Contract
ตราหน่วยงาน
แผนความปลอดภัยในการทํางานก่อสราง ของ
บริษัท......................................
xxxxx xx.ทร. เลขที่ ................ ลงวนที่ ....................................
ชื่องาน ............................................................................
ผู้รับxxx ............................................................................
ที่อยู่ผู้รับxxx ....................................................................................................โทร ..........................
วงเงิน บาท
กําหนดเริ่มงาน ……………………….. กําหนดแล้วเสร็จ……………………………. รวม วัน
แบ่งเป็น ............. งวด จ่ายเงินล่วงหน้า %
ค่าปรับ วันละ บาท ระยะเวลาคาประกัน 2 ปี
วิศวกรโครงการ .......................................................... เลขที่ ใบประกอบวิชาชีพ...................................
ประธานกรรมการตรวจการxxxx .............................................................................................................
ผู้ควบคุมงาน .....................................................................................................................................
คํานํา
เนองจาก คณะรฐxxxxxเห็นชอบและให้ส่วนราชการและหน่วยงานของรฐทุกแห่งถือปฏิบัติตามหนังสือสํานัก เลขาธิการคณะรัฐมนตรีที่ นร. 0250/7877 ลงวนที่ 28 มิถุนายน 2543 อนุมัติหลกการให้หน่วยงานราชการและ รัฐวิสาหกิจ กําหนดให้มีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับระบบการจัดการความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้างในโครงการก่อสร้าง ของรัฐ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการทํางานแก่ลูกจ้างที่ปฏิบัติงานโนโครงการของรัฐ และ กําหนดให้xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxยนซองประกวดราคา จัดทําเอกสารแนบบท้ายเอกสารประกวดราคาเกยวกับ"ระบบการ จัดการความปลอดภัยในการทํางานก่อสราง” เพื่อป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น ตามมาตรฐานความ ปลอดภยฯของกระทรวงแรงงานฯ และกฎหมายอื่นฯ ทเกี่ยวของ โดยให้กําหนดเฉพาะประเภทของงานก่อสร้าง ดังนี้
- งานอาคารขนาดใหญ่ ที่มีพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชนใดในหลังเดียวกันเกิน 2,000 ตาราง เมตร หรืออาคารที่มีความสูงตั้งแต่ 15.00 เมตร ขึ้นไปและมีพนทอาคารรวมกันทุกชั้นหรือชนหนึ่งชั้นใดในหลัง เดียวกนเกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร
- งานสะพานที่มีความยาวช่วงเกิน 30.00 เมตร หรืองานสะพานขามทางแยกหรือทางยกระดับ หรือสะพาน กลับรถยนต์ หรือทางแยกต่างระดับ
- งานขุด หรือซ่อมแซม หรือรอถอนระบบสาธารณูปโภค ที่ลึกเกิน 3.00 เมตร
- งานอุโมงค์ หรือทางลอด
- งานก่อสรางที่มีงบประมาณค่าก่อสร้างเกิน 300 ล้านบาท
โดยให้ผู้รับxxxทได้รับการคดเลือกให้เป็นผู้รับจ้างงานก่อสร้าง จัดทําแผนปฏิบัติงานความปลอดภัยในการ ทํางานอย่างละเอียดและชัดเจน ให้สอดคล้องกับระบบการจัดการความปลอดภัยในการทํางานก่อสราง แล้วยื่นต่อผู้ xxxxxxx ก่อนการดําเนินการก่อสร้างภายใน 30 วัน นับแต่วนเรมทําสัญูญาxxxxxx และ กําหนดให้ผู้xxxxxxของผู้xxxxxxx เป็นผควบคุม ดูแลและตรวจสอบการปฏิบัติงานในหน่วยงานก่อสราง โดยให้ผู้รับจ้างปฏิบัติตามแผนปฏิบัติงานความ ปลอดภัยฯที่จัดทําขึ้น พร้อมรายงานผลการดําเนินการตามแผนการปฏิบัติงานความปลอดภัยฯ ดังกล่าว ให้ผู้xxxxxxx รับทราบอย่างนอยเดือนละ 1 ครั้ง
บริษัท จํากัด xxxxxxxxxถึงความปลอดภัยในงานก่อสร้าง ประกอบกับงานก่อสร้างxxxxxxxx
นี้เข้าข่ายที่ต้องปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีฯดังกล่าว จึงได้จัดทําแผนความปลอดภยในการทํางานก่อสร้างเล่มนี้ขึ้น เพอป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุทเกิดขึ้น ตามมาตรฐานความปลอดภัยตามที่ทางราชการกําหนด และจะปฏิบัติตาม แผนฯxxxxxxจัดทําขึ้น และจะรายงานผลการดําเนินการตามแผนการปฏิบัติงานความปลอดภัยฯ ดงกล่าว ให้ผู้xxxxxxx รับทราบอย่างนอยเดือนละ 1 ครั้ง รวมทงจะประเมินผลความสําเร็จ หรือความล้มเหลวของกิจกรรม ทวางแผนไว้ เพอนํามาปรับปรุงและแกไขในการบริหารการจดการในงานก่อสร้างให้ดีขึ้นต่อไป
ลงชื่อ
(..........................................)
ตําแหน่ง............................................
วัน/เดือน/ปี.....................................
รายละเอีียดของสัญญา
xxxx xx.ทร. เลขที่ ................ ลงวนที่ ....................................
ชื่องาน ............................................................................
ผู้รับxxx ............................................................................
ที่อยู่ผู้รับxxx ....................................................................................................โทร ..........................
วงเงิน บาท
กําหนดเรมงาน ……………………….. กําหนดแล้วเสร็จ……………………………. รวม วัน
แบ่งเป็น ............. งวด จ่ายเงินล่วงหน้า %
ค่าปรับ วนละ บาท ระยะเวลาค้ําประกัน 2 ปี
วิศวกรโครงการ .......................................................... เลขที่ ใบประกอบวิชาชีพ...................................
ประธานกรรมการตรวจการxxxx .............................................................................................................
ผควบคุมงาน .....................................................................................................................................
ตารางตรวจสอบว่่าเข้าข่่ายที่ต้้องxxxxแผนความปลอดภัยหรืือไม่่
ชอื่ออาคาร/สงงก่่อสร้าาง | |||
วงเงิน |
| บาท | 1.ถ้ามากกว่า300 ล้านบาท xxxxxxxxxทําแผนความปลอดภัย |
ความสูงรวม |
| ม. | 2.ถ้าสูงเกิน 15 ม. และ |
พื้นที่ชั้น 1 |
| ตร.ม. | มีพxxxxอาคารรวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชนใดในหลงเดียวกันเกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร xxxxxxxxxทําแผน ความปลอดภัย |
พxxxxชั้น 2 |
| ตร.ม. | |
พื้นที่ชั้น 3 |
| ตร.ม. | |
พื้นที่ชั้น 4 |
| ตร.ม. | |
พื้นที่ รวม |
| ตร.ม. | 3.ถ้ามากกว่า 2000 ตร.ม.xxxxxxxxxทําแผนความปลอดภัย |
สําหรบประธานกรรมการตรวจการxxxx
เสนอ ชย.ทร.
ได้ตรวจสอบแผนความปลอดภยในการทํางานก่อสร้างที่ผู้รับจ้างเสนอแลวเหมาะสม จึงอนุมัติให้ใช้ กํากับดูแลเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในงานก่อสร้างxxxxxxxxต่อไป
จึงเสนอมาเพื่อโปรดทราบผลการพิจารณาและดําเนินการต่อไป
ลงชื่อ
(............................................)
ประธานกรรมการตรวจการxxxx
......../.........../..........
สารบัญ
1. กําหนดนโยบายความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการทํางาน 1
2. การจัดองค์กรความปลอดภัย ฯ ในงานก่อสราง และหนาที่ความรับผิดชอบ 2
3. โครงสร้างของแผนความปลอดภยในการทํางานก่อสร้าง 8
4. แผนควบคุมดูแลความปลอดภัยในการทํางาน 9
5. แผนการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทํางาน 16
6. แผนxxxxxxxxxxxxxxความปลอดภยในการทํางาน 21
7. แผนฉุกเฉินกรณีเกิดอุบัติเหตุในการทํางาน 24
8. แผนการตรวจสอบ วิเคราะห์ และรายงานอุบัติเหตุในการทํางาน 27
9.การตรวจสอบและการติดตามการปฏิบัติตามแผนความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง 29
10. การรายงานผลการปฎิบัติตามแผนความปลอดภยในการทํางานก่อสร้าง 32
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก กฎหมายความปลอดภยในการทํางานที่เกี่ยวข้อง 36
ภาคผนวก ข แบบฟอร์มการตรวจสอบและการติดตามการปฏิบัติตามแผนความปลอดภัย ในการทํางานก่อสร้าง 40
ภาคผนวก ค แบบฟอร์มการรายงานผลการปฎิบัติตามแผนความปลอดภยในการทํางานก่อสร้าง 44
บรรณานุกรม 48
1.การกําหนดนโยบายความปลอดภยและสุขภาพอนามยในการทํางาน
ประกาศ
เรื่อง นโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ของบริษัท จํากัด
.................................................................
ด้วยบริษัท จํากัด มีความห่วงใยในเรื่องความปลอดภัยในการทํางานของลูกxxxทุกคน มุ่งมั่นและ
จะดําเนินการในทุกทางเพอมีการดูแลเกี่ยวกบความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางานเป็นไป อย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพควบคู่ไปกับการปฏิบัติงานของลูกจ้างทุกคนของหน่วยงานก่อสร้างภายใต้ความ รับผิดชอบของบริษัทฯ โดยให้ผบริหารทุกคนต้องเป็นผู้นําในการปฏิบัติตาม และxxxxxเปิดโอกาสให้ลูกxxxทุกคนมีxxxx xxxx xxxกําหนดนโยบายเพื่อให้ทุกคนได้ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
๑. ลูกจ้างทุกคนต้องได้รับการพัฒนา โดยให้ความรู้ความเข้าใจ เกยวกบความปลอดภัยในการทํางาน
๒. ลูกจ้างทุกคนต้องปฏิบัติตามกฎxxxxxxxอย่างเคร่งครัด
๓. ผู้บังคับบัญชาทุกระดับชั้นมีหนาที่ควบคุมดูแลความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทํางานของลูกจ้าง แนะนํา สอนงานและปฏิบัติตนใหเป็นตัวอย่างแก่ผใต้xxxxxxxxxxx
xxxประกาศมาให้ทราบและถือปฏิบัติ
ประกาศ ณ วนที่ เป็นตนไป้
............................................ ( )
กรรมการผู้จัดการบริษัท จํากัด
2. การจดองค์กรความปลอดภัย ฯ ในงานก่อสร้าง และหน้าทความรบผิดชอบ
2.1 การจัดตั้งหน่วยงานความปลอดภัยในการทํางาน แสดงองค์ประกอบรวม ในรูปของแผนผังดังต่อไปน
ประธานบริษัท
.................................
