Abstract
แอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเอง สําหรับผู้ป่วยเบาหวาน
xxxxxx พันธุ์แพง xxxxx พันธุ์แพง
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
รายงานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัย จากกองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2563
แอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเอง สําหรับผู้ป่วยเบาหวาน
xxxxxx พันธุ์แพง xxxxx พันธุ์แพง
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
รายงานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัย จากกองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2563
กิตติกรรมประกาศ
โครงการวิจัยเรื่อง “แอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเอง สําหรับผู้ป่วยเบาหวาน” คณะผู้วิจัยขอขอบคุณสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ xxxxxxสนับสนุนทุนวิจัยจากกองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2562 เพื่อจัดทํางานวิจัย นี้ขึ้น
ขอขอบคุณกลุ่มผู้ให้ข้อมูล เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลxxxxxxxxสุขภาพตําบลหมอกจําแป่จังหวัด แม่ฮ่องสอน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่ให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่องานวิจัย จนงานวิจัยxxxxxxสําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี รวมทั้งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องxxxxxxxxxxxxระบุนามxxx xxxให้ ข้อมูลเพิ่มเติมและข้อเสนอแนะที่ทําให้งานวิจัยมีความxxxxxxxครบถ้วนตามวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้ ทางคณะผู้วิจัยขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ ที่นี้
ท้ายนี้หากมีข้อผิดพลาดใดๆ ที่เกิดขึ้นจากงานวิจัยครั้งนี้ คณะผู้วิจัยขอรับผิดชอบทั้งหมด
xxxxxx xxxxxxxxx
2562
ชื่อเรื่อง แอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเอง สําหรับผู้ป่วยเบาหวาน
xxxxxxxx xxxxxx xxxxxxxxx, xxxxx xxxxxxxxx
หน่วยงาน/คณะ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน
ทุนอุดหนุนการวิจัย กองทุนมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ปีที่พิมพ์ 2563
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้เป็นการพัฒนาแอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วย ตนเอง สําหรับผู้ป่วยเบาหวาน มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจาก อุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเองสําหรับผู้ป่วยเบาหวาน 2) ศึกษาประสิทธิภาพของแอปพลิเคชันวิเคราะห์ ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเองสําหรับผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อใช้สําหรับการสํารวจดูเท้าใน ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และบันทึกภาพเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน แล้วบันทึกทํางานตามรายการหน้าที่ของ อุปกรณ์สํารวจเท้าด้วยตนเองสําหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน โดยที่แอปพลิเคชันที่ถูกพัฒนาขึ้น จะอยู่ใน รู ปแบ บขอ ง Native Application บน ร ะ บ บป ฏิ บั ติ ก า ร x xx ด ร อ ย ด์ ( Android) โ ด ย อาศัย Library หรือ SDK ของแพลตฟอร์มนั้นๆ และพัฒนาด้วยภาษาจาวา โดยกลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ป่วยเบาหวาน จํานวน 10 คน ที่เลือกแบบเจาะจง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงxxxมาตรฐาน แอปพลิเคชันที่พัฒนามีผลประเมินคุณภาพ ที่เป็นไปตามคุณสมบัติของ ซอฟต์แวร์xxxxx ประกอบด้วย ความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ ความxxxxxxx ใช้งานง่าย มีความง่ายต่อ การปรับเปลี่ยน xxxxxxนําxxxxxxใช้งานใหม่ได้ มีความเข้ากันได้กับระบบที่แตกต่าง มีประสิทธิภาพ มีความสะดวกในการเคลื่อนย้าย มีความปลอดภัย แก้ไขข้อบกพร่องได้ง่าย และความคิดเห็นของผู้ใช้ ที่มีต่อแอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเอง สําหรับผู้ป่วยเบาหวาน อยู่ใน ระดับมาก(𝒙̅ = 4.18, SD = 0.76)
คําสําคัญ: อุปกรณ์ตรวจเท้า ผู้ป่วยเบาหวาน แอปพลิเคชันมือถือ ระบบปฏิบัติการxxxดรอยด์
Research Title: Foot photo analysis application for diabetes people.
Researcher: Phattharamon Phanphaeng, Sancha Panpaeng. Faculty/ Department: Information and Communication Technology,
MaehongSon College.
Research Fund Source: Fundamental of RAJABHAT CHIANG MAI University. Published Year: 2020.
Abstract
This research about of Foot photo analysis application for diabetes people. The purposes of were; 1) To develop a photo analysis app from a foot self- examination device for people with diabetes. 2) To study the effectiveness of the photo analysis application from the foot self-examination device for diabetic patients. The application is developed as a native application on the Android operating system based on the library or SDK of that platform with JAVA.
The sample groups were 10 diabetic patients who were chosen specifically. The statistics used to analyze the data are mean and standard deviation. Experts evaluate the application for accuracy, reliability, correctness, user friendliness, adaptability, Efficiency, portability, security, acceptability and xxxxxxxxxxxx. The satisfaction level of this application users were at a noticeably good level (𝒙̅ = 4.18, SD = 0.76).
Key word(s): Foot Inspector, Diabetic, Mobile Application, Android operating system
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ
บทที่ 1 บทนํา
ความสําคัญและที่มาของปัญหาของการวิจัย วัตถุประสงค์ของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย กรอบแนวคิดในการวิจัย
นิยามศัพท์เฉพาะ ประโยชน์xxxxxxรับจากการวิจัย
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาระบบสารสนเทศ หลักการพัฒนาแอปพลิเคชัน แนวคิดเกี่ยวกับอุปกรณ์ทางการแพทย์ แนวคิดเกี่ยวกับโรคเบาหวาน งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย ขั้นศึกษาข้อมูล ขั้นวิเคราะห์ ขั้นการออกแบบ
ขั้นการพัฒนา
ก
ข x x ฉ ช 1
1
2
3
3
3
4
5
5
6
11
12
15
18
18
21
21
24
เรื่อง หน้า
จ
สารบญ (ต่อ)
หน้า
ขั้นการทดลองนําไปใช้ 25
ขั้นการประเมินผล 25
บทที่ 4 ผลการวิจัย 26
ผลการหาประสิทธิภาพของแอปพลิเคชัน 26
ผลการทดลอง 27
ผลการประเมินผล 30
บทที่ 5 การสรุป อภิปรายผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ 34
การสรุปผลการวิจัย 34
การอภิปรายผลการวิจัย 35
ข้อเสนอแนะ 35
เอกสารอ้างอิง 36
ภาคผนวก 38
ภาคผนวก ก การใช้งานระบบสตรีมภาพผ่านทาง Raspberry pi 39
โดยใช้ pi camera และดูภาพผ่านทาง Application Android
ประวัติคณะผู้วิจัย 61
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
4.1 ผลการทดสอบระบบ ครั้งที่ 1 27
4.1 ผลการทดสอบระบบ ครั้งที่ 1 (ต่อ) 28
4.2 ผลการทดสอบระบบ ครั้งที่ 2 29
4.2 ผลการทดสอบระบบ ครั้งที่ 2 (ต่อ) 30
4.3 ลักษณะทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง จํานวน 10 คน จําแนกตามเพศ อายุ อาชีพ 31
4.4 ผลการวิเคราะห์แบบสอบถามความคิดเห็นและความพึงxxxxของ
ผู้ป่วยต่ออุปกรณ์ 33
สารบัญภาพ | ||
ภาพที่ | หน้า | |
1.1 | กรอบแนวคิดในการวิจัย (Conceptual Framework) | 3 |
2.1 | วงจรการพัฒนาระบบ | 5 |
2.2 | (a) Native Application | 6 |
2.2 | (b) Hybrid Application | 7 |
2.2 | (c) Web Application | 7 |
3.1 | หลักการพัฒนาแอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเอง | 18 |
สําหรับผู้ป่วยเบาหวาน | ||
3.2 | สมาร์ทโฟนที่ใช้ | 21 |
3.3 | Diagram application | 22 |
3.4 | ออกแบบหน้าจออินเทอร์เฟส | 22 |
3.5 | การออกแบบรายงานแบบประเมินสภาพเท้าโดยโดยแอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่าย | 23 |
จากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเอง สําหรับผู้ป่วยเบาหวาน | ||
3.6 | ตัวอย่างการเขียนคําสั่งภาษาจาวา | 24 |
4.1 | ทดลองใช้แอปพลิเคชันร่วมกับไม้ถ่ายเท้าด้วยตนเองสําหรับผู้ป่วยเบาหวาน | 29 |
บทที่ 1 บทนํำ
Introduction
1.1ควำมสํำคัญและที่มำของปัญหำxxxxxรวิจัย
โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สําคัญระดับโลก ข้อมูลสถิติของ องค์การอนามัยโลก พ.ศ. 2555 พบว่า 1 ใน 10 ของประชาชนในวัยผู้ใหญ่ทั่วโลกป่วยเป็น โรคเบาหวานประมาณ 365 ล้านคน (World health organization, 2012) และเมื่อพิจารณา แนวโน้มสถิติจํานวนผู้ป่วยโรคเบาหวานทั่วโลกในปี พ.ศ. 2528 จากจํานวน 50 ล้านคน xxxxxขึ้นเป็น 135 ล้านคนใน พ.ศ. 2538 xxxxxขึ้นเป็น 170 ล้านคนในปี พ.ศ. 2548 และคาดว่าในปี พ.ศ. 2568 จะ
xxxxxขึ้นเป็น 300 ล้านคน (สํานักโรคไม่ติดต่อ, 2553)
โรคเบาหวานทําให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตลดลง เนื่องจากมีอาการแทรกซ้อนของอวัยวะต่างๆ xxxx โรคปลายxxxxxxตาเสื่อม หลอดเลือดแดงตีบ และปลายxxxxxxอักเสบนําไปสู่การเกิดแผลที่ เท้าได้ง่าย แผลxxxxxxxอักเสบลุกลามง่ายและแผลหายยากเมื่อเกิดภาวะเนื้อตาย (xxxxxx xxxxxxxxx และคณะ, 2550) ถ้าหากมีการติดเชื้อรุนแรงผู้ป่วยมีโอกาสสูงที่จะถูกตัดเท้า ซึ่งจะทําให้เกิดภาวะ ทุพพลภาพ หรือมีความพิการเนื่องจากการสูญเสียเท้าไป หรือต้องxxxxxกับภาวการณ์มีรูป เท้าที่ ผิดxxxx xxxxxxxxxxxxความชุกของภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานที่เท้าประมาณ ร้อยละ 11.4 และความชุกในการตัดเท้าพบประมาณ ร้อยละ 1.6 โดยในปี พ.ศ. 2550 พบว่าในจํานวนผู้ป่วย เบาหวานทั้งหมด จะมีผู้ที่ถูกตัดเท้าจากโรคเบาหวานxxxxxขึ้นถึง 13,000 ราย หรือประมาณ 3-4 คน
ต่อวัน (สํานักงานนโยบายและxxxxxxxxxx, 2553) การป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางเท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่สําคัญคือ การสํารวจ
เท้าอย่างละเอียดทุกวัน รวมทั้งบริเวณซอกนิ้วเท้า ว่ามีแผล หนังด้านแข็ง ตาปลา รอยแตก หรือการ ติดเชื้อราหรือไม่ และหากมีปัญหาเรื่องสายตา ควรให้ญาติหรือผู้ใกล้ชิดสํารวจเท้าและรองเท้าให้ทุก วัน (Diabetes Association of Thailand, 2011) อย่างไรก็ตามจากการสํารวจสภาวะสุขภาพ อนามัยของประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551- พ.ศ. 2552 พบความxxx xxxเบาหวานในกลุ่มอายุ 60-69 ปี ซึ่งจัดอยู่ในช่วงผู้สูงอายุมากที่สุด หรือคิดเป็นร้อยละ 16.7 (xxxxx xxxxxxxxx และxxxxx พันธุเวทย์, 2558) ช่วงxxxxxxมีการเปลี่ยนแปลงตามวัยในเรื่องสายตาที่มีความ เสื่อมถอยตามวัยโดยการมองใกล้ไม่ชัดเจน หรือเรียกสายตายาว และความxxxxxxในการแยกสีลดลง นอกจากนี้ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก ในรายที่ขาดอาหารและกล้ามเนื้อxxxxxxxxxxใช้งานทําให้ ผู้สูงอายุเหนื่อยง่ายหรืออ่อนเพลีย พบกระดูกผุกร่อน เปราะบาง ภาวการณ์เปลี่ยนแปลงของระบบใน
ร่างกายตามวัยอาจส่งผลให้ประสบความยากลําบากในการสํารวจเท้าด้วยตนเองของผู้ป่วยโดยเฉพาะ กลุ่มผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน
จากปัญหาและความสําคัญดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงได้พัฒนาอุปกรณ์สํารวจเท้าด้วยตนเอง สําหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน ซึ่งในเฟสแรกเป็นการสร้างต้นแบบอุปกรณ์เพื่อตรวจสภาพเท้าผู้ป่วยด้วย ตนเองและบันทึกผลไว้ในสมาร์ทโฟน การศึกษาพบว่าผู้ป่วยเบาหวานผู้สูงอายุมีความพึงxxxxมาก ที่สุด เพราะอุปกรณ์ต้นแบบจะช่วยลดปัญหาจากการตรวจเท้าด้วยตนเองxxxxxxxxxสายตาที่มีความ เสื่อมถอยตามวัยโดยการมองใกล้ไม่ชัดเจนหรือเรียกสายตายาวและความxxxxxxในการแยกสีลดลง อุปกรณ์ทําให้เห็นภาพชัดเจนมากขึ้น ส่วนผู้ป่วยที่อยู่ในวัยกลางคนได้ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการ แสดงผลการประเมินสภาพความเสี่ยงxxxxxxจากการวิเคราะห์ด้วยอุปกรณ์ดังกล่าว
ในงานวิจัยนี้ เป็นระยะxxxxxxจากงานวิจัยครั้งก่อนนี้ เรื่องการพัฒนาอุปกรณ์สํารวจเท้า ด้วยตนเองสําหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน ซึ่งผลการพัฒนาได้อุปกรณ์ต้นแบบที่เหมาะสมต่อผู้ป่วย เบาหวานกลุ่มตัวอย่าง ดังนั้นเพื่อให้มีแอปพลิเคชันที่xxxxxxบันทึกและแสดงผลภาพถ่ายจากอุปกรณ์ สํารวจเท้าด้วยตนเองสําหรับผู้ป่วยเบาหวาน แล้วทํารายงานตามแบบบันทึกการตรวจเท้าของผู้ป่วย และผู้ดูแลทราบถึงสุขภาพเท้าเบื้องต้น รวมถึงเจ้าหน้าที่ทางด้านสาธารณสุข หรือผู้ที่ดูแลผู้ป่วยจะ xxxxxxนําไปxxxxxxในการป้องกันดูแลและรักษาได้ ทั้งนี้ผลxxxxxxจากงานวิจัยนี้จะช่วยทําให้ลดการ สูญเสียทรัพยากรมนุษย์และค่าใช้จ่ายทางการแพทย์ไปกับการตัดขาในผู้ป่วยเบาหวาน และร้อยละ ของผู้ป่วยเบาหวานxxxxxxดูแลสุขภาพเท้าด้วยตนเองได้เป็นไปตามเกณฑ์สูงขึ้นด้วย
1.2 วัตถุประสงค์xxxxxรวิจัย
1) พัฒนาแอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเองสําหรับผู้ป่วยเบาหวาน
2) ศึกษาประสิทธิภาพของแอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเอง สําหรับผู้ป่วยเบาหวาน
1.3 ขอบเขตxxxxxรวิจัย
1.3.1 ขอบเขตของการวิจัย พัฒนาแอปพลิเคชันสําหรับxxxxxxผลภาพถ่ายจากอุปกรณ์สํารวจเท้าด้วยตนเอง
สําหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน เพื่อใช้สําหรับการสํารวจดูเท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน และบันทึกภาพเท้า ของผู้ป่วยเบาหวาน แล้วบันทึกทํางานตามรายการหน้าที่ของอุปกรณ์สํารวจเท้าด้วยตนเองสําหรับ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน
1.3.2 xxxxxxxxxจะศึกษา
1) ตัวแปรต้น ภาพถ่ายฟังก์ชันการทํางานของแอปพลิเคชันที่ถ่ายจากอุปกรณ์สํารวจเท้าด้วยตนเอง
สําหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน
2) ตัวแปรตาม
ผลการถ่ายภาพ และการรายงาน ประสิทธิภาพของแอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ และผลลัพธ์ของการดูแล
เท้าด้วยตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน
1.4 กรอบแนวควำมคิดของโครงกำรวิจัย
หลักการทํางานของงานวิจัยครั้งนี้ เป็นถ่ายภาพจากอุปกรณ์สํารวจเท้าด้วยตนเองสําหรับ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โดยมีแอปพลิเคชันช่วยในการถ่ายภาพและบันทึกภาพ เพื่อนําไปวิเคราะห์และ xxxxxxการถ่ายภาพ และออกรายงาน อย่างมีประสิทธิภาพ ดังภาพที่ 1.1
ตัวแปรต้น ตัวแปรตำม
ภาพถ่ายตามฟังก์ชันการ ทํางานของอุปกรณ์สํารวจ เท้าด้วยตนเองสําหรับ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน
-ผลการวิเคราะห์ภาพถ่าย
-ประสิทธิภาพของแอปพลิเคชัน
-ผลลัพธ์จากการใช้แอปพลิเคชันอุปกรณ์สํารวจเท้าด้วยตนเอง
ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคิดในการวิจัย (Conceptual Framework)
1.5 นิยำมศัพท์เฉพำะ
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน หมายถึง ผู้ป่วยโรคเบาหวานทุกประเภท ที่อยู่อาศัยเฉพาะในพื้นที่ ตําบลหมอกจําแป อําเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ต้นแบบอุปกรณ์สํารวจเท้าด้วยตนเองสําหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน หมายถึง อุปกรณ์ที่ ผู้วิจัยได้ทําการพัฒนาเพื่อใช้สําหรับถ่ายภาพเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน
1.6 ประโยชน์xxxxxxรับจำกกำรวิจัย
1) ลดการสูญเสียทรัพยากรมนุษย์และค่าใช้จ่ายทางการแพทย์ไปกับการตัดขาในผู้ป่วยเบาหวาน
2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานxxxxxxดูแลสุขภาพเท้าด้วยตนเองได้เป็นไปตามเกณฑ์
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
Review of Related Literature
การศึกษาเรื่อง “แอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเอง สําหรับผู้ป่วยเบาหวาน” คณะผู้วิจัยได้รวบรวมและเรียบเรียง แนวคิด หลักการ ทฤษฎี และ งานวิจัยที่เกี่ยวของ ตามลําดับดังนี้
2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาระบบสารสนเทศ
xxxxx xxxxxxสิริวงศ์ (2545) กล่าวว่า วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle: SDLC) ระบบสารสนเทศส่วนมากจะใช้วงจรนี้จะเป็นขั้นตอนที่เป็นลําดับตั้งแต่ต้นจนเสร็จ เรียบร้อย โดยจะวิเคราะห์ระบบเพื่อให้เป็นระบบที่ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทั้งนี้รูปแบบการทํางานแบบนี้ คือแบบมีขั้นมีตอน ซึ่งเป็นการทํางานที่ต้องให้ผ่านไปทีละขั้น ขั้นตอนการพัฒนาระบบ มีอยู่ด้วยกัน 7 ขั้นตอน คือ 1. เข้าใจปัญหา 2. ศึกษาความเป็นไปได้ 3.
วิเคราะห์ 4. ออกแบบ 5. สร้าง หรือพัฒนาระบบ 6. การปรับเปลี่ยน 7. บําxxxxxxxx
ดังภาพที่ 2.1
ภาพที่ 2.1 วงจรการพัฒนาระบบ
การทดสอบระบบนั้นจะอยู่ในขั้นตอนของการปรับเปลี่ยน ถ้าหากตรวจสอบพบความ ผิดพลาด ไม่ว่าจะด้วยเข้าใจผิดพลาด หรือมีการเปลี่ยนแปลงก็ตามแต่ การแก้ไขก็จะทําได้ยาก
2.2 หลักการพัฒนาแอปพลิเคชัน
แอปพลิเคชัน (Application) ที่เราxxxxใช้กันบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile Device) xxxxxx แบ่งรูปแบบของการพัฒนาได้ 3 รูปแบบ คือ Native Application Hybrid Application และ Web Application ดังนี้
1) Native Application คือ แอปพลิเคชันที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยอาศัย Library หรือ SDK ของ แพลตฟอร์มนั้นๆ และจะต้องพัฒนาด้วยภาษาของแต่ละแพลตฟอร์ม xxxx xxxดรอยด์ (Android) ใช้ ภาษาจาวา (Java) วินโดวส์โฟน (Windows Phone) ใช้ภาษาxxxxxxx (C#) และไอโอเอส (iOS) ใช้ ภาษาอ็อปเจ็คซี (Object-C) เป็นต้น
ภาพที่ 2.2(a) Native Application
ข้อดีของการพัฒนาแอปพลิเคชันแบบ Native คือxxxxxxดึงทรัพยากรของระบบมาใช้งานได้ เต็มที่และมีประสิทธิภาพสูงสุด
ข้อเสียคือเมื่อต้องการพัฒนาแอปพลิเคชันให้xxxxxxใช้งานกับแพลตฟอร์มอื่นได้ จะต้องเริ่ม พัฒนาแอปพลิเคชันใหม่ ซึ่งทําให้ต้นทุนในการพัฒนาสูงและใช้เวลานาน
2) Hybrid Application หรือ Cross-platform Application คือ แอปพลิเคชันที่พัฒนาโดย อาศัยเฟรมเวิร์ค (Framework) ซึ่งจะใช้ภาษาใดภาษาดึงเป็นตัวกลางสําหรับการพัฒนา แล้วเฟรม เวิร์คก็จะทําการแปลงภาษานั้นๆ ให้แอปพลิเคชันxxxxxxใช้งานได้ทุกแพลตฟอร์ม
ภาพที่ 2.2(b) Hybrid Application
ข้อดีของการพัฒนาแอปพลิเคชันแบบ Hybrid Application ก็คือxxxxxxย่นระยะเวลาใน การพัฒนาให้สั้นลงและแอปพลิเคชันยังxxxxxxใช้งานทรัพยากรxxxxxอีกด้วย
3) Web Application คือ แอปพลิเคชันที่แสดงหน้าเว็บผ่านตัว Application แทนการเข้า เบราว์เซอร์ (Browser) ซึ่งการใช้งานแอปพลิเคชันจะต้องเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตตลอดเวลา และอาจจะ ไม่xxxxxxใช้ทรัพยากรบางอย่างของระบบได้
ภาพที่ 2.2(c) Web Application
ทั้งนี้ข้อดีของการพัฒนาแอปพลิเคชันแบบ Web Application ก็คือใช้เวลาในการพัฒนาได้
รวดเร็ว
2.2.1 หลักการของแอปพลิเคชันมือถือ
แอปพลิเคชันมือถือ (Mobile Application) ประกอบด้วยคําว่า Mobile กับ Application
มีความหมายดังนี้ Mobile หมายถึง อุปกรณ์สื่อสารที่ใช้ในการพกพาxxxxxxใช้งานได้ตามพื้นฐาน
ของโทรศัพท์แล้วxxxxxxทํางานxxxxxxxxxxxxเครื่องคอมพิวเตอร์อีกด้วย คุณสมบัติเด่น คือ ขนาดเล็ก น้ําหนักเบาใช้พลังงานxxxxxxxxน้อย ปัจจุบันxxxxxxทําหน้าที่ได้หลายอย่างในการติดต่อแลกเปลี่ยน ข่าวสารกับคอมพิวเตอร์ ส่วนคําว่า Application หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ใช้เพื่อxxxxxxxทํางานของผู้ใช้ (User) โดย Application จะต้องมีสิ่งที่เรียกว่า ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface หรือ UI) เพื่อเป็น ตัวกลางการใช้งานต่าง ๆ
Mobile Application เป็นการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สําหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ xxxx โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต โดยโปรแกรมจะช่วยตอบxxxxความต้องการของผู้บริโภค อีกทั้งยัง สนับสนุน ให้ผู้ใช้โทรศัพท์ได้ใช้ง่าย ยิ่งขึ้น ในปัจจุบันโทรศัพท์มือ หรือ สมาร์ทโฟน มีหลาย ระบบปฏิบัติการที่พัฒนาออกมาให้ผู้บริโภคใช้งาน คนส่วนxxxxxxxxใช้ คือ ios และ Android จึงทํา ให้xxxxxxxเขียนหรือพัฒนา Application ลงบนสมาร์ทโฟนเป็นอย่างมาก อย่างxxxx แผนที่, เกมส์
, โปรแกรมคุยต่างๆ และหลายธุรกิจก็เข้าไปเน้นในการพัฒนา Mobile Application เพื่อxxxxxxxxxทาง ในการสื่อสารกับลูกค้ามากขึ้น
รูปแบบของแอปพลิเคชันมือถือ มี 4 แบบคือ
1) Windows Mobile พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ ที่ผลิตระบบปฏิบัติการที่รองรับการ ทํางานของคอมพิวเตอร์มากมายได้แก่ Windows XP, Windows Vista หรือ Windows 7 เป็นต้น ลักษณะการใช้งานของ Windows Mobile คล้ายคลึงกับ Windowsในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวอย่าง สมาร์ทโฟนที่ใช้ Windows Mobileได้แก่ HTC, Acer เป็นต้น
2) BlackBerry OS พัฒนาโดยบริษัท RIM เพื่อรองรับการทํางานของแอปพลิเคชันต่างๆ ของ BlackBerry โดยตรง จะเน้นการใช้งานทางด้านอีเมล์เป็นหลัก ซึ่งเมื่อมีอีเมล์เข้ามาสู่ระบบ เซิร์ฟเวอร์จะทําการส่งต่อxxxxx BlackBerry โดยจะมีการเตือนสถานะที่หน้าจอ เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับ ข้อมูลอย่างxxxxxxxxx ซึ่งระบบอีเมล์ของ BlackBerry จะมีความปลอดภัยสูงด้วยการเข้ารหัสข้อมูล ส่วนจุดเด่นสําคัญอีกอย่างหนึ่งคือระบบการสนทนาผ่านแบล็คxxxxxxxx แมสเซนเจอร์ ซึ่งจะทําให้ xxxxxxพิมพ์ข้อความสนทนากับเพื่อนๆ ที่มีแบล็คxxxxxxxxxxxxกันเป็นแบบเรียลไทม์ ด้วยความxxxxxx ในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตและมีการเปิดให้รับ-ส่งข้อมูลกับเครือข่ายมือถืออยู่ตลอดเวลา เหมาะ สําหรับผู้ที่ต้องติดต่องานต่างๆ ผ่านอีเมล์และกลุ่มวัยรุ่นที่รักการสนทนาผ่านคอมพิวเตอร์
3) iPhone OS พัฒนาโดยบริษัท Apple เพื่อรองรับการทํางานของแอปพลิเคชันต่างๆ ของ iPhone โดยตรง โดยกลุ่มที่xxxxใช้ iPhone มัก จะเป็นผู้ที่ชอบด้านมัลติมิเดีย xxxx การฟังเพลง ดูหนัง หรือการxxxxเกม เป็นต้น บริษัทเกมหลายแห่งจึงผลิตเกมขึ้นมาเพื่อรองรับการทํางาน บน iPhone โดยเฉพาะ ซึ่งผู้ใช้xxxxxxซื้อขายแอปพลิเคชันต่าง ๆ บนอินเทอร์เน็ต แล้วชําระเงินผ่าน ทางบัตรเครดิต ซึ่งเป็นธุรกิจอีกหนึ่งประเภทที่กําลังเติบโตไปพร้อมกับธุรกิจในกลุ่มสมาร์ทโฟน
