Abstract
รายงานวิจัยฉบับxxxxxxx
โครงการ
“กลไกในการวิเคราะห์สถานการณ์ของราคาปาล์มน้ํามัน”
โดย
ผู้xxxxxxxxxxxxxxx xx.xxx
และคณะ
เมษายน 2558
xxxxxxxxxอนันต
สัญญาเลขที่ RDG5720006
รายงานวิจัยฉบับxxxxxxx
โครงการ
“กลไกในการวิเคราะห์สถานการณ์ของราคาปาล์มน้ํามัน”
คณะผ ิจัย สังกดั
1. ผู
xxxxxxxxxxxxxx xx.xxx
xxxxxxxxxxxxxxx มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.xxxx ตลบแก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีxxxxxxxxxxพระนครเหนือ
3. xxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxx xxxxxxxxxxxเทคโนโลยีราชxxxxพระนคร
สนับสนุนโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (ความเห็นในรายงานนี้เป็นของผู้วิจัย สกว. ไม่จําเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป)
บทสรุปผบริหาร
ปาล์มน้ํามันเป็นหนึ่งในพืชน้ํามันที่สําคัญของโลก และเป็นสินค้าเกษตรที่สําคัญอันดับต้นๆ ของ ประเทศไทย ซงเป็นสินค้าที่xxxxxxทํารายได้ให้ประเทศไทยจํานวนมหาศาลสินค้าหนึ่ง นอกจากนี้ยังxxxxxxเป็น สินค้าเศรษฐกิจของโลกที่สําคัญ รวมทั้งมีความสําคัญทางเศรษฐกิจและมีศักยภาพทางเศรษฐกิจสูงกว่าพืช น้ํามันชนิดอื่นๆ ทงดานการผลิต การตลาด เนื่องจากส่วนแบ่งการผลตนามนปาล์มในปัจจุบันมีxxxxxxxxxxสูงขึ้น อย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว นอกจากจะเป็นพืชสําหรับการบริโภคแล้ว ยังนําไปใช้ในอุตสาหกรรมได้อย่าง xxxxxxxxxxxxxในอุตสาหกรรมอาหารและไม่ใช่อาหาร รวมxxxxxxนําไปใช้ในการผลิตพลังงานxxxxx ทําให้ ปัจจุบันอุตสาหกรรมปาล์มน้ํามันนั้นมีxxxxxxสูงถึง 50,000 ล้านบาท จากความต้องการใช้น้ํามนปาล์มที่xxxxxขึ้น ทั้งในด้านบริโภค-อุปโภค การใช้เป็นแหล่งพลังงานxxxxxสําหรับผลิตไบโอดีเซล รวมถึงราคาผลผลิตทะบาย สดที่สูงขึ้งในช่วงที่ผ่านมา ทําให้เกษตรกรและภาคเอกชนให้ความสนใจในการปลูกปาล์มน้ํามันxxxxxขึ้นเป็น อย่างมาก แต่อย่างไรก็ตาม พบว่า ราคาปาล์มน้ํามันเป็นสิ่งที่มีการเคลื่อนไหวอยู่เสมอตามปัจจัยที่เข้ามา กระทบ เป็นการยากที่จะเข้าใจความเป็นไปของราคาปาล์มน้ํามันได้อย่างxxxxxxx หากไม่ใช่ผู้ที่เกี่ยวข้อง อย่างไรก็ตาม การได้รับรู้ว่ามีปัจจัยอะไรบ้างที่มีผลต่อการเคลื่อนไหวขึ้น-ลงของราคาปาล์มน้ํามันอย่างแท้จริง ก็จะเป็นพื้นฐานที่บ่งชี้ทิศทางของราคาที่ถูกต้องxxxxxxxขึ้น
งานวิจัยนี้มีxxxxxxxxxxเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อราคาทะลายปาล์มน้ํามัน (FFB) ราคาน้ํามันปาล์มดิบ (CPO) และจําxxxพฤติกรรมการเคลื่อนไหวของราคาปาล์มน้ํามัน พร้อมทั้งกําหนดมาตรการที่มีผลต่อราคา ทะลายปาล์มน้ํามัน (FFB) ราคาน้ํามันปาล์มดิบ (CPO) ขั้นตอนของการดําเนินงานวิจัย เริ่มจาก ศึกษาค้นคว้า ข้อมูลปัจจัยที่มีผลกระทบต่อราคาปาล์มน้ํามัน ทั้งข้อมูลทุติยภูมิและxxxxxxx โดยวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ จากการสัมภาษณ์ กิจกรรมกลุ่ม และ การวิเคราะห์ความxxxxxxxxทางด้านสถิติ จากนั้นสร้าง แบบจําxxxทางเศรษฐมิติ และ แบบจําxxxพลวตของระบบ (System Dynamics) เพื่อหาความสัมพนธ์และใช้ วิเคราะห์พฤติกรรมการเคลื่อนไหวของปัจจัยที่มีผลต่อราคาทะลายปาล์มน้ํามัน (FFB) ราคาน้ํามันปาล์มดิบ (CPO) ผลจากการวิจัยพบว่าปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อราคาทะลายปาล์มในลักษณะxxxxxขึ้น ประกอบด้วย ราคา น้ํามันปาล์มดิบเฉลี่ยในตลาดกระบี่ xxxxxxxxxxxx และชุมพร ราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาด กทม โดยถ้าราคา เหล่านี้มีแนวโน้มสูงขึ้นจะส่งผลให้ราคาทะลายปาล์มxxxxxขึ้น ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงราคาทะลาย ปาล์มในลกษณะลดลงxxxxxxจากปริมาณผลผลิตปาล์ม โดยถามีปริมาณผลผลิตปาล์มออกมามากจะทําให้ราคา ทะลายปาล์มลดลง ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ราคาน้ํามันปาล์มดิบในลักษณะxxxxxxxxxxxจากราคา ยางแผ่นดิบรมควนชั้น 3 ราคาน้ํามันปาล์มดิบตลาดโลก และราคาน้ํามันไบโอดีเซล โดยถ้าราคาเหล่านี้ สูงขึ้น จะทําให้ราคาน้ํามันปาล์มดิบ สูงขึ้น ส่วนการปัจจัยที่ทําให้การเปลี่ยนแปลงราคาน้ํามันปาล์มดิบในลักษณะ ลดลง มาจากปริมาณผลผลิตปาล์ม โดยถ้าปริมาณผลผลิตปาล์มมากจะทําให้ราคาน้ํามันปาล์มดิบไทยลดลง ส่วนมาตรการที่มีผลต่อกลไกการขึ้นลงต่อราคาทะลายปาล์มน้ํามัน (FFB) ราคาน้ํามันปาล์มดิบ (CPO) ประกอบด้วย มาตรการด้านการควบคุมและxxxxxผลผลิตทะลายปาล์ม xxxx มาตรการจัดโซนนิ่ง พื้นที่ปลูก ปาล์ม มาตรการป้องกันและxxxxxxสถานการณ์ราคายางพาราตกต่ํา มาตรการการxxxxxผลผลิตทะลายปาล์ม
ก
ต่อไร่ โดยมาตรการเหล่านี้จะส่งผลให้มีปริมาณผลผลิตปาล์มให้มีที่เหมาะสมกับความต้องการ และคุณภาพ ของผลผลิตปาล์มxxxxxจะทําให้เกษตรกรxxxxxxขายราคาทะลายปาล์มได้สูงขึ้น
นอกจากนั้นมีมาตรการด้านการxxxxxปริมาณความต้องการน้ํามันปาล์มดิบในประเทศให้มากขึ้น xxxx มาตรการxxxxxxxxการใช้น้ํามันไบโอดีเซล B100 ภายในประเทศมากขึ้น นอกจากนี้ ภาครัฐควรสนับสนุนให้ เกิดกลไกทางด้านโซ่อุปทาน (Supply Chain) โดยให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างโรงงาน เกษตรกร และ ภาครัฐในการสร้างกลไกให้เกิดความxxxxxระหว่างปริมาณผลผลิตทะลายปาล์ม กับความต้องการใช้น้ํามัน ปาล์มดิบ เพื่อให้ราคาทะลายปาล์ม และราคาน้ํามันปาล์มดิบ อยู่ในสภาวะxxxxx ระหว่าง demand และ Supply
ข
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีxxxxxxxxxxเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อราคาทะลายปาล์มน้ํามัน (FFB) ราคาน้ํามันปาล์มดิบ (CPO) และจําxxxพฤติกรรมการเคลื่อนไหวของราคาปาล์มน้ํามัน พร้อมทั้งกําหนดมาตรการที่มีผลต่อราคา ทะลายปาล์มน้ํามัน (FFB) ราคาน้ํามันปาล์มดิบ (CPO) ขั้นตอนของการดําเนินงานวิจัย เริ่มจาก ศึกษาค้นคว้า ข้อมูลปัจจัยที่มีผลกระทบต่อราคาปาล์มน้ํามัน ทั้งข้อมูลทุติยภูมิและxxxxxxx โดยวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ จากการสัมภาษณ์ กิจกรรมกลุ่ม และ การวิเคราะห์ความxxxxxxxxทางด้านสถิติ จากนั้นสร้าง แบบจําxxxทางเศรษฐมิติ และ แบบจําxxxxxxxxของระบบ (System Dynamics) เพื่อหาความxxxxxxxxและใช้ วิเคราะห์พฤติกรรมการเคลื่อนไหวของปัจจัยที่มีผลต่อราคาทะลายปาล์มน้ํามัน (FFB) ราคาน้ํามันปาล์มดิบ (CPO) ผลจากการวิจัยพบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อราคาทะลายปาล์ม ประกอบด้วย ปริมาณการผลผลิตปาล์ม นามัน ราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาด กทม ราคานามันปาล์มดิบในตลาด มาเลเซีย ราคานามนปาล์มดิบเฉลยใน ตลาดกระบี่ xxxxxxxxxxxx และชุมพร ราคาไบโอดีเซล ราคาน้ํามันปาล์มxxxxxxxxxของไทย ราคาน้ํามันปาล์ม xxxxxxxxxของมาเลเซีย รายต่อหวของประชากร และ ราคาน้ํามันทใช้ประกอบอาหาร
ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อเสถียรภาพของราคาน้ํามันปาล์มดิบ (CPO) ประกอบด้วย ปริมาณการผลผลิต ปาล์มน้ํามัน ราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาด มาเลเซีย ราคาน้ํามันปาล์มดิบเฉลี่ยในตลาดกระบี่ xxxxxxxxxxxx และชุมพร ราคาไบโอดีเซล (B100) ราคาน้ํามันปาล์มxxxxxxxxxของไทย ราคาน้ํามันปาล์มxxxxxxxxxของมาเลเซีย รายต่อหวของประชากร ราคาน้ํามันที่ใช้ประกอบอาหาร ราคาน้ํามันถั่วเหลือง และราคายางแผ่นรมควนชั้น 3 จากนั้นทําการพยากรณ์ราคาทะลายปาล์มน้ํามัน (FFB) ราคาน้ํามันปาล์มดิบ (CPO) จากแบบจําxxxทาง เศรษฐมิติ พบว่าสมการพยากรณ์ราคาทะลายปาล์มน้ํามัน (FFB) มีความค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์อยู่ ที่ 13.06% xxxxxxการพยากรณ์ราคาราคาน้ํามันปาล์มดิบ (CPO) ความค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนxxxxxxxอยู่ ที่ 14.65% สุดท้าย เสนอมาตรการที่มีผลต่อกลไกการขึ้นลงต่อราคาทะลายปาล์มน้ํามัน (FFB) ราคาน้ํามัน ปาล์มดิบ (CPO) ซึ่งประกอบด้วย มาตรการด้านการควบคุมและxxxxxผลผลิตทะลายปาล์ม xxxx มาตรการจัด โซนนิ่ง พื้นที่ปลูกปาล์ม มาตรการป้องกันและxxxxxxสถานการณ์ราคายางพาราตกต่ํา มาตรการ การxxxxx ผลผลิตทะลายปาล์มต่อไร่ มาตรการด้านการxxxxxปริมาณความต้องการน้ํามันปาล์มดิบ xxxx มาตรการxxxxxxxx การใช้น้ํามันไบโอดีเซล B100 ภายในประเทศมากขึ้น
ก
Abstract
This research aimed to study the factors affecting prices of fresh fruit bunches (FFB) of oil palm and crude palm oil (CPO), to model the movements of the two prices and to designate the measures influencing such prices. Firstly, the research reviewed the primary and secondary data of the factors by analyzing the qualitative and quantitative study of the data gained from the interviews, the group activities and the statistical relationships. The econometric model and the system dynamics were constructed to find the relationships and to analyze the movement behavior of those two prices. Findings indicated that the factors affecting the prices of fresh fruit bunches of oil palm consisted the volume of the oil palm output production, the prices of the crude palm oil in Greater Bangkok markets, and Malaysian markets, the average prices of the crude palm oil in Krabi, Surat Thani and chumphon markets, the prices of bio diesel, the per capita prices of pure palm oil in Thailand and Malaysia and the prices of the cooking oil.
The factors hurting the stability of the crude palm oil prices comprised of the volume of the palm oil output production, the prices of crude palm oil in Malaysia, the average prices of the crude palm oil in Krabi, Surat Thani, and chumphon markets, the prices of bio diesel (B100), the pure palm oil prices in Thailand, the per capita prices of pure palm oil in Malaysia, the cook oil prices, the soy bean oil prices, and the 3rd smoky rubber prices. The research’s for casts of the prices of fresh fruit bunches of oil palm and crude palm oil from the econometric model discovered that the forecast equation of the prices of the fresh fruit bunches of oil palm recorded the mean absolute percentage error at 13.06% whereas that of the crude palm oil prices showed the same average at 14.65% Finally, the research proposed the measures influencing the movements of the two prices. They were: the measures to control and increase the output of fresh fruit bunches oil palm yields such as the scheme of the oil palm growing zone arrangement, the measures to prevent the fall of the natural rubber prices, the measures to increase the yields of fresh fruit bunches of oil palm per rai, the measures to enhance the demands for crude palm oil like the promotion of B100 bio diesel oil consumption in the domestic markets.
ข
สารบัญ
บทที่ 1 บทนํา | หน้า 1 |
1.1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา | 1 |
1.2 วัตถุประสงค์ | 5 |
1.3 นิยามศัพท์เฉพาะของการวิจัย | 5 |
1.4 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง | 5 |
1.5 xxxxxxxวิธีการวิจัย | 10 |
1.6 ขอบเขตการวิจัย | 12 |
1.7 ผลที่คาดว่าจะได้รับ | 13 |
บทที่ 2 สถานการณ์และราคาของปาล์มนํามัน | 14 |
2.1 สถานการณ์ด้านการผลิตปาล์มน้ํามัน | 14 |
2.2 สถานการณ์ด้านราคาปาล์มน้ํามัน | 20 |
2.3 นโยบายและมาตรการของภาครัฐ | 22 |
บทที่ 3 การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อราคาปาล์มนําม | นั 24 |
3.1 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อราคาปาล์มนํ้ามัน 24
3.2 ปัจจัยความเสี่ยงในมุมมองของผ ระxxxxxxในอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม์ 29
3.3 การสมภาษณ์สถานประกอบการเชิงลึก 33
บทที่ 4 การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อราคาปาล์มนํามัน 35
4.1 ข้อมูลท่ีใชในการวิเคราะห์ 35
4.2 การตรวจสอบความxxxxxxxxของตวแปร 36
บทที่ 5 การสรางและวิเคราะห์ตวแบบสําหรบพยากรณ์ 47
5.1 ข้นตอนการสร้างตวแบบสําหรับพยากรณ์ 47
5.2 ผลการวิเคราะห์ตัวแบบสําหรับพยากรณ์ 52
บทที่ 6 การสรางและวิเคราะห ัวแบบสาหรบํ พยากรณ์ 62
6.1 ข้อมูลเบื้องต้นที่นํามาใช้ในการวิเคราะห์ขอมูล 62
6.2 อธิบายแบบจําลองเชิงพลวัตสําหรบพฤติกรรมการเคลื่อนไหวของราคาปาล์มน้ํามัน 62
6.3 การทดสอบความแม่นยําในการพยากรณ์ของระบบxxxxx 64
6.4 การพยากรณ์ล่วงหน้า 67
บทที่ 7 สรุปผลการดําเนินงาน 69
7.1 สรุปผลการศึกษา 69
7.2 ข้อเสนอแนะ 72
7.3 การxxxxxxข้อความรู้หากจะมีการศึกษาต่อไป 73
เอกสารอางอิง 75
ภาคผนวก 76
ก ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ทางสถิติ 77
ข ผลการวิเคราะห์ทางสถิติ 89
ค
สารบัญตาราง
หน้า
ตารางที่ 1-1 ปริมาณการผลิตนํามันพืชในตลาดโลก ปี 2550/51 – 2554/55 2
ตารางที่ 1-2 นิยามศัพท์เฉพาะของการวิจัย 5
ตารางที่ 2-1 ปริมาณเนื้อที่ให้ผลผลิต ผลผลิตปาล์มน้ํามน และผลผลิตต่อไร่ 14
ของประเทศผูปลูกปาล์มนํามันที่สําคญของโลก
ตารางที่ 2-2 xxxxxxxx มันปาล์มโลก (หน่วย : ลานตัน) 17
ตารางที่ 2-3 เนื้อท่ีใหผลผลิต ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ปาล์มนํามนตามxxxxxxxของประเทศ 17
ตารางที่ 2-4 เนื้อท่ีให้ผลผลิต ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ปาล์มนํามันตามจังหวัด 18
ตารางที่ 3-1 xxxxxxxxxxxxxxxxxxและงานวิจัยอ้างอิง 28
ตารางที่ 4-1 ค่าสหxxxxxxx (Correlations) ระหว่าง ราคาผลปาล์มทะลายท่ีเกษตรกรขายได้ 38
(FFB_F Price) กับราคารบซือปาล์มทะลายแต่ละตลาด
ตารางที่ 4-2 ค่าสหสัมพนธ์ (Correlations) ระหว่าง ราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้ 40
(FFB_F Price) กับราคาน้ํามันปาล์มดิบแต่ละตลาด
ตารางท่ี 4-3 ค่าสหxxxxxxxx (Correlations) ระหว่าง ราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้ 42
(FFB_F Price) กับราคาสินคาต่างๆ
ตารางท่ี 4-4 ค่าสหxxxxxxx (Correlations) ระหว่าง ราคานํามันปาล์มดิบของไทยตลาด กทม. 44
(CPO_T Price) กับราคาน้ํามันปาล์มดิบของมาเลเซีย และตลาดxxxxxxxxสําคญของไทย
ตารางที่ 4-5 ค่าสหสัมพนธ์ (Correlations) ระหว่าง ราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทยตลาด กทม. 46
(CPO_T Price) กับราคาน้ํามนปาล์มดิบของมาเลเซีย และตลาดxxxxxxxxสําคญของไทย
ตารางที่ 5-1 ผลการทดสอบ Unit Root ณ ระดบผลต่างลําดับแรก (At First Difference) 52
ตารางที่ 5-2 แสดงการทดสอบ Co-integration โดย Johansen Juxxxxxx 00
ตารางท่ี 6-1 สรุปค่าสถิติทดสอบตวแปรของแบบจําxxxระบบxxxxxของราคาปาล์มน้ํามัน 66
ง
xxxxxxxxx
หน้า
ภาพที่ 1-1 ปริมาณการผลิตและการใช ํามันปาล์มดบของไทยิ 1
ภาพที่ 1-2 เปรียบเทียบราคานํามันพืชสําคญของตลาดโลกปี 2547-2556 2
ภาพที่ 1-3 สัดส่วนผลผลิตนํามันปาล์มดิบของประเทศผู้ผลิตสําคญของโลก ปี 2556 3
ภาพท่ี 1-4 เปรียบเทียบราคาxxx มนปาล์มดิบของไทยและมาเลเซีย ปี 2550-2556 3
ภาพท่ี 1-5 การกําหนดโครงสร้างและวิเคราะห์แบบจําxxx 7
ภาพที่ 1-6 แผนภาพข้ันตอนการทํางานของระบบxxxxx 8
ภาพที่ 1-7 Verification และ Validation 8
ภาพที่ 1-8 แผนภาพขั้นตอนการดําเนินงานวิจัย 11
ภาพที่ 1-9 กรอบแนวคิดการวิจ 12
ภาพที่ 2-1 เปรียบเทียบเนอที่ใหผลผล้ ิต ผลผลิตปาล์มนํามัน และผลผลิตต่อไร่ปี 2555 15
ภาพที่ 2-2 ผลผลิตนํามันพืชสําคัญของโลก ปี 2546/47 เทียบกับ ปี 2555/56 15
ภาพท่ี 2-3 ประเทศผู้บริโภคและผ ําเขาน้ํามันปาล์มสาคํ ัญโลกปี 2555/56 16
ภาพที่ 2-4 สัดส่วนผลผลิตปาล์มนํามนแยกตามxxxxxxxและจังหวัด ปี 2555 18
ภาพท่ี 2-5 โครงสร้างของปาล์มนํามันและนํ้ามันปาล์ม 19
ภาพที่ 2-6 เปรียบเทียบราคาน มันปาล์มดบิ นํามันถั่วเหลือง และน้ํามันดบิ 20
ตง้ แต่ปี 2547 ถึงปี 2555
ภาพที่ 4-1 ความxxxxxxxxระหว่างราคาผลปาล์มทะลายท่ีเกษตรกรขายได้ (FFB_F Price) 37
กับ ราคารับซือปาล์มทะลาย กทม. (ก) จ.กระบ่ี (ข) จ.สุราษฎร์ธานี (ค)
และ จ.ชุมพร (ง)
ภาพท่ี 4-2 ความxxxxxxxxระหว่างราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้ (FFB_F Price) 39
ก ราคาน้ํามันปาล์มดิบของกทม. (ก) ราคาของมาเลเซีย (ข)
ราคาเฉxxxย 3 จงหวัด (ค)
ภาพท่ี 4-3 ความxxxxxxxxระหว่างราคาผลปาล์มทะลายท่ีเกษตรกรขายได้ (FFB_F Price) 41
กับราคานํามนปาล์มxxxxxxxxxมาเลเซีย (ก) ไทย (ข) ราคานํามันถั่วเหลือง (ค)
ราคายางแผนดิบรมควันชั้น 3 ที่เกษตรขายได้ (ง) และราคาไบโอดีเซล (จ)
ภาพที่ 4-4 ความxxxxxxxxระหว่างราคาxxx มนปาล์มดิบของไทย ตลาด กทม. (CPO_T Price) 43
กบราคานํ้ามันปาล์มดิบของมาเลเซีย (ก) จ.กระบี่ (ข) จ.สุราษฎร์ธานี (ค)
และ จ.ชุมพร (ง)
ภาพที่ 4-5 ความxxxxxxxระหว่างราคาน มนปาลั ์มดบของไทยิ ตลาด กทม. (CPO_T Price) 45
กับราคาน มันปาล์มบริxxxxxxยิ์ (ก) มาเลเซีย (ข) ราคานํามันถั่วเหลือง (ค)
ราคายางแผนดิบรมควันชั้น 3 ที่เกษตรขายได้ (ง) และราคาไบโอดีเซล (จ)
ภาพท่ี 6-1 โครงสร้างความxxxxxxxxของราคาทะลายปาล์ม (FFB_F Price) 63
ภาพที่ 6-2 โครงสร้างความxxxxxxxxของราคาปาล์มน้ํามัน (CPO_T Price) 64
จ
สารบัญภาพ (ต่อ)
หน้า
ภาพที่ 6-3 เปรียบเทียบราคาทะลายปาล์ม (FFB_F Price) ระหว่างค่าจริงและ 64
ค่าจากแบบจําxxxตง้ แต่เดือน มกราคม 2551 ถึง ธันวาคม 2556
ภาพที่ 6-4 เปรียบเทียบราคานํามันปาล์มดิบของไทย (CPO_T Price) ระหว่างค่าจริง 65
และค่าจากแบบจําลองตั้งแต่เดือน มกราคม 2547 ถึง ธนวาคม 2556
ภาพท่ี 6-5 ผลการพยากรณ์ราคาทะลายปาล์ม 12 ช่วงเวลา (มกราคม 57 – ธันวาคม 57) 67
ภาพที่ 6-6 ผลการพยากรณ์ราคาปาล์มนํามนั 12 ช่วงเวลา (มกราคม 57 – ธันวาคม 57) 67
ฉ
บทที่ 1
บทนํา
1.1 ท่ีมาและความสําคัญของปัญหา
ปาล์มน้ํามันเป็นหน่ึงในพืชที่มีความสําคัญทั้งในด้านเศรษฐกิจและพลังงาน นอกจากน้ันปาล์ม น้ํามันยังเป็นวัตถุดิบที่สําคัญต่ออุตสาหกรรมต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมอาหาร เช่น ขนมขบเค้ียว บะหม่ีก่ึงสําเร็จรูป นมข้นหวาน ครีมเทียมและเนยเทียม อุตสาหกรรมพลังงานของประเทศสามารถนํา นํ้ามันปาล์มมาเป็นวัตถุดิบสําคัญในการผลิตไบโอดีเซล ซ่ึงเป็นพลังงานทดแทนน้ํามันดีเซล ที่มีราคาสูงขึ้น เนื่องจากราคานํามันดิบท่ีมีแนวโน้มจะขาดแคลนในอนาคต (ภาพที่ 1-1)
ภาพที่ 1-1 ปริมาณการผลิตและการใช ้ํามันปาล์มดบของไทยิ
ข้อมูลจาก: สํานักส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตรและ KResearch
จากภาพที่ 1-1 แสดงปริมาณการผลิตและการใช้น้ํามันปาล์มดิบของไทยในช่วงระยะเวลา 5 ปีที่ ผ่านมา พบว่ามีปริมาณความต้องการใช้น้ํามันปาล์มดิบเพิ่มมากขึ้นทุกปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้เพื่อ ภาคอุตสาหกรรมอาหารคิดเป็นร้อยละ 51 ของปริมาณการใช้น้ํามันปาล์มดิบในประเทศ และการผลิต ไบโอดีเซลอีกร้อยละ 38 โดยท่ีเหลืออีกร้อยละ 11 มีการนําไปใช้ในอุตสาหกรรมท่ีไม่ใช่อาหาร เช่น สบู่ ด้วยความหลากหลายของอุตสาหกรรมต่อเนื่องที่ใช้น้ํามันปาล์มเป็นวัตถุดิบ ทําให้ปาล์มน้ํามันเป็นสินค้า เกษตรที่สําคัญอันดับต้นๆ ของประเทศไทย และเป็นสินค้าท่ีสามารถทํารายได้ให้ประเทศไทยจํานวน มหาศาลสินค้าหนึ่ง
แต่อย่างไรก็ตาม พบว่านอกจากปาล์มน้ํามันยังเป็นพืชน้ํามันท่ีสําคัญของโลกเน่ืองจากเป็นพืชที่
ให้ผลผลิตนํามันต่อไร่สูงที่สุด แล้วยงมนี ํามันถั่วเหลืองเป็นนํามนพืชแข่งขนทางการค ผลิตและราคาเป็นอันดับสองรองจากน้ํามนปาล์ม (ตารางที่ 1-1 และ ภาพที่ 1-2)
เพราะมีปริมาณการ
ตารางท่ี 1-1 ปริมาณการผลิตนํามันพืชในตลาดโลก ปี 2550/51 – 2554/55 (หน่วย: ล้านตัน)
นํามันพืช | 2550/51 | 2551/52 | 2552/53 | 2553/54 | 2554/55 |
1) น้ํามันปาล์ม | 41.03 | 44.02 | 45.87 | 47.95 | 50.67 |
2) นํ้ามันถ่วเหลือง | 37.73 | 35.90 | 38.88 | 41.24 | 41.95 |
3) นํามันเรปซีด | 18.49 | 20.56 | 22.44 | 23.59 | 23.60 |
4) น้ํามันเมล็ดทานตะวนั | 10.14 | 11.95 | 12.11 | 12.21 | 14.15 |
5) นํามันเมล็ดในปาล์ม | 4.94 | 5.17 | 5.50 | 5.56 | 5.84 |
6) น้ํามันเมล็ดฝ้าย | 5.20 | 4.78 | 4.63 | 4.99 | 5.33 |
7) น้ํามันถ่ัวลิสง | 4.90 | 5.08 | 4.74 | 5.10 | 5.27 |
8) นํ้ามันมะพร้าว | 3.54 | 3.54 | 3.63 | 3.83 | 3.56 |
9) น้ํามันมะกอก | 2.81 | 2.78 | 3.05 | 3.04 | 3.10 |
รวม | 128.78 | 133.78 | 140.84 | 147.50 | 153.47 |
ข้อมูลจาก: TFI. “ตลาดนํ้ามนพืชและน้ํามันปาล์มโลก”. อุตสาหกรรมปาล์มนํ้ามันและผลิตภัณฑ์เกี่ยวเนื่อง. 2556
ภาพท่ี 1-2 เปรียบเทียบราคาน มันพชสื ําคัญของตลาดโลกปี 2547-2556
ข้อมูลจาก : United States Department of Agriculture
จากภาพท่ี 1-2 แสดงให้เห็นถึงความเคลื่อนไหวของราคานํ้ามันพืชสําคัญของโลกช่วงปี 2547- 2556 ทั้ง 4 ชนิด คือ ราคานํ้ามันปาล์ม (ตลาดมาเลเซีย) ราคาน้ํามันถั่วเหลือง (ตลาดชิคาโก) ราคา น้ํามันเรปซีด (ตลาดรอตเตอร์ดัม) และราคานํ้ามันเมล็ดทานตะวัน (ตลาดเม็กซิโก) พบว่าราคาน้ํามันพืช ทั้ง 4 ประเภท มีความผันผวนตลอดเวลาและมีการเคลื่อนไหวตามกัน โดยที่นํ้ามันปาล์มเป็นน้ํามันพืชที่ ราคาต่ําท่ีสุด รองลงมาคือ นํ้ามันถั่วเหลือง นํามันเรพซีด และน้ํามันเมล็ดทานตะวัน ตามลําดบั
ประเทศผู้ผลิตปาล์มนํ้ามันส่วนใหญ่อยู่ในแถบเอเชียตะวันออกเฉลียงใต้ โดยเฉพาะอินโดนีเซีย และมาเลเซีย ซ่ึงเป็นผู้ผลิตสําคัญของโลก โดยมีสัดส่วนการผลิตน้ํามันปาล์มดิบรวมกันถึงร้อยละ 85 ของ ปริมาณการผลิตทั้งโลก (ภาพที่ 1-3)
ภาพท่ี 1-3 สดส่วนผลผลิตน้ํามนปาล์มดิบของประเทศผูผลิตสําคญของโลก ปี 2556
ขอมูลจาก : Oil World
จากภาพที่ 1-3 แสดงสัดส่วนผลผลิตปาล์มน้ํามันของประเทศผู้ผลิตปาล์มนํ้ามันสําคัญของโลกคือ อินโดนีเซียและมาเลเซีย ซึ่งเพียงแค่สองประเทศดังกล่าวมีผลผลิตรวมถึงร้อยละ 85 ของทั้งโลก ปัจจุบัน ประเทศผู้กําหนดทิศทางตลาดน้ํามันปาล์มของโลกคือประเทศมาเลเซีย โดยราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทยก็ อางอิงกับตลาดมาเลเซียดวยเช่นกัน (ภาพท่ี 1-4)
ภาพที่ 1-4 เปรียบเทียบราคานํามันปาล์มดิบของไทยและมาเลเซีย ปี 2550-2556
ขอมูลจาก : กรมการค้าภายใน
ราคาน้ํามันปาล์มเป็นส่ิงที่มีการเคลื่อนไหวอยู่เสมอตามปัจจัยที่เข้ามากระทบ เป็นการยากท่ีจะ เข้าใจความเป็นไปของราคาน้ํามันปาล์มได้อย่างท่องแท้ หากไม่ใช่ผู้ที่เกี่ยวข้อง อย่างไรก็ตาม การได้รับรู้ ว่ามีปัจจัยอะไรบ้างที่มีผลต่อการเคลื่อนไหวขึ้น-ลงของราคาปาล์มน้ํามันอย่างแท้จริง ก็จะเป็นพื้นฐานท่ี บ่งชี้ทิศทางของราคาท่ีถูกตองมากยิ่งขึ้น
ด้วยลักษณะการดําเนินงานต่างๆ มีการสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน กับปัจจัยแวดล้อมที่มีความซับซ้อน และมีเงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลงไปตามเวลา ปริมาณการผลิตและราคาข้ึนอยู่กับปัจจัยภายใน คือ ปัจจัยการ
ผลิตภาคการเกษตร และปัจจัยภายนอกในภาคการตลาด และนโยบายภาคการเกษตรของรัฐบาล แนว ทางการวิเคราะห์จึงควรจะเลือกวิธีการจําลองสถานการณ์ (Simulation) ซึ่งการจําลองสถานการณ์ด้วย พลวัตระบบ (System Dynamics) เป็นกระบวนการในการออกแบบแบบจําลองของระบบจริงและ ประสบการณ์ด้านพฤติกรรมต่างๆ โดยการสร้างแบบจําลองเพื่อให้เข้าใจถึงพฤติกรรมของระบบหรือการ ประเมินด้วยวิธีการที่แตกต่างกันไปสําหรับการปฏิบัติการของระบบ (ภายใต้ข้อจํากัดซึ่งถูกกําหนดตาม มาตรฐานหรือเกณฑ์ที่ต้ังไว้) แล้วดําเนินการใช้แบบจําลองนั้นเพื่อการเรียนรู้พฤติกรรมของระบบงานหรือ เพ่ือประเมินผลการใช้กลยุทธ์ (Strategies) ต่างๆ ในการดําเนินงานของระบบภายใต้ข้อจํากดที่วางไว้
ผ ิจยจึงมีความต้องการเสนอนโยบายด้านการรกษาเสถียรภาพราคาปาล์มน้ํามันดวยพลวัตระบบ
(System Dynamics) ซ่ึงเป็นแนวคิดของการวิเคราะห์ข้อมูลโครงสร้างทั้งระบบที่มีความเช่ือมโยงกัน มา ใช้ในการศึกษาพฤติกรรมของราคาปาล์มน้ํามัน
1.2 วตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อศึกษาโครงสร้างความสัมพนธ์ความเชื่อมโยงของราคาปาล์มน้ํามนแต่ละตลาด
1.2.2 จําลองพฤติกรรมการเคลื่อนไหวของราคาปาล์มน้ํามัน
1.3 นิยามศัพท์เฉพาะของการวิจัย ตารางที่ 1-2 นิยามศัพท์เฉพาะของการวิจัย
ศัพท์เฉพาะ | รายละเอียด |
นํ้ามันปาล์ม (Palm Oil: PO) | เป็นน้ํามันท่ีได้จากการสกัดผลปาล์มทะลาย (Fresh Fruit Bunches: FFB) ซ่ึงประกอบด้วยน้ํามันปาล์มที่ได้จากเปลือกของผลปาล์ม เรียกว่า น้ํามันปาล์มดิบ (Crude Palm Oil: CPO) และน้ํามันปาล์มที่ได้จาก เมล็ดในปาล์ม (Kernel) เรียกว่า น้ํามันเมล็ดในปาล์ม (Crude Palm Kernel Oil: KO) |
นํ้ามนปาล์มบริสุทธิ์ (Refined Palm Oil: RPO) | เป็นผลิตภัณฑ์ท่ีได้จากการกลั้นนํ้ามันปาล์มดิบ (CPO) สามารถใช้ วัตถุดิบในอุตสาหกรรมอาหาร เช่น อุตสาหกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูป เนย เทียม ไอศกรีม นมข้นหวาน เป็นตัน |
นํามนปาล์มโอเลอิน (RBD Palm Olein: ROL) | เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกไขปาล์มบริสุทธิ์ออกจากนํ้ามันปาล์ม บริสุทธ์ิ (RPO) เพ่ือให้ได้น้ํามันปาล์มโอเลอิน นําไปใช้ทอดบริโภคใน ครัวเรือน หรือร้านอาหารท่วๆ ไป |
1.4 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
พลวัตของระบบ คือ วิธีการวิเคราะห์ปัญหาซึ่งมีเวลาเป็นปัจจัยสําคัญ และเป็นการศึกษาว่าทําอย่างไร ระบบจึงสามารถดํารงอยู่ได้หรือทําให้เกิดรูปแบบที่ได้รับประโยชน์เพื่อมีสภาวะภายนอกมากระทบ ซึ่ง วัตถุประสงค์สําคัญ 2 ประการ คือ
1) เพ่ืออธิบายพฤติกรรมของระบบในรูปแบบของโครงสร้างและนโยบายของระบบเมื่อเวลา เปลี่ยนไป
2) เพ่ือเปรียบเทียบและชี้แนะการเปลี่ยนโครงสร้างหรือนโยบายหรือทั้งสองอย่าง ซึ่งนําไปสู่การ ปรับปรุงพฤติกรรมให้มีประสิทธิภาพ
แบบจําลองสถานการณ์ (Simulation) สามารถนํามาแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้หลายระบบงาน ด้วยกันซึ่งแสดงตัวอย่างการนําไปใช้งานในระบบงานประเภทต่างๆ ได้ดังนี้
ด้านเศรษฐกิจและธุรกิจ
1) การจําลองระบบงานด้านบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ เช่น การศึกษาสถานะทางการตลาด การศึกษาอัตราการแลกเปลี่ยนเงิน ภาวะเงินเฟ้อ/เงินฝืด พฤติกรรมของผู้บริโภค เป็นต้น
2) การจําลองระบบด้านผลกระทบทางเศรษฐกิจ เม่ือมีการตัดสินใจใช้นโยบายต่างๆ
3) การจําลองระบบด้านการแข่งขันในเชิงธุรกิจต่างๆ เมื่อผู้บริหารมีแผนการแบบต่างๆ มาทดลองใช้
ดานอุตสาหกรรมและการจดการ
4) การจําลองระบบงานด้านอุตสาหกรรม เช่น ระบบคลังสินค้า ระบบแถวคอยระบบการรับ-จ่าย สินค้า เป็นต้น
5) การจําลองระบบด้านการบําบัดนํ้าเสียของโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ก่อนปล่อยน้ําที่บําบัดแล้ว ลงยงแหล่งนําสาธารณะ
6) การจําลองระบบการฝึกหัดบนเคร่ืองบิน โดยการจําลองสถานการณ์ ต่างๆ เช่น การขึ้นหรือลงใน สนามบินที่มีความจํากดในเรื่องสถานที่
7) การจําลองระบบด้านการทหาร เช่น การรบและการต่อสูต้ ่างๆ ด้านคมนาคม
8) การจําลองระบบงานด้านการจราจร เช่น ระยะเวลาที่ใชในการเปิดปิดสญญาณไฟเขียว ไฟเหลือง ไฟแดง ตามที่ตั้งสัญญาณไฟจราจร ณ จุดต่างๆ เป็นต้น
9) การจําลองระบบดานการจัดการคมนาคมทางอากาศให้กับเครื่องบินเคร่ืองใดเครื่องหนึ่ง ณ ระดับ ความสูงเท่าใดเพื่อป้องกันอุบัติเหตุเคร่ืองบินชนกัน
ในการสร้างแบบจําลองสถานการณ์จะทําในรูปแบบทางคณิตศาสตร์ท่ีต้องอาศัยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ในการทํางานซ่ึงมีขนั ตอนการทํางาน (วิชัย, 2544) ดังนี้
1) กําหนดรูปแบบปัญหา (Problem Formulation) ไม่ว่าจะศึกษาเพื่อทําการแก้ปัญหาแบบใดก็ ตาม สิ่งแรกที่ต้องทําก็คือ การกําหนดว่าปัญหามีอะไรบ้าง ผู้กําหนดนโยบายต้องพิจารณาว่า ปัญหาที่ยกมานั้นครอบคลุมปัญหาทง้ หมดแล้ว
2) การกําหนดวตถุประสงค์ (Set Objective & Overall Planning) การกําหนดวัตถุประสงค์เพื่อให้ เกิดความชัดเจนว่าจะทําตวแบบจําลองอย่างไร กําหนดขอบเขตของโครงงาน ขอจํากัดต่างๆ
3) สร้างตัวแบบจําลอง (Model Building) สร้างตวแบบจําลองต้องคํานึงถึงลักษณะของระบบงานที่ เราจําลอง และตวแบบจําลองนี้ต้องสามารถอธิบายพฤติกรรมของระบบท่ีต้องการศึกษาได้ชัดเจน
4) การเก็บข้อมูล (Data Collection) ตัวแปรของระบบท้ังหมดจะเป็นข้อมูลท่ีเราต้องทําการเก็บ รวบรวม
5) การลงรหัส (Coding) เป็นการเปลี่ยนตัวแบบจําลองให้เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์
6) ตรวจสอบความถูกต้องของโปรแกรม (Verified) เป็นขั้นตอนการตรวจสอบว่าโปรแกรมนี้ทํางาน ไดหรือไม่
7) ตรวจสอบความถูกต้องของระบบจําลอง (Validate) เป็นการตรวจสอบขั้นต่อมาว่าโปรแกรม
สามารถดําเนินการได ่าน และผลลัพธ์ที่ไดถู้ กตองหร้ ือไม
8) วางแผนการทดลอง (Experiment Design) เป็นการวางแผนการใช้ตัวแบบจําลองอย่างไร จึงจะ ได้ขอมูลมาวิเคราะห์ได้
9) ให้ตัวแบบจําลองทํางานและวิเคราะห์ผล (Production Runs & Analysis) เมื่อมีการวาง
แผนการทดลองแล้วก็ต้องมีการสง่ ให วแบบทําตามแผนที่วางไว้ และวิเคราะห์ผลลพธ์ออกมา
10) พิจารณาการทํางานเพ่ิม (More Runs) เนื่องจากบางครังตัวแบบจําลองให้ผลออกมาไม่เป็นตามที่ ต้องการและยังขาดความถูกต้องแม่นยํา เพื่อให้เกิดความถูกต้องมากขึ้นก็อาจมีการเพิ่มตัวแบบ ทํางานหรือตัวแปรเข้าไปเพื่อให้ระบบจําลองสถานการณ์สมบูรณ์ขึ้น
11) การทําคู่มือการใช้งานและทําการรายงานผล (Document Program & Report Result) การทํา คู่มือการใช้งานหรือเอกสารอธิบายแบบจําลองเพ่ือให้ผู้ใช้งานทราบข้อจํากัดต่างๆ ในตัว แบบจําลอง หากมีการนําตวแบบจําลองนําไปใช้งาน และจดทํารายงานผลการทํางานหรือผลการ ทดลองออกมาแสดงด้วย
12) การนําไปใช้งาน (Implementation) เป็นการนําแบบจําลองสถานการณ์ที่สร้างขึ้นเสร็จสมบูรณ์ แลวมาช่วยในการตัดสินใจต่อไป
ภาพที่ 1-5 การกําหนดโครงสร้างและวิเคราะห์แบบจําลอง กระบวนการสร้างพลวัตของระบบตามวิธีของ R.G Coyle (1996) มีขั้นตอนดังนี้
1) ระบุคําจํากัดกัดความของปัญหา
2) อธิบายระบบ โดยหาปัจจัยท่ีมีผลกับสถานการณ์ท่ีต้องการศึกษาหาความสัมพันธ์ของโครงสร้าง ของระบบและศึกษาผลของนโยบายที่ใช้ในระบบ ในรูปของความสัมพันธ์เหตุและผลโดยใช้ แผนผังอิทธิพล (Influence Diagram) ซ่ึงเป็นแผนผงแสดงความสัมพันธ์ของโครงสร้างของระบบ
เบ งต้น
3) สร้างแบบจําลองสถานการณ์ โดยเขียนแบบจําลอง (Model) ลงในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ประมวลผลเพื่อดูพฤติกรรมของระบบ และทดสอบความถูกต้องของแบบจําลองโดยเทียบกับ ระบบจริง ถ้ายังไม่ถูกต้องให้กลับไปแก้ไขในข้อ 2
4) ออกแบบนโยบายใหม่เพื่อหานโยบายที่ดีที่สุด ดังนั้นสามารถสรุปขั้นตอนการดําเนินงานพลวัตของระบบตามวิธีของ R.G. Coyle (1996) เป็นผัง
ของขั้นตอนการดําเนินงานได้ดังภาพที่ 1-6
ระบุปัญหา
การอธิบายระบบ
สรร้างแบบจําลองพลวัตของระบบ
No
ตรวจสอบความถูกต้อง
Yes
ปรับปรุงระบบ
ภาพที่ 1-6 แผนภาพขั้นตอนการทํางานของระบบพลวตั
ในการยืนยันและหาความน่าเช่ือถือของแบบจําลองถือเป็นข้ันตอนท่ีสําคัญที่สุดก่อนท่ีจะนํา แบบจําลองไปใช้งาน โดยการ Validation เป็นการยืนยันว่าแบบจําลองที่สร้างขึ้นมีความถูกต้องตรงตาม ระบบจริง (Real System) ส่วน Verification เป็นการยืนยันว่าโปรแกรมสามารถจําลองระบบได้อย่าง ถูกตอง
REAL
MODEL
SIMULATION
Validate
Verify
ภาพที่ 1-7 Verification และ Validation 1
จากภาพท่ี 1-7 สามารถอธิบายได้ว่า ระบบจริงสามารถอธิบายได้ด้วยแบบจําลอง ส่วน แบบจําลองสามารถอธิบายการทํางานโดยโปรแกรมการจําลองระบบ การ Validation เป็นการยืนยันว่า แบบจําลองสอดคล้องกับระบบจริง ส่วนการ Verification เป็นการยืนยันว่าโปรแกรมการจําลองระบบ สามารถทํางานตอบสนองตรงตามวัตถุประสงค์ที่เราต้งไว้ Model Validation
เทคนิคในการวดความถูกต้องของแบบจําลองในด้านของผล ของขอมูลความน่าเชื่อถือ ความเป็น เหตุเป็นผล และระดับความม่นใจในความเชื่อถือ มีทั้งหมด 4 เทคนิค คือ
1 Danupun Visuwan. 2002. The Economics of Quality Improvement : A SystemDynamics Simulation Approach. The University of Nottingham, Faculty of Engineering and Management.
