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พมา ไทย และ
เวียดนาม ACMECS เปนxxxxxxxxx พ.ต.ท. xx. xxxxxx xxxxxxx นายกรัฐมนตรี ในขณะนั้น ไดxxxxxxขึ้น หารือกับผูนํากัมพูชา ลาว และพมา ในชxxxxxประชุมผูนําอาเซียนสมัยพิเศษวาดวยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และไดรับการสนับสนุนในหลักการจากผูนําประเทศเพื่อนบานทั้งสามดังกลาว และไดมีพัฒนาการอยางรวดเร็วตอเนื่องจนถึงการประชุมระดับผูนํา ACMECS ที่เมืองพุกาม สหภาพพมา เมื่อxxxxxx 12 พฤศจิกายน 2546 ซึ่งผูนําทั้ง 5 ประเทศรวมกันออกxxxxxxพุกาม (Began Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความรวมมือ 5 สาขา ไดแก
1) การอํานวยความสะดวกดานการคาและการลงทุน
(Trade and Investment Facilitation)
2) ความรวมมือดานเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
(Agricultural and Industrial Cooperation)
3) การเชื่อมโยงเสนทางคมนาคม (Transport Linkages)
4) การทองเที่ยว (Tourism Cooperation)
5) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย (Human Resource Development)
บนxxxxxxxxxxเนนการสงเสริมการพฒนาเศรษฐกิจอยางยั่งยืน การสรางงาน โดยมีกิจกรรม ทีเห็นผลเร็ว มุงผลประโยชนรวมกัน และเปนกลไกหนึ่งที่ชวยสงเสริมความเจริญทางเศรษฐกิจและยกระดับ ความเปนxxxของประชาชน รวมทั้งสงเสริมใหนานาประเทศนอก ACMECS และองคการระหวางประเทศไดมี สวนรวมเปนหนสวนการพัฒนาในโครงการตางๆ ของ ACMECS ดวย
ตอมา เวียดนาม ไดเขารวมเปนสมาชิกเมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 เพื่อเพิ่มพูนความ รวมมือในการพัฒนาเศรษฐกิจ สรางความมั่นคงและxxxxxxxxในอนุxxxxxxxใหเปนไปอยางสอดคลองและเสริม ประโยชนกันxxxxxxxขึ้น
/1.2 เปาประสงค...
1.2 เปาประสงคหลักของ ACMECS คือ
1) เพอสงเสริมความxxxxxxในการแขงขนและกอใหเกิดความเจริญเติบโตมากขนตาม แนวชายแดน
2) เพื่ออํานวยความสะดวกใหมีการเคลื่อนยายอุตสาหกรรมเกษตรและการผลิต
ไปยังบริเวณทมความไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบ
3) เพื่อสรางโอกาสการจางงานและลดความแตกตางของรายไดในหมประเทศทั้งสี่
4) เพื่อสงเสริมxxxxxxxx xxxxxxxxx และความxxxxรวมกันสําหรับทุกฝายในลกษณะ xxxxxxxxxx
1.3 กิจกรรมภายใต ACMECS มีลักษณะ ดงนี้
1) สอดคลองและสงเสริมความรวมมือทางเศรษฐกิจระดบทวิภาคีและxxxxxxx xxxมีอยแลว
2) ปฏิบัติไดโดยมีผลที่เปนรูปธรรม โดยใชความไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบของแตละ ประเทศ
3) ทําไดจริงและเปนทยอมรับไดโดยประเทศที่เกี่ยวของ
4) ยึดxxxxxxxxxงปนผลประโยชนอยางสมัครใจและทดเทียมกัน
5) ยึดหลักxxxxxมติระหวางประเทศที่เกี่ยวของ
1.4 รูปแบบและแนวทางการดําเนินการ
1.4.1 ผูประกอบการรายใหญ
1) รูปแบบ เปนการลงทุนxxxxxxxxคาการลงทุนสูง เนนการนําเขาผลผลิตxxxxx มาตรฐานจํานวนมาก ซึ่งเปนการสนับสนุนใหมีการเขาลงทุนเพิ่มเติมของเอกชนรายใหญที่เขาลงทุนxxxแลว รัฐบาลไทยจะตองใหความชวยเหลือทางวิชาการกับประเทศเพื่อนบานโดยสํารวจความเหมาะสมกอน ขยาย ผลในการสนับสนุนภาคเอกชนเขารวมลงทุนในพื้นที่ที่เหมาะสม