4) Android พัฒนาโดยบริษัท Google เป็นระบบปฏิบัติการล่าสุดที่กําลังเป็นที่xxxx รองรับ การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบเรียลไทม์ เพื่อใช้บริการจาก Google ได้อย่างเต็มที่ ทั้ง Search Engine, Gmail, Google Calendar, Google Docs แ ล ะ Google Mapsมี จุ ด เ ด่ น คื อ เ ป็ น ระบบปฏิบัติการแบบ Open Source ซึ่งทําให้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งตอนนี้มีโปรแกรมต่างๆ ให้เลือกใช้งานมากมาย จึงเหมาะสําหรับผู้ที่ต้องใช้งานบริการต่างๆ จากทาง Google รวมทั้งต้องการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตอยู่ตลอดเวลา
2.2.3 แนวทางการออกแบบแอปพลิเคชันxxxดรอยด์
xxxxxxx xxxxxxxxx (2555) ได้เสนอแนวทางการออกแบบแอปพลิเคชันxxxดรอยด์ ดังนี้ การออกแบบและพัฒนาแอปพลิเคชันสําหรับสมาร์ทโฟน ผู้พัฒนาแอปพลิเคชันจําเป็นต้อง
ศึกษาคุณสมบัติพื้นฐานของอุปกรณ์แต่ละประเภท เนื่องจากสมาร์ทโฟนในปัจจุบันมีหลากหลายยี่ห้อ ซึ่งแต่ละยี่ห้อจะมีขนาดหรือคุณสมบัติที่แตกต่างกันออกไป โดยสิ่งที่ควรคํานึงในการศึกษาคุณสมบัติ ของสมาร์ทโฟน ได้แก่
1) ขนาด (Size) การออกแบบแอปพลิเคชันจะต้องxxxxxxรองรับการใช้งานได้กับหน้าจอ ทุกขนาดเพื่อให้การใช้งานแอปพลิเคชัน ใช้งานได้ง่าย สะดวกและทําให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
2) หน่วยxxxxxxผล (CPU) สมาร์ทโฟนที่มีหน่วยxxxxxxผลที่รวดเร็วจะทําให้xxxxxx ตอบxxxxการใช้งานแอปพลิเคชันxxxxx xxxออกแบบและพัฒนาแอปพลิเคชันจึงควรทําให้เหมาะสม กับแต่ละอุปกรณ์เพื่อลดความผิดพลาดในการใช้งาน
3) หน่วยความจํา (Memory) แสดงถึงความxxxxxxในการบันทึกข้อมูลของอุปกรณ์ ผู้พัฒนา จึงควรออกแบบแอปพลิเคชันให้ใช้การบันทึกข้อมูลให้น้อยที่สุด เพื่อให้xxxxxxรองรับการ ใช้งานใน อุปกรณ์ที่มีหน่วยความจําน้อย
4) ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ระบบปฏิบัติการแต่ละประเภทมีรูปแบบการ แสดงผลที่แตกต่างกันออกไป ทําให้ผู้พัฒนาต้องออกแบบแอปพลิเคชันเพื่อให้ผู้ใช้xxxxxxใช้งานได้ กับทุกระบบปฏิบัติการ
5) แอปพลิเคชัน (Application) ผู้พัฒนาควรออกแบบแอปพลิเคชัน ให้xxxxxxใช้งานได้ง่าย xxxxxxรองรับผู้ใช้งานได้หลากหลายกลุ่มอายุเพศการศึกษา หรือภาษา เพื่อให้ผู้ใช้xxxxxxใช้งาน แอปพลิเคชันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Application Programming Interface (API) เป็นช่องทางการเชื่อมต่อเพื่อสื่อสารหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลจากระบบหนึ่งไปสู่ระบบอื่นๆ หรือ เป็นการเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้งานกับเซิร์ฟเวอร์ หรือเชื่อมต่อระหว่างเซิร์ฟเวอร์กับเซิร์ฟเวอร์เอง สําหรับนักพัฒนา API คือรูปแบบคําสั่งที่ต้องเรียกใช้ เมื่อต้องการเข้าถึงข้อมูลxxxxxxxxxxบนเซิร์ฟเวอร์ภายนอก หรือต้องการส่งข้อมูลจากระบบออกไปxxxxxxx
xxxยังเซิร์ฟเวอร์ทําให้การพัฒนาระบบที่ใช้ API มีขนาดเล็กลงเนื่องจากการใช้ความxxxxxxของ API เข้กมาช่วยในการพัฒนาระบบ ซึ่ง API เปรียบเสมือนภาษาที่ทําให้ระบบxxxxxxสื่อสารหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่างxxxxx (บริษัท คลิกเน็กซ์ จํากัด, 2555)
2.2.4 คุณภาพของซอฟต์แวร์
คุณภาพของซอฟต์แวร์ คือ ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่องค์กรส่งมอบแก่ลูกค้ามี คุณลักษณะสอดคล้องกับข้อกําหนดและxxxxxxใช้งานได้ตรงตามที่ตกลงกัน การที่ซอฟต์แวร์มี คุณลักษณะถูกต้อง เชื่อถือได้ ใช้งานง่าย บําxxxxxxxxง่าย เปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ประยุกต์กับงานอื่นๆ ได้ (Sommerville,2007) คุณภาพของ Software ตามหลักเกณฑ์ มีดังนี้
1) คุณภาพด้านการใช้งานหรือ Usability คือ ต้องทําให้ Software ที่สร้างขึ้นxxxxxxง่ายที่จะ เรียนรู้เพื่อใช้งานสําหรับมือใหม่ มีส่วนอํานวยความสะดวกให้สําหรับมือเก่าหรือผู้ใช้xxxxxxxxxxxxแล้ว xxxx พวก Shortcut ต่างๆ นอกจากนั้นต้องxxxxxxxxxxxxxxxจับ Error ได้หากผู้ใช้ทําผิดพลาด และ รับมือกับ Error xxxxx คือ ข้อความ Error ต้องชัดเจนเป็นภาษามนุษย์ที่ผู้ใช้อ่านเข้าใจและxxxxxxนํา ข้อความ Error สื่อสารกับผู้พัฒนาได้อย่างเข้าใจ
2) คุณภาพด้านประสิทธิภาพหรือ Efficiency คือใช้ Resource ให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทําได้
3) คุณภาพด้านความทนทาน หรือ Reliability คือ ต้องมีข้อผิดพลาดน้อยที่สุด ไม่ เกิด Error บ่อยๆ แต่xxxxxxxข้อผิดพลาดขึ้นก็ต้องแก้ไขได้โดยง่าย และใช้เวลาแก้ไขน้อยที่สุด
4) คุณภาพด้านการบําxxxxxxxxหรือ Maintainability คือระบบควรจะxxxxxxรองรับการ เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นได้ และมีความxxxxxxxxxxxจะเปลี่ยนแปลงแก้ไข xxxx xxxxxx แก้ไข Configurationของระบบได้โดยง่ายไม่ต้องทําการ Restart ระบบก่อน นอกจากนั้นควรจะ มี Monitoring Tool ที่xxxxxxแสดงสถานะของระบบและสภาพแวดล้อมของระบบว่าอยู่ในสภาพxxx xxหรือไม่ ซึ่งจะเป็นสิ่งที่ช่วยลดปัญหาที่จะเกิดขึ้นได้มาก
5) คุณภาพด้านการนํามาใช้ใหม่หรือ Reusability คือระบบที่พัฒนาขึ้นมาxxxxxxจะxxxxxx นําไปติดตั้งที่ระบบอื่นหรือสภาพแวดล้อมอื่นได้ง่าย โดยแก้ไขเล็กน้อยหรือไม่ต้องแก้ไขเลย
2.2.5 การตรวจสอบคุณภาพของกระบวนการผลิตซอฟต์แวร์ xxxxxxทําได้ 2 วิธี ดังนี้
1) การทบทวนคุณภาพ (Quality Review) เป็นการทบทวนคุณภาพของเอกสารและ กระบวนการผลิตซอฟต์แวร์โดยทีมงานxxxxxxรับมอบหมาย การทบทวนคุณภาพ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ การตรวจทานโปรแกรมหรืองานออกแบบ (Design or Program Inspection)เพื่อเป็นการค้นหา ข้อผิดพลาดและข้อบกพร่องในเอกสารข้อกําหนดความต้องการ โค้ดโปรแกรม หรืองานออกแบบ ซึ่ง
จะช่วยให้แก้ไขงานได้ทันที และการทบทวนความคืบหน้า (Progress Review)เพื่อเตรียมข้อมูลให้กับ ฝ่ายบริหารเกี่ยวกับความคืบหน้าของโครงการ ทั้งด้านกระบวนการทํางานและตรวจทานงาน งบประมาณที่ใช้ไป แผนงาน และตารางการดําเนินงาน
2) การประเมินซอฟต์แวร์อัตโนมัติ ( Automated Software Assessment) เป็นการ เปรียบเทียบคุณภาพของเอกสารและผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ว่าได้มาตรฐานหรือไม่ ด้วยเครื่องมือแบบ อัตโนมัติ ซึ่งเป็นวิธีการที่ใช้เวลาน้อยกว่าวิธีแรก และเนื่องจากเป็นวิธีการที่ต้องมีการเปรียบเทียบ ดังนั้น จึงต้องมีการวัดคุณลักษณะของซอฟต์แวร์เพื่อนําค่าที่วัดได้ (ส่วนใหญ่เป็นค่าเชิงปริมาณ) มา เปรียบเทียบกับมาตรฐาน ซึ่งจะทําให้การประเมินซอฟต์แวร์ง่ายขึ้น ดังนั้น การวัดคุณลักษณะของ ซอฟต์แวร์จึงเกี่ยวข้องกับการประเมินซอฟต์แวร์เพื่อการควบคุมคุณภาพ
2.3 แนวคิดเกี่ยวกับอุปกรณ์ทางการแพทย์
อุปกรณ์ทางการแพทย์ หมายถึง อุปกรณ์ วัสดุส่วนประกอบใด ๆ ไม่ว่า จะใช้เพียงลําพังหรือ ใช้ร่วมกับอย่างอื่น รวมถึงซอฟแวร์ที่จําเป็นเพื่อให้xxxxxxใช้อุปกรณ์เครื่องมือได้อย่างถูกต้องตาม ความมุ่งหมายของผู้ผลิต นํามาใช้กับร่างการมนุษย์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการวินิจฉัย ตามพระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ฯ พ.ศ.2551 (xxxxxxx xxxxxxxxxxxxx, 2555.) ได้ให้คํานิยามคําศัพท์ ไว้ดังนี้
เครื่องมือแพทย์ หมายความว่า เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องกล วัตถุที่ใช้ใส่เข้าไปในร่างกาย มนุษย์หรือสัตว์น้ํายาที่ใช้ตรวจในห้องปฏิบัติการ ผลิตภัณฑ์ ซอฟต์แวร์ หรือวัตถุอื่นใด ที่ผู้ผลิตมุ่ง หมายเฉพาะสําหรับใช้อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ไม่ว่าจะใช้โดยลําพัง ใช้ร่วมกันหรือใช้ประกอบกับ สิ่งอื่นใด
อุปกรณ์ หมายถึง ส่วนประกอบของเครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องกล ผลิตภัณฑ์ หรือวัตถุ เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องกล ผลิตภัณฑ์ หรือวัตถุอื่นที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดว่าเป็น
เครื่องมือxxxxx xxxxxxxxxxตามความมุ่งหมายของสิ่งที่กล่าวมาข้างต้นซึ่งเกิดขึ้นในร่างกายมนุษย์หรือ สัตว์ ต้องไม่เกิดจากกระบวนการทางเภสัชวิทยา xxxxxภูมิคุ้มกันหรือปฏิกิริยาxxxผลาญให้เกิด พลังงานเป็นหลัก
ประโยชน์ของเครื่องมือแพทย์
1) ประโยชน์ในทางการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรค โดยมีการประยุกต์ใช้เครื่องมือวัสดุและ อุปกรณ์ และนําเอารังสีxxxxxxมาใช้ในการวินิจฉัยและรักษาโรค เป็นต้น
2) ประโยชน์ต่อการดูแลรักษาสุขภาพของประชาชน โดยผู้ป่วยxxxxxxนําติดตัวไปตรวจและ บําxxxxxxที่บ้านได้
2.4 แนวคิดเกี่ยวกับโรคเบาหวาน
2.4.1 ความหมาย
โรคเบาหวาน (xxxxxxx xxxxxxxxxxxx, 2558) เป็นภาวะที่ร่างกายมีน้ําตาลในเลือดสูงกว่า xxxx เกิดจากการขาดฮอร์โมนอินซูลินหรือจากการดื้อต่อฤทธิ์ของอินซูลิน ทําให้ร่างกายไม่xxxxxxนํา น้ําตาลในเลือดไปใช้ได้ตามxxxx น้ําตาลในเลือดที่สูงอยู่เป็นระยะเวลานานทําให้เกิดโรคแทรกซ้อน ของอวัยวะต่างๆ xxxx ตา ไต ระบบxxxxxx xxxหลอดเลือดหัวใจ
ระดับน้ําตาลคนxxxxจะอยู่ในช่วง 70-99 มก./ดล. ก่อนรับประทานอาหารเช้า ผู้ป่วย เบาหวานที่มีน้ําตาลสูงจากค่าxxxxxxxมากอาจไม่มีอาการชัดเจน จะต้องทําการตรวจเลือดเพื่อการ วินิจฉัย ถ้าไม่ทราบว่าเป็นเบาหวานมาเป็นเวลานานผู้ป่วยอาจมาตรวจพบด้วยภาวะแทรกซ้อนของ โรคเบาหวานได้ ผู้ป่วยที่มีน้ําตาลสูงกว่าค่าxxxxมากอาจมีอาการจากน้ําตาลในเลือดสูงหรือจาก ภาวะแทรกซ้อน
xxxxxxx xxxxxxxxxxxxx และคณะ (2542) กล่าวถึง ภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานในระยะ ยาวหรือเรื้อรัง ดังนี้
ภาวะแทรกซ้อนเรื้อรัง หมายถึง ภาวะที่ผู้ป่วยมีระดับน้ําตาลในเลือดสูงเกินxxxxเป็น เวลานานๆ เป็นอันตรายต่อเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ ทั่วร่างกาย ได้มีปัจจัยเกี่ยวข้องทางพันธุกรรม ภาวะไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง ความอ้วน การสูบบุหรี่ และการขาดการออกกําลังกาย
โรคแทรกซ้อนเรื้อรังแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ
1) โรคแทรกซ้อนจากหลอดเลือดแดงใหญ่ (Macrovascular Complication) พบการ ตีบแข็งของหลอดเลือด ทําให้เลือดไหลเวียนxxxxxxหรือxxxxxxxอุดตันของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะ นั้น การขาดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะส่วนต่างๆ ส่งผลให้เกิดโรคต่างๆ ได้แก่ หลอดเลือดหัวใจตีบ โรค หลอดเลือดสมองอุดตัน โรคหลอดเลือดตีบที่เท้า และโรคความดันโลหิตสูง
2) โรคแทรกซ้อนจากหลอดเลือดฝอย (Mlicrovascular Complication) มีพยาธิ สภาพเกิดที่หลอดเลือดฝอย สําหรับ มีการเปลี่ยนแปลงที่เฉพาะเจาะจง แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ โรค แทรกซ้อนทางตา และโรคแทรกซ้อนทางไต
3) โรคแทรกซ้อนทางระบบxxxxxx (Diabetic neuropathy) การทํางานของร่างกาย ถูกควบคุมด้วยระบบxxxxxx เปรียบเสมือนวงจรไฟฟ้ารับสัญญาณและส่งสัญญาณ อาการแทรกซ้อน ทางระบบxxxxxxxxxพบคือเส้นxxxxxxส่วนปลายเสื่อม จะมีอาการxx xxxเริ่มที่ปลายนิ้วเท้า และ ลุกลามเรื่อยๆ มักเป็นทั้งสองข้าง อาจมีชาบริเวณมือทั้งสองข้าง xxxxxเท้า ทําให้ไม่รู้สึกเจ็บเมื่อถูกxxxx xxxหรือของมีคมบาดที่เท้า ทําให้เกิดแผล กว่าจะรู้ว่ามีแผลอาจเกิดติดเชื้อลุกลาม แผลมีเนื้อตายเน่า จนต้องตัดขาได้
ภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานทางเท้า เป็นภาวะแทรกซ้อนประการหนึ่งที่ควรให้ ความสําคัญ หากxxxxxxxxถูกตัดขา เกิดภาวะทุพพลภาพxxx xxxxxxxxxxxxระดับความเสี่ยงต่อการ เกิดแผลที่เท้าxxxxxxจําแนกได้ดังนี้