1) การสอบถามผูเช่ียวชาญ (Face Validation) ซึ่งได้สอบถามจากผู้เชี่ยวชาญในระบบ Simulation และมีประสบการณ์ในระบบการทํางานนั้นๆ แล้วทําการปรับปรุงปัจจัยหรือตัวแปรต่างๆ ทําให้ ผูเช่ียวชาญยอมรับในแบบจําลองว่าสามารถเชื่อถือไดจริง
2) การกําหนดค่า (Fixed Valued) เป็นการกําหนดรูปแบบและการเชื่อมโยงของแบบจําลองโดย พิจารณาข้อมูลตัวแปรทางเศรษฐกิจมหภาค เช่น อัตราดอกเบี้ยการนําเข้า การส่งออก ฯลฯ มา พิจารณาร่วมกับข้อกําหนดและปัจจัยท่ีสัมพันธ์กัน จากนั้นจึงคํานวณผลที่น่าจะเกิดขึ้นโดยใช้ ความเป็นเหตุเป็นผล แล้วนําผลที่ได้มาทําการเปรียบเทียบเพ่ือหาทางเลือกที่ดีที่สุดและมีความ เป็นไปได้ในทางปฏิบัติจริง
3) ทดสอบในสภาวะที่ผิดปกติ (Extreme-Condition) การกําหนด Input ในระบบท่ีผิดปกติหรือ ระบบที่ไม่สัมพันธ์กัน จะถูกทดสอบโดยในสมการหลักๆ ภายในแบบจําลองนั้น ผลของ แบบจําลองที่มีการแปรผัน ยกตัวอย่างเช่น การคิดค่าจ้างแรงงาน โดยหลักถ้าเพิ่มสายการผลิต หรือเพิ่มเครื่องจักรท่ีต้องมีคนควบคุม ค่าจ้างแรงงานจําเป็นต้องมีค่ามากขึ้น แต่ถ้าค่าใน แบบจําลองแสดงผลลดลง แสดงว่ามีการคํานวณผิดพลาดที่สมการค่าจางแรงงาน
4) การทําสอบค่าเส่ือม (Degenerate Test) ทําโดยการเลือกค่า Input ในการทดลองเทคนิคนี้จะ ประยุกต์ การทดลองและการเปรียบเทียบในแต่ละขบวนการ หรือท้ังหมดของแบบจําลอง ความ น่าเชื่อถือของแบบจําลองจะเกิดขึนถ้าผลที่แสดง Output ตรงกัน
ส่วนเทคนิควิธีในการ Verification เป็นการทําให้แน่ใจว่าแบบจําลองมีพฤติกรรมอย่างที่ต้องการ ใหเป็นโดยมีวิธีใช้ในขั้นตอนนี้ ไดแก่
1) การถามความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ (Face Validity)
2) การทดสอบความถูกต้องของกลไกภายในแบบจําลอง (Internal Validity)
3) การทดสอบความถูกต้องของตัวแปรและพารามิเตอร์ (Variables-Parameters Validity)
4) การทดสอบความถูกตองของสมมติฐาน (Hypothesis Validity)
โครงสร้างของแบบจําลองท่ีสามารถแสดงวัตถุประสงค์หลายประการได้อย่างประสบผลสําเร็จนั้น จะต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้
• สามารถอธิบายความสมพันธ์ท่ีเป็นเหตุเป็นผลกันได้
• มีรูปแบบทางคณิตศาสตร์ท่ีง่ายต่อการทําความเข้าใจ
• ต้องมีความสัมพันธ์กนระหว่างระบบอุตสาหกรรม เศรษฐกิจ และสังคม
• สามารถท่ีจะเพ่ิมจํานวนตัวแปรไดโดยไม่มีขอจํากัดทางคอมพิวเตอร์
1.5 ระเบียบวิธีการวิจัย
การวิจัยน้ีเป็นการจําลองสถานการณ์ทางราคาโดยมีวัตถุประสงค์ 2 ข้อคือ ทราบถึงโครงสร้าง ความสัมพันธ์ความเชื่อมโยงของราคาปาล์มนํ้ามันแต่ละตลาด และเพื่อจําลองพฤติกรรมการเคลื่อนไหว ของราคาปาล์มน้ํามัน โดยมีขันตอนการดําเนินงานวิจยดังนี้
1) สร้างโครงสร้างความสัมพนธ์ความเช่ือมโยงของราคาปาล์มน้ํามันแต่ละตลาด
เพ่ือเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยข้อท่ี 1 จะต้องศึกษาค้นคว้าข้อมูลปัจจัยที่มีผลกระทบ ต่อราคาปาล์มน้ํามันทั้งข้อมูลอนุกรมเวลา (time series) รายสัปดาห์และเป็นแบบทุติยภูมิ (secondary data) รวมทั้งข่าวสาร สถานการณ์ต่างๆ ที่มีผลทําให้ราคาปาล์มน้ํามันมีความผันผวน ในแต่ละช่วงเวลา นํามาสรุปเป็นตัวแปรที่ส่งผลให้ราคาปาล์มผันผวน ซ่ึงจากขั้นตอนน้ีต้องทําการปรับปรุงตัวแปรต่างๆ โดย การจัด Focus group 1 เพื่อเป็นการยืนยันผลการค้นคว้าปัจจัยจากข้อมูลทุติยภูมิและปฐมภูมิที่และ ปัจจัยที่ส่งผลให้ราคาปาล์มผันผวน โดยผู้เช่ียวชาญ จากนั้นจึงนําข้อมูลและตัวแปรที่ได้จากการศึกษามา สร้างสร้างโครงสร้างความสัมพันธ์ความเชื่อมโยงของราคาปาล์มนํ้ามันแต่ละตลาด และวิเคราะห์ผลของ ความสัมพันธ์ของตลาดปาล์มแต่ละตลาด ซึ่งจากการดําเนินงานดังกล่าวจะทําให้ทราบถึงโครงสร้าง ความสัมพันธ์ความเช่ือมโยงของราคาปาล์มน้ํามนแต่ละตลาด และทราบถึงตลาดท่ีมีอิทธิพลในการกําหนด
ราคาปาล์มน มันที่เกษตรกรขายได้
2) จําลองพฤติกรรมการเคล่ือนไหวของราคาปาล์มน้ํามนั เพื่อเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยข้อที่ 2 จะต้องนําโครงสร้างความสัมพันธ์ความเชื่อมโยง
ของราคาปาล์มน้ํามันแต่ละตลาดท่ีได้จากขั้นตอนที่ 1 มาจําลองพฤติกรรมการเคลื่อนไหวของราคาปาล์ม น้ํามันเม่ือมีปัจจัยที่ส่งผลให้ราคาปาล์มนํ้ามันผันผวน โดยใช้ พลวัตระบบ (System Dynamics) ในการ จําลองสถานการณ์ จากน้ันจึงวิเคราะห์และทวนสอบความถูกต้องของแบบจําลองที่สร้างขึ้น โดย เปรียบเทียบความคลาดเคลื่อนของข้อมูลจากอดีต จากนั้นจึงวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรที่มีผลต่อ ราคาปาล์มนํามัน
และเพื่อเป็นแนวทางการกําหนดนโยบายเพ่ือรองรับความผันผวนของราคาปาล์มน้ํามัน จึงนําผล ที่ได้จากการวิเคราะห์ตัวแปรที่มีผลต่อราคาปาล์มนํ้ามัน มากําหนดมาตรการรองรับสถานการณ์ โดยการ จัด Focus group 2 ซึ่งนอกจากจะเป็นการกําหนดมาตรการรองรับสถานการณ์จากผู้เช่ียวชาญ แล้วยัง เป็นการยืนยนผลการวิเคราะหความสมพันธ์ของตัวแปรที่มีผลต่อราคาปาล์มน้ํามนั เมื่อได้มาตรการแล้วทํา การจําลองพฤติกรรมการเคล่ือนไหวของราคาปาล์มน้ํามันจากมาตรการรองรับสถานการณ์ จากนั้น วิเคราะห์และเปรียบเทียบราคาปาล์มน้ํามันที่เกิดข้ึนจากมาตรการรองรับสถานการณ์ท่ีสร้างขึ้น ซึ่งจาก การดําเนินงานดังกล่าวจะทําให้ทราบถึงแนวโน้มของราคาท่ีจะมีการเปล่ียนแปลงเม่ือมีเหตุการณ์สําคัญๆ
เกิดข
ซึ่งจะนําไปสู่แนวทางการกําหนดนโยบายเพ่ือรองรับความผันผวนของราคาปาล์มน้ํามันต่อไป จากวิธีการวิจัยข้างต้นสามารถสรุปเป็นขันตอนการวิจัยได้ดังต่อไปนี้
ศึกษาค้นคว้าข้อมูลปัจจยที่มีผลกระทบต่อราคาปาล์มนํามัน
ทง้ ข้อมูลทุติยภูมิและปฐมภูมิ
สรุปปัจจยที่ส่งผลให้ราคาปาล์มผนผวน
Focus Group 1
สร้างโครงสร้างความสัมพันธ์ความเช่ือมโยงของราคาปาล์มน้ํามันแต่ละตลาด
วิเคราะห์ผลของความสมพนธ์ของตลาดปาล์มแต่ละตลาด
Progress Report 6 Months
จําลองพฤติกรรมการเคลื่อนไหวของราคาปาล์มนําม
เมื่อมีปัจจัยที่ส่งผลใหราคาปาล์มน้ํามันผันผวน AS-IS
ทดสอบความถูกต้องของ
แบบจําลอง
วิเคราะห์ราคาปาล์มนํามนที่เกิดข้ึนจากผลกระทบของปัจจยั AS-IS
กําหนดมาตรการรองรับสถานการณ์ TO-BE
Focus Group 2
จําลองสถานการณ์ตามมาตรการรองรับสถานการณ์ TO-BE
ตรวจสอบพฤติกรรมท่ีเกิดขึ้น
ของแบบจําลอง
วิเคราะห์ราคาปาล์มนํามนที่เกิดขนึ จากมาตรการรองรับสถานการณ์ TO-BE
สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะงานวิจัย
Final Report
ภาพที่ 1-8 แผนภาพขั้นตอนการดําเนินงานวิจ
หมายเหตุ
AS-IS : สภาวะจริง
TO-BE : สภาวะที่คาดหวังจะใหเป็น
1.6 ขอบเขตการวิจยั
1. ขอบเขตการศึกษา (ระบุขอบเขตในการศึกษาใ👉ช้ ัดเจน ว่าเน้นศึกษาประเด็นใดมีขอบเขต การศึกษาครอบคลุมเพียงใด)
- ราคาปาล์มนํ้ามันแต่ละตลาดท่ีใช้ประกอบในการสรางความสัมพันธ์ความเชื่อมโยง ประกอบด้วยตลาดดังนี้
o ราคาปาล์มน้ํามัน จากตลาดท้องถิ่น ประกอบดวย จังหวัดกระบี่, จังหวัดชุมพร และ จังหวดสุราษฎร์ธานี
o ราคานํามันปาล์มดิบ จากตลาดกรุงเทพฯ และตลาดมาเลเซีย
- ข้อมูลท่ีใช้ในการศึกษาเป็นข้อมูลอนุกรมเวลา (time series) รายเดือนและเป็นแบบทุติยภูมิ (secondary data) ตั้งแต่เดือนมกราคม 2550 ถึงเดือนธันวาคม 2556 โดยแหล่งท่ีมาของ ข้อมูลราคาของตลาดต่างๆ ไดจาก สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร และกรมการค้าภายใน
- เครื่องมือท่ีใช้ในการจําลองพฤติกรรมการเคล่ือนไหวของราคาปาล์มน้ํามัน คือ ระบบพลวัต
(System Dynamics)
จากการทฤษฎีและขอบเขตของการศึกษาสามารถสรุปเป็นกรอบแนวคิดของโครงการวิจัยได้ดังนี้
ตวแปรอิสระ
กลไก
⮚ ราคาปาล์มน้ํามันในตลาดท้องถ่ิน
o จังหวัดกระบี่
o จงหวดชุมพร
o จังหวัดสุราษฎร์ธานี
⮚ ราคาน้ํามันปาล์มดิบตลาดในประเทศ และนอกประเทศ
o ตลาดกรุงเทพฯ
o ตลาดมาเลเซีย
การจําลองสถานการณ ระบบพลวัต
ตวแปรตาม
ราคาปาล์มนํามัน ที่เกษตรกรขายได้
⮚ ปัจจัยระยะส (เหตการณ์ุ ที่ทําใหราค้ า
เกิดการผนผวนในช่วงเวลาท่ีผ่านมา) เช่น เหตุการณ์นาํ ท่วมที่ผ่านมา
แนวทางการกําหนดนโยบาย เพ่ือรองรบความผันผวนของ ราคาปาล์มน้ํามัน
ภาพท่ี 1-9 กรอบแนวคิดการวิจยั
1.7 ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ
กิจกรรม (activities) | ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ (outputs) |
- ศึกษาค้นคว้าข้อมูลปัจจยที่มีผลกระทบต่อราคาปาล์มน้ํามัน ทั้งข้อมูลทุติยภูมิและปฐมภูมิ - สรุปปัจจัยท่ีส่งผลใหราคาปาล์มผนผวน - Focus group 1 เพ่ือยืนยันผลการค้นคว้าปัจจัยจากข้อมูล ทุติยภูมิและปฐมภูมิที่และปัจจยที่ส่งผลใหราคาปาล์มผนผวน - สรางโครงสร้างความสัมพันธ์ความเช่ือมโยงของราคาปาล์ม น้ํามันแต่ละตลาด - วิเคราะห์ผลของความสัมพันธ์ของตลาดปาล์มแต่ละตลาด | ทราบถึงโครงสรางความสมพนธ์ ความเช่ือมโยงของราคาปาล์มนํามัน แต่ละตลาด และทราบถึงตลาดที่มี อิทธิพลในการกําหนด ราคาปาล์มน้ํามันท่ีเกษตรขายได้ |
- จําลองพฤติกรรมการเคลื่อนไหวของราคาปาล์มน้ํามันเมื่อมี ปัจจัยที่ส่งผลใหราคาปาล์มน้ํามันผนผวน AS-IS - วิเคราะห์ราคาปาล์มนํามนที่เกิดขึนจากผลกระทบของปัจจัย AS-IS - กําหนดมาตรการรองรบสถานการณ์ TO-BE - Focus group 2 เพื่อยืนยนผลการวิเคราะห์ราคาปาล์ม น้ํามนท่ีเกิดข้ึนจากผลกระทบของปัจจยและกําหนดมาตรการ รองรับสถานการณ์จากผู้เชี่ยวชาญ - จําลองสถานการณ์ตามมาตรการรองรบสถานการณ์ TO-BE - วิเคราะห์ราคาปาล์มน้ํามันที่เกิดขึ้นจากมาตรการรองรบั สถานการณ์ TO-BE - สรุปผลการวิจยและขอเสนอแนะงานวิจัย | ทราบถึงแนวโน้มของราคา ทีจะมีการเปล่ียนแปลงเม่ือมี เหตุการณ์สําคัญๆ เกิดขึ้น ซ่ึงจะ นําไปสู่แนวทางการกําหนดนโยบาย เพื่อรองรับความผันผวนของราคา ปาล์มน้ํามัน |
บทที่ 2
สถานการณ์และราคาปาล์มนํ้ามัน
2.1 สถานการณ์ดานการผลิตปาล์มน้ํามนั
2.1.1 สถานการณ์การผลิตปาล์มน้ํามันของโลก
ความสําคัญของนํ้ามันปาล์มในตลาดนํ้ามันพืชโลกมีเพ่ิมสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง นํ้ามันปาล์มถูก นําไปใช้ในผลิตภัณฑ์ โดยน้ํามันปาล์มมีศักยภาพในการผลิตสินค้าต่อเน่ืองอีกมากมาย ตั้งแต่อาหาร เคร่ืองสําอาง รวมท้งนํามนไบโอดีเซล พบว่าตง้ แต่ปี 2553 ถึงปี 2555 มีการปลูกปาล์มเพิ่มมากขึ้นโดยเนื้อ
ท่ีใหผลผลิตของทั้งโลกมีถึง 102.5 ลานไร่ เพิ่มขึ้นจาก 99.5 ล้านไร่ ในปี 2553 โดยอินโดนีเซียมีพ และผลผลิตปาล์มน้ํามันมากท่ีสุดในโลก รองลงมาเป็นมาเลเซีย (ตารางที่ 2-1 และภาพที่ 2-1)
ที่ปลูก
ตารางที่ 2-1 ปริมาณเนื้อท่ีให้ผลผลิต ผลผลิตปาล์มน้ํามัน และผลผลิตต่อไร่ ของประเทศผู้ปลูกปาล์ม นํ้ามันที่สําคญของโลก
ประเทศ | เนื้อที่ใหผลผลิต (1,000 ไร่) | ผลผลตปาล์มน้ํามัน (1,000 ตนั ) | ผลผลิตต่อไร่ (กก.) | ||||||
2553 | 2554 | 2555 | 2553 | 2554 | 2555 | 2553 | 2554 | 2555 | |
อินโดนีเซีย | 35,875 | 38,063 | 38,063 | 97,800 | 101,700 | 101,700 | 2,726 | 2,672 | 2,672 |
มาเลเซีย | 25,063 | 25,063 | 25,063 | 87,825 | 87,825 | 87,825 | 3,504 | 3,504 | 3,504 |
ไทย* | 3,552 | 3,747 | 3,983 | 8,223 | 10,777 | 11,327 | 2,315 | 2,876 | 2,844 |
โคลัมเบีย | 1,031 | 1,031 | 1,031 | 3,100 | 3,780 | 3,780 | 3,006 | 3,665 | 3,665 |
ไนจีเรีย | 20,000 | 20,000 | 20,000 | 8,000 | 8,000 | 8,000 | 400 | 400 | 400 |
อื่นๆ | 13,935 | 14,327 | 14,396 | 22,095 | 22,320 | 23,015 | 1,845 | 1,821 | 1,844 |
โลก | 99,456 | 102,231 | 102,536 | 227,043 | 234,402 | 235,647 | 2,283 | 2,289 | 2,292 |
ท่ีมา : องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) สิงหาคม 2556
* กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์
จากตารางท่ี 2-1 แสดงปริมาณเนื้อที่ให้ผลผลิต ผลผลิตปาล์มน้ํามัน และผลผลิตต่อไร่ ของ ประเทศผู้ผลิตน้ํามันปาล์มที่สําคัญของโลก ในช่วงปี 2553-2555 พบว่า อินโดนีเซียเป็นประเทศที่มีเนื้อที่ ให้ผลผลิตปาล์มสูงสุดถึง 38.06 ล้านไร่ เมื่อพิจารณาถึงศักยภาพในการผลิตพบว่าโคลัมเบียท่ีมีเนื้อที่ใน การผลิตเพียง 1.03 ล้านไร่ แต่สามารถให้ผลผลิตมาก 3.78 ล้านตัน คิดเป็นผลผลิต 3,665 กิโลกรัมต่อไร่ เนื่องจากภูมิประเทศและอากาศของประเทศโคลัมเบียที่มีอุณหภูมิและความชื้นสูงตลอดท้ังปี โดยมี ปริมาณน้ําฝนต่อปีโดยเฉลี่ยสูงถึง 40 นิ้ว แม้จะมีเนื้อที่ให้เพาะปลูกน้อยกว่าประเทศอ่ืนๆ แต่สามารถผลิต ปาล์มน้ํามันต่อไร่สูง เนื่องมาจากสภาพพื้นที่และปริมาณน้ําฝนที่เอื้ออํานวยต่อการผลิตปาล์มน้ํามัน ในขณะที่ประเทศมาเลเซียที่มีพ้ืนท่ีปลูกเป็นอันดับรองลงมาจากอินโดนีเซียมีศักยภาพในการปาล์มน้ํามัน มาก 3,504 กิโลกรัมต่อไร่ สูงกว่าประเทศผู้ผลิตรายอื่นๆ ซึ่งโดยเฉลี่ยของโลกอยู่ที่ 2,292 กิโลกรัมต่อไร่ ด้วยปริมาณการผลิตและศักยภาพการผลิตที่สูงทําให้มาเลเซียเป็นประเทศผู้กําหนดราคาน้ํามันปาล์มที่ สําคัญ
ภาพท่ี 2-1 เปรียบเทียบเนือที่ให้ผลผลิต ผลผลิตปาล์มน้ํามัน และผลผลิตต่อไร่ปี 2555
เมื่อเทียบกับน้ํามันพืชชนิดอ่ืน น้ํามันปาล์มมีผลผลิตเป็นอันดับหนึ่ง เนื่องจากเป็นพืชที่ให้ผลผลิต นํ้ามันต่อไร่สูงที่สุด ในปี 2555/56 คาดว่าจะมีผลผลิตนํ้ามันปาล์ม 55.3 ล้านตัน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ
34.5 ของน้ํามันพืชทั้งหมด เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ 10 ปีที่ผ่านมา ซึ่งมีผลผลิต 30.0 ล้านตันคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 29.3 (ภาพท่ี 2-2)
ภาพที่ 2-2 ผลผลิตน้ํามันพืชสําคัญของโลก ปี 2546/47 เทียบกับ ปี 2555/56
ที่มา : กระทรวงเกษตร สหรัฐอเมริกา กรกฎาคม 2556
หากพิจารณาถึงการบริโภคน้ํามันปาล์ม จะเห็นว่าท่ัวโลกมีการบริโภคเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ ปี 2550/51 จนถึงปัจจุบัน ทั้งบริโภคในรูปอาหารและไม่ใช่อาหาร คาดว่าในปี 2556/57 มีการบริโภคอยู่ ที่ 56.0 ล้านตัน เพ่ิมขึ้นจากปี 2550/51 ที่มีการบริโภคเพียง 39.8 ล้านตัน คิดเป็นการขยายตัวถึงร้อยละ
40.7 (ตารางที่ 2-2) และมีแนวโน้มจะเพิ่มข้ึนอีกตามปริมาณประชากรโลก โดยเฉพาะความต้องการของ อินเดียและจีน รวมทั้งการขยายตัวของความต้องการใช้เพื่อผลิตพลังงานทดแทนในแต่ละประเทศ
ประเทศผู้บริโภคน้ํามันปาล์มที่สําคัญได้แก่ อินเดีย อินโดนีเซีย และ จีน โดยประเทศอินเดีย จีน
เป็นผ ําเข้าสําคัญดวย (ภาพที่ 2-3) ส่วนอินโดนีเซียนั้นแทจะมีปริมาณการบริโภคมากแตอนโดนิ่ ีเซียก็เป็น
ผู้ผลิตอันดับหนึ่งด้วย
ภาพท่ี 2-3 ประเทศผู้บริโภคและผู้นําเข้านํ้ามันปาล์มสําคัญโลกปี 2555/56
ที่มา : กระทรวงเกษตร สหรัฐอเมริกา กรกฎาคม 2556
จากภาพที่ 2-3 พบว่า อินเดีย เป็นผู้บริโภคและนําเข้านํ้ามันปาล์มอันดับหนึ่งของโลก มีสัดส่วน คิดเป็นร้อยละ 16 ของการบริโภคท้ังหมด และร้อยละ 21 ของการนําเข้าทั้งหมด ด้วยจํานวนประชากรที่ เพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของอินเดียท่ีอยู่ในระดับสูง ธุรกิจ อุตสาหกรรมขยายตัว ทําให้ชนชั้นกลางมีรายได้มากข้ึน ความต้องการบริโภคน้ํามันจึงเพิ่มขึ้นซึ่งเป็น สาเหตุให้การผลิตน้ํามันพืชไม่เพียงพอต่อความต้องการภายในประเทศ ทางการอินเดียจึงต้องมีประกาศ ห้ามส่งออกน้ํามันบริโภคบางชนิดต้ังแต่ปี 2551 จนถึงปี 2555 และลดภาษีนําเข้าน้ํามันปาล์มดิบและ
นํามันปาล์มบริสุทธ์ิจากร้อยละ 20.6 และ 28.3 เหลือร้อยละ 0 และ 7.7 ตามลําดับ จึงเป็นการกระตุ้นให้ มีการนําเข้านํามนปาล์มเพ่ิมสูงขึน้
ประเทศผู้บริโภคอันดับสองคืออินโดนีเซีย ซึ่งแม้จะเป็นผู้ผลิตและส่งออกน้ํามันปาล์มรายใหญ่ ของโลก แต่ด้วยประเทศที่มีขนาดใหญ่และมีประชากรจํานวนมาก จึงมีความต้องการบริโภคและการใช้ใน อุตสาหกรรมสูงตามไปด้วย ทําให้อินโดนีเซียกลายผู้บริโภคน้ํามันปาล์มเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจาก อินเดีย โดยมีสัดส่วนร้อยละ 14 ของการบริโภคทั้งหมด
นอกจากอินเดียและอินโดนีเซีย แล้วยังมีจีนผู้บริโภคน้ํามันปาล์มอันดับ 3 ของโลก เน่ืองจาก จํานวนประชากรท่ีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และจากปี 2544 ที่ประชากรผู้อาศัยในเมือง มีการบริโภคนํ้ามัน
ต่อหัวที่ 8.1 กิโลกรัมต่อคน ส่งผลให ีการนําเข้าน้ํามนปาล์มเพมข่ิ ึ้นตามมา
จากที่กล่าวมาท้ัง 3 ประเทศต่างมีการบริโภคสูงตามจํานวนประชากรท่ีมีมากข้ึน ขณะที่ยุโรปผู้ใช้ น้ํามันปาล์มอันดับที่ 4 มีการบริโภคน้ํามันปาล์มสูงเน่ืองจากต้องการนําไปใช้เพื่อผลิตไบโอดีเซลตาม นโยบายด้านพลังงานของยุโรป
ตารางท่ี 2-2 สมดุลนํ้ามันปาล์มโลก (หน่วย : ล้านตัน)
ปี | ผลผลิต | นําเขา้ | ส่งออก | บริโภค | สต็อก |
2550/51 | 41.0 | 30.5 | 32.3 | 39.8 | 4.4 |
2551/52 | 44.1 | 34.1 | 34.7 | 42.7 | 4.8 |
2552/53 | 45.9 | 35.2 | 35.5 | 45.0 | 5.4 |
2553/54 | 48.7 | 36.3 | 36.9 | 47.7 | 5.8 |
2554/55 | 51.9 | 38.7 | 39.0 | 50.6 | 6.8 |
2555/56 | 55.3 | 41.0 | 41.6 | 53.6 | 7.9 |
2556/57 | 58.1 | 42.2 | 42.7 | 56.0 | 9.6 |
ที่มา : กระทรวงเกษตร สหรฐอเมริกา กรกฎาคม 2556
2.1.2 สถานการณ์ปาล์มนํามันของไทย
ในประเทศไทยได้มีการปลูกปาล์มนํ้ามันในทุกภาคของประเทศ แต่พบว่าพ้ืนที่ที่มีปริมาณพื้นที่ ปลูกและให้ผลผลิตสูงสุดคือภาคใต้ รองลงมาคือภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ ตามลําดับ เช่นเดียวกับปริมาณผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ ท่ีพบว่าภาคใต้เป็นภาคท่ีให้ผลผลิตสูงสุด และ ภาคเหนือเป็นภาคท่ีให้ผลผลิตต่ําสุด เพราะปาล์มนํา้ มันเป็นพืชเขตรอนที่เหมาะสมสําหรับการปลูกในเขต เส้นศูนย์สูตร ดังนั้นภาคใต้ซึ่งมีสภาพภูมิอากาศเหมาะสมจึงเป็นพื้นที่ที่ให้ผลผลิตสูงสุด และเป็นที่นิยม ปลูกมากที่สุด (ตารางที่ 2-3 และภาพที่ 2-4)
ตารางที่ 2-3 เนือที่ให้ผลผลิต ผลผลตและผลผลตต่อไร่ปาล์มน มันตามภมู ิภาคของประเทศ
ภูมิภาค | เนื้อที่ใหผลผลิต (ไร่) | ผลผลิตปาล์มน้ํามนั (ตัน) | ผลผลิตต่อไร่ (กก.) | ||||||
2553 | 2554 | 2555 | 2553 | 2554 | 2555 | 2553 | 2554 | 2555 | |
ภาคใต้ | 3,146,789 | 3,291,092 | 3,446,530 | 7,449,833 | 9,649,515 | 10,070,450 | 2,367 | 2,932 | 2,922 |
ภาคกลาง | 358,570 | 401,986 | 735,127 | 740,159 | 1,058,007 | 1,144,790 | 2,064 | 2,632 | 1,557 |
ภาคตะวันออก เฉลียงเหนือ | 39,576 | 47,049 | 75,598 | 30,526 | 64,329 | 100,860 | 771 | 1,367 | 1,334 |
ภาคเหนือ | 7,337 | 7,036 | 18,326 | 2,617 | 4,997 | 10,560 | 357 | 710 | 576 |
รวมทั้งประเทศ | 3,552,272 | 3,747,163 | 3,982,623 | 8,223,135 | 10,776,848 | 11,326,660 | 2,315 | 2,876 | 2,844 |
ข้อมูลจาก : สถิติการเกษตรของประเทศไทย
จากตารางที่ 2-3 พบว่านอกจากภาคใต้จะมีพื้นปลูกและให้ผลผลิตปาล์มน้ํามันสูงกว่าภาคอ่ืนๆ
โดยมีสัดส่วนของผลผลิตปาล์มน มันคิดเป็นร้อยละ 88.9 ของทั้งประเทศ (ภาพที่ 2-4) แล้วผลผลิตที่ไดตอ่้
ไร่ก็ยังสูงกว่าภาคอื่นๆ อยู่มาก เนื่องมาจากความเหมาะสมของพื้นที่ท่ีได้กล่าวมาข้างต้น โดยมีจังหวัด กระบี่ สุราษฎร์ธานีและชุมพร เป็นจังหวัดที่เป็นผู้ผลิตปาล์มนํ้ามันหลักของประเทศ โดยทั้ง 3 จังหวัดมี ผลผลิตรวมกับถึงร้อยละ 72 ของทงั ประเทศ (ตารางที่ 2-4 และ ภาพที่ 2-4)
ภาพท่ี 2-4 สดส่วนผลผลิตปาล์มน มันแยกตามภมู ิภาคและจังหวัด ปี 2555
ข้อมูลจาก : สถิติการเกษตรของประเทศไทย
ตารางที่ 2-4 เนือท่ีให้ผลผลิต ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ปาล์มนํามันของจังหวัดที่ปลูกปาล์มน้ํามันสําค
ประเทศ | เนื้อที่ให้ผลผลิต (ไร่) | ผลผลิตปาล์มน้ํามนั (ตัน) | ผลผลิตต่อไร่ (กก.) | ||||||
2553 | 2554 | 2555 | 2553 | 2554 | 2555 | 2553 | 2554 | 2555 | |
ประจวบคีรีขันธ์ | 167,063 | 190,288 | 207,880 | 365,033 | 500,838 | 528,960 | 2,185 | 2,632 | 2,545 |
ชุมพร | 709,861 | 726,960 | 774,200 | 1,592,288 | 2,167,068 | 2,243,630 | 2,243 | 2,981 | 2,898 |
สุราษฎร์ธานี | 897,797 | 950,542 | 966,180 | 2,218,456 | 2,865,884 | 2,960,420 | 2,471 | 3,015 | 3,064 |
พังงา | 101,444 | 105,420 | 108,640 | 188,179 | 258,814 | 275,510 | 1,855 | 2,455 | 2,536 |
กระบี่ | 928,769 | 930,272 | 954,730 | 2,390,651 | 2,858,693 | 2,961,420 | 2,574 | 3,070 | 3,102 |
ตรัง | 105,435 | 112,752 | 124,850 | 243,239 | 300,935 | 342,940 | 2,307 | 2,669 | 2,747 |
นครศรีธรรมราช | 146,929 | 180,738 | 199,320 | 301,939 | 499,560 | 531,940 | 2,055 | 2,764 | 2,669 |
สตูล | 100,959 | 108,916 | 112,350 | 218,172 | 279,587 | 289,630 | 2,161 | 2,567 | 2,578 |
อื่นๆ | 394,015 | 441,275 | 534,473 | 705,178 | 1,045,469 | 1,192,210 | 1,790 | 2,369 | 2,231 |
รวมทั้งประเทศ | 3,552,272 | 3,747,163 | 3,982,623 | 8,223,135 | 10,776,848 | 11,326,660 | 2,315 | 2,876 | 2,844 |
ข้อมูลจาก : สถิติการเกษตรของประเทศไทย
ปี 2556 เกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ํามันของไทยมีจํานวน 130,865 ครัวเรือน (สํานักส่งเสริมการค้า สินค้าเกษตร, 2555) โดยร้อยละ 75 เป็นเกษตรกรรายย่อย ท่ีเหลือผลิตในรูปบริษัท สหกรณ์ และนิคม จากลักษณะโครงสร้างการผลิตดังกล่าว ส่งผลให้การผลิตปาล์มน้ํามันของไทยประสบปัญหาในการเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต โดยเฉพาะการเพิ่มขึ้นของผลผลิตที่ส่วนใหญ่มาจากการขยายพื้นที่ปลูก ไม่ได้มา จากการเพ่ิมของผลผลิตต่อไร่ นอกจากนี้ผลผลิตต่อไร่ยังค่อนข้างผันผวนเนื่องจากสภาพภูมิอากาศที่ เปลี่ยนแปลงและแห้งแล้ง ส่งผลให้ปริมาณผลผลิตไม่เป็นไปตามฤดูกาล ทําให้ต้นทุนการผลิตเพ่ิมสูงขึ้น ต่อเน่ือง และสัดส่วนต้นทุนต่อราคาอยู่ในระดับสูง โดยในปี 2555 ราคาผลปาล์มนํ้ามันอยู่ที่ 4.9 บาทต่อ กิโลกรัม ขณะที่ต้นทุนการผลิตอยู่ที่ 3.0 บาทต่อกิโลกรัม ทําให้สัดส่วนต้นทุนต่อราคาสูงถึงร้อยละ 61.5 ผลจากต้นทุนวัตถุดิบที่สูง จะเชื่อมโยงไปสู่อุตสาหกรรมการผลิตน้ํามันปาล์มดิบ นํ้ามันปาล์มบริสุทธิ์ และ อุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องที่ต้องมีภาระต้นทุนที่สูงขึ้นเช่นกัน (ภาพที่ 2-5)
ภาพท่ี 2-5 โครงสรางของปาล์มน มันและนํ้ามันปาล์ม
ท่ีมา: สํานักส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตรและ KResearch
จากภาพที่ 2-5 แสดงถึงโครงสร้างของปาล์มน้ํามันและน้ํามันปาล์มไทยที่เริ่มจากเกษตรกรสวน ปาล์มที่ผลิตผลปาล์มทะลาย (Fresh Fruit Bunches: FFB) เพื่อป้อนให้กับโรงสกัดนํามันปาล์มดิบมีพ่อค้า คนกลาง (ลานเท) เป็นผู้รวบรวมผลปาล์มจากเกษตรกรก่อนน้ําไปส่งให้โรงสกัดภายใน 1-1½ วัน เพ่ือ ให้ผลปาล์มมีคุณภาพที่สุด เม่ือได้นํ้ามันปาล์มดิบ (Crude Palm Oil: CPO) ที่สกัดจากเปลือกผลปาล์ม
แล้วส่วนหนึ่งขายให้กับโรงกล นํ้ามันปาล์มบรสิ ุทธิ์ ส่วนหนงน่ึ ําไปผลิตไบโอดีเซลและส่งออก หลังจากน้ัน
น้ํามันปาล์มบริสุทธ์ิ (Refined Palm Oil: RPO) จะถูกนํ้าไปใช้เป็นวัตถุดิบสําหรับอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ต่อไป
2.2 สถานการณ์ดานราคาปาล์มน้ํามัน
2.2.1 สถานการณ์ราคาปาล์มน้ํามันของตลาดโลก
ราคาตลาดโลกสําหรับน้ํามันปาล์มที่ผู้ค้าท่ัวโลกนิยมใช้อ้างอิงราคากัน คือ ราคาในตลาดซื้อขาย ล่วงหน้าในประเทศมาเลเซีย มีชื่อว่า BURSA MALAYSIA สําหรับปัจจัยสําคัญที่มีผลต่อราคานํ้ามันปาล์ม ดิบ (CPO) ได้แก่ สภาพอากาศ ฤดูกาล ปริมาณผลผลิตและสต็อก สินค้าทดแทน ราคาราคาปิโตรเลียม (Crude oil) อัตราแลกเปลี่ยน อตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ มาตรการกีดกนทางการค้า
ราคา CPO มาเลเซีย
นาํ มนถ่วเหลือง
ราคาปิโตรเลียม (แกนขวา)
ภาพท่ี 2-6 เปรียบเทียบราคาน้ํามันปาล์มดิบ (CPO) นํามนถั่วเหลือง (SBO)
และราคาปิโตรเลียม (Crude oil) ต้งแต่ปี 2547 ถึงปี 2555
ที่มา: Malaysian Palm Oil Board
จากภพที่ 2-6 เปรียบเทียบราคาน้ํามันปาล์มดิบ (CPO) น้ํามันถ่ัวเหลือง และราคาปิโตรเลียม (Crude oil) ตั้งแต่ปี 2547 ถึงปี 2555 โดยก่อนปี 2549 ราคานํ้ามันปาล์มเคลื่อนไหวตามราคานํ้ามัน ถ่วเหลืองซึ่งเป็นสินค้าทดแทนแต่ด้วยภาวะราคาปิโตรเลียมในตลาดโลกปรับสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั่วโลกจึง ให้ความสนใจในพลังงานทดแทนจากพืชน้ํามันมากข้ึน ทําให้มีความต้องการนํ้ามันปาล์มเพื่อผลิต ไบโอดีเซลมากขึ้นตามไปด้วย จึงส่งผลต่อราคาน้ํามันปาล์ม พุ่งสูงถึงตันละ 1,249 และ 1,292 ดอลลาร์
สหร ประกอบกับผลผลิตออกสู่ตลาดมีความผันผวนจากผลกระทบของสภาพอากาศ ส่งผลใหราคานํ้ามัน
ปาล์มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่ก็มีช่วงปลายปี 2551 ถึงปี 2552 ท่ีราคาลดลง เน่ืองจากเศรษฐกิจโลกที่ ถดถอย โดยเป็นการลดแค่ช่วงเวลาสั้นๆ แล้วราคาก็กลับขึ้นมาเป็นปกติ
2.2.1 สถานการณ์ราคาปาล์มนํามันของตลาดไทย