2) แนวทาง กระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนเจาภาพเขาศึกษาสํารวจโอกาส การลงทุนใหมีความชัดเจนทั้งดานศักยภาพพื้นที่ ชนิดพืชเปาหมาย ซึ่งรวมถึงพืชน้ํามัน คุณภาพผลผลิต และ กฎxxxxxxxxxxเกี่ยวของ กอนxxxxxxภาคเอกชนเขาลงทุน
1.4.2 ผูประกอบการรายยอย ระดบชายแดน
1) รูปแบบ ดําเนินการโดยผูประกอบการรายยอยบริเวณชายแดนกับเกษตรกร ประเทศเพื่อนบาน xxxxxxดําเนินการไดทันที โดยขยายผลการดําเนินงานที่เปนxxxในปจจุบันใหxxxxxx พัฒนาอยางเปนระบบ
2) แนวทาง ดําเนินการตามมาตรการผอนปรนในพื้นที่นํารอง ซึ่งกําหนดใหมี ระบบบริหารจัดการในพื้นที่ โดยผูลงทุนที่เขารวมโครงการจะไดรับการอํานวยความสะดวกและxxxxxพิเศษ ตามมาตรการผอนปรน
/1.5 กลไกการดําเนินการ...
1.5 กลไกการดําเนินการภายในประเทศไทย (สศช.)
เมื่อxxxxxx 22 มีนาคม 2547 ไดมีการประชุมหารือแนวทางดําเนินการลงทุนแบบ Contract Farming xxxxศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจ กัมพูชา-ลาว-พมา-ไทย (ACMECS) ณ หอง ประชุม สํานักพัฒนาพื้นที่ชั้น 5 ตึกการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย โดยมีที่ปรึกษาดานนโยบายและ แผน สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (นายอุทิศ ชาวxxxxx) เปนประธาน ได แจงใหที่ประชุมทราบมติการประชุมอนุกรรมการพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบาน ครั้ง ที่ อพบ. 1/2547 เมื่อxxxxxx 8 xxxxxx 2547 ใหความเห็นชอบดําเนินมาตรการสนับสนุนการลงทุนดาน เกษตร โดยเฉพาะการสนับสนุนการลงทุน Contract Farming กับประเทศเพื่อนบาน โดยมอบหมาย หนวยงานที่เกี่ยวของ และผูวาราชการจังหวัด ดําเนินการสนับสนุนเพื่ออํานวยความสะดวกและติดตามผลการ พัฒนาและลงทุนใหxxxxxxทางปฏิบัติเปนรูปธรรมโดยเร็วตอไป ซึ่งไดกําหนดแนวทางการดําเนินการ และ หนวยงานรบผิดชอบ ดังนี้
1)หอการคา/ภาคธุรกิจเอกชน : กําหนดพืชเปาหมาย นักลงทุนทั้งสxxxxxx และทองถิ่น ที่พรอมจะไปลงทุนในพื้นที่ที่กําหนด
2) กระทรวงการตางประเทศ/กระทรวงเกษตร : เจรจาทําความตกลงกับประเทศเพื่อน บานแตละประเทศ เพื่อกําหนดพื้นที่เปาหมายการxxxxxxxxใหชัดเจน ตลอดจนการใหความชวยเหลือทาง วิชาการในการยกระดับคุณภาพการผลิต
3) กระทรวงพาณิชย : xxxxxxกับจังหวัดและหอการคาจังหวัดที่เกี่ยวของเพื่อนํา
คณะผูแทนการคา การลงทุน เดินทางไปทําความตกลงตลอดจนทําสัญญา Contract Farming ระหวาง ภาคเอกชนไทย และประเทศเพื่อนบาน
4)จังหวัดและหอการคาจังหวัด : ติดตามความคืบหนาและxxxxxxใหxxxxxxในทาง ปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพ
2. เมืองคูxxxx ตามxxxxศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจฯ
: xxxxxxพุกาม (จังหวัดxxxxxxxxxxx - แขวงจําปาสัก)