การจําแนกระดับความเสี่ยงต่อการเกิดแผลที่เท้า
ระดับความเสี่ยงต่อการเกิดแผลที่เท้า (McIntosch A. & Xxxxx XX. et al, 2003) มีดังนี้
1) มีความเสี่ยงต่ํา หมายถึง เท้าไม่มีแผลขณะประเมินและไม่มีประวัติการมีแผลที่เท้า หรือการถูกตัดขา หรือเท้า รูปเท้าxxxxไม่มีการผิดรูป ผิวหนังที่เท้าxxxx มีการรับความรู้สึกxxxx ชีพจร ที่เท้าxxxx
2) มีความเสี่ยงปานกลาง หมายถึง เท้าไม่มีแผลขณะประเมิน แต่มีการรับความรู้สึก ลดลงหรือชีพจรเบาลงหรือมีเท้าผิดรูปหรือผิวหนังผิดxxxx
3) มีความxxxxxxxxx หมายถึง เท้าไม่มีแผลขณะประเมิน แต่มีการรับความรู้สึกลดลงหรือ ชีพจรเบาลงร่วมกับมีเท้าผิดรูปหรือมีประวัติเคยมีแผลที่เท้าหรือการถูกตัดขาหรือเท้า
2.4.2 การประเมินสภาพเท้าและกิจกรรมการพยาบาล
กองการพยาบาลสาธารณสุข สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร (2554). พยาบาลเยี่ยมบ้านจะ xxxxxxประเมินผู้ป่วยเบาหวานโดยใช้แบบประเมินสภาพเท้า (ดูภาคผนวก )ในการคัดกรองเพื่อ จําแนกความเสี่ยงของกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องให้การดูแล ดังนี้
1. กลุ่มเสี่ยงน้อย ได้แก่ ผู้ป่วยเบาหวานที่มีเท้าxxxx ไม่มีลักษณะนิ้วจิก นิ้วงอ ไม่สูญเสีย ความรู้สึก
2. กลุ่มเสี่ยงปานกลาง ได้แก่ ผู้ป่วยเบาหวานที่มีเท้าชา แต่ไม่มีนิ้วงอ นิ้วจิก, การไหลเวียน เลือดxxxx, ไม่เคยมีประวัติแผลเบาหวานที่เท้า
3. กลุ่มxxxxxxxxx ได้แก่ ผู้ป่วยเบาหวานที่มีเท้าชา มีนิ้วงอ นิ้ว เท้าผิดรูป การเคลื่อนไหวของข้อ ลดลง เกิดตาปลาหรือมีการสูญเสียความรู้สึกร่วมกับการไหลเวียนของเลือดผิดxxxx มีแผลไม่ติดเชื้อที่ มีลักษณะ แผลถลอก เป็นตุ่มน้ํา หรือเปิดออกเป็นแผลตื้น ลักษณะพื้นแผลมี เนื้อเยื่อสีแดง
xxxxxxxx 2 ข้าง และการคลําชีพจรxxxxxxxx 2 ข้าง เริ่มมีแผล/ ตาปลา/ หนังแข็ง
4. กลุ่มxxxxxxxxxมาก ได้แก่ ผู้ป่วยเบาหวานที่มีแผลติดเชื้อ หมายถึง มีการทําลายถึงชั้น กล้ามเนื้อ กระดูก หรือเอ็นและเยื่อหุ้มข้อ มีน้ําxxxxxx/หนอง ลักษณะพื้นแผลมีเนื้อพังผืดมีสีxxxxxx xx น้ําตาลและดําจะเป็นxxxxxxxx xxxมีแผล เคยตัดนิ้ว/เท้า /ขา
เกณฑ์การการประเมินผล
1. ผู้ป่วยxxxxxxบอกได้ถึงวิธีการดูแลเท้าได้ถูกต้อง
2. ผู้ป่วยxxxxxxxxxxxย้อนกลับการบริหารเท้าได้
3. ไม่พบการติดเชื้อของแผล สภาพของตาปลาและหนังแข็งได้รับการดูแลถูกต้องดีขึ้น
4. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานxxxxxxดูแลสุขภาพเท้าด้วยตนเองได้ตามเกณฑ์ (ร้อยละ ๖๐)
2.4.3 แนวทางการดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
1. การดูแลเท้าทั่วไป
1.1 ตรวจหาความผิดxxxxของเท้าทุกxxx xxxx ตุ่มxxx ตาปลา หนังแข็ง
1.2 ล้างเท้าด้วยสบู่ถูสะอาดซับเท้าให้แห้ง โดยเฉพาะซอกนิ้วเท้าและเล็บเท้าทุกวัน
1.3 ขัดเท้า กรณีหนังแข็ง
- แช่เท้าด้วยน้ําประปาประมาณ 10 นาทีก่อนทําความสะอาด
- ขัดบริเวณที่มีหนังแข็ง
- ทาครีมหรือโลชันบริเวณที่มีหนังแข็ง
1.4 ตรวจความผิดxxxxxxxเท้า xxxx
- อาการบวม ปวด มีแผล
- รอยช้ํา ผิวเปลี่ยนสี แดง xxxx หรือตุ่มxxx
- สวมถุงเท้าโปร่งสบายเปลี่ยนทุกวัน (สวมถุงเท้าหรือxxxxxxx)้
- บริหารข้อเท้าและนิ้วเท้าอย่างxxxxxxxละครั้ง
2. การดูแลแผล (กรณีมีแผล)
2.1 แผลที่ไม่มีหนอง ไม่มีอาการปวด xxx xxx xxxx
- ล้างด้วยน้ําสะอาด ซับแห้ง
- ทายา/ใส่ยา
2.2 แผลมีหนอง xxx xxx ผิวคล้ํา มีกลิ่นเหม็นหรือมีหนอง
- ทําแผลโดยบุคลากรทางการแพทย์อย่างxxxxxxxละ 1 ครั้ง
- ทําแผลโดยญาติอย่างxxxxxxxละ 1 ครั้ง
(กรณีไม่xxxxxxไปทําที่สถานพยาบาลได้ ควรได้รับการสอนการดูแลแผลโดยบุคลากรทางการแพทย์)
2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
พรxxxxx xxxxxxxxxx และxxxxxx น้ําหอม (2557) ศึกษาประสิทธิภาพและความปลอดภัยของ ถุงเท้าที่มีสารละลายxxเรียเป็นองค์ประกอบในการลอกเซลล์ผิวเท้าที่ตายแล้วในผู้ป่วยเบาหวาน เป็น การศึกษาเชิงทดลองทางคลินิกแบบกึ่งทดลองโดยการสวมถุงเท้าที่มีสารละลายxxเรียในปริมาตรข้าง ละ 20 มิลลิลิตร ที่เท้าทั้ง 2 ข้าง นาน 2 ชั่วโมง ระหว่างสัปดาห์ เซลล์ผิวหนังที่เท้าที่ตายแล้วจะค่อยๆ ลอกออก เมื่อครบกําหนด 1 สัปดาห์ แพทย์จะประเมินสภาพผิวหนังที่เท้าของผู้ป่วยและกรอก แบบสอบถามความพึงxxxx ผลการศึกษาในอาสาสมัคร 18 ราย ที่ผ่านเกณฑ์คัดเข้าและร่วม การศึกษา แต่xxxxxxสมัคร 1 รายขอออกจากการศึกษาหลังใช้ผลิตภัณฑ์เนื่องจากพบความผิดxxxx หลังการใช้โดยมีอาการบวมของผิวหนัง แต่xxxxxxตายแล้วไม่ลอกออกโดยเกิดหลังจากใช้ผลิตภัณฑ์แล้ว นาน 2 สัปดาห์ ตําแหน่งที่เกิดผิวหนังหนา รวมถึงคะแนนความรุนแรงของความหนาฝ่าเท้าที่ตายแล้ว ลดลงจาก 1.61±0.58 และ 2.46±2.37 เป็น 1.09±0.85 และ 1.77±2.13 (P=0.036 และ p=0.000
ตามลําดับ) หลังใช้ผลิตภัณฑ์เปรียบเทียบกับสภาพผิวหนังก่อนใช้ โดยxxxxxxสมัครจํานวน 10 ราย (ร้อยละ 58.82) ที่จําเป็นต้องได้รับการรักษาเพิ่มเติม ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความหนาของผิวหนังฝ่าเท้ามาก ตั้งแต่ก่อนเริ่มเข้าการศึกษาทั้งสิ้น โดยที่ผู้ป่วยที่เหลือไม่จําเป็นต้องได้รับการขูดผิวหนังเพิ่มเติม ส่วน อาการข้างเคียงที่พบเป็นอาการข้างเคียงxxxxxxxxxxxxxxxxxพบได้ทั่วไปและไม่เป็นอันตราย จากการ ติดตามผลการใช้ในระยะสั้นพบว่าถุงเท้าที่มีสารละลายxxเรียเป็นองค์ประกอบมีความปลอดภัยสูง xxxxxxใช้เป็นทางเลือกหนึ่งของผู้ป่วยเบาหวานแทนการขูดลอกผิวหนัง มีประสิทธิภาพดีในผู้ป่วยที่มี ความหนาของผิวหนังที่เท้าxxxxxxxxน้อย แต่ในผู้ป่วยที่ผิวหนังหนามากอาจจําเป็นต้องใช้ผลิตภัณฑ์นี้ เพื่อลอกเซลล์xxxxxxตายแล้วมากกว่า 1 ครั้ง หรือใช้กระบวนการรักษาอื่นควบคู่ด้วย
วีณา ศรีสําราญ (2557) ศึกษาเรื่องนวัตกรรมรองเท้าที่xxxxxxxxการหายของแผลเบาหวานที่ เท้า เป็นการวิจัยและพัฒนา ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนานวัตกรรมรองเท้าเพื่อป้องกันแผลเรื้อรังใน ผู้ป่วยเบาหวานที่มีแผลที่เท้า การพัฒนารองเท้าเป็นไปตาม 13 ขั้นตอนของการพัฒนานวัตกรรม ทางการพยาบาล กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานโรงพยาลระดับxxxxภูมิแห่งหนึ่ง เก็บรวบรวม ข้อมูลระหว่างเดือนธันวาคม 2556 ถึง มีนาคม 2557 โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ป่วยจํานวน 5 ราย ซึ่งมีประสบการณ์การใช้รองเท้าที่ถูกดัดแปลงและพัฒนาครั้งแรก โดยผู้วิจัยพบว่ารองเท้าช่วยให้แผล หายเร็วขึ้นโดยการxxxxxxแรงกดทับที่แผลในขณะที่เดิน จากนั้นได้นําบทเรียนที่เรียนรู้จากผู้ป่วยและ หลักฐานจากวารสารที่เผยแพร่ นํามาวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อความรู้เพื่อใช้ในการสร้างนวัตกรรม รองเท้า จากนั้นได้นํานวัตกรรมรองเท้าxxxxxxใช้กับผู้ป่วยอีก 5 ราย ซึ่งไม่เคยใช้รองเท้าxxxxxx เก็บ รวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมจากผู้ป่วยใหม่เหล่านี้เพื่อประเมินแผล ความคิดเห็นและความพึงxxxxxxxมีต่อ นวัตกรรมรองเท้า ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยมีความคิดเห็นต่อนวัตกรรมรองเท้าว่าสวมใส่สบาย มี ความนุ่ม มีการระบายอากาศxxxxxและเดินxxxxxxxxx แผลดีขึ้นเมื่อสวมใส่รองเท้าที่เป็นนวัตกรรมโดยการ
เจาะรูบนพื้นรองเท้ารอบบริเวณที่มีแผล ทําให้ผู้ป่วยxxxxxxเดินได้โดยไม่มีแรงกดที่แผล แผลจึงหาย ภายใน 2-3 สัปดาห์ นอกจากนี้ความพึงxxxxของผู้ป่วยที่มีต่อรองเท้าอยู่ที่ระดับสูงที่สุด (X=4.84, S.D.±0.357)
xxxxxxx xxxxxxxxxxxxx (2555) พัฒนาระบบสารสนเทศ อุปกรณ์ เครื่องมือแพทย์ ห้องผ่าตัด โรงพยาบาลบํารุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนบ มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศ และอุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ในห้องผ่าตัด เพื่อทําระบบxxxxxxมาใช้ในการบริหาร จัดการอุปกรณ์ เครื่องมือแพทย์ต่างๆ ที่มีอยู่ภายในห้องผ่าตัดให้มีประสิทธิภาพ โปรแกรมพัฒนาขึ้นเป็นโปรแกรมที่ ทํางานในลักษณะโปรแกรมประยุกต์เว็บบนเครื่องบริการเว็บแบบอินทราเน็ต ระบบสารสนเทศจะถูก เก็บรวมไว้ที่เครื่องบริการ(server) ภายในโรงพยาบาล โดยผ่านระบบอินทราเน็ต(intranet) จากการ สอบถามความพึงxxxxของผู้ดูแลระบบ จํานวน 5 คน ได้ผลการยอมรับและมีความพึงxxxxในการใช้ งานต่อโปรแกรมอยู่ในระดับดี จากค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.94 ส่วนเบี่ยงxxxมาตรฐาน เท่ากับ 0.47 และ จากการสอบถามผู้ใช้งานระบบจํานวน 105 คน แสดงxxxxxxยอมรับและมีความพึงxxxxในการใช้งาน ต่อโปรแกรมอยู่ในระดับดี จากค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.29 และส่วนเบี่ยงxxxมาตรฐาน เท่ากับ 0.61
xxxxxxxx xxxxxxxxx และคณะ (2561) ระบบแยกประเภทxxxxxx ด้วยวิธีการxxxxxxผลภาพ มีจุดมุ่งหมายเพื่อการศึกษาหาสี ขนาด และความกลมของxxxxxx เพื่อใช้ในการวิเคราะห์xxxxxx เพื่อช่วย ในการเลือกซื้อxxxxxx โดยแบ่งขั้นตอนการทํางานออกเป็น 3 ขั้นตอนหลักๆ คือ ขั้นตอนเตรียมภาพ ก่อนการxxxxxxผลซึ่งเป็นการเตรียมข้อมูลก่อนที่จะทําการxxxxxxผลโดยการทําภาพสีขาวดํา การ ตัดขอบ การปรับขนาดภาพ ขั้นตอนต่อไปจะเป็นขั้นตอนการหาลักษณะพิเศษ โดยการหาค่าสี การหา ขนาด และการหาค่าความกลมของxxxxxx ขั้นตอนสุดท้ายขั้นตอนการแสดงผล โดยการแสดงผลลัพธ์ ออกทางหน้าต่างxxxxxxออกแบบไว้ สําหรับการทดสอบความถูกต้องของระบบโดยใช้ภาพxxxxxx จํานวน 16 ภาพ ระบบให้ความถูกต้องคิดเป็นประมาณ 90 เปอร์เซ็นต์
xxxxx xxxระมาตย์ และxxxxxxxxx ตั้งวรรณวิทย์ (2557) ภาควิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยระบบจะนาพิกัด ที่ตั้งของสถานศึกษาในฐานข้อมูลไปแสดงบนแผนที่ของกูเกิล และxxxxxxxxxxxรูปถ่าย พร้อมระบุ ระดับความเสียหายและระดับน้า การพัฒนาระบบใช้ Android SDK บนสมาร์ทโฟนที่มี ระบบปฏิบัติการxxxดรอยด์ 4.2 ขึ้นไป เพื่อให้xxxxxxรองรับ Google map API version 2 ใช้ Eclipse Development Tools and Java Development Kit (JDK) ใ นส่ วนของ Web-based Application และใช้ CMS และ Google map API version 3 เชื่อมโยงกับฐานข้อมูลของระบบ
ปุญญxxxxx xxxxx xxxxxxxxxxx สายทอง และxxxxxx แก่นxxxxพันธ์ (2557) ภาควิชาสื่อ นฤมิต คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การทํางานของระบบจะเป็นการแสดง พิกัดตําแหน่งของผู้ใช้ที่อยู่ในบริเวณมหาวิทยาลัยมหาสารคาม แผนผังของมหาวิทยาลัยจะแสดงxxxxxxx รูปแบบ 2 มิติและ 3 มิติ ผู้ใช้xxxxxxค้นหาอาคารต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยได้ โดยการพัฒนาระบบ ได้ใช้โปรแกรม Unity 4.3.4 สาหรับพัฒนาเกมลงบนสมาร์ทโฟนและคอมพิวเตอร์ ใช้โปรแกรม Autodesk Maya 2014 สาหรับสร้างแผนผัง 3 มิติ และใช้โปรแกรม Adobe illustrator CC สําหรับ สร้างวัตถุภายในแผนผัง
บทที่ 3 xxxxxxxวิธีวิจัย
Research Methodology