ผู้อํานวยการโครงการ
.................................
ผู้จัดการโครงการ
.............................
หน่วยงานด้านความปลอดภัย/ จป.วิชาชีพ
..............................................
วิศวกรโครงการ(1)
...............................
xxxxxxx
................................
xxxxxx
..............................
ช่างเขียนแบบ
.........................
วิศวกรสนาม
.............................
โฟร์แมน (1)
.................................
โฟร์แมน (2)
................................
โฟร์แมน (3)
..............................
หัวหน้าคนงาน (1)
..............................
หัวหนาคนงาน (2)
.............................
ผู้รับเหมางานไฟฟ้า
..............................
คนงาน (1)
...............................
คนงาน (2)
..............................
ผู้รับเหมางาน ประปา
.............................
หมายเหตุ ใหใส่ชื่อและเบอร์โทรศัพท์มือถือบุคลากรแต่ละตําแหน่งด้วย
2.2 การแต่งตงคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน
คําสั่งที่ .... / ....
เรอง แต่งตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามยและสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจํา หน่วยงานก่อสร้าง โครงการก่อสรางอาคาร....ก...... บริษัท .....ข จํากัด
ด้วยกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๔๙ กําหนดให้กิจการหรือสถานประกอบกิจการที่เข้าข่ายบงคับใช้ของกฎหมาย ตองทําการแต่งตงคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ตามทกฎหมาย กําหนด ดังนั้น เพอใหบริษัทปฏิบัติสอดxxxxตามที่กฎหมายระบุไว้ ทางบริษัทฯ จึงแต่งตงคณะกรรมการความ ปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ดังนี้
๑. นาย/นางสาว ประธานกรรมการ
๒. นาย/นางสาว กรรมการผแทนระดบบังคับบัญชา
๓. นาย/นางสาว กรรมการผแทนระดับบงคับxxxxx
๔. นาย/นางสาว กรรมการผู้แทนระดบปฏิบัติการ
๕. นาย/นางสาว กรรมการผู้แทนระดับปฏิบัติการ
๖. นาย/นางสาว กรรมการผแทนระดับปฏิบัติการ
๗. นาย/นางสาว กรรมการและเลขานุการ
โดยใหคณะกรรมการดังกล่าว มีหน้าที่ ดังต่อไปนี้
๑. จัดประชุมอย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้ง
๒. พิจารณานโยบายและแผนงานด้านความปลอดภัยในการทํางาน รวมทั้งความปลอดภัยนอกงานเพื่อป้องกนและลด การเกิดอุบัติเหตุการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุxxxxxxxxรําคาญอันเนื่องจากการทํางาน หรือ ความไม่ปลอดภัยในการทํางาน
๓. รายงานและเสนอแนะมาตรการหรือแนวทาง การปรับปรุงแกไขให้ถูกต้องตามกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยใน การทํางานและมาตรฐานความปลอดภัย เพี่อความปลอดภัยในการทํางานของลูกจ้าง ผู้รับเหมาและบุคคลภายนอกที่ เขามาปฏิบัติงานหรือเข้ามาใช้บริการในสถานประกอบกิจการ
๔. xxxxxxxx สนับสนุน กิจกรรมด้านความปลอดภัยในการทํางานของสถานประกอบกิจการ
๕. สํารวจการปฏิบัติการด้านความปลอดภัยในการทํางาน และตรวจสอบสถิติการประสบอันตรายที่เกิดขึ้นในสถาน ประกอบกิจการ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
๖. พิจารณาโครงการหรือแผนการฝึกอบรมเกยวกับความปลอดภัยในการทํางาน รวมถึงโครงการหรือแผนการอบรม เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ความรบผิดชอบในด้านความปลอดภัยของลูกจ้าง หัวหน้างาน ผบริหาร นายจาง และบุคลากร ทุกระดับ
๗. วางระบบการรายงานสภาพแวดลอมการทํางานxxxxxxปลอดภัยใหเป็นหนาทของลูกxxxทุกคนทกระดับต้องปฏิบัติ
๘. รายงานผลการปฏิบัติงานประจําปี รวมทั้งระบุปัญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะในการปฏิบัติหน้าที่ของ คณะกรรมการเมื่อปฏิบัติหน้าที่ครบหนึ่งปี
๙. ประเมินผลการดําเนินงานด้านความปลอดภัยในการทํางานของสถานประกอบกิจการ
๑๐. ปฏิบัติงานด้านความปลอดภยในการทํางานอื่นตามที่นายจ้างมอบหมาย
๑๑. ติดตามผลความคืบหน้าเรื่องxxxxxxเสนอบริษัทฯ ไปแล้ว
ทงนี้ให้คณะกรรมการดังกล่าว อยู่ในตําแหน่งเป็นเวลา ๒ ปี นับตั้งแต่xxxxxx ........... ถึงxxxxxx ............
สั่ง ณ xxxxxx ...................
กรรมการผู้จัดการบริษัท จํากัด
2.3 การแต่งตงเจาหนาทความปลอดภัยในการทํางานระดับต่างๆ
คําสั่งที่ .... / ....
เรอง แต่งตั้งเจ้าหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานประจํา หน่วยงานก่อสร้าง โครงการก่อสรางอาคาร......ก......... บริษัท .........ข จํากัด
ดวยกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๔๙ กําหนดให้กิจการหรือสถานประกอบกิจการที่เข้าข่ายบังคับใช้ของกฎหมาย ตองทําการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับต่าง ๆ ตามทกฎหมายกําหนด ดังนั้น เพื่อใหบริษัท ปฏิบัติสอดคล้องตามทกฎหมายระบไว้ ทางบริษัทฯ จึงแต่งตงและกําหนดหน้าทของเจ้าหน้าที่ความปลอดภยในการ ทํางานประจําหน่วยงานก่อสราง ดังนี้
๑. นาย/นางสาว เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับบริหาร
๒. นาย/นางสาว เจ้าหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานระดบบริหาร
๓. นาย/นางสาว เจาหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานระดบบริหาร
๔. นาย/นางสาว xxxxxxทความปลอดภัยในการทํางานระดับบริหาร
๕. นาย/นางสาว xxxxxxxxทความปลอดภยในการทํางานระดับหัวหน้างาน
๖. นาย/นางสาว xxxxxxxxทความปลอดภัยในการทํางานระดับหัวหน้างาน
๗. นาย/นางสาว xxxxxxxทความปลอดภัยในการทํางานระดับหัวหน้างาน
๘. นาย/นางสาว xxxxxxxxทความปลอดภัยในการทํางานระดับหัวหน้างาน
๙. นาย/นางสาว xxxxxxxทความปลอดภัยในการทํางานระดบหัวหน้างาน
๑๐. นาย/นางสาว เจาหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับวิชาชีพ
xxxxxxxxทความปลอดภยในการทํางานระดับบริหาร มีหนาที่
๑. กํากับ ดูแล เจาหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานทุกระดบซงอยู่ในบังคบxxxxxของเจาหน้าที่ความปลอดภัยใน การทํางานระดบบริหาร
๒. เสนอแผนงานโครงการดานความปลอดภัยในการทํางานในหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อบริษัทฯ
๓. xxxxxxxx สนับสนุน และติตามการดําเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภยในการทํางานให้เป็นไปตามแผนงานโครงการ เพื่อให้มีการจดการดานความปลอดภัยในการทํางานที่เหมาะสมกับบริษัทฯ
๔. กํากับ ดูแล และติดตามให้มีการแก้ไขขอบกพร่องเพื่อความปลอดภัยของนพนักงานตามxxxxxxรับรายงานหรือตาม ข้อเสนอแนะของเจาหน้าที่ความปลอดภยในการทํางาน คณะกรรมการฯหรือหน่วยงานความปลอดภัยฯ
xxxxxxxxทความปลอดภัยในการทํางานระดับหัวหนางาน มีหน้าที่
๑. กํากับ ดูแล ให้ลูกจ้างในหน่วยงานที่รับผิดชอบปฏิบัติตามข้อบงคับและคู่มือความปลอดภัยของบริษัทฯ
๒. วิเคราะห์งานในหน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อคนหาความเสี่ยงหรืออันตรายเบื้องต้น
๓. สอนวิธีการปฏิบัติงานที่ถูกตองแก่พนักงานในหน่วยงานที่รับผิดชอบเพอใหเกิดความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
๔. ตรวจสอบxxxxxxxทํางาน xxxxxจกร เครื่องมือ และอุปกรณ์ใหอยในสภาพที่ปลอดภยก่อนลงมือปฏิบัติงาน ประจําวัน
๕. กํากับ ดูแล การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลของพนักงานในหน่วยงานที่รับผิดชอบ
๖. รายงานการประสบอนตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุxxxxxxxxxรําคาญอันเนองจากการทํางานของพนักงาน ต่อบริษัทฯ และแจงต่อเจาหน้าที่ความปลอดภยในการทํางานระดับวิชาชีพรวมทงหน่วยงานความปลอดภยทนที่ทเกิด เหตุ
๗. ตรวจสอบสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุxxxxxxxxxรําคาญอันเนื่องมาจากการทํางาน ของพนักงานและผู้รับเหมา ร่วมกบเจ้าหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับวิชาชีพ และรายงานผล รวมทั้ง เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาต่อบริษัทฯ
๘. xxxxxxxxสนบสนุนกิจกรรมความปลอดภัยในการทํางาน
๙.ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยในการทํางานอื่นตามที่เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับบริหารxxxxxxx
xxxxxxxxทความปลอดภัยในการทํางานระดับวิชาชีพ มีหน้าที่
๑. ตรวจสอบและเสนอแนะให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางาน
๒. วิเคราะห์งานเพื่อชี้บ่งอันตราย รวมทั้งกําหนดมาตรการป้องกันหรือขนตอนการทํางานอย่างปลอดภัยเสนอต่อ บริษัทฯ
๓. ประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในการทํางาน
๔. วิเคราะห์แผนงานโครงการ รวมทงข้อเสนอแนะของหน่วยงานต่าง ๆ และเสนอมาตรการความปลอดภัยในการ ทํางานต่อบริษัทฯ
๕.ตรวจประเมินการปฏิบัติงานของบริษัทฯ ใหเป็นไปตามแผนงานโครงการหรือมาตรการความปลอดภยในการทํางาน
๖. แนะนําให้ลูกจ้างปฏิบัติตามข้อบังคับและคู่มือความปลอดภัยของบริษัทฯ
๗. แนะนํา ฝึกสอน อบรมลูกจ้างเพื่อให้การปฏิบัติงาน ปลอดจากเหตุอันจะทําให้เกิดความไม่ปลอดภยในการทํางาน
๘. ตรวจวดและประเมินสภาพแวดล้อมในการทํางาน หรือดําเนินการร่วมกับบุคคลหรือหน่วยงานที่ขึ้นทะเบียนกบั กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเป็นผู้รับรองหรือตรวจสอบเอกสารหลกฐานรายงานในการตรวจสอบ สภาพแวดล้อมในการทํางานในสถานประกอบกิจการ
๙. เสนอแนะต่อบริษัทฯ เพื่อให้มีการจดการด้านความปลอดภัยในการทํางานที่เหมาะสมและพฒนาให้มีประสิทธิภาพ อย่างต่อเนื่อง
๑๐.ตรวจสอบหาสาเหตุ และวิเคราะห์การประสบอันตราย การป่วย หรือการเกิดเหตุxxxxxxxxรําคาญอนเนื่องจาก การทํางาน และรายงานผล รวมทั้งเสนอแนะต่อบริษัทฯ เพื่อป้องกันการเกิดเหตุ
๑๑. รวบรวมสถิติ วิเคราะห์ข้อมูล จัดทํารายงาน และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือ การเกิดเหตุxxxxxxxxรําคาญอนเนื่องจาการทํางาน
๑๒. ปฏิบัติงานด้านความปลอดภยในการทํางานอนตามทบริษัทฯ มอบหมาย ทั้งนี้ให้มีผลตั้งแต่xxxxxx เป็นต้นไป
สั่ง ณ xxxxxx ............