สําหรับสถานการณ์ด้านราคาของไทย ถึงแม้ไทยจะผลิตใช้ในประเทศเป็นส่วนใหญ่ แต่มีส่วนที่ เหลือจําหน่ายต่างประเทศ ทําให้ราคานํ้ามันปาล์มดิบไทยจําเป็นต้องอางองราคาน้ํามันปาล์มดิบตลาดโลก ดังน้ันราคานํามันปาล์มดิบในตลาดโลกจึงเป็นปัจจัยกําหนดราคาทั้งนํามันปาล์มในประเทศและราคารับซื้อ ผลปาล์มทะลาย อย่างไรก็ตาม ผลผลิตที่ออกสู่ตลาดไม่สม่ําเสมอ มีผลกระทบต่อราคาในประเทศ ทําให้ บางปีรัฐบาลต้องมีมาตรการเพื่อรักษาเสถียรภาพของราคา
สถานการณ์ราคาปาล์มน้ํามันของไทยในปี 2550 ผลผลิตปาล์มนํามันลดลงจากภัยแล้ง ขณะที่ ความต้องการเพิ่มขึ้นทั้งเพื่อการบริโภคและผลิตไบโอดีเซล ประกอบกับมีการส่งออกมากเนื่องจากราคา ตลาดโลกสูงกว่าไทย ส่งผลให้ราคานํามันปาล์มเพิ่มขึ้น
ในปี 2551 ราคามีความผันผวนเช่นเดียวกับตลาดโลก โดยช่วงต้นปีสต็อกนํามันปาล์มต่ํากว่า ระดับปกติมาก ขณะที่ความต้องการใช้อยู่ในระดับสูงจากนโยบายประกาศใชน้ ้ํามันไบโอดีเซลบี 2 (B2) ใน เดือนกุมภาพนธ์ 2551 ทําให้ราคาสูงต่อเนื่อง รฐบาลจึงอนุมัติให้นําเข้า ส่วนปลายปีตลาดได้รับผลกระทบ จากวิกฤตเศรษฐกิจโลก ส่งผลให้ราคาปรับลดลงมาก รัฐบาลได้ออกมาตรการแทรกแซงราคารับซื้อผล ปาล์มกิโลกรมละ 3.5 บาท และนํามันปาล์มดิบท่ีกิโลกรัมละ 22.5 บาท ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2551 ถึง มกราคม 2552 อย่างไรก็ตาม ช่วงปลายปีผลผลิตออกสู่ตลาดน้อยโรงงานแข่งกันรับซื้อ ทําให้ราคาซ้ือขาย ขยับขึ้นสูงกว่าราคาประกัน
ในปี 2552 ราคานํ้ามันปาล์มดิบในไทยสูงกว่าตลาดโลก เน่ืองจากได้รับปัจจัยบวกจากโครงการ แทรกแซงราคาของภาครัฐต่อเนื่องจากปี 2551 โดยเริ่มแทรกแซงวันที่ 17 กุมภาพันธ์ จนถึงพฤษภาคม
2552
จากนั้นปี 2553 ราคาน้ํามันปาล์มดิบปรับตัวสูงเป็นประวัติการณ์เน่ืองจากผลผลิตลดลงต่ําสุดใน รอบ 5 ปี จากสถานการณ์ภัยแล้งช่วงต้นปีและอุทกภัยช่วงปลายปี ประกอบกับภาครัฐประกาศนโยบายใช้ น้ํามันไบโอดีเซลบี5 (B5) ในเดือนกันยายน 2554
จากผลผลิตตึงตัวต่อเนื่องมาต้ังแต่ปี 2553 ทําให้ในปี 2554 ราคาน้ํามันปาล์มดิบเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็วในไตรมาส 1 ขณะที่ความต้องการใชเพิ่มขึนทั้งเพือการบริโภคและผลิตไบโอดีเซล ภาครฐจึงอนุมัติ ให้นําเข้าในเดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ 2554 ขณะที่เดือนมีนาคมผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดมากขึ้น ส่งผล ให้สต็อกเพิ่มขึ้น รัฐบาลจึงประกาศให้โรงสกัดรับซื้อผลปาล์มไม่ต่ํากว่ากิโลกรัมละ 6.0 บาท และให้โรง กล่นรับซื้อนํามันปาล์มดิบจากโรงสกัดไม่ต่ํากว่ากิโลกรัมละ 36.3 บาท โดยรัฐบาลชดเชยส่วนต่างของราคา จําหน่ายนํ้ามันปาล์มบรรจุขวด 1 ลิตร กับต้นทุนการผลิตในอัตราลิตรละ 1.8 บาท ตั้งแต่ 10 เมษายน
จนถึง 30 มิถุนายน 2554
และปี 2555 ราคาปรับลดลง เนื่องจากมีการนําเข้าน้ํามันปาล์มและการเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษ การส่งออกน้ํามันปาล์มดิบ ประกอบกับความต้องการชะลอลงจากเศรษฐกิจโลกที่ยังเปราะบาง ทําให้ สต็อกอยู่ในระดับสูง ภาครฐมีมติให้ดูดซับน้ํามันปาล์มดิบส่วนเกิน โดยให้โรงงานสกดน้ํามันรับซื้อผลปาล์ม จากเกษตรกรในราคาไม่ต่ํากว่ากิโลกรัมละ 4.0 บาท และ 4.4 บาท สําหรับผลปาล์มที่อัตราน้ํามันร้อยละ 17 และ 18.5 ตามลําดับ และให้โรงกล่ันน้ํามันปาล์ม โรงงานผลิตไบโอดีเซลและผู้รับซ้ือน้ํามันปาล์มดิบ
ทั่วไป รับซื้อน้ํามันปาล์มดิบจากโรงงานสกัดในราคาไม่ต่ํากว่ากิโลกรัมละ 25.0 บาท มีผลตั้งแต่วันที่ 20
ธันวาคม 2555
2.3 นโยบายและมาตรการของภาครัฐ
2.3.1 นโยบายและมาตรการด้านการตลาด
(1) มาตรการจดระบบการค้าในประเทศ
ในอดีตไทยผลิตน้ํามันปาล์มได้ไม่เพียงพอและมีปัญหาการลักลอบนําเข้าจํานวนมากจึงอาศัย อํานาจตามกฎหมายว่าด้วยราคาสินคาและบริการมากําหนดมาตรการเพื่อดูแลเกษตรกรให้ได้รับราคาขาย ผลปาล์มที่เหมาะสมสอดคล้องกับราคานํามันปาล์มดิบดังนี้
• ควบคุมการขนย้ายน้ํามันปาล์มตั้งแต่ปี 2528 โดยผู้ประสงค์จะขนย้ายน้ํามันปาล์มตั้งแต่ 25
กิโลกรัมขึ้นไป จะต้องได้รับหนงสืออนุญาตการขนย้ายตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด
• กําหนดให้ผู้ผลิตนํ้ามันปาล์มทั้งโรงงานสกัดและโรงงานกลั่นแจ้งปริมาณการรับซื้อการผลิต การจําหน่าย สต็อคคงเหลือและสถานที่เก็บ เป็นประจําทุกเดือนตั้งแต่ปี 2532
• กําหนดให้ผู้รับซือปิดปายแสดงราคารบซื้อผลปาล์มตามคุณภาพ (% น้ํามัน)
• ออกตรวจสอบเครื่องช่งและการปิดป้ายราคาของผู้รับซื้อเป็นประจํา
(2) มาตรการการแทรกแซงตลาด
หากปริมาณผลผลิตปาล์มภายในประเทศมีมากเกินความต้องการใช้จํานวนมาก เกิดปัญหาราคา ผลปาล์มตกต่ําอย่างต่อเนื่อง รฐบาลอาจตองเข้าแทรกแซงตลาดเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรโดยให้ อคส.รับซื้อ น้ํามันปาล์มดิบจากโรงสกัดและให้โรงสกัดรับซื้อผลปาล์มทะลายจากเกษตรกรในราคาท่ีกําหนด ซ่ึงจะ ดําเนินการกรณีจําเป็นเท่านั้น เพราะการแทรกแซงตลาดเกิดผลดีกับเกษตรกรเฉพาะกลุ่ม แต่มีภาระ งบประมาณจํานวนมาก อีกทงั กลไกตลาดเกิดการบิดเบือนไม่เป็นผลดีต่อระบบการค้าทั้งระบบ
(3) มาตรการจัดระบบการคา้
สืบเนื่องจากการอาศัยช่องว่างของกฎหมายศุลกากรและกฎหมายการนิคมอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย มีการนําเขาเพ่ือส่งออก (ถ่ายลํา)
กระทรวงพาณิชย์ได้ใช้มาตรการแก้ไขปัญหาการตลาดปาล์มน้ํามันอย่างเป็นระบบโดยวางระบบ การคาในประเทศและระบบการนําเข้าให้รัดกุมเหมาะสมยิ่งขึ้น
(4) มาตรการรักษาเสถียรภาพราคา
นํ้ามันพืชบริโภคภายใต้การกํากับดูแลของคณะอนุกรรมการพิจารณากําหนดราคาน้ํามันพืช บริโภค เพื่อดูแลผู้บริโภคและค่าครองชีพให้สอดคล้องเหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวม
2.3.2 ดานพลงงาน
กระทรวงพลังงานมีนโยบายส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนเพื่อทดแทนการนําเข้าน้ํามันดิบจาก ต่างประเทศที่ไทยต้องสูญเสียเงินตราในราคานําเข้าที่แพง ในส่วนของดีเซลได้เร่งส่งเสริมการผลิต ไบโอดีเซลเพื่อให้ผู้ค้าผสมกับดีเซลจําหน่าย ซ่ึงเน้นหนักการใช้น้ํามนปาล์มดิบเป็นวัตถุดิบ โดยใช้มาตรการ บังคับในการส่งเสริมโดยให้ผู้ค้าน้ํามันจําหน่ายดีเซล ที่มีการผสมไบโอดีเซลการบังคับผสมในน้ํามันดีเซล สอดคล้องกับปริมาณผลผลิตนํามันปาล์มและกําหนดสูตรโครงสร้างราคา B100
2.3.3 การค้าระหว่างประเทศ
(1) การส่งออก
กระทรวงพาณิชย์ให้ส่งออกนํ้ามันปาล์มและน้ํามันเมล็ดในปาล์มได้โดยเสรี เพื่อส่งเสริมการ ส่งออกผลผลิตในประเทศ แต่หากช่วงใดเกิดปัญหานํ้ามันปาล์มขาดแคลนจะกําหนดให้มีมาตรการเก็บ ค่าธรรมเนียมพิเศษ เช่น ช่วงปี 2541-2542 กําหนดให้น้ํามันปาล์มดิบเป็นสินค้าที่ต้องเสียค่าธรรมเนียม พิเศษในการส่งออกเป็นการช่วคราวในอัตรา ร้อยละ 10 ของราคาส่งออก F.O.B.
(2) การนําเข้า
กระทรวงพาณิชย์มีมาตรการควบคุมการนําเข้านํ้ามันปาล์มเพื่อคุ้มครองเกษตรกรและผู้ผลิต ภายในประเทศตั้งแต่ปี 2525 ตามประกาศกระทรวงพาณิชย์ว่าด้วยการนําสินค้าเข้ามาในราชอาณาจักร ฉบับที่ 19 (พ.ศ.2525) และปัจจุบันมีผลบังคับใช้ตามประกาศฉบบที่ 69 (พ.ศ.2532)
(3) การเปิดตลาดภายใต้ WTO
เน่ืองจากกฎเกณฑ์การค้าของโลกกําหนดให้เปิดตลาดสินค้าควบคุมการนําเข้าเป็นผลให้ไทยต้อง เปิดตลาดนําเข้าน้ํามันปาล์มภายใต้ WTO ตั้งแต่ ปี 2538 แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ในโควตา (กําหนดปริมาณ และภาษี 20%) และนอกโควตา (ไม่จํากัดปริมาณโดยมีภาษีสูงที่ 143% ตั้งแต่ปี 2547) มี
คณะกรรมการนโยบายปาล์มน้ํามันแห่งชาติเป็นผ
(4) การเปิดตลาดภายใต้ AFTA
ิจารณา โดยการนําเข้าในโควตาให้ (อคส.เป็นผู้นําเข้า)
ตามข้อตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ไทยต้องปฏิบัติตามข้อตกลงการเปิดตลาดนําเข้านํ้า มนปาล์ม ในปี 2554 ไม่เสียภาษีนําเข้า (ร้อยละ 0)
(5) มาตรการบริหารการนําเข้า
เน่ืองจากข้อตกลงภายใต้ AFTA ให้ยกเลิกมาตรการท่ีมิใช่ภาษี และเกิดการนําเข้าเพื่อส่งออก ได้ ส่งผลกระทบต่อราคาผลปาล์มและการค้านํ้ามันปาล์มในประเทศ กระทรวงพาณิชย์โดยคณะกรรมการ แก้ไขปัญหาปาล์มน้ํามันอย่างเป็นระบบและความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ 2 พฤศจิกายน
2547 ได
ําหนดมาตรการการนําเข้าอย่างรัดกุมเพื่อมิให
่งผลกระทบต่อเกษตรกรและอุตสาหกรรมปาล์ม
นํามันภายในประเทศ โดย
• การนําเข้าภายใต้ AFTA กําหนดให้องค์การคลังสินค้าเป็นผู้นําเข้า
• การนําเข้าเพื่อส่งออก (นอกโควตา ภายใต้ WTO) กําหนดให้ผู้นําเข้ารับซื้อผลผลิต ภายในประเทศเพื่อส่งออกด้วย 1 ส่วนและต้องส่งออกรวม 2 ส่วนภายใน 30 วัน
บทที่ 3
การศึกษาปัจจัยท่ีส่งผลต่อราคาปาล์มน้ํามัน
3.1 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อราคาปาล์มนํามัน
ในการศึกษางานวรรณกรรมที่เก่ียวข้องกับปัจจัยที่มีผลกระทบต่อราคาปาล์มนํ้ามันนั้น พบว่ามี
ผ ิจัยที่ได ึกษาเกยวกบสถานการณของปาล์์ั่ี มนาํ มัน ปจจั ัยท่ีมีผลกระทบต่อราคาปาล์ม แนวทางการสราง
เสถียรภาพ ตลอดจนความสัมพันธ์ของตลาดปาล์มนํามันในระดับต่างๆ ไว้อย่างหลากหลายดังน
บัญชา สมบูรณ์สุข และคณะ (2544) ได ึกษาแนวทางการสรางเสถ้ ียรภาพราคาของอตสาหกรรมุ
ปาล์มน้ํามัน พบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกําหนดราคาปาล์มน้ํามันของเกษตรกรและพ่อค้ารวบรวม ท้องถิ่น ได้แก่ อํานาจการต่อรองราคาของเกษตรกร และระดับการแข่งขันของพ่อค้ารวบรวมท้องถ่ิน พบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกําหนดราคาปาล์มนํ้ามันของโรงงานสกัดนํ้ามันปาล์ม ได้แก่ ระดับราคา นํามนพืชทดแทน และราคานํ้ามันปาล์มต่างประเทศ
แนวทางในการรักษาเสถียรภาพราคาปาล์มน้ํามันที่สําคัญ ได้แก่ การส่งเสริมให้เกิดการรวมกลุ่ม ของเกษตรกร เพื่อเพิ่มอํานาจการต่อรองในการซื้อปัจจัยการผลิตและขายผลผลิตในราคาที่เป็นธรรม การ ปรับปรุงระบบข้อมูลข่าวสารด้านการผลิตและการตลาด การเคลื่อนไหวของราคาให้ทันต่อเหตุการณ์ นอกจากนี้รัฐบาลต้องทบทวนนโยบายบางประการที่มีผลกระทบต่อการกําหนดราคาและการรักษา เสถียรภาพราคา เช่น นโยบายการนําเข้าน้ํามนพืชทดแทน และการเปิดเสรีทางการค้า เป็นต้น
ต่อมา กฤษณา ภู่เทพ (2549) ได้ศึกษาการเคล่ือนไหวราคาปาล์มนํ้ามันที่เกษตรกรได้รับและ พยากรณ์ราคาปาล์มน้ํามันที่เกษตรกรได้รับอีก 5 ปีข้างหน้า และเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อราคาปาล์ม น้ํามันท่ีเกษตรกรได้รับในรูปสมการ โดยแสดงความสัมพันธ์ของราคานํ้ามันปาล์มในตลาดกรุงเทพฯ ราคา น้ํามันปาล์มในตลาดมาเลเซียซึ่งเป็นตลาดน้ํามันปาล์มท่ีใหญ่ที่สุดของโลก และอัตราการเจริญเติบโตของ ราคาปาล์มน้ํามันที่เกษตรกรไดร้ ับ ดงสมการต่อไปนี้
LPt = – 2.974 + 1.801(LPBt) – 0.496(LPMt) + 0.014(LGPt)
เมื่อ LPt แทน ราคาปาล์มนํามันที่เกษตรกรได ับ
LPBt แทน ราคานํามันปาล์มตลาดกรุงเทพฯ ในปีปัจจุบัน
LPMt แทน ราคานํามันปาลมตลาดมาเลเซียในปีปัจจุบัน
LGPt แทน อตราการเจริญเติบโตของราคาปาล์มนํ้ามนที่เกษตรกรได้รับ
ผลการศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อราคาปาล์มน้ํามันที่เกษตรกรได้รับพบว่า ราคาน้ํามันปาล์มตลาด กรุงเทพฯ เปล่ียนแปลงร้อยละ 1 จะทําให้ราคาปาล์มน้ํามันที่เกษตรกรได้รับเปลี่ยนแปลงไปร้อยละ 1.80 ในทิศทางเดียวกัน และมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเช่ือมันร้อยละ 99 ราคาน้ํามันปาล์มตลาด มาเลเซียมีผลต่อราคาปาล์มน้ํามันที่เกษตรกรได้รับในทิศทางตรงข้างกัน คือเมื่อราคาน้ํามันปาล์มตลาด มาเลเซียเปล่ียนแปลงร้อยละ 1 จะทําให้ราคาปาล์มที่เกษตรกรได้รับเปลี่ยนแปลงร้อยละ 0.496 ในทิศ ทางตรงข้าม ตัวแปรสุดท้ายคืออัตราการเจริญเติบโตของราคาปาล์มน้ํามันที่เกษตรกรได้รับไม่มีผลต่อการ เปล่ียนแปลงของราคาปาล์มน้ํามันที่เกษตรกรได้รับ
ในขณะเดียวกัน นุทยาพร เพชรสุวรรณ (2549) ได้ศึกษาวิเคราะห์การเคลื่อนไหวของราคาปาล์ม น้ํามันของไทย พบว่าปัจจัยที่มีผลกระทบต่อราคาปาล์มนํ้ามันที่เกษตรกรขายได้คือ ราคาน้ํามันปาล์มดิบ ขายส่งตลาดกรุงเทพฯ ราคาน้ํามันปาล์มดิบตลาดมาเลเซีย ราคาถ่ัวเหลืองที่เกษตรกรขายได้ และปัจจัยที่ มีผลกระทบต่อปริมาณผลผลิตปาล์มนํามัน คือ พื้นท่ีเก็บเกี่ยว การบริโภคน้ํามันปาล์ม ราคาปาล์มนํ้ามันท่ี เกษตรกรขายได้ ราคาถ่ัวเหลืองท่ีเกษตรกรขายได้
ส่วนในด้านการตลาด จิตวดี แก้วเฉย (2550) ได้พิจารณาความสัมพันธ์ของตลาดในระดับต่างๆ ได้แก่ ต่างประเทศ คือมาเลเซียกับตลาดกรุงเทพฯ และตลาดท้องถิ่นคือ ชุมพร สุราษฎร์ธานี และกระบี่ ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของราคาปาล์มน้ํามันประเทศไทย พบว่าทั้ง 5 ตลาด มีความสัมพันธ์เชิง คุณภาพระยะยาว โดยราคาปาล์มนํามันดิบต่างประเทศมีผลต่อราคาขายส่งภายในประเทศ ในขณะท่ีราคา ขายส่งในประเทศมีผลต่อราคารับซื้อปาล์มน้ํามันในท้องถิ่นทั้ง 3 ตลาด เห็นได้ชัดว่าระดับตลาดที่สูงกว่า จะเป็นตัวกําหนดราคาตลาดที่ต่ํากว่า ส่วนตลาดท้องถ่ินพบว่าราคารับซื้อในตลาดชุมพรเท่านั้นท่ีมี ผลกระทบต่อราคารับซือของตลาดสุราษฎร์ธานี
นอกจากน้ี อัครเดช เชื้อกูลชาติ (2552) ได้ศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อราคาปาล์มน้ํามันใน ประเทศไทย โดยใช้ข้อมูลระหว่างปี พ.ศ.2527-2551 เป็นราคาปาล์มนํ้ามันเฉล่ียที่เกษตรกรขายได้ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ การบริโภคปาล์มน้ํามันภายในประเทศ มูลค่าการส่งออกปาล์มนํ้ามัน นํามาทําการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทั้งหมด เม่ือพิจารณาระหว่างตัวแปรตามกับตัวแปร อิสระในรูปของสมการถดถอยเชิงซ้อน (Multiple regression model) ในรูปกําลังสองน้อยท่ีสุด (Ordinary Least Squares Method: OLS) ดังสมการต่อไปนี้
PP = 1.33524 + 0.004614(GDP) – 5.460008(IP) + 3.325501(OP)
เมื่อ GDP แทน ผลิตภณฑ์มวลรวมในประเทศ (พันล้านบาท)
PP แทน ราคาปาล์มนํามันเฉลี่ยที่เกษตรกรขายได้ (บาทต่อกิโลกร )
IP แทน การบริโภคปาล์มนํามันภายในประเทศ (พันต ) OP แทน มูลค่าการส่งออกปาล์มนํามัน (ล้านบาท)
ผลการศึกษาปัจจัยท่ีทําให้ราคาปาล์มนํ้ามันในประเทศเกิดความผันผวน พบว่า ผลิตภัณฑ์มวล รวมในประเทศ (GDP) การบริโภคปาล์มน้ํามันภายในประเทศ (IP) และมูลค่าการส่งออกปาล์มนํามนั (OP) เป็นปัจจัยหลักท่ีมีผลต่อราคาปาล์มนํามันเฉลี่ยท่ีเกษตรกรขายได้ (PP) ดังนี้
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับราคาปาล์มน้ํามันเฉลี่ย ที่เกษตรกรขายได้ (PP) กล่าวคือเม่ือปัจจัยอื่นๆ คงที่ถ้า GDP เพิ่มขึ้น 1 ล้านบาท จะทําให้ PP เพิ่มขึ้น 0.004614 บาทต่อกิโลกรัม เน่ืองจาก GDP มาจากรายได้ที่ประชากรได้รับจากการลงทุนในประเทศ ซึ่ง การส่งออกปาล์มน้ํามันมีส่วนช่วยให้รายไดของเกษตรกรเพ่ิมมากขึ้น เพราะราคาปาล์มนํามันที่สูงขึนและมี แนวโน้มสูงขึ้นเร่ือยๆ ซึ่งเป็นแรงจูงใจให้เกษตรกรที่ปลูกพืชเศรษฐกิจอื่นหนมาปลูกปาล์มน้ํามันกันมากขึน้
ส่วนการบริโภคปาล์มนํ้ามันภายในประเทศ (IP) มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับราคา ปาล์มนํามันเฉลี่ยท่ีเกษตรกรขายได้ (PP) กล่าวคือเม่ือปัจจัยอืนๆ คงที่ถ้า IP เพิ่มขึ้น 1 พันตัน จะทําให้ PP ลดลง 5.460008 บาทต่อกิโลกรัม เนื่องจากการบริโภคภายในประเทศเกิดจากการนําปาล์มนํ้ามัน ภายในประเทศมาใช้เป็นผลิตภัณฑ์ และใช้ในอุตสาหกรรม ซึ่งอาจเป็นช่วงที่ราคาปาล์มน้ํามันไม่มีมากนัก
อาจเกิดจากความต้องการของตลาดลดลง ส่งผลให้การส่งออกลดลงใชในประเทศมากข ปาล์มน้ํามันที่เกษตรกรได้รับ
จึงส่งผลต่อราคา
และสุดท้ายมูลค่าการส่งออกปาล์มน้ํามัน (OP) มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับราคาปาล์ม น้ํามันเฉล่ียท่ีเกษตรกรขายได้ (PP) กล่าวคือเมื่อปัจจัยอื่นๆ คงท่ีถ้า OP เพิ่มขึ้น 1 พันล้ายบาท จะทําให้ PP เพ่ิมข้ึน 3.325501 บาทต่อกิโลกรัม เน่ืองจากรายได้จากการส่งออกปาล์มนํ้ามันของไทยขึ้นอยู่กับ สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกประเทศ ส่งผลต่อการแข่งขันด้านราคาและการส่งออก ซึ่งถูก กําหนดโดยนโยบายเรื่องการเปิดการค้าเสรี (FTA) การค้ากําไรเกินควรของพ่อค้าส่งออกปาล์มน้ํามันจาก อัตราแลกเปลี่ยนค่าเงินบาท และราคาในตลาดโลก
สําหรับการวิจัยด้านราคาปาล์ม เกียรติศักด์ิ จนทร์แก้ว (2554) ไดพยากรณ์ราคาปาล์มนํ้ามัน โดย พิจารณาปัจจัยนําเข้าดังนี้ (1) ปาล์มนํามัน 15% (2) ปาล์มนํามัน 17% (3) นํ้ามันปาล์มเกรด A (4) ราคา น้ํามันดีเซล (5) อัตราแลกเปล่ียนเงินบาทเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ จากน้ันทําการพยากรณ์ราคาปาล์ม นํ้ามันด้วยวิธีโครงข่ายประสาทเทียมแบบพหุนามและขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม พบว่าโครงข่ายประสาท เทียมแบบพหุนามและข้ันตอนวิธีเชิงพันธุกรรมให้ค่าความคลาดเคล่ือนเฉลี่ยกําลังสองในการพยากรณ์ ราคาปาล์มน้ํามันดีกว่าโครงข่ายประสาทเทียมแบบแพร่กระจายย้อนกลับ
ในการวิเคราะห์สถานการณ์น้ํามันปาล์ม อรัญญา ศรีวิโรจน์ และจิดาภา ช่วยพันธุ์ (2556) ได้ รายงานในบทความ สถานการณ์น้ํามันปาล์มภายใต้ความไม่แน่นอนของโลกว่า ความผันผวนของราคา นํามนปาล์มในปี 2556 มาจากปัจจัยความไม่แน่นอนท่ีต้องจับตาหลายเร่ือง ไดแก่
1) ผลผลิตและสต็อกโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นมาก
2) เศรษฐกิจโลกที่ยังคงมีความเสี่ยงจากผลกระทบจากมาตรการ QE3 ของสหรัฐอเมริกาและ
วิกฤตเศรษฐกิจของสหภาพยุโรป โดยประธานธนาคารกลางยุโรปเตือนว่ายุโรปยังไม่หลุดพ้นปัญหา เศรษฐกิจจนถึงคร่ึงหลงปี 2556
3) สภาพอากาศท่ีแปรปรวนในสหรัฐอเมริกาและอเมริกาใต้ซึ่งเป็นแหล่งเพาะปลูกถั่วเหลืองของ
โลกกําลังเผชิญภัยแล้งอาจส่งผลให้ถั่วเหลืองตึงตัวอีกครั้ง ทําให้มีความต้องการนํามันปาล์มเพิ่มขึ้น ขณะที่ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยังไม่มีข้อบ่งชี้ท่ีชดเจนว่าจะเกิดเอลนิโญหรือไม่ หากเกิดในช่วงคร่ึงหลงปี 2556 ก็จะไม่ส่งผลกระทบต่อการให้ผลผลิตในปีนี้
4) ผู ่งออกและผู้นําเข้าเร่ิมใชมาตรการทางภาษี้ และมิใชภาษี่ ตงแตเด่้ั ือนมกราคม 2556 ท่ีส่งผล
ทั้งด้านบวกและด้านลบต่อตลาด โดยมาเลเซียได้ปรับโครงสร้างภาษีส่งออกน้ํามันปาล์มดิบจากเดิมท่ีเก็บ รอยละ 23 เหลือร้อยละ 0 กรณีราคาตลาดโลกต่ํากว่า 2,250 ริงกิตต่อตัน และเก็บภาษีรอยละ 4.5 - 8.5 สําหรับราคาที่สูงกว่า 2,250 ริงกิตต่อตัน เพื่อระบายสต็อกและแย่งส่วนแบ่งตลาดกลับจากอินโดนีเซีย หลังจากท่ีอินโดนีเซียลดภาษีเหลือร้อยละ 7.5 ในปีก่อน ส่วนอินเดียซึ่งเป็นผู้นาเข้าเร่ิมเก็บภาษีนําเข้า น้ํามันปาล์มดิบร้อยละ 2.5 เพื่อปกป้องพืชนํ้ามันในประเทศ หลังจากท่ีไม่ได้เก็บมาต้ังแต่ปี 2551 และจีน เร่ิมใชมาตรการควบคุมคุณภาพการนําเข้าน้ํามนปาลมที่เข้มงวดขึนอาจทําให้การนําเข้าชะลอลง
5) ราคาน้ํามันดิบยังผันผวน ในขณะที่อัตราการขยายตัวของการผลิตไบโอดีเซลโลกชะลอลง
เร่ือยๆ อย่างเห็นได โดยขยายตวรั ้อยละ 7.5 5.0 4.0 และ 1.0 ตงั แตปี่ 2552-2555 ตามลําดับ
จากรายงานราคาสินค้าเกษตรสําคัญของประเทศไทย เดือนมกราคม 2555 โดยธนาคารแห่ง ประเทศไทย รายงานว่า ราคาผลปาล์มทะลายและราคาน้ํามันปาล์มดิบปรับตัวเพ่ิมขึ้นจากเดือนก่อน ตาม ผลผลิตที่ออกสู่ตลาดลดลงโดยราคาเคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกับตลาดมาเลเซียที่ได้รับปัจจัยหนุนจาก สถานการณ์ตึงเครียดระหว่างอิหร่านและสหรัฐอเมริกา ประกอบกับถั่วเหลืองซึ่งเป็นสินค้าคู่แข่งเผชิญกับ
ภัยแล้ง และผลผลิตปาล์มน้ํามันของมาเลเซียอยู่ในช่วงลดลงเช่นกัน โดยปัจจัยท่ีกําหนดราคาปาล์มน้ํามัน แบ่งออกเป็น
ปัจจัยเชิงโครงสร้าง คือ (1) ความต้องการใช้ (Demand) ในประเทศไทยสําหรับการอุปโภค
บริโภคอุตสาหกรรมและผลิตไปโอดีเซล การส่งออกไปยังประเทศผู้ซ หลัก คือ จีนและอินเดีย ยังคงลดลง
เนื่องจากผู้ซื้อหันไปนําเข้าจากประเทศอินโดนีเซียมากขึ้นเพราะมีภาษีที่ถูกกว่า (2) การผลิต (Supply) เนื่องจากแหล่งเพาะปลูกหลักมีฝนตกชุกในช่วงเวลาดังกล่าวจึงเป็นอุปสรรคในการเก็บเกี่ยว ทําให้มี ผลผลิตออกสู่ตลาดน้อย
ปัจจัยระยะกลาง คือ สินค้าคงคลัง ตามผลผลิตที่ออกสู่ตลาดลดลง และระดับสินค้าคงคลังที่สูง กว่าปกติ ส่งผลให้ผู้ประกอบการส่งออกไปยังต่างประเทศเพิ่มขึ้น
ปัจจัยระยะสั้น คือ (1) สภาพอากาศ เนื่องจากพ้ืนที่เพาะปลูกหลักมีฝนตกชุกจึงเป็นอุปสรรคต่อ การเก็บเกี่ยว (2) สินค้าโภคภัณฑ์ การซื้อขายในตลาดล่วงหน้าน้ํามันปาล์ม ในมาเลเซียเบาบางเนื่องจาก
นักลงทุนยังคงกังวลว่าเศรษฐกิจโลกจะถดถอย จากหน้ียุโรปอาจทําให้ความต้องการลดลง ตลาดได้รับ ปัจจัยบวกจากผลผลิตปาล์มนํามันออกสู่ตลาดลดลงและสภาพอากาศแห้งแล้งในแหล่งเพาะปลูกถ่ัวเหลือง ของอเมริกาใตและบราซิล ส่งผลต่อราคาในตลาดล่วงหน้า
ปัจจัยท่ีส่งผลกระทบต่อราคาปาล์มนํ้ามัน ได้กล่าวถึงปัจจัยหนุนท่ีมีผลกระทบต่อราคาปาล์ม นํ้ามันท่ีมีแนวโนมเพ่ิมสูงข้ึนอย่างต่อเนื่อง ดงน้ี
1) ปัจจัยจากภาวะเศรษฐกิจของโลกที่ได้ขยายตัวเพ่ิมข้ึน โดยเฉพาะประเทศมาเลเซีย และ
ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นผู้นําเข้าปาล์มนํ้ามันรายใหญ่คาดว่าจะมีความต้องการใช้ปาล์มน้ํามัน เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ส่วนผสมอาหาร อาทิ นม นํ้ามัน เนย เพ่ือแปรรูปและ ส่งออกผลิตภัณฑ์เพ่ิมขึนอย่างต่อเนื่อง
2) ปัจจัยจากผลผลิตปาล์มน้ํามันลดลง ผลผลิตปาล์มนํ้ามันโดยรวมของกลุ่ม ประเทศผู้ผลิตหลัก คือ ประเทศอินโดนีเซีย และประเทศมาเลเซีย ผลผลิตปาล์มน้ํามันลดลง ในปี พ.ศ.2550 มี ผลผลิตรวมลดลงจากปี พ.ศ.2549 เนื่องจากประสบปัญหาภัยธรรมชาติทั้งภาวะภัยแล้ง ในช่วง
ต้นปี และนํ้าท่วมในช่วงปลายปี ส่งผลให้ราคาปาล์มนํ้ามันในตลาดโลกขยับตัวสูงขึ้น ในปี พ.ศ. 2552-2553 ในช่วงต้นปี ของประเทศไทยยังมีปัญหาฝนตกในแหล่งปลูกปาล์มนํ้ามัน ก่อให้เกิดน้ํา ท่วมในบริเวณกว้าง
3) ปัจจัยผลกระทบจากราคาน้ํามัน ราคาน้ํามันดิบในตลาดโลกท่ีปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่อง ส่งผลให้ ปาล์มน้ํามันมีราคาแพงขึ้น เนื่องจากกลุ่มอุตสาหกรรม ได้ใช้ปาล์มน้ํามันในการผลิตไบโอดีเซล
เพ่ือลดต้นทุนจากการใช ํ้ามันชนิดต่างๆ
4) ปัจจัยจากการที่สต็อกปาล์มน้ํามันของโลก ได้ลดลงต่อเน่ือง โดยปกติมีการสต๊อกปาล์มน้ํามันปี ละประมาณ 2.5 ล้านตัน แต่ปัจจุบันการสต็อกปาล์มนํ้ามันลดลงเหลือ 2 ล้านตัน และพื้นท่ีปลูก ปาล์มน้ํามันมีจํานวนจํากัด ทําให้ปริมาณการผลิตปาล์มนํ้ามันของโลกเพิ่มขึ้นไม่ทันกับปริมาณ
ความต้องการท่ีเพ่ิมขึ้น
5) ปัจจัยจากการเก็งกําไร ซึ่งราคาปาล์มนํ้ามันจะยังคงมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นอันเป็นผลมาจากการเข้า มาแข่งขันกนซื้อปาล์มน้ํามัน เพื่อให้มีปาล์มน้ํามันเพียงพอกับการส่งมอบตามสัญญาที่ได้มีการตก
ลงกันไว้แล้ว โดยราคาตลาดซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ได้มีการอิงกับราคาซ้ือขายปาล์มน้ํามัน ล่วงหน้าที่ตลาดของประเทศมาเลเซีย
6) ปัจจัยจากผลกระทบของอุปทานและอุปสงค์ของปาล์มนํ้ามันในสภาพทางเศรษฐกิจอิทธิพล ของการค้าและการเก็งราคา ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อราคาปาล์มน้ํามันในระดับอื่นๆ จนถึงราคา ปาล์มน้ํามันในระดบชาวสวนปาล์มทั้งระยะสั้นและระยะยาว
ตารางท่ี 3-1 สรุปปัจจัยจากเอกสารและงานวิจยอ้างอิง
ตัวแปร | งานวิจัยอ้างอิง | |||||||
เป้าหมาย | [5] | [5] | [6] | [7] | [7] | [8] | [9] | [10] |
ราคาปาล์มนํ้ามันเฉลี่ยที่เกษตรกรขายได้ | 🗸 | 🗸 | 🗸 | 🗸 | ||||
ราคาปาล์มน้ํามัน | 🗸 | 🗸 | ||||||
ราคาปาล์มน้ํามันของโรงงานสกดน้ํามันปาล์ม | 🗸 | |||||||
ปริมาณผลผลิตปาล์มน้ํามนั | 🗸 | |||||||
ปัจจัย | [5] | [5] | [6] | [7] | [7] | [8] | [9] | [10] |
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ | 🗸 | |||||||
การบริโภคปาล์มน้ํามันภายในประเทศ | 🗸 | |||||||
มูลค่าการส่งออกปาล์มนํ้ามัน | 🗸 | |||||||
ปาล์มน้ํามัน 15% | 🗸 | |||||||
ปาล์มน้ํามัน 17% | 🗸 | |||||||
น้ํามันปาล์มเกรด A | 🗸 | |||||||
ราคานํามันดีเซล | 🗸 | |||||||
อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาท/ดอลลาร์สหรัฐ | 🗸 | |||||||
ราคาถั่วเหลืองท่ีเกษตรกรขายได้ | 🗸 | 🗸 | ||||||
ราคาปาล์มน้ํามนเฉลี่ยที่เกษตรกรขายได้ | 🗸 | |||||||
ราคาน้ํามนปาล์มตลาดท้องถิ่น | 🗸 | |||||||
ราคาน้ํามันปาล์มตลาดกรุงเทพฯ | 🗸 | 🗸 | 🗸 | |||||
ราคาน้ํามันปาล์มตลาดมาเลเซีย | 🗸 | 🗸 | 🗸 | |||||
ราคาน้ํามันปาล์มต่างประเทศ | 🗸 | |||||||
ระดับราคาน้ํามันพืชทดแทน | 🗸 | |||||||
อัตราการเจริญเติบโตของราคาปาล์มน้ํามันที่ เกษตรกรได้รับ | 🗸 | |||||||
อํานาจการต่อรองราคาของเกษตรกร | 🗸 | |||||||
ระดับการแข่งขันของพ่อค้ารวบรวมท้องถ่ิน | 🗸 | |||||||
พื้นที่เก็บเก่ียว | 🗸 | |||||||
