คําสําคัญ: เกษตรพนธะสัญญา contract farming เกษตรกรรายยอย
เกษตรพนธะสญญากับโอกาสการพฒั นาของเกษตรกรรายยอย1
บุศรา ล
นิรนดรกุล2 พฤกษ ยิบมนตะสิริ xxxxx มวงสุข และ xxxxxxทิพย กระมล
บทคดั ยอ
เกษตรพันธะสัญญาไดกลายเปนนโยบายของรัฐที่สนับสนุนใหภาคเอกชนเขามามีบทบาทในการจัดการ ดานการผลิตและการตลาดแบบบูรณาการ โดยบริษัทเอกชนสนับสนุนปจจัยการผลิต การตลาดและการประกัน ราคา พรอมท้ังจัดหาแหลงเงินทุนจากภาครัฐ ในขณะที่มีหลายฝายไดต้ังขอสังเกตวาในระบบเกษตรพันธะสัญญา
เกษตรกรมักจะมีสถานะเปนแรงงานรับจาง โดยที่บริษ
ไมจําเปนต
งรับผิดชอบดานสวัสดิการและไมตองลงทุนดาx
xxxดิน งานวิจัยนี้ไดศึกษาระบบเกษตรพันธะสัญญาในระบบการผลิต ขาวโพดหวาน การปลูกออย การเล้ียงไก สุกร และการเลี้ยงปลาในกระชังในภาคเหนือ ตะวันออกเชียงเหนือ ภาคกลางและภาคใต
ผลการศึกษาพบวา เทคโนโลยีการผลิต วัสดุการผลิต และเวชภัณฑ ถูกกําหนดโดยบริษัทโดยเฉพาะเกษตร พันธะสัญญาดานปศุสัตวและประมง เกษตรกรxxxxxxxxxxxทักษะและประสบการณ อันเกิดจากการปฏิบัติจริงแต โอกาสจะพัฒนาและปรับใชวิธีใหมๆดวยตนเองยังจํากัด เนื่องจาก พันธุสัตว ปลา และพืช (พันธุไก พันธุสุกร พันธุ ปลาทับทิม ขาวโพดหวาน ออย และยาง) ถูกกําหนดโดยผูประกอบการ นอกจากนี้เวชภัณฑและอาหารสัตวปก สุกร และประมง ถูกกําหนดโดยผูประกอบการเชนเดียวกัน ดงน้นเกษตรกรจะไดผลตอบแทนสูงสุดจะตองจัดการพันธุและ สิ่งแวดลอม เพ่ืxxxxxxxเชิงทวีคูณ ภายใตสภาพสิ่งแวดลอมพรอมxxxxxบูรณ การพัฒนาดานเทคโนโลยีของตนเอง และนํามาพัฒนาใชในระบบเกษตรแบบมีพันธะสัญญา ยังจํากัดและไมเปดโอกาสใหมีการพัฒนาเทคโนโลยีโดย เกษตรกรเองและปจจัยการผลิตข้ึนกับบริษัทแมวาจะเปนในรูปสินเชื่อก็ตาม
นอกจากนี้เจาหนาที่องคกรของรัฐ ยังไมxxxxxxxxxใหการสนับสนุนดานขxxxxxxxชวยสนับสนุนดานการ ตัดสินใจกับเกษตรกรดานการผลิตโดยเฉพาะในพืช รวมxxxxxxตัวกลางในการทําธุรกิจเกษตรระหวางเกษตรกรและ บริษัทซึ่งเกษตรกรยังxxดําเนินการธุรกิจเองประกอบกับการขาดทักษะดานการบริหารจัดการฟารมและการลงทุน ของเกษตรกร ถึงแมวาการรวมกลุมจะxxxxxxสรางมิติเกษตรในรูปแบบใหมๆ แตกระบวนการเรียนรูของเกษตรกรมี ความสําคัญตอความยั่งยืนในxxxxxของเกษตรกรรายยอยตอการทําเกษตรพันธะสัญญาที่เกษตรกรตกเปนใน สภาพเบ้ียลางท่ีขาดการตอรองกับบริษัทได นอกจากนี้ ซึ่งภายใตขอจํากัดเหลาน้ีถาไมไดรับการแกไขก็ยากที่นําไปสู ความยั่งยืนและนําไปสูนโยบายการแกไขปญหาความยากจนของเกษตรกรรายยอยโดยเฉพาะภายใตระบบเกษตร พันธะสัญญา
คําสําคัญ: เกษตรพนธะสัญญา contract farming เกษตรกรรายยอย
1 สนับสนุนงานวิจัยโดยสํานกงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) ภายใตแผนงานสรางเสริมสุขภาพแรงงานนอกระบบ ในภาคเกษตร
2 ศูนยว ิจัยเพื่อxxxxxผลผลิตทางเกษตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
บทนํา
เกษตรพันธะสัญญา ไดแสดงใหเห็นประสิทธิภาพของกระบวนการของสถาบันเพ่ือสรางกําไรและลดตนทุน
การดําเนินกิจการ บริษัทคูสัญญาไดใหการสนับสนุนปจจัยการผลิต เครดิต และการใหขอเสนอแนะดานเทคนิค ตลอดจนดานการตลาด ในทางกลับกัน เกษตรกรทําการผลิตxxxxxxxxทั้งปริมาณและคุณภาพของสินคาเกษตร และขายสินคานั้นแกบริษทตามราคาประกันของบริษัท
ขอตกลงระหวางเกษตรกรผูผลิตและบริษัท มีทั้งการทําสัญญาปากเปลาหรือการทําxxxxxxxxxxxxวา
ผูผลิตสินคาตามข
เงื่อนไขและข
ตกลงตางๆของบริษ
ผูรับซือสินคาและ บริษัทผูรับซ้ือจะรบซ้ือสินคาของเกษตรกร
ตามเงื่อนไขขอตกลงxxxxxxxx (Xxx, 1972; Xxxxxx and Xxxxxxxxx, 1990; Grosh, 1994) อยางไรก็ตามมีผู กลาววาการเกษตรพันธะสัญญา ไดเปดโอกาสการสนับสนุนของสถาบันการเงินผสมผสานระหวางดานการตลาด และหนวยงานแนวต้ัง (Grosh, 1994; Key and Xxxxxxx, 1999) นอกจากนี้ เกษตรพันธะสัญญา มีความ หลากหลายในการเชื่อมxxxxxxกิจกรรมกxxxxxxxดานเศรษฐกิจระหวางเกษตรกรผูผลิตและบริษัทท่ีทําสัญญารับ ซื้อ ดังจะพบวาวามีการสนับสนุนซึ่งกันและกัน ในบางกรณีของการจัดการ หวงโซอุปทาน (supply chain) ในสินคา การเกษตรบางประเภท (Hobbs, 1996).