( )
กรรมการผู้จัดการบริษัท จํากัด
2.4 การกําหนดหนาทผ
ู้รบผิดชอบ
ประกาศ คําสั่งที่ .... /.....
เรื่อง กําหนดหน้าที่รับผิดชอบผู้มีหน้าที่เกี่ยวกบความปลอดภัยในการทํางาน ของหน่วยงานก่อสร้าง....ก...... โดยบริษัท ....ข จํากัด
.......................................................................
เพอใหพนักงานทุกระดับไดเข้าใจขอบข่ายหน้าที่รับผิดชอบด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอมในการทํางาน ตามที่กําหนดไว้ในนโยบายดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทํางาน ของบริษัท นครหลวงก่อสร้าง จํากัด จึงประกาศกําหนดหน้าที่รับผิดชอบ ไว้ดังนี้
๑. เจาหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานระดบบริหาร ให้ปฏิบัติหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนด
๒. เจ้าหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับหวหนางานให้ปฏิบัติหนาทตามที่กฎหมายกําหนด
๓. เจาหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานระดบวิชาชีพ ให้ปฏิบัติหนาทตามที่กฎหมายกําหนด
๔. ผควบคุมงาน มีหน้าที่ตรวจความปลอดภัยในการทํางานก่อนการทํางานและขณะทํางานทุกขั้นตอน เพอใหเกิดความปลอดภัย
๕. ลูกจ้าง และลูกจ้างผู้รับเหมาทุกคน ใหปฏิบัติหน้าที่ ดังนี้
(๑) ทํางานด้วยความมีจิตสํานึกและตระหนกถึงความปลอดภัยในการทํางานเสมอ
(๒) ปฏิบัติตามกฎxxxxxxxอย่างเคร่งครัด
(๓) ปฏิบัติงานภายใต้การควบคุมของหัวหน้างาน จึงประกาศให้ทราบและถือปฏิบัติ
ทงนี้ ตั้งแต่xxxxxx เป็นต้นไป
ลงชื่อ ............................................
( )
กรรมการผู้จัดการ
3. โครงสรางของแผนความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง
แผนความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้างครั้งนี้ แบ่งxxxxxxxย่อยจํานวน ๕ แผน ดังน
พยาบาล.
อบรมปฐม
เครื่องมือ เครื่องจกร อุปกรณ์
อบรมดับเพลิง
วิธีการทํางาน
5 ส.
บุคคล
อบรมเฉพาะงาน
แผนฉุกเฉินกรณี อุบัติเหตุ
Morning Talk
อบรมลูกxxx ใหม่
พxxxxดําเนินการ
แผนการตรวจสอบวิเคราะห์ และรายงานอุบัติเหตุที่ เกิดขึ้น
แผนฉุกเฉินกรณีเกิด อุบัติเหตุในการ ทํางาน
แผนxxxxxxxxxxxxxx ความปลดภยในการ ทํางาน
แผนฝึกอบรมให้ ความรู้
แผนควบคุมดูแลความปลอดภัยใน การทํางาน
แผนงานด้านความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง
หมายเหตุ รายละเอียดของแต่ละแผนงานดู หัวข้อ 4 - 8
4. แผนควบคุมดูแลความปลอดภัยในการทํางาน
แผนควบคุมดูแลความปลอดภัยในการทํางาน ประกอบด้วย
o การขออนุญาตเข้าพื้นที่เขตก่อสร้างของหน่วยงานก่อสร้าง และการตรวจสอบความปลอดภยในการ เข้า-ออกพื้นที่เขตก่อสร้าง/เขตอันตราย
o กฎความปลอดภัยทั่วไป
o กฎความปลอดภัยในการทํางาน
o กฎความปลอดภยเครื่องมือ/xxxxxxxxxxx
แผนการควบคุมดูแลความปลอดภัยพนทก่อสร้าง
แผนการควบคุมดูแลความปลอดภัยพนทเขตก่อสราง
การขออนุญาตเข้าพxxxxเขตก่อสรางของหน่วยงานก่อสรางและการตรวจสอบความปลอดภัยในการเข้า-ออก พื้นที่เขตก่อสร้าง/เขตอันตราย
วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมดูแล และตรวจสอบเบื้องต้นสําหรับผู้ที่เข้าออกหน่วยงาน ให้ปฏิบัติให้เป็นไปตามการ ควบคุมดูแลความปลอดภัยเขต/พื้นที่การทํางานก่อสร้างโดยทุกคนต้องปฏิบัติตามกฎความปลอดภัยทั่วไปของ หน่วยงานก่อสร้างกําหนด
ผู้ที่ต้องปฏิบัติตามกฎ : ทุกคน ผู้ควบคุม/ ตรวจสอบ : รปภ. ผู้อนุญาต : จป.วิชาชีพ
เครื่องมือในการควบคุมดูแล : แบบแจ้งการเข้าพื้นที่เขตก่อสร้างของหน่วยงานก่อสร้าง
แนวปฏิบัติสําหรับควบคุม/ตรวจสอบการเข้า-ออก
๑.๑ พนักงานหรือลูกxxx ต้องปฏิบัติ ดงนี้
- ต้องแสดงบัตรทุกครั้ง
- xxxxxxxxxxxสุภาพ/ไม่สวมรองเท้าแตะ
- ต้องไม่มีอาการมึนเมาสุรา
๑.๒ ผู้รับเหมา หรือผมาติดต่อ ต้องปฏิบัติ ดังนี้
- ต้องแจ้งเพื่อขออนุญาตเข้าทํางานต่อ จป.วิชาชีพ
- ต้องแลก และติดบัตรผู้รับเหมา
- xxxxxxxxxxxสุภาพ/ไม่สวมรองเทาแตะ
- ต้องไม่มีอาการมึนเมาสุรา
๑.๓ รปภ. มีหน้าที่ต้องควบคุมและตรวจสอบ ดังนี้
- ต้องจดบันทึกชื่อผู้มาติดต่อ
- xxxxxxไปยังผู้xxxxxxxมาติดต่อ
- แลกบัตรผมาติดต่อ
- อนุญาตเฉพาะผู้ที่แต่งxxxสุภาพ/ไม่สวมรองเท้าแตะ
- ไม่อนุญาตให้บุคคลอาการมึนเมาสุราเข้าพื้นที่ หรือเขตก่อสร้าง
หมายเหตุ: จดบันทึกหมายเลขทะเบียนรถ วัน/เวลา/ ที่เข้าออกพื้นที่ก่อสร้างทุกคัน
กฎความปลอดภัยทั่วไป
แผนการควบคุมดูแลความปลอดภัยพนทเขตก่อสราง กฎความปลอดภัยทวไป
วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมดูแล ลูกจ้างและบุคคลในหน่วยงานก่อสร้าง ใหปฏิบัติตามกฎความปลอดภัยทั่วไป ของหน่วยงานก่อสร้างกําหนด
ผู้ที่ตองปฏิบัติตามกฎ : ทุกคน
ผู้ควบคุม/ ตรวจสอบ : หัวหนางาน / ผู้ควบคุมงาน
ผู้อนุญาต : จป.วิชาชีพ
เครื่องมือในการควบคุมดูแล : แบบฟอร์มการตรวจสอบ
แนวปฏิบัติ
1 ก่อนทําการก่อสร้างได้มีการอบรมผปฏิบัติงานก่อสร้างก่อนทุกครั้ง เพื่อเป็นการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ
2 ให้คนงานทุกคนทเข้าไปในบริเวณที่ก่อสร้างแต่งxxxให้xxxxxx และสวมหมวกนิรภัยทุกครั้ง
3 จัดทํารวที่มีความสูงประมาณ 2.40 เมตร เป็นการแสดงขอบเขตของพื้นที่ก่อสร้างป้องกันบุคคลภายนอกเข้า
มาในบริเวณ และเพื่อป้องกันเศษวสดุหล่นใส่ผู้ทสัญจรไปมา
4 ติดป้าย “ปลอดภัยไว้ก่อน” ไว้รอบบริเวณที่ก่อสร้าง
5 จัดตงหน่วยงานปฐมพยาบาลขึ้นในบริเวณที่ก่อสร้าง
6 ส่งพนักงานของบริษัทเข้ารับการอบรมการปฐมพยาบาลจากหน่วยงานของรัฐ
7 ส่งตัวแทนของบริษัทไปอบรมการดบเพลิงจากกรมตํารวจ
8 จัดตั้งเจาหน้าที่รักษาความปลอดภัย
9 จัดทําป้ายเตือน ป้ายห้าม และกฎxxxxxxxข้อบงคับ
10 ทําประกันสังคม และทํากองทุนxxxxxกับคนงาน
11 ให้ผควบคุมงานก่อสราง เป็นผู้xxxxxxxดูแลใหคนงานสวมใสเครื่องป้องกันอนตรายและบังคับให้ปฏิบัติตาม กฎxxxxxxxของบริษัท
12 ติดตั้งระบบแสงสว่างโดยติดตั้งสปอร์ตไลท์ และติดตงไว้ที่แขนของxxxxxxxxหอสูง
13 ติดตั้งป้าย “ระวงไฟฟ้าดูด” ไวในพื้นทที่มีความเสี่ยงตอการร่ ั่วไหลของกระแสไฟฟ้า
14 การเก็บรกษาวัสดุทไวไฟ โดยได้ทําโครงเหล็กครอบไว้เพื่อป้องกันการกระแทก และxxxxxxxในที่ร่มไม่ม แสงแดด
15 ติดตั้งกล้องวงจรปิด ip camera จํานวน 2 ตัว พร้อมระบบบันทึกข้อมูล
กฎความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
16 ห้ามนําสุราเข้ามาดื่มหรือจําหน่ายในหน่วยงานก่อสร้าง และห้ามxxxxการพนันในหน่วยงาน หมายเหตุ:
แผนการควบคุมดูแลความปลอดภัยพนทเขตก่อสราง กฎความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมดูแล ลูกจ้างและบุคคลในหน่วยงานก่อสร้าง ใหปฏิบัติตามกฎความปลอดภัยทวไป ของหน่วยงานก่อสร้างกําหนด
ผู้ที่ต้องปฏิบัติตามกฎ : ทุกคน
ผู้ควบคุม/ ตรวจสอบ : หัวหน้างาน / ผู้ควบคุมงาน
ผู้อนุญาต : จป.วิชาชีพ
เครื่องมือในการควบคุมดูแล : แบบฟอร์มการตรวจสอบ
แนวปฏิบัติ
1 สวมหมวกนิรภัย และรองเทาททนทานตลอดเวลาที่อยู่ในเขตการก่อสราง
2 พนักงานทุกคนจะต้องติดป้ายชื่อตลอดเวลาที่อยในเขตการก่อสร้าง
3 จะตองมีการบํารุงรกษาแผงไฟฟ้า-เครื่องมือ อุปกรณ์ทุกชนิดใช้งานด้วยความระมัดระวังและรับผิดชอบ รวมxxxxxxไม่ใช้อุปกรณ์ทุกชนิดเกินขีดจํากัดในสิ่งต่อไปนี้
3.1 ปลั๊กตัวนําและแผงต่อควบคุมไฟฟ้าจะต้องควบคุมโดยช่างไฟฟ้า
3.2 บริษัทจะควบคุมและดูแลรักษาแผงไฟฟ้าซึ่งใช้ในหน่วยงานเท่านนั
3.3 อุปกรณ์และสายที่จะนํามาต่อทงหมดจะต้องมีปลั๊กนําอย่างดี ห้ามต่อกันด้วยสายต่อพ่วง
4 ตัวนําจะต้องอยู่ห่างจากพื้นดินในทxxxxxxอยได้และปราศจากน้ําตลอดเวลา
5 ช่องเจาะทั้งหมดจะต้องป้องกันด้วยไม้อัดและราวกันตก อีกxxxxxxxxxxxxxเคลื่อนย้ายได้โดยรอบ และมี เครื่องหมาย “ห้ามเข้า” ติดอยู่ที่ราวกันตก
6 ราวกนตกจะติดตั้งรอบที่ขอบของพื้นที่ ซึ่งมีพนทอยู่เหนือหรือตากว่าตั้งแต่ 1 ชั้น
7 วัสดุทงหมดจะต้องมีการกองเก็บรัด ส่งxxxxxหน่วยงานด้วยความเรียบร้อยและปลอดภัย
8 ไม่อนุญาตให้นําแอลกอฮอล์และยาเสพติดเข้ามาในสถานที่ก่อสร้างโดยเด็ดขาด
9 คนงานจะต้องใช้สายรัดนิรภัยเมื่อทํางานในxxxxxxไม่มีนั่งร้านเพื่อเป็นการร่วงหล่น
10 หากมีอาการมึนเมาสุรา ห้ามลงปฏิบัติงาน หมายเหตุ:
กฎความปลอดภัยในการใชxxxxxมือ xxxxxจกร อุปกรณ์ (เครน)
แผนการควบคุมดูแลความปลอดภัยพนทเขตก่อสราง กฎความปลอดภยในการใชxxxxxมือ xxxxxxxxx อุปกรณ์ (เครน)
วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมดูแล ลูกจ้างและบุคคลในหน่วยงานก่อสร้าง ใหปฏิบัติตามกฎความปลอดภัยในการใช้เครื่องมือ xxxxxจกร อุปกรณ์ ของหน่วยงานก่อสร้างกําหนด
ผู้ที่ตองปฏิบัติตามกฎ : พนักงานขบรถเครน และพนักงานบอกสัญญาณเครน
ผู้ควบคุม/ ตรวจสอบ : หัวหน้างาน / ผู้ควบคุมงาน
ผู้อนุญาต : จป.วิชาชีพ
เครื่องมือในการควบคุมดูแล : แบบฟอร์มการตรวจสอบ
แนวปฏิบัติ xxxxxxxปฏิบัติสําหรับพนักงานขับรถเครน และพนักงานบอกสัญญาณเครน
1 ในการปฏิบัติงานทุกครั้งจะต้องสวมหมวกนิรภัยที่บริษัทจดหาให้
2 พนักงานขับรถเครน และพนักงานบอกสัญญาณเครน จะต้องพร้อมเสมอ
3 พนกงานบอกสญญาณขับรถเครนจะต้องอยู่ใกล้ชิดกับวัสดุหรืออุปกรณ์ที่จะยกและจะต้องอยู่ในเขตพื้นที่จะขนยายวัสดุด้วย ความระมัดระวังปลอดภัยที่สุด
4 ขอให้พนักงานบอกสัญญาณรถเครนทุกคนใช้วิทยุสื่อสารของบริษัท ห้ามมิให้ผู้อื่นxxxxxxxxเกี่ยวของใช้วิทยุสอสารแทนตัวท่าน เป็นอันขาด
5 ทั้งพนักงานขับรถเครนและพนักงานบอกสัญญาณรถเครน จะตองใช้ดุลพินิจอย่างรอบคอบและปลอดภยที่สุดในการทจะขน ย้ายวัสดุและอุปกรณ์เครื่องมือ ทุกอย่างและจะต้องได้รับความเห็นชอบจากเจ้าหน้าที่ผควบคุมงานที่เกี่ยวข้องดวย
6 หากพนกงานขับเครน หรือ พนักงานบอกสัญญาณเครนพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่มีความปลอดภัยหรือเกิดอันตรายใด ๆ ในการ ยกวัสดุอุปกรณ์แล้ว พนกงานขับเครนหรือพนังงานบอกสญญาณเครนทกท่านมีxxxxxเด็ดขาดในการที่จะไม่ทําการนั้นโดยชอบไม่ ว่าการxxxxxxxนั้นจะมาจากผู้ใดก็ตาม
7 ใหพนักงานขับรถเครนและพนักงานบอกสัญญาณรถเครน ดูแลบําxxxxxxxxเครื่องมืออุปกรณ์ทุกประเภทที่เกี่ยวข้องกับเครน
8 ทุกxxxxxxมีการขนย้ายวัสดุอุปกรณ์โดยทางกระเช้า พนกงานบอกสัญญาณเครนจะต้องขึ้นไปกํากับดูแลด้วยตนเองบนกระเช้า ทุกครั้ง
9 ห้ามมิให้บุคคลอนบุคคลใดxxxxxxxxเกี่ยวของกับเครนขึ้นไปxxxxบนเครนโดยเด็ดขาด
10 พนักงานขับเครน และพนักงานบอกสัญญาณเครนถ้าจะลาป่วย หรือxxxxxxxต้องแจ้งใหพนักงานxxxxxxทราบล่วงหน้า 1
xxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxx
11 ห้ามพนักงานขับเครนและพนักงานบอกสัญญาณเครนหยุดงานไม่เกิน 3 วัน ยกเว้นลาป่วย ซึ่งจะตองได้รับความเห็นชอบ อนุมัติจากพนักงานควบคุมดูแล
12 ห้ามพนักงานทุกท่านดื่มสุรา xxxxการพนัน ในขณะปฏิบัติงานโดยเด็ดขาด หมายเหตุ:
กฎความปลอดภัยในการใชxxxxxมือ xxxxxxxxx อุปกรณ์ (ลิฟต์)
แผนการควบคุมดูแลความปลอดภัยพนทเขตก่อสราง กฎความปลอดภัยในการใชxxxxxมือ xxxxxxxxx อุปกรณ์ (ลิฟต์)
วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมดูแล ลูกxxxและบคคลในหน่วยงานก่อสร้าง ให้ปฏิบัติตามกฎความปลอดภัยในการ ใช้เครื่องมือ xxxxxxxxx อุปกรณ์ ของหน่วยงานก่อสร้างกําหนด
ผู้ที่ต้องปฏิบัติตามกฎ : พนักงานขบลิฟต์ ผู้ควบคุม/ ตรวจสอบ : หัวหน้างาน / ผควบคุมงาน ผู้อนุญาต : จป.วิชาชีพ
เครื่องมือในการควบคุมดูแล : แบบฟอร์มการตรวจสอบ
แนวปฏิบัติ xxxxxxxปฏิบัติสําหรับพนักงานขับลิฟต์
1 ตรวจดูความเรียบร้อย ความสะอาจทุกxxxก่อนใช้ลิฟต์ และหลังใช้ลิฟต์ โดยเฉพาะพื้นทางเข้าลิฟต์
2 ทุกxxxxxxเลิกใช้ลิฟต์จะต้องปิดสวิตช์ทุกครั้ง พร้อมล็อกกุญแจประตูทางเขาลิฟต์ทุกชนโดยเฉพาะชั้นที่ 1
3 พนกงานขับลิฟต์ จะมี 2 ผลัด ๆ ละ 2 คน โดยคนที่หนงจะเป็นพนักงานขบลิฟต์ควบคุมคอนโทรลลิฟต์ขึ้น- ลง อีกหนึ่งคนจะเป็นพนักงานเปิด-ปิดประตูทางเข้าลิฟต์
4 ประตูทางเข้าลิฟต์จะต้องปิดล็อกกุญแจทุกครั้งเมอผู้โดยสารผ่านเข้าไป
5 ลิฟต์จะจอดรออยู่ชั้นที่หนึ่ง และชนสูงสุดประมาณ 2 นาที จากนั้นลิฟต์จะเลอนขนลงโดยคนขับลิฟต์จะต้องดู ประตูทางเข้าออกของแต่ละชั้นว่ามีคนที่ใช้ลิฟต์หรือไม่ และลิฟต์จะไม่จอดอยู่กับxxxxxx x จะเลื่อนขึ้นลง ตลอดเวลา
6 ในกรณีที่พนกงานขับลิฟต์หรือพนกงานเปิด-ปิดประตูลิฟต์มีความจําเป็นทจะต้องทําธุระส่วนตัวในห้องน้ํา ให้ ผลัดเปลี่ยนกันปฏิบัติหน้าที่ ซงจะตองมีพนักงานลิฟต์อยู่ปฏิบัติหน้าที่ตลอดเวลา ห้ามมิให้ผู้ที่ไม่มีหน้าที่ปฏิบัติ หน้าที่แทน
7 จะตองตรวจดูความเรียบร้อยโดยรอบ ๆ ห้องโดยสารลิฟต์ว่าไม่มีวัสดุอุปกรณ์ที่จะบรรทุกขึ้น หรือลงxxxxxxx ออกนอกตาข่ายห้องโดยสารขึ้นหรือลงทุกครั้ง