จังหวัดxxxxxxxxxxx กับ แขวงจําปาสัก ไดถูกกําหนดใหเปน “เมืองคูxxxx” ตามxxxxศาสตร ความรวมมือทางเศรษฐกิจฯ : xxxxxxพุกาม แตยังไมเคยมีการลงนามในบันทึกความรวมมือการเปน “เมืองคู xxxx” อยางเปนทางการระหวางxxxxxxxx หากแตไดมีกิจกรรมที่สนับสนุนความสัมพันธดานการคา การลงทุน และการทองเที่ยวตลอดมา กลาวคือ
1) xxxxxx 22 ธันวาคม 2546 จังหวัดxxxxxxxxxxx ไดนํานักธุรกิจจังหวัดxxxxxxxxxxx (หอการคาจังหวัด) เดินทางไปเจรจาหารือความรวมมือดานการคาการลงทุน ระหวางหอการคาจังหวัด xxxxxxxxxxx กับ สภาหอการคาและอุตสาหกรรมแขวงจําปาสัก สปป.ลาว และไดจัดทําบันทึกความเขาใจ ระหวางกัน ในเรื่องความรวมมือเกี่ยวกับการคา การลงทุน การเกษตร โดยxxxxxคาหลายรายการ ที่xxxxxxซื้อ ขายแลกกันได เชน ขาว ถวxxxx ฝาย ขาวโพด ตลอดจนการลงทุนดาน ปศุสัตว และ การทองเที่ยว เปนตน
/2) การรวมงาน...
2) การรวมงานแสดงและจําหนายสินคาแบบ เหยา-เยือน
ป 2547
- ระหวางxxxxxx 23-27 xxxxxx จังหวัดxxxxxxxxxxx รวมกับ แขวงจําปาสัก สปป.ลาว ไดรวมกันจัดการแสดงสินคา “งานตลาดนัดแสดงสินคาเมืองปากเซ ป 2004” ณ เมืองปากเซ แขวงจําปาสัก สปป.ลาว
- ระหวางxxxxxx 30 เมษายน – 9 พฤษภาคม จังหวัดxxxxxxxxxxx ไดจัด “งานแสดง และจําหนายสินคาโอทอป อินโดxxx 2004” ณ บริเวณหนาศาลากลางจังหวัดxxxxxxxxxxx โดยไดxxxx ผูประกอบการจาก แขวงจําปาสัก และแขวงอื่นทใกลเคียงเขารวมงานดังกลาว
ป 2548
- ระหวางxxxxxx 27 สิงหาคม - 4 กันยายน จังหวัดxxxxxxxxxxx ไดจัด “งานแสดงและ จําหนายสินคาโอทอป อินโดxxx 2005” ณ ตลาดxxxxxxxx (ตรงขาม Big C) โดยไดxxxxผูประกอบการจาก แขวงจําปาสัก และแขวงอื่นที่ใกลเคียงเขารวมงานดังกลาว
- ระหวางxxxxxx 28 พฤศจิกายน - 4 ธันวาคม 2548 จังหวัดxxxxxxxxxxx ไดนํา
กลุมผูประกอบการสินคา OTOP รวมงานเฉลิมxxxxxxxxxxx x บริเวณสนามแดง เมืองปากเซ แขวงจําปาสัก สปป.ลาว
ป 2550
- ระหวางxxxxxx 16-25 มีนาคม จังหวัดxxxxxxxxxxx ไดน
ํากลุมผประกอบการนํากลุม
ผูประกอบการ OTOP / SMEs จังหวัดxxxxxxxxxxx และจังหวัดใกลเคียง เขารวมงานแสดงและจําหนายสินคา
4 ประเทศ (ลาว ไทย เวียดนาม และกัมพูชา) ณ ศูนยการคาแขวงจําปาสัก แขวงจําปาสัก สปป.ลาว
- ระหวางxxxxxx 31 สิงหาคม - 9 กันยายน จังหวัดxxxxxxxxxxx ไดจัด “งานแสดงและ จําหนายสินคาโอทอป ไทย-อินโดxxx 2007” ณ บริเวณหนาศาลากลางจังหวัดxxxxxxxxxxx โดยไดxxxx ผูประกอบการจากแขวงจําปาสัก และแขวงอื่นที่ใกลเคียงเขารวมงานดังกลาว
3) ในxxxxxx 30 มีนาคม – 1 เมษายน 2547 จังหวัดxxxxxxxxxxx รวมกับสํานักเอเชีย ตะวันออก กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ และสํานักงานพาณิชยจังหวัด xxxxเจาหนาที่จากแขวงจําปาสัก สปป.ลาว เขารวมการประชุมสัมมนา Workshop on AFTA and AISP Implementation (xxxxxประโยชนทาง ภาษี กับสมาชิกใหมในเขตการคาxxxxอาเซียน)
3. การดําเนินกิจกรรมของจังหวัดxxxxxxxxxxx ตามโครงการตลาดขอตกลงสินคาเกษตร (Contract Farming)
3.1 แนวทางการดําเนินโครงการ Contract Farming ตามแนวทางที่ พณจ. ได ประชุมชี้แจงรวมกับ สศช. เมื่อxxxxxx 18 พฤษภาคม 2549 คือ
/3.1.1 กรอบการ...
