Contract
เงื่อนไข หลักเกณฑ์ ประเภทงานก่อสร้าง สูตรและวิธีการคํานวณที่ใช้กับสัญญาแบบปรับราคาได้
โครงการxxxxเหมาก่อสร้างรางระบายน ําคอนกรีตเสริมเหล็กสายบ้านนายวิชา xxxxxx หมู่ที่ 2 ตําบลหนองกลางนา
ก. เงื่อนไขและหลักเกณฑ์
1. สัญญาแบบปรับราคาxxxxxxให้ใช้ทั้งในกรณีxxxxxหรือลดค่างานจากค่างานเดิมxxxxxxxx เมื่อดัชนี ราคา ซึ่งจัดทําขึ้นโดยกระทรวงพาณิชย์ มีการเปลี่ยนแปลงสูงขึ้น หรือลดลงจากเดิม ขณะเมื่อวันเปิดซองประกวด ราคา สําหรับกรณีที่xxxxxxxโดยวิธีอื่น ให้ใช้วันเปิดซองราคาแทน
2. การขอเงินxxxxxค่างานก่อสร้างxxxxxxxxแบบปรับราคาxxxxxx เป็นหน้าที่ของผู้รับจ้างที่จะต้อง เรียกร้องภายในกําหนด 90 วัน นับตั้งแต่xxxxxxผู้รับจ้างได้ส่งมอบงานงวดสุดท้าย หากพ้นกําหนดนี้ไปแล้วผู้รับจ้างไม่ มีxxxxxxxxจะเรียกร้องเงินxxxxxค่างานก่อสร้างจากผู้xxxxxxxxxxอีกต่อไป และในกรณีที่ผู้xxxxxxxจะต้องเรียกเงินคืนจากผู้ รับจ้าง ให้ผู้xxxxxxxxxxเป็นคู่สัญญารีบเรียกเงินคืนจากผู้รับจ้างโดยเร็ว หรือให้หักค่างานของงวดต่อไป หรือให้หักเงิน จากหลักประกันสัญญา แล้วแต่กรณี
3. การพิจารณาคํานวณเงินxxxxxหรือลด และการจ่ายเงินxxxxxหรือเรียกเงินคืนจากผู้รับจ้างตามเงื่อนไข ของสัญญาแบบปรับราคาได้ ต้องได้รับการตรวจสอบและเห็นชอบจากสํานักงบประมาณและให้ถือการพิจารณา วินิจฉัยของสํานักงบประมาณเป็นที่สิ้นสุด (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2545 เป็นต้นไป มติคณะรัฐมนตรีมอบอํานาจให้ หน่วยงานภาครัฐเจ้าของสัญญาxxxxก่อสร้างแบบปรับราคาได้ (ค่า K) มีอํานาจพิจารณาคํานวณเงินxxxxxหรือลด และ อนุมัติจ่ายเงินxxxxxหรือเรียกเงินคืนจากผู้รับจ้างตามเงื่อนไขของสัญญาแบบปรับราคาxxx xxxมีวงเงินค่าxxxxxxxเกิน 50 ล้านบาท แจ้งตามหนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่ นร 0205/ว 114 ลงxxxxxx 15 มิถุนายน 2544 )
ข. ประเภทงานก่อสร้างและสูตรที่ใช้กับสัญญาแบบปรับราคาได้
1. ในการพิจารณาxxxxxหรือลดราคาค่าxxxxเหมาก่อสร้าง ให้คํานวณตามสูตรดังนี้
P | = | (PO) X (K) |
กําหนดให้ P | = | ราคาค่างานต่อหน่วยหรือราคาค่างานเป็นงวดที่จะต้องจ่ายให้ผู้รับจ้าง |
PO | = | ราคาค่างานต่อหน่วยที่ผู้รับจ้างประมูลได้ หรือราคาค่างานเป็นงวดซึ่ง |
ระบุไว้ในสัญญาแล้วแต่กรณี | ||
K | = | ESCALATION FATOR ที่หักด้วย 4% เมื่อต้องxxxxxค่างานหรือบวก |
xxxxx 4% เมื่อต้องเรียกค่างานคืน |