8 ห้ามทุกคนออกจากนอกหองโดยสารลิฟต์ขณะที่ลิฟต์กําลังทํางานอยู่ หมายเหตุ:
กฎความปลอดภัยในการใชxxxxxมือ xxxxxจกร อุปกรณ์ (นั่งราน)
แผนการควบคุมดูแลความปลอดภัยพนทเขตก่อสราง กฎความปลอดภัยในการใชxxxxxมือ xxxxxจกร อุปกรณ์ (นั่งราน)
วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมดูแล ลูกxxxและบคคลในหน่วยงานก่อสร้าง ให้ปฏิบัติตามกฎความปลอดภัยในการ ใช้xxxxxมือ xxxxxxxxxxx อุปกรณ์ ของหน่วยงานก่อสร้างกําหนด
ผู้ที่ต้องปฏิบัติตามกฎ : พนักงานที่ออกแบบและสรางนงราน และพนักงานที่ต้องปฏิบัติงานบนนงร้าน
ผู้ควบคุม/ ตรวจสอบ : หัวหน้างาน / ผควบคุมงาน
ผอนุญาต : จป.วิชาชีพ
xxxxxมือในการควบคุมดูแล : แบบฟอร์มการตรวจสอบ
แนวปฏิบัติ xxxxxxxปฏิบัติสําหรบพนกงานที่ต้องปฏิบัติงานบนนงร้าน
1. การออกแบบนงร้านต้องเผื่อรบน้ําหนักไว้สูงสุดไมเกิน 4 เท่า xxxxxหนักทจะใช้งานจริง
2. วัสดุที่ใช้ทํานั่งร้าน ต้องใช้วสดุอุปกรณ์ชนิดเดียวกันและไม่ควรใชแบบผสมผสานกัน
3. นั่งร้านที่สูงกว่า 2 เมตร จะต้องมีราวกันตก
4. นั่งรานทสร้างด้วยไมจะต้องใชxxxxxxไม่ผุ เปื่อย และไม่มีรอยราวหรือ ชํารุดอื่นๆ ที่จะทําให้ขาดความแข็งแรง ทนทาน
5. นั่งร้านที่เป็นโลหะ ต้องมีจุดคราก (Yield Point) ไม่น้อยกว่า 2,400 กก./ ตาราง ซม. และxxxxxxรับน้ําหนัก บรรทุกxxxxxxน้อยกว่าสองเท่าของน้ําหนักของการใช้งาน
6. โครงนงร้านต้องมีการยึดโยง ค้ํายัน หรือตรึงกับพื้นดิน หรือส่วนของงานก่อสร้างเพอป้องกันมิให้เซหรือล้ม
7. ราวกันตก ตองมีความสูงไม่น้อยกว่า 90 ซม. และไม่เกิน 1.10 เมตร จากพนนงร้านตลอดแนวยาวxxxxxxxของ นั่งร้าน ยกเว้นเฉพาะช่วงที่จําเป็นเพอขนถ่ายสิ่งของ และนั่งรานxxxxxxxxเดี่ยว
8. ตองจดให้มีบันไดภายในของนั่งร้านและมีความลาดเอียงไม่เกิน 45 องศา ยกเว้นนั่งรานเสาเดี่ยว
9. ตองออกแบบเผื่อไวให้นั่งร้านxxxxxxรบน้ําหนักผ้าใบสังกะสี ไมแผ่น หรือวัสดุอื่นทคล้ายกัน นอกจากนี้จะตองมี การบํารุงดูแลรักษาxxxxxxxใชงานของนั่งร้านอย่างสมาเสมอ หากมีxxxx แผ่นดินไหว หรือเหตุที่ทําให้นั่งร้าน เสียxxxxxต้องทําการซ่อมหรือปรบปรุงแล้วให้มีสภาพที่ปลอดภัยและพร้อมใช้งาน
10. พนกงานทุกคนจะต้องสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภยส่วนบุคคลดวยทุกxxxxxxปฏิบัติงาน
11. ตองไม่ปฏิบัติงานบนนั่งรานขณะมีลมแรง หรือxxxx หรือขณะมีฝนตก
12. ผู้ปฏิบัติงานบนนงร้านต้องไม่มีดรคประจําตัว xxxx ลมบ้าหมู ความดัน ฯลฯ
หมายเหตุ:
5. แผนการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทํางาน
แผนการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง ประกอบด้วย
- การอบรมลูกจ้างใหม่
- การอบรมลูกจ้างเฉพาะงาน
- การอบรมและฝึกซ้อมดับเพลิง
- การอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
แผนฝึกอบรมให้ความรู้ดานความปลอดภัยในการทํางานแก่ลูกจ้าง
โครงการอบรมลูกจ้างใหม่
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ลูกจ้างใหม่ทุกคน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกบความปลอดภยในการทํางานขั้นพื้นฐาน นโยบาย กฎ xxxxxxx ข้อบังคับเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน และสภาพพxxxxโดยรวมในหน่วยงาน ก่อสร้าง อนตรายจากการทํางาน และการป้องกันและปฏิบัติตนให้ถูกตองและเกิดความปลอดภัยในการทํางาน กลุ่มเป้าหมาย ลูกxxxใหม่ทุกคน
งบประมาน ****
ระยะเวลาปฏิบัติ ๒ ชม.
ผู้มีหนาที่รบผิดชอบ จป.วิชาชีพ
ผลลพธ์ทคาดว่าจะได้รับ ลูกจ้างใหม่ทุกคนมีความรู้ความเข้าใจ และxxxxxxปฏิบัติตามกฎ xxxxxxxและข้อ ปฏิบัติอื่น ๆ ได้ดวยความเข้าใจ และมีความตระหนัก
วิธีการประเมินผลโครงการ โดยใช้แบบประเมิน
แนวปฏิบัติสําหรับการอบรมลูกจ้างใหม่ทุกคน
๑. พนักงาน หรือลูกจ้างใหม่ก่อนอนุญาตให้ทํางานต้องผ่านการอบรม โดยรับฟังวีดิโอ กฎ xxxxxxx ข้อบงคับ เกี่ยวกับความปลอดภยในการทํางาน และขอปฏิบัติอื่น ๆ ใช้เวลา ๔๕ นาที
๒. หลังการอบรมทุกคนต้องทําแบบทดสอบคําถามภายใน ๑๕ นาที
๓. ผู้ทผ่านเกณฑ์การประเมิน จะได้รับบัตรประจําตัวเพื่อแสดงว่าผ่านการอบรมลูกxxxใหม่แล้ว และต้องแสดง
บตรก่อนเข้าเขตก่อสร้างทุกครั้ง
๔. ผู้xxxxxxผ่านเกณฑ์ ต้องรับฟังข้อปฏิบัติ จาก จป.วิชาชีพ เพิ่มเติม ๒๐ นาที และรับบตรประจําตัวเพื่อแสดงว่า ผ่านการอบรม ลูกจ้างใหม่แลว้
หมายเหตุ
โครงการอบรมลูกxxxเฉพาะงาน
วตถุxxxxxxx เพื่อให้ลูกจ้างใหม่ทุกคน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกบความปลอดภยในการทํางานขั้นพื้นฐาน นโยบาย กฎ xxxxxxx ข้อบังคับเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน และสภาพพxxxxโดยรวมในหน่วยงาน ก่อสร้าง อันตรายจากการทํางาน และการป้องกันและปฏิบัติตนให้ถูกต้องและเกิดความปลอดภัยในการทํางาน กลุ่มเป้าหมาย ลูกจ้างที่ตองปฏิบัติงานที่มีความเสยงอันตราย
งบประมาน ****
ระยะเวลาปฏิบัติ ๒ ชม.
ผู้มีหนาที่รบผิดชอบ จป.วิชาชีพ
ผลลัพธ์ทคาดว่าจะได้รับ ลูกxxxxxxต้องปฏิบัติงานที่มีความเสี่ยงอนตรายทุกคนมีความรู้ความเข้าใจ และxxxxxx ปฏิบัติตามกฎ xxxxxxxและข้อปฏิบัติอื่น ๆ ได้ด้วยความเข้าใจ และมีความตระหนัก วิธีการประเมินผลโครงการ โดยใช้แบบประเมิน
แนวปฏิบัติสําหรับการอบรมลูกจ้างเฉพาะงาน
๑. พนักงาน หรือลูกxxxxxxตองปฏิบัติงานที่มีความเสี่ยงอันตราย ก่อนอนุญาตให้ทํางานต้องผ่านการอบรม โดย รับฟังวีดิโอ กฎ xxxxxxx ข้อบังคับเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน และข้อปฏิบัติอื่น ๆ ใช้เวลา ๔๕ นาที
๒. หลังการอบรมทุกคนต้องทําแบบทดสอบคําถามภายใน ๑๕ นาที
๓. ผู้ทผ่านเกณฑ์การประเมิน จะได้รับบัตรประจําตวเพื่อแสดงว่าผ่านการอบรมลูกxxxxxxตองปฏิบัติ้ งานที่ม
ความเสี่ยงอันตราย แล้ว และต้องแสดงบตรก่อนเขาเขตก่อสร้างทุกครั้ง
๔. ผู้xxxxxxผ่านเกณฑ์ ต้องรบฟังขอปฏิบัติ จาก จป.วิชาชีพ เพิ่มเติม ๒๐ นาที และรบบตรประจําตัวเพอแสดงว่า ผ่านการอบรม ลูกจ้างที่ต้องปฏิบัติงานที่มีความเสี่ยงอันตราย แล้ว
หมายเหตุ
โครงการอบรมและฝึกซอมดบเพลิง
วัตถุประสงค์ เพอให้ลูกจ้างทุกคน มความรู้ ความเข้าใจ เกยวกับการป้องกันอันตรายและการป้องกันความ เสียหายเนื่องจาก เพลิงไหม้
กลุ่มเป้าหมาย ลูกจ้างทุกคน งบประมาน **** ระยะเวลาปฏิบัติ ๒ ชม.