การศึกษาเรื่อง “แอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเอง สําหรับผู้ป่วย เบาหวาน” ผู้วิจัยได้ดําเนินการวิจัยประเภทการวิจัยประยุกต์ กล่าวคือเป็นการวิจัยที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อนํา ผลการวิจัยxxxxxxไปใช้ในการแก้ปัญหาหรือปรับปรุงความเป็นอยู่ของสังคมให้ดีขึ้น และใช้ลักษณะและวิธีการ วิเคราะห์ข้อมูลที่มุ่งค้นคว้าข้อเท็จจริงต่างๆ เพื่อหาข้อสรุปในเชิงปริมาณ เป็นการศึกษาในแนวกว้างมากกว่า แนวลึกเพื่อที่จะนําข้อสรุปต่างๆxxxxxxจากกลุ่มตัวอย่างอ้างอิงไปใช้กับกลุ่มประชากรโดยอาศัยวิธีการทางสถิติ การรวบรวมข้อมูลเน้นหนักไปในทางปริมาณหรือค่าต่างๆที่xxxxxxวัดได้ในเชิงปริมาณ รวมถึงใช้ลักษณะ ศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการวิจัยเป็นการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ใช้การวิจัยเชิงทดลองโดยมีวิธีการควบคุม ตัวแปรเพื่อพิสูจน์ความxxxxxxxxเชิงสาเหตุโดยมีการจัดสถานการณ์ทดลองด้วยการควบคุมระดับของตัวแปรต้น และกําจัดxxxxxxxของตัวแปรภายนอกต่างๆxxxxxxเกี่ยวข้องแล้ววัดผลตัวแปรตามออกมา
วิธีการดําเนินงานวิจัยของงานวิจัยนี้ เป็นไปตามแนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศและการ ออกแบบแอปพลิเคชันxxxดรอยด์ ดังนี้
3.1 ขั้นศึกษาข้อมูล
1) จากการศึกษาข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับหลักการและวิธีการพัฒนาอุปกรณ์โมบายจากหนังสือ เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการxxxดรอยด์
แอปพลิเคชันที่ถูกพัฒนาขึ้น จะอยู่ในรูปแบบของ Native Application บน xxxดรอยด์ (Android) โดยอาศัย Library หรือ SDK ของแพลตฟอร์มนั้นๆ และพัฒนาด้วยภาษาจาวา (Java)
Android
ภาพที่ 3.1 หลักการพัฒนาแอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเอง สําหรับผู้ป่วยเบาหวาน
2) ศึกษาแบบประเมินสภาพเท้าโดยพยาบาล จากคู่มือแนวทางการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
3.2 ขั้นวิเคราะห์
1) ผู้วิจัยได้วิเคราะห์แบบประเมินสภาพเท้าโดยพยาบาล สําหรับการนําภาพxxxxxxจากอุปกรณ์และแอป พลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเองสําหรับผู้ป่วยเบาหวาน ไปแสดงเป็นรายงานการ วิเคราะห์ภาพถ่ายเท้า
2) ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ Application Programming Interface (API) เพื่อเป็นช่องทางการเชื่อมต่อเพื่อ สื่อสารหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลจากระบบหนึ่งไปสู่ระบบอื่นๆ หรือ เป็นการเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้งานกับ เซิร์ฟเวอร์หรือเชื่อมต่อระหว่างเซิร์ฟเวอร์กับเซิร์ฟเวอร์เอง
3.3 ขั้นการออกแบบ
การออกแบบและพัฒนาแอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเองสําหรับ ผู้ป่วยเบาหวาน ดังนี้
1) การออกแบบคุณสมบัติของสมาร์ทโฟนที่จะใช้ ประกอบด้วย
- ขนาด(Size) สมาร์ทโฟนที่มีหน้าจอแสดงผลขนาด 6.26 นิ้ว ในอัตราส่วน 19:5:9 ความละเอียด ระดับ HD+ 1520×720 พิกเซล
- หน่วยxxxxxxผล (CPU) สมาร์ทโฟนที่มีหน่วยxxxxxxผล หรือชิปเซ็ตxxxxxxผล Snapdragon 450 Octa-Core 1.8GHz และ หน่วยxxxxxxผลกราฟฟิก Adreno 506
- หน่วยความจํา (Memory) ขนาด 3GB
- ระบบปฏิบัติการ (Operating System) บนพื้นฐานระบบปฏิบัติการ Android OS เวอร์ชัน 8.1 (Oreo) ซึ่งถูกครอบทับด้วย EMUI 8.2 - แอปพลิเคชัน (Application) ใช้โปรแกรม Android Studio เป็นเครื่องมือในการพัฒนาแอปพลิเคชัน เขียนคําสั่งควบคุมฟังก์ชันด้วยภาษาจาวา
ภาพที่ 3.2 สมาร์ทโฟนทใช้
2) ออกแบบระบบงาน
ผู้วิจัยทําการออกแบบขั้นตอนการทํางานของระบบ “แอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจาก อุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเอง สําหรับผู้ป่วยเบาหวาน” โดยเน้นความง่ายและสะดวกต่อการใช้งาน โดยใช้ เครื่องมือ diagram application แสดงดัง ภาพที่ 3.3
ภาพที่ 3.3 diagram application
3) ออกแบบหน้าจออินเทอร์เฟส (UI)
ภาพที่ 3.4 เป็นการออกแบบหน้าจออินเทอร์เฟส ของระบบ“แอปพลิเคชันวิเคราะห์ ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเอง สําหรับผู้ป่วยเบาหวาน” xxxxxxทําการปรับปรุงและออกแบบให้ง่าย ต่อการใช้งานของผู้ใช้
ภาพที่ 3.4 ออกแบบหน้าจออินเทอร์เฟส
4) การออกแบบรายงาน
จากการศึกษาแบบประเมินสภาพเท้าโดยพยาบาล ผู้วิจัยได้นํามาออกแบบรายงานแบบประเมิน สภาพเท้าโดยแอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเองสําหรับผู้ป่วยเบาหวาน ภาพที่ 3.5
ภาพที่ 3.5 การออกแบบรายงานแบบประเมินสภาพเท้าโดยโดยแอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่าย จากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเอง สําหรับผู้ป่วยเบาหวาน
3.4 ขั้นการพัฒนา
1) การเขียนโค้ดคําสั่งพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการxxxดรอยด์ ด้วยภาษาจาวา (Java) ดัง ตัวอย่างในภาพที่ 3.6
ภาพที่ 3.6 ตัวอย่างการเขียนคําสั่งภาษาจาวา
2) การหาคุณภาพของแอปพลิเคชัน
การทบทวนคุณภาพ (Quality Review) เป็นการทบทวนคุณภาพของเอกสารและกระบวนการผลิต ซอฟต์แวร์โดยทีมงานxxxxxxรับมอบหมาย ดังนี้
การตรวจสอบว่าโครงการดําเนินตามมาตรฐานหรือไม่ ตลอดจนตรวจสอบว่าเอกสารและผลิตภัณฑ์ ซอฟต์แวร์ที่ผลิตได้นั้นตรงตามมาตรฐานหรือไม่ด้วย ส่วนใดที่เบี่ยงxxxไปตามมาตรฐานจะถูกบันทึก และแจ้ง เตือนไปยังผู้รับผิดชอบต่อส่วนที่บกพร่อง
การทบทวนความคืบหน้า (Progress Review)เพื่อเตรียมข้อมูลเกี่ยวกับความคืบหน้าของโครงการ ทั้งด้านกระบวนการทํางานและตรวจทานงาน งบประมาณที่ใช้ไป แผนงาน และตารางการดําเนินxxx
xxxวัดคุณลักษณะของซอฟต์แวร์จึงเกี่ยวข้องกับการประเมินซอฟต์แวร์เพื่อการควบคุมคุณภาพ จาก การประเมินคุณภาพโดยผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า คุณสมบัติของแอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจ เท้าด้วยตนเองสําหรับผู้ป่วยเบาหวาน มีดังนี้
1. มีความถูกต้อง (Correctness)
2. มีความน่าเชื่อถือ (Reliability)
3. ใช้งานง่าย (User Friendliness)
4. มีความง่ายต่อการปรับเปลี่ยน (Adaptability)
5. xxxxxxนําxxxxxxใช้งานใหม่ได้ (Reusability)
6. มีความเข้ากันได้กับระบบที่แตกต่าง (Interoperability)
7. มีประสิทธิภาพ (Efficiency)
8. มีความสะดวกในการเคลื่อนย้าย (Portability)
9. มีความปลอดภัย (Security)
10. แก้ไขข้อบกพร่องได้ง่าย (Xxxxxxxxxxxx)
3.5 ขั้นการทดลองนําไปใช้
1) นําไปใช้กับผู้ป่วยเบาหวานที่พักอาศัยในตําบลหมอกจําแป่ อําเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัด แม่ฮ่องสอน และได้เข้ารับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องจากโรงพยาบาลxxxxxxxxสุขภาพตําบลหมอกจําแป่ จํานวน 10 คน (ใช้กลุ่มผู้ป่วยเดิมจากงานวิจัยครั้งที่แล้ว) เพื่อทดสอบหาข้อบกพร่องและนําไปปรับปรุงบน ระบบปฏิบัติการxxxดรอยด์ให้xxxxxxx ก่อนนําไปประเมินผลขั้นต่อไป
3.6 ขั้นการประเมินผล
การวิจัยครั้งนี้ได้นํา“แอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเอง สําหรับผู้ป่วย เบาหวาน” ที่ผ่านทดสอบและปรับปรุงแก้ไขแล้ว มาประเมินผลจากผู้ทรงคุณวุฒิ หนักงานสาธารณสุขการ โรงพยาบาลxxxxxxxxสุขภาพตําบลหมอกจําแป่ และผู้ป่วยเบาหวาน
การประเมินด้านการออกแบบหน้าจอ ความสะดวกต่อการ ใช้งาน ประสิทธิภาพการทํางาน และ ประโยชน์ต่อการใช้งาน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ การสัมภาษณ์ความคิดเห็นแบบไม่เป็น ทางการสําหรับพนักงานสาธารณสุขที่มีต่อแอปพลิเคชัน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละค่าเฉลี่ย ค่า เบี่ยงxxxมาตรฐาน
บทที่ 4 ผลการวิจัย
Results
การศึกษาเรื่อง “แอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเอง สําหรับผู้ป่วยเบาหวาน” ผู้วิจัยจะนําเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
4.1 ผลการหาประสิทธิภาพของแอปพลิเคชัน
การวัดคุณลักษณะของซอฟต์แวร์จึงเกี่ยวข้องกับการประเมินซอฟต์แวร์เพื่อการควบคุม คุณภาพ จากการประเมินคุณภาพโดยผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า คุณสมบัติของแอปพลิเคชันวิเคราะห์ ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเองสําหรับผู้ป่วยเบาหวาน มีดังนี้
1. มีความถูกต้อง (Correctness) : แอปพลิเคชันมีประสิทธิภาพและและxxxxxxxxxx ช่วย ทําให้การตัดสินใจเป็นไปด้วยความถูกต้อง มีข้อมูลภาพมาก และในทุกxxxxxxxจะนํามาทําการตัดสินใจ ไม่มีความผิดพลาด
2. มีความน่าเชื่อถือ (Reliability) : แอปพลิเคชันที่มีความxxxxxxx xxความถูกต้องและ เชื่อถือได้ การทํางานของโปรแกรมให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องแม่นยํา xxxxxxxxxxxxxx
3. ใช้งานง่าย (User Friendliness) : แอปพลิเคชันใช้งานสะดวกใช้ง่าย โดยเฉพาะผู้ใช้งาน xxxxxxxxxxจะรู้เรื่องคอมพิวเตอร์ xxxxxxเข้าใจได้ เรียนรู้ได้ ปฏิบัติงานได้ ความน่าสนใจ ใช้งานได้ง่าย ตามที่ตั้งไว้
4. มีความง่ายต่อการปรับเปลี่ยน (Adaptability) : แอปพลิเคชันxxxxxxกําหนดได้และ โปรแกรมที่ปลายทางxxxxxxทําตามคําสั่งได้
5. มีประสิทธิภาพ (Efficiency): แอปพลิเคชันxxxxxxทํางานได้ตรงเวลา มีประสิทธิภาพ ตามที่ตั้งไว้
6. มีความสะดวกในการเคลื่อนย้าย (Portability): แอปพลิเคชันxxxxxxใช้งานได้เลยโดยxxx xxxจําเป็นที่ต้องติดตั้งลงในเครื่อง xxxxxxรันตัวเองขึ้นมาได้เลย เหมาะกับคนที่จําเป็นที่ต้องทํางาน แล้วไม่มีเครื่องเป็นของตัวเอง หรือในเครื่องที่ใช้งานอยู่นั้นไม่มีโปรแกรมที่ต้องการติดตั้งอยู่ ก็xxxxxx เอาโปรแกรมที่ต้องการxxxxxxไปใช้งานในเครื่องต่าง ๆ ได้เลย
7. มีความปลอดภัย (Security): ในการรักษาความปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย คอมพิวเตอร์ มีความปลอดภัยของข้อมูล ช่วยในการป้องกันคอมพิวเตอร์จากการบุกรุก การเข้าใช้งาน ไวรัส
8. การยอมรับ (Acceptability) คือ แอปพลิเคชันได้รับการยอมรับจากผู้ใช้ ซึ่งการที่จะได้รับ การยอมรับนั้น เนื่องจากตรงกับความต้องการของผู้ใช้
9. แก้ไขข้อบกพร่องได้ง่าย (Xxxxxxxxxxxx) คือ แอปพลิเคชันxxxxxxปรับแก้ข้อบกพร่องได้
ง่าย
4.2 ผลการทดลอง
4.2.1 ผลการทดสอบการถ่ายภาพ
เป็นกระบวนการถ่ายภาพจากอุปกรณ์ แล้วจากนั้นก็จะทําการบันทึกภาพxxxxxxสําหรับขั้นตอน ถัดไป ทั้งนี้เพื่อให้ภาพxxxxxxตรวจจับได้ง่ายต่อการจําแนก
ครั้งที่ 1 ทดสอบเพื่อหาข้อบกพร่องและนําไปปรับปรุงบนระบบปฏิบัติการxxxดรอยด์ให้ xxxxxxx ตารางที่ 4.1 ส่วนนี้ให้แสดงเป็นตารางรายการการบันทึกภาพ และความแม่นยําในการ ตรวจจับ
ตารางที่ 4.1 ผลการทดสอบบระบบ ครั้งที่ 1
ครั้งที่ 1 ทดสอบ | การจับภาพ (ตรวจจับได้หรือxxxxxx) | การทดสอบการรู้จักรูปร่างเท้า (ถูกต้องหรือไม่ถูก) |
1. | ได้ | ถูก |
2. | ได้ | ถูก |
3. | ได้ | ถูก |
4. | ได้ | ถูก |
5. | ได้ | ถูก |
6. | ได้ | ถูก |
7. | ได้ | ถูก |
8. | ไม่xxx | xxxถูก |
9. | xxx | xxxถูก |
10. | ไม่xxx | xxxถูก |
11. | ได้ | ถูก |
12. | ได้ | ถูก |
13. | ได้ | ถูก |
14. | ได้ | ถูก |
15. | ได้ | ถูก |
จากการนํา “แอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเอง สําหรับผู้ป่วย เบาหวาน” นําไปใช้กับผู้ป่วยเบาหวานจํานวน 10 คน ที่พักอาศัยในตําบลหมอกจําแป่ อําเภอเมือง แม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน ทั้งหมดxxxxxxเข้าทําการทดลองใช้งาน ครั้งที่ 1 พบว่า แอปพลิเคชัน xxxxxxทํางานได้ตามฟังก์ชันยังxxxxxนัก พบปัญหาการเชื่อมต่อเครือข่ายระหว่างอุปกรณ์เนื่องจาก ปริมาณกระแสไฟฟ้าxxxxxxxxxx และระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตไม่xxxxxx xxxต้องนําอุปกรณ์ส่งให้ บริษัททําการปรับแก้วงจรควบคุม
ตารางที่ 4.1 ผลการทดสอบบระบบ ครั้งที่ 1 (ต่อ)
ครั้งที่ 1 ทดสอบ | การจับภาพ (ตรวจจับได้หรือxxxxxx) | การทดสอบการรู้จักรูปร่างเท้า (ถูกต้องหรือไม่ถูก) |