การบริโภคน้ํามันปาล์ม | 🗸 |
ตารางท่ี 3-1 สรุปปัจจัยจากเอกสารและงานวิจัยอ้างอิง พบว่ามีการศึกษามากมายเกี่ยวกับราคา ปาล์มน้ํามันเฉลี่ยท่ีเกษตรกรขายได้ โดยพบว่าปัจจัยที่ถูกกล่าวถึง 20 ปัจจัย โดยปัจจัยที่ผู้ศึกษามักจะ นํามาพิจารณาได้แก่ ราคาถ่ัวเหลืองที่เกษตรกรขายได้ซ่ึงเป็นพืชทดแทนที่สําคัญ ราคาน้ํามันปาล์มตลาด กรุงเทพฯ ซ่ึงเป็นตัวแทนของราคากลางสําหรับประเทศไทย ราคานํ้ามันปาล์มตลาดมาเลเซียซึ่งเป็น ตัวแทนของราคาตลาดโลก โดยจะมีปัจจัยแวดล้อมอื่นๆ เข้ามามีผลกับเป้าหมายหลักท่ีแตกต่างกันออกไป ซึ่งหลังจากรวบรวมข้อมูลปัจจัยท่ีมีผลแล้ว จึงนําข้อมูลดังกล่าวไปสัมภาษณ์เพ่ือกรองปัจจัยเพื่อใช้ในการ วิเคราะห์ต่อไป
3.2 ปัจจยความเสี่ยงในมุมมองของผูประกอบการในอุตสาหกรรมน้ํามันปาล์ม
(1) ความไม่แน่นอนเกี่ยวกับอุปทานน้ํามันปาล์มของประเทศผู้ผลิตรายใหญ่ของโลกและ อุปสงค์ตลาดโลกต่อน้ํามันปาล์ม
จากการคาดการณ์ปริมาณผลผลิตนํ้ามันปาล์มดิบของประเทศมาเลเซียปี 2557 อยู่ที่ 19.6 ล้าน
ตัน เพิ่มข้ึนจากปี 2556 ร้อยละ 2.1 ในขณะท่ีคาดการณ์ปริมาณผลผลิตน้ํามันปาล์มดิบของประเทศ
อินโดนีเซียปี 2557 อยู่ท่ี 28.5 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2556 ร้อยละ 5.61 ท้ังน้ี ปริมาณผลผลิตน้ํามัน
ปาล์มดิบของมาเลเซียและอินโดนีเซียรวมกันคิดเป็นร้อยละ 87 ของปริมาณผลผลิตน้ํามันปาล์มดิบโลก (โดยประมาณ) ปริมาณผลผลิตนํ้ามันปาล์มดิบท่ีเพิ่มขึ้นนี้เป็นปัจจัยลบในฝ่ังอุปทาน ซึ่งอาจกดดันราคา ของน้ํามันปาล์มดิบในตลาดโลก อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาด้านอุปสงค์ ปริมาณความต้องการน้ํามัน
ปาล์มเพ่ือใช้ผลิตไบโอดีเซลและเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมท่ีเก่ียวข้องกับอาหารก็มีแนวโน้มเพิ่มข ทกปเชนก่ีุ ัน
ดวยเหตุนี้ ผลกระทบต่อราคาในแต่ละช่วงเวลาจึงขึนกบผลสุทธิระหว่างอุปสงค์และอุปทานในขณะน
(2) ความไม่แน่นอนเก่ียวกบอุปสงค์และอุปทานนํ้ามันปาล์มภายในประเทศ
ปริมาณผลผลิตน้ํามันปาล์มดิบปี 2557 คาดการณ์โดย สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร อยู่ที่ 2.36
ลานต
2 เพิ่มข
จากปี 2556 ร้อยละ 10 ในขณะท่ีปรมาณผลผลตน้ํามันปาล์มดิบปี 2556 อยู่ที่ 2.15 ล้าน
ตัน (โดยประมาณ) เพิ่มขึ้นจากปี 2555 คิดเป็นร้อยละ 13.8 หากปริมาณผลผลิตน้ํามันปาล์มดิบใน ประเทศในปีนี้เป็นไปตามที่สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรคาดการณ์ อุปทานของผลผลิตท่ีเพ่ิมขึ้นอย่าง ต่อเน่ืองจะเป็นปัจจัยลบต่อราคาน้ํามันปาล์มดิบ อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาด้านอุปสงค์ พบว่าปริมาณ ส่งออกน้ํามันปาล์มดิบเป็นตัวแปรสําคัญท่ีกําหนดปริมาณสต็อกภายในประเทศในแต่ละช่วงเวลา และอีก ปัจจัยหนึ่งคือปริมาณการใช้น้ํามันปาล์มเพ่ือผลิตเป็นไบโอดีเซล ซ่ึงที่ผ่านมามีการปรับขึ้น ปรับลง ตาม ปริมาณผลผลิตภายในประเทศและแผนด้านพลงงานทดแทนระยะยาวท่ีภาครัฐได้วางไว้
ในปี พ.ศ. 2556 บริษัท ลํ่าสูง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ได้กล่าวถึง ความผันผวนของราคา น้ํามันปาล์มและอุปสงค์เกิดใหม่ ว่า ราคาเฉล่ียรายเดือนน้ํามันปาล์มดิบของปี 2554 แกว่งตัวอย่างมาก โดยแกว่งตัวอยู่ในช่วงระหว่าง 28.14 - 58.20 บาทต่อกิโลกรัม (2553 : 25.38 - 43.80 บาทต่อกิโลกรัม)
1 ข้อมูลคาดการณ์ปริมาณผลผลิตน้ํามันปาล์มดิบของมาเลเซียและอินโดนีเซียเป็นข้อมูลเบื้องต้น ซ่ึงเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ท ฉะนั้น อาจมี การเปลี่ยนแปลงได้ สําหรับข้อมูลคาดการณ์ปริมาณผลผลิตนํ้ามันปาล์มดิบของมาเลเซียปี 2557 อย่างเป็นทางการ สามารถติดตามได้ จากเว็บไซต์ของ MPOB (Malaysian Palm Oil Board) ได้ โดยปกติจะเผยแพร่ช่วง ก.พ.-มี.ค
2 ใช้อัตราการแปรสภาพ (%น้ํามัน) ที่ 17% ในการแปลงข้อมูลปริมาณผลปาล์มสดปี 2557 ที่พยากรณ์โดยสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ให้ เป็นปริมาณน้ํามันปาล์มดิบ
โดยมีราคาเฉล่ียทงั ปีที่ 36.59 บาทต่อกิโลกรัม เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 25.74 จากปี 2553 แม้ว่าผลผลิตน้ํามัน
ปาล์มดิบที่ออกสู่ตลาดในปี 2554 มีปริมาณสูงเป็นประว ิการณ์ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะราคานาม้ํ ันปาล์มใน
ตลาดโลกเป็นช่วงขาข้ึนจากอุปสงค์ที่เพ่ิมขึ้นจากทั้งด้านอาหารและพลังงานทดแทน นอกจากน้ันการเกิด วิกฤติการณ์น้ํามันปาล์มขาดแคลนในประเทศส่งผลโดยตรงให้ราคานํ้ามันปาล์มดิบทรงตัวในระดับสูง ต่อเนื่องในช่วง 6 เดือนแรกของปี โดยเฉพาะในเดือนมกราคม - เมษายน ภาวะความผันผวนของราคา น้ํามันปาล์มยังคงมีอยู่ต่อไป เนื่องจากมีปัจจัยภายนอกอีกหลายปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อราคาน้ํามันปาล์ม ท่ีสําคัญได้แก่ สภาพภูมิอากาศ และแนวโน้มความต้องการใช้น้ํามันปาล์มเพ่ือนําไปผลิตเป็นพลังงาน ทดแทนในสัดส่วนเพิ่มข้ึน โดยกระทรวงพลังงานได้กําหนดแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงาน ทางเลือกเพ่ิมขึนเป็น 25% ใน 10 ปี (พ.ศ.2555 - 2564) ตั้งเป้าหมายการผลิตไบโอดีเซลที่ 5.97 ลานลิตร
ต่อวันภายในปี 2564 (ปัจจุบันมีกําลังการผลิตรวม 1.62 ล้านลิตรต่อวัน)
(3) ความสามารถในการจดหานํ้ามันปาล์มดิบ
แม้ว่าบริษัทฯ มีโรงสกัดน้ํามันปาล์มดิบ ซึ่งทําหน้าที่ผลิตน้ํามันปาล์มดิบป้อนให้กับโรงกลั่นน้ํามัน ปาล์มบริสุทธิ์ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ยังคงต้องซื้อน้ํามันปาล์มดิบจากภายนอกเข้ามาด้วยเช่นกัน จาก ขอมูลของกรมการค้าภายในและในส่วนของบริษัทฯ พบว่าในปี 2555 มีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้นจากปี 2550
ประมาณ 43% (หรือเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 7% ต่อปี) โดยปี 2556 อยู่ท่ีประมาณ 3,283 ตัน FFB/ช.ม.3 ซึ่งหาก สถานการณ์ปริมาณผลปาล์มสดในปีนั้นกลับน้อย4 อาจทําให้ราคาผลปาล์มสดสูงขึ้นและ Utilization
Rate ของโรงสกดอาจลดลง ส่งผลให
นทุนการผลิตสูงข
ได้ โดยประการหนึ่ง การที่สามารถส่งออกน้ํามัน
ปาล์มในรูปต่างๆ ได้อย่างเสรี แต่การนําเข้าไม่สามารถทําได้โดยเสรี (อยู่ภายใต้การบริหารการนําเข้า) มี ผลทําให้ในช่วงที่สถานการณ์สต็อกอยู่ในระดับต่ํา (น้อยกว่า 0.2 ล้านตัน) ถึงแม้ว่าราคาต่างประเทศจะมี ทิศทางปรับตัวลง ราคาในประเทศจะไม่ลงตาม แต่จะปรับตัวสูงขึ้นแรงและเร็วกว่าราคาต่างประเทศอย่าง มาก ในทางกลับกัน ในช่วงที่สต็อกในประเทศอยู่ในระดับสูง หากราคาต่างประเทศมีทิศทางปรับตัวขึ้น ราคาในประเทศจะปรับตัวสูงขึ้นตาม (แมปริมาณสต็อกอย่ในระดับสูง) เน่ืองจากสามารถส่งออกได้โดยเสรี ในปี พ.ศ. 2556 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ํามันปาล์ม จํากัด (มหาชน) ได้กล่าวถึง การเพิ่มขึ้น ของกําลังการผลิตโรงสกัดนํ้ามันปาล์มดิบ ว่า จากข้อมูลของกรมการค้าภายในและ CPI พบว่า ในปี 2555
มีกําลังการผลิตเพิ่มข จากปี 2550 ประมาณร้อยละ 43 (หรือเพมิ ขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 7 ตอป่ ี) โดยปัจจุบนอยู่
ท่ีประมาณ 3,283 ตัน FFB ต่อชั่วโมง ซึ่งหากสถานการณ์ปริมาณผลปาล์มสดในปีนั้นกลับลดลง5 อาจทํา ให้เกิดการแย่งซือวตถุดิบ ส่งผลให้ Utilization Rate โรงสกัดอาจลดลง และต้นทุนการผลิตอาจสูงขึ้นได้
(4) การแข่งขันระหว่างผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมโรงกล่นนํามันปาล์มบริสุทธิ์
จากข้อมูลของกรมการค้าภายใน พบว่า ในปี 2555 กําลังการผลิตรวมโรงกลั่นเพ่ิมขึ้นจากปี 2550
ประมาณ 84% (หรือเพิ่มข้ึนเฉล่ียปีละ 14%) โดยอยู่ที่ประมาณ 7,660 ตัน CPO/ว โดยปที ี่ผ่านมากําลัง
3 กรมการค้าภายในเป็นผู้จัดทําตัวเลขกําลังการผลิตอย่างเป็นทางการ ซ่ึงหากกรมการค้าภายในได้ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน บริษัทฯ จะทําการปรับปรุงข้อมูลเหล่านีตามในครั้งต่อๆ ไป
4 ปัจจัยที่อาจจ้ากัดปริมาณผลปาล์มสดออกสู่ตลาดมีหลายปัจจัย อาทิ พื้นท่ีเพาะปลูกในประเทศมีอยู่อย่างจ้ากัด (ระยะยาว) สภาพ
ภูมิอากาศไม่เอื้ออานวย (แล้ง หรือ นําท่วมหนัก) ราคาปุ๋ยปรบตัวสูงทําให้ผ ลกใสู ่ปุ๋ยน้อยลงผลผลิตจงลดลงตามึ เป็นตน้
5 ปัจจัยที่อาจจํากดปริมาณผลปาล์มสดออกสู่ตลาดมีหลายปัจจ
อาทิ พื้นที่เพาะปลูกในประเทศมีอยู่อย่างจํากด
(ระยะยาว)
สภาพภูมิอากาศไม่เอื้ออํานวย (แลง หรอื นาํ ทวมหนก)ั่ ราคาปุยปรับตวสูงทาใหผํ ้ ู้ปลกใสู ่ปยนุ๋ ้อยลงผลผลตจงลดลงตามึิ เป็นตน
การผลิตคาดว่ายังทรงตัว ซึ่งอาจเป็นผลมาจากระดับการแข่งขันในอุตสาหกรรมที่สูงและอัตรากําไรสุทธิ เฉล่ียที่ไม่สูง ประกอบกับอุตสาหกรรมนี้มีการลงทุนเร่ิมแรกด้วยต้นทุนคงท่ีค่อนข้างสูง ทําให้ภาระผูกพัน ในการดําเนินงานสูงตามด้วย
ในปี พ.ศ. 2556 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ํามันปาล์ม จํากัด (มหาชน) ได้กล่าวถึง ปัจจัยความ เสี่ยงด้านระดับการแข่งขันระหว่างผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมโรงกลั่นน้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ ว่า ในปี 2555 กําลังการผลิตโรงกลั่นเพิ่มขึ้นจากปี 2550 ประมาณร้อยละ 84 (หรือเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยปีละ 14%) โดย อยู่ที่ประมาณ 7,660 ตัน CPO ต่อวัน โดยปีที่ผ่านมากําลังการผลิตทรงตัว ซึ่งเป็นผลมาจากการที่ระดับ
การแข่งขันของอุตสาหกรรมอยู่ในระดบที่สูงอยู่แล้ว และอุตสาหกรรมนํามันปาล์มน มีภาระผูกพนในการั
ดําเนินงานสูง (เพราะต้นทุนคงที่สูง) จึงทําให้ผู้ท่ีเข้ามาในอุตสาหกรรมน้ี เมื่อเข้าแล้วไม่สามารถออกจาก
อุตสาหกรรมได้โดยง่าย จึงไม่จูงใจให ีผูประกอบการใหม่เข้ามาลงทุนในอตสาหกรรมน้ีุ
(5) สินคาสําเร็จรูปและวัตถุดิบทางตรงของอุตสาหกรรมเป็นสินค้าควบคุมราคา
นํ้ามันปาล์มโอเลอินบรรจุขวด 1 ลิตร เป็นสินค้าที่อยู่ในการควบคุมดูแลของกรมการค้าภายใน ปัจจุบันขวด 1 ลิตรมีราคาเพดาน (Price Ceiling) อยู่ที่ 42 บาท เนื่องจากเป็นสินค้าพื้นฐานต่อการดํารง ชีพของประชาชนส่วนมาก ทําให้ในบางช่วงแม้ว่าราคาน้ํามันปาล์มดิบได้ปรับตัวสูงขึ้นแล้วก็ตาม ผู้ประกอบการโรงกล่ันหลายรายไม่สามารถขึ้นราคาขายเพ่ือให้สอดคล้องกับต้นทุนการผลิตได้ นอกจากนี้ ในช่วงต้นเดือนมกราคม 2556 คณะกรรมการกลางว่าด้วยราคา (กกร.) ได้มีมติให้ผลปาล์มสด (วัตถุดิบ ทางตรงในการผลิตน้ํามนปาล์มดิบ) เป็นสินค้าควบคุมรายการที่ 43 โดยกําหนดราคารับซื้อ (Price Floor) ระหว่าง 4-4.3 บาท ตามเปอร์เซ็นต์น้ํามัน
ในปี พ.ศ. 2556 บริษ ล่ําสูง (ประเทศไทย) จํากดั (มหาชน) ได้กล่าวถึง การที่น้ํามันปาล์มบรรจุ
ขวดเป็นสินค้าควบคุม ว่า นํ้ามันปาล์มบริสุทธิ์โดยเฉพาะอย่างย่ิงท่ีมีขนาดบรรจุตํ่ากว่า 5 ลิตร นับเป็น สินค้าควบคุมซ่ึงราคาจําหน่ายจะถูกกําหนดโดยกรมการค้าภายใน ทําให้บริษัทอาจไม่สามารถปรับราคา จําหน่ายได้โดยเสรีเพ่ือสะท้อนต้นทุนวัตถุดิบท่ีแท้จริง นอกจากนั้น สินค้าน้ํามันปาล์มยังเป็นสินค้าที่ถูก ควบคุมการนําเข้า ทําให้การบริหารจัดการสินค้าคงเหลือมีข้อจํากัด จะเห็นได้จากในช่วงปลายปี 2553 ต่อเน่ืองมาถึงต้นปี 2554 เกิดวิกฤติการณ์น้ํามันปาล์มขาดแคลน ราคานํ้ามันปาล์มปรับตัวสูงขึ้นเป็น ประวัติการณ์ จนในที่สุด รัฐบาลต้องอนุมัติให้มีการนําเข้านํ้ามันปาล์มถึง 2 ครั้งในเดือนมกราคมและ กุมภาพันธ์ 2554 แต่ก็ล่าช้า ทําให้ไม่สามารถแก้ไขความเสียหายท่ีเกิดขึ้นในไตรมาสแรก การกําหนด เพดานราคาจําหน่ายปลีกนํ้ามันปาล์มดังกล่าว ทําให้ผลประกอบการของภาคอุตสาหกรรมมีความผันผวน ผู้ประกอบการโรงกลั่นน้ํามันปาล์มจึงได้เสนอให้กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ผ่อนคลายการ ควบคุมราคาจําหน่ายปลีกน้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ให้มีความยืดหยุ่นมากขึ้นตามการเคลื่อนไหวของต้นทุน น้ํามันปาล์ม
(6) ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคานํามันปาล์มโลก
ปัจจัยหลักท่ีมีผลต่อราคาน้ํามันปาล์มในประเทศ คือ สต็อก ผลผลิตภายในประเทศ นโยบายด้าน พลังงาน และปริมาณการส่งออก ทั้งนี้ปริมาณการส่งออกเกี่ยวข้องโดยตรงกับราคาน้ํามันปาล์มดิบ มาเลเซีย (ซึ่งเป็นราคาอ้างอิงหลักสําหรับตลาดน้ํามันปาล์มโลก) ทั้งนี้ ราคาน้ํามันปาล์มดิบมาเลเซียเองก็ ขึ้นต่อปัจจัยหลายอย่างด้วยกัน อาทิ อุปสงค์ต่อน้ํามันปาล์มของโลก ราคาน้ํามันปิโตรเลียม (Crude Oil)
ราคานํ้ามันถ่ัวเหลือง (ซึ่งเป็นสินค้าทดแทนกันได้ในระดับหนึ่ง) สต็อกนํ้ามันปาล์มมาเลเซีย และการ คาดการณ์เกี่ยวกับสภาพดินฟ้า อากาศ เป็นต้น ซ่ึงปัจจัยที่กล่าวมามีความสัมพันธ์กันอย่างซับซ้อนผนผวน ทําให้คาดการณ์ไดยาก
ในปี พ.ศ. 2556 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมนํ้ามันปาล์ม จํากัด (มหาชน) ได้กล่าวถึง ความเสี่ยง จากความผันผวนของราคาน้ํามันปาล์มโลก ว่า ปัจจยหลักท่ีมีผลต่อราคานํ้ามันปาล์มในประเทศ คือ สต็อก ผลผลิตภายในประเทศ และราคาน้ํามันปาล์มมาเลเซีย ซ่ึงเป็นราคาอ้างอิงหลักสําหรับตลาดน้ํามันปาล์ม โลก ท้ังนี้ ราคาน้ํามันปาล์มมาเลเซียเองก็ขึ้นต่อปัจจัยหลายอย่างด้วยกัน อาทิ ราคาน้ํามันปิโตรเลียม
(Crude Oil) ราคาน้ํามันถ เหลือง สตอกนามํ้็ ันปาล์มมาเลเซีย และการคาดการณ์เกียวกบสภาพดั ินฟา้ ซึ่ง
นับว่าแต่ละปัจจยล้วนมีความผันผวนและคาดการณ์ได้ยาก
(7) ความผนผวนของปริมาณผลปาล์มสดออกสู่ตลาด
ปาล์มน้ํามันจัดเป็นพืชยืนต้น ที่ไม่มีฤดูกาลเก็บเกี่ยวที่แน่นอน (ผลผลิตออกทั้งปี โดยบางช่วงออก มาก บางช่วงออกน้อย) นอกจากน้ี ปริมาณผลผลิตยังผันแปรไปตามสภาพภูมิอากาศ ความอุดมสมบูรณ์ ของแร่ธาตุในดิน ทําใหการคาดคะเนปริมาณผลปาล์มสดที่ออกสู่ตลาด มีความเสียงต่อการคลาดเคลื่อนได้ ในปี พ.ศ. 2556 บริษัท ล่ําสูง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ได้กล่าวถึง สภาพภูมิอากาศ ว่า เน่ืองจากวัตถุดิบหลักของบริษัทและบริษัทย่อยมาจากผลผลิตทางการเกษตร แนวโน้มผลการดําเนินงาน ของบริษัทและบริษัทย่อยยังคงขึ้นอยู่กับปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ ได้แก่ สภาพภูมิอากาศ ปริมาณน้ําฝน และ ผลผลิตของผลปาล์มสด รวมถึงผักผลไม้ที่ออกสู่ตลาดในแต่ละฤดูกาล นอกจากนี้ ในส่วนของบริษัทเองยัง
ขึนอยู่กบปริมาณและราคานํามันปาล์มดิบซึ่งเปนตนทุนการผลิตหลักของโรงงานกลั่นนํามันปาล์มบริสุทธิ์
(8) มาตรฐานการปลูกปาล์มอย่างยั่งยืน (RSPO)
ตลาดต่างประเทศ โดยเฉพาะยุโรปเริ่มให้ความสําคัญต่อนํามันปาล์มที่ได้รับการรบรอง RSPO มากขึ้นตรง จุดนี้ อาจกลายเป็นข้อกีดกันทางการค้า และจํากัดการส่งออกนํ้ามันปาล์มจากประเทศไทยได้ในอนาคต หากยังไม่มีการเตรียมความพร้อมในด้านนี้
(9) การเขาสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC (ASEAN Economic Community) ใน ปลายปี 2558
การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ทําให้เกิดการเคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรี น่ัน หมายถึง โรงกลั่นนํ้ามันปาล์มบริสุทธ์ิ อาจจะได้รับประโยชน์ ในแง่ที่ทําให้มีวัตถุดิบน้ํามันปาล์มดิบที่ราคา ถูกกว่าป้อนโรงงาน
ในปี พ.ศ. 2556 บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ํามันปาล์ม จํากัด (มหาชน) ได้กล่าวถึง การเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ว่า หากมองในระยะยาวว่าการ นําเข้าเสรีของผลิตภัณฑ์น้ํามันปาล์มเกิดขึ้นจริงในอนาคต โรงกลั่นน้ํามันปาล์มอาจจะได้รับประโยชน์ เพราะจะทําให้ได้วัตถุดิบ CPO ที่ราคาถูกป้อนโรงงาน อย่างไรก็ตาม การเพิ่มประสิทธิภาพในด้านการผลิต การตลาด การเงิน และการจัดการยังเป็นสิ่งที่ต้องดําเนินควบคู่กันไปอย่างเข้มข้น เพราะความเส่ียงอีกด้าน หนึ่งของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) สําหรับโรงกล่ัน คือ คู่แข่งขนาดใหญ่จากประเทศ
มาเลเซียและอินโดนีเซีย อาจเข้ามาทําตลาดแข่งขันกับผ ระกอบการในประเทศไดดวยเชนก่้้ ัน
3.3 การสมภาษณ์สถานประกอบการเชิงลึก
นอกจากปัจจัยพื้นฐานที่มีผลต่อราคาปาล์มทะลาย (FFB) และราคาน้ํามันปาล์มดิบ (CPO) แล้ว ยังมีปัจจัยรองท่ีส่งผลต่อปัจจัยหลักทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญใน อุตสาหกรรมได้ผลดังนี้
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556 ทีมวิจัยได้เข้าสัมภาษณ์ คุณบุญโชค ขนาบแก้ว อุตสาหกรรมจังหวัด ชุมพร ถึงปัจจัยที่มีผลกระทบต่อราคาปาล์มทะลายและราคาน้ํามนปาล์มในมุมมองของภาคอุตสาหกรรม โดย คุณบุญโชค ขนาบแก้ว กล่าวว่า ปัจจุบันโรงงานกลั่นน้ํามันปาล์มดิบ แบ่งเป็น โรงกลั่นมีท่ีรับซื้อ ปาล์มทะลาย ซึ่งจะสามารถผลิตได้น้ํามันปาล์มดิบเกรด A จากกระบวนการกลั่นแบบแยกเมล็ดในปาล์ม ทําให้สามารถขายเพ่ือทําน้ํามันปาล์มเมล็ดในด้วย ในขณะที่โรงกล่ันที่รับซ้ือผลปาล์มร่วง ทําให้น้ํามัน ปาล์มดิบที่ผลิตได้เป็นเกรด B เน่ืองจากมีนํ้ามันจากเมล็ดในปาล์มรวมอยู่ด้วย
ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งราคารับซื้อปาล์มทะลาย คือคุณภาพของปาล์มทะลาย สาเหตุท่ี คุณภาพปาล์มทะลายต่ํา เนื่องจาก มีการเก็บเก่ียวปาล์มท่ีไม่ได้มาตรฐาน โดยโรงงานอาศัยพนักงานที่มี ประสบการณ์ในการประเมินคุณภาพเท่านน้ั
วันท่ี 24 กุมภาพันธ์ 2556 ทีมวิจัยได้เข้าสัมภาษณ์ คุณชยศ สุวรรณพหู ผู้จัดการโรงงาน บริษัท วิจิตรภัณฑ์ปาล์มออยล์ จํากัด และคุณจงกล เย่ียมยิ่งพานิช เจ้าของและกรรมการผู้จัดการ บริษัท ภู พาณิชย์ปาล์มน้ํามัน จํากัด ถึงปัจจัยท่ีมีผลกระทบต่อราคาปาล์มทะลายและราคาน้ํามันปาล์มในมุมมอง ของภาคอุตสาหกรรม
โดยคุณชยศ สุวรรณพหู กล่าวว่า โรงงานจะรับซื้อเฉพาะปาล์มทะลายเท่านั้น โดยมีแหล่งวัตถุดิบ คือ เกษตรกรของโรงงาน พ่อค้าคนกลาง (ลานเท) และเกษตรกรท่ีเป็นเจ้าของสวน (รายใหญ่ และราย ย่อย) โดยการกําหนดราคารับซื้อปาล์มทะลายของโรงงานจะพิจารณาที่ราคา CPO ของตลาดโลก (ตลาด มาเลเซีย) คุณภาพของปาล์มทะลาย โดยการกําหนดคุณภาพของปาล์มทะลายจะพิจารณาที่ความสุก
ความสด และสิ่งเจือปน (น หิน และทราย) โรงงานจะรับซื้อปาล์มทะลายที่ไดค้ ุณภาพตามเกณฑ์ที่โรงงาน
กําหนดเท่านั้น และจะคัดปาล์มทะลายที่ไม่ได้คุณภาพคืน
ส่วนคุณจงกล เย่ียมยิ่งพานิช กล่าวว่า โรงงานจะรับซื้อเฉพาะปาล์มทะลายเท่าน้ัน โดยมีแหล่ง วัตถุดิบคือ พ่อค้าคนกลาง (ลานเท) และเกษตรกรที่เป็นเจ้าของสวน (รายใหญ่ และรายย่อย) โดยการ กําหนดราคารับซื้อปาล์มทะลายของโรงงานจะพิจารณาที่ราคาของโรงงานกลั่นน้ํามันพืชในพื้นที่ท้องถิ่น คุณภาพของปาล์มทะลาย โดยการกําหนดคุณภาพของปาล์มทะลาย จะพิจารณาท่ีความสุก ความสด และ ส่ิงเจือปน (นํ้า หิน และทราย) โรงงานต้องรับซื้อปาล์มทะลายที่นํามาขายทั้งหมดเนื่องจากการแข่งขันและ โรงกล่ันที่รับซื้อผลปาล์มร่วงมีเพิ่มขึนคุณภาพของปาล์มทะลายต่ําลง โรงงานที่มีทางเลือกมากนัก จึงต้อง
รับซ
ทังท่ีคุณภาพตํ่า หากพบปาล์มทะลายท่ไม่ได้คุณภาพจะทําการตัดราคาจากท่ีโรงงานตังไว้ ส่วนราคาขายนํ้ามันปาล์มดิบของท้ังสองรายถูกกําหนดโดยลูกค้า ซ่ึงลูกค้าจะตั้งราคารับซ้ือโดย
อ้างอิงราคาตลาดโลก ทําให้ราคาขายน้ํามันปาล์มดิบให้ลูกคาแต่ละรายไม่เท่ากัน ข้ึนอยู่กับการตกลงราคา ระหว่างผู้ซื้อ-ผู้ขาย
โดยสุดท้าย คุณจงกล เยี่ยมย่ิงพานิช กล่าวว่า โรงกลั่นท่ีรับซื้อผลปาล์มร่วงมีเพิ่มขึ้นทั้งมีผลผลิต ปาล์มของเกษตรกรที่มีอยู่ไม่เพียงพอส่งผลคุณภาพของปาล์มทะลายที่ป้อนเขาโรงงานต่ําลงในขณะที่ราคา ซื้อท่ีสูงขึ้น ทั้งน้ีหากมีการเกณฑ์ของคุณภาพปาล์มทะลายเข้ามาควบคุมมาตรฐานของพ่อค้าคนกลาง (ลานเท) จะทําให้โรงงานได้วัตถุที่มีคุณภาพมากกว่านี้ และควรมีการจํากัดการตั้งโรงกลั่นน้ํามันปาล์มดิบ จากผลร่วง แม้การผลิตของโรงงานประเภทนี้จะไม่มีน้ําเสียจากกระบวนการผลิต แต่การผลิตลักษณะ ดังกล่าวทําให้ไม่สามารถใช้ประโยชน์จากปาล์มนํ้ามันได้สูงสุด และยังเสนอให้นําการบริหารจัดการปาล์ม นํามันของมาเลเซียเป็นตวอย่างที่ไม่มีการส่งเสริมให้มีการซือ้ -ขายผลปาล์มร่วง
บทที่ 4
การวิเคราะห์ปัจจัยท่ีส่งผลต่อราคาปาล์มน้ํามัน
จากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อราคาปาล์มน้ํามันในบทที่ 3 นําข้อมูลปัจจัยที่ได้จากการศึกษามา วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยหลักคือราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้ ราคาผลปาล์ม ทะลายของไทย และราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย (ซื้อขาย กทม.) กับปัจจัยหรือตัวแปรท่ีได้ทําการศึกษา มาว่ามีความสัมพันธ์กันหรือไม่และมีความสัมพันธ์กันในทิศทางใด ผ่านการทดสอบด้วย Scatter plot และ Regression ร่วมทั้งการพิจารณาค่าสหสัมพันธ์ (Correlations) ระหว่างปัจจัย เพ่ือคดเลือกปัจจัยท่ีมี ผลกับราคาที่ต้องการพิจารณาอย่างแทจริง โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
4.1 ข้อมูลท่ีใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้จากการรวบรวมทุติยภูมิแบบอนุกรมเวลารายเดือนตั้งแต่ มกราคม 2550 ถึง ธันวาคม 2556 รวมท้ังหมด 84 เดือน โดยมีรายละเอียดของข้อมูลตารางตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย แสดงในภาคผนวก ก ข้อมูลท่ีใช้ในการวิเคราะห์ทางสถิติ
ตัวแปร | คําอธิบาย | หน่วย | แหล่งข้อมูล |
FFB_F Price | ราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขาย ไดท้ ่ีไร่นา เฉลี่ยรายเดือน เฉล่ียทัง้ ประเทศ | บาท/กก. | สํานกงานเศรษฐกิจการเกษตร |
FFB_T Price | ราคาผลปาล์มทะลายของไทย ได้จาก ราคาผลปาล์มทะลายคุณภาพน้ํามัน 17% โรงงานสกัด | บาท/กก. | สํานกส่งเสริมการคาสินคาเกษตร กรมการค้าภายใน |
FFB_K Price | ราคาผลปาล์มทะลายจังหวัดกระบี่ | บาท/กก. | สํานักงานการค้าภายในจังหวัดกระบี่ |
FFB_S Price | ราคาผลปาล์มทะลายจังหวัดสุราษฎร์ ธานี | บาท/กก. | สํานักงานการค้าภายในจังหวัดสุ ราษฎร์ธานี |
FFB_C Price | ราคาผลปาล์มทะลายจังหวัดชุมพร | บาท/กก. | สํานักงานการค้าภายในจังหวัดชุมพร |
CPO_T Price | ราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย (ซื้อขาย กทม.) | บาท/กก. | สํานักส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร กรมการค้าภายใน |
CPO_M Price | ราคานํ้ามันปาล์มดิบของมาเลเซีย | บาท/กก. | สํานักส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร กรมการค้าภายใน |
CPO_K Price | ราคาน้ํามันปาล์มดิบจงหวัดกระบี่ | บาท/กก. | สํานกงานการค้าภายในจังหวัดกระบี่ |
CPO_S Price | ราคานํามันปาล์มดิบจังหวัดสุราษฎร์ ธานี | บาท/กก. | สํานักงานการค้าภายในจังหวัดสุ ราษฎร์ธานี |
CPO_C Price | ราคาน้ํามันปาล์มดิบจังหวัดชุมพร | บาท/กก. | สํานกงานการค้าภายในจังหวัดชุมพร |
ตวแปร | คําอธิบาย | หน่วย | แหล่งข้อมูล |
CPO_L Price | ราคาน้ํามันปาล์มดิบเฉล่ีย = ค่าเฉลี่ย ของราคานํามนปาล์มดิบจังหวัดกระบี่ สุราษฎร์ธานีและชุมพร | บาท/กก. | จากการคํานวณ |
RPO_T Price | ราคาน้ํามันปาล์มบริสุทธ์ิของไทย | บาท/กก. | สํานักส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร กรมการคาภายใน |
RPO_M Price | ราคาน้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ของมาเลเซีย | บาท/กก. | สํานักส่งเสริมการคาสินค้าเกษตร กรมการค้าภายใน |
SBO_W Price | ราคาน้ํามันถ่วเหลืองตลาดโลก อางอิงตลาดชิคาโก | บาท/กก. | World Bank |
RSS3_F Price | ราคายางพาราแผ่นดิบ ชั้น 3 ท่ี เกษตรกรขายไดท้ ีไร่นา เฉล่ียรายเดือน เฉล่ียท้ังประเทศ | บาท/กก. | สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร |
B100 Price | ราคาไบโอดีเซล B100 | บาท/ ลิตร | ศูนย์ปฏิบัติการสํานกงานนโยบาย และแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน |
GDP_Percapita | ค่าเฉลี่ยรายได้ต่อหัวประชากร | บาท | World Trade Atlas, Goble Trade Atlas |
QFFB_F | ปริมาณการผลผลิตปาล์มนํามนั | เมตริกตัน | กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ |
Cooking Oil Price | ราคาน้ํามันที่ใชประกอบอาหาร | บาท/ ลิตร | กระทรวงพาณิชย์ |
หมายเหตุ : ราคายางแผ่นรมควันชั้น 3 ที่เกษตรขายได้นับเป็นปัจจัยหนึ่งที่คาดว่าจะมีผลต่อการ เปล่ียนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายท่ีเกษตรกรขายได้เนื่องจาก พื้นท่ีปลูกปาล์มท่ีสําคัญของไทยอยู่ทาง ภาคใต้ของประเทศซึ่งมีพืชเศรษฐกิจที่สําคัญอีกชนิดคือยางพารา จากการศึกษาพบว่าเมื่อราคายางพารา ปรับตัวสูงขึ้นจะส่งผลให้เกษตรกรหันมาปลูกยางพาราทดแทนปาล์มที่หมดอายุส่งผลให้พื้นท่ีปลูกปาล์ม ลดลงซึ่งมีผลต่อปริมาณผลผลิตที่จะออกสู่ตลาดที่จะลดลงตามมา (ที่มา: Purawich Phitthayaphinant, Ayut Nissapa, Buncha Somboonsuke, Theera Eksomtramage. (2012). An Equation of Oil Palm Plantation Areas in Thailand. KKU Res. J.(be) 2012; 11(1): 66-76.)
