ปัญหาขยะมูลฝอย ได้กําหนดให้เป็นวาระแห่งชาติ เป็นเรื่องสําคัญเร่งด่วนของชาติที่ทุก หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องร่วมมือกันดําเนิ นการและทําให้เกิดผลสําเร็จที่เป็นรูปธรรมและเกิดประโยชน์ต่อ ประเทศไทย ซึ่งแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ...
บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
การบริหารจัดการขยะ ตําบลห้วยม้า อําเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ ระหว่าง
องค์การบริหารส่วนตําบลห้วยม้า กับ หมู่บ้าน และทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตําบลห้วยม้า
………………………………………
บันทึกข้อตกลงความร่วมมือการจัดบริหารจัดการขยะฉบับนี้ ระหว่าง องค์การบริหารส่วน ตําบลห้วยม้า กับหมู่บ้าน หน่วยงาน ส่วนราชการ สถานศึกษา ศาสนสถาน ภาคเอกชน ภาคxxxxxสังคม/ ประชาชน ในพื้นที่ตําบลห้วยม้า เพื่อขับเคลื่อนการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน
ปัญหาขยะมูลฝอย ได้กําหนดให้เป็นวาระแห่งชาติ เป็นเรื่องสําคัญเร่งด่วนของชาติที่ทุก หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องร่วมมือกันดําเนินการและทําให้xxxxxxสําเร็จที่เป็นรูปธรรมและเกิดประโยชน์ต่อ ประเทศไทย ซึ่งแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ ได้ผ่านความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี เมื่อxxxxxx 3 พฤษภาคม 2559 เพื่อให้การแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยอย่างเป็นรูปธรรมตามแผนปฏิบัติการ “ประเทศไทยไร้ขยะ” ตามแนวทาง “xxxxxรัฐ” ระยะ 1 ปี โดยใช้หลัก 3Rs ซึ่งองค์การบริหารส่วนตําบล ห้วยม้า ได้จัดทําแผนปฏิบัติการจัดการขยะของตําบลห้วยม้า เป็นแนวทางในการบริหารจัดการขยะในพื้นที่ให้ xxxxxตามxxxxxxxxxxxกําหนด จึงได้จัดทําบันทึกตกลงความร่วมมือ ฉบับนี้ขึ้น โดย
ข้อ 1. วัตถุประสงค์
เพื่อให้การดําเนินการบริหารจัดการขยะมูลฝอยขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยม้า ประสบผลสําเร็จอย่างเป็นรูปธรรมเป็นไปตามแผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย
ข้อ 2. กรอบแนวทางของความร่วมมือ
1. ส่วนราชการหน่วยงานของรัฐ ศาสนสถาน และสถานศึกษาทุกแห่ง จัดกิจกรรมในการ จัดการขยะมูลฝอย โดยการลดขยะมูลฝอยที่ต้นทาง การคัดแยกขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย และการนํา ขยะมูลฝอยไปใช้ประโยชน์
2. องค์การบริหารส่วนตําบลห้วยม้า ชุมชน/หมู่บ้าน ทุกหมู่
2.1 จัดทําแผนปฏิบัติการโดยการประชาคมหมู่บ้าน
2.2 แต่งตั้งคณะทํางาน เพื่อรวบรวมข้อมูลและกําหนดแนวทางการดําเนินงานจัดการขยะ
มูลฝอยในพื้นที่ ต้นทาง
2.3 สนับสนุนหมู่บ้าน ในการดําเนินการลด คัดแยกและนําขยะมูลฝอยมาใช้ประโยชน์ตั้งแต่
2.4 จัดให้มีการxxxxxx ประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างxxxxx การxxxxxxxสํานึก ปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม สร้างค่าxxxxในการทิ้งขยะของคนในพื้นที่
2.5 วางกฎxxxxxxxเพื่อให้มีการคัดแยกขยะมูลฝอยก่อนที่จะทิ้งลงถังขยะโดยใช้หลัก 3 Rs คือ การใช้น้อย ใช้ซ้ําและนําxxxxxxใช้ใหม่ตลอดจนปรับปรุงข้อบัญญัติให้เป็นปัจจุบัน
2.6 ลดปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนที่เข้าสู่ระบบการกําxxxxxxปลายทางไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณขยะมูลฝอยในปีก่อนหน้านี้
2.7 สร้างหมู่บ้าน ในพื้นที่เป็นต้นแบบการลดและคัดแยกขยะมูลฝอยให้xxxxxxxละ 80
2.8 ให้มีการจัดตั้ง “จุดรวบรวมขยะอันตรายชุมชน” ให้xxxxxxxละ 100 ของหมู่บ้าน
2.9 สนับสนุนให้ประชาชนในพื้นที่เข้าร่วมเครือข่าย “อาสาสมัครxxxxxxxxรักษ์โลก” เพื่อxxxxxxxxการจัดการขยะมูลฝอย ให้ได้มากกว่าร้อยละ 80 ของจํานวนครัวเรือนในองค์กรxxxxxxส่วน xxxxxxxx
3. ภาคประชาชน ภาคเอกชนหรือxxxxxสังคม
3.1 มีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียตั้งแต่ต้นทาง
3.2 เข้าร่วมรับรู้ ให้ข้อเสนอแนะและร่วมมือในการดําเนินการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและ ของเสียอันตรายตั้งแต่ต้นทาง
3.3 สร้างเครือข่ายภาคประชาชนในการลดขยะมูลฝอยที่ต้นทาง การคัดแยกขยะมูลฝอย และของเสียอันตราย และการนําขยะมูลฝอยไปใช้ประโยชน์
ข้อ 3. ระยะเวลาของความร่วมมือ
ข้อตกลงนี้มีผลบังคับใช้นับแต่xxxxxxมีการลงนามร่วมกันเป็นต้นไป เว้นเสียแต่มีการยุติข้อตกลง ด้วยความยินยอมของทั้งสองฝ่าย
ข้อ 4. การทบทวนสถานภาพของความร่วมมือ
ข้อตกลงความร่วมมือนี้ อาจมีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสม ด้วยความเห็นชอบจากหน่วยงานทั้งสองฝ่าย โดยการทําข้อตกลงเพิ่มเติมเป็นภาคผนวก
“บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ” นี้ทําขึ้นเป็นสองฉบับ โดยมีข้อความถูกต้องตรงกันโดยทุก ฝ่ายได้ลงนามร่วมกันไว้เป็นหลักฐานและถือไว้ฝ่ายละหนึ่งฉบับ
.....................................................
(xxxxxxxxx xxxxxxx) ( )
นายกองค์การบริหารส่วนตําบลห้วยม้า ตําแหน่ง........................................................
(นางxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxx) (นายxxx มหิงษา) ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตําบลห้วยม้า กํานันตําบลห้วยม้า