16. | ได้ | ถูก |
17. | ได้ | ถูก |
18. | ได้ | ถูก |
19. | ได้ | ถูก |
20. | ได้ | ถูก |
21. | ได้ | ถูก |
22. | ไม่xxx | xxxถูก |
23. | ไม่xxx | xxxถูก |
24. | ได้ | ถูก |
25. | ได้ | ถูก |
26. | ได้ | ถูก |
27. | ได้ | ถูก |
28. | ได้ | ถูก |
29. | ได้ | ถูก |
30. | ได้ | ถูก |
สรุป | 20/30 | 15/30 |
ร้อยละ | 66.67 | 50.00 |
ครั้งที่ 2 ทดสอบเพื่อนําไปประเมินผลขั้นต่อไป
หลังจากการทดสอบครั้งที่ 1 ตามข้อเสนอแนะของผู้ใช้งานและปัญหาที่พบจากการทดสอบ ครั้งที่ 1 ผู้วิจัยได้ทําการปรับปรุงอุปกรณ์ไม้ถ่ายเท้าด้วยตนเองสําหรับผู้ป่วยเบาหวาน และปรับ UI ของแอปพลิเคชัน เพื่อให้ใช้งานง่าย
ภาพที่ 4.1 ทดลองใช้แอปพลิเคชันร่วมกับไม้ถ่ายเท้าด้วยตนเองสําหรับผู้ป่วยเบาหวาน
ตารางที่ 4.2 ผลการทดสอบระบบ ครั้งที่ 2
ครั้งที่ 2 ทดสอบ | การจับภาพ (ตรวจจับได้หรือxxxxxx) | การทดสอบการรู้จักรูปร่างเท้า (ถูกต้องหรือไม่ถูก) |
1. | ได้ | ถูก |
2. | ได้ | ถูก |
3. | xxx | xxxถูก |
4. | ได้ | ถูก |
5. | ได้ | ถูก |
6. | ได้ | ถูก |
7. | ได้ | ถูก |
8. | xxxxxx | ถูก |
9. | ได้ | ถูก |
10. | ไม่xxx | xxxถูก |
11. | ได้ | ถูก |
12. | ได้ | ถูก |
ตารางที่ 4.2 เป็นส่วนแสดงเป็นตารางรายการการบันทึกภาพ และความแม่นยําในการ ตรวจจับ ของการทดสอบครั้งที่ 2 พบว่าประสิทธิภาพxxxxxขึ้น
ตารางที่ 4.2 ผลการทดสอบระบบ ครั้งที่ 2(ต่อ)
ครั้งที่ 2 ทดสอบ | การจับภาพ (ตรวจจับได้หรือxxxxxx) | การทดสอบการรู้จักรูปร่างเท้า (ถูกต้องหรือไม่ถูก) |
13. | ได้ | ถูก |
14. | ได้ | ถูก |
15. | ได้ | ถูก |
16. | ได้ | ถูก |
17. | ได้ | ถูก |
18. | xxx | xxxถูก |
19. | ได้ | ถูก |
20. | ได้ | ถูก |
21. | ได้ | ถูก |
22. | ไม่xxx | xxxถูก |
23. | ไม่xxx | xxxถูก |
24. | ได้ | ถูก |
25. | ได้ | ถูก |
26. | ได้ | ถูก |
27. | ได้ | ถูก |
28. | ได้ | ถูก |
29. | ได้ | ถูก |
30. | ได้ | ถูก |
สรุป | 26/30 | 25/30 |
ร้อยละ | 86.66 | 83.33 |
4.3 ผลการประเมินผล
4.3.1 การประเมินผลการทดสอบ การวิจัยครั้งนี้ได้นํา“แอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเอง
สําหรับผู้ป่วยเบาหวาน” ที่ผ่านทดสอบและปรับปรุงแก้ไขแล้ว จากผู้ทรงคุณวุฒิ มาทดสอบซ้ํา ที่ สาธารณสุขการโรงพยาบาลxxxxxxxxสุขภาพตําบลหมอกจําแป่ และผู้ป่วยเบาหวาน
พบว่า ระดับความxxxxxxในรายการการบันทึกภาพ และความแม่นยําในการตรวจจับภาพที่ ตรงกับการตรวจด้วยพยาบาลมีความแม่นยําสูงขึ้น
4.3.2 การประเมินผลความพึงxxxxของผู้ใช้xxx
xxxประเมินด้านการออกแบบหน้าจอ ความสะดวกต่อการ ใช้งาน ประสิทธิภาพการทํางาน และประโยชน์ต่อการใช้งาน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ การสัมภาษณ์ความคิดเห็น แบบไม่เป็นทางการสําหรับพนักงานสาธารณสุขที่มีต่อแอปพลิเคชัน วิธีการนี้ใช้ในกรณีข้อมูลมี จํานวนน้อย (n =10 ) จะใช้การทดสอบค่าเฉลี่ยทั้งสองครั้งเป็นxxxxxจากกัน
ผลการวิเคราะห์แบบสอบถามความคิดเห็นและความพึงxxxxของผู้ป่วยต่อการใช้แอปพลิเค ชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเอง สําหรับผู้ป่วยเบาหวาน
กําหนดให้
𝑥̅ แทน ค่าเฉลี่ย
SD แทน ส่วนเบี่ยงxxxมาตรฐาน
n แทน จํานวนคนในกลุ่มตัวอย่าง
คําถามที่เป็นแบบมาตรประมาณค่า (Rating scale questionnaires) จะกําหนดเกณฑ์คะแนนดังนี้ 5 หมายถึง ระดับความพึงxxxxมากทีสุด
4 หมายถึง ระดับความพึงxxxxมาก
3 หมายถึง ระดับความพึงxxxxปานกลาง
2 หมายถึง ระดับความพึงxxxxน้อย
1 หมายถึง ระดับความพึงxxxxน้อยที่สุด ทั้งนี้ในการแปลค่าของคะแนน การแปลความหมายค่าเฉลี่ยของผลการวิเคราะห์ข้อมูล มีหลักในการพิจารณาดังนี้ (Best, 1986, pp. 181-183)
4.51 - 5.00 หมายถึง มากที่สุด
3.51 - 4.50 หมายถึง มาก
2.51 - 3.50 หมายถึง ปานกลาง
1.51 - 2.50 หมายถึง น้อย
1.00 - 1.50 หมายถึง น้อยที่สุด
ตารางที่ 4.3 ลักษณะทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง จํานวน 10 คน จําแนกตาม เพศ อายุ อาชีพ
ข้อมูลทั่วไป | จํานวน(คน) | ร้อยละ |
1. เพศ | ||
-ชาย | 1 | 10.0 |
-หญิง | 9 | 90.0 |
รวม | 10 | 100.0 |
2. อายุ | ||
40 - 50 ปี | 2 | 20.0 |
51 – 60 ปี | 1 | 10.0 |
61 - 70 ปี | 3 | 30.0 |
71 – 80 ปี | 1 | 10.0 |
81 – 90 ปี | 3 | 30.0 |
รวม | 10 | 100.0 |
3. อาชีพ | ||
เกษตรกร | 3 | 30.0 |
รับจ้างทั่วไป | 2 | 20.0 |
แม่บ้าน/พ่อบ้าน | 5 | 50.0 |
จากตาราง ที่ 4.3 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากเป็นผู้หญิง จํานวน 9 คน คิดเป็นร้อย ละ 90.0 เพศชาย จํานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 10.0 ช่วงอายุของตอบแบบสอบถาม มากที่สุดอายุ เท่ากันสองช่วง คือ 81-90 ปี และ 61- 70 ปี อายุ มีจํานวน 3 คน คิดเป็น ร้อยละ 30.0 เท่าๆกัน
รองลงมาคือช่วงอายุ 40 - 50 ปี มีจํานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 20.0 และช่วงอายุที่น้อยที่สุดมี
จํานวนเท่ากันสองช่วง คือ 51 – 60 ปี และ 71 – 80 ปี มีจํานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 10.0 เท่าๆ กัน อาชีพของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากเป็นแม่บ้านและพ่อบ้าน ถึงจํานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ
50.0 รองลงมาคืออาชีพเกษตรกร จํานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 30.0 และน้อยที่สุดประกอบอาชีพ รับจ้าง จํานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 20.0
จากตารางที่ 4.4 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงxxxxต่อการใช้การใช้แอปพลิเคชัน วิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเอง สําหรับผู้ป่วยเบาหวาน โดยเฉลี่ยทั้งกลุ่ม เท่ากับ
4.18 ส่วนเบี่ยงxxx 0.94 สรุปผลได้ว่า ผู้ใช้งานมีความพึงxxxx ระดับมาก
ตารางที่ 4.4 ผลการวิเคราะห์แบบสอบถามความคิดเห็นและความพึงxxxx ของผู้ป่วยต่ออุปกรณ์
คําถาม | (n=10) | |||
𝒙̅ | SD | สรุปผล | อันดับ | |
1. ด้านลักษณะทั่วไปของแอปพลิเคชัน | ||||
1.1 ขนาดตัวหนังสือ | 4.40 | 0.78 | ระดับมาก | 2 |
1.2 ขนาดภาพ | 3.30 | 1.42 | ระดับปานกลาง | 4 |
1.3 สี | 4.10 | 0.88 | ระดับมาก | 3 |
1.4 เมนู | 4.60 | 0.52 | ระดับมากที่สุด | 1 |
รวม(1) | 4.10 | 1.03 | ระดับมาก | |
2. ด้านการใช้งานแอปพลิเคชัน | ||||
2.1 มีความสะดวกในการเข้าใช้งาน | 3.40 | 0.97 | ระดับปานกลาง | 3 |
2.2 มีความใช้งานง่าย | 3.60 | 0.97 | ระดับมาก | 2 |
2.3 มีความถูกต้อง | 4.70 | 0.53 | ระดับมากที่สุด | 1 |
รวม(2) | 3.90 | 0.82 | ระดับมาก | |
3. ความพึงxxxxในภาพรวมของแอปพลิเคชัน | ||||
3.1 มีประสิทธิภาพ | 4.50 | 0.53 | ระดับมากที่สุด | 2 |
3.2 มีความเหมาะสมต่อการตรวจเท้าด้วยตนเอง | 4.50 | 0.53 | ระดับมากที่สุด | 2 |
3.3 มีแนวโน้มเป็นที่ยอมรับต่อผู้ป่วยได้ | 4.70 | 0.48 | ระดับมากที่สุด | 1 |
รวม(3) | 4.57 | 0.50 | ระดับมากที่สุด | |
รวมทั้งหมด (1+2+3) | 4.18 | 0.76 | ระดับมาก |
บทที่ 5 การสรุปผล อภปรายผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ
Conclusion Recommendation
5.1 การสรุปผลการวิจัย
1) จากการศึกษาองค์ประกอบของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้สร้างแอปพลิเคชัน พบว่า แอป พลิเคชันที่ถูกพัฒนาขึ้น จะอยู่ในรูปแบบของ Native Application บน xxxดรอยด์ (Android) โดย อาศัย Library หรือ SDK ของแพลตฟอร์มนั้นๆ และพัฒนาด้วยภาษาจาวา (Java) ซึ่งสอดคล้องกับ xxxxx xxxระมาตย์ และxxxxxxxxx ตั้งวรรณวิทย์ (2557) ภาควิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยระบบจะนาพิกัดที่ตั้ง ของสถานศึกษาในฐานข้อมูลไปแสดงบนแผนที่ของกูเกิล และxxxxxxxxxxxรูปถ่าย พร้อมระบุระดับ ความเสียหายและระดับน้า การพัฒนาระบบใช้ Android SDK บนสมาร์ทโฟนที่มีระบบปฏิบัติการ xxxดรอยด์ 4.2 ขึ้ น ไ ป เพื่ อ ใ ห้ xxxxxxรองรับ Google map API version 2 ใ ช้ Eclipse Development Tools and Java Development Kit (JDK) ในส่วนของ Web-based Application และใช้ CMS และ Google map API version 3 เชื่อมโยงกับฐานข้อมูลของระบบ จึงสรุปได้ว่า เครื่องมือที่จะใช้สร้างแอปพลิเคชันที่เลือกใช้เหมาะสม
2) จากการประเมินคุณภาพของแอปพลิชันโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า แอปพลิเคชันมีคุณสมบัติ เป็นไปตามคุณภาพของซอฟต์แวร์ ประกอบด้วย ความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ ความxxxxxxx ใช้งาน ง่าย มีความง่ายต่อการปรับเปลี่ยน xxxxxxนําxxxxxxใช้งานใหม่ได้ มีความเข้ากันได้กับระบบที่ แตกต่าง มีประสิทธิภาพ มีความสะดวกในการเคลื่อนย้าย มีความปลอดภัย แก้ไขข้อบกพร่องได้ง่าย ที่เป็นไปตามคุณลักษณะxxxxxของระบบสารสนเทศ
3) ผลการศึกษา ความพึงxxxxของผู้ใช้ที่มีต่อแอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจ เท้าด้วยตนเอง สําหรับผู้ป่วยเบาหวาน จํานวน 10 คน ผลการวิเคราะห์อยู่ใน ระดับมาก (𝒙̅ = 4.18, SD = 0.76) สอดคล้องกับxxxxxxx xxxxxxxxxxxxx (2555) พัฒนาระบบสารสนเทศ อุปกรณ์ เครื่องมือ แพทย์ ห้องผ่าตัด โรงพยาบาลบํารุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนบ มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและพัฒนา ระบบสารสนเทศและอุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ในห้องผ่าตัด เพื่อทําระบบxxxxxxมาใช้ในการบริหาร จัดการอุปกรณ์ เครื่องมือแพทย์ต่างๆ ที่มีอยู่ภายในห้องผ่าตัดให้มีประสิทธิภาพ โปรแกรมพัฒนาขึ้น เป็นโปรแกรมที่ทํางานในลักษณะโปรแกรมประยุกต์เว็บบนเครื่องบริการเว็บแบบอินทราเน็ต ระบบ สารสนเทศจะถูกเก็บรวมไว้ที่เครื่องบริการ(server) ภายในโรงพยาบาล โดยผ่านระบบอินทราเน็ต (intranet) จากการสอบถามความพึงxxxxของผู้ดูแลระบบ จํานวน 5 คน ได้ผลการยอมรับและมี ความพึงxxxxในการใช้งานต่อโปรแกรมอยู่ในระดับดี จากค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.94 ส่วนเบี่ยงxxx
35
มาตรฐาน เท่ากับ 0.47 และจากการสอบถามผู้ใช้งานระบบจํานวน 105 คน แสดงxxxxxxยอมรับและ มีความพึงxxxxในการใช้งานต่อโปรแกรมอยู่ในระดับดี จากค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.29 และส่วนเบี่ยงxxx มาตรฐาน เท่ากับ 0.61
5.2 อภิปรายผลการวิจัย
1) การทํางานของแอปพลิเคชันเป็นตามวัตถุประสงค์ ยกเว้นกรณีที่มีการบันทึกภาพต่อกัน จํานวนมาก ระบบจะไม่xxxxxxตรวจจับได้ทั้งหมดอย่างแม่นยํา
2) ปัญหาด้านการพัฒนาฮาร์ดแวร์ เนื่องจากอุปกรณ์เป็นเครื่องต้นแบบที่พิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ สามมิติ ส่งผลให้ความxxxxต่อการใช้งาน ในระยะเวลาการใช้งานยังไม่มากนัก จะพบปัญหาเรื่อง แบตเตอรี่ และการเชื่อมต่อเครือข่าย
5.3 ข้อเสนอแนะ
เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเตอร์เน็ตมีการพัฒนาต่อเนื่องอย่างรวดเร็ว ดังนั้นการ พัฒนาแอปพลิเคชันในxxxxxนั้น จะxxxxxxxxxxxการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และผู้ป่วยที่อยู่ ห่างไกลได้โดยผ่านแอปพลิเคชันได้
เอกสารอ้างอิง
x x x x x xx x x x xx . ( 2 5 5 7 ) . แ อ พ พ ลิ เ ค ชั่ น xx x x ะ ไ ร . [อ อ น ไ ล น์ ] . สื บ ค้ น จ า ก : xxxxx://xxxxx.xxxxxx.xxx/xxxx/xxxxxxxxxxxxxxx/xxxxx-xxxx-xxxx-xxxxxxx-xxxxxxxx- application-laea-program. เมื่อxxxxxx 5 เมษายน 2562.