4.2 การตรวจสอบความสมพันธ์ของตัวแปร
ทําการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรตัวแปรตาม (y) โดยมีตัวแปรอิสระเป็นราคาผลปาล์ม ทะลายท่ีรับซื้อของตลาดต่างๆ (x) นําข้อมูลดังกล่าวมาทํา Scatter plot และ Regression Analysis เพื่อให้ทราบถึงลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ภายใต้สมมติฐานที H0 : β = 0 (ตัวแปรอิสระไม่มี อิทธิพลต่อตัวแปรตาม) H1 : β ≠ 0 (ตัวแปรอิสระมีอิทธิพลต่อตัวแปรตาม) ประกอบกับการวิเคราะห์ ค่า สหสัมพันธ์ (Correlations) เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรว่ามีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันหรือไม่ ลักษณะใด และความสมพันธ์กันมากน้อยเพียงใด โดยมีรายละเอียดการวิเคราะห์ดังต่อไปนี้
4.2.1 ความสมพนธ์ของราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้กับตัวแปรอ่ืนๆ
กําหนดให้ราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้เป็นตัวแปรตาม (y) โดยมีตัวแปรอิสระเป็น ราคาผลปาล์มทะลายที่รับซื้อของตลาดต่างๆ (x) นําข้อมูลดังกล่าวมาทํา Scatter plot และ Regression Analysis เพ่ือให้ทราบถึงลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ดงภาพที่ 4-1
(ก) FFB_F Price กับ FFB_T Price (ข) FFB_F Price ก
FFB_K Price
(ค) FFB_F Price กับ FFB_S Price (ง) FFB_F Price กับ FFB_C Price
ภาพที่ 4-1 ความสัมพันธ์ระหว่างราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้ (FFB_F Price) กับ ราคารับซือ้ ปาล์มทะลาย กทม. (ก) จ.กระบี่ (ข) จ.สุราษฎร์ธานี (ค) และ จ.ชุมพร (ง)
จากภาพท่ี 4-1 พบว่า R-Square ท่ีบ่งบอกนัยแห่งความสัมพันธ์มีค่าสูงมาก นั้นคือราคาผลปาล์ม ทะลายท่ีเกษตรกรขายได้ (FFB_F Price) มีความสัมพันธ์กับทุกตลาดอย่างมาก โดยพบว่าถ้าราคารับซื้อ ผลปาล์มทะลาย กทม. เพิ่มข้ึน 1% จะทําให้ราคาผลปาล์มทะลายท่ีเกษตรกรขายได้เพิ่มขึ้น 0.95% หาก ราคารับซื้อผลปาล์มทะลายจังหวัดกระบี่ เพ่ิมข้ึน 1% จะทําให้ราคาผลปาล์มทะลายท่ีเกษตรกรขายได้ เพิ่มขึ้น 0.95% หากราคารับซ้ือผลปาล์มทะลายจังหวัดสุราษฎร์ฯ เพิ่มขึ้น 1% จะทําให้ราคาผลปาล์ม
ทะลายที่เกษตรกรขายได้เพิ่มขึ้น 0.99% และหากราคารับซื้อผลปาล์มทะลายจังหวัดชุมพร เพิ่มขึ้น 1%
จะทําให้ราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้เพิ่มขึ้น 0.95% น้ันคือราคารับซื้อผลปาล์มทะลายจังหวัด สุราษฎร์ฯ ส่งผลกับราคาผลปาล์มทะลายท่ีเกษตรกรขายได้สูงสุด เนื่องจากจังหวัดสุราษฎร์ฯ เป็นจังหวัด ที่มีที่ให้ผลผลิต ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ปาล์มนํ้ามันสูงที่สุดในประเทศทําให้ราคารับซื้อผลปาล์มทะลาย จังหวัดสุราษฎร์ฯ ส่งผลกบราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้สูงสุด
ตารางท่ี 4-1 ค่าสหสัมพันธ์ (Correlations) ระหว่าง ราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้ (FFB_F Price) กับราคารับซื้อปาล์มทะลายแต่ละตลาด
ตัวแปร | FFB_F Price | FFB_T Price | FFB_K Price | FFB_S Price |
FFB_T Price | 0.983 (0.00) | |||
FFB_K Price | 0.983 (0.00) | 0.993 (0.00) | ||
FFB_S Price | 0.955 (0.00) | 0.963 (0.00) | 0.962 (0.00) | |
FFB_C Price | 0.980 (0.00) | 0.991 (0.00) | 0.980 (0.00) | 0.956 (0.00) |
Cell Contents: Pearson correlation (P-Value)
จากตารางที่ 4-1 พบว่าสถิติมีนัยสําคัญในระดับความเช่ือมั่นที่ร้อยละ 95 มีค่าสหสัมพันธ์ของ
ราคารับซื้อปาล์มทะลายของแต่ละตลาด มีค่าอยู่ระหว่าง 0.955 ถึง 0.993 ซ่ึงหมายความว่าค่าปาล์ม ทะลายของแต่ละตลาดมีความสมพันธ์กันสูงมากในทิศทางเดียวกัน
จากนั้นกําหนดให้ราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้เป็นตัวแปรตาม (y) โดยมีตัวแปรอิสระ เป็นราคาน้ํามันปาล์มดิบของตลาดต่างๆ (x) นําข้อมูลดังกล่าวมาทํา Scatter plot และ Regression Analysis เพื่อให้ทราบถึงลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรดังภาพที่ 4-2
จากภาพที่ 4-2 พบว่า R-Square ที่บ่งบอกนัยแห่งความสัมพันธ์มีค่าสูงมาก น คอราคื าผลปาล์ม
ทะลายที่เกษตรกรขายได้ (FFB_F Price) มีความสัมพันธ์กับราคาน้ํามันปาล์มดิบของตลาดต่างๆ อย่าง มาก โดยพบว่าถ้าราคาน้ํามันปาล์มดิบตลาด กทม. เพ่ิมขึ้น 1% จะทําให้ราคาผลปาล์มทะลายท่ีเกษตรกร
ขายได้เพิ่มขึ้น 0.64% หากราคาน้ํามันปาล์มดิบตลาดมาเลเซีย เพ่ิมข 1% จะทําให้ราคาผลปาล์มทะลาย
ที่เกษตรกรขายได้เพ่ิมขึ้น 1.69% และหากราคาน้ํามันปาล์มดิบเฉลี่ยตลาดกระบี่ สุราษฎร์ฯ และชุมพร เพิ่มขึ้น 1% จะทําให้ราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้เพิ่มขึ้น 1.06% นั้นคือราคานํ้ามันปาล์มดิบ ตลาดมาเลเซีย มีผลต่อราคาผลปาล์มทะลายท่ีเกษตรกรขายได้มากท่ีสุดรองลงมาเป็นตลาดท้องถิ่น และ สุดทายเป็นตลาดกรุงเทพฯ มีท่ีผลต่อราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้น้อยทีส่ ุด เนื่องจากเป็นตลาด ที่อยู่ไกลจากผู้ขายหรือเกษตรกรมากที่สุด
(ก) FFB_F Price กับ CPO_T Price (ข) FFB_F Price กับ CPO_S Price
(ค) FFB_F Price กับ CPO_A Price
ภาพท่ี 4-2 ความสัมพันธ์ระหว่างราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้ (FFB_F Price) กับ ราคานํามนปาล์มดิบของกทม. (ก) ราคาของมาเลเซีย (ข) ราคาเฉลี่ย 3 จังหวัด (ค)
จากตารางที่ 4-2 พบว่าสถิติมีนัยสําคัญในระดับความเช่ือมั่นที่ร้อยละ 95 ค่าสหสัมพันธ์ของราคา ผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้ (FFB_F Price) กับราคานํ้ามันปาล์มดิบแต่ละตลาด มีค่าอยู่ระหว่าง 0.865 ถึง 0.991 ซึ่งหมายความว่าค่าราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้ กับราคาน้ํามันปาล์มดิบแต่ ละตลาดมีความสัมพันธ์กันสูงมากในทิศทางเดียวกัน ซึ่งตรงกับ จิตวดี (2550) ที่ได้วิเคราะห์ความสัมพันธ์ ของตลาดปาล์มน้ํามัน พบว่าตลาดทั้ง 3 ตลาดต่างก็มีความสัมพันธ์ของราคาเช่ือมโยง โดยตลาด
ต่างประเทศมีผลกระทบต่อราคาขายในประเทศ และราคาขายในประเทศก็ส่งผลกระทบต่อราคารับซื้อใน ตลาดทองถิ่นทั้ง 3 ตลาด
ตารางที่ 4-2 ค่าสหสัมพันธ์ (Correlations) ระหว่าง ราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้ (FFB_F Price) กับราคานํามันปาล์มดิบแต่ละตลาด
ตัวแปร | FFB_F Price | CPO_T Price | CPO_M Price | CPO_A Price CPO_K Price CPO_S Price |
CPO_T Price | 0.937 (0.000) | |||
CPO_M Price | 0.865 (0.000) | 0.875 (0.000) | ||
CPO_A Price | 0.938 (0.000) | 0.985 (0.000) | 0.897 (0.000) | |
CPO_K Price | 0.948 (0.000) | 0.991 (0.000) | 0.889 (0.000) | 0.988 (0.000) |
CPO_S Price | 0.894 (0.000) | 0.924 (0.000) | 0.866 (0.000) | 0.969 (0.000) 0.932 (0.000) |
CPO_C Price | 0.917 (0.000) | 0.983 (0.000) | 0.882 (0.000) | 0.984 (0.000) 0.976 (0.000) 0.919 (0.000) |
Cell Contents: Pearson correlation (P-Value)
จากน้ันกําหนดให้ราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้เป็นตัวแปรตาม (y) โดยมีตัวแปรอิสระ
(x) เป็นราคาน้ํามันปาล์มบริสุทธ์ิของไทยและมาเลเซีย ราคานํ้ามันถั่วเหลือง และราคายางแผ่นรมควันชั้น 3 และราคาไบโอดีเซล โดยราคายางแผ่นรมควันชั้น 3 ที่เกษตรขายได้นับเป็นปัจจัยหน่ึงที่คาดว่าจะมีผล ต่อการเปล่ียนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้เนื่องจาก พืนที่ปลูกปาล์มท่ีสําคัญของไทย อยู่ทางภาคใต้ของประเทศซึ่งมีพืชเศรษฐกิจที่สําคัญอีกชนิดคือยางพารา จากการศึกษาพบว่าเมื่อราคา ยางพาราปรับตัวสูงขึ้นจะส่งผลให้เกษตรกรหันมาปลูกยางพาราทดแทนปาล์มที่หมดอายุส่งผลให้พื้นที่ ปลูกปาล์มลดลงซึ่งมีผลต่อปริมาณผลผลิตที่จะออกสู่ตลาดท่ีจะลดลงตามมา นั้นคือเกษตรกรจะมี พฤติกรรมการปลูกทดแทนโดยพิจารณาจากแนวโน้มของราคาสินค้าเกษตรตัวนั้น จากน้ันนําข้อมูล ดงกล่าวมาทํา Scatter plot และ Regression Analysis เพ่ือให้ทราบถึงลักษณะความสมพันธ์ระหว่างตัว แปรดังภาพที่ 4-3
(ก) FFB_F Price กับ RPO_M Price (ข) FFB_F Price กับ RPO_T Price
(ค) FFB_F Price กับ SBO_W Price (ง) FFB_F Price กับ RSS3_F Price
(จ) FFB_F Price กับ B100 Price
ภาพท่ี 4-3 ความสัมพันธ์ระหว่างราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้ (FFB_F Price) กบราคานํ้ามันปาล์มบริสุทธ์ิมาเลเซีย (ก) ไทย (ข) ราคานํามันถ่ัวเหลือง (ค) ราคายางแผนดิบรมควันชั้น 3 ท่ีเกษตรขายได้ (ง) และราคาไบโอดีเซล (จ)
จากภาพที่ 4-3 พบว่า R-Square ที่บ่งบอกนัยแห่งความสัมพันธ์ค่อนข้างต่ํา โดยพบว่าราคาผล ปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้ (FFB_F Price) มีความสัมพันธ์กับราคาไบโอดีเซลมากที่สุด โดยหาก ราคาไบโอดีเซล เพิ่มขึ้น 1% จะทําให้ราคาผลปาล์มทะลายท่ีเกษตรกรขายได้เพ่ิมขึ้น 0.45% เนื่องจาก ความต้องการด้านพลังงานและนโยบายภาครัฐที่มีการสนับสนุนด้านพลังงานทดแทนทําให้ราคาไบโอดีเซล ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องมีผลต่อราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้ รองลงมาเป็นราคาน้ํามันปาล์ม บริสุทธิ์ของไทยและมาเลเซีย ส่วนราคานํ้ามันถั่วเหลืองและราคายางแผนดิบรมควันชั้น 3 ที่เกษตรขายได้ พบว่าข้อมูลมีลักษณะการกระจายตัวสูง โดยมีค่า R-Square เป็น 0.4246 และ 0.4395 ตามลําดับ นั้น
หมายความว่าราคานํ้ามันถั่วเหลืองและราคายางแผนดิบรมควันช้ัน 3 ท่ีเกษตรขายได้ไม่มีความสัมพนธ์กับ ราคาปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้ หรือมีความเป็นอิสระจากกัน การที่ราคายางแผนดิบรมควันช้ัน 3 ที่ เกษตรขายความเป็นอิสระจากกันกับราคาปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้ อาจเป็นผลเนื่องมาจากการ ปลูกทดแทนต้องใช้ระยะเวลา ทําให้การพิจารณาที่ช่วงเวลาเดียวกันจึงไม่พบความสัมพันธ์ของปัจจัย ดังกล่าว
ตารางท่ี 4-3 ค่าสหสัมพันธ์ (Correlations) ระหว่าง ราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้ (FFB_F Price) กับราคาสินคาต่างๆ
ตัวแปร | FFB_F Price | RPO_M Price | RPO_T Price | SBO_W Price RSS3_F Price |
RPO_M Price | 0.820 (0.000) | |||
RPO_T Price | 0.859 (0.000) | 0.847 (0.000) | ||
SBO_W Price | 0.652 (0.000) | 0.868 (0.000) | 0.738 (0.000) | |
RSS3_F Price | 0.663 (0.000) | 0.666 (0.000) | 0.682 (0.000) | 0.574 (0.000) |
B100 Price | 0.902 (0.000) | 0.858 (0.000) | 0.951 (0.000) | 0.744 (0.000) 0.700 (0.000) |
Cell Contents: Pearson correlation (P-Value)
จากตารางท่ี 4-3 พบว่าสถิติมีนัยสําคัญในระดับความเชื่อมั่นท่ีร้อยละ 95 ค่าสหสัมพันธ์ของราคา ผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้ (FFB_F Price) กับราคายางแผ่นรมควันชั้น 3 ที่เกษตรขายได้มีค่า 0.663 น้ันคือมีความสัมพันธ์กันในระดับปานกลาง เช่นเดียวกับราคาน้ํามันถั่วเหลืองท่ีมีค่าสหสัมพันธ์
0.652 ส่วนราคาสินค้าท่ีมีความสัมพันธ์กับราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้สูงที่สุดคือ ราคา ไบโอดีเซล รองลงมาเป็นราคาน้ํามันปาล์มบริสุทธ์ิทั้งตลาด กทม. และมาเลเซีย
4.2.2 ความสัมพันธ์ของราคานํามนปาล์มดิบของไทยกับตวแปรอื่นๆ
กําหนดให้ราคานํ้ามันปาล์มดิบของไทย ตลาด กทม. เป็นตัวแปรตาม (y) โดยมีตัวแปรอิสระ (x) เป็นราคาน้ํามันปาล์มดิบของมาเลเซีย และราคาน้ํามันปาล์มดิบตลาดท้องถ่ินประกอบด้วย จังหวัดกระบี่ สุราษฎร์ธานีและชุมพร นําข้อมูลดังกล่าวมาทํา Scatter plot และ Regression Analysis เพื่อให้ทราบ ถึงลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรดังภาพที่ 4-4
(ก) CPO_T Price กับ CPO_M Price (ข) CPO_T Price กับ CPO_K Price
(ค) CPO_T Price กับ CPO_S Price (ง) CPO_T Price กับ CPO_C Price
ภาพที่ 4-4 ความสัมพันธ์ระหว่างราคานํ้ามันปาล์มดิบของไทย ตลาด กทม. (CPO_T Price)
กับราคาน้ํามันปาล์มดิบของมาเลเซีย (ก) จ.กระบี่ (ข) จ.สุราษฎร์ธานี (ค) และ จ.ชุมพร (ง)
จากภาพที่ 4-4 พบว่าราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย ตลาด กทม. (CPO_T Price) มี ความสัมพันธ์กับราคาน้ํามันปาล์มดิบของมาเลเซีย และราคาน้ํามันปาล์มดิบตลาดท้องถิ่นสําคัญทั้งสาม ตลาดอย่างมาก โดยพบว่าถ้าราคาน้ํามันปาล์มดิบของมาเลเซีย เพ่ิมขึ้น 1% จะทําให้ราคาน้ํามันปาล์มดิบ ของไทย ตลาด กทม. เพ่ิมขึ้น 1.38% การที่ราคาน้ํามันปาล์มดิบของมาเลเซีย มีผลราคาน้ํามันปาล์มดิบ ของไทย ตลาด กทม. สูงที่สุดเนื่องจากปัจจุบันราคากลางที่ตลาดพิจารณาคือราคาของมาเลเซียทําให้ น้ํามันปาล์มดิบของมาเลเซียถูกนํ้ามาพิจารณาอ้างอิงราคาปรับเพิ่มลดตาม หากราคาน้ํามันปาล์มดิบ จ.กระบี่ เพิ่มขึ้น 1% จะทําให้ราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย ตลาด กทม. เพ่ิมขึ้น 1.26% หากราคาน้ํามัน
ปาล์มดิบ จ.สุราษฎร์ฯ เพิ่มขึ้น 1% จะทําให้ราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทยตลาด กทม. เพิ่มขึ้น 0.81% และหากราคานํามันปาล์มดิบ จ.สุราษฎร์ฯ เพิ่มขึน้ 1% จะทําให้ราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย ตลาด กทม. เพิ่มขึ้น 1.23% นั้นคือการเปลี่ยนแปลงราคาน้ํามันปาล์มดิบของมาเลเซียส่งผลกับราคาน้ํามันปาล์มดิบ ของไทย ตลาด กทม. มากที่สุด รองลงมาเป็นการเปล่ียนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบ จ.กระบี่ และ จ. ชุมพร ซึ่งตรงกับ จิตวดี (2550) ที่ได้วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตลาดปาล์มน้ํามัน พบว่าตลาดทั้ง 3 ตลาดต่างก็มีความสัมพันธ์ของราคาเชื่อมโยง โดยตลาดต่างประเทศมีผลกระทบต่อราคาขายในประเทศ และราคาขายในประเทศก็ส่งผลกระทบต่อราคารบซื้อน้ํามันปาล์มดิบในตลาดท้องถิ่นทั้ง 3 ตลาด
ตารางที่ 4-4 ค่าสหสัมพันธ์ (Correlations) ระหว่าง ราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทยตลาด กทม. (CPO_T Price) กบราคาน้ํามันปาล์มดิบของมาเลเซีย และตลาดท้องถิ่นสําคญของไทย
ตวแปร | CPO_T Price | CPO_M Price | CPO_K Price | CPO_S Price |
CPO_M Price | 0.875 (0.00) | |||
CPO_K Price | 0.991 (0.00) | 0.889 (0.00) | ||
CPO_S Price | 0.924 (0.00) | 0.866 (0.00) | 0.932 (0.00) | |
CPO_C Price | 0.983 (0.00) | 0.882 (0.00) | 0.976 (0.00) | 0.919 (0.00) |
จากตารางที่ 4-4 พบว่าสถิติมีนัยสําคัญในระดับความเช่ือม่ันที่ร้อยละ 95 ค่าสหสัมพันธ์ของราคา น้ํามันปาล์มดิบของไทยตลาด กทม. (CPO_T Price) กับราคานํ้ามันปาล์มดิบของมาเลเซีย และตลาด ท้องถิ่นสําคัญของไทย จ.กระบี่ จ.สุราษฎร์ธานี และ จ.ชุมพร มีค่าอยู่ระหว่าง 0.866 ถึง 0.991 ซึ่ง หมายความว่าราคานํ้ามันปาล์มดิบของแต่ละตลาดมีความสัมพันธ์กันสูงมากในทิศทางเดียวกัน
กําหนดให้ราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย ตลาด กทม. เป็นตัวแปรตาม (y) โดยมีตัวแปรอิสระ (x) เป็นราคานํ้ามันปาล์มบริสุทธิ์ของไทยและมาเลเซีย ราคานํ้ามันถ่ัวเหลือง และราคายางแผ่นรมควันชั้น 3 และราคาไบโอดีเซล นําข้อมูลดังกล่าวมาทํา Scatter plot และ Regression Analysis เพ่ือให้ทราบถึง ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรดงภาพที่ 4-5
(ก) CPO_T Price กับ RPO_M Price (ข) CPO_T Price กับ RPO_T Price
(ค) CPO_T Price กับ SBO_W Price (ง) CPO_T Price กับ RSS3_F Price
(จ) CPO_T Price กับ B100 Price
ภาพที่ 4-5 ความสัมพันธ์ระหว่างราคานํามันปาล์มดิบของไทย ตลาด กทม. (CPO_T Price) กับราคาน้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ไทย (ก) มาเลเซีย (ข) ราคานํามนถ่วเหลือง (ค) ราคายางแผนดิบรมควันชั้น 3 ที่เกษตรขายได้ (ง) และราคาไบโอดีเซล (จ)
จากภาพท่ี 4-5 พบว่า R-Square ท่ีบ่งบอกนัยแห่งความสัมพันธ์ ของ ราคาน้ํามันปาล์มดิบของ ไทย ตลาด กทม. (CPO_T Price) กับ ราคานํ้ามันปาล์มบริสุทธิ์ของไทยและราคาไบโอดีเซล ค่อนข้างสูง คือ R-Square เป็น 0.865 และ 0.9234 ตามลําดับ ขณะที่ -Square ท่ีบ่งบอกนัยแห่งความสัมพันธ์ของ ราคานํ้ามันปาล์มดิบของไทย ตลาด กทม. (CPO_T Price) กับ ราคาน้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ของมาเลเซีย ราคาน้ํามันถั่วเหลือง และ ราคายางแผนดิบรมควันชั้น 3 ที่เกษตรขายได้ ค่อนข้างต่ํา พบว่าข้อมูลมี
ลักษณะการกระจายตัวสูง โดยมีค่า R-Square เป็น 0.6905, 0.472 และ 0.5326 ตามลําดับ น้ัน หมายความว่า ราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย ตลาด กทม. กับ ราคาน้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ของมาเลเซีย ราคา
น้ํามันถั่วเหลือง และ ราคายางแผนดิบรมควันช 3 ที่เกษตรขายได้ มีความเป็นอสระจากกิ ัน
โดยพบว่าราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย ตลาด กทม. (CPO_T Price) มีความสัมพันธ์กับเป็นราคา น้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ของไทยและราคาไบโอดีเซลอย่างมาก โดยหากราคาน้ํามันปาล์มบริสุทธ์ิของไทย เพิ่มข้ึน 1% จะทําให้ราคานํ้ามันปาล์มดิบของไทย ตลาด กทม. เพิ่มขึ้น 1.07% และ หากราคาไบโอดีเซล เพิ่มขึ้น 1% จะทําให้ราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย ตลาด กทม. เพ่ิมข้ึน 1.26% น้ันคือการเปล่ียนแปลง ราคาไบโอดีเซลส่งผลกับราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย ตลาด กทม. มากที่สุด
พบว่าราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย ตลาด กทม. (CPO_T Price) มีความสัมพันธ์กับราคาของ ผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องสําคัญของน้ํามันปาล์มดิบคือโอดีเซลและนํามันปาล์มบริสุทธิ์ ทําให้ราคาของปัจจัยท้ัง 2 มีผลต่อ ราคาน้ํามนปาล์มดิบของไทยค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับปัจจัยแวดล้อมอื่น
ตารางที่ 4-5 ค่าสหสัมพันธ์ (Correlations) ระหว่าง ราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทยตลาด กทม. (CPO_T Price) กบราคาน้ํามันปาล์มดิบของมาเลเซีย และตลาดท้องถ่ินสําคัญของไทย
ตัวแปร | CPO_T Price | RPO_T Price | RPO_M Price | SBO_W Price | RSS3_F Price |
RPO_T Price | 0.831 (0.00) | ||||
RPO_M Price | 0.930 (0.00) | 0.847 (0.00) | |||
SBO_W Price | 0.687 (0.00) | 0.868 (0.00) | 0.738 (0.00) | ||
RSS3_F Price | 0.730 (0.00) | 0.666 (0.00) | 0.682 (0.00) | 0.574 (0.00) | |
B100 Price | 0.961 (0.00) | 0.858 (0.00) | 0.951 (0.00) | 0.744 (0.00) | 0.700 (0.00) |
จากตารางที่ 4-5 พบว่าสถิติมีนัยสําคัญในระดับความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95 ค่าสหสัมพันธ์ของราคา น้ํามันปาล์มดิบของไทย ตลาด กทม. (CPO_T Price) มีความสัมพันธ์กับราคายางแผ่นรมควันชั้น 3 ที่ เกษตรขายได้ มีค่า 0.730 นั้นคือมีความสัมพันธ์กันในระดับปานกลาง เช่นเดียวกับราคาน้ํามันถั่วเหลืองท่ี มีค่าสหสัมพันธ์ 0.687 ส่วนราคาสินค้าท่ีมีความสมพันธ์กับราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกรขายได้สูงที่สุด คือ ราคาไบโอดีเซล รองลงมาเป็นราคานํามันปาล์มบริสุทธิ์ทงั ตลาด กทม. และมาเลเซีย
จากการวิเคราะห์ทางสถิติเบื้องต้นพบว่าปัจจัยแต่ละตัวมีผลต่อราคาผลปาล์มทะลายที่เกษตรกร ขายได้ และราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทยตลาด ดังนั้นผู้วิจัยจึงพิจารณาทุกปัจจัยที่กล่าวมาข้างต้นไปใช้ใน การวิเคราะห์ตามวิธีทางเศรษฐมิติในบทต่อไป
บทที่ 5
การสร้างและวิเคราะห์ตัวแบบสําหรับพยากรณ
5.1 ข้ันตอนการสรางตัวแบบสําหรับพยากรณ์
จากการศึกษาผลกระทบของปัจจัยท่ีมีผลต่อเสถียรภาพของราคาทะลายปาล์มสดและน้ํามัน ปาล์ม ในคร้งนีจากข้อมูล Secondary Data ในรปของ Time Series รายเดือน ตงั แต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2550 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 จาก World Trade Atlas, Goble Trade Atlas กระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยใช้รูปแบบการศึกษา Auto Regressive (AR) Integrated (I) ซ่ึง เป็นการจําลองรูปแบบทางสถิติ (Statistic Model) ร่วมกับตัวแปรอิสระ หรือท่ีเรียกว่า ARIMAX Model ดังนั้น ผู้วิจัยได้ทําการคํานวณหาค่า Parameter โดยอาศัยโปรแกรมสําเร็จรูป EVIEWS 5.0 มีข้ันตอน การศึกษาดังน้ี
1) นําข้อมูลที่ใช้สําหรับการศึกษาไปวิเคราะห์ความเป็น Stationary โดยการทดสอบ Unit Root
จากแนวคิดของ Augment Dickey and Fuller
2) นําข้อมูลที่เป็น Stationary ณ ระดับ Level เดียวกันเท่านั้นทังตัวแปรตาม และตัวแปรอิสระ (ณ ระดับ 1st moment และ/หรือ 2nd moment) ไปวิเคราะห์ความสัมพันธ์ในระยะยาว หรือการ หา Co-integration ซึ่งถ้าตัวแปรต่างๆ ในแบบจําลองนั้นมีความสัมพันธ์กันในระยะยาว ณ ระดบเดียวกัน ก็จะสามารถนําไปสร้าง The Best Model ต่อไปได้
3) ประมาณค่า (Estimate) แบบจําลองเพื่อสร้าง The Best Model กล่าวคือ ตัวแปรอิสระจะต้อง แสดงถึงอิทธิพลอย่างแท้จริงต่อตัวแปรตาม โดยการพิจารณาจากค่า tau-statistics จะต้องมี นัยสําคัญทางสถิติ ณ ระดบที่กําหนด (ระดับ 5%, 10% และ 15%) ทุกตัว
4) นํา The Best Model ที่ได้แล้วไปทําการทดสอบปัญหาทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ Autocorrelation (LM-test), Heteroskadasticity (ARCH–Test) และ Multicorrelinearity และ ทํ าก าร ตรวจสอบ response จากค่า Correlogram เทียบกับค่า chi-square นอกจากนี้ยังมีการ ตรวจสอบ Ramsey Reset Test เพื่อให้เกิดความน่าเชื่อถือของแบบจําลองและสามารถนําไปใช้ ประโยชน์ต่างๆ เช่น การพยากรณ์ในอนาคต เป็นต้น
5.1.1 การตรวจสอบความเป็น Stationary
การตรวจความเป็น Stationary ของข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครง้ นี้จะเลือกใช้วิธีของ Augmented Dickey and Fuller โดยส่วนใหญ่แล้วนั้นข้อมูลที่นํามาวิเคราะห์จะมีคุณสมบัติ Non-Stationary หรือ ข้อมูลอนุกรมเวลาเหล่าน้ันมีส่วนประกอบของ Unit Root กล่าวคือ ข้อมูลดังกล่าวจะมีความแปรปรวนไม่ คงท่ี และจะเปลี่ยนไปตามเวลา ในขณะที่ข้อมูลอนุกรมเวลาที่มีคุณสมบัติ Stationary หรือไม่มี ส่วนประกอบของ Unit Root นั้นจะมีความความแปรปรวนคงที่ ดังน้ัน ถ้าหากนําข้อมูลที่มีคุณสมบัติ Non-Stationary ไปใช้ประมาณการในสมการถดถอยโดยวิธี Ordinary Least Square (OLS) จะทําให้ ค่าสัมประสิทธิ์ที่ได้จากการคํานวณขาดความเช่ือถือที่เรียกว่า Spurious Regression ซึ่งปัญหาดังกล่าว สามารถพบได้บ่อยมากโดยเฉพาะสินค้าเกษตรกรรม ตัวอย่างเช่น R-Square ท่ีคํานวณได้จะมีค่าสูงมาก
ในขณะท่ีค่า Durbin-Watson มีค่าต่ํามาก สาเหตุที่เป็นเช่นนั้น เพราะตัวแปรมีความสัมพันธ์ต่อกันใน ลักษณะของเง่ือนไขเวลา (time trend) มากกว่าในลักษณ ะพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (underlying economic relationship)
5.1.2 คุณสมบตั ิของความเป็น Stationary
Stationary Stochastic Process หรือเรียกสั้นๆ ว่า Stationary คือ ข้อมูลอนุกรมเวลาท่ีมี ค่าเฉลี่ย หรือค่าความคาดหวัง (mean or expected value) และค่าความแปรปรวน (variance) คงที่ ตลอดช่วงเวลา (Constant over time) และค่าความแปรปรวนร่วม (covariance) ไม่ขึ้นอยู่กับเวลา แต่ จะข้ึนอยู่กับระยะหรือช่วงห่างของช่วงเวลา (Distance or Lag) กําหนดให้ Yt เป็น Stochastic Time Series และมีลักษณะเป็น Stationary จะตองมีคุณสมบัติ 3 ข้อ ดังนี้
Mean : EYt = EYt+k = μ
Variance : VAR(Yt) = E(Yt-μ)2 = E(Yt-k-μ)2 = σ2
Covariance : E(Yt-μ)(Yt+k-μ) = γk
จากสมการดังกล่าวพบว่า ค่า γk คือค่า Covariance ระหว่าง Yt และ Yt+k ซึ่งมีค่าเท่ากับ
ระยะห่างระหว่างค่า Y สองค่า แต่ไม่ได ึ้นอยู่กับ “เวลา” จะเห็นไดวา่้ ในกรณีตวแปรเชงสิั ุ่มมีลกษณะเป็น
Stationary Stochastic Process การแจกแจงความน่าจะเป็น (probability distribution) จะไม่ เปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงเวลา คือค่าความคาดหวังและความแปรปรวนจะคงที่
อย่างไรก็ตาม สําหรับข้อมูลอนุกรมเวลาบางอย่างจะไม่มีคุณสมบัติดังกล่าว หรือกล่าวได้ว่าข้อมูล นั้นมีลักษณะเป็น Non Stationary Stochastic Process หรือ Non Stationary นั้น จะมีค่าความ คาดหวังและความแปรปรวนไม่คงที่ แต่จะเปลี่ยนไปตามเวลา กล่าวอีกนัยหน่ึงว่า อนุกรมเวลาของตัวแปร น้ันมีลักษณะการเปล่ียนแปลงแบบ Random Walk กล่าวคือค่าความคาดหวังและความแปรปรวน เปล่ียนแปลงไปตามเวลา กําหนดให้ Yt เป็น Stochastic Time Series และมีลักษณะเป็น Non Stationary จะต้องมีลักษณะดังนี้
Mean : EYt = EYt+k = μ
Variance : VAR(Yt) = E(Yt-μ)2 = E(Yt-k-μ)2 = tσ2 Covariance : E(Yt-μ)(Yt+k-μ) = tγk
ในงานวิจัยฉบับนี้จะพิจารณา Weak Stationary กล่าวคือจะพิจารณาเฉพาะ first และ second moment คือพิจารณาเฉพาะค่าความคาดหวัง หรือค่าเฉลี่ย (mean) กับค่าความแปรปรวน (variance) ว่าจะเป็นอิสระกับ “เวลา” หรือไม่ ซึ่งอนุกรมเวลาจะมีคุณสมบัติ Stationary ค่าเฉลี่ยหรือค่าความ คาดหวังมีค่าคงที่ และค่าความแปรปรวนร่วมจะขึ้นอยู่กับค่าระยะห่างของช่วงเวลา (lag) ซึ่งในกรณีที่ พิจารณาในช่วงเวลาเดียวกับค่าความแปรปรวนร่วม (covariance) ก็คือค่าความแปรปรวน (variance) แต่สําหรับกรณี Strictly Stationary นั้นจะไม่พิจารณาแต่เพียง moment ลําดับที่หนึ่ง และสองเท่านั้น แต่จะพิจารณา moment ในลําดบที่สูงขึ้นด้วย
การนําแนวคิดเร่ือง moment มาใช้อธิบายการเปล่ียนแปลงของตัวแปรทางเศรษฐกิจ มี ข้อสังเกตที่สําคัญ 2 ประการ คือ ประการแรกตัวแปรที่มีลักษณะเป็น Stationary จะผันผวนในช่วงแคบ ๆ รอบ ๆ ค่าเฉลี่ยของตัวแปรนั้น ในขณะที่ตัวแปรที่มีลักษณะเป็น Non-Stationary จะมีการผันผวน มากกว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งเม่ือจํานวนของข้อมูลที่นํามาพิจารณามีมากข้ึน ประการท่ีสอง เมื่อมีปัจจัย ภายนอกมากระทบ (shock) ต่ออนุกรมเวลาของตัวแปรทางเศรษฐกิจที่พิจารณา ถ้าตัวแปรเป็น Stationary ผลกระทบดังกล่าวจะทําให้ค่าของตวแปรเบี่ยงเบนจากค่าเฉล่ียของตัวแปร (long run mean level) เพียงชั่วคราว เมื่อเวลาเปลี่ยนไปค่าที่เบ่ียงเบนจะกลับเข้ามาสู่ค่าเฉลี่ยของอนุกรมเวลานั้น ซึ่งเป็น ค่าคงที่ แต่ถ้าข้อมูลที่นํามาวิเคราะห์มีลักษณะ Non-Stationary แล้วจะเกิดผลในทางตรงข้าม กล่าวคือ ผลกระทบที่เกิดขึ้นจะส่งผลต่อเนื่องไปยังตัวแปรที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาอื่นๆ ทําให้ค่าเฉลี่ยผันแปรไปเร่ือยๆ เม่ือเวลาเปลี่ยนไปหรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือตัวแปรที่มีลักษณะ Non-Stationary จะไม่มีค่าเฉลี่ยระยะยาว (long run mean level) ที่จะทําให้ค่าอนุกรมเวลานั้นปรับตัวเข้าหา ซ่ึงส่งผลให้การนําแบบจําลอง ดังกล่าวไปใช้เกิดความผิดพลาดท่ีสูงมากนันเอง
การทดสอบคุณสมบัติของตัวแปรต่างๆ ในงานวิจัยฉบับนี้ สามารถทดสอบ Unit Root Test
ตามแนวคิดของ Augmented Dickey Fuller Test ภายใตข้ ้อสมมติ (Assumption) ดังนี้
ในกรณี εt ขาดคุณสมบัติความเป็น White Noise กล่าวคือ มีลักษณะเป็น Autocorrelation คือมีความสัมพันธ์ในอันดับสูงข้ึน higher order autoregressive process ดังนั้นจะต้องใช้การทดสอบ แบบ Augmented Dickey Fuller (ADF) สมมติฐานที่ใช้ในการทดสอบมีสมมติฐาน และ tau test เหมือนกับการทดสอบของ Dickey Fuller test แต่จะมีการปรับรูปแบบสมการใหม่ โดยการเพิ่มจํานวน ตัวแปรล่าช้า (lagged) ของตัวแปร ในลําดับท่ีสูงขึ้น เพื่อขจัดปัญหา Autocorrelation ของค่า Residual ปัญหา Heterosckasticity และปัญหา Multicollinearity นั้นเองดังนี้
ΔYt = δ1Yt +
Σ βi ΔYt–i+1 + εt (1)
p
i= 2
ΔYt = α1 + δYt-1 +
Σ βi ΔYt–i+1 + εt (2)
p
i= 2
ΔYt = α1 + α2T + δYt-1 +
Σ βi ΔYt–i+1 + εt (3)
p
i= 2
จากสมการดังกล่าวได้กําหนดให้ ค่า p คือ ตัวแปรล่าช้าของผลต่างของตัวแปร (lagged values of first difference of the variable) โดยการทดสอบ Unit Root โดยวิธี Augmented Dickey Fuller ดังนี้
ΔYt = α1 + α2T + δYt-1 +
Σ βi ΔYt–i+1 + εt
p
i= 2
จากสมการดังกล่าวได้คํานึงถึงปัญหาดังกล่าวข้างต้นทั้ง 3 ปัญหา โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหา Autocorrelation ในตัว εt ให้มีคุณสมบัติเป็น White Noise คือคุณสมบัติของตัว Error Term มี ค่าเฉล่ียเป็น 0 และคงที่ ภายใต้สมมติฐานดังนี้
H0 : δ = 0 , Non-Stationary H1 : δ < 0 , Non-Stationary
ถ้า tau-statistics ของสัมประสิทธิ์ δ อยู่ในรูปของ absolute term จะต้องมากกว่าค่าวิกฤติที่ ปรากฏในตาราง ADF กล่าวคือ การปฏิเสธ (Reject) สมมติฐานหลัก แสดงว่าข้อมูลอนุกรมเวลาของตัว
แปรมีลักษณะ Stationary ซึ่งจะกล่าวได ่า ΔYt Integrated ลําดบท่ี d แสดงสัญลกษณ์คือ ΔYt ~ I(d)
5.1.3 วิธีการและข้นตอนในการทดสอบ Co-integrated System
สําหรับงานวิจัยฉบับนี้ได้กําหนดให้มีการทดสอบความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาว (Co- integrated Relationships) วิ ธีการใน การทดสอบที่อิงกั บหลัก Full Information Maximum Likelihood (FIML) Approach ที่เสนอโดย Johansen and Juselius (1990) เนื่องจาก
1) สามารถประยุกต์ใช้กับแบบจําลองท่ีมีตัวแปรมากกว่า 2 ตัวแปรขึนไป
2) สามารถทดสอบหาจํานวน Co-integrating Vector ได้พร้อมๆ กัน โดยไม่ต้องระบุก่อน ว่าตัวแปรตวใดเป็น Exogenous Variable – Endogenous Variable
สําหรับวิธีของ Johansen and Juselius เป็นวิธีทดสอบในรูปแบบของ Multivariate Co- integration โดยอิงกับแบบจําลองท่ีเรียกว่า Vector Autoregressive (VAR) Model
ΔXt = μ +
Σ Γi ΔXt , ΔXt-1 – Π Xt-k + ut
k−1
i=1
จากวิธีของ Johansen and Juselius นั้น จะต้องทดสอบเพื่อหาจํานวน Co-integrating Vectors ของตัวแปร Xt ใน VAR Model จําเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทดสอบเพื่อหาค่า Lag ท่ีเหมาะสมที่สุด เพื่อใช้ใส่ใน VAR Model นิยมทําโดยพิจารณาค่า Likelihood Ratio Test ของ Sims (1980) หรือ
วิธีการ Minimum Final Prediction Error Test ของ Akaike มีข ตอนดงตั ่อไปน
ขั้นตอนที่ 1 กําหนดตัวแบบสมการท่ีต้องการทดสอบ ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐาน Vector Autoregressive Model (VAR) เช่น
ΔXt =
หรือ
Σ πi ΔXt-i + πXt-p + εt
p−1
t =1
ΔXt = A0 +
Σ πi ΔXt-i + πXt-p + εt
p−1
t =1
ขันตอนที่ 2 ทดสอบเพื่อหาค่าจํานวน Lag ที่เหมาะสมของสมการที่กําหนด
ข้นตอนที่ 3 คํานวณหาจํานวน Co-integrating Vectors ระหว่างตัวแปรต่างๆ ในแบบจําลอง และหาค่า
rank ของเมตริก π ซึ่งเท่ากับจํานวน Rows หรือ Columns ที่เป็นอิสระของเมตริก π
ข้นตอนท่ี 4 ใช้ตัวทดสอบทางสถิติ 2 ชนิด เพ่ือทดสอบหาจํานวนของ Co-integrating Vectors (r) ในตัว แบบ ได้แก่ Trace Test และ Maximum Eigenvalue Test การทดสอบท้ังสองมักจะต้องควบคู่กันไป ท้งนี้เพื่อใช้ตรวจสอบความถูกต้อง
5.1.4 การทดสอบค่าทางสถิติ (diagnostic test)
สําหรับแบบจําลองท่ีได้นั้น จะต้องนํามาตรวจสอบความถูกต้องและเหมาะสม เพ่ือไม่ให้เกิดปัญหา Autocorrelation Heteroskadasticity และปัญหา Multicorrelinearity สถิติท่ีที่ทําการทดสอบ ได้แก่ LM test (เพื่อทดสอบปัญหา Autocorrelation), ARCH Test (เพื่อทดสอบปัญหา Heteroskedasticity)
1) การทดสอบ Autocorrelation (Lagrangian multiplier Test - Lm test)
การทดสอบ LM จะใช้ในกรณีท่ีสมการนั้นมีตัวแปรล่าช้าของตัวแปรตามปรากฏเป็นตัวแปรอิสระ จะไม่สามารถใช้ Durbin – Watson ทดสอบได้ นอกจากนี้ LM ยังสามารถใช้ทดสอบกับกรณีท่ี Error Term มีปัญหา Autocorrelation ในอันดับสูงๆ ได้ซ่ึงมีวิธีการทดสอบดังนี้
Yt = α0 + α1Xt + β1Ut-1 + β2Ut-2 + … + βpUt-p
คํานวณสมการ Yt = α1Xt + Ut เพ่ือใหได ่า Residual
โดยมีสมมติฐานหลัก H1 : β1 = β2 = … = βp = 0
และตัวทดสอบทางสถิติ คือ nR2
~ χ2 และ F-Test =
n − k R 2
×
m (1 − R 2 )
p
p m,n-k
โดยถ้า χ2 และ F – Test Statistic มากกว่าค่า Critical χ2 และค่า F Critical ณ ระดับ นัยสําคัญที่เลือก จะปฏิเสธ สมมติฐานหลัก คือ มี β อย่างน้อย 1 ตัวท่ีมีค่าไม่เท่า 0 แสดงว่ามีปัญหา Autocorrelation
2) การทดสอบ Heteroskedasticity (ARCH Test)
p p
การทดสอบ ARCH ใชทดสอบ Heteroskedasticity ในข้อมูลอนุกรมเวลา (Time series) เมื่อได้ ค่า Residual แล้วนํามาคํานวณร่วมกับตัวแปรล่าช้าของ Residual ซึ่งพิจารณาจากค่าสถิติ F และ nR2 ซ่ึงมีการแจกแจงแบบ Chi-Square โดยถ้าตัวทดสอบทางสถิติ χ2 มีค่ามากกว่าค่าวิกฤตของ χ2 จาก
ตาราง ณ ระดับนัยสําคัญที่เลือก จะปฏิเสธสมมติฐานหล คือ มีปญหาั Heteroskedasticity
5.2 ผลการวิเคราะห์ตวแบบสําหรับพยากรณ์
จากการศึกษาผลกระทบของปัจจัยท่ีมีผลต่อเสถียรภาพของราคาทะลายปาล์มสดและน้ํามัน ปาล์ม ในคร้งนี้จากขอมูล Secondary Data ในรูปของ Time Series รายเดือน ตงั แต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2550 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 จาก World Trade Atlas, Goble Trade Atlas กระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยใช้รูปแบบการศึกษา Auto Regressive (AR) Integrated (I) ซ่ึง เป็นการจําลองรูปแบบทางสถิติ (Statistic Model) ร่วมกับตัวแปรอิสระ หรือท่ีเรียกว่า ARIMAX Model สามารถแสดงผลการวิเคราะห์ได้ดังนี้