3.1.1 กรอบการดําเนินงานตามโครงการ Contract Farming 2 กรอบ คือ
1) กรอบความรวมมือ ASEAN เปนการใหxxxxxพิเศษทางการคากับประเทศ สมาชิกอาเซียนใหม (AISP) จํานวนประมาณ 300 รายการ เปนสินคาเกษตรทไทยเรียกเก็บรอยละ 0-5
2) กรอบความรวมมือ ACMECS เปนการยกเวนภาษีนําเขารอยละ 0 ในลักษณะ One way free trade ตามโครงการ Contract Farming จํานวน 9 รายการ ไดแก ขาวxxxxxxxxx สัตว ขาวโพดหวาน ถั่วเขียวxxxxxx ลูกเดือย ถวxxxxxx ถั่วxxxx เมล็ดละหุง xxคาลิปตัส และงา
3.1.2 วิธีการดําเนินงาน มี 2 วิธี
1) การตกลงในรูปแบบสัญญา (Contract)
2) การตกลงxxxxxใชสัญญา เชน ดวยวาจา โทรศัพท หรืออื่นๆ
(Gentleman Agreement )
3.2 ลักษณะของสินคาเกษตรที่นํามาทําขอตกลง Contract Farming
1) สินคาเกษตรที่เกษตรกรแขวงจําปาสัก มีศักยภาพในการผลิตมากอนแลว ซึ่ง ผลิต ไดปริมาณมากพอในเชิงพาณิชย และมีความชํานาญในการxxxxxxxx ไมตองพึ่งพาหรือขอรับการสนับสนุนใน ดานตาง ๆ (ดานวิชาการ หรือปจจัยการผลิต) จากไทย เชน กะหลาปลี กลวยนาวา เปนตน
2) สินคาเกษตรที่ผูประกอบการxxxxxความตองการ แตเกษตรกร สปป.ลาว ยังขาด ความรและประสบการณในการผลิต และมีความประสงคใหคูสัญญาสนับสนุนดานวิชาการxxxxxxxx และ ปจจัยการผลิต (เมล็ดพนธุ ปุย อื่น ๆ) เชน ขาวxxxxxxxxxสตว ละหุง เปนตน
3.3 รูปแบบการบริหารงาน
1) จังหวัดxxxxxxxxxxx ดําเนินการบริหารงานตามโครงการ Contract Farming ใน รูปแบบคณะกรรมการจัดทําตลาดขอตกลงสินคาเกษตร (Contract Farming) จังหวัดxxxxxxxxxxxกับประเทศ เพื่อนบาน เพื่อดําเนินการสงเสริมและพัฒนาดานวัตถุดิบการเกษตรในประเทศเพื่อนบานตามกรอบความ รวมมือทางเศรษฐกิจ (ACMECS) โดยเฉพาะการสงเสริมการจัดทําตลาดขอตกลงสินคาเกษตร (Contract Farming) ตามคําสั่งจังหวัดxxxxxxxxxxx ที่ 557/2550 ลงxxxxxx 9 มีนาคม 2550 โดยมีรองผูวาราชการ จังหวัดxxxxxxxxxxx (xxxxxรับมอบหมาย) เปนประธานคณะกรรมการ พาณิชยจังหวัดxxxxxxxxxxx เปน กรรมการและเลขานุการ ตามคําสั่งดงกลาวขางตน
2) สํานักงานพาณิชยจังหวัดxxxxxxxxxxx รวมกับ หอการคาจังหวัดxxxxxxxxxxx เปนหนวยงานหลักในการพิจารณาคดเลือกผูประกอบการภาคเอกชน เขารวมโครงการดังกลาวขางตน
/3.3.1 การดําเนินงาน...