ผู้มีหนาที่รบผิดชอบ จป.วิชาชีพ
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ ลูกจ้างทุกคนมีความรความเข้าใจ และxxxxxxปฏิบัติตนได้ถูกตองเมื่อเกิดเพลิงไหม
วิธีการประเมินผลโครงการ โดยใช้แบบประเมิน
แนวปฏิบัติสําหรับการอบรมลูกจ้างใหม่ทุกคน
๑. พนกงาน หรือลูกจ้างทุกคนต้องได้รับการอบรมการดับเพลิง อย่างน้อย ๑ ครั้ง โดยรบฟังวีดิโอ กฎ xxxxxxx ข้อบังคับเกี่ยวกบการดับเพลิง ใชเวลา ๔๕ นาที
๒. หลงการอบรมทุกคนต้องทําแบบทดสอบคําถามภายใน ๑๕ นาที
๓. จป.วิชาชีพ ตองจัดให้มีการฝึกซ้อมดบเพลิง และการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเพลิงไหม้ อย่างน้อย ปีละ ๑ ครั้ง โดย
xxxxxxxxxxมีความxxxxxxxxx หรือ พนกงานของบริษัทฯ ทผ่านการอบรมจากตารวจดํ ับพลิง
๔. จป.วิชาชีพ ต้องประเมินผลการฝึกซอม และรายงานผลตามลําดับชั้นใหนายจ้าง และกรรมการตรวจการxxxx ทราบ พร้อมขอเสนอแนะ หลังการฝึกซ้อม
หมายเหตุ
โครงการอบรมการปฐมพยาบาลเบองต้น
วตถุxxxxxxx เพื่อให้ลูกxxxทุกคน มีความรู้ ความเข้าใจ เกยวกบการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ในหน่วยงาน ก่อสราง ใหxxxxxxช่วยเหลือเพอนร่วมงานได้เบองต้น เมื่อได้รับอันตรายจากการทํางาน หรือป่วยฉุกเฉิน เพื่อ ปฏิบัติตนให้ถูกต้องและเกิดความปลอดภัยในการทํางาน
กลุ่มเป้าหมาย ลูกxxxทุกคน งบประมาน **** ระยะเวลาปฏิบัติ ๑ ชม.
ผู้มีหนาที่รบผิดชอบ จป.วิชาชีพ
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ ลูกจ้างทุกคนมีความรู้ความเข้าใจ และxxxxxxปฐมพยาบาลเบื้องต้น ช่วยเหลือเพื่อน ร่วมงานได้เบื้องต้น เมอได้รับอันตรายจากการทํางาน หรือป่วยฉุกเฉิน
วิธีการประเมินผลโครงการ โดยใช้แบบประเมิน
แนวปฏิบัติสําหรบการอบรมลูกจ้างใหม่ทุกคน
๑. พนักงาน หรือลูกxxxทุกคนต้องได้รับการอบรมการปฐมพยาบาลเบองต้น อย่างน้อย ๑ ครั้ง โดยรบฟังวีดิโอ กฎ xxxxxxx ข้อบังคบเกยวกับการดับเพลิง ใชเวลา ๓๐ นาที
๒. หลังการอบรมทุกคนตองทําแบบทดสอบคําถามภายใน ๑๕ นาที
๓. จป.วิชาชีพ ตองจัดให้มีการอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้น อย่างน้อย ปีละ ๑ ครั้ง โดยxxxxxxxxxxมีความ xxxxxxxxx หรือ พนักงานของบริษัทฯ ที่ผ่านการอบรมจากเจาหนาที่ทางการแพทย์
๔. จป.วิชาชีพ ต้องประเมินผลการอบรม และรายงานผลตามลําดับชั้นให้นายจ้าง และกรรมการตรวจการxxx ทราบ พร้อมขอเสนอแนะ หลังการอบรมโดยเร็ว
หมายเหตุ
6. แผนxxxxxxxxxxxxxxความปลอดภัยในการทํางาน
แผนxxxxxxxxxxxxxxความปลอดภยในการทํางาน ประกอบด้วย
- การสนทนาความปลอดภัย (Morning Talk)
- กิจกรรมการxxxxxx ๕ ส.
กิจกรรมการxxxxxxxxxxxxxxความปลอดภัยในการทํางาน
กิจกรรมการสนทนาความปลอดภัย ( Morning Talk)
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ลูกxxxใหม่ทุกคน ได้รับทราบข้อมูลใหม่ ๆ และได้มีโอกาสสนทนาความปลอดภัย และ สภาพปัญหาต่าง ๆ รวมทั้งเห็นถึงxxxxxความห่วงใยของผู้บริหาร อีกทั้งทําให้ผบริหารได้รับฟังหรือรับทราบ ปัญหาโดยตรงจากลูกจ้างในหน่วยงาน เพื่อนําไปปรับปรุงและแก้ไข และหาแนวทางป้องกันได้
กลมเป้าหมาย ลูกxxxทุกคน
งบประมาน *****
แผนการปฏิบติงาน ทุกxxxxx xxพฤหัสบดี
ระยะเวลาปฏิบัติ ๒๐-๓๐ นาทีก่อนเริ่มการปฏิบัติงาน
ผู้มีหนาที่รบผิดชอบ ผู้บริหารโครงการ / จป.วิชาชีพ
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ ลูกจ้างทุกคนได้รับทราบ และเห็นความห่วงใยอย่างจริงใจของผู้บริหารที่มีต่อ
ผปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องทุกคน อันส่งผลใหเกิดความยอมรับและการให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามกฎ xxxxxxxและข้อบงคบต่าง ๆ อย่างจริงใจ
วิธีการประเมินผลโครงการ โดยใช้แบบประเมิน
แนวปฏิบัติสําหรับกิจกรรม ( Morning Talk)
๑. ลูกxxx และทุกคนที่เกี่ยวข้องรวมกัน ณ จุดนดหมายทกาหนด ตามวัน เวลาxxxxxแจงใหทราบ อย่างพรอมเพรียงกัน
๒. ผู้บริหาร และจป.วิชาชีพ แจงเหตุการณ์หรือสถานการณ์ความปลอดภัย และข่าวสารที่เกี่ยวข้องกล่าวแสดง เจตนารมณ์ ทแสดงให้เห็นความห่วงใยให้ความสําคัญ และความxxxxxxxxxxxxในปัญหาต่าง ๆ ต่อลูกxxxใน ระดับต่าง ๆ และรับฟังปัญหาต่าง ๆ โดยตรงจากลูกจ้างทุกระดับ
๓. ลูกxxx หรือหวหน้างานต้องมีส่วนร่วมในการแจ้งข่าว และบอกถึงเรื่องราวในงานหรือพื้นที่การทํางานเพื่อ เสนอความคิดเห็นโดยตรงต่อผู้บริหาร
หมายเหตุ
กิจกรรมการxxxxxxxxxxxxxxความปลอดภัยในการทํางาน (กิจกรรม 5 ส. )
กิจกรรม 5 ส.
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ลูกxxxทุกคน ให้มีจิตสํานกและทัศนคติxxxxxในการปฏิบัติงานตามxxxxxxxและข้อบังคับ อย่างเคร่งครัด และเก็บของใหสะอาดเรียบร้อย เป็นxxxxxxx xxxเกิดความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ กลุ่มเป้าหมาย ลูกจ้างทุกคน
งบประมาน *****
แผนการปฏิบติงาน ทุกเชาxxxxxบดี้
ระยะเวลาปฏิบัติ ๒๐-๓๐ นาทีก่อนเรมการปฏิบัติงาน
ผู้มีหนาที่รับผิดชอบ ผู้บริหารโครงการ / จป.วิชาชีพ
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ ลูกจ้างทุกคนได้รับทราบ และมีทศนคติxxxxxในการปฏิบัติงานตามxxxxxxxและ ข้อบงคบอย่างเคร่งครัด และเกบของใหสะอาดเรียบร้อย เป็นxxxxxxx xxxเกิดความเสยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ อย่างจริงใจ
วิธีการประเมินผลโครงการ โดยใช้แบบประเมิน
แนวปฏิบัติสําหรับกิจกรรม 5 ส.
๑. ลูกจ้าง และพนักงานทุกคนต้องจดวางหรือจดเก็บวัสดุก่อสร้าง xxxxxมือ และสิ่งของต่างๆในสถานที่ทํางาน อย่างเป็นระบบเพื่อความ สะดวกปลอดภัยและxxไว้ซึ่งคุณภาพประสิทธิภาพในการทํางาน
๒. ลูกจ้าง และพนกงานทุกคนต้องแยกของที่จําเป็นออกจากของxxxxxxจําเป็นและขจัดของxxxxxxจําเป็นออกไปเป็น ประจําทุกวัน
๓. ลูกxxx และพนักงานทุกคนต้องทําความสะอาด (ปัด กวาด เช็ด ถู) เครื่องมือ xxxxxxxxxxx อุปกรณ์ สถานที่ ทุกวันก่อนเลิกงาน ๒๐ นาที รวมทั้งจัดวางxxxxxมือและวสดุก่อสร้างใหเป็นหมวดหมู่ก่อนเลิกงานแต่ละวัน
๔. วิศวกรโครงการต้องจัดให้xxxxxxxxxxxxxขยะ ให้เป็นสดส่วน มิดชิด และถูกสุขอนามัย รวมทั้งจัดให้มีระบบ จัดเก็บหรือทําลายตามวงรอบที่เหมาะสม
๕.หัวหน้างาน ผควบคุมงาน และจป.วิชาชีพ ต้องหมั่นตรวจตราการกองเก็บวัสดุก่อสราง เครื่องมือ ทอาจเป็น อนตรายต่อการปฏิบัติงาน อยเป็นประจํา รวมทั้งตรวจตราให้คนงานเก็บของและทําความสะอาดหน่วยงาน ก่อสร้างให้สะอาดและเป็นxxxxxxxทุกวันก่อนเลิกงาน
๖. ผู้บริหาร วิศวกรโครงการ และจป.วิชาชีพ ตองจดอบรมลูกจ้างทุกระดับ ให้มีจิตสํานึกและทัศนคติxxxxxในการ
ปฏิบัติงานตามxxxxxxxและข้อบังคับอย่างเคร่งครัดรวมทง อบรมใหพนก้ งานรู้จักค้นคว้า และปรับปรุงสถานท
ทํางานให้สะอาด สะดวก และxxxxxสิ่งxxxxxxจําเป็น จนเป็นนิสัย หมายเหตุ
7. แผนฉุกเฉินกรณีเกิดอุบัติเหตุในการทํางาน
แผนฉุกเฉินกรณีเกิดอุบัติเหตุในการทํางาน ประกอบด้วย
- มาตรการควบคุมดูแลบุคคลในกรณีเกิดอุบัติเหตุ
- แผนการอพยพและการวางเส้นทางอพยพที่ปลอดภัย
- ขอความช่วยเหลือจาก หน่วยงานภายนอกทเกี่ยวข้อง
- มาตรการควบคุมความปลอดภัยในทุกพื้นที่
- การค้นหา ช่วยชีวิตผู้บาดเจ็บ
- การควบคุมวัสดุอันตราย
- การเคลื่อนย้ายและป้องกันxxxxxมือ xxxxxxxxxxxที่สําคัญ
- การยกเลิกแผนฉุกเฉิน และการกลับเข้าทํางานxxxx
แผนฉุกเฉินกรณีเกิดอุบัติเหตุในการทํางาน
แผนฉุกเฉินกรณีเกิดอุบัติเหตุในการทํางานก่อสร้าง
วัตถุประสงค์ เพอให้ลูกxxxและทุกคนผมีหน้าทเกยวข้อง ได้รับทราบแนวทางการปฏิบัติ กรณีมีอุบัตเหติ ุเกิดขึ้น
ในหน่วยงานก่อสร้าง โดยรับทราบวิธีการ และขนตอน รวมถึงได้รับการฝึกซอมการปฏิบัติกรณีเกิดเหตุการณ จริง