รูปแบบการทําสัญญาในวิธีการรับซื้อทางตรงและทางออม และควบคุมกระบวนการผลิตตลอดจนการ เหนี่ยวโนมดานตัดสินใจโดยไมจําเปxxxxบริษัทตองมีพื้นท่ีเองในการผลิต ปจจัยที่เปนเอกลักษณและชัดเจนของการ ทําเกษตรพันธะสัญญา คือการรับประกันการใชท่ีดินของครัวเรือนเกษตรกรและแรงงานของเกษตรกรผูผลิตสินคา เกษตรภายใตเง่ือนไขและการควบคุมของบริษัทธุรกิจ ถึงแมว าการทําสญญาระหวางเกษตรกรผูผลิตและบริษัทผูรับ ซ้ือหลายลําดับ แตสิ่งท่ีถือวาเปนลักษณะที่xxxxxxพบเห็นโดยท่ัวไป ไดแกเกษตรกรผูผลิตปฏิบัติตามวิธีการของ บริษัทแลกเปล่ียนกับการประกันดานการตลาดของบริษัท ซึ่งบริษัทไดจัดใหมีพนักงานภาคสนามของบริษัทให คําปรึกษาแนะนําเทคนิควิธีการจัดการและ การใชปจจัยการผลิตแกเกษตรกรผูผลิต รวมxxxxxxรับซ้ือสินคาโดย บริษัทจะรับซื้อตามราคาที่ตั้งไวตามคุณภาพของสินคา สวนหนาที่ของเกษตรกรผูผลิตเปนการจัดการดานหาพื้นท่ี ผลิตและจัดการดานแรงงานในการผลิต Watts (1990) ไดรวบรวมรูปแบบของการทําเกษตรพันธะสัญญาใน ประเทศที่กําลังพัฒนาใน 3 รูปแบบ 1). ขนาดใหญ รวมศูนย รัฐเปนเจาของ ซ่ึงมีสมาชิกผูผลิตเปนพันรายและมี ศูนยกลางในการแปรรูป 2). การทําสัญญา แรกเริ่มกับผูผลิตรายใหญหรือผูมีทรัพยากรเพียงพอตอการผลิต ผูที่มี xxxxxxตอรองกับรัฐและจัดการดานแรงงานได และ 3). การทําสัญญากับผูผลิตรายยอยระดับทองถิ่น และพอคา หรือผูสงออก รูปแบบท่ีพบในประเทศไทยโดยสวนใหญจะเปนรูปแบบที่สองและสาม และมีความxxxxxxในการ จัดการดานแรงงานได
อยางไรก็ตาม Watts (1990) ไดโตแยงวาการทําเกษตรพันธะสัญญาเปนนําไปสูความหมายใกลกับการ สรางหนี้ ซ่ึง watts ไดตั้งคําถามไววาเกษตรพันธะสัญญา ทําxxxxxxxแบงแยกเกษตรกรยากจนและเกษตรกรxxxxxxxxxxx หรือไม? เนื่องจากบริษัทสนใจดําเนินธุรกิจกับผูที่มีที่ดินและปจจัยการผลิต ซึ่งแตกตางจากเกษตรกรxxxxxxxxไมมี ที่ดินทํากินและขอจํากัดในปจจัยการผลิต (Little and Xxxxx, 1994) นอกจากน้ีภายใตเงื่อนไขใดบางในการทําเกษตร xxxxx xxxเกษตรกรผูทําผลิตภายใตสัญญามีxxxxxxxxจะใหเสนอแนะและปรับเปลี่ยนสัญญาใหxxxxxx ตลอดจนการ จัดการ? รวมถึงคําถามที่วาเกษตรพนธะสญญา ไดแสดงใหเห็นถึงรูปแบบงายตอการปรับเปลี่ยนการควบคุมภายใต ความสัมพันธในเครือขายใหมหรือไม? คําถามเหลานี้ถาพิจารณาใหดีจะพบชองวางของการทําเกษตรพันธะสัญญา
น้ันจําเปนต งใหความสําคญและแกปญหาอยางจริงจัง
รัฐบาลไทยไดในปจจุบันรัฐบาลไดสนับสนุนบริษัทขามชาติในระดับนโยบายในการขยายฐานการผลิตทั้ง ภายในประเทศและประเทศใกลเคียงมาตั้งแตปคศ 1976 ซ่ึงไดขยายการใหมีการทําเกษตรพันธะสัญญา อยาง ตอเนื่องจากนโยบายที่ตxxxxxลดปญหาความยากจนโดยเปดโอกาสใหแกเกษตรกรเขาถึงตลาดและไดรับรายไดที่ แนนอน แตอยางไรก็ตามการทํา เกษตรพันธะสัญญายังมีชองวาง เชน การเสียโอกาสและความไมเทาเทียมที่เกิด ตอเกษตรกร ตัวอยางเชนผลประโยชนในระยะยาวตัวเอยางเชน การสูญเสียความxxxxxxบูรณของดินในการปลูก ขาวโพด โอกาสในการตอรองในพันธะสัญญา ความเสี่ยงที่เกิดจากเทคโนโลยีการผลิตของบริษัทเนื่องจากพันธุพืช ออนไหวตอสิ่งแวดลอม และการผูกขาดอาหารสัตวกับบริษัทของการผลิตสุกร การเล้ียงปลาจากบริษัทที่ควบคุม ดานราคา ซึ่งไมมีการกลาวถึง และไมมีการทําการสนับสนุนใหxxxxxxxวิจยควบคูการทํางานรวมกับบริษัท จากหลาย งานวิจยพบวาการผลิตภายใตเกษตรพันธะสญญามีการใชแรงงานเขมขนท้งแรงงานเกษตรกรหญิง และเด็ก เม่ือเมื่อ เปรียบเทียบผลตอบแทนตอหนวยแรงงานตํ่ากวาการออกไปทํางานรับจางนอกภาคเกษตร
งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคหลักเพื่อประเมินผลของการทําเกษตรแบบมีพันธะสัญญากับเกษตรกรรายยอยใน 5 กรณีศึกษาโดยมีคําถามหลกงานวิจัยวา อะไรที่ทําใหเกษตรกรอยูรอดและสําเร็จภายใตการทําเกษตรแบบมีพันธะ สัญญา งานวิจัยนี้ไดนําแนวคิดดานทุนทางสังคม (social capital) มาพิจารณา เน่ืองจากทุนทางสังคมมีสวน สัมพันธกับขบวนการในการสรางความxxxxxxxxx (Wu and Pretty, 2004) ซ่ึงเหลานี้ Uphoff (2000) เชื่อวาเปนทุนทาง สังคมที่สําคัญ นอกจากนี้ xxxภรณและxxxxxx (2547 ) กลาววาปรากฏการณทางสังคมท่ี นาสนใจ ยิ่งก็คือ ชุมชนหลาย ๆ แหง xxxxxxดํารงxxxไดจากอดีตถึงปจจุบันดวยการปรับเปลี่ยนตนเองใหสอดคลองหรือเหมาะสม กับสภาพแวดลอมและxxxxxxxณของสังคมรอบ ๆ ตัวท่ีเปลี่ยนแปลงไป โดยมีการกําหนดกฎเกณฑ กติกา xxxxxx xxxของการxxxรวมกันภายในชุมชนข้ึนมาxxxxxxxเปนสิ่ง เดิมและสรางใหม มีระบบความคิด ความเชื่อ ความรู ทั้งxxxxx รับการสรางเสริม สะสม สืบทอด สรางสรรคข้ึนมาใหม และการบูรณาการระหวางสิ่งเดิมกับส่ิงใหมใหสอดคลองกับ
ความต งการใชประโยชนของชุมชน xxxxxxลาน้ีถือไดวาเปน “ทุนทางสังคม” ที่มีความสําคัญย่ิงของชุมชน การ
ศึกษาวิจัยน้ีจึงไดต้งั ประเด็นคําถามวาทุนทางสังคมมีความสําคัญ ตอการดํารงอยูและความเขมแข็งของชุมชนใน
ลักษณะของการrพึงพาอาศัยซ่ึงกนและกันxx xกนอยเพียงใด ในเกษตรกรที่ทําเกษตรพันธะสัญญา โดยเฉพาะการ