ESCALATION FACTOR K หาได้จากสูตรซึ่งแบบตามประเภทและลักษณะงานดังนี้
2. ประเภทงานก่อสร้าง และสูตรที่ใช้ในการคํานวณครั้งนี้ ให้เป็นไปตามรายละเอียดที่แจ้งไว้ในแบบ รูปและรายการก่อสร้าง (ปร.4) ดังนี้
2.1 ประเภทงานดิน 2.1 งานดิน ใช้กับรายการในแบบ ปร.4 รายการที่ 1. งานขุดดิน-ถมกลับ- ขนย้าย , รายการที่ 2. งานทรายหยาบรองพื้นฯ ,รายการที่ 9 งานปรับเกี่ยแต่งคันทางเดิม บดอัดแน่น และรายการ ที่ 10 งานทรายหยาบรองพื้นฯ
ใช้สูตร K = 0.30 + 0.10 It/Io + 0.40 Et/Eo + 0.20 Ft/Fo
2.2 ประเภทงานทาง 3.4 งานผิวถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ใช้กับรายการในแบบ ปร.4 รายการที่ 11 งานคอนกรีตโครงสร้าง และรายการที่ 12 งานเหล็กเสริม
ใช้สูตร K = 0.30 + 0.10 It/Io + 0.35 Ct/Co + 0.10 Mt/Mo + 0.15 St/So
/2.3 ประเภทงานทาง........
- 2 -
2.3 ประเภทงานทาง 3.5 ประเภทงานท่อระบายน้ําคอนกรีตเสริมเหล็กละงานบ่อxxx ใช้กับ รายการในแบบ ปร.4 รายการที่ 3 คอนกรีตหยาบรองพื้นหนา 0.05 ม. , รายการที่ 4 งานติดตั้งไม้แบบ , รายการที่ 5 งานเหล็กเสริม , รายการที่ 6 คอนกรีตโครงสร้าง , รายการที่ 7 งานบ่อxxx คสล. และรายการที่ 8 ท่อระบายน้ํา คสล.ฯ
ใช้สูตร K = 0.35 + 0.20 It/Io + 0.15Ct/Co + 0.15Mt/Mo + 0.15St/So
ดัชนีราคาที่ใช้คํานวณตามสูตรที่ใช้กับสัญญาแบบปรับราคาได้ จัดทําขึ นโดยกระทรวงพาณิชย
K | = | ESCALATION FACTOR |
It | = | ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปของประเทศ ในเดือนที่ส่งงานแต่ละงวด |
Io | = | ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปของประเทศ ในเดือนที่เปิดซองประกวดราคา |
Ct | = | ดัชนีราคาซีเมนต์ ในเดือนที่ส่งงานแต่ละงวด |
Co | = | ดัชนีราคาซีเมนต์ ในเดือนที่เปิดซองประกวดราคา |
Mt | = | ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง (ไม่รวมเหล็กและซีเมนต์) ในเดือนที่ส่งงานแต่ละงวด |
Mo | = | ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง (ไม่รวมเหล็กและซีเมนต์) ในเดือนที่เปิดซองราคา |
St | = | ดัชนีราคาเหล็ก ในเดือนที่ส่งงานแต่ละงวด |
So | = | ดัชนีราคาเหล็ก ในเดือนที่เปิดซองประกวดราคา |
Et | = | ดัชนีราคาxxxxxxxxxxxกลและxxxxxxxx ในเดือนที่ส่งงานแต่ละงวด |
Eo | = | ดัชนีราคาxxxxxxxxxxxกลและxxxxxxxx ในเดือนที่เปิดซองราคา |
Ft | = | ดัชนีราคาน้ํามันดีเซลหมุนเร็ว ในเดือนที่ส่งงานแต่ละงวด |
Fo | = | ดัชนีราคาน้ํามันดีเซลหมุนเร็ว ในเดือนที่เปิดซองราคา |
ค. วิธีการคํานวณที่ใช้กับสัญญาแบบปรับราคาได้
1. การคํานวณค่า K จากสูตรตามลักษณะงานนั้น ๆ ให้ใช้ตัวเลขดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างของกระทรวง พาณิชย์ โดยใช้ฐานของปี 2530 เป็นเกณฑ์ในการคํานวณ
2. การคํานวณค่า K สาหรับกรณีที่มีงานก่อสร้างหลายประเภทรวมอยู่ในสัญญาเดียวกันจะต้องแยกค่า งานก่อสร้างแต่ละประเภทให้ชัดเจนตามลักษณะของงานนั้น และให้สอดคล้องกับสูตรxxxxxxกําหนดไว้
3. การคํานวณหาค่า K กําหนดให้ใช้เลขทศนิยม 3 ตําแหน่งทุกขั้นตอนโดยไม่มีการปัดเศษและกําหนดให้ ทําเลขxxxxxxxx (เปรียบเทียบ) ให้เป็นผลสําเร็จก่อน แล้วจึงนําผลลัพธ์ไปคูณกับตัวเลขxxxxxหน้าเลขxxxxxxxxนั้น
4. ให้พิจารณาเงินxxxxxหรือลดราคาค่างานจากราคาที่ผู้รับจ้างทําสัญญาตกลงกับผู้xxxxxxx เมื่อค่า K ตาม สูตรสําหรับงานก่อสร้างนั้น ๆ ในเดือนที่ส่งมอบงานมีค่าเปลี่ยนแปลงไปจากค่า K ในเดือนเปิดซองราคามากกว่า 4% ขึ้นไป โดยนําเฉพาะส่วนที่เกิน 4 % มาคํานวณปรับxxxxxหรือลดค่างานแล้วแต่กรณี (โดยไม่คิด 4 % แรกให้)
5. ในกรณีที่ผู้รับจ้างไม่xxxxxxทําการก่อสร้างให้แล้วเสร็จตามระยะเวลาในสัญญาโดยเป็นความผิดของ ผู้รับจ้าง ค่า K ตามสูตรต่าง ๆ ที่จะนํามาใช้ในการคํานวณค่างานให้ใช้ค่า K ของเดือนสุดท้ายตามอายุสัญญา หรือค่า K ของเดือนที่ส่งมอบงานจริง แล้วแต่ว่าค่า K ตัวใดจะมีค่าน้อยกว่า
6. การจ่ายเงินแต่ละงวด ให้จ่ายค่าxxxxงานที่ผู้รับจ้างทําได้แต่ละงวด xxxxxxxxไปก่อน ส่วนค่างานxxxxx หรือค่างานลด ซึ่งจะคํานวณได้ต่อเมื่อทราบดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง ซึ่งนํามาคํานวณหาค่า K ของเดือนที่ส่งมอบงาน งวดนั้นๆ เป็นที่แน่นอนแล้ว เมื่อคํานวณเงินxxxxxxxx ให้ขอทําความตกลงเรื่องการเงินกับสํานักงบประมาณ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2545 เป็นต้นไป มติคณะรัฐมนตรีมอบอํานาจให้หน่วยงานภาครัฐเจ้าของสัญญาxxxxก่อสร้าง แบบปรับราคาได้ (ค่า K) มีอํานาจพิจารณาคํานวณเงินxxxxxหรือลด และอนุมัติจ่ายเงินxxxxxหรือเรียกเงินคืนจากผู้ รับจ้างตามเงื่อนไขของสัญญาแบบปรับราคาxxx xxxมีวงเงินค่าxxxxxxxเกิน 50 ล้านบาท แจ้งตามหนังสือสํานัก เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่ นร 0205/ว 114 ลงxxxxxx 15 มิถุนายน 2544 )