กลุ่มเป้าหมาย ลูกจ้างผู้มีหนาที่เกี่ยวข้อง
งบประมาน *****
แผนการปฏิบติงาน : ลูกxxxผู้มีหนาที่เกี่ยวข้อง
ระยะเวลาปฏิบัติ เป็นประจําทุกเดือน
ผู้มีหนาที่รับผิดชอบ ผู้บริหารโครงการ / จป.วิชาชีพ
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ ลูกจ้างผู้มีหน้าทเกี่ยวข้องตามแผนฉุกเฉิน ได้รับทราบขั้นตอน และวิธีปฏิบัติ และ xxxxxxปฏิบัติให้เป็นไปตามแผน และเป้าหมายของการฝึกอบรมตามแผนฉุกเฉิน แนวปฏิบัติสําหรับกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน
๑. ใหผ ทนxx
xxพบเห็นหรือทราบเหตุ แจ้งหัวหนางาน หรือเจ้าหน้าที่ความปลอดภยในการทํางานระดับวิชาชีพโดย
๒. จป.วิชาชีพ เป็นผใหสัญญาณเหตุฉุกเฉินซงเปxxxxเข้าใจ และแจงให้ ้ผบริหาร หรือนายจ้างทราบทันทีxxxxxxx
เพื่ออพยพลูกจ้างไปตามเส้นทางที่กําหนดหรือที่ปลอดภัย (หัวหนางาน/ผควบคุมงาน) ขอความช่วยเหลือจาก หน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวของ (จป.วิชาชีพ)
๓. วิศวกรโครงการ ดําเนินการตามมาตรการป้องกัน หรือเคลื่อนย้ายxxxxxมือ xxxxxxxxxxx
๔. หัวหนางาน หรือผู้ควบคุมงาน ดูแลลูกxxxแต่ละส่วนไปยงพื้นที่หรือจุดทปลอดภัย แลวนับจํานวนและแจ้ง ยอดจํานวนลูกจ้าง ต่อ จป.วิชาชีพทนที
๔.๑ กรณีมีจํานวนลูกxxxขาดหาย ต้องดําเนินการค้นหา
๔.๒ ค้นหาช่วยชีวิตผู้บาดเจ็บ/เสียชีวิต และปฐมพยาบาล / นําส่งโรงพยาบาล
๕. จป.วิชาชีพ วิศวกรโครงการ ผบริหาร และหน่วยงานภายนอก ต้องทํา การตรวจสอบและวิเคราะห์ สถานการณ์ ร่วมกันเพื่อให้มนใจว่าทุกอย่างคลี่คลาย
๖. ผบริหารสูงสุดของหน่วยงานแจ้งยกเลิกแผนฉุกเฉิน เพื่อสั่งให้ทุกคนกลับเขาทํางาน
๗. จป.วิชาชีพ วิศวกรโครงการ ผู้บริหาร ตองจัดให้มีการฝึกซ้อมแผนฉุกเฉิน อย่างน้อย ๖ เดือน/ครงั้
หมายเหตุ
แผนผงแสดงการดําเนินการตามแผนฉุกเฉินกรณีเกิดอุบัติเหตุ
แผนฉุกเฉินกรณีเกิดอุบัติเหตุ (ผู้รู้เห็นเหตุการณ์) | |
แจ้งเหตุฉุกเฉิน จป.วิชาชีพ | |
มาตรการควบคุมบุคคล (หัวหน้างาน/ผู้ควบคุมงาน) | |
ผู้บริหารโครงการสงการ |
ขนตอนคนหาช่วยชืวิต
มาตรการควบคุมความ ปลอดภยพxxxx
(วิศวกรโครงการ/จป.หวหนางาน)
มาตรการป้องกันดูแลxxxxxมือ xxxxxจกร
ขอความช่วยเหลือจากหน่วยงาน ภายนอก(จป.วิชาชีพ)
อพยพและวางเส้นทางอพยพ
(หัวหน้างาน/จป.หัวหน้างาน)
แจ้งยกเลิกแผนฉุกเฉิน/กลบเขาทํางาน
ตรวจสอบวิเคราะห์สถานการณ์
จป.วิชาชีพ /วิศวกรโครงการ /ผู้บริหาร/หน่วยงานภายนอก
ปฐมพยาบาล/นําส่ง รพ.
เคลอนยายxxxxxจกร xxxxxมือ (ถ้าจําเป็น)
จป.หวหนางาน/ผควบคุมงาน
หมายเหตุ โรงพยาบาลที่ใกลหน่วยงานก่อสรางที่สุดคือ.............................................. เบอร์โทรฉุกเฉิน................
8. แผนการตรวจสอบ วิเคราะห์ และรายงานอุบัติเหตุในการทํางาน
กรณีเกิดอุบัติเหตุขึ้นในหน่วยงานก่อสร้าง ไม่ว่าอุบัติเหตุนั้นจะทําให้ลูกxxxเสียชีวิต หรือได้รับบาดเจ็บ เกิด
ความเสียหายหรือไม่ก็ตามผทจะเข้าไปตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุตองเป็นผู้xxxxxxรับมอบหมายมีหนาที่รับผิดชอบเท่านั้น
ในเบื้องต้นต้องทําการตรวจสอบความเสียหายและตรวจสอบความปลอดภยของพื้นที่ที่เกิดเหตุเพอประเมิน สถานการณ์ก่อนเข้าไปสู่กระบวนการการสอบสวนเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลรายละเอียด โดยทําการสอบสวนหาข้อเท็จจริง และวิเคราะห์หาสาเหตุของอุบัติเหตุ โดยผู้ที่มีหน้าทในการสอบสวนตองเป็นผู้ที่มีหน้าที่ xxxx หัวหน้างาน ผู้ควบคุม งาน หรือเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานร่วมกบวิศวกร หรือร่วมกบผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านจากหน่วยงาน ภายในหรือหน่วยงานภายนอกแล้วแต่กรณี เพอรวบรวมขอมูลการเกิดอุบัติเหตุ มากําหนดมาตรการหรือแนวทาง การป้องกัน หรือแก้ไขไม่ให้เกิดขึ้นซ้ําอีก
ภายหลังจากที่มีการตรวจสอบเหตุการณ์ของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นแล้ว สิ่งที่ต้องดําเนินการต่อมาคือการนําผล ของการตรวจสอบ ณ สถานที่เกิดอุบัติเหตุ ที่มีการสอบสวน หรือการคนหาทางเทคนิควิธีการเพื่อหาสาเหตุโดยนําผล xxxxxxทําการวิเคราะห์หาสาเหตุของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น ซึ่งมีวตถุxxxxxxxเพื่อนําขอมูลxxxxxxมาวางแนวทางหรือวิธี ป้องกันไม่ให้เหตุการณ์นนเกิดขึ้นซ้ําอีกในหน่วยงานก่อสร้าง
การรายงานอุบัติเหตุ เป็นหน้าที่ของหัวหนางานผู้ควบคุมงานหรือเจาหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางาน โดยตรง โดยตองรายงานตรงถึงนายจ้าง และให้รายงานให้กรรมการตรวจการxxxxทราบโดยทันที โดยใช้ช่องทางการ รายงาน xxxx ทางโทรศัพท์ ทางสื่ออิเล็คทรอนิคส์ เป็นต้น เพื่อให้xxxxxxตัดสินใจแก้ปัญหาเร่งด่วน ทันต่อ สถานการณ์ และภายหลังจากเกิดอุบัติเหตุแล้ว ใหตรวจสอบ วิเคราะห์สาเหตุ แลวรายงานตามแบบฟอร์มการบันทึก อุบัติเหตุ ต่อไป
แบบการรายงานอุบัติเหตุ
วนทรายงาน.................เดือน..............................พ.ศ. ........
เรียน..................................................................
ชื่อ-นามสกุล ผู้ประสบอุบัติเหตุ......................................................วนที่ประสบอุบัติเหตุ..............................เวลา..............
ตําแหน่ง...................................................เพศ...............อายุ...............สถานทประสบอุบัติเหตุ.............................................
หน่วยงาน.............................................................................ผเห็นเหตุการณ์.......................................................................
ผลxxxxxxรบจากอุบัติเหตุ : มีผู้บาดเจ็บ ไม่มีผบาดเจ็บ สูญเสียอวัยวะ เสียชีวิต มีทรัพย์สินเสียหาย ไม่มีทรัพย์สินเสียหาย
อุบัติเหตุเกิดขึ้นไดอย่างไร (แจ้งเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นให้ชดxxxโดย บอกถึงสิ่งที่ทําให้เกิดอุบัติเหตุ สิ่งที่ทําใหบาดเจ็บ และ ส่วนของร่างกายxxxxxxรบบาดเจ็บ) ........................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
สาเหตุสําคัญของการเกิดอุบัติเหตุ
ก. การกระทําxxxxxxปลอดภัยของผู้ประสบอุบัติเหตุ คือ :
.......... ๑. ปฏิบัติงานโดยไม่มีหน้าที่ ๘. ใช้เครื่องมืออุปกรณ์ที่กําหนดให้
.......... ๒. ไม่ให้สัญญาณหรือให้สัญญาณผิด ๙. เก็บ บรรจุ ผสมอย่างไม่ปลอดภัย
.......... ๓. ปฏิบัติงานดวยความรวดเร็วทไม่ปลอดภัย ๑๐. เก็บ บรรจุ ผสมอย่างไม่ปลอดภัย
.......... ๔. ดดแปลงแกไขอุปกรณ์ความปลอดภัย ๑๑. ปรับ ทําความสะอาด หล่อลื่นxxxxxxxxxxxเคลอนไหว
หรือ กระแสไฟฟ้า ความดันหรือมีสารเคมี
.......... ๑๒. ปฏิบัติงานผิดขั้นตอนหรือทํางานผิดวิธี
.......... ๕. ใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ชํารุด ๑๓. หยอกลอหรือxxxxขณะปฏิบัติงานไม่ถูกต้อง
.......... ๖. ใช้อุปกรณ์หรือวสดุอย่างไม่ปลอดภัยหรือ ๑๔. อื่นๆ
.......... ๗. ไม่ใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
ข. สภาพการณ์xxxxxxปลอดภัย อันเป็นเหตุใหเกิดอุบัติเหตุ คือ :
.......... ๑. อุปกรณ์ xxxxxจกร เครื่องมือชํารุด ๔. ขาดเครื่องกําบัง หรือเครื่องกําบังไม่เหมาะสม
.......... ๒. สภาพสิ่งแวดล้อมไม่ปลอดภัย xxxx xxxxxxxx ๕. เกิดจากสภาพภายนอกที่ควบคุมxxxxxx
.......... ๓. จัดเก็บวสxxxxxเรียบร้อย ๖. อนๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางป้องกัน...............................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………….