รวมกลุมเพ่ือ แลกเปล่ียนแรงงาน และการจัดการดานปจจับการผลิตรวมกัน
วิธีการศึกษา/วิเคราะห
การศึกษาโดยใชกรณีศึกษา (case study ) ใน 5 ระบบการผลิต ไดแก 1) การเลี้ยงไกของ 4 พื้นที่ ไดแก ขอนแกน บุรีรัมย นครศรีธรรมราช และ พัทลุง 2) การเล้ียงปลาในกระชัง ใน 4 พื้นxxx xxแก มหาสารคาม สุxxxxx สิงหบุรี และสุราษฏรxxxx 3) การเลี้ยงสุกร 2 พื้นที่ ไดแก จังหวัด ลพบุรี และ นครศรีธรรมราช 4) การผลิตออย 4 พ้ืxxxx xxแก จังหวัด รxxxxxx xxxxxx (ปลูกออยสงโรงงาน) และ 5) การผลิตขาวโพด 1 พ้ืxxxxในจงหวัดสระบุรี
วิธีการศึกษาหลักใชการสังเกตแบบมีสวนรวม (Participant observation) โดยการเขามีสวนรวมใน กิจกรรมตางๆของผูมีสวนเกี่ยวของ เปนวิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ ประกอบกับวิธีการตางๆ เชน การจดบันทึกขอมูล การใชปจจัยการผลิตและการจัดการพืช การสํารวจพื้นท่ีทางกายภาพ และการศึกษาเชิงปริมาณ การประชุมกลุม และการสัมxxxxดานเศรษฐกิจครัวเรือนเกษตรกรแตละราย เปดโอกาสนักวิจัยไดเขามีสวนรวมในบริบทของกลุม และมเร่ืองราวที่สะทอนภาพความเปนจริงของกลุมและเกษตรกรแตละรายที่การเปล่ียนแปลงตลอดเวลา รวมxxxxxx จัดลําดับขอมูลเชิงคุณภาพที่แมนยําในการศึกษาเกษตรกรแตละราย (White, 1984) และเมื่อนําxxxxxxxxกับ
ขxxxxxxxไดจากการสัมxxxxxxxxxประสิทธิภาพและสนับสนุนความสัมพันธของขอมูลใหเกิดความชัดเจนมากขึ้น (Xxxxxxxx and Jacobs, 1979; 45-58) นอกจากนี้ Xxxxxx (1990) ไดสนับสนุนวิxxxxxดังกลาวชวยในการอธิบาย พฤติกรรมการมีฏิสัมพันธของมนุษยตอสภาพนิแวศนทางสังคม (social ecology) ที่มีผลตอพฤติกรรมของบุคคลตอ สภาพแวดลอมท่ีนําไปสูพฤติกรรมการแสดงออกของแตละบุคคลไดอยางไร สวนการวิเคราะหผลน้ันประกอบทั้งการ อธิบายผลเชิงคุณภาพเพื่ออธิบายภาพรวมระบบการผลิตเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกร
ผลการศึกษา
รูปแบบเกษตรพนธะสัญญาในกรณีศึกษา xxxxxxจําแนกได 3 ประเภท
ประเภทท่ี 1 บริษัทเอกชนจะทําสญญาก เกษตรกรเปนรายบุคคล ซึ่งอาจจะเปนแบบมีเอกสารหรือวาดวย
วาจา ซ่ึงพบวาเกษตรกรตองรวมตัวเปนกลุมเพื่อขอการสนบสนุนสินเชื่อจากธนาคารเพื การเกษตรและสหกรณ
การเกษตร (ธกส.) เพื่อประกันความเสี่ยงใหกับธนาคาร เกษตรกรไดรับเฉพาะสินเชื่อ แตไมไดร บบริการดานการ วิเคราะหความเปนไปไดทางเศรษฐกิจของกิจการ หรือใหคําปรึกษาดานการวางแผนการลงทุนจากธนาคาร
ประเภทท่ี 2 บริษัทเอกชนทําสัญญาซื้อขายกับสหกรณหรือชมรม ซึ่งสหกรณห รือชมรมรวบรวมสมาชิกรวม ทําการผลิตใหไดปริมาณและคุณภาพxxxxxxxx สหกรณหรือชมรมเปนผูเจรจาผลประโยชนแทนเกษตรกร ใน
กรณีศึกษาระบบขาวโพดหวาน อ.พระพุทธบาท จ.สระบุรี สหกรณและชมรมเปนผูจัดการผลประโยชนใ ห ับ
เกษตรกร เกษตรกรxxxxxxรวมกลุมทําสญญาซื้อขายและกําหนดราคาดวยวาจากับบริษัทแปรรูปขาวโพดหวานจน ประสบความสําเร็จ
ประเภทท่ี 3 บริษัทเอกชนทําสัญญาการผลิตและการซื้อขายกับเกษตรกรเปนรายบุคคล คลายกบประเภท ท่ี 1 แตโครงการวิจัยไดเขาไปรวมกลุมเกษตรกรเพื่อเสริมสรางความเขม แข็ง คาดวาจะสรางพลังตอรองใหกบั
เกษตรกร การเกิดหรือการกอตั้งกลุม อาจจะไมชวยเกษตรกรโดยตรงในปแรกๆ เนื่องจากบริษัทเอกชนได ําเนิน
ธุรกรรมกับเกษตรกรเปนรายๆ แตการบริหารระดับกลุมมีโอกาสลดตนทุนการผลิต เชน การเล้ียงปลาในกระชังของ ลุมน้ําชี และลุมน้ํามูล
ลักษณะทั่วไปและปจจ
กรณี 1 การเลี้ยงไก
สนับสนุนและขอจาํ กัดระบบการเกษตรพันธะสัญญาผูกพ
การเล้ียงไกเนื้อและไกไขใน 4 พื้นที่ ดังนี้ 1.กลุมเลี้ยงไก ต. บานผือ อ. หนองเรือ จ. ขอนแกน เลี้ยงไกใน ลักษณะทําสัญญารับxxxxxxxxxไกรุน ไกเนื้อ และไกไข โดย ทําการรับจางเลี้ยงไกรุน กับบริษัท ศรีวิโรจน รับจางเลี้ยง ไกเน้ือ กับบริษัทเบทาโกร และเลี้ยงไกไขแบบประกันราคากับบริษัท ศรีวิโรจน เกษตรกรxxxxxxxxxไกเนื้อลดลงจาก 18 ราย เหลือ 3 ราย ภายใน 4 ป เนื่องจากเกิดปญหาไขหวัดนก และตองปรับxxxxxxxxxเล้ียงไกในระบบปด ซึ่งตองxxxxx ตนทุนในการปรับเปลี่ยนระบบการผลิต และไมมีความมั่นคงเน่ืองจากบริษัทxxxxxxยกเลิกการทําสัญญาไดทุกเมื่อ และหนวยงานของรัฐ เชน ปศุสัตว ที่เขามาดูแลควบคุมเฉพาะมาตรฐานโรงเรือนแตไมไดเขามาเกี่ยวของในการ เจรจาตอรองที่จะสรางความมั่นใจใหเกษตรกร พบวาปจจุบันเกษตรกรหันxxxxxxxxไกไขxxxxxขึ้นโดยเฉพาะเกษตรกรที่ มีเงินทุนคอนขางสูง สวนการเล้ียงไกเน้ือนั้นเกษตรกรบางสวนมีความเห็นวามีความยุงยากมากขึ้นเนื่องจากบริษัท ไมไดทําการจับไกใหหมดในคร้ังเดียวแตจะเลือกจับไกในขนาดและจํานวนตามความตxxxxxตลาดซึ่งทําใหเกิด ปญหาไกตายได
2. กลุมเลี้ยงไก อ. กระสัง จ. บุรีรัมย
การเลี้ยงโดยใชโรงเรือนแบบปด แบบรับจางเลี้ยง และประกันราคา เกษตรกรทําการผลิตระบบพันธะ สัญญากับบริษัทขนาดใหญ 3 แหง ใน 2 รูปแบบ ไดแก การเลี้ยงแบบประกันราคากับบริษทั ซันxxx และการเลี้ยง แบบรบจางเล้ียงกับบริษัทซี.พี และบริษทเบทาโกร จากสถานการณไขหวัดนกท่ีระบาดหนกตั้งแตป 2544 ทําให
ฟารมเลี้ยงไกทุกแหงตองปรบระบบการผลตเขิ าสูระบบโรงเรือนปด (E-VAP) ซึ่งเกษตรกรแตละรายยังไมม ีความเขาใจ