5.2.1 ผลการทดสอบ Unit Root Test ดวยวิธีการ Augmented Dickey-Fuller Test
สําหรับผลการทดสอบว่าข้อมูลท่ีใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ มีคุณสมบัติเป็น Stationary หรือไม่ โดย พิจารณาข้อมูลตัวแปรทั้ง 12 ตัวแปรแสดงดังตารางที่ 5-1
1% | 5% | 10% | ||||
FFB_F Price | 1 | -4.27 | -4.22 | -3.53 | -3.20 | I(0) |
CPO_T Price | 1 | -8.46 | -4.22 | -3.53 | -3.20 | I(0) |
CPO_M Price | 1 | -5.31 | -4.22 | -3.53 | -3.20 | I(0) |
CPO_L Price | 1 | -6.67 | -4.22 | -3.53 | -3.20 | I(0) |
B100 Price | 1 | -4.68 | -4.22 | -3.53 | -3.20 | I(0) |
RPO_T Price | 1 | -8.49 | -4.22 | -3.53 | -3.20 | I(0) |
RPO_M Price | 1 | -7.75 | -4.22 | -3.53 | -3.20 | I(0) |
Cooking Oil Price | 1 | -6.93 | -4.22 | -3.53 | -3.20 | I(0) |
GDP_Percapita | 1 | -3.96 | -4.22 | -3.53 | -3.20 | I(0) |
SBO_W Price | 1 | -3.71 | -4.22 | -3.53 | -3.20 | I(0) |
RSS_F Price | 1 | -4.48 | -4.22 | -3.53 | -3.20 | I(0) |
QFFB_F | 1 | -7.14 | -4.22 | -3.53 | -3.20 | I(0) |
ตาราง 5-1 ผลการทดสอบ Unit Root ณ ระดับผลต่างลําดับแรก (At First Difference)
ตวแปร Lag ADF Test MacKinnon Critical Value Status
หมายเหตุ: ตัวแปรท่ีใชทดสอบทุกตัวอยู่ในรูป logarithm
ท่ีมา. จาก การคํานวณ
จากตารางท 5 -1 ค่า ADF Test Statistic ของระดับ (Level) ของตัวแปรทุกตัวแป รม
ส่วนประกอบ Unit Root หรืออนุกรมเวลานันมีคุณสมบัติ Non Stationary กล่าวคือ ค่าที่คํานวณไดจาก วิธี ADF ทุกตัวมีค่าต่ํากว่าค่าวิกฤต (critical) ที่ได้จากตาราง ณ ระดับความมีนัยสําคัญ 1% และ 5% และ 10% ดังนั้นเม่ือพบว่าข้อมูลอนุกรมเวลาใดก็ตามที่มีคุณสมบัติ Non Stationary สามารถปรับให้มี คุณสมบัติเป็น Stationary ไดโดยการหาผลต่างหรือ Difference Moment สําหรับงานวิจัยฉบับนี้ พบว่า ตัวแปรทั้งหมดมีคุณสมบัติความเป็น Stationary ที่ระดับ First Differencing ได้แก่ FFB_F Price,
CPO_T Price, CPO_M Price, CPO_L Price, B100 Price, RPO_T Price, RPO_M Price, Cooking Oil Price, GDP_Percapita, SBO_W Price, RSS_F Price และ QFFB_F กล่าวคือ ค่าที่ได้ จากการทดสอบโดยพิจาณาจากค่า tau-test มีค่ามากกว่าค่า tau-critical ทุกตัว ณ First Difference ซึ่ง ผู้วิจัยสามารถนําไปใช้สําหรับการคํานวณหาความสัมพันธ์ของดุลยภาพในระยะยาวต่อไป แสดงได้ดัง ตารางที่ 5-2
ตารางที่ 5-2 แสดงการทดสอบ Co-integration โดย Johansen Juselius
ตวแปร | Hypothesized No. of CE(S) | Trace Statistic Test | MacKinnon Critical Value | Max-Eigen Statistic Test | MacKinnon Critical Value | Status | ||
1% | 5% | 1% | 5% | |||||
Δ FFB_F Price, | None** | 237.88 | 20.04 | 15.41 | 141.10 | 18.63 | 14.07 | I(1) |
Δ CPO_T Price, Δ CPO_M Price, Δ CPO_L Price, Δ B100 Price, Δ RPO_T Price, | H0 : r = 0 Ha : r > 0 | |||||||
At Most 1** H0 : r ≤ 0 Ha : r > 0 | 79.77 | 6.65 | 3.76 | 79.77 | 6.65 | 3.76 | I(1) | |
Δ RPO_M Price, | ||||||||
Δ Cooking Oil Price, | ||||||||
Δ GDP_Percapita, | ||||||||
Δ SBO_W Price, | ||||||||
Δ RSS_F Price, | ||||||||
Δ QFFB_F |
หมายเหตุ: ตัวแปรที่ใชทดสอบทุกตวอยู่ในรูป logarithm
ที่มา. จาก การคํานวณ
จากตารางที่ 5-2 เมื่อได้ค่า lag ท่ีเหมาะสมแล้ว จึงได้ทําการทดสอบหาจํานวน Co-integration Vectors ด้วยค่า Maximum Eigenvalue Statistics หรือ ค่า Max Test และค่า Eigenvalue Trace Statistics หรือค่า Tract Test ซึ่งในการวิจัยได้ทําการเปรียบเทียบค่าสถิติ λtrace กับ λtrace โดย
เปรียบเทียบค่าสถิติ λtrace ก
λtrace กบค่าสถิติ Critical Value ที่ระดับนยสําค
1% และ 5% ถ้าผล
การทดสอบเปรียบเทียบแล้วพบว่า ค่าสถิติ λtrace กับ λtrace มีค่ามากกว่าค่าสถิติ Critical Value ที่ ณ ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 1% และ 5% แสดงว่าแบบจําลองดังกล่าวมีความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยะ ยาว (Co-integration) แต่ถ้าผลการทดสอบเป็นไปในทิศทางตรงกันข้ามจะแสดงให้เห็นว่าแบบจําลอง ดังกล่าวไม่มีความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยะยาว (Non Co-integration) ซ่ึงจะส่งผลให้เกิดความ ผิดพลาดสูงถ้าหากนําข้อมูลดงกล่าวไปใช้พยากรณ์ต่อไปได้
สําหรับผลการทดสอบ Co-integration ระหว่างตัวแปรตาม และตัวแปรอิสระในแบบจําลองที่ ประกอบด้วยตัวแปรต่างๆ ได้แก่ FFB_F Price, CPO_T Price, CPO_M Price, CPO_L Price, B100 Price, RPO_T Price, RPO_M Price, Cooking Oil Price, GDP_Percapita, SBO_W Price, RSS_F Price และ QFFB_F พบว่าค่า λtrace ในกรณี Null Hypothesis H0 ที่ rank = 0 มีค่าเท่ากับ 237.88 ซึ่ง สูงกว่าค่าวิกฤต ณ ระดับความมีนัยสําคัญทางสถิติ 1% และ 5% คือ 20.04, 15.41 ตามลําดับ ทําให้เรา ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (Reject H0) หรือ ยอมรับสมมติฐานรอง (Accept Ha) แสดงให้เห็นได้ว่า rank มี ค่ามากกว่า 0 ณ ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 1% และ 5% นอกจากนี้เม่ือพิจารณาค่า λmax ในกรณี Null Hypothesis H0 ท่ี rank = 0 มีค่าเท่ากับ 141.10 ซ่ึงสูงกว่าค่าวิกฤต ณ ระดับความมีนัยสําคัญทางสถิติ 1% 5% คือ 18.63, 14.07 ตามลําดับ ทําให้เราปฏิเสธสมมติฐานหลัก (Reject H0) หรือ ยอมรับสมมติ ฐานรอง (Accept Ha) แสดงให้เห็นได้ว่า rank มีค่ามากกว่า 0 ณ ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 1% และ 5% นันเอง
จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยะยาว (Co-integration) ของงานวิจัยฉบับนี้ ทางผู้วิจัยสามารถค้นพบและสามารถนําผลการวิเคราะห์ไปประยุกต์ใช้ได้หลายด้าน โดยเฉพาะด้านที่ สําคัญและเป็นประโยชน์สําหรับผู้ที่สนใจตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องในการกําหนดนโยบายและแผนของ ประเทศต่อไป คือ ผลการวิเคราะห์ดังกล่าวทําให้สามารถทราบได้ว่าการส่งผ่านราคาน้ํามันปาล์มดิบใน ตลาดกรุงเทพฯ ,ราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาดมาเลเซีย และราคาน้ํามันปาล์มดิบเฉลี่ยในตลาดกระบี่ สุราษฏร์ธานี และชุมพร เน่ืองจากข้อมูลที่นํามาใช้นั้นมีความสัมพันธ์ในเชิงดุลยภาพระยะยาวจึงสามารถ นํามากะประมาณหาความสัมพันธ์และนํามาประยุกต์ใช้ในแบบจําลอง VEC ได้ และนอกจากนี้ยังสามารถ นํามาวิเคราะห์ความเร็วในการปรับตัวจากการเบ่ียงเบนจากดุลยภาพระยะยาวด้วย ซ่ึงการศึกษาในเร่ือง การส่งผ่านราคานั้นมีนักวิจัยหลายท่านได้ทําการศึกษาไว้ เช่น วรวรรณ ตั้งถิ่นไท (2554) วิจัยเรื่อง การ ส่งผ่านราคาข้าวหอมมะลิ และผลกระทบจากโครงการรับจํานําข้าวเปลือก, อัจฉรา ศรีกุศลานุกูล (2553) วิจัยเรื่อง การวิเคราะห์การส่งผ่านราคาและการพยากรณ์ราคาของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทย และ ธีระวุฒิ ธีตรานนท์ (2550) วิจัยเรื่อง การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านราคาและการส่งผ่านราคาของยางแผ่น รมควันชั้น 3 จากตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทยสู่ตลาดปัจจุบันของประเทศไทย เป็นต้น ทั้งน้ีผู้วิจัยแต่ละท่านท่ีผ่านมาได้ประยุกต์การวิจัยโดยใช้ข้อมูลการวิจัยในลักษณะที่มีดุลยภาพในระยะยาว มาวิเคราะห์เพิ่มเติมทังสิน้
อย่างไรก็ตาม สําหรับการทดสอบการส่งผ่านและความเร็วในการปรับตัวของราคาปาล์มน้ํามันใน แต่ละตลาดนั้น เราจะต้องทําการทดสอบหาความสัมพันธ์เป็นคู่ ได้แก่ คู่ที่ 1 ระหว่างราคาน้ํามันปาล์มดิบ ในตลาดกรุงเทพฯ กับราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาดมาเลเซีย คู่ที่ 2 ระหว่าง ราคานํ้ามันปาล์มดิบในตลาด กรุงเทพฯ กับ ราคาน้ํามันปาล์มดิบเฉลี่ยในตลาดกระบ่ี สุราษฏร์ธานี และชุมพร และ ราคาน้ํามันปาล์ม ดิบในตลาดมาเลเซียกับราคาน้ํามันปาล์มดิบเฉล่ียในตลาดกระบี่ สุราษฏร์ธานี และชุมพร โดยการใช้ ค่าสถิติทดสอบคือ Trace กับ Max-Eigen ภายใต้สมมติฐานหลักคือไม่มีความสัมพันธ์ในเชิงดุลยภาพใน ระยะยาว ซึ่งถ้าหากผลการทดสอบมีค่ามากกว่าค่าวิกฤต ก็แสดงว่า ความสัมพันธ์ในเชิงดุลยภาพในระยะ ยาวสามารถนํามาวัดผลของการส่งผ่านราคาได้ โดยการคํานวณในรูปของค่าความยืดหยุ่นของการส่งผ่าน ราคา (Elasticity of Price Transmission) กล่าวคือทําใหทราบได้ว่าถ้าตลาดหนึ่งเปลี่ยนแปลงจะมีขนาด อิทธิพลต่ออีกตลาดอย่างไรน้ันเอง สําหรับงานวิจัยฉบับนี้ทางผู้วิจัยได้ทําการทดสอบความสัมพันธ์ส่งผ่าน ราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาดกรุงเทพฯ ,ราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาดมาเลเซีย และราคาน้ํามันปาล์มดิบ
เฉลี่ยในตลาดกระบี่ สุราษฏร์ธานีและชุมพร ก็พบว่า ราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาดทั้ง 3 คู่นั้นมี ความสัมพนธ์กนหรืออํานาจในการส่งผ่านกันนันเอง
นอกจากนี้ ในงานวิจยฉบับน้ีผู้วิจัยยังสามารถค้นพบว่า ข้อมูลที่มีลักษณะความสัมพันธ์ในเชิงดุลย ภาพระยะยาวนี้สามารถนํามาวิเคราะห์เพื่อหาประสิทธิภาพการกําหนดราคาระหว่างตลาดต้นทางและ ตลาดปลายทางได้เช่นกัน โดยการกําหนดค่าสถิติที่ใช้คือ Chi-squared เทียบกับค่าวิกฤติ ณ ระดับ นัยสําคัญ 0.05 ซึ่งข้อดีของการทราบค่าประสิทธิภาพของการกําหนดราคาระหว่างตลาดต้นทางและตลาด ปลายทางน้ัน จะช่วยให้สามารถกําหนดราคา และกลยุทธ์ในการเป็นคู่แข่งทางการค้าและคู่ค้าสําคัญของ โลกไดอย่างมีประสิทธิภาพต่อไปนั้นเอง
ดังน้ัน การนําข้อมูลที่มีความสัมพันธ์ในเชิงดุลยภาพในระยะยาวมาใช้นั้นจะทําให้เกิดประโยชน์ มากมาย และเป็นแนวทางในการศึกษาและนําไปกําหนดรูปแบบต่างๆ ตลอดจนการพยากรณ์ที่มี ประสิทธิภาพในอนาคตได้ แต่ทั้งนี้ทางผู้วิจัยควรจะต้องวิเคราะห์ควบคู่กับการวิเคราะห์ดุลยภาพในระยะ สั้น (Error Correlation Mechanism: ECM) ด้วยเพื่อให้การพยากรณ์เกิดความคลาดเคล่ือนให้น้อยที่สุด น้ันเอง
จากผลการทดสอบค่า Co-integration ของสมการข้างต้นได้แสดงให้เห็นว่าตัวแปรทั้งหมดใน แบบจําลองที่ใช้สําหรับการวิเคราะห์ผลกระทบของปัจจัยที่มีผลต่อเสถียรภาพของราคาทะลายปาล์มสด และน้ํามันปาล์มนั้นมีความสัมพันธ์ดุลยภาพในระยะยาว ซ่ึงตรงตามเง่ือนไขของ Johansen Juselius เพื่อนําไปสร้างแบบจําลอง ARIMAX Model และใช้สําหรบการพยากรณ์ต่อไปในอนาคตอีกทง้ เพื่อช่วยใน การลดความคลาดเคล่ือนให้มีค่าน้อยที่สุดนั้นเอง ดังนั้นทางผู้วิจัยจึงนําตัวแปรที่มีความเหมาะสมดังกล่าว มาสรางแบบจําลอง ARIMAX Model แสดงได้ดังนี้
5.2.2 ผลการวิเคราะห์จากแบบจําลอง Statistic Model
5.2.2.1 ผลการวิเคราะห์จากแบบจําลองราคาผลปาล์มทะลาย
จากการศึกษาผลกระทบของปัจจัยที่มีผลต่อเสถียรภาพของราคาทะลายปาล์มนั้น ผู้วิจัยได้นํา ข้อมูลจากการคํานวณมาวิเคราะห์ผล โดยกําหนดให้ตัวแปรที่วิเคราะห์อยู่ในรูปแบบที่มีคุณสมบัติ Stationary ณ ระดับผลต่างลําดับแรก (at first difference) และแสดงผลของรูปแบบสมการอยู่ในรูป พลวัตระยะสั้น (short term dynamic demand) ซึ่งตัวแปรที่ใชทดสอบทุกตัวอยู่ในรูป logarithm ดังนี้
Δ ln(FFB_F Price) = – 0.021 – 3.12 Δ ln(QFFB_F)t-1 + 4.56 Δ ln(CPO_T Price) t-1 +
(-0.32) (-2.15)* (3.47)**
2.58 Δ ln(CPO_M Price)t-1 + 5.89 Δ ln(CPO_L Price)t-1 + (3.08)** (2.11)**
2.53 Δ ln(B100 Price)t-2 + 2.15 Δ ln(RPO_T Price)t-1 + (2.17)** (1.01)**
1.05 Δ ln(RPO_M Price)t-2 + 2.89 Δ ln(GDP_Percapita)t + (4.20)** (11.05)*
5.79 Δ ln(Cooking Oil Price)t (3.78)**
R-squared | 0.94 |
Adjusted R-squared | 0.91 |
Durbin-Watson stat | 2.05 |
F-statistic | 250.25 |
Prob(F-statistic) | 0.00 |
ARCH-test | 37.41 |
Prob(ARCH-test) | 0.100 |
LM – test | 1.97 |
Prob(LM-test) | 0.11 |
หมายเหตุ ** คือ significance α = 0.01
* คือ significance α = 0.05 (…) ค่า t-test
จากการศึกษาผลกระทบของปัจจัยที่มีผลต่อเสถียรภาพของราคาทะลายปาล์มสด พบว่า สถิติมี นัยสําคัญในระดับความเชื่อม่ันที่ร้อยละ 95-99 กล่าวคือ ปริมาณการผลผลิตปาล์มน้ํามัน (QFFB_F)t-1 ในช่วงเวลาที่ t-1 มีค่า t statistic เท่ากับ -2.15 มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95 ราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาด กทม. (CPO_T Price)t-1 ในช่วงเวลาท่ี t-1 มีค่า t statistic เท่ากับ 3.47 ที่ ระดับความเช่ือมั่นที่ร้อยละ 99 ราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาด มาเลเซีย (CPO_M Price)t-1 ในช่วงเวลาที่ t-1 มีค่า t statistic เท่ากับ 3.08 ที่ระดับความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 99 ราคาน้ํามันปาล์มดิบเฉลี่ยในตลาด กระบี่ สุราษฏร์ธานี และชุมพร (CPO_L Price)t-1 ในช่วงเวลาที่ t-1 มีค่า t statistic เท่ากับ 2.11 มี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ราคาไบโอดีเซล (B100 Price)t-2 ในช่วงเวลา t-2 มีค่า t statistic เท่ากับ 2.17 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเช่ือมั่นร้อยละ 99 ราคานํ้ามันปาล์มบริสุทธิ์ของ ไทย (RPO_T Price)t-1 ในช่วงเวลา t-1 มีค่า t statistic เท่ากับ 1.01 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความ เชื่อมั่นร้อยละ 99 ราคาน้ํามันปาล์มบริสุทธ์ิของมาเลเซีย (RPO_M Price)t-2 ในช่วงเวลา t-2 มีค่า t statistic เท่ากับ 4.20 มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 รายต่อหัวของประชากร (GDP_Percapita)t ในช่วงเวลาที่ t มีค่า t statistic เท่ากับ 11.05 มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับความ เชื่อมั่นร้อยละ 95 และ ราคาน้ํามันที่ใช้ประกอบอาหาร (Cooking Oil Price)t ในช่วงเวลาท่ี t มีค่า t statistic เท่ากับ 3.78 มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับความเชื่อม่ันร้อยละ 99
เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์ของตัวแปรต่างๆ ในสมการดังกล่าว พบว่า ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ เสถียรภาพของราคาทะลายปาล์มสด สามารถอธิบายถึงสาระสําคัญของการคํานวณได้ดังนี้
1) การเปลี่ยนแปลงของปริมาณผลผลิตปาล์มน้ํามัน (QFFB_F) ในเดือนที่ t-1 มีความสัมพันธ์กับ การเปลี่ยนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดย มีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ -3.12 กล่าวคือ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของปริมาณผลผลิตปาล์มน้ํามัน ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาผลปาล์มทะลายของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไป 3.12 % ในทิศทางตรงข้ามกัน
2) การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาด กทม. (CPO_T Price) ในเดือนที่ t-1 มี ความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมี นัยสําคัญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 4.56 กล่าวคือ เม่ือมีการเปลี่ยนแปลงของราคา น้ํามันปาล์มดิบในตลาด กทม.ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปล่ียนแปลงไป 1% จะทําให้ ราคาผลปาล์มทะลายของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบันเปล่ียนแปลงไป 4.56 % ในทิศทางเดียวกัน
3) การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาดมาเลเซีย (CPO_M Price) ในเดือนที่ t-1 มี ความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมี นัยสําคัญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 2.58 กล่าวคือ เม่ือมีการเปลี่ยนแปลงของราคา น้ํามันปาล์มดิบในตลาด มาเลเซีย ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะ ทําให้ราคาผลปาล์มทะลายของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบันเปล่ียนแปลงไป 2.58 % ในทิศทาง เดียวกนั
4) การเปล่ียนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบเฉล่ียในตลาดกระบี่ สุราษฏร์ธานี และชุมพร (CPO_L Price) ในเดือนท่ี t-1 มีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 5.89 กล่าวคือ เม่ือมี การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบเฉล่ียในตลาดกระบ่ี สุราษฏร์ธานี และชุมพร ในช่วง เวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาผลปาล์มทะลายของไทย ในช่วง เวลาปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไป 5.89 % ในทิศทางเดียวกนั
5) การเปลี่ยนแปลงของราคาไบโอดีเซล (B100 Price) เดือนที่ t-2 มีความสัมพันธ์กับการ เปล่ียนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยมี ค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 2.53 กล่าวคือ เมื่อมีการเปล่ียนแปลงของราคาไบโอดีเซล ในช่วงเวลา ในอดีตย้อนหลัง 2 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทําใหราคาผลปาล์มทะลายของไทย ในช่วงเวลา ปัจจุบันเปล่ียนแปลงไป 2.53 % ในทิศทางเดียวกนั
6) การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มบริสุทธ์ิของไทย (RPO_T Price) ในเดือนท่ี t-1 มี ความสัมพันธ์กับการเปล่ียนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมี นัยสําคัญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 2.15 กล่าวคือ เมื่อมีการเปล่ียนแปลงของราคา น้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ของไทย ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปล่ียนแปลงไป 1% จะทําให้ ราคาผลปาล์มทะลายของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไป 2.15 % ในทิศทางเดียวกัน
7) การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ของมาเลเซีย (RPO_M Price) ในเดือนที่ t-2 มี ความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมี นัยสําคัญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 1.05 กล่าวคือ เม่ือมีการเปลี่ยนแปลงของราคา นํามันปาล์มบริสุทธ์ิของมาเลเซีย ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 2 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทํา ให้ราคาผลปาล์มทะลายของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบนเปลี่ยนแปลงไป 1.05 % ในทิศทางเดียวกัน
8) การเปลี่ยนแปลงของรายต่อหัวของประชากร (GDP_Percapita) ในเดือนที่ t มีความสัมพันธ์กับ การเปลี่ยนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดย มีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 2.89 กล่าวคือ เม่ือมีการเปล่ียนแปลงของรายต่อหัวของประชากร (GDP_Percapita) ในช่วงเวลาปัจจุบัน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาผลปาล์มทะลายของ ไทย ในช่วงเวลาปัจจุบันเปล่ียนแปลงไป 2.89 % ในทิศทางเดียวกัน
9) การเปล่ียนแปลงของราคาน้ํามันท่ีใช้ประกอบอาหาร (Cooking Oil Price) ในเดือนท่ี t มี ความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมี นัยสําคญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 5.79 กล่าวคือ เมื่อมีการเปล่ียนแปลงของราคา น้ํามันที่ใช้ประกอบอาหาร (Cooking Oil Price) ในช่วงเวลาปัจจุบัน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทํา ให้ราคาผลปาล์มทะลายของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบนเปล่ียนแปลงไป 5.79 % ในทิศทางเดียวกัน
อย่างไรก็ตาม จากการวิเคราะห์ค่าสถิติสําคัญ ได้แก่ Adjusted R square Dubin-Watson Statistic และ F-test พบว่า ค่า Adjusted R square มีค่าเท่ากับ 0.94 แสดงให้เห็นว่าตัวแปรอิสระ ต่างๆ สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตามได้ถึง 94.0 เปอร์เซ็นต์ กล่าวคือตัวแปรอิสระน้ันมี ความสามารถสูงมากในการอธิบายการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตาม การพิจารณาค่า Durbin –Watson statistic พบว่า มีค่าเท่ากับ 2.05 แสดงให้เห็นว่าตกในช่วงที่ไม่เกิดปัญหา Autocorrelation ได้ กล่าวคือ สมการดังกล่าวไม่มีปัญหา Autocorrelation นั้นเอง (ทดสอบโดย LM-test) ประกอบกับแบบจําลอง ดังกล่าวได้ทําการทดสอบและแก้ไขปัญหาต่างๆ แล้ว ทั้งปัญหา Hetersoskadasticity (ทดสอบโดย ARCH-test) และ ปัญหา Multicorrelinearity จึงม่ันใจได้ว่าแบบจําลองดังกล่าวไม่มีปัญหาทั้ง 3 ประเภท และ สําหรับการทดสอบค่า F-statistic พบว่า มีค่าเท่ากับ 250.25 ณ ระดับนัยสําคัญทางสถิติ (α=0.01) กล่าวคือ ตวแปรอิสระทุกๆ ตวในแบบจําลองน้นมีอิทธิพลต่อการเปล่ียนแปลงของตัวแปรตามที่ ระดับความน่าเช่ือมั่นถึงร้อยละ 99 น่ันเอง ดังนั้น ผู้วิจัยได้นําแบบจําลองที่เป็น The Best Model ไปทํา การทดสอบ Correlogram พบว่า แบบจําลองดังกล่าวเป็นแบบจําลองที่เป็น The Best Model และ สามารถนําไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้
5.2.2.2 ผลการวิเคราะห์จากแบบจําลองราคานํ้ามนปาล์มดิบของไทย
จากการศึกษาผลกระทบของปัจจัยที่มีผลต่อเสถียรภาพของราคาน้ํามันปาล์มน้ัน ผู้วิจัยได้นํา ข้อมูลจากการคํานวณมาวิเคราะห์ผล โดยกําหนดให้ตัวแปรที่วิเคราะห์อยู่ในรูปแบบที่มีคุณสมบัติ Stationary ณ ระดับผลต่างลําดับแรก (at first difference) และแสดงผลของรูปแบบสมการอยู่ในรูป พลวตระยะส้ัน (short term dynamic demand) ซึ่งตัวแปรท่ใชทดสอบทุกตัวอยูในรูป logarithm ดงนี้
Δ ln(CPO_T Price) = – 0.14 – 5.04 Δ ln(QFFB_F)t-1 + 3.75 Δ ln(CPO_M Price)t-1 +
(-1.02) (-3.05)** (2.01)**
4.08 Δ ln(CPO_L Price)t-1 + 5.11 Δ ln(B100 Price)t-2 + (4.78)** (1.89)**
1.78 Δ ln(RPO_T Price)t-1 + 4.75 Δ ln(RPO_M Price)t-1 + (3.17)** (2.84)**
2.09 Δ ln(GDP_Percapita)t + 2.19 Δ ln(Cooking Oil Price)t-1 + (1.74)* (1.81)**
4.07 Δ ln(SBO_W Price)t-1 + 5.53 Δ ln(RSS_F Price)t-2 + (1.37)** (2.45)**
R-squared | 0.96 |
Adjusted R-squared | 0.93 |
Durbin-Watson stat | 2.16 |
F-statistic | 272.01 |
Prob(F-statistic) | 0.00 |
ARCH-test | 39.01 |
Prob(ARCH-test) | 0.140 |
LM – test | 2.11 |
Prob(LM-test) | 0.17 |
หมายเหตุ ** คือ significance α = 0.01
* คือ significance α = 0.05 (…) ค่า t-test
จากการศึกษาผลกระทบของปัจจัยที่มีผลต่อเสถียรภาพของราคานํ้ามันปาล์มดิบ พบว่า สถิติมี นัยสําคัญในระดับความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95-99 กล่าวคือ ปริมาณการผลผลิตปาล์มนํ้ามัน (QFFB_F)t-1 ในช่วงเวลาท่ี t-1 มีค่า t statistic เท่ากับ -3.05 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 99 ราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาดมาเลเซีย (CPO_M Price)t-1 ในช่วงเวลาที่ t-1 มีค่า t statistic เท่ากับ 2.01 ที่ระดับความเช่ือม่ันที่ร้อยละ 99 ราคาน้ํามันปาล์มดิบเฉลี่ยในตลาดกระบ่ี สุราษฏร์ธานี และชุมพร (CPO_L Price)t-1 ในช่วงเวลาที่ t-1 มีค่า t statistic เท่ากับ 4.78 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความ เชื่อมั่นร้อยละ 99 ราคาไบโอดีเซล (B100 Price)t-2 ในช่วงเวลา t-2 มีค่า t statistic เท่ากับ 1.89 มี นัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับความเชื่อม่ันร้อยละ 99 ราคาน้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ของไทย (RPO_T Price)t-1 ในช่วงเวลา t-1 มีค่า t statistic เท่ากับ 3.17 มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ราคา น้ํามันปาล์มบริสุทธ์ิของมาเลเซีย (RPO_M Price)t-1 ในช่วงเวลา t-1 มีค่า t statistic เท่ากับ 2.84 มี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 รายต่อหัวของประชากร (GDP_Percapita)t ในช่วงเวลา ที่ t มีค่า t statistic เท่ากับ 1.74 มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับความเชื่อม่ันร้อยละ 95 ราคาน้ํามันที่ใช้ ประกอบอาหาร (Cooking Oil Price)t-1 ในช่วงเวลาที่ t-1 มีค่า t statistic เท่ากับ 1.81 มีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ราคาน้ํามันถ่ัวเหลือง (SBO_W Price)t-1 ในช่วงเวลาท่ี t-1 มีค่า t statistic เท่ากับ 1.37 มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับความเชื่อม่ันร้อยละ 99 ราคายางแผ่นรมควันชั้น 3 (RSS_F Price)t-2 ในช่วงเวลาที่ t-2 มีค่า t statistic เท่ากับ 2.45 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น รอยละ 99
เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธ์ิของตัวแปรต่าง ๆ ในสมการดังกล่าว พบว่า ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ เสถียรภาพของราคานํามันปาล์มดิบของไทย สามารถอธิบายถึงสาระสําคัญของการคํานวณได้ดังนี้
1) การเปล่ียนแปลงของปริมาณผลผลิตปาล์มนํ้ามัน (QFFB_F) ในเดือนที่ t-1 มีความสัมพันธ์กับ
การเปลี่ยนแปลงของราคาน มันปาล์มดบของไทยิ (CPO_T Price) อย่างมีนัยสําคัญทางสถติิ โดย
มีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ -5.04 กล่าวคือ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของปริมาณผลผลิตปาล์มน้ํามัน
ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไป 5.04 % ในทิศทางตรงขามกัน
2) การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาด มาเลเซีย (CPO_M Price) ในเดือนที่ t-1 มี ความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย (CPO_T Price) อย่างมี นยสําคัญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 3.75 กล่าวคือ เม่ือมีการเปล่ียนแปลงของราคา น้ํามันปาล์มดิบในตลาด มาเลเซีย ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปล่ียนแปลงไป 1% จะ ทําให้ราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไป 3.75 % ในทิศทาง เดียวกัน
3) การเปล่ียนแปลงของราคานํ้ามันปาล์มดิบเฉล่ียในตลาดกระบี่ สุราษฏร์ธานี และชุมพร (CPO_L Price) ในเดือนท่ี t-1 มีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของราคานํ้ามันปาล์มดิบของไทย (CPO_T Price) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 4.08 กล่าวคือ เมื่อมี การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบเฉลี่ยในตลาดกระบี่ สุราษฏร์ธานี และชุมพร ในช่วง เวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย ในช่วง เวลาปัจจุบันเปล่ียนแปลงไป 4.08 % ในทิศทางเดียวกนั
4) การเปลี่ยนแปลงของราคาไบโอดีเซล (B100 Price) เดือนที่ t-2 มีความสัมพันธ์กับการ เปล่ียนแปลงของราคานํ้ามันปาล์มดิบของไทย (CPO_T Price) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยมี ค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 5.11 กล่าวคือ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของราคาไบโอดีเซล ในช่วงเวลา ในอดีตย้อนหลัง 2 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย ในช่วงเวลา ปัจจุบันเปล่ียนแปลงไป 5.11 % ในทิศทางเดียวกัน
5) การเปล่ียนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ของไทย (RPO_T Price) ในเดือนที่ t-1 มี ความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย (CPO_T Price) อย่างมี
นยสําคญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่าก 1.78 กล่าวคือ เม่อมีการเปลี่ยนแปลงของราคา
น้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ของไทย ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทําให้ ราคานํ้ามันปาล์มดิบของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไป 1.78 % ในทิศทางเดียวกัน
6) การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ของมาเลเซีย (RPO_M Price) ในเดือนที่ t-1 มี ความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย (CPO_T Price) อย่างมี นยสําคัญทางสถิติ โดยมคี ่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 4.75 กล่าวคือ เม่ือมีการเปลี่ยนแปลงของราคา นํามันปาล์มบริสุทธ์ิของมาเลเซีย ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทํา ให้ราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบนเปลี่ยนแปลงไป 4.75 % ในทิศทางเดียวกัน
7) การเปล่ียนแปลงของรายต่อหัวของประชากร (GDP_Percapita) ในเดือนท่ี t มีความสัมพันธ์กับ การเปลี่ยนแปลงของราคานํามันปาล์มดิบของไทย (CPO_T Price) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดย มีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 2.09 กล่าวคือ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของรายต่อหัวของประชากร (GDP_Percapita) ในช่วงเวลาปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไป 2.09 % ในทิศทางเดียวกนั
8) การเปล่ียนแปลงของราคาน้ํามันท่ีใช้ประกอบอาหาร (Cooking Oil Price) ในเดือนที่ t-1 มี ความสัมพันธ์กับการเปล่ียนแปลงของราคานํ้ามันปาล์มดิบของไทย (CPO_T Price) อย่างมี
นัยสําคัญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่าก 2.19 กล่าวคือ เม่อมีการเปลี่ยนแปลงของราคา
นํ้ามันที่ใช้ประกอบอาหาร (Cooking Oil Price) ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปล่ียนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไป
2.19 % ในทิศทางเดียวกัน
9) การเปล่ียนแปลงของราคานํ้ามันถั่วเหลือง (SBO_W Price) ในเดือนที่ t-1 มีความสัมพันธ์กับการ เปล่ียนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย (CPO_T Price) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยมี ค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 4.07 กล่าวคือ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันถั่วเหลือง (SBO_W Price) ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาน้ํามัน ปาล์มดิบของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบนเปล่ียนแปลงไป 4.07 % ในทิศทางเดียวกัน
10) การเปล่ียนแปลงของราคายางแผ่นรมควันชั้น 3 (RSS_F Price) ในเดือนที่ t-2 มีความสัมพันธ์กับ การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย (CPO_T Price) อย่างมีนยสําคัญทางสถิติ โดย มีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 5.53 กล่าวคือ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของราคายางแผ่นรมควันชั้น 3 (RSS_F Price) ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 2 เดือน เปล่ียนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาน้ํามัน ปาล์มดิบของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบนเปลี่ยนแปลงไป 5.53 % ในทิศทางเดียวกัน
อย่างไรก็ตาม จากการวิเคราะห์ค่าสถิติสําคัญ ได้แก่ Adjusted R square Dubin-Watson Statistic และ F-test พบว่า ค่า Adjusted R square มีค่าเท่ากับ 0.96 แสดงให้เห็นว่าตัวแปรอิสระ ต่างๆ สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตามได้ถึง 96.0 เปอร์เซ็นต์ กล่าวคือตัวแปรอิสระน้ันมี ความสามารถสูงมากในการอธิบายการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตาม การพิจารณาค่า Durbin –Watson statistic พบว่า มีค่าเท่ากับ 2.16 แสดงให้เห็นว่าตกในช่วงที่ไม่เกิดปัญหา Autocorrelation ได้ กล่าวคือ สมการดังกล่าวไม่มีปัญหา Autocorrelation น้ันเอง (ทดสอบโดย LM-test) ประกอบกับแบบจําลอง ดังกล่าวได้ทําการทดสอบและแก้ไขปัญหาต่างๆ แล้ว ทั้งปัญหา Hetersoskadasticity (ทดสอบโดย ARCH-test) และปัญหา Multicorrelinearity จึงมั่นใจได้ว่าแบบจําลองดังกล่าวไม่มีปัญหาทั้ง 3 ประเภท และสําหรับการทดสอบค่า F-statistic พบว่า มีค่าเท่ากับ 272.01 ณ ระดับนัยสําคัญทางสถิติ (α=0.01) กล่าวคือ ตัวแปรอิสระทุกๆ ตัวในแบบจําลองน้ันมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตามที่ระดับ ความน่าเชื่อมั่นถึงร้อยละ 99 น่ันเอง ดังนั้น ผู้วิจัยได้นําแบบจําลองที่เป็น The Best Model ไปทําการ ทดสอบ Correlogram พบว่า แบบจําลองดังกล่าวเป็นแบบจําลองที่เป็น The Best Model และสามารถ นําไปใช้ประโยชน์ต่างๆ ได้ และส่งผลให้การพยากรณ์เกิดความถูกต้องและผิดพลาดน้อยที่สุด สามารถวัด ได้จากค่า Root Mean Square Forecast Error (RMSFE) ที่มีค่าตํ่ามากทั้งแบบจําลองราคาผลปาล์ม ทะลาย และราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย และเกิดความคลาดเคล่ือนต่ํา ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.0308 และ 0.0271 ตามลําดับ
บทที่ 6
จําลองพฤติกรรมการเคล่ือนไหวของราคาปาล์มน้ํามัน