3.3.1 การดําเนินงานตามโครงการฯ ที่ผานมา
1) ป 2548
เมื่อxxxxxx 28 กันยายน 2548 ไดมีการ จัดพิธีลงนามในสัญญาสงเสริมตลาด ขอตกลงสินคาเกษตร (Contract farming) ป 2548 ระหวางผูประกอบการไทย 8 ราย กับ ผูประกอบการ สปป.ลาว 6 ราย (แขวงจําปาสัก 4 ราย แขวงสาละวัน 2 ราย) ณ โรงแรมลายทอง อําเภอเมืองxxxxxxxxxxx โดย มีรองผูวาราชการจังหวัดอุบลราxxxx (นายกฤษxxxx xxxปาน ในขณะนั้น) รองกงสุลใหญ ณ แขวงสะหวันนะ เขต สปป.ลาว (นายxxxx ทองบอ ในขณะนั้น) รวมเปนเกียรติ/สักขีพยาน ซึ่งไดมีการรวมลงนามใน 16 สัญญา 7 ชนิดสินคา มูลคาประมาณ 180 ลานบาท
2) ป 2549
ระหวางxxxxxx 24-26 เมษายน 2549 จังหวัดxxxxxxxxxxx โดย xxxxxxxx xxxxx พาณิชยจังหวัดxxxxxxxxxxx เปนหัวหนาคณะ นําภาคราชการ ภาคเอกชน รวมเดินทางไปดําเนิน กิจกรรมสงเสริมสัญญาตลาดขอตกลงสินคาเกษตร (Contract farming) ป 2549 ณ โรงแรมปากเซ ซึ่งไดมี การจัดพิธีลงนามของผูประกอบการไทย 11 ราย กับ ผูประกอบการ สปป.ลาว 5 ราย ใน 23 สัญญา 12 ชนิดสินคา มูลคาประมาณ 200 ลานบาท
3) ป 2550
ระหวางxxxxxx15-17 มีนาคม 2550 จังหวัดxxxxxxxxxxx โดย นายxxxxx สายพันธ รองผูวาราชการจังหวัดxxxxxxxxxxx เปนหัวหนาคณะนําผูแทนภาครัฐและภาคเอกชน เดินทางไป รวมประชุมหารือ และลงนามในสัญญาตามโครงการ Contract Farming ป 2550 ณ แขวงจําปาสัก สปป. ลาว ระหวางผูประกอบการไทย 14 ราย กับ ผูประกอบการ สปป.ลาว 6 ราย ซึ่งมีการ ลงนาม 69 สัญญา 13 ชนิดสินคา ไดแก กะหล่ําปลี กลวยน้ําวา มะขามเปยก ผักกาดขาว ฝาย ลูกเดือย ถั่วเหลือง ขาวxxx xxxxxxสัตว เมล็ดละหุง มันเทศ ขิง ถั่วxxxx และบรอคโคxxx มูลคาประมาณ 230 ลานบาท
3.3.2 สถานการณปจจุบัน
จากมติคณะรัฐมนตรี เมื่อxxxxxx 19 มิถุนายน 2550 เรื่องการจัดทํา โครงการสงเสริมตลาดขอตกลงสินคาเกษตร (Contract Farming) พืชเปาหมายxxxxxxxx 9 ชนิด ไดแก ขาวxxxxxxxxxสัตว ขาวโพดหวาน ถั่วเหลือง ถั่วxxxx ถั่วเขียวxxxxxx ละหุง xxคาลิปตัส ลูกเดือย และงา มี พื้นที่xxxxxxxx ครอบคลุมพื้นที่บริเวณชายแดนและพื้นที่ตอนในของประเทศเพื่อนบาน 1,177,021 ไร เปาหมาย 6 จังหวัดชายแดน ไดแก ตาก (ดานพมา) อุบลราชธานี เลย นครพนม (ดานลาว) และจันทบุรี สระแกว (ดานกัมพูชา)
จังหวัดxxxxxxxxxxx เปนหนึ่งจังหวัดเปาหมาย ในการดําเนินโครงการฯ ณ ปจจุบัน (ป 2550/51) มีผูประกอบการเขารวมโครงการ Contract Farming จํานวน 14 ราย จํานวน 13 ชนิดสินคา ทั้งนี้ เปนสินคาในกรอบ ACMEC จํานวน 5 ชนิด ไดแก ขาวxxxxxxxxxสัตว ถั่วเหลือง ถั่วxxxx เมล็ดละหุง ลูกเดือย และ xxxในกอบ AISP จํานวน 7 ชนิด ไดแก กะหล่ําปลี กลวยน้ําวา ฝายมะขามเปยก ผักกาดขาว ขิง บรอคโคxxx ซึ่งไดรับการลดหยอนภาษีศุลกากรรอยละ 0 ในสวน มันเทศ เปนรายการสินคาxxx xxไดxxxภายใตกรอบ AISP
/xxxxx...