กลไกของโรงเรือนปด สภาพอากาศไมไดเปนปญหาในการจดการ เนื่องจากในระบบปดxxxxxxควบคุมอุณหภูมิ และความชื้นไดแตจําเปนตองมีทุนจัดการที่สูง การจัดการของเกษตรกรตองxxxxxxxเทคโนโลยีโรงเรือน ปจจยการผลิต (พนธุ อาหาร เวชภัณฑ) และการตลาดจากบริษัท ในขณะที่บริษัทไดประโยชนจากท่ีดิน โรงเรือน ทุนหมุนเวียน และ ความรูประสบการณของเกษตรกร นอกจากนี้เกษตรกรยังxxxxxความxxxxxxxxxในกรณีของไฟฟาดับ และตนทุนคาไฟ
ท่ีxxxxxขึ้นเปนปจจัยหลักของการต สินใจของเกษตรกรและความxxx xxxของระบบ
3. กลุมเลี้ยงไก บานเราะ ต. สระแกว อ. ทาศาลา จ. นครศรีธรรมราช
เกษตรกรในตําบลสระแกว สวนใหญเปนชาวสวนมะพราว สวนยาง และxxxxxxx ประมาณป 2515 ไดมี พอคาทองถิ่นแนะนําใหเกษตรกรเลี้ยงไก โดยสนับสนุนดานอาหาร เวชภัณฑ และพันธุไก เกษตรกรจะไดรับเงิน หลังจากพอคาไดจําหนายไก โดยหักคาใชจายปจจัยการผลิตทั้งหมด เปนการริเริ่มของเกษตรพันธะสัญญาระหวาง เกษตรกรและพอคาทองถิ่น ในชวงระยะ 2526-2535 ระบบการเลี้ยงไกแบบมีพันธะสัญญาจะทํากันระหวาง บริษัทเอกชนในทองถ่ินกับเกษตรกร โดยบริษัทเอกชนเหลานี้เปนตัวแทนจําหนายอาหารและเวชภัณฑและพันธุไก ใหกับบริษัทใหญ เชน บริษัทในเครือเจริญโภคภัณฑ และบริษัทเบทาโกร หลังจากป 2535 เปนตนมา บริษัทในเครือ เจริญโภคภัณฑ และบริษัทเบทาโกร ไดเขามาซ้ือกิจการของบริษัทเอกชนในทองถ่ิน และไดขยายการเล้ียงไกแบบ อุตสาหกรรม จนกระทั่งปจจุบันระบบการเลี้ยงเปนระบบปดตามมาตรฐานของบริษัทในเครือเจริญโภคภัณฑและเบ ทาโกร เนื่องจากเกษตรกรในพ้ืxxxxมีประสบการณและความชํานาญในการเลี้ยงไกเชิงอุตสาหกรรม xxxxxxดัดแปลง ระบบปดใหสอดคลองกับสภาพแวดลอมซ่ึงลอมรอบดวยสวนไมผล เกษตรกรสรางความxxxxxxxxxใหกับบริษัทโดยมี ชองวางระหวางการเลี้ยงแตละรุนประมาณ 5-7 วัน กลาวคือ เกษตรกรxxxxxxทําความสะอาดเลาไก และรองรับไก รุนใหมไดภายใน 5-7 วัน หลังจากไดจําหนายไกรุนแรกออกไป ทําใหจํานวนรุนของการเลี้ยงตอปมีมากกวาในพื้นท่ี
อ่ืนๆ เชน ในภาคอีสาน ซ่ึงมีระยะเวลายาวนานกวา 3 สัปดาห ทําใหจํานวนรุนของการเล้ียงน ยกวาที่ควรจะเปน
4. กลุมเลี้ยงไก ต. บานพราว อ. ปาพะยอม จ. พ ลุง
ประกอบอาชีพเล้ียงไกเนื้อ รวมกบอาชีพอ่ืนๆมากกวารอยละ 95 มีสมาชิกรวม 33 รายทําสัญญาเลี้ยงกบั 4 บริษทั ในเครือ xxxx และเบทาโกร ไดแก ณ. xxxxxxรมและเพ่ือน เกษตรฟารม ภาคใตฟารมและ xxxxxฟารม ซึ่ง เกษตรกรสลบสับเปลี่ยนทําสัญญาตามความxxxxในเงื่อนไขของบริษัท ระบบพนธะสัญญามีสองระบบ เปนแบบ รับจางเล้ียง ระบบเกษตรพนธะสัญญามีสองระบบ ไดแก ประเภทแรกเปนระบบxxxxxxxxxโดยเกษตรกรจัดเตรียม
โรงเรือนเพียงอยางเดียว สวนบริษัทร ภาระดานพันธุไก อาหาร และเวชภัณฑ และใหผลตอบแทนเปนรายตัวๆ ละ
ประมาณ 3 บาท เกษตรกรไมมีความเสี่ยง รายไดข้ึนอยูกับความอยูรอดของไก ดงนั้น ถาเกษตรกรเปนผูใฝรูก็ xxxxxxสรางประสบการณและความรูจากการรับจางเลี้ยงไกเนื้อตัวละ 3 บาทเปนการพัฒนาสมรรถนะในระยะแรก กอนท่ีจะxxxxxxxเปนผูเล้ียงxxxxx
ประเภทท่ีสองเปนระบบประกันราคา โดยเกษตรกรทําธุรกิจกับบริษัทและรับภาระดานพันธุไก อาหาร เวชภัณฑและโรงเรือน บริษัทประกันราคาไกเนื้อกอนการเล้ียง และรับซื้อในราคาประกัน ผลตอบแทนเชิงธุรกิจของ
เกษตรกรขึ้นxxxกับขีดความxxxxxxดานความรูและเทคโนโลยีการเล้ียง การบริหารจัดการฟารม และวิธีลดอัตราการ ตายของสัตวปก เกษตรกรท่ีมีความxxxxxxและxxxxxxxxxกับวิธีการของตนเองก็จะเลือกเล้ียงประเภทที่สอง ผล การศึกษาพบวาการเล้ียงไกเนื้อรวมกับบริษัท ณ xxxxxxรม ซึ่งผูจัดการเปนนายสัตวแพทย ติดตามการทํางานของ เกษตรกรอยางใกลชิด มีความผูกพันเชิงสังคมและวิชาการ ไดรับความเช่ือถืออยางกวางขวางในกลุมสมาชิก ความสําเร็จของกลุมเล้ียงไกบานพราวเปนกรณีท่ีแสดงใหการทํางานรวมรับผิดชอบของผูประกอบการ เกษตรกร และองคกรบริหารสวนทองถิ่น ในxxxxxประเด็นดานอาชีวอนามัย การเฝาระวังการระบาดของไขหวัดนก และการ ปรับปรุงส่ิงแวดลอมเปดโอกาสท่ีจะนําเขาสูวาระการพัฒนาระดับตําบล เนื่องจากxxxxxxxขายความสัมพันธทาง วิชาการ ธุรกิจ
กรณีที่ 2 การเลี้ยงปลาในกระชัง
1. กลุมเล้ียงปลาในกระชัง บานขี้เหล็ก อ. กันทรวิชัย จ. มหาสารคาม เปนกลุมผูเลี้ยงปลาทับทิมและปลา นิลในกระชังในแมนํ้าชี ในระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร โดยมีเกษตรกรกวารอยละ 70 ในพื้นที่เลี้ยงปลาในกระชัง ที่ตองพึ่งเทคโนโลยีการเลี้ยงจากบริษัททั้งหมด ไดแก xxxxxx อาหารปลา และเวชภัณฑ ซึ่งตนทุนคาอาหารสูงถึง กวารอยละ 50 ของตนทุนท้ังหมด อยางไรก็ตามสมาชิกกลุมมีความกระตือรือรxxxxจะพัฒนาการจัดการลดตนทุน และสํารวจตลาดทางเลือก รูปแบบความสัมพันธของเกษตรกรกับบริษัทเปนลักษณะที่เกษตรกรxxxxxxxปจจัยการ ผลิตและตลาดกับบริษัทหรือตัวแทนบริษัท ซึ่งเปนธรรมเนียมปฏิบัติที่เกษตรกรมีโอกาสจําหนายปลาใหกับตัวแทน/ รานคาที่ตนซื้ออาหารปลา และปจจัยการผลิต แตxxxxxxจําหนายใหกับพอคาขาจรท่ีเขามาติดตอไดเชนกัน อยางไรก็ตามในบางกรณีที่ปลาลนตลาดตัวแทนหรือรานคาดังกลาวอาจไมไดรับซ้ือปลาจากเกษตรกรหรือมาจับ ปลาชามากทําใหเกษตรกรตองมีคาใชจายคาอาหารปลาxxxxxขึ้น เกษตรกรมีการปรับใชวิธีการขนยายปลาจาก