หลังจากสร้างแบบจําลองทางคณิตศาสตร์แล้ว นําสมการที่ได้มาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ถึง ผลกระทบของความสัมพันธ์ ระหว่างปัจจัยท่ีมีความเชื่อมโยงกัน นําความสัมพันธ์ของปัจจัยท่ีได้จากการ วิเคราะห์ในบทที่ 5 มาทําการเช่ือมโยงกันเป็นโครงสร้างความสัมพันธ์ของท้ังระบบ ด้วยลักษณะการ ดําเนินงานต่างๆ มีการสัมพนธ์ต่อเนื่องกัน กบปัจจยแวดลอมที่มีความซบซ้อนและมีเงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง ไปตามเวลา ปริมาณการผลิตและราคาขึ้นอยู่กับปัจจัยภายใน คือ ปัจจัยการผลิตภาคการเกษตร และ ปัจจัยภายนอกในภาคการตลาด และนโยบายภาคการเกษตรของรัฐบาล แนวทางการวิเคราะห์จึงควรจะ เลือกวิธีการจําลองสถานการณ์ (Simulation) ซ่ึงการจําลองสถานการณ์ด้วยพลวัตระบบ (System Dynamics) เป็นกระบวนการในการออกแบบแบบจําลองของระบบจริงและประสบการณ์ด้านพฤติกรรม ต่างๆ ทําให้สามารถทราบพฤติกรรมการเคลื่อนไหวของข้อมูลของทุกปัจจัยได้พร้อมๆ กัน โดยมีวิธีการ ดังต่อไปนี้
6.1 ขอมูลเบื้องต้นท่นี ํามาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ในการสร้างแบบจําลองเชิงพลวัตสําหรับประเมินราคายางธรรมชาติของไทย มีการนําข้อมูลมาใช้ ในการสร้างแบบจําลองจากข้อมูล Secondary Data ในรูปของ Time Series รายเดือน ตั้งแต่เดือน มกราคม พ.ศ. 2550 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 โดยได้นําข้อมูลทั้งหมดมารวบรวมไว้ในภาคผนวก ก
6.2 อธิบายแบบจําลองเชิงพลวัตสําหรบพฤติกรรมการเคลื่อนไหวของราคาปาล์มน้ํามัน
ความสัมพันธ์ของตัวแปรในแบบจําลองสามารถอธิบายได้ดังนี้ ราคาปาล์มน้ํามันที่ต้องการ พิจารณาประกอบด้วย ราคาทะลายปาล์ม (FFB_F Price) และราคาน้ํามันปาล์มดิบ (CPO_T Price) โดย ปัจจัยที่ส่งผลต่อราคาทะลายปาล์ม (FFB_F Price) ในช่วงเวลาที่ t ประกอบด้วย ปริมาณการผลผลิต ปาล์มน้ํามัน (QFFB_F) ในช่วงเวลาที่ t-1 ราคานํ้ามันปาล์มดิบในตลาด กทม. (CPO_T Price) ในช่วง เวลาที่ t-1 ราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาด มาเลเซีย (CPO_M Price) ในช่วงเวลาที่ t-1 ราคาน้ํามันปาล์ม ดิบเฉลี่ยในตลาดกระบี่ สุราษฏร์ธานี และชุมพร (CPO_L Price) ในช่วงเวลาที่ t-1 ราคาไบโอดีเซล (B100 Price) ในช่วงเวลา t-2 ราคาน้ํามันปาล์มบริสุทธ์ิของไทย (RPO_T Price) ในช่วงเวลา t-1 ราคานํ้ามัน ปาล์มบริสุทธิ์ของมาเลเซีย (RPO_M Price) ในช่วงเวลา t-2 รายได้ต่อหัวของประชากร (GDP_ Percapita) ในช่วงเวลาที่ t และ ราคาน้ํามันท่ีใชประกอบอาหาร (Cooking Oil Price) ในช่วงเวลาที่ t
ส่วนปัจจัยที่ส่งผลต่อราคาน้ํามันปาล์มดิบ (CPO_T Price) ประกอบด้วย ปริมาณการผลผลิต ปาล์มน้ํามัน (QFFB_F) ในช่วงเวลาที่ t-1 ราคานํ้ามันปาล์มดิบในตลาดมาเลเซีย (CPO_M Price) ในช่วง เวลาที่ t-1 ราคาน้ํามันปาล์มดิบเฉล่ียในตลาดกระบี่ สุราษฏร์ธานี และชุมพร (CPO_L Price) ในช่วงเวลา ที่ t-1 ราคาไบโอดีเซล (B100 Price) ในช่วงเวลา t-2 ราคาน้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ของไทย (RPO_T Price) ในช่วงเวลา t-1 ราคานํ้ามันปาล์มบริสุทธ์ิของมาเลเซีย (RPO_M Price) ในช่วงเวลา t-1 รายต่อหัวของ ประชากร (GDP_Percapita) ในช่วงเวลาที่ t ราคาน้ํามันที่ใช้ประกอบอาหาร (Cooking Oil Price)
ในช่วงเวลาท่ี t-1 ราคาน้ํามันถั่วเหลือง (SBO_W Price) ในช่วงเวลาที่ t-1 และราคายางแผ่นรมควันชั้น 3 (RSS_F Price)
จากความสัมพันธ์ท่ีกล่าวมาสามารถนํามาสร้างเป็นโครงสร้างความสัมพันธ์ของราคาได้ดังภาพที่
6-1 โดยสมการที่ใช้ในการวิเคราะห์ความสมพันธ์มีดังนี้
แบบจําลองพฤติกรรมการเคลื่อนไหวของราคาทะลายปาล์ม (FFB_F Price)
Δ ln(FFB_F Price) = – 0.021 – 3.12 Δ ln(QFFB_F)t-1 + 4.56 Δ ln(CPO_T Price) t-1 +
2.58 Δ ln(CPO_M Price)t-1 + 5.89 Δ ln(CPO_L Price)t-1 +
2.53 Δ ln(B100 Price)t-2 + 2.15 Δ ln(RPO_T Price)t-1 +
1.05 Δ ln(RPO_M Price)t-2 + 2.89 Δ ln(GDP_Percapita)t +
5.79 Δ ln(Cooking Oil Price)t
แบบจําลองพฤติกรรมการเคลื่อนไหวของราคานํามนปาล์มดิบ (CPO_T Price)
Δ ln(CPO_T Price) = – 0.14 – 5.04 Δ ln(QFFB_F)t-1 + 3.75 Δ ln(CPO_M Price)t-1 +
4.08 Δ ln(CPO_L Price)t-1 + 5.11 Δ ln(B100 Price)t-2 +
1.78 Δ ln(RPO_T Price)t-1 + 4.75 Δ ln(RPO_M Price)t-1 +
2.09 Δ ln(GDP_Percapita)t + 2.19 Δ ln(Cooking Oil Price)t-1 +
4.07 Δ ln(SBO_W Price)t-1 + 5.53 Δ ln(RSS_F Price)t-2 +
Cooking Oil Price
QFFB F
B100 Price
GDP Percapita
RPO M Price
FFB F Price CPO T Price
RPO T Price
CPO L Price
CPO M Price
CPO S Price CPO K Price CPO C Price
ภาพที่ 6-1 โครงสร้างความสมพันธ์ของราคาทะลายปาล์ม (FFB_F Price)
QFFB F
RSS F Price
Price
CPO M Price
CPO S Price
SBO W
Cooking Oil Price
GDP Percapita
CPO T Price
CPO L Price
RPO T
RPO M Price
B100 Price
Price
CPO K Price
CPO C Price
ภาพที่ 6-2 โครงสรางความสัมพนธ์ของราคาปาล์มนํามัน (CPO_T Price)
6.3 การทดสอบความแม่นยําในการพยากรณ์ของระบบพลวัต
6.3.1 การทดสอบโดยพิจารณาจากกราฟ
ในการทดสอบความน่าเช่ือถือของแบบจําลองพลวัตโดยใช้ค่าจริงของตัวแปรและค่าจาก แบบจําลองมาสร้างกราฟเส้นเปรียบเทียบทิศทางแนวโน้ม ซึ่งหากเส้นกราฟทั้งสองมีลักษณะที่คล้ายกัน แสดงว่าแบบจําลองนี้สามารถสะท้อนให้เห็นถึงการเปล่ียนแปลงของท้ังระบบได้ โดยตัวแปรที่สําคัญท่ีนํา พิจารณามาเปรียบเทียบมีดังน้ี
9
9
6.75
6.75
4.5
4.5
2.25
2.25
0
0
Selected Variables
0 4 8 12 16 20 24 28 32 36 40 44 48 52 56 60 64 68 72
Time (Month)
"FFB F Price(Actual)" : Current "FFB F Price(Predicted)" : Current
ภาพที่ 6-3 เปรียบเทียบราคาทะลายปาล์ม (FFB_F Price)
ระหว่างค่าจริงและค่าจากแบบจําลองตังแต่เดือน มกราคม 2551 ถึง ธันวาคม 2556
Selected Variables
60
60
45
45
30
30
15
15
0
0
0 4 8 12 16 20 24 28 32 36 40 44 48 52 56 60 64 68 72
Time (Month)
"CPO T Price(Actual)" : Current "CPO T Price(Predicted)" : Current
ภาพที่ 6-4 เปรียบเทียบราคานํามนปาล์มดิบของไทย (CPO_T Price)
ระหว่างค่าจริงและค่าจากแบบจําลองตังแต่เดือน มกราคม 2547 ถึง ธันวาคม 2556
จากภาพข้างต้นแสดงสร้างกราฟเปรียบเทียบของค่าจริงและค่าจากแบบจําลองของตัวแปรแต่ละ ตัว ตั้งแต่ เดือนมกราคม 2551 ถึง เดือนธันวาคม 2556 เป็นจํานวน 72 ช่วงเวลา พบว่า ค่าจริงและค่า จากแบบจําลองของตัวแปรแต่ละตัวมีทิศทางและมีแนวโน้มในลักษณะที่คล้ายคลึงกัน จึงกล่าวได้ว่า แบบจําลองนี้สามารถสะท้อนให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของท้ังระบบได้ จากนั้นได้ทําการทดสอบโดยค่า ทางสถิติทดสอบต่อไป
โดยจากพฤติกรรมการเคลื่อนไหวของราคาทะลายปาล์มพบว่ามีระยะห่างของช่วงเวลา 1 ช่วงเวลา เนื่องจาก เปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบเฉลี่ยในตลาดกระบ่ี สุราษฏร์ธานี และชุมพร ซึ่ง เป็นปัจจัยมีผลทําให้การเคลื่อนไหวของราคาทะลายปาล์มมีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุด มีการเปล่ียนแปลง ย้อนหลัง 1 ช่วงเวลาทําให้ในแบบจําลองมีระยะห่างทําให้เกิดการ lag ของข้อมูลภายหลังการจําลอง สถานการณ์ ส่วนราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทยพบว่ามีระยะห่างของช่วงเวลา 2 ช่วงเวลา เนื่องจากการ เปล่ียนแปลงของราคายางแผ่นรมควันชั้น 3 (RSS_F Price) ซ่ึงเป็นปัจจัยมีผลทําให้การเคลื่อนไหวของ ราคานํ้ามันปาล์มดิบของไทยมีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุด มีการเปลี่ยนแปลงย้อนหลัง 2 ช่วงเวลา ทําให้ใน แบบจําลองมีระยะห่างทําให้เกิดการ lag ของข้อมูลภายหลังการจําลองสถานการณ์
6.3.2 การทดสอบโดยใชค้ ่าสถิติทดสอบ
ค่าสถิติสําหรบใชในการทดสอบแบบจําลองประกอบด้วย 5 วิธี ซ่ึงมีสูตรการคํานวณดังน
1) Simulation Error = √1 ∑𝑇 (𝑌𝑠 − 𝑌𝑎)2
𝑇 𝑡−1 𝑡 𝑡
𝑡
เมื่อ 𝑌𝑠 คือ ค่าตัวแปรท่ีเกิดจากการคํานวณในช่วงเวลาที่ t (simulation value)
𝑡
𝑌𝑎 คือ ค่าตัวแปรที่เกิดขึ้นจริงในช่วงเวลาที่ t (actual value)
𝑇 คือ จํานวนคาบเวลาท่ีนํามาใช้ในการทํา simulation
1 𝑌𝑠−𝑌𝑎 2
∑
2) RMS Percent Error = √𝑇
𝑇
𝑡−1
( 𝑡
𝑡 )
𝑎
𝑌𝑡
3) Mean Simulation Error = 1 ∑𝑇 (𝑌𝑠 − 𝑌𝑎)
𝑇 𝑡−1 𝑡 𝑡
𝑇
4) Mean Percent Error = 1
∑
𝑇
𝑡−1
𝑠 𝑎
𝑌𝑎
𝑌 −𝑌
( 𝑡 𝑡 )
𝑡
5) Theil’s inequality Coefficient
√1 ∑𝑇
(𝑌𝑠 − 𝑌𝑎)2
𝑈 =
𝑇 𝑡−1 𝑡 𝑡
√1 ∑𝑇
(𝑌𝑠)2 + √1 ∑𝑇
(𝑌𝑎)2
𝑇 𝑡−1 𝑡 𝑇 𝑡−1 𝑡
ค่า 𝑈 มีค่าระหว่าง 0 กับ 1 ถ้าค่า 𝑈 = 0 แสดงว่า ค่าจริงกับค่าคํานวณใกล้เคียงกันนั้นคือ แบบจําลองสามารถนําไปใช้ได้ แต่ถ้า 𝑈 = 1 แสดงว่าแบบจําลองนันใช้ไม่ได้
จากการคํานวณค่าสถิติทดสอบโดยวิธีทง้ั 5 ข้างต้น ไดผลดังตารางที่ 6-1
ตารางที่ 6-1 สรุปค่าสถิติทดสอบตัวแปรของแบบจําลองระบบพลวัตของราคาปาล์มนํ้ามัน
Variable | Simulation Error | RMS Percent Error | Mean Simulation Error | Mean Percent Error | Theil’s inequality Coefficient |
FFB_F Price | 1.0014 | 0.2561 | 0.3647 | 0.1144 | 0.1077 |
CPO_T Price | 6.2967 | 0.1995 | -0.2585 | 0.0132 | 0.1068 |
จากการทดสอบค่าทางสถิติของแบบจําลองระบบพลวัตของราคาปาล์มน้ํามัน โดยทดสอบกับตัว แปรหลัก 2 ตัวคือ FFB_F Price และ CPO_T Price และตัวแปรเป้าหมายคือ Price NRT จากการ ทดสอบค่าทางสถิติทดสอบโดยวิธีการทั้ง 5 วิธีข้างต้น แสดงให้เห็นว่าความแตกต่างของค่าสถิติทั้ง 2 ไม่มี ความแตกต่างมากนักระหว่างค่าจริงกับค่าคํานวณ โดยเมื่อพิจารณาจากค่า Theil’s inequality Coefficient ของตัวแปรทุกตัวที่มีค่าใกล้ 0 แสดงว่าค่าจริงกับค่าคํานวณใกล้เคียงกันน้ันคือแบบจําลอง สามารถนําไปใช้ในการจําลองนโยบายต่อไป
6.4 การพยากรณ์ล่วงหน้า
หลังจากทดสอบแล้วพบว่าแบบจําลองสามารถนําไปใช้เพื่อการพยากรณ์ได้ จึงได้ทําการพยากรณ์ ไปอีก 12 ช่วงเวลา ตังแต่ มกราคม 2557 ถึง ธนวาคม 2557 โดยได้ผลดังนี้
ภาพที่ 6-5 ผลการพยากรณ์ราคาทะลายปาล์ม 12 ช่วงเวลา (มกราคม 57 – ธันวาคม 57)
จากภาพที่ 6-5 พบว่าราคาทะลายปาล์มจะยังคงสูงขึนอีก 2 ช่วงเวลา (มกราคม) หลงจากนั้นจะ ปรับลดลงอย่างต่อเนื่อง 2 ช่วงเวลา (มีนาคม – เมษายน) และหลังจากนั้น จะราคากลบมาเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเน่ืองอีกคร้ัง โดยพฤติกรรมดังกล่าวเป็นพฤติกรรมปกติตามฤดูกาลของปาล์ม
ภาพที่ 6-6 ผลการพยากรณ์ราคาปาล์มน้ํามัน 12 ช่วงเวลา (มกราคม 57 – ธันวาคม 57)
จากภาพที่ 6-6 แสดงผลการพยากรณ์ราคาปาล์มน้ํามัน 12 ช่วงเวลา (มกราคม 57 – ธนวาคม
57) ซึ่งพบว่า ราคาปาล์มน้ํามนมีลักษณะทรงตัวปรบลดลงเล็กน้อยในแต่ละช่วงเวลา
จากการศึกษาท้ังหมดพบว่า การเคล่ือนไหวของราคาทะลายปาล์ม (FFB_F Price) และ ราคา น้ํามันปาล์มดิบของไทย (CPO_T Price) มีผลมาจากปัจจัยกับราคาทั้งสองคือ ปริมาณการผลผลิตปาล์ม น้ํามัน (QFFB_F) ราคานํ้ามันที่ใช้ประกอบอาหาร (Cooking Oil Price) ราคาน้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ของ มาเลเซีย (RPO_M Price) ราคาน้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ของไทย (RPO_T Price) ในช่วง ราคาน้ํามันปาล์มดิบ เฉล่ียในตลาดกระบ่ี สุราษฏร์ธานี และชุมพร (CPO_L Price) ราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาดมาเลเซีย (CPO_M Price) ราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาดไทย (CPO_M Price) และ รายได้ต่อหัวของประชากร (GDP_ Percapita)
โดยปัจจัยที่มีผลทําให้การเคลื่อนไหวของราคาทะลายปาล์มมีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดคือ การ เปล่ียนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบเฉลี่ยในตลาดกระบี่ สุราษฏร์ธานี และชุมพร (CPO_L Price) รองลงมาเป็นการเปลี่ยนแปลงของราคานํ้ามันที่ใช้ประกอบอาหาร (Cooking Oil Price) ซึ่งจะมี ผลกระทบรับราคาทะลายปาล์มทันที ส่วนปัจจัยที่มีผลทําให้การเคลื่อนไหวของราคาน้ํามันปาล์มดิบของ ไทยมีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดคือ การเปลี่ยนแปลงของราคายางแผ่นรมควันชั้น 3 (RSS_F Price) ย้อนหลัง 2 เดือน รองลงมาเป็นการเปลี่ยนแปลงของปริมาณผลผลิตปาล์มน้ํามัน (QFFB_F) โดยจะส่งผล ต่อราคานํามันปาล์มดิบย้อนหลัง 1 เดือน
บทที่ 7
สรุปผลการดําเนินงาน
จากการศึกษาแบบจําลองพลวัตของราคาทะลายปาล์มและราคาโดยการนําน้ํามันปาล์มดิบ โดย ใช้ข้อมูลย้อนหลังรายเดือนตั้งแต่ มกราคม 2551 ถึง ธันวาคม 2556 มาสร้างสมการความสัมพันธ์เพื่อ นํามาสร้างแบบจําลองขึ้น จากนั้นได้กําหนดนโยบายหรือมาตรการในการรักษาเสถียรภาพราคายทะลาย ปาล์มและราคาโดยการนําน้ํามนปาล์มดิบของไทย ได้ผลการศึกษาและข้อเสนอแนะดังนี้
7.1 สรุปผลการศึกษา
7.1.1 ปัจจัยท่ีมีผลต่อราคาทะลายปาล์ม
จากการศึกษาผลกระทบของปัจจัยที่มีผลต่อเสถียรภาพของราคาทะลายปาล์ม (FFB_F Price) พบว่าปัจจัยท่ีส่งผลต่อราคาทะลายปาล์ม (FFB_F Price) ในช่วงเวลาที่ t ประกอบด้วย ปริมาณการ ผลผลิตปาล์มน้ํามัน (QFFB_F) ในช่วงเวลาที่ t-1 ราคานํ้ามันปาล์มดิบในตลาด กทม. (CPO_T Price) ในช่วงเวลาที่ t-1 ราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาดมาเลเซีย (CPO_M Price) ในช่วงเวลาที่ t-1 ราคาน้ํามัน ปาล์มดิบเฉลี่ยในตลาดกระบี่ สุราษฏร์ธานี และชุมพร (CPO_L Price) ในช่วงเวลาท่ี t-1 ราคาไบโอดีเซล (B100 Price) ในช่วงเวลา t-2 ราคาน้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ของไทย (RPO_T Price) ในช่วงเวลา t-1 ราคา น้ํามันปาล์มบริสุทธ์ิของมาเลเซีย (RPO_M Price) ในช่วงเวลา t-2 รายต่อหั วของประชากร (GDP_Percapita) ในช่วงเวลาท่ี t และ ราคาน้ํามันที่ใช้ประกอบอาหาร (Cooking Oil Price) ในช่วง เวลาที่ t โดยสามารถอธิบายผลกระทบได้ดังนี้
1) การเปลี่ยนแปลงของปริมาณผลผลิตปาล์มน้ํามัน (QFFB_F) ในเดือนที่ t-1 มีความสัมพันธ์กับ การเปลี่ยนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดย มีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ -3.12 กล่าวคือ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของปริมาณผลผลิตปาล์มน้ํามัน ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาผลปาล์มทะลายของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบันเปล่ียนแปลงไป 3.12% ในทิศทางตรงข้ามกัน
2) การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาด กทม. (CPO_T Price) ในเดือนที่ t-1 มี ความสัมพันธ์กับการเปล่ียนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมี นยสําคัญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 4.56 กล่าวคือ เม่ือมีการเปล่ียนแปลงของราคา น้ํามันปาล์มดิบในตลาด กทม.ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปล่ียนแปลงไป 1% จะทําให้ ราคาผลปาล์มทะลายของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบันเปล่ียนแปลงไป 4.56 % ในทิศทางเดียวกัน
3) การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาดมาเลเซีย (CPO_M Price) ในเดือนที่ t-1 มี ความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมี นัยสําคัญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 2.58 กล่าวคือ เม่ือมีการเปลี่ยนแปลงของราคา นํ้ามันปาล์มดิบในตลาดมาเลเซีย ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปล่ียนแปลงไป 1% จะทํา ให้ราคาผลปาล์มทะลายของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบนเปลี่ยนแปลงไป 2.58 % ในทิศทางเดียวกัน
4) การเปลี่ยนแปลงของราคานํ้ามันปาล์มดิบเฉลี่ยในตลาดกระบี่ สุราษฏร์ธานี และชุมพร (CPO_L Price) ในเดือนท่ี t-1 มีความสัมพันธ์กับการเปล่ียนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 5.89 กล่าวคือ เมื่อมี การเปลี่ยนแปลงของราคานํ้ามันปาล์มดิบเฉล่ียในตลาดกระบี่ สุราษฏร์ธานี และชุมพร ในช่วง เวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปล่ียนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาผลปาล์มทะลายของไทย ในช่วง เวลาปัจจุบันเปล่ียนแปลงไป 5.89 % ในทิศทางเดียวกัน
5) การเปลี่ยนแปลงของราคาไบโอดีเซล (B100 Price) เดือนที่ t-2 มีความสัมพันธ์กับการ เปล่ียนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยมี ค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 2.53 กล่าวคือ เม่ือมีการเปล่ียนแปลงของราคาไบโอดีเซล ในช่วงเวลา ในอดีตย้อนหลัง 2 เดือน เปล่ียนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาผลปาล์มทะลายของไทย ในช่วงเวลา ปัจจุบันเปล่ียนแปลงไป 2.53 % ในทิศทางเดียวกนั
6) การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ของไทย (RPO_T Price) ในเดือนที่ t-1 มี ความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมี นยสําคัญทางสถิติ โดยมคี ่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 2.15 กล่าวคือ เม่ือมีการเปลี่ยนแปลงของราคา น้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ของไทย ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทําให้ ราคาผลปาล์มทะลายของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไป 2.15 % ในทิศทางเดียวกนั
7) การเปลี่ยนแปลงของราคานํ้ามันปาล์มบริสุทธิ์ของมาเลเซีย (RPO_M Price) ในเดือนท่ี t-2 มี ความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมี นัยสําคัญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากบั 1.05 กล่าวคือ เม่ือมีการเปล่ียนแปลงของราคา นํามันปาล์มบริสุทธ์ิของมาเลเซีย ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 2 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทํา ให้ราคาผลปาล์มทะลายของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบนเปลี่ยนแปลงไป 1.05 % ในทิศทางเดียวกัน
8) การเปลี่ยนแปลงของรายต่อหัวของประชากร (GDP_Percapita) ในเดือนท่ี t มีความสัมพันธ์กับ การเปลี่ยนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมีนยสําคัญทางสถิติ โดย มีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 2.89 กล่าวคือ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของรายต่อหัวของประชากร (GDP_Percapita) ในช่วงเวลาปัจจุบัน เปล่ียนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาผลปาล์มทะลายของ ไทย ในช่วงเวลาปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไป 2.89 % ในทิศทางเดียวกัน
9) การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันท่ีใช้ประกอบอาหาร (Cooking Oil Price) ในเดือนท่ี t มี ความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของราคาผลปาล์มทะลายของไทย (FFB_F Price) อย่างมี นัยสําคัญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 5.79 กล่าวคือ เม่ือมีการเปล่ียนแปลงของราคา น้ํามันท่ีใช้ประกอบอาหาร (Cooking Oil Price) ในช่วงเวลาปัจจุบัน เปล่ียนแปลงไป 1% จะทํา ให้ราคาผลปาล์มทะลายของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบนเปล่ียนแปลงไป 5.79 % ในทิศทางเดียวกัน
โดยปัจจัยที่มีผลทําให้การเคลื่อนไหวของราคาทะลายปาล์มมีการเปลี่ยนแปลงมากท่ีสุดคือ การ เปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบเฉลี่ยในตลาดกระบี่ สุราษฏร์ธานี และชุมพร (CPO_L Price) รองลงมาเป็นการเปลี่ยนแปลงของราคานํ้ามันที่ใช้ประกอบอาหาร (Cooking Oil Price) ซึ่งจะมี ผลกระทบรับราคาทะลายปาล์มทันที
7.1.2 ปัจจยท่ีมีผลต่อราคาน้ํามนปาล์มดิบ
จากการศึกษาผลกระทบของปัจจัยท่ีมีผลต่อเสถียรภาพของราคานํามันปาล์มดิบ (CPO_T Price) ประกอบด้วย ปริมาณการผลผลิตปาล์มนํ้ามัน (QFFB_F) ในช่วงเวลาท่ี t-1 ราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาด มาเลเซีย (CPO_M Price) ในช่วงเวลาที่ t-1 ราคานํ้ามันปาล์มดิบเฉล่ียในตลาดกระบี่ สุราษฏร์ธานี และ ชุมพร (CPO_L Price) ในช่วงเวลาที่ t-1 ราคาไบโอดีเซล (B100 Price) ในช่วงเวลา t-2 ราคาน้ํามัน ปาล์มบริสุทธิ์ของไทย (RPO_T Price) ในช่วงเวลา t-1 ราคานํ้ามันปาล์มบริสุทธิ์ของมาเลเซีย (RPO_M Price) ในช่วงเวลา t-1 รายต่อหัวของประชากร (GDP_Percapita) ในช่วงเวลาท่ี t ราคานํ้ามันที่ใช้ ประกอบอาหาร (Cooking Oil Price) ในช่วงเวลาที่ t-1 ราคานํ้ามันถั่วเหลือง (SBO_W Price) ในช่วง
เวลาท่ี t-1 และราคายางแผ่นรมควันช 3 (RSS_F Price) โดยสามารถอธบายผลกระทบไดดงนั้ิ ้
1) การเปลี่ยนแปลงของปริมาณผลผลิตปาล์มน้ํามัน (QFFB_F) ในเดือนที่ t-1 มีความสัมพันธ์กับ การเปล่ียนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย (CPO_T Price) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดย มีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ -5.04 กล่าวคือ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของปริมาณผลผลิตปาล์มน้ํามัน ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไป 5.04 % ในทิศทางตรงข้ามกนั
2) การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาดมาเลเซีย (CPO_M Price) ในเดือนที่ t-1 มี ความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของราคานํ้ามันปาล์มดิบของไทย (CPO_T Price) อย่างมี นัยสําคัญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 3.75 กล่าวคือ เม่ือมีการเปล่ียนแปลงของราคา น้ํามันปาล์มดิบในตลาด มาเลเซีย ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะ ทําให้ราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไป 3.75 % ในทิศทาง เดียวกัน
3) การเปล่ียนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบเฉลี่ยในตลาดกระบี่ สุราษฏร์ธานี และชุมพร (CPO_L Price) ในเดือนที่ t-1 มีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย (CPO_T Price) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 4.08 กล่าวคือ เมื่อมี การเปล่ียนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบเฉล่ียในตลาดกระบ่ี สุราษฏร์ธานี และชุมพร ในช่วง เวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย ในช่วง เวลาปัจจุบันเปล่ียนแปลงไป 4.08 % ในทิศทางเดียวกัน
4) การเปลี่ยนแปลงของราคาไบโอดีเซล (B100 Price) เดือนท t-2 มีความสัมพันธ์กับการ
เปล่ียนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย (CPO_T Price) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยมี ค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 5.11 กล่าวคือ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของราคาไบโอดีเซล ในช่วงเวลา ในอดีตย้อนหลัง 2 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย ในช่วงเวลา ปัจจุบนเปล่ียนแปลงไป 5.11 % ในทิศทางเดียวกัน
5) การเปลี่ยนแปลงของราคานํ้ามันปาล์มบริสุทธิ์ของไทย (RPO_T Price) ในเดือนที่ t-1 มี ความสัมพันธ์กับการเปล่ียนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย (CPO_T Price) อย่างมี นัยสําคัญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 1.78 กล่าวคือ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของราคา น้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ของไทย ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปล่ียนแปลงไป 1% จะทําให้ ราคานํ้ามันปาล์มดิบของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบันเปล่ียนแปลงไป 1.78 % ในทิศทางเดียวกัน
6) การเปล่ียนแปลงของราคานํ้ามันปาล์มบริสุทธิ์ของมาเลเซีย (RPO_M Price) ในเดือนที่ t-1 มี ความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย (CPO_T Price) อย่างมี นยสําคญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 4.75 กล่าวคือ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของราคา นํามันปาล์มบริสุทธ์ิของมาเลเซีย ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทํา
ให้ราคาน มันปาล์มดบของไทยิ ในชวงเวลาปั่ จจุบนเปลี่ั ยนแปลงไป 4.75 % ในทิศทางเดียวกัน
7) การเปล่ียนแปลงของรายต่อหัวของประชากร (GDP_Percapita) ในเดือนที่ t มีความสัมพันธ์กับ การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย (CPO_T Price) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดย มีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 2.09 กล่าวคือ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของรายต่อหัวของประชากร (GDP_Percapita) ในช่วงเวลาปัจจุบัน เปล่ียนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาน้ํามันปาล์มดิบของ ไทย ในช่วงเวลาปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไป 2.09 % ในทิศทางเดียวกนั
8) การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันที่ใช้ประกอบอาหาร (Cooking Oil Price) ในเดือนที่ t-1 มี ความสัมพันธ์กับการเปล่ียนแปลงของราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย (CPO_T Price) อย่างมี นยสําคัญทางสถิติ โดยมีค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 2.19 กล่าวคือ เมื่อมีการเปล่ียนแปลงของราคา น้ํามันท่ีใช้ประกอบอาหาร (Cooking Oil Price) ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบันเปล่ียนแปลงไป
2.19 % ในทิศทางเดียวกนั
9) การเปล่ียนแปลงของราคาน้ํามนถ่วเหลือง (SBO_W Price) ในเดือนที่ t-1 มีความสัมพันธ์กับการ เปล่ียนแปลงของราคานํ้ามันปาล์มดิบของไทย (CPO_T Price) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยมี ค่าความยืดหยุ่น เท่ากับ 4.07 กล่าวคือ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันถ่ัวเหลือง (SBO_W Price) ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 1 เดือน เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาน้ํามัน ปาล์มดิบของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบนเปลี่ยนแปลงไป 4.07 % ในทิศทางเดียวกัน
10) การเปล่ียนแปลงของราคายางแผ่นรมควันชั้น 3 (RSS_F Price) ในเดือนที่ t-2 มีความสมพันธ์กับ การเปลี่ยนแปลงของราคานํามันปาล์มดิบของไทย (CPO_T Price) อย่างมีนยสําคัญทางสถิติ โดย มีค่าความยืดหยุ่น เท่ากบั 5.53 กล่าวคือ เมื่อมีการเปล่ียนแปลงของของราคายางแผ่นรมควนชั้น 3 (RSS_F Price) ในช่วงเวลาในอดีตย้อนหลัง 2 เดือน เปล่ียนแปลงไป 1% จะทําให้ราคาน้ํามัน ปาล์มดิบของไทย ในช่วงเวลาปัจจุบนเปล่ียนแปลงไป 5.53 % ในทิศทางเดียวกัน
โดยปัจจัยที่มีผลทําให้การเคลื่อนไหวของราคานํามันปาล์มดิบของไทยมีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุด คือ การเปลี่ยนแปลงของราคายางแผ่นรมควันชั้น 3 (RSS_F Price) ย้อนหลัง 2 เดือน รองลงมาเป็นการ เปลี่ยนแปลงของปริมาณผลผลิตปาล์มนํ้ามัน (QFFB_F) โดยจะส่งผลต่อราคาน้ํามันปาล์มดิบย้อนหลัง 1 เดือน
7.2 ข้อเสนอแนะ
จากการศึกษาพบว่าแบบจําลองน้ียังมีข้อจํากัด เนื่องจากปัจจัยที่มีผลต่อความผันผวนของราคา ปาล์มน้ํามัน เช่น ระยะเวลาหลังเก็บเกี่ยวก่อนเข้าโรงงานจะส่งผลต่อคุณภาพของปาล์มทะลาย ซึ่งมีผล โดยตรงกับราคารับซื้อทะลายปาล์มหน้าโรงงาน นอกจากน้ันยังมีปัจจัยด้านฤดูกาล เพราะตามธรรมชาติ ของสินค้าเกษตรที่จะมีผลผลิตตามฤดูกาลส่งผลโดยตรงกับปริมาณผลผลิตทะลายปาล์มที่จะออกสู่ตลาด
ซึ่งเป็นปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบต่อราคาทะลายปาล์ม และราคาน มนปาลั ์มดบของไทิ ย ไม่ไดถ้ ูกนามํ า
วิเคราะห์ด้วยเนื่องจากข้อจํากัดด้านข้อมูล จึงทําให้ค่าที่ได้จากการทดลองมีความคลาดเคล่ือนจากความ เป็นจริง
โดยปัจจัยและตัวแปรท้ังหลายในงานวิจัยน้ีเป็นเพียงบางส่วนของปัจจัยที่มีผลต่อระบบของราคา ทะลายปาล์ม และราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย ซึ่งถ้าต้องการให้แบบจําลองนี้มีความสมบูรณ์มากขึ้นอาจ มีการเพิ่มปัจจัยที่มีความสัมพันธ์เพิ่มข้ึน เช่น ปัจจัยจากเศรษฐกิจโลก และปัจจัยทางการเมือง เป็นต้น เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการประเมินทางนโยบายให้มากขึ้น เม่ือมีการเพ่ิมปัจจัยที่มีผลต่อระบบของราคา ทะลายปาล์ม และราคานํ้ามันปาล์มดิบของไทย แล้วจะทําให้สามารถสร้างนโยบายอื่นๆ ที่มีความสัมพันธ์ กบราคาทะลายปาล์ม และราคานํ้ามนปาล์มดิบของไทย ได้เพิ่มมากขึ้น โดยมีข้อเสนอแนะดงนี้
1. ข้อเสนอแนะด้านการควบคุมอุปสงค์ เน่ืองจากการเปลี่ยนแปลงราคาปาล์มราคาทะลาย ปาล์มและราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย มีผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงราคาสินค้าต่อเน่ือง คือ ราคาไบโอดีเซลและราคานํ้ามันบริสุทธิ์สําหรับบริโภค แต่เน่ืองจากราคาน้ํามันบริสุทธิ์ สําหรับบริโภคถูกควบคุมหรือมีเพดานราคา ทําให้ปัจจัยส่งผลกระทบสูงสุดจึงเป็นราคาไบโอ ดีเซล ซึ่งราคาไบโอดีเซลจะขึ้นอยู่กับราคานํ้ามันดิบของโลกซ่ึงเราไม่สามารถควบคุมได้ และ ความต้องการใช้ไบโอดีเซลที่ถูกกระตุ้นมาจากนโยบายด้านพลังงานของภาครัฐ ปัจจัยน้ี นับเป็นปัจจัยท่ีสามารถควบคุมแนวโน้มหรือทิศทางได้เพื่อลดความผันผวนของปาล์มราคา ทะลายปาล์มและราคานํามันปาล์มดิบของไทย
2. ข้อเสนอแนะด้านการควบคุมอุปทาน เนื่องจากการเปล่ียนแปลงราคาปาล์มราคาทะลาย ปาล์มและราคานํามนปาล์มดบของไทย มีผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของปริมาณผลผลิต
ปาล์มน้ําม คือ เนองจากพนืื่ ท่ีเพาะปลกสํู าคญของไทยอยู่บรเวณเดีิ ยวกับพนทเพาะปลกพน้ืู่ี้ื
เศรษฐกิจสําคัญอีกหนึ่งตัวคือยางพารา ทําให้ปริมาณผลผลิตไม่แน่นอน เกษตรกรสามารถ เลือกปลูกพืชที่ให้ผลผลิตที่มีราคาสูงกว่าได้ การที่จะควบคุมปริมาณผลผลิตปาล์มน้ํามันจึง จําเป็นท่ีจะต้องมีนโยบายหรือแผนการควบคุมหรือแบ่งเขตและมีการเก็บข้อมูลการปลูก ทดแทนอย่างต่อเนื่องและสมํ่าเสมอเพื่อให้สามารถทราบผลผลิตในอนาคตเพื่อนําไปสู่การ บริหารจัดการปริมาณผลผลิตที่จะออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่องไม่ขาดหรือล้นตลาดในช่วงเวลา ใดเวลาหนึ่ง
7.3 การต่อยอดข้อความรู้หากจะมีการศึกษาต่อไป
การศึกษาคร้ังน้ีพบว่า ผลการคาดการณ์ในการศึกษายังขาดความสมบูรณ์ ทั้งนี้เป็นเพราะ การ พยากรณ์แนวโน้มของราคาทะลายปาล์ม และราคาน้ํามันปาล์มดิบของไทย นั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยท่ีกําหนด ขึ้นในแบบจําลองเท่านั้น ซ่ึงโดยส่วนมากจะเป็นปัจจัยราคาด้านต่างๆ แต่ในความเป็นจริงแล้วยังมีอิทธิพล อื่นๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงได้อีก เช่น นโยบายรัฐ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เป็น ต้น ซึ่งไม่ได้นํามารวมไว้ในแบบจําลอง ดังน้ันหากจะมีการพัฒนาแบบจําลองน้ีต่อไปควรพิจารณาใน ประเด็นต่างๆ ดงนี้
• ควรเพิ่มการเปลี่ยนแปลงนโยบายภาครัฐในแบบจําลองเพื่อศึกษาถึงผลกระทบการวางแผนและ เป้าหมายของนโยบายรัฐต่อภาคการเกษตรไทย
• ควรนําปัจจัยโดยเฉพาะปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิตเข้าไปใน แบบจําลอง เพราะปัจจัยเหล่านี้จะมีความเกี่ยวข้องต่อทิศทางการปรับเปลี่ยนของภาคการเกษตร ไทย
เอกสารอ้างอิง
[1] ธนาคารแห่งประเทศไทย. ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภายใต้ กุมภาพันธ์ 2556. ส่วนเศรษฐกิจภาค สํานักงานภาคใต้. 2556.
[2] ธีระ เอกสมทราเมษฐ์ และคณะ. เส้นทางสู่ความสําเร็จการผลิตปาล์มน้ํามัน. ศูนย์วิจัยและ พัฒนาการผลิตปาล์มน้ํามัน คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต หาดใหญ่ สงขลา. 2548.
[3] อรัญญา ศรีวิโรจน์ และ จิดาภา ช่วยพันธุ์. สถานการณ์น้ํามันปาล์มภายใต้ความไม่แน่นอนของโลก.
ส่วนเศรษฐกิจภาค ธนาคารแห่งประเทศไทย สานักงานภาคใต มีนาคม 2556.
[4] ธนาคารแห่งประเทศไทย. ราคาสินค้าเกษตรสําคัญของประเทศไทย เดือนมกราคม 2555. ส่วน เศรษฐกิจภาค สํานักงานภาค. กุมภาพันธ์ 2555.
[5] บญชา สมบูรณ์สุข, ปริญญา เฉิดโฉม และ ฐิติรัชต์ ไม้เรียง. การพัฒนาแนวทางการรักษาเสถียรภาพ ราคาในอุตสาหกรรมปาล์มน้ํามัน. คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานคินทร์. 2544.
[6] กฤษณา ภู่เทพ. การพยากรณ์และวิเคราะห์ความเคลื่อนไหวของราคาปาล์มน้ํามัน. สารนิพนธ์ เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลยรามคําแหง. 2549.
[7] นุทยาพร เพชรสุวรรณ. การวิเคราะห์ความเคลื่อนไหวราคาปาล์มน้ํามันของประเทศไทย. สาร นิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง. 2549.
[8] จิตวดี แก้วเฉย. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของราคาปาล์มน้ํามันของประเทศไทย. ศิลปศาสตรมหา
(ธุรกิจการเกษตร) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตร. 2550.
[9] อัครเดช เชื้อกูลชาติ. ปัจจัยที่ทําให้เกิดความผันผวนของราคาปาล์มน้ํามันภายในประเทศ. สาร นิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง. 2552.
[10] เกียรติศักดิ์ จันทร์แก้ว. การพยากรณ์อนุกรมเวลาราคาปาล์มน้ํามันโดยใช้โครงข่ายประสาทเทียม แบบพหุนามและขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 2554.
[11] United States Department of Agricultural.
[12] The Solvent Extractors’ Association (SEA)
[13] Palm Oil Economic Review and Outlook Seminar 2013.
[16] กรมการค้าภายใน
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ข้อมูลที่ใชในการวิเคราะห์ทางสถิติ
ตารางที่ ก-1 ราคาผลปาล์มทะลายของไทยและแหล่งผลิตสําคัญในประเทศ (หน่วย : บาท/กก.)
