Contract
ทำสัญญาประนีประนอมยอมความเกินกว่าที่ปรากฏในxxxxxxและบังคับบุคคลภายนอกได้หรือไม่
ปัญหาว่าคู่ความจะตกลงทำสัญญาประนีประนอมยอมความโดยให้จำเลยชำระเงินหรือดอกเบี้ย เกินกว่าที่ปรากฏในxxxxxx หรือในสัญญาประนีประนอมยอมความจะตกลงให้มีการบังคับไปถึงบุคคลภายนอกหรือบุคคลภายนอกคดีเข้ามาร่วมรับผิดxxxxxxxxประนีประนอมยอมความในศาลได้หรือไม่ ในเรื่องนี้ได้มี คำพิพากษาศาลฎีกาวินิจฉัยไว้อย่างชัดเจนว่าการทำสัญญาประนีประนอมยอมความและศาลพิพากษา ตามยอมไม่ใช่การวินิจฉัยข้อพิพาทแห่งคดี ข้อตกลงในสัญญาจึงอาจไม่ตรงหรือเกินกว่าที่ปรากฏในxxxxxxxxx และศาลxxxxxxพิพากษาตามยอมให้xxx xxxอยู่ในบังคับแห่งบทบัญญัติ ป.วิ.พ.มาตรา ๑๔๒ ดังนั้น จึงอาจมีการตกลงทำสัญญาประนีประนอมยอมความโดยกำหนดจำนวนเงินหรือคิดดอกเบี้ยผิดนัดเกินกว่าที่ปรากฏใน xxxxxxxxx รวมถึงอาจจะมีบุคคลภายนอกเข้ามาร่วมรับผิดชำระหนี้xxxxxxxxประนีประนอมยอมความในศาลได้ และมีผลผูกพันคู่สัญญาทุกฝ่ายในสัญญาxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxหากบุคคลภายนอกผิดสัญญาประนีประนอมยอมความ โจทก์หรือเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาไม่xxxxxxบังคับคดีกับบุคคลภายนอกได้ทันที ต้องไปว่ากล่าวกันเป็นคดีต่างหาก แม้ศาลจะมีคำพิพากษาตามยอมก็ตาม (คำพิพากษาศาลฎีกาxxx 0000/๒๕๕๗, ๑๑๘๐/๒๕๕๙)
อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันได้มีแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ ๓๐) พ.ศ.๒๕๖๐ การบังคับคดีตามคำพิพากษาและคำสั่ง มาตรา ๒๗๔ ซึ่งใช้ถ้อยคำว่า “เจ้าหนี้ตามคำพิพากษา รวมถึง"บุคคลที่ศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งให้ได้รับชำระหนี้"ลูกหนี้ตามคำพิพากษา รวมถึง "บุคคลที่ศาลมี คำพิพากษาหรือคำสั่งให้ชำระหนี้" เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาหรือลูกหนี้ตามคำพิพากษา จึงอาจเป็นบุคคลภายนอกได้ มิใช่เพียงโจทก์หรือจำเลยเท่านั้น แตกต่างจาก ป.วิ.พ 271(เดิม) จึงมีความเห็นของ นักกฎหมายส่วนหนึ่ง ว่าหากบุคคลภายนอกทำสัญญาxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxเป็น บุคคลที่ศาลมี คำพิพากษาให้ชำระหนี้หรือได้รับชำระหนี้ตาม ป.วิ.พ 274(ใหม่)แล้ว จึงมีxxxxxบังคับคดีหรืออาจถูกบังคับคดีในคดีเดิมxxxxxxต้องไปฟ้องเป็นคดีใหม่ ซึ่งต้องรอแนวคำพิพากษาศาลฎีกาต่อไป
คำพิพากษาศาลฎีกาxxx 0000/๒๕๔๗
การทำสัญญาประนีประนอมยอมความซึ่งกระทำต่อหน้าศาลและศาลพิพากษาไปxxxxxxxxประนีประนอมยอมความนั้น มิใช่เป็นการวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทอย่างคดีธรรมดาที่ต้องพิจารณาพยานหลักฐานของโจทก์จำเลยแล้วจึงพิพากษาชี้ขาดข้อพิพาทไป ข้อตกลงในสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวจึงอาจไม่ตรงหรือเกินกว่าxxxxxxxxในxxxxxxxxxxx ถ้าข้อตกลงนั้นเกี่ยวพันกับประเด็นแห่งคดีและไม่เป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมาย เพราะเป็นไปตามข้อตกลงxxxxxxความต่างยอมผ่อนผันให้แก่กัน จึงไม่ตกอยู่ในบังคับแห่งบทบัญญัติ ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ ซึ่งต้องห้ามมิให้พิพากษาเกินคำขอหรือนอกจากที่ปรากฏในxxxxxx ดังนั้น การที่ศาลพิพากษาไปxxxxxxxxxxxxxxxxxxxว่า ดอกเบี้ยระหว่างผิดนัดอัตราร้อยละ ๑๐ ต่อปี เกินกว่าอัตราร้อยละ ๗.๕ ต่อปี ตามคำขอของxxxxx xxxหาเป็นการต้องห้ามตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ และ ๑๓๘ (๒) ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๑๘๐/๒๕๕๙