กระชังขึ้นบนทาปลาที่ทําใหลดการใช รงงาน และลดความเสี่ยงตออนตรายในการขนยายปลาขึ้นสูทา
2. เกษตรกรเลี้ยงปลาในกระชัง ต.โพธิ์ชนไก และต.ไมด ัด อ.บางระจัน จ.สิงหบุรี เล้ียงปลาในแมน้ํานอยเปนระยะทางหนาทาประมาณ 3 กิโลเมตร เปนผูเลี้ยงxxxxxxxมีการรวมกลุม โดย
เกษตรกรใชพื้นที่หนาทาเล้ียงปลา มีในระยะ 20 เมตร หรือ ประมาณ 10 กระชัง ระบบการเล้ียงปลามีการxxxxxxxดาน เทคโนโลยีการผลิต และจัดการตลาดจากบริษัทหรือตัวแทนบริษัทสูง โดยเฉพาะดานการผลิต พันธุปลาจากบริษัท รายใหญ และอาหารปลาซึ่งเปนเทคโนโลยีลอยน้ําได เกษตรกรยงั ไมxxxxxxคิดวิธีผลิตใชเองได
ตลาดสวนใหญถูกผูกขาดดวยกลุมบริษัทและพอคาทําใหพ อคารายใหมหรือเกษตรไมxxxxxxเขาจําหนาย โดยตรงในวิถีตลาดได แตมีเกษตรกรบางสวนที่xxxxxxติดตอกับพอคาหลายรายที่มีตลาดอยูแลวเพ่ือเลือกจําหนาย
โดยสรางอํานาจการตอรองใหก ตนเองได ซึ่งเกษตรกรที่xxxxxxจัดการตลาดไดเองรวมถึง ความxxxxxxxxxxxxx
ปริมาณปลาในกระชังไดอยางแมนยํา สรางความเชื่อม ใจกับพอคาดานคุณภาพปลา
3.กลุมเลี้ยงปลาในกระชัง บานทาเรือ ต.ทามวง อ.สตึก จ.บุรีรัมย
การเลี้ยงปลานิลและปลาทับทิมในกระชังลุมน้ําxxx xxxตองxxxxxxxพันธุปลา เวชภัณฑ อาหาร และการตลาด จากบริษัท ซึ่งมีการแขงขันทางการตลาดที่สูง เกษตรกรมีการวางแผนหาแนวทางในการลดตนทุน โดยการกําหนด ระยะเวลาการเลี้ยงที่เหมาะสม จัดต้ังกลุมเพื่อรวมกันซื้ออาหารในปริมาณมาก เจรจาประกันดานตลาดกับบริษัท อาหาร และแสวงหาตลาดทางเลือกความเสี่ยงที่สําคัญ ไดแก ฝนแลงในชxxxxxxxพฤษภาคม-มิถุนายน ซึ่งหากมีฝน กะทันหันอาจทําใหปลาชอกน้ําได
4. กลุมเลี้ยงปลาในกระชัง ต.ทาทอง อ.กาญจนดิษฐ จ.สุราษฎรxxxx ดานอาชีพเกษตรและประมงของชุมชนทาทองไดพัฒนามาจากการประกอบอาชีพทํานาตอมาการขยายตัว
ของอุตสาหกรรมนากุงทําใหเกษตรกรขายxxxxx ซ่ึงมีปญหารเรื่องโรค ตลาดและสิ่งแวดลอมทําใหการประกอบอาชีพ นากุงขนาดเล็กไมxxxxxxแขงขันไดจนตองลมเลิก เกษตรกรไดเรียนรูและเห็นการเล้ียงปลาในกระชังที่อําเภอดอน สัก และที่ตําบลทาxxxxxx จ.สุราษฎรxxxx xxxรวมกลุมกันเพื่อชวยเหลือกันดานพัฒนาความรู วัสดุอุปกรณ การ จัดหาตลาด ซึ่งเกษตรกรเชื่อวาการทํางานระดับกลุมจะทําใหการเลี้ยงปลาในกระชังมีประสิทธิภาพสูงกวาการทํา รายเด่ียว ซึ่งอาศัยที่ตั้งทําxxxxxเหมาะสมตามลําน้ําxxxxทาทอง ดําเนินธุรกิจเลี้ยงปลากะพงขาวในกระชัง ซ่ึง ปจจุบันมีสมาชิก 20 ครัวเรือน เล้ียงปลากะพงขาวในกระชัง 2-8 กระชัง เกษตรกรเรียนรูการเลี้ยงปลากะพงใน กระชังจากผูประสบความสําเร็จที่อําเภอดอนสัก และตําบลทาxxxxxx อําเภอกาญจนดิษฐ ผานการปฏิบัติการ เล้ียงจริงดวยตนเอง พรอมทั้งจัดตั้งกลุมแลกเปลี่ยนเรียนรู
กรณที ่ี 3 การเลี้ยงสุกร
การเล้ียงสุกร ใน 2 พื้นที่ ไดแก 1. กลุมเลี้ยงสุกร อ. บานหมี่ และ อ. หนองมวง จ. ลพบุรี เปนกลุมรับจาง เล้ียงหมูขุนใหกับบริษัท xxxx และในเครือxxxx รวมทั้งบริษัทเบทาโกร มีการปรับเปล่ียนระบบการผลิตจากโรงเรือน ระบบเปดมาเปนโรงเรือนระบบปด และสวนใหญมีการจัดทําบอแกส ผูรับจางเลี้ยงสุกรเปนผูเลี้ยงxxxxx มี ความxxxxxxหลากหลาย แรงxxxxxxxxเขารวมเน่ืองจากผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ แตการรับจางเลี้ยงหมูเกษตรกร ลงทุนคอนขางสูง ซึ่งในระยะแรกบริษัทชวยหาแหลงเงินกูธนาคารพาณิชย และใหการสนับสนุนวัสดุ อุปกรณและ ทุน เกษตรกรไดxxxxxตอบแทนxxxxxในระยะแรก ปจจุบันเงื่อนไขตางๆ ไดมีการเปล่ียนแปลง พรอมท้ังตนทุนที่xxxxxขึ้น เมื่อเกษตรกรตxxxxxxxxxxรายไดจึงขยายจํานวนคอก เนื่องจากผลตอบแทนตอคอกในปจจุบันต่ํากวาเดิม ซ่ึงมูลเหตุ สําคัญของการลดรายได เกิดจาก หมูตายในระยะ 1-3 เดือนแรก ลูกหมูผลิตโดยลูกฟารมของบริษัทที่มีคุณภาพไม xxxxx หมูเกิดอาการทองรวงในชวงที่มีการเปล่ียนอาหารในเดือนแรก และหมูเกิดอาการชอก และพบวาเกษตรกรยัง ตองxxxxxxxเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูของบริษัท ท้งโรงเรือน พนธุ และอาหาร มีบางรายที่ปรับปรุงเทคนิค วิธีเพื่อใหมีการ ลดตนทุน และลดมลพิษได ในขณะเดียวกัน การบริการภาครัฐยังไมxxxxxxตอบxxxxใหเกษตรกรมีองคความรูและ เทคโนโลยีในการลดตนทุนการผลิต
2. การเล้ียงสุกร ต. โมกลาน xxxตะโก และโพธ อง อ. ทาศาลา จ. นครศรีธรรมราช
มีอาชีพทํานาทําสวนเปนหลัก แตสภาพพื้นท่ีลุมนานํ้าทวมทําความเสียหายตอการทํานาปและไดผลไมคุม กับการลงทุน เกษตรกรไดปรับเปล่ียxxxxนาโดยการทําฟารมบนรองสวนยกรองปลูกไมผล มะพราว ยางพารา และ เล้ียงสัตว การเลี้ยงสุกรเชิงอุตสาหกรรมไดเขามาxxxxxการเล้ียงแบบดั้งเดิมซ่ึงใชพันธุสุกรพื้นเมือง (หมูขี้พรา) ตั้งแตป 2541 เปนตนมา ปจจุบันไดพัฒนาการเลี้ยงสุกรแบบฟารมปดเปนเกษตรพันธะสัญญากับบริษัทในเครือ เจริญโภคภัณฑ ระบบฟารมเปดกับบริษัทเบทาโกร และผูเล้ียงxxxxxโดยเกษตรกรหญิงมีบทบาทและมีความรูทักษะ