เดือน-ปี | ราคาผลปาล์ม ทะลายที่เกษตรกร ขายได้ทีไร่นา เฉลยรายเดือน เฉลยทั้งประเทศ1 FFB_F Price | ราคาผลปาล์ม ทะลายคุณภาพ น้ํามัน 17% โรงงานสกัด2 FFB_T Price | ราคาผลปาล์ม ทะลายจังหวัด กระบี่3 FFB_K Price | ราคาผลปาล์ม ทะลายจังหวัด สุราษฎร์ธานี4 FFB_S Price | ราคาผลปาล์ม ทะลายจังหวัด ชุมพร5 FFB_C Price | |
1 | ม.ค. 50 | 3.02 | 3.27 | 3.17 | 3.18 | 3.29 |
2 | ก.พ. 50 | 3.01 | 3.35 | 3.12 | 3.23 | 3.41 |
3 | มี.ค. 50 | 3.04 | 3.29 | 3.14 | 3.18 | 3.30 |
4 | เม.ย. 50 | 3.19 | 3.52 | 3.63 | 3.53 | 3.18 |
5 | พ.ค. 50 | 3.91 | 4.27 | 4.39 | 4.25 | 3.84 |
6 | มิ.ย. 50 | 4.46 | 4.71 | 4.65 | 4.65 | 4.54 |
7 | ก.ค. 50 | 4.27 | 4.50 | 4.46 | 4.35 | 4.20 |
8 | ส.ค. 50 | 4.20 | 4.38 | 4.21 | 4.20 | 4.43 |
9 | ก.ย. 50 | 4.26 | 4.34 | 4.36 | 4.40 | 4.33 |
10 | ต.ค. 50 | 4.55 | 4.70 | 4.67 | 4.75 | 4.71 |
11 | พ.ย. 50 | 4.79 | 5.00 | 4.95 | 5.05 | 4.95 |
12 | ธ.ค. 50 | 5.46 | 5.54 | 5.49 | 5.60 | 5.46 |
13 | ม.ค. 51 | 5.90 | 6.05 | 5.99 | 5.98 | 6.18 |
14 | ก.พ. 51 | 5.28 | 5.37 | 5.38 | 5.28 | 5.47 |
15 | มี.ค. 51 | 4.85 | 4.96 | 5.03 | 4.83 | 4.90 |
16 | เม.ย. 51 | 4.83 | 5.10 | 4.99 | 4.75 | 4.73 |
17 | พ.ค. 51 | 4.17 | 4.42 | 4.32 | 4.20 | 4.14 |
18 | มิ.ย. 51 | 5.33 | 5.70 | 5.78 | 5.30 | 5.46 |
19 | ก.ค. 51 | 5.72 | 5.95 | 5.76 | 5.50 | 5.55 |
20 | ส.ค. 51 | 4.38 | 4.46 | 4.44 | 4.40 | 4.34 |
21 | ก.ย. 51 | 3.66 | 3.84 | 3.75 | 3.75 | 3.49 |
22 | ต.ค. 51 | 2.72 | 2.93 | 2.99 | 2.85 | 2.83 |
23 | พ.ย. 51 | 2.50 | 2.88 | 2.86 | 2.75 | 2.84 |
24 | ธ.ค. 51 | 2.90 | 3.06 | 2.98 | 2.90 | 3.04 |
25 | ม.ค. 52 | 3.31 | 3.68 | 3.51 | 3.40 | 3.63 |
26 | ก.พ. 52 | 3.90 | 4.19 | 3.96 | 3.80 | 4.20 |
27 | มี.ค. 52 | 2.89 | 3.14 | 2.96 | 3.10 | 3.14 |
28 | เม.ย. 52 | 3.18 | 3.62 | 3.40 | 3.30 | 3.56 |
29 | พ.ค. 52 | 4.18 | 4.70 | 4.30 | 4.25 | 4.59 |
1 แหล่งข้อมูล : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
2 แหล่งข้อมูล : สํานกส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร กรมการคาภายใน
3 แหล่งข้อมูล : สํานักงานการค้าภายในจงหวัดกระบี่
4 แหล่งข้อมูล : สํานกงานการค้าภายในจังหวัดสุราษฎร์ธานี
5 แหล่งข้อมูล : สํานักงานการค้าภายในจังหวัดชุมพร
เดือน-ปี | ราคาผลปาล์ม ทะลายที่เกษตรกร ขายได้ทีไร่นา เฉลี่ยรายเดือน เฉลี่ยทั้งประเทศ1 FFB_F Price | ราคาผลปาล์ม ทะลายคุณภาพ น้ํามัน 17% โรงงานสกัด2 FFB_T Price | ราคาผลปาล์ม ทะลายจงหวัด กระบี่3 FFB_K Price | ราคาผลปาล์ม ทะลายจงหวัด สุราษฎร์ธานี4 FFB_S Price | ราคาผลปาล์ม ทะลายจังหวัด ชุมพร5 FFB_C Price | |
30 | มิ.ย. 52 | 4.14 | 4.60 | 4.22 | 4.15 | 4.60 |
31 | ก.ค. 52 | 3.51 | 3.79 | 3.56 | 3.70 | 3.75 |
32 | ส.ค. 52 | 3.84 | 4.22 | 3.94 | 3.85 | 4.07 |
33 | ก.ย. 52 | 3.39 | 3.71 | 3.57 | 3.65 | 3.59 |
34 | ต.ค. 52 | 3.25 | 3.43 | 3.39 | 3.35 | 3.25 |
35 | พ.ย. 52 | 3.85 | 4.09 | 4.07 | 3.95 | 3.94 |
36 | ธ.ค. 52 | 4.36 | 4.65 | 4.46 | 4.45 | 4.86 |
37 | ม.ค. 53 | 3.88 | 4.15 | 3.99 | 4.02 | 3.97 |
38 | ก.พ. 53 | 3.57 | 3.92 | 3.93 | 3.79 | 3.47 |
39 | มี.ค. 53 | 3.48 | 3.87 | 3.88 | 3.71 | 3.37 |
40 | เม.ย. 53 | 3.42 | 3.63 | 3.53 | 3.47 | 3.26 |
41 | พ.ค. 53 | 3.38 | 3.80 | 3.79 | 3.51 | 3.41 |
42 | มิ.ย. 53 | 3.86 | 4.23 | 4.10 | 4.01 | 3.98 |
43 | ก.ค. 53 | 4.08 | 4.35 | 4.23 | 4.15 | 4.11 |
44 | ส.ค. 53 | 4.53 | 5.01 | 4.96 | 4.80 | 4.69 |
45 | ก.ย. 53 | 4.83 | 5.22 | 5.13 | 5.11 | 5.05 |
46 | ต.ค. 53 | 5.17 | 5.67 | 5.37 | 5.56 | 5.64 |
47 | พ.ย. 53 | 6.13 | 6.70 | 6.70 | 6.44 | 6.45 |
48 | ธ.ค. 53 | 6.13 | 7.40 | 7.32 | 7.30 | 7.15 |
49 | ม.ค. 54 | 8.63 | 9.27 | 9.00 | 9.01 | 9.41 |
50 | ก.พ. 54 | 7.19 | 8.49 | 7.83 | 7.73 | 8.25 |
51 | มี.ค. 54 | 5.01 | 5.72 | 5.45 | 5.62 | 5.48 |
52 | เม.ย. 54 | 4.75 | 5.68 | 5.05 | 5.32 | 5.57 |
53 | พ.ค. 54 | 5.28 | 6.01 | 5.84 | 6.08 | 6.00 |
54 | มิ.ย. 54 | 5.39 | 5.91 | 5.81 | 5.76 | 5.76 |
55 | ก.ค. 54 | 4.71 | 5.19 | 5.10 | 5.76 | 4.90 |
56 | ส.ค. 54 | 5.07 | 5.60 | 5.45 | 7.73 | 5.40 |
57 | ก.ย. 54 | 5.05 | 5.49 | 5.33 | 5.20 | 5.30 |
58 | ต.ค. 54 | 4.05 | 4.38 | 4.40 | 5.20 | 4.22 |
59 | พ.ย. 54 | 4.71 | 5.13 | 5.12 | 5.03 | 5.11 |
60 | ธ.ค. 54 | 4.71 | 5.39 | 5.38 | 4.98 | 5.24 |
61 | ม.ค. 55 | 4.89 | 5.47 | 5.45 | 5.11 | 5.31 |
62 | ก.พ. 55 | 5.46 | 6.09 | 5.87 | 5.75 | 5.99 |
63 | มี.ค. 55 | 5.71 | 6.17 | 6.05 | 5.85 | 6.04 |
64 | เม.ย. 55 | 5.73 | 6.23 | 6.14 | 5.89 | 5.97 |
เดือน-ปี | ราคาผลปาล์ม ทะลายที่เกษตรกร ขายได้ทีไร่นา เฉลยรายเดือน เฉลี่ยทั้งประเทศ1 FFB_F Price | ราคาผลปาล์ม ทะลายคุณภาพ น้ํามัน 17% โรงงานสกัด2 FFB_T Price | ราคาผลปาล์ม ทะลายจังหวัด กระบี่3 FFB_K Price | ราคาผลปาล์ม ทะลายจงหวัด สุราษฎร์ธานี4 FFB_S Price | ราคาผลปาล์ม ทะลายจงหวัด ชุมพร5 FFB_C Price | |
65 | พ.ค. 55 | 5.20 | 5.66 | 5.74 | 5.39 | 5.19 |
66 | มิ.ย. 55 | 5.04 | 5.72 | 5.53 | 5.40 | 5.65 |
67 | ก.ค. 55 | 5.52 | 6.14 | 6.09 | 5.79 | 5.95 |
68 | ส.ค. 55 | 4.95 | 5.44 | 5.48 | 5.20 | 5.13 |
69 | ก.ย. 55 | 4.38 | 4.80 | 4.66 | 4.52 | 4.41 |
70 | ต.ค. 55 | 3.66 | 4.30 | 4.26 | 3.96 | 4.48 |
71 | พ.ย. 55 | 3.82 | 4.21 | 4.22 | 4.05 | 3.92 |
72 | ธ.ค. 55 | 2.91 | 3.53 | 3.36 | 3.20 | 3.20 |
73 | ม.ค. 56 | 3.15 | 4.05 | 3.75 | 3.74 | 3.72 |
74 | ก.พ. 56 | 3.38 | 4.09 | 3.95 | 3.89 | 3.89 |
75 | มี.ค. 56 | 3.54 | 4.02 | 3.95 | 3.78 | 3.74 |
76 | เม.ย. 56 | 3.01 | 3.43 | 3.37 | 3.34 | 3.21 |
77 | พ.ค. 56 | 3.11 | 3.47 | 3.39 | 3.25 | 3.38 |
78 | มิ.ย. 56 | 3.52 | 4.09 | 4.25 | 3.98 | 3.80 |
79 | ก.ค. 56 | 3.30 | 3.70 | 3.72 | 3.59 | 3.52 |
80 | ส.ค. 56 | 3.41 | 4.00 | 3.98 | 3.69 | 3.75 |
81 | ก.ย. 56 | 3.81 | 4.38 | 4.34 | 4.12 | 4.22 |
82 | ต.ค. 56 | 3.84 | 4.22 | 4.22 | 3.99 | 4.12 |
83 | พ.ย. 56 | 4.28 | 4.92 | 4.93 | 4.73 | 4.66 |
84 | ธ.ค. 56 | 5.05 | 5.53 | 5.67 | 5.27 | 5.30 |
ตารางที่ ก-2 ราคาน้ํามันปาล์มดิบของมาเลเซียและราคาน้ํามันปาล์มดิบไทยและแหล่งผลิตสําคัญใน
ประเทศ (หน่วย : บาท/กก.)
เดือน-ปี | ราคานามัน ปาล์มดิบของ มาเลเซีย6 CPO_M Price | ราคานามัน ปาล์มดิบของ ไทย7 CPO_T Price | ราคาน้ํามัน ปาล์มดิบจงหวัด กระบี่8 CPO_K Price | ราคานามัน ปาล์มดิบจังหวัด สุราษฎร์ธานี9 CPO_S Price | ราคาน้ํามัน ปาล์มดิบจงหวัด ชุมพร10 CPO_C Price | |
1 | ม.ค. 50 | 18.73 | 18.63 | 18.81 | 18.63 | 18.41 |
2 | ก.พ. 50 | 18.35 | 18.84 | 18.97 | 18.50 | 18.88 |
3 | มี.ค. 50 | 19.67 | 19.02 | 19.23 | 18.75 | 18.62 |
4 | เม.ย. 50 | 22.46 | 21.82 | 21.90 | 20.88 | 19.25 |
6 แหล่งขอมูล : สํานกส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร กรมการค้าภายใน
7 แหล่งขอมูล : สํานกส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร กรมการค้าภายใน
8 แหล่งข้อมูล : สํานักงานการค้าภายในจังหวัดกระบี่
9 แหล่งข้อมูล : สํานกงานการค้าภายในจังหวดสุราษฎร์ธานี
10 แหล่งข้อมูล : สํานกงานการค้าภายในจังหวัดชุมพร
เดือน-ปี | ราคานามัน ปาล์มดิบของ มาเลเซีย6 CPO_M Price | ราคานามัน ปาล์มดิบของ ไทย7 CPO_T Price | ราคาน้ํามัน ปาล์มดิบจงหวัด กระบี่8 CPO_K Price | ราคาน้ํามัน ปาล์มดิบจงหวัด สุราษฎร์ธานี9 CPO_S Price | ราคานามัน ปาล์มดิบจังหวัด ชุมพร10 CPO_C Price | |
5 | พ.ค. 50 | 25.37 | 25.29 | 25.02 | 24.00 | 22.39 |
6 | มิ.ย. 50 | 26.05 | 26.45 | 26.54 | 26.00 | 24.66 |
7 | ก.ค. 50 | 25.67 | 25.47 | 25.70 | 25.00 | 24.86 |
8 | ส.ค. 50 | 24.90 | 24.30 | 24.72 | 24.63 | 25.21 |
9 | ก.ย. 50 | 25.61 | 24.79 | 24.63 | 24.25 | 23.54 |
10 | ต.ค. 50 | 28.18 | 27.49 | 27.30 | 26.25 | 26.46 |
11 | พ.ย. 50 | 29.90 | 29.80 | 29.57 | 27.88 | 28.84 |
12 | ธ.ค. 50 | 29.84 | 31.47 | 30.95 | 29.88 | 29.92 |
13 | ม.ค. 51 | 32.75 | 35.98 | 35.53 | 34.13 | 34.42 |
14 | ก.พ. 51 | 36.07 | 35.02 | 34.78 | 36.00 | 34.87 |
15 | มี.ค. 51 | 36.46 | 34.95 | 34.46 | 34.00 | 35.67 |
16 | เม.ย. 51 | 34.42 | 33.15 | 33.64 | 32.00 | 34.55 |
17 | พ.ค. 51 | 35.35 | 33.53 | 33.10 | 32.25 | 32.99 |
18 | มิ.ย. 51 | 36.65 | 36.26 | 36.08 | 35.00 | 35.03 |
19 | ก.ค. 51 | 34.69 | 34.61 | 34.53 | 33.00 | 32.82 |
20 | ส.ค. 51 | 27.06 | 25.87 | 26.59 | 28.50 | 26.25 |
21 | ก.ย. 51 | 23.24 | 22.52 | 22.37 | 26.50 | 22.58 |
22 | ต.ค. 51 | 16.61 | 17.02 | 17.20 | 19.50 | 17.09 |
23 | พ.ย. 51 | 14.86 | 18.32 | 17.81 | 17.50 | 16.63 |
24 | ธ.ค. 51 | 15.46 | 20.32 | 20.66 | 19.50 | 19.39 |
25 | ม.ค. 52 | 17.99 | 23.51 | 23.63 | 23.00 | 22.82 |
26 | ก.พ. 52 | 23.38 | 26.13 | 26.18 | 24.50 | 25.10 |
27 | มี.ค. 52 | 19.87 | 21.78 | 22.05 | 22.00 | 21.40 |
28 | เม.ย. 52 | 25.48 | 24.16 | 24.01 | 22.50 | 22.98 |
29 | พ.ค. 52 | 26.82 | 27.51 | 26.61 | 25.00 | 26.65 |
30 | มิ.ย. 52 | 23.58 | 26.50 | 25.99 | 24.50 | 26.28 |
31 | ก.ค. 52 | 20.43 | 22.72 | 22.07 | 23.25 | 21.79 |
32 | ส.ค. 52 | 23.42 | 24.56 | 24.25 | 23.25 | 23.15 |
33 | ก.ย. 52 | 21.54 | 22.65 | 22.08 | 23.00 | 22.15 |
34 | ต.ค. 52 | 21.12 | 21.48 | 21.07 | 20.50 | 20.54 |
35 | พ.ย. 52 | 21.89 | 24.00 | 24.04 | 22.00 | 23.09 |
36 | ธ.ค. 52 | 24.09 | 26.90 | 26.33 | 25.00 | 26.01 |
37 | ม.ค. 53 | 24.44 | 26.36 | 25.80 | 26.05 | 25.76 |
38 | ก.พ. 53 | 24.90 | 25.73 | 25.14 | 24.83 | 24.53 |
39 | มี.ค. 53 | 25.69 | 25.92 | 25.52 | 25.23 | 25.12 |
40 | เม.ย. 53 | 25.62 | 25.43 | 24.82 | 25.17 | 24.56 |
41 | พ.ค. 53 | 25.25 | 25.66 | 24.97 | 25.09 | 24.69 |
เดือน-ปี | ราคานามัน ปาล์มดิบของ มาเลเซีย6 CPO_M Price | ราคานามัน ปาล์มดิบของ ไทย7 CPO_T Price | ราคาน้ํามัน ปาล์มดิบจงหวัด กระบี่8 CPO_K Price | ราคาน้ํามัน ปาล์มดิบจงหวัด สุราษฎร์ธานี9 CPO_S Price | ราคานามัน ปาล์มดิบจังหวัด ชุมพร10 CPO_C Price | |
42 | มิ.ย. 53 | 24.91 | 25.61 | 25.10 | 25.09 | 24.59 |
43 | ก.ค. 53 | 24.83 | 25.38 | 24.93 | 24.92 | 19.87 |
44 | ส.ค. 53 | 27.36 | 27.49 | 26.82 | 26.09 | 25.59 |
45 | ก.ย. 53 | 27.02 | 27.95 | 27.26 | 27.17 | 26.29 |
46 | ต.ค. 53 | 28.02 | 31.01 | 29.37 | 28.57 | 28.84 |
47 | พ.ย. 53 | 31.45 | 38.91 | 37.80 | 35.81 | 36.74 |
48 | ธ.ค. 53 | 35.01 | 43.80 | 41.13 | 40.99 | 40.13 |
49 | ม.ค. 54 | 37.66 | 58.20 | 55.91 | 50.80 | 52.09 |
50 | ก.พ. 54 | 38.06 | 57.07 | 50.87 | 48.52 | 52.29 |
51 | มี.ค. 54 | 34.66 | 36.00 | 35.03 | 37.51 | 36.18 |
52 | เม.ย. 54 | 33.66 | 36.21 | 33.31 | 32.72 | 33.01 |
53 | พ.ค. 54 | 34.03 | 36.28 | 34.34 | 33.98 | 36.28 |
54 | มิ.ย. 54 | 32.92 | 34.38 | 32.19 | 31.73 | 31.71 |
55 | ก.ค. 54 | 31.14 | 30.00 | 28.91 | 31.73 | 27.68 |
56 | ส.ค. 54 | 31.22 | 31.30 | 30.64 | 48.52 | 30.24 |
57 | ก.ย. 54 | 30.06 | 30.18 | 29.46 | 27.28 | 29.31 |
58 | ต.ค. 54 | 28.13 | 28.14 | 26.81 | 27.28 | 27.08 |
59 | พ.ย. 54 | 30.35 | 30.81 | 29.20 | 29.45 | 30.21 |
60 | ธ.ค. 54 | 30.32 | 30.49 | 28.86 | 27.64 | 29.44 |
61 | ม.ค. 55 | 32.16 | 31.68 | 30.11 | 26.70 | 30.55 |
62 | ก.พ. 55 | 31.78 | 33.05 | 31.62 | 31.13 | 31.23 |
63 | มี.ค. 55 | 33.23 | 34.71 | 33.05 | 32.44 | 32.76 |
64 | เม.ย. 55 | 34.98 | 35.90 | 33.80 | 34.46 | 33.81 |
65 | พ.ค. 55 | 32.53 | 32.86 | 31.60 | 32.24 | 31.31 |
66 | มิ.ย. 55 | 29.42 | 32.79 | 31.10 | 30.24 | 31.25 |
67 | ก.ค. 55 | 30.13 | 35.08 | 32.99 | 32.83 | 32.73 |
68 | ส.ค. 55 | 29.22 | 31.46 | 29.99 | 30.00 | 30.90 |
69 | ก.ย. 55 | 26.90 | 28.89 | 27.03 | 29.29 | 29.57 |
70 | ต.ค. 55 | 23.03 | 25.62 | 24.19 | 22.94 | 28.79 |
71 | พ.ย. 55 | 23.77 | 25.30 | 23.77 | 23.54 | 24.04 |
72 | ธ.ค. 55 | 23.70 | 22.95 | 20.69 | 19.66 | 20.69 |
73 | ม.ค. 56 | 21.79 | 25.00 | 24.40 | 24.40 | 25.00 |
74 | ก.พ. 56 | 22.94 | 25.00 | 22.70 | 23.70 | 25.00 |
75 | มี.ค. 56 | 22.18 | 24.49 | 21.93 | 23.25 | 24.49 |
76 | เม.ย. 56 | 21.82 | 23.38 | 20.39 | 21.50 | 23.38 |
77 | พ.ค. 56 | 22.54 | 23.02 | 21.76 | 22.00 | 23.02 |
78 | มิ.ย. 56 | 23.31 | 25.12 | 24.11 | 23.75 | 25.12 |
เดือน-ปี | ราคาน้ํามัน ปาล์มดิบของ มาเลเซีย6 CPO_M Price | ราคานามัน ปาล์มดิบของ ไทย7 CPO_T Price | ราคานามัน ปาล์มดิบจงหวัด กระบี่8 CPO_K Price | ราคานามัน ปาล์มดิบจงหวัด สุราษฎร์ธานี9 CPO_S Price | ราคานามัน ปาล์มดิบจังหวัด ชุมพร10 CPO_C Price | |
79 | ก.ค. 56 | 22.56 | 23.73 | 21.80 | 22.25 | 23.73 |
80 | ส.ค. 56 | 22.61 | 23.58 | 22.47 | 20.14 | 23.58 |
81 | ก.ย. 56 | 22.96 | 24.68 | 22.75 | 23.63 | 24.68 |
82 | ต.ค. 56 | 23.48 | 24.62 | 23.55 | 24.13 | 24.62 |
83 | พ.ย. 56 | 25.51 | 28.34 | 26.57 | 26.18 | 28.34 |
84 | ธ.ค. 56 | 25.46 | 32.53 | 30.15 | 29.27 | 32.53 |
ตารางที่ ก-3 ราคาน้ํามันปาล์มบริสุทธิ์ไทยและมาเลเซีย ราคาน้ํามันถั่วเหลือง และราคายางพาราแผ่นดิบ ชั้น 3 ที่เกษตรกรขายได้ทีไร่นา เฉลี่ยรายเดือน เฉลี่ยทั้งประเทศ (หน่วย : บาท/กก.) ราคาไบโอดีเซล B100 (บาท/ลิตร)
เดือน-ปี | ราคานามัน ปาล์มบริสุทธิ์ ไทย11 RPO_M Price | ราคานามัน ปาล์มบริสุทธิ์ มาเลเซีย 12 RPO_T Price | ราคานามันถั่ว เหลือง13 SBO_K Price | ราคายางพารา แผ่นดิบชั้น 3 ที่ เกษตรกรขายได้ ทีไร่นา14 RSS3_F Price | ราคา ไบโอดีเซล B10015 B100 Price | |
1 | ม.ค. 50 | 20.70 | 22.98 | 22.87 | 63.06 | 24.58 |
2 | ก.พ. 50 | 20.87 | 23.46 | 23.78 | 72.22 | 24.68 |
3 | มี.ค. 50 | 21.01 | 23.16 | 23.85 | 68.17 | 24.59 |
4 | เม.ย. 50 | 24.07 | 25.68 | 24.91 | 71.41 | 25.45 |
5 | พ.ค. 50 | 26.83 | 29.60 | 26.16 | 73.07 | 28.39 |
6 | มิ.ย. 50 | 27.42 | 32.22 | 27.07 | 70.80 | 30.95 |
7 | ก.ค. 50 | 27.20 | 31.28 | 27.66 | 61.96 | 29.66 |
8 | ส.ค. 50 | 27.14 | 30.02 | 27.24 | 63.64 | 29.43 |
9 | ก.ย. 50 | 28.00 | 29.22 | 29.22 | 65.44 | 27.99 |
10 | ต.ค. 50 | 29.98 | 31.94 | 30.07 | 69.80 | 31.17 |
11 | พ.ย. 50 | 31.96 | 34.92 | 33.48 | 74.79 | 35.03 |
12 | ธ.ค. 50 | 31.98 | 36.57 | 34.62 | 73.30 | 36.33 |
13 | ม.ค. 51 | 35.07 | 42.31 | 37.96 | 77.36 | 38.93 |
14 | ก.พ. 51 | 38.64 | 42.62 | 42.71 | 80.99 | 40.64 |
15 | มี.ค. 51 | 41.98 | 41.32 | 41.63 | 79.30 | 40.94 |
16 | เม.ย. 51 | 40.42 | 41.37 | 40.81 | 80.84 | 38.26 |
17 | พ.ค. 51 | 40.85 | 41.77 | 42.70 | 85.16 | 37.66 |
18 | มิ.ย. 51 | 41.19 | 44.23 | 46.89 | 96.05 | 40.07 |
19 | ก.ค. 51 | 38.87 | 43.95 | 45.99 | 99.68 | 42.35 |
20 | ส.ค. 51 | 30.90 | 38.14 | 39.36 | 90.05 | 36.00 |
21 | ก.ย. 51 | 26.66 | 34.01 | 35.74 | 89.74 | 29.88 |
22 | ต.ค. 51 | 20.18 | 30.04 | 27.81 | 54.51 | 25.11 |
23 | พ.ย. 51 | 18.27 | 27.63 | 25.55 | 50.81 | 21.11 |
24 | ธ.ค. 51 | 18.74 | 29.34 | 23.89 | 34.09 | 22.27 |
25 | ม.ค. 52 | 21.28 | 32.08 | 26.35 | 41.93 | 24.82 |
26 | ก.พ. 52 | 21.52 | 34.04 | 24.75 | 44.64 | 32.82 |
27 | มี.ค. 52 | 22.54 | 31.51 | 24.85 | 44.18 | 26.96 |
28 | เม.ย. 52 | 26.97 | 31.29 | 27.92 | 48.03 | 27.35 |
11 แหล่งข้อมูล : สํานกส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร กรมการค้าภายใน
12 แหล่งข้อมูล : สํานกส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร กรมการค้าภายใน 13 แหล่งข้อมูล : World Bank. http://www.indexmundi.com/ 14 แหล่งข้อมูล : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
15 แหล่งข้อมูล : ศูนย์ปฏิบัติการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน
เดือน-ปี | ราคาน้ํามัน ปาล์มบริสุทธิ์ ไทย11 RPO_M Price | ราคานามัน ปาล์มบริสุทธิ์ มาเลเซีย 12 RPO_T Price | ราคานามนถั่ว เหลือง13 SBO_K Price | ราคายางพารา แผ่นดิบชั้น 3 ที่ เกษตรกรขายได้ ทีไร่นา14 RSS3_F Price | ราคา ไบโอดีเซล B10015 B100 Price | |
29 | พ.ค. 52 | 28.29 | 32.78 | 29.18 | 51.30 | 29.68 |
30 | มิ.ย. 52 | 25.44 | 30.80 | 28.40 | 50.65 | 31.00 |
31 | ก.ค. 52 | 22.45 | 27.55 | 25.56 | 50.28 | 27.89 |
32 | ส.ค. 52 | 25.01 | 28.91 | 27.55 | 60.08 | 27.31 |
33 | ก.ย. 52 | 23.28 | 28.69 | 25.37 | 63.72 | 27.88 |
34 | ต.ค. 52 | 22.82 | 26.62 | 26.65 | 67.41 | 25.45 |
35 | พ.ย. 52 | 23.79 | 27.43 | 28.44 | 73.05 | 26.88 |
36 | ธ.ค. 52 | 25.56 | 30.58 | 28.82 | 81.02 | 29.72 |
37 | ม.ค. 53 | 25.77 | 31.07 | 27.70 | 89.21 | 31.46 |
38 | ก.พ. 53 | 26.12 | 29.45 | 27.86 | 93.00 | 29.53 |
39 | มี.ค. 53 | 26.58 | 30.21 | 28.29 | 99.96 | 30.50 |
40 | เม.ย. 53 | 26.45 | 30.21 | 28.02 | 107.27 | 29.97 |
41 | พ.ค. 53 | 26.07 | 30.11 | 26.95 | 101.31 | 29.79 |
42 | มิ.ย. 53 | 25.83 | 29.04 | 26.66 | 105.22 | 29.79 |
43 | ก.ค. 53 | 26.04 | 29.07 | 27.06 | 99.71 | 28.28 |
44 | ส.ค. 53 | 29.27 | 31.68 | 28.46 | 96.84 | 29.60 |
45 | ก.ย. 53 | 28.58 | 32.27 | 28.65 | 99.37 | 30.28 |
46 | ต.ค. 53 | 29.66 | 33.29 | 31.01 | 102.05 | 32.29 |
47 | พ.ย. 53 | 32.93 | 42.09 | 33.53 | 112.66 | 38.47 |
48 | ธ.ค. 53 | 36.37 | 48.10 | 36.39 | 126.11 | 43.74 |
49 | ม.ค. 54 | 38.60 | 57.45 | 38.45 | 148.61 | 53.01 |
50 | ก.พ. 54 | 39.65 | 63.28 | 38.95 | 170.75 | 61.24 |
51 | มี.ค. 54 | 36.64 | 53.00 | 37.81 | 135.55 | 43.11 |
52 | เม.ย. 54 | 35.58 | 45.88 | 38.43 | 153.60 | 36.44 |
53 | พ.ค. 54 | 36.66 | 42.50 | 37.97 | 139.34 | 38.20 |
54 | มิ.ย. 54 | 35.47 | 39.64 | 38.15 | 134.98 | 37.25 |
55 | ก.ค. 54 | 34.39 | 35.87 | 37.33 | 124.10 | 32.84 |
56 | ส.ค. 54 | 34.62 | 36.50 | 36.62 | 124.56 | 34.18 |
57 | ก.ย. 54 | 32.98 | 35.86 | 37.12 | 123.36 | 33.60 |
58 | ต.ค. 54 | 30.51 | 34.50 | 34.81 | 107.66 | 31.35 |
59 | พ.ย. 54 | 32.77 | 35.32 | 34.58 | 85.91 | 32.88 |
60 | ธ.ค. 54 | 33.29 | 36.50 | 34.45 | 85.91 | 34.09 |
61 | ม.ค. 55 | 33.74 | 36.50 | 35.72 | 94.43 | 34.49 |
62 | ก.พ. 55 | 33.59 | 36.50 | 35.96 | 107.45 | 35.05 |
63 | มี.ค. 55 | 34.84 | 38.26 | 36.77 | 105.81 | 37.63 |
64 | เม.ย. 55 | 36.18 | 38.50 | 38.10 | 105.34 | 38.94 |
เดือน-ปี | ราคาน้ํามัน ปาล์มบริสุทธิ์ ไทย11 RPO_M Price | ราคานามัน ปาล์มบริสุทธิ์ มาเลเซีย 12 RPO_T Price | ราคานามนถั่ว เหลือง13 SBO_K Price | ราคายางพารา แผ่นดิบชั้น 3 ที่ เกษตรกรขายได้ ทีไร่นา14 RSS3_F Price | ราคา ไบโอดีเซล B10015 B100 Price | |
65 | พ.ค. 55 | 33.26 | 38.50 | 35.52 | 100.61 | 37.35 |
66 | มิ.ย. 55 | 30.69 | 38.60 | 34.75 | 88.29 | 35.74 |
67 | ก.ค. 55 | 31.50 | 40.50 | 37.21 | 86.30 | 38.40 |
68 | ส.ค. 55 | 30.22 | 38.00 | 37.36 | 76.69 | 35.68 |
69 | ก.ย. 55 | 28.96 | 35.70 | 37.60 | 77.55 | 33.61 |
70 | ต.ค. 55 | 24.86 | 30.68 | 34.37 | 82.60 | 29.23 |
71 | พ.ย. 55 | 24.59 | 29.82 | 32.91 | 76.00 | 29.65 |
72 | ธ.ค. 55 | 23.48 | 26.33 | 33.36 | 78.62 | 26.41 |
73 | ม.ค. 56 | 24.45 | 27.23 | 33.78 | 84.01 | 28.64 |
74 | ก.พ. 56 | 24.99 | 27.50 | 33.76 | 82.29 | 28.77 |
75 | มี.ค. 56 | 23.93 | 27.19 | 32.56 | 76.76 | 28.48 |
76 | เม.ย. 56 | 23.13 | 26.97 | 31.60 | 71.59 | 27.89 |
77 | พ.ค. 56 | 23.94 | 26.23 | 32.24 | 79.00 | 26.00 |
78 | มิ.ย. 56 | 24.88 | 27.75 | 32.65 | 76.03 | 28.54 |
79 | ก.ค. 56 | 23.99 | 27.05 | 31.16 | 70.02 | 27.94 |
80 | ส.ค. 56 | 24.44 | 26.61 | 29.85 | 69.05 | 26.97 |
81 | ก.ย. 56 | 24.63 | 27.20 | 29.65 | 74.66 | 28.88 |
82 | ต.ค. 56 | 24.92 | 27.44 | 28.02 | 72.16 | 28.47 |
83 | พ.ย. 56 | 26.62 | 30.50 | 28.34 | 70.38 | 30.84 |
84 | ธ.ค. 56 | 26.67 | 34.69 | 28.21 | 71.11 | 35.99 |
ตารางที่ ก-4 อัตราแลกเปลี่ยน บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ (หน่วย : บาท/USD) และบาทต่อริงกิต (หน่วย :
บาท/MYR)
เดือน-ปี | อตราแลกเปลี่ยน บาทต่อดอลลาร์ สหรัฐ16 EXR_USD | อตราแลกเปลยน บาทต่อริงกิต 17 EXR_MYR | เดือน-ปี | อตราแลกเปลี่ยน บาทต่อดอลลาร์ สหรัฐ EXR_USD | อตราแลกเปลยน บาทต่อริงกิต EXR_MYR | ||
1 | ม.ค. 50 | 18.73 | 18.63 | 25 | ม.ค. 52 | 17.99 | 23.51 |
2 | ก.พ. 50 | 18.35 | 18.84 | 26 | ก.พ. 52 | 23.38 | 26.13 |
3 | มี.ค. 50 | 19.67 | 19.02 | 27 | มี.ค. 52 | 19.87 | 21.78 |
4 | เม.ย. 50 | 22.46 | 21.82 | 28 | เม.ย. 52 | 25.48 | 24.16 |
5 | พ.ค. 50 | 25.37 | 25.29 | 29 | พ.ค. 52 | 26.82 | 27.51 |
6 | มิ.ย. 50 | 26.05 | 26.45 | 30 | มิ.ย. 52 | 23.58 | 26.50 |
7 | ก.ค. 50 | 25.67 | 25.47 | 31 | ก.ค. 52 | 20.43 | 22.72 |
16 แหล่งข้อมูล : ธนาคารแห่งประเทศไทย
17 แหล่งข้อมูล : ธนาคารแห่งประเทศไทย
เดือน-ปี | อัตราแลกเปลี่ยน บาทต่อดอลลาร์ สหรัฐ16 EXR_USD | อตราแลกเปลยน บาทต่อริงกิต 17 EXR_MYR | เดือน-ปี | อัตราแลกเปลี่ยน บาทต่อดอลลาร์ สหรัฐ EXR_USD | อตราแลกเปลยน บาทต่อริงกิต EXR_MYR | ||
8 | ส.ค. 50 | 24.90 | 24.30 | 32 | ส.ค. 52 | 23.42 | 24.56 |
9 | ก.ย. 50 | 25.61 | 24.79 | 33 | ก.ย. 52 | 21.54 | 22.65 |
10 | ต.ค. 50 | 28.18 | 27.49 | 34 | ต.ค. 52 | 21.12 | 21.48 |
11 | พ.ย. 50 | 29.90 | 29.80 | 35 | พ.ย. 52 | 21.89 | 24.00 |
12 | ธ.ค. 50 | 29.84 | 31.47 | 36 | ธ.ค. 52 | 24.09 | 26.90 |
13 | ม.ค. 51 | 32.75 | 35.98 | 37 | ม.ค. 53 | 24.44 | 26.36 |
14 | ก.พ. 51 | 36.07 | 35.02 | 38 | ก.พ. 53 | 24.90 | 25.73 |
15 | มี.ค. 51 | 36.46 | 34.95 | 39 | มี.ค. 53 | 25.69 | 25.92 |
16 | เม.ย. 51 | 34.42 | 33.15 | 40 | เม.ย. 53 | 25.62 | 25.43 |
17 | พ.ค. 51 | 35.35 | 33.53 | 41 | พ.ค. 53 | 25.25 | 25.66 |
18 | มิ.ย. 51 | 36.65 | 36.26 | 42 | มิ.ย. 53 | 24.91 | 25.61 |
19 | ก.ค. 51 | 34.69 | 34.61 | 43 | ก.ค. 53 | 24.83 | 25.38 |
20 | ส.ค. 51 | 27.06 | 25.87 | 44 | ส.ค. 53 | 27.36 | 27.49 |
21 | ก.ย. 51 | 23.24 | 22.52 | 45 | ก.ย. 53 | 27.02 | 27.95 |
22 | ต.ค. 51 | 16.61 | 17.02 | 46 | ต.ค. 53 | 28.02 | 31.01 |
23 | พ.ย. 51 | 14.86 | 18.32 | 47 | พ.ย. 53 | 31.45 | 38.91 |
24 | ธ.ค. 51 | 15.46 | 20.32 | 48 | ธ.ค. 53 | 35.01 | 43.80 |
เดือน-ปี | อัตราแลกเปลี่ยน บาทต่อดอลลาร์ สหรัฐ18 | อตราแลกเปลยน บาทต่อริงกิต 19 | เดือน-ปี | อัตราแลกเปลยน บาทต่อดอลลาร์ สหรัฐ | อตราแลกเปลี่ยน บาทต่อริงกิต | ||
EXR_USD | EXR_MYR | EXR_USD | EXR_MYR | ||||
49 | ม.ค. 54 | 37.66 | 58.20 | 73 | ม.ค. 56 | 21.79 | 25.00 |
50 | ก.พ. 54 | 38.06 | 57.07 | 74 | ก.พ. 56 | 22.94 | 25.00 |
51 | มี.ค. 54 | 34.66 | 36.00 | 75 | มี.ค. 56 | 22.18 | 24.49 |
52 | เม.ย. 54 | 33.66 | 36.21 | 76 | เม.ย. 56 | 21.82 | 23.38 |
53 | พ.ค. 54 | 34.03 | 36.28 | 77 | พ.ค. 56 | 22.54 | 23.02 |
54 | มิ.ย. 54 | 32.92 | 34.38 | 78 | มิ.ย. 56 | 23.31 | 25.12 |
55 | ก.ค. 54 | 31.14 | 30.00 | 79 | ก.ค. 56 | 22.56 | 23.73 |
56 | ส.ค. 54 | 31.22 | 31.30 | 80 | ส.ค. 56 | 22.61 | 23.58 |
57 | ก.ย. 54 | 30.06 | 30.18 | 81 | ก.ย. 56 | 22.96 | 24.68 |
58 | ต.ค. 54 | 28.13 | 28.14 | 82 | ต.ค. 56 | 23.48 | 24.62 |
59 | พ.ย. 54 | 30.35 | 30.81 | 83 | พ.ย. 56 | 25.51 | 28.34 |
60 | ธ.ค. 54 | 30.32 | 30.49 | 84 | ธ.ค. 56 | 25.46 | 32.53 |
61 | ม.ค. 55 | 32.16 | 31.68 | ||||
62 | ก.พ. 55 | 31.78 | 33.05 | ||||
63 | มี.ค. 55 | 33.23 | 34.71 | ||||
64 | เม.ย. 55 | 34.98 | 35.90 | ||||
65 | พ.ค. 55 | 32.53 | 32.86 | ||||
66 | มิ.ย. 55 | 29.42 | 32.79 | ||||
67 | ก.ค. 55 | 30.13 | 35.08 | ||||
68 | ส.ค. 55 | 29.22 | 31.46 | ||||
69 | ก.ย. 55 | 26.90 | 28.89 | ||||
70 | ต.ค. 55 | 23.03 | 25.62 | ||||
71 | พ.ย. 55 | 23.77 | 25.30 | ||||
72 | ธ.ค. 55 | 23.70 | 22.95 |
18 แหล่งข้อมูล : ธนาคารแห่งประเทศไทย
19 แหล่งข้อมูล : ธนาคารแห่งประเทศไทย