xxxxxจังหวัดมีแนวทางที่จะxxxxxชนิดพืชพลังงาน คือ มันสําปะหลัง ทั้งนี้ เนื่องจากผลผลิตของจังหวัดและจังหวัดใกลเคียง ไมเพียงพอตอการสงเขาโรงงานผลิตเอทานอล โดยคาดวา จะเปดดําเนินการไดในป 2551/2552 ซึ่งมีการตั้งโรงงานxxx 2 แหง ไดแก x.xxxxxx และ อ.นาเยีย ใน จังหวัดxxxxxxxxxxx ซึ่งแขวงจําปาสัก มีพxxxxใชในการxxxxxxxxเปนจํานวนมาก พรอมทั้งเสนทางการขนสงที่มี ระยะทางใกลกับจังหวัด จึงนาเปนโอกาสในการใชพื้นที่ของแขวงจําปาสัก ในการxxxxxxxx มันสําปะหลัง อีกทางหนึ่ง
แตเนื่องจากสภาวการณ มันสําปะหลังภายในประเทศเกษตรกรไทยxxxxxx ผลิตได ดังนั้น เมื่อxxxxxx 19 มิถุนายน 2550 คณะรัฐมนตรี ไดมีการพิจารณาการลงทุนตามโครงการ Contract Farming ของพืชพลังงานในประเทศเพื่อนบานและการนําเขามาเปนวัตถุดิบ เพื่อผลิตพลังงาน (มัน สําปะหลัง) xxxxxในประเทศ จึงมอบหมายให กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงพาณิชย และ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เปนหนวยงานรับผิดชอบดําเนินการ พิจารณาความเปนไปไดและความเหมาะสม เพื่อนําเขาผลผลิตมาใชเปนวัตถุดิบผลิตพลังงานxxxxxใน ประเทศ แตตองไมกระทบตอเกษตรกรไทย แลวเสนอคณะรัฐมนตรีตอไป
xxxxx xxมีการประชุมแผนความรวมมือระหวางพาณิชยจังหวัดแหง ราชอาณาจักรไทย กับ หัวหนาแผนกอุตสาหกรรมและการคา สปป.ลาว เมื่อxxxxxx 30 สิงหาคม 2550 ณ จงหวัดอุบลราชธานี โดยมี xxxxxxxx เหรียญมหาสาร รองปลัดกระทรวงพาณิชยแหงราชอาณาจักรไทย และ นายบุญยืน โคดxxxxxxx รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมและการคาแหง สปป.ลาว ไดเปนประธานรวมเปด การประชุม และเปนสักขีพยานในการลงนามบันทึกผลการประชุมระหวางพาณิชยจังหวัด 11 จังหวัดที่มี ชายแดนติดกับ สปป.ลาว และจังหวัดใกลเคียง 14 จังหวัดของไทย กับ หัวหนาแผนกอุตสาหกรรมและการคา สปป.ลาว 9 แขวงที่มีพื้นที่ชายแดนติดกับไทย และแขวงใกลเคียง 5 แขวง ซึ่งทั้งสองฝายไดนําความรวมมือ ระหวางแขวงจําปาสัก- อุบลราชธานี เปน “โครงการนํารอง และขยายไปยัง/แขวงตาง ๆ ตามแนว ชายแดนไทย-สปป.ลาว และจงหวัด/แขวงใกลเคียง”
สํานักงานพาณิชยจังหวัดxxxxxxxxxxx
13 กุมภาพันธ 2551