ลงชื่อ......................................................
( )
หัวหน้างาน / ผู้xxxxxx/จป.วิชาชีพ
9. การตรวจสอบและการติดตามการปฏิบัติตามแผนความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง
การตรวจสอบและการติดตามการปฏิบัติตามแผนความปลอดภยในการทํางานก่อสร้าง รายxxxxxxxxxx ติดตามตรวจสอบและวงรอบการตรวจสอบ ตามตัวอย่างตารางที่แนบ และในผนวก ข.
10. การรายงานผลการปฎิบัติตามแผนความปลอดภัยในการทํางานก่อสราง
การรายงานผลการปฎิบัติตามแผนความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง จะทําการรายงานผลการปฏิบัติตาม แผนทุกเดือน โดยรายงานผลของเดือนก่อนไม่เกินวนที่ 10 ของทุกเดือน เริ่มตั้งแต่ เป็นต้นไปจนงานแล้ว
เสร็จ ตามแบบฟอร์มในผนวก ค.
ผนวก ก. กฎหมายและข้อกําหนดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ผนวก ก.
กฎหมายและขอกําหนดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
๑. พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๕๔
๒. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน (xxxxxx ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓
๓. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกับxxxxxxxxxxx xxxxxxxx และหมอน้ํา พ.ศ. ๒๕๕๒
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กําหนดรูปภาพการใช้สัญญาณมือในการ สื่อสารระหว่างผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับxxxxxxxx พ.ศ. ๒๕๕๓
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรอง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมหลักสูตรการ
ปฏิบัติหน้าที่ผู้บงคับปนจั่นผให้สัญญาณแก่ผู้บังคับxxxxxxxx ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้xxxxxxxxและการอบรม ทบทวนการทํางานเกี่ยวกับxxxxxxxx พ.ศ. ๒๕๕๔
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรอง หลักเกณฑ์และวิธีการทดสอบส่วนประกอบ และอุปกรณ์ของปนจั่น
๔. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกับงานก่อสร้าง พ.ศ. ๒๕๕๑
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดทําแผนงานด้านความ ปลอดภัยในการทํางานสําหรับงานก่อสร้าง พ.ศ. ๒๕๕๒
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการทํางาน เกี่ยวกับเครื่องตอกเสาเข็มระบบไอน้ํา ระบบลม ระบบไฮดรอลิค ระบบxxxxxยนต์xxxไหม้ภายใน ระบบดีเซลแฮม เมอร์หรือระบบอื่น พ.ศ. ๒๕๕๒
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลกเกณฑ์ และวิธีการก่อสร้างอุโมงค์และ การทํางานในอุโมงค์ พ.ศ. ๒๕๕๓
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรอง หลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอส่วนประกอบ และอุปกรณ์ของลิฟต์ขนส่งวัสดุชั่วคราว ลิฟต์โดยสารชวคราว และลิฟต์ที่ใช้ทั้งขนส่งวัสดุและโดยสารชั่วคราว พ.ศ.
๒๕๕๓
• ประกาศกรมสวัสดิการและคมครองแรงงานเรื่อง หลกเกณฑ์และวิธีการ การใช้เชือก ลวดสลิง และรอก พ.ศ. ๒๕๕๓
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเรื่อง ชนิดและประเภทxxxxxxxxxxxและอุปกรณ์ที่ใช้ ในการทํางานก่อสร้างที่ต้องตรวจรับรองประจําปี
๕. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๔๙
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ ความปลอดภยในการทํางาน
• xxxxxxxกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ว่าดวยหลักสูตรการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ความ ปลอดภัยในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๔๙
• xxxxxxxกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการขึ้นทะเบียนเป็น หน่วยงานฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางาน และการดําเนินการฝึกอบรม พ.ศ. ๒๕๔๙
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลกเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งกรรมการ ผแทนลูกจ้าง
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมคณะกรรมการ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานของสถานประกอบกิจการ พ.ศ. ๒๕๔๙
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลกเกณฑ์และวิธีการแจ้งชื่อเจ้าหน้าที่ ความปลอดภัย ในการทํางาน เพื่อขึ้นทะเบียน และแจ้งกรณีลูกจ้างประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กําหนดแบบรายงานผลการดําเนินงานของ เจาหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับเทคนิคขั้นสูงและระดับวิชาชีพ
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมหัวหน้าหน่วยงาน ความปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๑
๖. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอม ในการทํางานเกี่ยวกับความxxx แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. ๒๕๔๙
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการดําเนินการตรวจวัดและ วิเคราะห์สภาวะการทํางานเกี่ยวกับระดบความxxxx แสงสว่าง หรือเสียงภายในสถานประกอบกิจการระยะเวลา และ ประเภทกิจการที่ต้องดําเนินการ พ.ศ. ๒๕๕๐
• ประกาศกรมสวัสดิการและคมครองแรงงาน เรื่อง แบบคําขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้รับรองรายงานการ ตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทํางาน พ.ศ. ๒๕๕๐
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรอง กําหนดสถานที่ยื่นคําขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้รับรอง รายงานการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทํางานในเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๒
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลกเกณฑ์และวิธีการจัดทําโครงการxxxxxxxxการ ได้ยินในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. ๒๕๕๓
๗. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกบงานประดาน้ํา พ.ศ. ๒๕๔๘
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กําหนดแบบแจ้งสถานทการปฏิบัติงานเกี่ยวกับ การให้ลูกจ้างทํางานประดาน้ํา พ.ศ. ๒๕๕๒
๘. กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสุขภาพของลูกจ้าง และส่งผลการตรวจ แก่พนักงานตรวจแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๗
• ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง กําหนดสารเคมีอันตรายทให้นายจ้างจัดให้มีการตรวจสุขภาพ ของลูกจ้าง พ.ศ. ๒๕๕๒
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรอง กําหนดแบบสมุดสุขภาพประจําตัวของ ลูกจ้างที่ทํางานเกี่ยวกับปัจจัยเสยงและแบบแจ้งผลการตรวจสุขภาพของลูกจ้างทพบความผิดxxxxหรือการเจ็บป่วย การให้การรักษาพยาบาล และการป้องกันแก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๑
๙. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานในที่อับอากาศ พ.ศ. ๒๕๔๗
• ประกาศกรมสวสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กําหนดมาตรฐานอุปกรณ์คุ้มครองความ ปลอดภัยส่วนบุคคล อุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิตสําหรับการทํางานในที่อับอากาศ
• ประกาศกรมสวสดิการและคมครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและหลักสูตรการ ฝึกอบรมความปลอดภัยในการทํางานในที่อับอากาศ
• ประกาศกรมสวสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและหลักสูตรการฝึกอบรม ความปลอดภยในการทํางานในที่อับอากาศ (xxxxxx ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑
๑๐. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบิหารและการจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกบรังสีชนิดก่อไอออน พ.ศ. ๒๕๔๗
• ประกาศกรมสวสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรอง กําหนดแบบแจ้งจํานวนและปริมาณความ
แรงรงสีของตนกําเนิดรังสี และแบบแจ้งการเปลี่ยนแปลงของจํานวนหรือปริมาณความแรงรังสี ของต้นกําเนิดรงสี
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กําหนดแบบการจัดทําข้อมูลเกี่ยวกับ ปริมาณรังสีสะสมที่ลูกจ้างได้รับเป็นประจําทุกเดือน
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรอง กําหนดแบบแจ้งชื่อและคุณสมบัติของ ผู้รับผิดชอบดําเนินการทางดานเทคนิคในเรื่องรงสี และแบบแจ้งชื่อและคุณสมบัติของผรบผิดชอบดําเนินการ ทางด้านเทคนิคในเรองรังสีแทนผู้รับผิดชอบเดิมซึ่งพ้นจากหน้าที่
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรอง กําหนดแบบเครื่องหมายเตือนภัยในบริเวณ
รังสี บริเวณรังสีสูง บริเวณที่มีการxxxxxxxxของสารกัมมนตรงสี หรือบริเวณหรือหองใด ๆ ที่มีการเก็บรักษา สาร กัมมันตรังสี
• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กําหนดแบบรายงานการปฏิบัติงานของ ผู้รับผิดชอบดําเนินการทางด้านเทคนิคในเรื่องรงสี
• ประกาศกรมสวสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรอง กําหนดเงื่อนไขและวิธีการเก็บรักษา เคลื่อนย้าย ขนส่งต้นกําเนิดรังสี และการจัดการกากกัมมันตรังสี
• ประกาศกรมสวสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรอง กําหนดแบบxxxxทม ข้อความเตือนภัยติดไว้ทภาชนะที่ใช้บรรจุหรือxxxxxxxสารกมมันตรังสี
ีเครื่องหมาย และ
• ประกาศกรมสวสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์วิธีการอบรมความ ปลอดภัยในการทํางานในการป้องกันอันตรายจากรังสี_
ผนวก ข.
การตรวจสอบและการติดตามการปฏิบัติตามแผนความปลอดภัย ในการทํางานก่อสร้าง
ผนวก ค.
การรายงานผลการปฎิบัติตามแผนความปลอดภัย ในการทํางานก่อสร้าง
บรรณานุกรม
๑. กรมสวสดิการและคุ้มครองแรงงาน แนวปฏิบัติการบริหารความปลอดภัยในงานก่อสร้าง ๒๕๔๒
ISBN ๙๔๗-๗๘๗๓-๔๓-๕
๒. กรมสวสดิการและคุ้มครองแรงงาน คู่มือแนวปฏิบัติการพัฒนาระบบการจัดการความปลอดภัยในการ ทํางานก่อสรางของรัฐ ๒๕๔๕ ISBN ๙๗๔-๗๘๗๕-๕๕-๑
๓. ประเทศไทย. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๔๙ ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๒๓
ตอนที่ ๖๕ ก ๒๑ มิถุนายน ๒๕๔๙
๔. ประเทศไทย. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกับงานก่อสร้าง พ.ศ. ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๒๕ ตอนที่ ๑๑๐ ก ๑๖ xxxxxx ๒๕๕๑
๕. ประเทศไทย. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓ ราชกิจจานุเบกษา
เล่มที่ ๑๒๗ ตอนที่ ๔๓ ก ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๓
๖. เอกสารจากสถานประกอบการที่ให้ความร่วมมือในการเก็บข้อมูล