ในการทำสัญญาประนีประนอมยอมความเป็นกรณีที่โจทก์ จำเลยมุ่งระงับข้อพิพาทระหว่างกันและมิใช่เป็นการวินิจฉัยชี้ขาดอย่างคดีธรรมดาที่จะต้องพิจารณาพยานหลักฐานของโจทก์ จำเลยแล้วพิพากษาชี้ขาดประเด็นข้อพิพาท ข้อตกลงในสัญญาxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxอาจมีผลไม่ตรงหรือไม่เป็นไปตามคำขอท้ายxxxxxxx ถ้าข้อตกลงนั้นเกี่ยวพันกับประเด็นแห่งคดีและไม่เป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมายเพราะเป็นไปตามข้อตกลงxxxxxxความต่างยอมผ่อนผันให้แก่กัน จึงไม่อยู่ในบังคับแห่ง ป.วิ.พ. มาตรา 142 ซึ่งห้ามมิให้พิพากษาหรือสั่งเกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในxxxxxx การที่ศาลชั้นต้นไกล่เกลี่ยแล้วคู่ความในคดีรวมทั้ง นาย ก. และนาย น. ตกลงทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันและศาลพิพากษาตามยอมจึงไม่ขัดต่อกฎหมาย แม้จะมีนาย ก. และนาย น. เข้าร่วมตกลงด้วย
การที่โจทก์ทั้งสอง จำเลยทั้งสอง นาย ก. และนาย น. ทำสัญญาประนีประนอมยอมความต่อหน้าศาลและศาลพิพากษาตามยอม สัญญาxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxชอบด้วยกฎหมาย ผูกพันคู่สัญญาทุกฝ่ายในสัญญาประนีประนอมยอมความ ส่วนคำพิพากษาตามยอมซึ่งพิพากษาให้คดีเสร็จเด็ดขาดxxxxxxxxประนีประนอมยอมความผูกพันเฉพาะคู่ความตาม ป.วิ.พ. มาตรา 145 วรรคหนึ่ง xxxxxxxxxบุคคลภายนอกซึ่งมิได้เป็นคู่ความเว้นแต่ที่xxxxxxxไว้ในมาตรา 142 (1), 245 และ 274 และในข้อยกเว้นตามมาตรา 145 วรรคสอง (1) (2) เมื่อนาย ก. ประพฤติผิดสัญญาประนีประนอมยอมความ โจทก์ทั้งสองไม่มีxxxxxขอบังคับคดีแก่นาย ก. โดยอาศัยสัญญาxxxxxxxxxxxและคำพิพากษาตามยอมคดีนี้ แต่เป็นกรณีที่โจทก์ต้องไปว่ากล่าวเอาแก่นาย ก. เป็นคดีต่างหาก แม้xxxxxxxxประนีประนอมยอมความข้อ 11 ระบุว่า หากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งผิดข้อตกลงในสัญญายอมข้อใดข้อหนึ่งให้บังคับคดีไปxxxxxxxxยอมนี้ได้ทันที โดยให้ถือเอาคำพิพากษาตามยอมของศาลเป็นการแสดงxxxxx พร้อมให้ชำระเงิน 2,000,000 บาท แก่คู่ความอีกฝ่ายด้วย ก็มีความหมายเพียงว่า ถ้าคู่สัญญาคนใดในสัญญาประนีประนอมยอมความผิดสัญญาข้อใดก็ให้บังคับคดีเอาแก่คู่สัญญานั้นxxxxxxxxแต่ละข้อเท่านั้น เพราะในสัญญาประนีประนอมยอมความฉบับดังกล่าวมิได้มีข้อตกลงให้โจทก์ทั้งสองกับ นาย ก. ต้องรับผิดร่วมกันในการชำระหนี้แก่จำเลยทั้งสอง โจทก์ทั้งสองจึงมิได้ประพฤติผิดสัญญาประนีประนอมยอมความ จำเลยทั้งสองจึงไม่มีxxxxxยื่นคำขอให้ศาลออกหมายบังคับคดีเอาแก่โจทก์ทั้งสอง
กลุ่มงานไกล่เกลี่ยและxxxxxxข้อพิพาท
ศาลแขวงอุบลราชธานี
โทร ๐๔๕ ๒๔๐ ๗๖๖ ต่อ ๒๒๗, ๒๓๐