ในการเลี้ยงสุกร โดยเฉพาะการผลิตลูกสุกร ทําใหมีท
กรณีท่ี 4 การทําไรออย
ษะการบริหารจัดการฟารม และตัดสินใจดวยตนเองได
กลุมเกษตรกรปลูกออย พื้นที่ 1. บานดงดิบ x.xxxxxx จ.รอยxxxx เกษตรกรในพ้ืxxxxมีการทําเกษตรที่ หลากหลาย เชน เลี้ยงวัว มันสําปะหลัง และขาว โดยมีการปรับเปล่ียนระบบการปลูกอxxxxxมีขาวแทรกในที่วาง ในชวงท่ีออยอายุยังนอย ซึ่งเกษตรกรมีรวมกลุมกันจากการผลักดนของโครงการในป 2549 โดยมีการทํากิจกรรมเพื่อ
สรางความเขมแข็งใหกับกลุม เกษตรกรหญิงมีความกระตือรือรนและมีศักยภาพที่จะทําเร่ืxxxxxปรับปรุงบํารุงดิน ซึ่งเปนประเด็นที่มีความสําคัญอันดับแรกของหมูบาน เกษตรกรปลูกออยสงโรงงานนํ้าตาลในพื้นท่ีใกลเคียงโดยมี ตัวแทนกลุม ทําสัญญารับโควตาโดยตรงกับบริษัท และนํามาจัดสรรใหกับสมาชิกกลุม โดยสมาชิกกลุมจัดการการ ผลิตเองและแลกเปลี่ยนความรูกับเพ่ือนบาน สวนการจางแรงงานหาไดในพ้ืxxxx
2. เกษตรกรผูปลูกออย ต. xxxxxxxxx อ. พัฒนานิคม จ. ลพบุรี
ระบบเกษตรหลากหลาย ไดแก การปลูกออย ขาวโพด มันสําปะหลัง เลี้ยงหมู เลี้ยงไก และรับจาง มีการ รวมกลุมจากการเขารวมโครงการซ่ึงยังไมมีโครงสรางกลุมxxxxxxxxx เกษตรกรปลูกออยในพื้นท่ีตัวเองหรือพื้นที่เชา และตกลงเปนลูกไรกับเจาของโควตา (ตัวแทนในพื้นท่ีซ่ึงรับโควตามาจากโรงงานน้ําตาลในพื้นที่ใกลเคียง) การ จัดสรรโควตาใหกับเกษตรกรในพ้ืxxxxและการกําหนดตัดออยข้ึนxxxกับตัวแทนในพื้นท่ี มีการเปลี่ยนแปลงไดบางตาม สถานการณฝน เนื่องจากในพื้นที่มีการปลูกออยท้ังแบบอาศัยนํ้าฝนและใชนํ้าจากบอขุด ระบบปลูกเกษตรกร รับผิดชอบในชวงระยะเวลาการปลูก สวนการเก็บเกี่ยวเปนความรับผิดชอบของเจาของโควตา โดยในการทําไรออย นั้น มีการใชxxxxxxxxxxxเฉพาะในชวงเตรียมดิน สวนในการเก็บเก่ียวยังใชแรงงานคน ซึ่งสวนใหญเปนแรงงานรับจาง นอกพ้ืxxxx โดยเฉพาะจากภาคอีสาน ซ่ึงแรงงานเหลาน้ีเจาของโควตาเปนผูต ิดตอและดูแล
กรณีที่ 5 การปลูกขาวโพด
กลุมปลูกขาวโพดหวาน ต. ธารxxxx อ.พระพุทธบาท จ.สระบุรี เปนกลุม ผู ผ ลิ ตที่ เข มแข็ง มีการ รวมกลุมมาประมาณ 3 ป สมาชิกกวา 100 คน ไดรับการสนับสนุนอยางดีจากเจาหนาที่ในพื้นท่ีและจังหวัด ในการ ดําเนินกิจกรรมกลุมเพื่อปลูกขาวโพดหวานสงโรงงาน เน่ืองจากประธานกลุมมีทักษะในดานการจัดการ การเจรจา
ตอรองกับบริษัท และการต สินในวางแผนการผลิต รวมถึงความสามคคีของสมาชิก ทําใหกลุมดําเนินกิจกรรมตกลง
โควตาขายขาวโพดใหกับบริษัท 3 บริษัทในพ้ืxxxxใกลเคียงไดในปริมาณที่แนนอน แมจะไมมีการทําสัญญาเปนลาย ลักษณxxxxx จําหนายในปริมาณที่มากกวาโควตาท่ีตกลง ความxxxxxxในการควบคุมคุณภาพผลผลิต และการวางแผนจัดการเพื่อใหไดปริมาณสอดคลองกับความตxxxxxของบริษัท และกําลังการผลิตของสมาชิก พรอมกับการจัดการดินและน้ําอยางเหมาะสม เพอื ใหเกษตรกรสมาชิกมีรายไดที่เปนธรรมและเพียงพอตอการใชจาย ทําใหกลุมประสบความสําเร็จและดําเนินกิจการไดอยางยั่งยืน กลุมมีการเรียนรูรวมกันเพื่อพัฒนาพื้นที่ปลูก การ คัดเลือกพันธุ กลาวคือ สมาชิกมีการสังเกตและพิจารณาความเหมาะสมของเมล็ดพันธุท่ีใชกับชวงเวลาที่เหมาะสม ในการปลูก จากความตานทานโรคและปริมาณผลผลิต และยังมีโอกาสไดแลกเปลี่ยนความรูกับนักวิชาการที่พัฒนา
พันธุขาวโพดหวาน นอกจากน้ีxx
xการนําxxxxxxxxxxxมาใชเพื่อลดการใช
รงงานในกระบวนการผลิต เชน เครื่องหยอด
เมล็ด รวมxxxxxxผลิตขาวโพดหวานแบบปลอดภัย
สรุปและขอเสนอแนะ
1. ระดับความสัมพันธองค
รระหวางเกษตรกรกับบริษัท
กรณีศึกษาระบบการผลิตพืช สัตว และประมง รวม 5 ประเภท ไดแสดงใหเห็นระดับความสัมพันธระหวาง เกษตรกรกับผูประกอบการแตกตางกันภายใตบริบทของเกษตรพันธะสัญญา กลาวคือความเปนxxxxxของเกษตรกร และการมีศักยภาพที่พัฒนาตนเองไดถามีการสนับสนุนและชี้แนะ รวมถึงขอมูลขาวสารดานการผลิต จากภาครัฐ อยางเหมาะสมเปนส่ิงสําคญท่ยี ังขอจํากัด ในขณะเดียวกันเทคโนโลยีการผลิตดานไก สุกร และประมงน้ําจืด ภาครัฐ มีโอกาสสรางทางเลือกใหเกษตรกรนอย เทคโนโลยีสวนใหญเปนของภาคเอกชน เกษตรกรบางรายที่xxxxxxเรียนรู
และปรับใชอยางเหมาะสมxxxxxxพัฒนาตนเองเปนผูเลี้ยงมืออาชีพ ซ่ึงบริษัทจะใชเปนแหลงเรียนรูและ xxxxxสัมพันธความสําเร็จของระบบเกษตรพันธะสัญญา เกษตรกรมืออาชีพเหลานี้ซ่ึงมีจํานวนไมมาก xxxxxx สรางผลตอบแทนสูงเชนเดียวกัน เชน กรณีผูเล้ียงสุกรใหกับบริษัทในเครือเจริญโภคภัณฑที่ อ.เมือง จ.ลพบุรี ระบบ การเล้ียงปลาทับทิมในกระชัง เปนระบบที่เกษตรกรตองxxxxxxxบริษัทเอกชนมากทีสุดในระบบ สวนระบบพืช ขาวโพด หวาน ภาคกลาง มีลักษณะพ่ึงพาและผลประโยชนเทาเทียมกันพอxxxxxระหวางเกษตรกรกับผูประกอบการ
ในการทําเกษตรมีสัญญาพบวา การจัดการในรูปแบบกลุม ใหผลในทางบวกตอบริษัท โดยเฉพาะกรณี การ แลกเปลี่ยนขาวสาร และสงขอมูลจากบริษทถึงเกษตรกร นอกจากน้ีบริษัทลดตนทุนความเสี่ยงดานแรงงานเน่ืองจาก เกษตรกรxxxxxxจัดการแรงงานเพียงพอตอการเก็บเก่ียวและจดการเพ่ือลดความเส่ียงจากการจัดการผลผลิต ซึ่งทํา ใหบริษัทxxxxxxประเมินผลผลิตและปริมาณที่ชดxxxในการตลาด แตอยางไรก็ตามความแตกตางดังกลาวกับไมได