xxxxxxx วงxxxxนันทร์ และคณะ. (2556). แอพพลิเคชั่นบนมือถือ. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : xxxxx://xxxxx.xxxxxx.xxx/x/xxxxxx.xxx/xxxxxxxxxxxxxxxxx/xxx-xxxx-xxxxx-xxxxxx- application เมื่อxxxxxx 5 เมษายน 2562.
บริษัท หาดใหญ่แอปพลิเคชัน จํากัด. (2561). 5 ขั้นตอน กระบวนการพัฒนาโมบายล์ แอปพลิเคชัน.
[ออนไลน์]. สืบค้นจาก : xxxxx://xxx.xxxxxxxxx.xx.xx/xxxxxxx/. เมื่อxxxxxx 5 เมษายน 2562. สมาคมโฆษณาดิจิทัล (ประเทศไทย). Digital Advertising Association (Thailand). [ออนไลน์]. สืบค้น
จาก : xxxx://xxx.xxxx.xx.xx/xxxxx.xxx . [2562, 18 xxxxxx]
AppBrain States. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : xxxx://xxx.xxxxxxxx.xxx/xxxxx/xxxxx-xxxxx [2562, 18 xxxxxx]
Xxx HC, Xxxxx GJ, Xxxx CC, Xxxxx XX. (2010). A two-tier test approach to developing locationaware mobile learning systems for natural science courses. Computers & Education; 1618–1627.
Xxxxx GJ, Xx PH, Ke HR. (2011). An interactive concept map approach to supporting mobile learning activities for natural science courses. Computers & Education; 2272– 2280.
Xxxxx GJ, Xxxxx HF. (2011). A formative assessment-based mobile learning approach to improving the learning attitudes and achievements of students. Computers & Education; 1023–1031.
Kunyanuth Kularbphettong, Rungnapa Putglan, Nisnart Tachpetpaiboon, Chollticha Tongsiri and Pattarapan Roonrakwit. (2015). Developing of mLearning for Discrete Mathematics based on android Platform, 7th World Conference on Educational Sciences, (WCES- 2015); 793- 796.
Xxxxx, X., Xxxxxx, X., Xxxx, W., Xxxxxx, C., Xxxxxxx, G and Xxx, G. (2014). Fostering geospatial thinking in science education through a customizable smartphone application, British Journal of Educational Technology; 160-170.
37
เอกสารอ้างอิง (ต่อ)
Rattanathip Rattanachai, Xxxx Xxxxxxxxxx, and Kunyanuth Kularbphettong. (2014).
Developing a Lifestyle of Thai Buddhist Knowledge Mobile Application, In Proceeding of 6th World Conference on Educational Sciences; 729 – 731.
Xxxxxx, X., Xxxxxxxx, P., Xxxxxx, M. & Xxxxxx, X. (2013). Mobilising teacher education : A study of a professional learning community. Teacher Development, 17(1); 1-18.
Xxxx G, Xxxx NS, Xxxxxxx, Xxxxxxx E, Xxxxxxxx T, Xxx X. (2013). The effectiveness of utomatic text summarization in mobile learning contexts. Computers & Education; 233–243.
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
การใช้งาน ระบบสตรีมภาพผ่านทาง Raspberry pi โดยใช้ pi camera และดูภาพผ่านทาง Application Android
1.การเรม ่ ใช้งานระบบสตรีมภาพผ'านทางRaspberrypi
1.1 อุปกรณ์
รูป1.1.1 บอร์ดpizeroพร้อมกล้อง
1.2อุปกรณ์ที่ต้องมีเพ ่อใช้ในการลงระบบปฏ บัต การ มีดังนี้
1.2.1 Raspberry Pi จะเป็น pi zero
1.2.2 USBmicropower supplyสาหรับpizero
1.2.3 SD Card/ Micro SD card ความจุอย'างน้อย 8 GB1.2.3 คอมพ วเตอร์
PC / Laptop
1.3 การดาวน์โหลดไฟล์ image
1.3.1 เล อกดาวน์โหลดไฟล์ image อย'างเช'น Raspbian ซึ่งเป็น Official OS ของ Raspberry pi หร อ OS อ ่นๆอย'าง Ubuntu Mate ไป ดาวน์โหลดได้ตามล งก์นี้ xxxxx://xxx.xxxxxxxxxxx.xxx/xxxxxxxxx/
รูป 1.3.1.1 การดาวน์โหลดOS
1.3.2 กด Downlods และเล อกระบบปฏ บัต การ Raspbian
1.3.3 กดดาวน์โหลด Raspbian Stretch Lite และท าการแตกไฟล์ออกมาเป็น .img
รูป 1.3.3.1 เล อกระบบปฏ บัต การ Raspbian Stretch Lite
รูป 1.3.3.2 การแตกไฟล์ os ที่ดาวน์โหลดมาแล้ว
1.4 การเขียนไฟล์ image ลง SDCard
1.4.1 การดาวน์โหลดโปรแกรม Win32DiskImager โดยไปที่ xxxxx://xxxxxxxxxxx.xxx/xxxxxxxx/xxx00xxxxxxxxxx/ มาต ดตั้ง เพ ่อใช้ใน การเขียนไฟล์ image ลง SD Card
1.4.2 เปิดโปรแกรม Win32DiskImager ขึ้นมา กดปุ่มรูปโฟลเดอร์ จะขึ้นหน้าต'างให้เราไปเล อก ไฟล์ .img ท าการเล อกแล้วกด Open
รูป 1.4.2.1 โปรแกรม Win32DiskImager
รูป 1.4.2.2 เล อกไฟล์ OS Raspbian Stretch Lite
1.4.3 ท าการเล อก Device ซึ่งก ค อ drive ของ SD card ที'เราฟอร์แมตเตรียมไว้ แล้วกดปุ่ม
Write แล้วมันจะมีหน้าต'างขึ้นมาให้เราย นยันว'าจะเขียนลงไดร์ฟหร อไมก' กด Yes
รูป 1.4.3.1เขียนไฟล์ลง sd card
รูป 1.4.3.1เขียนไฟล์ลง sd card
1.4.4 เสร จแล้วจะขึ้นข้อความ “Write Successful.” กด OK แล้ว Exit
1.4.5 กด OK แล้ว กดออกโปรแกรม
1.5 การใช้งานกับ RaspberryPi
1.5.1 นา SDcard ที่เขียน image แล้วไปใส'ช'อง SD Card ของ pizero ต'อพอร์ต usb เข้ากับ คอมพ วเตอร์ เปิด command prompt และพ มพ์ค าสั่ง ssh xx@xxxxxxxxx.xxxxx และใส'รหัส raspberry
รูป 1.5.1.1 หน้า command line ของ pi zero
1.6. การเปิดใช้งานกล้อง picamera
1.6.1 เปิดหน้าต'าง Terminal และพ มพ์ค าสั่ง sudo raspi-config
1.6.2 เล อก InterfacingOptions
1.6.3 เล อก Camera
1.6.4 ไปที่เมนูInterfacesเล อกEnabledที่Cameraและเล อกOK
1.6.5. ค้นหา IP ของ raspberry pi โดยพ มพ์ค าสั่ง ifconfig >> Copy IP
1.7. การดาวน์โหลดโค้ดโปรแกรม
1.7.1 copy โค้ดโปรแกรม จาก xxxxx://xxx.xx/0XXxXx0
# Web streaming example
# Source code from the official PiCamera package
# xxxx://xxxxxxxx.xxxxxxxxxxx.xx/xx/xxxxxx/xxxxxxx0.xxxx#xxx-xxxxxxxxx
import io
import picamera import logging import socketserver
from threading import Condition from http import server PAGE="""\
<html>
<head>
<title>Raspberry Pi - Surveillance Camera</title>
</head>
<body>
<center><h1>Raspberry Pi - Surveillance Camera</h1></center>
<center><img src="stream.mjpg"width="640" height="480"></center>
</body>
</html> """
class StreamingOutput(object):
def init (self): self.frame = None self.buffer=io.BytesIO() self.condition = Condition() def
write(self, buf):
if buf.startswith(b'\xff\xd8'):
# Newframe, copy the existing buffer's content and notify all # clientsit's available self.buffer.truncate() with
self.condition:
self.frame = self.buffer.getvalue() self.condition.notify_all() xxxx.xxxxxx.xxxx(0)
return self.buffer.write(buf)
class StreamingHandler(server.BaseHTTPRequestHandler): def do_GET(self): if self.path == '/':
self.send_response(301)
self.send_header('Location', '/index.html') self.end_headers()
elif self.path =='/index.html':
content= PAGE.encode('utf-8') self.send_response(200) self.send_header('Content-Type', 'text/html') self.send_header('Content-Length', len(content)) self.end_headers() self.wfile.write(content)
elif self.path == '/stream.mjpg':
self.send_response(200) self.send_header('Age', 0)
self.send_header('Cache-Control', 'no-cache, private') self.send_header('Pragma', 'no- cache')
self.send_header('Content-Type', 'multipart/x-mixed-replace; boundary=FRAME') self.end_headers() try:
while True:
with output.condition: output.condition.wait()
frame = output.frame self.wfile.write(b'--FRAME\r\n')
self.send_header('Content-Type', 'image/jpeg')
self.send_header('Content-Length', len(frame)) self.end_headers()
self.wfile.write(frame) self.wfile.write(b'\r\n') except Exceptionase: logging.warning(
'Removedstreamingclient%s:%s', self.client_address, str(e))
else:
self.send_error(404) self.end_headers()
classStreamingServer(socketserver.ThreadingMixIn,server.HTTPServer): allow_reuse_address =True daemon_threads = True
with picamera.PiCamera(resolution='640x480', framerate=24) as camera: output= StreamingOutput() #UncommentthenextlinetochangeyourPi'sCamerarotation(indegrees) #camera.rotation =90
camera.start_recording(output, format='mjpeg') try: address =('', 8000)
server = StreamingServer(address, StreamingHandler) server.serve_forever() finally: camera.stop_recording()
1.7.2 เปิด python IDLE วางโค้ดโปรแกรมใน python IDLE
1.7.3 ตั้งช ่อและ save เป็นไฟล์ .py
1.8ว ธีrunโปรแกรม
8.1 xxxxxxxxภาพผ'าน ip address โดยพ มพ์ ip ของ raspberrypi เคร ่องของเราลงไปใน เบราว์เซอร์
เช'น xxxx://000.000.0.000:0000/xxxxx.xxxx หมายเลข port xxxxxxก าหนดได้ในโค้ด โปรแกรม
1.9 การรันโปรแกรมxxxxxมัต เม ่อบูต OS
>>พ มพ์ค าสั่ง sudonano/etc/rc.local ให้ใส'ค าสั่ง python3
/home/pi/rpi_camera_surveillance_system.py หลังfi Save โดยกด CTRL X และ ENTER
และ reboot raspberrypi
สร้าง App Android เพ ่อใช้ดูภาพผ่านม อถ อและ save ภาพ จากกล้องของraspberry pi
2.สร้างAppAndroid เพ ่อใช้ดูภาพผ'านม อถ อ
2.1 ดาวน์โหลดโปรแกรม AndroidStudio และต ดตั้งโดยxxxxxxxxx xxxxx://xxxxxxxxx.xxxxxxx.xxx/xxxxxx/ หร อดาวน์โหลดไฟล์ apk ที่xxxxxx ต ดตั้งลงในโทรศัพท์ได้ทันที xxxxx://xxxxx.xxxxxx.xxx/xxxx?xxx00x0XxXxxxXxXx0xxxXXX0xx0xXX-0xX0
2.2 ต ดตั้งกด Next จนมาxxx'ที่หน้าก าหนด Path ของ Android Studio Setup
2.3 ส าหรับเคร ่องที'ไม'เคยลง Java มาก'อนเลย xxxxxxเต อนให้ไป downloadJAVASDK 7 โดยเล อก โหลด version ล'าสุด เม ่อดาวน์โหลดมาแล้วให้กดต ดตั้งได้เลย
าการแตกไฟล์
2.4 เร ่มท าแอปพล เคชันโดยดาวน์โหลดโค้ดจาก xxxxx://xxxxxx.xxx/xxxxxx/xxxxx-xxxx.xxx และ ท
2.5 ให้ท าการคล ๊กขวาที'ไฟล์ที'โหลดมาและเล อก extract here
2.6 เปิดโปรแกรม android studio ขึ้นมาและน าไฟล์ไปไว้ที่ AndroidStudioProjects เปิดไฟล์โค้ด โปรแกรมที่โหลดมา และกด run โปรแกรม
2.7 ถ้าโปรแกรมไม'มี error ใดๆ จะxxxxxxต ดตั้งลงโทรศัพท์ได้
2.8 ท าฟังชันก์ save รูปภาพลงในโทรศัพท์ โดยเข้าไปแก้ไขไฟล์ IpCamSnapshotActivity.java
2.9 เพ ่มโค้ดต'อไปนี้เพ 'อเพ 'มฟังชันก์บันทึกรูปภาพ โดยเพ ่มหลังจากค าสั่ง
imageView.setImageBitmap(lastPreview); ในไฟล์ IpCamSnapshotActivity.java บรรทัดที่ 121
imageView.buildDrawingCache();
Bitmap bm=imageView.getDrawingCache();
Bitmapresized = Bitmap.createScaledBitmap(bm, 640, 480, true); OutputStream fOut =null; String timeStamp = new SimpleDateFormat("yyyyMMdd_HHmmss").format(new Date()); Stringfname="Shutta_"+timeStamp+".jpg"; Uri outputFileUri;
try {
File root = new File(Environment.getExternalStorageDirectory()
+ File.separator + "RaspiStreamCam" + File.separator); root.mkdirs(); File sdImageMainDirectory = new File(root, fname); outputFileUri = Uri.fromFile(sdImageMainDirectory); fOut = new FileOutputStream(sdImageMainDirectory);
} catch (Exception e) {
}
try {
resized.compress(Bitmap.CompressFormat.PNG, 100, fOut); fOut.flush();
fOut.close();
} catch (Exception e) {
}
2.10 เพ ่มโค้ดเสร จแล้วให้ท าการกด run โปรแกรม เพ ่อต ดตั้งลงในโทรศัพท์ม อถ อ
2.11 เม ่อต้องการถ'ายรูปและบันทึกรูปให้กดปุ่มด้านบนขวา รูปจะถูกบันทึกลงในโทรศัพท์ โฟลเดอร์ช ่อ
RaspiStreamCam
ประวัติคณะผู้วิจัย
1. หัวหน้าโครงการวิจัย
ชื่อ–xxxx xxxxxxxxx xxxxxxxxx
วัน เดือน ปีเกิด 5 มิถุนายน 2520
หน่วยงานและสถานที่อยู่ที่ติดต่อ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน
236 หมู่ 3 ตําบลปางหมู อําเภอเมืองแม่ฮ่องสอน
จังหวัดแม่อ่องสอน 58000
ตําแหน่งและประวัติการทํางาน
พ.ศ. 2557 – ปัจจุบัน อาจารย์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
พ.ศ. 2547 – 2557 อาจารย์ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น พ.ศ. 2546 – 2547 xxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