รับการจัดการหรือใชเปนแนวทางในการจัดการในเกษตรกรที่อ่ืนๆ หรือการใหแรงจูงใจหรือผลลัพธ บริษัทไดxxxxxประโยชนตามเปาหมาย ซ่ึงพบในกลุมผลิตขาวโพดหวาน จ. สระบุรี
่ีแตกตางซึ่ง
2 ความยืดหยุนในการใช จจัยการผลิตและเทคโนโลยการผลิต
ซึ่งพบวาโดยสวนใหญเกษตรกรxxxในสถานะที่เปนเบ้ียลางและมีความยืดหยุนนอยเมื่อเขาสูวงจรเกษตร พันธะสัญญา โดยเฉพาะการเล้ียงไก สุกร และประมงน้ําจืด ซึ่งเกษตรกรตองxxxxxxxพันธุสัตว พันธุปลา เวชภัณฑ และอาหารที่ผลิตโดยบริษัทหรือบริษัทในเครือ เกษตรกรทางเลือกนอย ถึงแมวาจะมีโดยสวนใหญเกษตรพันธะ สัญญาส่ิงที่สรางแรงจูงใจใหก ับเกษตรกรที่เขารวมกบั เกษตรพันธะสญญาในรูปแบบเครดิตปจจัยการผลิต ซึ่งทําการ หักคาใชจายหลังรับสงผลผลิต
3. หล
ประกนความเสี่ยง
หัวใจที่สําคัญของการทําเกษตรพันธะสัญญาพบวาตองประกันความเสี่ยงสําหรับทั้งผูซ้ือและผูผลิต ผูซื้อ
xxxxxxกําหนดชนิดของสินคาที่ตxxxxxลวงหนาได แตอยางไรก็ตามเกษตรกรก็ยังxxxxxความเสี่ยงดานการผลิต สินคาเนื่องจากปจจัยตางๆ เชน ดานกายภาพ ดานสภาพอากาศxxxxxxxxxx ราคาของอาหารสัตวที่xxxxxข้ึน การ จัดสรรโควตาใหเกษตรกรในกรณีที่ผานพอคาตัวแทน แตอยางไรก็ตามการผลิตพันธะสัญญาลดความเส่ียงในการที่ เกษตรกรตองหาตลาดเอง เกษตรกรสวนใหญไดรับราคาทีกําหนดxxxxxกับบริษัท แตในบางกรณีก็พบวามีความไม แนนนอนในดานการผลิตตอเน่ือง เชนกรณีสัตว ไก ปลาในกระชัง ซึ่งบริษัททําสัญญาปตอป นอกจากน้ียังรวมถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากเทคโนโลยีของบริษัทและการผูกขาดอาหารสัตวกับบริษัทของการผลิตสุกร การเล้ียงปลาจาก บริษัทที่ควบคุมดานราคา ซึ่งไมมีการกลาวถึง และไมมีการทําการสนับสนุนใหxxxxxxxวิจัยควบคูการทํางานรวมกับ บริษัท
ถึงแมบริษัทจะกําหนดใหมาตรฐานสินคาปริมาณแตกตางกัน แตไมไดทําใหเกษตรกรไดxxxxxประโยชน xxxxxข้ึน บางกรณีถูกxxxxxxxxx xxน การนําไกxxxxxไดม าตรฐานใหเกษตรกรเล้ียง ทําใหตองยืดระยะเวลาของการเลี้ยง และเสียคาใชจายของอาหารxxxxxขึ้น อยางไรก็ตามในหลายกรณีศึกษา เชน การเลี้ยงปลาในกระชังในพื้นที่ จ. บุรีรัมยและ สุราษฏรxxxx xxxเกษตรกรxxxxxxสรางทางเลือกโดยการรวมกลุมจัดซ้ือเพือลดตนทุนดานปจจัยการผลิต
4. การxxxxxxxดานแรงงาน
เกษตรพันธะสัญญามีความตxxxxxxxรงงานสูง เชนระบบการผลิตออย เกษตรกรรายยอย ไมxxxxxx ดําเนินการไดตามกําหนด และไมมีความxxxxxxรับภาระแรงงานจางได จําเปนตองตัดสินใจเลิกปลูกออย ในบาง พ้ืxxxxบริษัท โรงงานนํ้าตาลไดจัดหาแรงงานจางมาชวยเสริมในชวงฤดูตัดออย
5. การเจรจาตอรอง
การเลี้ยงสัตวและปะมงในระบบเกษตรพันธะสัญญารูปแบบตางๆนั้นไมปรากฏวาเกษตรกรจะxxxxxx ตอรองกับบริษัทได ถึงแมวาเกษตรกรจะมีความใกลชิดกับพนักงานของบริษัท โดยเฉพาะการเลี้ยงไกและสุกร ซึ่ง พนักงานสัตวบาลของบริษัทไดติดตามการดําเนินงานของเกษตรกรอยางใกลชิด แตกรณีการกําหนดคุณภาพและ ราคาของผลิตผลขึ้นxxxกับหนาที่ผายการตลาด ซึ่งกฎเกรณคุณภาพและการกําหนดราคา เกษตรกรไมไดรับ คําอธิบายจากบริษัทอยางชัดเจน การเจรจาตอรองเกิดข้ึนเมื่อเกษตรกรxxxxxxพัฒนาตนเองเปนผูผลิตมืออาชีพ และมีการรวมกลุมโดยทําสัญญากับบริษัทระดับกลุม ไมใชระดับบุคคล ดังเชนในกรณีระบบการผลิตขาวโพดหวาน ตําบลธารxxxx อ. พระพุทธบาท จ. สระบุรี
สรุปโดยจากงานวิจัยพบวาระบบการผลิตของเกษตรกรตองลงทุนเอง ถูกกําหนดมาตรฐานโดยบริษัท เชน โรงเรือนเล้ียงไกแบบปดตองใชเงินลงทุนในการสรางโรงเรือนถึง 300,000 บาทตอหลัง รวมถึงระบบไฟฟาที่ใชในการ เลี้ยงไกไข ซึ่งเปนภาระของเกษตรกร ซึ่งในท่ีสุดเกษตรกรรายยxxxxxมีทรัพยากรจํากัดก็จําเปนตองลมเลิกเนื่องจาก ลงทุนสูง เปนตน อยางไรก็ตามเกษตรกรหลายพ้ืxxxxxxxxxxxxรวมกลุมเพ่ือตxxxxxซ้ือปจจัยการผลิตในราคาที่ต่ํา กวาทองตลาด สําหรับออยโรงงานเปนระบบประกันราคา เกษตรกรไดรับสินเชื่อดายปุยและสารเคมีจากโรงงาน น้ําตาล เปนลักษณะพึ่งพาซ่ึงกันและกัน แตการจัดสรรประโยชนของเกษตรกรไดรับจากการจําหนายออยน้ําตาล เทานั้น ยังไมครอบคลุมผลิตผลมูลคาxxxxxจากการแปรรูปออย เชน Ethanol เปนตน
ข เสนอแนะ
1. การเลี้ยงไกและสุกร ในระบบเกษตรพันธะสัญญา เกษตรกรลงทุนสูงดานโรงเรือนและxxxxxxxxxxxxxxx ซึ่ง จําเปนตองxxxxxxxเทคโนโลยีของบริษัท เปนการxxxxxxxxxxระบบ เกษตรกรมีสถานะเปนลูกจาง โดยที่บริษัทไม ตองรับผิดชอบสวัสดิการตางๆ ดังเชน แรงงานในระบบ การวิเคราะหหวงโซมูลคา (value chain) ของระบบ การผลิตและการแปรรูปต้ังแตการผลิตในฟารมจนถึงผูบริโภค จําทําใหเขาใจและแกไขระบบการจัดสรร ประโยชนหรือการกําหนดผลตอบแทน แกเกษตรกรท่ีเปนธรรมได
2. ทุนทางสังคมมีความสําคัญตอเกษตรพันธะสัญญาท้ังเกษตรกรและบริษัท ดังตัวอยางกรณีการรวมกลุมของ
เกษตรกรปลูกอ ย จ. รอยxxxx กลุมเลี้ยงปลาในกระชัง จ. รอยxxxx และจ. บุรีรัมย กลุมปลกขู าวโพดหวาน จ.
สระบุรี โดยเฉพาะการรวมกลุมเพื่อเกิดประโยชนที่ตอรองกับบริษัท และการรวมกันจัดการปจจัยการผลิต รวมกัน ซึ่งxxxภรณและxxxxxx (2547) ไดชี้ใหเห็นความสําคัญของ ทุนทางสังคมในวิถีการผลิตแบบ เกษตรกรรมเพื่อการยังชีพ มาสูสภาพสังคมทันสมัย ท่ีมีวิถีการผลิตเพื่อการคาภายใตแนวคิดแบบทุนนิยม การเอาตัวรอดของชุมชนเกษตรดั้งเดิมที่แสดงใหเห็นความมี “ทุนเดิม” xxxxxxxเปนทุนxxxxxxxx ทุนความรู ทุน มนุษย และทุนทางสังคมและการปรับเปลี่ยนทุนชุมชน (Community capital) ใหสอดคลองกับการ เปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นในระบบสงคมโลก จากผลกระทบท่ีชุมชนไดรับเมื่อถูกกระแสแหงการพัฒนาประเทศไป สูความทันสมัยเขากระทบตอวิถีชีวิตและวิถีการผลิตของชุมชน การจะดํารงxxxดวยทุนเดิมตามลําพัง อาจทํา ใหช ุมชนไมxxxxxxดํารงxxxไดหรือเกิดภาวะลมสลายไปในที่สุด หากการปรับตัว การพลิกฟน และการประ ยุกตทุนเดิมและการสรางทุนใหมขึ้นมาใหสอดคลองกับxxxxxxxxเปลี่ยนแปลง ยอมทําใหชุมชนxxxxxxดํารง อยูในสังคมไดอยางไมxxxxxxxxxx รูเทาxxxxxxเปล่ียนแปลง และxxxxxxสรางทางเลือกในการดํารงชีวิตของ ตนเองไดอยางมีศักดิ์ศรี และนําไปสูการสรางความเขมแข็งใหกบชุมชนไดxxxxxxxxxตอไป
3. ระบบเกษตรพันธะสัญญา ปจจุบันมีผูที่เก่ียวของเพียง 3 หนวย ไดแก บริษัทผูประกอบการ เกษตรกร และ สถาบันการเงิน บทบาทของเจาหนาที่รัฐมีนอยมาก ในกรณีของการเล้ียงสัตว เจาหนาที่ปศุสัตวมีหนาที่หลัก ตรวจสอบมาตรฐานของโรงเรือนและสภาพแวดลอมของการประกอบการเพื่อลดความเสี่ยงจากการ แพรxxxxxxของโรคสัตว เกษตรกรพึ่งเทคโนโลยีการผลิตของหนวยงานรัฐใหกาวทันกับหนวยงานของเอกชน จะชวยxxxxxทางเลือกของการจัดการแกเกษตรกร
4. เกษตรกรเขาสูระบบเกษตรพันธะสัญญา ในระยะแรกไดรับการชักจูงพรอมทั้งขอสนอทางดานสินเชื่อ (วัสดุ การผลิต) การติดตอแหลงเงินกู (ผานธนาคาร) ความมั่นคงทางตลาดและราคาประกัน เกษตรกรไมมความ พรอมแตเขารวมเนื่องจากไมมีทางเลือกทางธุรกิจxxxxxกวา สถาบันการเงิน เชน ธกส ไมxxxxxxxxxใหบริการ ดานขอมูล พรอมทั้งการวิเคราะหผลตอบแทนการลงทุนแกเกษตรกร เกษตรกรตัดสินใจโดยไดรับขอมูลเพียง ฝายเดียวจากภาคเอกชน จนทําใหเกิดปญหาการขาดทุนตามมาภายหลัง ดังน้ันระบบการบริการดานการ ลงทุนการเกษตรเชิงพาณิชย เชนในกรณีทางเกษตรพนธะสญญา หนวยงานภาครัฐทั้งฝายสินเชื่อ จําเปนเปน ตองxxxxxxการทํางานพฒั นาระบบการจัดการขอมูลเพื่อสนับสนุนการตดั สินใจลงทุนของเกษตรกร
คําขอบคุณ
ขอขอบคุณ แผนงานสรางเสริมสุขภาพแรงงานนอกระบบในภาคเกษตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
เอกสารอางอิง
Xxxxxx, X. and X. Kusterer. (1990). Small Farmers, Big Business: Contract Farming and Rural Development, Macmillan, London.
Xxxxx, X.,0000. Contract farming in African: an application of new institutional economics. Journal of African Economics, 3 (2), 231-261.
Xxxxx, X.X. 1996. A transaction cost approach to supply chain management. Supply Chain Management, 1(2), 15-27.
Xxx, N. and Xxxxxxx, D., 1999. Contract farming, smallholders and rural development in Latin America: the organization of agro-processing firms and the scale of out grower production. World Development, 27(2), 381-401.
Xxxxxx, P.D. and Xxxxx, M.J. 1994. Living Under Contract: Contract Farming and Agrarian Transformation in Sub-Saharan Africa. University of Wisconsin Press. 298 pp.
Xxxxxx, X.X. 1990. Qualitative evaluation and research methods, 2nd ed. Sage Publications, Newbury Park, California, 532 pp.
Xxx, X. X., 1972. Contract farming and economic integration. Interstate Press, Danville, II. Xxxxxxxx, X. and Jacobs, X., 1979. Qualitative Sociology: A Method to the Madness. New York,
Free Press.
Xxxxxx, X.X. 2006. Contract Farming in Costa Rica: Opportunities for smallholders?. Ph.D. Thesis, Wageningen University, The Netherlands.
Xxxxxx, X., 2000. Demonstrated Benefits from Social Capital: The Productivity of Farmer organizations in Gal Oya, Sri Lanka; World Development 28 (11) , p. 1875-1890.
Xxxxx, X. 1990. Peasant Under Contract: Agro-food Complexes in the Third World. In. Xxxxxxxxx H., B. Crow, M.
Xxxxxxxxx and M. Charlotte, C. Xxxxxx (eds), The food question: profits versus people. London: Earthscan, p.149-62.
Xxxxx, X.X. 1984. Learning from the field: a guide from experience. Beverley Hills [etc.] : Xxxx Xx, B. and Xxxxxx, J., 2004 Social connectedness in marginal rural China: The case of farmer
innovation circles in Zhidan, north Shaanxi', Agriculture and Human Values 21(1): 81.
xxxภรณ หะวานนท และพิศม
xxxxxxxx
xxx 2547.รายงานผลการศึกษาและขอเสนอแนะโครงการ
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx (ฉบับสมบูรณ). xxxxxxxxxxxลยั มหาวิทยาลัยศรีนคxxxxxวิ โรฒ