พ.ศ. 2543 – 2545 นักวิชาการศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2542 – 2543 ครูคณิตศาสตร์ โรงเรียนพาณิชยการลานนาเชียงใหม่
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2550 xxxxxศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
พ.ศ. 2542 xxxxxศาสตรxxxxxx สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทุนการวิจัยxxxxxxรับ
พ.ศ. 2563 งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ โดยได้รับการ
สนับสนุนจากสํานักงานการวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2563
พ.ศ. 2562 กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2562
พ.ศ. 2560 กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2559 พ.ศ. 2554 งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยได้รับการสนับสนุน
จากสํานักงานการวิจัยแห่งชาติ(วช.) ปีงบประมาณ 2554
ประวัติคณะผู้วิจัย(ต่อ)
ประสบการณ์งานวิจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อยกระดับการxxxxxxxxxxโดยชุมชนของกลุ่ม ผู้ประกอบการโฮมสเตย์ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน. (กําลังทํา)
แอปพลิเคชันวิเคราะห์ภาพถ่ายจากอุปกรณ์ตรวจเท้าด้วยตนเอง สําหรับผู้ป่วยเบาหวาน. (2563)
ระบบบันทึกข้อมูลการเข้าใช้อาคารวิทยาลัยแม่ฮ่องสอนด้วยการตรวจจับใบหน้า. (2563)
การพัฒนาอุปกรณ์สํารวจเท้าด้วยตนเองสําหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน. (2561)
ศักยภาพเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมสําหรับผู้สูงอายุในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน. (2561)
การศึกษาxxxxxxxจัดการเรียนการสอนและการใช้โปรแกรมไมโครซอฟท์ออฟฟิศของ อาจารย์และนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น. (2556)
การพัฒนาโปรแกรมตรวจสอบการเทียบโอนรายวิชาจากสถานบันการศึกษาอื่นกับ รายวิชาในสังกัดคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น. (2554)
การศึกษาและจัดทําระบบฐานข้อมูลการจัดการธุรกิจลําไยอินทรีย์ใน ภาคเหนือตอนบน ชุดโครงการ การจัดการธุรกิจลําไยอินทรีย์ในเขตภาคเหนือตอนบน. (2554) การถ่ายทอดตํานาน เรื่องราวของชุมชนบ้านปางกื้ด ตําบลอินทขิล ผ่านระบบสารสนเทศ
เพื่อการxxxxxxxxxx. (2553)
ประวัติคณะผู้วิจัย(ต่อ)
2. ผู้ร่วมวิจัย
xxxx-xxxxxxx xxxxxxxx xxxxxxxxx
วัน เดือน ปีเกิด 2 เมษายน 2519
หน่วยงานและสถานที่ติดต่อ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
xxxxxxxxxxxxxxxxxx วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
236 หมู่ 3 ต.ปางหมู อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน 58000
เบอร์โทรศัพท์ 053 - 613263 เบอร์โทรสาร 053 – 613264
เบอร์มือถือ 061-9415361
ตําแหน่งและประวัติการทํางาน
พ.ศ. 2559 - ปัจจุบัน ประธานอาจารย์ประจําหลักสูตรxxxxxศาสตรxxxxxx
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสาร ภาควิชา วิทยาศาสตร์ วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
พ.ศ. 2559 - ปัจจุบัน อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจําหลักสูตร
xxxxxศาสตรxxxxxx สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและ สื่อสาร ภาควิชาวิทยาศาสตร์ วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
พ.ศ. 2558 - 2559 ประธานอาจารย์ประจําหลักสูตรบริหารธุรกิจxxxxxx
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxx วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
พ.ศ. 2558 - 2559 อาจารย์ประจําสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์
วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
พ.ศ. 2557 – 2558 อาจารย์พิเศษ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ประวัติคณะผู้วิจัย(ต่อ)
พ.ศ. 2557 – 2558 อาจารย์พิเศษ สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชxxxxล้านนา (ภาคxxxxx)
พ.ศ. 2556 – 2557 ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าxxxxxxxx
คณะxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxx
พ.ศ. 2555 - 2557 รองประธานสภาคณาจารย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
พ.ศ. 2555 - 2557 เลขานุการสภาคณาจารย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
พ.ศ. 2555 – 2557 กรรมการและเลขานุการหลักสูตร สาขาวิชาระบบสารสนเทศ
xxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxx พ.ศ. 2556 - 2556 xxxxxxxxxxxx xxxxxxxคอมพิวเตอร์
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ พ.ศ. 2551 – 2557 อาจารย์ประจําหลักสูตร สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ
คณะxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxx
พ.ศ. 2550 – 2551 xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
คอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย ราชภัฎอุตรดิตถ์
พ.ศ. 2550 อาจารย์พิเศษ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
พ.ศ. 2547 – 2550 xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
พ.ศ. 2543 – 2547 xxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxx
วิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น
พ.ศ. 2542 - 2543 ครูผู้xxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
โรงเรียนเชียงใหม่บริหารธุรกิจนานาชาติ
พ.ศ. 2541 – 2542 ครูผู้สอน คณะวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนxxxxxxxxxเทคโนโลยี
ประวัติคณะผู้วิจัย(ต่อ)
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2550 xxxxxศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
พ.ศ. 2541 xxxxxศาสตรxxxxxx สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันราชภัฏลําปาง
ทุนการวิจัยxxxxxxรับ
พ.ศ. 2563 งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ โดยได้รับการสนับสนุนจาก สํานักงานคณะกรรมการxxxxxxxxวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ปีงบประมาณ 2563
พ.ศ. 2563 งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ โดยได้รับการสนับสนุนจาก สํานักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ปีงบประมาณ 2563
พ.ศ. 2562 กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2562
พ.ศ. 2562 งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ โดยได้รับการสนับสนุนจาก สํานักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ปีงบประมาณ 2562
พ.ศ. 2560 งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ โดยได้รับการสนับสนุนจาก สํานักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ปีงบประมาณ 2560
พ.ศ. 2553 กองทุนวิจัย คณบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ปีงบประมาณ 2553 พ.ศ. 2552 งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยได้รับการสนับสนุนจาก
สํานักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ปีงบประมาณ 2552
พ.ศ. 2551 งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยได้รับการสนับสนุนจาก สํานักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ปีงบประมาณ 2551
ประวัติคณะผู้วิจัย(ต่อ)
ประสบการณ์งานวิจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ
1. ชื่อผลงานวิจัย xxxxx งามประพฤติ, พุทธชาติ ยมกิจ และ xxxxx พันธุ์แพง. (2563). กล่องจดหมายxxxxxxxxเพื่อบริษัทแอดไวซ์เชียงราย. ใน การประชุมวิชาการ ระดับชาติ “งานประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้ง ที่ 1 (หรือ Sci-Tech 18th)” (น. 748 – 755), 28 กุมภาพันธ์ 2563. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
2. xxxxxxxxxxxxxx xxxxx xxxxxxxxxx, xxxxx คํานวนตา และ xxxxx xxxxxxxxx. (2563). พัดลมไอน้ําxxxxxxxx. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ “งานประชุมวิชาการ ระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้ง ที่ 1 (หรือ Sci-Tech 18th)” (น. 756 – 765), 28 กุมภาพันธ์ 2563. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
3. ชื่อผลงานวิจัย xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx, xxxxxx พันธุ์แพง และ xxxxx พันธุ์แพง. (2563). ระบบบันทึกข้อมูลการเข้าใช้อาคารวิทยาลัยแม่ฮ่องสอนด้วยการ ตรวจจับใบหน้า. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ “งานประชุมวิชาการ ระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 1 (หรือ Sci-Tech 18th)” (น. 766 - 773), 28 กุมภาพันธ์ 2563. เชียงใหม่:มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
4. ชื่อผลงานวิจัย xxxxxxx แน่นแหน้, xxxxxx พรxxxxxxxxกุล, xxxxxxxxx จินา และ xxxxx พันธุ์แพง. (2563). ระบบรดน้ํากระเทียมอัตโนมัติด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ และควบคุมผ่านสมาร์ทโฟน. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ “งานประชุม วิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 1 (หรือ Sci- Tech 18th)” (น. 774 - 781), 28 กุมภาพันธ์ 2563. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัย แม่โจ้.
5. ชื่อผลงานวิจัย The Potential of Information Technology for the Elderly in the Area of Xxx Xxxx Xxx. ปีที่พิมพ์ 2018. การเผยแพร่ Proceedings of The 22nd International Computer Science and Engineering Conference (ICSEC 2018) In conjunction with The 11th Biomedical Engineering International Conference (BMEiCON 2018). แหล่งทุน สํานัก งานวิจัยแห่งชาติ (วช).
ประวัติคณะผู้วิจัย(ต่อ)
6. ชื่อผลงานวิจัย Cigarette Smoke Detectors for Non-Smoking Areas in the Building. ปีที่พิมพ ์ 2018. การเผยแพร่ Proceedings of The 22nd International Computer Science and Engineering Conference (ICSEC 2018) In conjunction w ith The 11th Biomedical Engineering International Conference (BMEiCON 2018). แหล่งทุน -.
7. ชื่อผลงานวิจัย Identity Preservation to Promote Cultural Tourism in Pang Moo Village, Mae Hong Son. ปีที่พิมพ์ 2016. การเผยแพร่ Proceedings of the Third European Academic Research Conference on Global Business, Economics, Finance and Banking (EAR16Paris Conference). แหล่งทุน -.
8. ชื่อผลงานวิจัย การศึกษาและจัดทําระบบฐานข้อมูลการจัดการธุรกิจลําไยอินทรีย์ใน ภาคเหนือตอนบน. ปีที่พิมพ์ 2558. การเผยแพร่ การประชุมวิชาการและการ นําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระดับชาติ ครั้งที่ 1. แหล่งทุน มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
9. ชื่อผลงานวิจัย The development of knowledge management of organic agriculture business for sustainable strength of community entrepreneurs. ปีที่พิมพ์ 2013. การเผยแพร่ International Conference on Interdisciplinary Research and Development in ASEAN Universities. แหล่งทุน มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
xxxxxxxxที่กําลังทํา :
1. ชื่อข้อเสนอการวิจัย การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อยกระดับการxxxxxxxxxx โดยชุมชนของกลุ่มผู้ประกอบการโฮมสเตย์ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน แหล่งทุน : เงิน งบประมาณแผ่นดิน ทุนวิจัย : ทุนงบประมาณแผ่นดินประจําปีงบประมาณ 2563 (สํานักงานคณะกรรมการxxxxxxxxวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.))
2. ชื่อข้อเสนอการวิจัย การพัฒนาระบบควบคุมอุณหภูมิ ความชื้นและความxxxxxใน โรงเรือนเพาะเห็ดและ แปลงสมุนไพรxxxxxxxx โดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ของสรรพสิ่ง แหล่งทุน : เงินงบประมาณแผ่นดิน ทุนวิจัย : ทุนงบประมาณ แผ่นดินประจําปีงบประมาณ 2562 (งบบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม)