สัญญาเลขที่ RDG4510020
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณเรื่อง
การกํากับดูแลโครงสรางสื่อ วิทยุและโทรทัศน
(โครงการ ”การxxxxxxระบบสื่อ”)
โดย xxxxxxxxx xxxxxxxxxxxย สถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย
มีนาคม 2547
สัญญาเลขที่ RDG4510020
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณเรื่อง
การกํากับดูแลโครงสรางสื่อ วิทยุและโทรทศน
(โครงการ ”การxxxxxxระบบสื่อ”)
โดย xxxxxxxxx xxxxxxxxxxxย
สถาบันวิจ เพ่ือการพัฒนาประเทศไทย
สนบสนุนการวิจยั โดย สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย มีนาคม 2547
(ความเห็นในรายงานฉบับนี้เปนของผูวิจยั สกว.ไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไป)
บทค ยอ
การแพรภาพกระจายเสียงสวนใหญเกี่ยวของกับการใชคลื่นความถี่ ซึ่งเปนทรัพยากรที่ มีxxxอยางจํากัด ซึ่งทําใหบริการแพรภาพกระจายเสียงในแตละชวงเวลามีปริมาณจํากัดดวย นอกจากนี้ สื่อยังเปนสินคาท่ีมีผลกระทบ (externality) ตอสังคมอยางกวางขวาง เนื่องจากมี
xxxxxxxตอแนวคิด ท นคติ ตลอดจนการรับรขู อมลขาวู สารของคนในสังคม ทงั ในดานการเมือง
และดานวัฒนธรรม ตลาดของส่ือวิทยุและโทรท
น จึงเปนตลาดท
ีความลมเหลว (market
failure) ในการจัดสรรทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ ความลมเหลวด กลาวจงมเหxxx ุผลใหรฐั
xxxxxxมีบทบาทในการแทรกแซงตลาดสื่อได ทังนี าตรการในการแทรกแซงอาจมีหลายรปู
แบบ เชน การสน สนนxxx เกิดวิทยและxx ทรทัศนสาธารณะ (public broadcasting) หรอื วิทยชมุุ
ชน (community radio) การกํากับดูแลดานเนื้อหา (content regulation) ในบางรูปแบบ ตลอดจนการกํากับดูแลดานโครงสราง (structure regulation)
การกําก ดูแลเชงโิ xxxสรางของสื่อวิทยและxx ทรทัศนอ าจมวี ัตถุประสงครองรบหลั าย
ประการ เชนเพ่ือ สงเสริมความหลากหลายดานโครงสร ง ซงจะเอ่ึ ื้อใหเ กิดความหลากหลาย
ดานเนื้อหา สงเสริมความหลากหลายดานวฒนธรรม และปองกันการครอบงําทางวัฒนธรรมโดย
ตางชาติ สงเสริมใหเกิดบริการอยางท่วถึง (universal access) สน สนนxxx xxxxxxxแขงขนเพั ื่อ
กอใหxxxxxxxพัฒนาบริการxxxxxข สรางค วามเช่ือมนแ่ั กสาธารณะตอความโปรงใสในการกํากับ
ดูแลและการออกใบอนุญาต และควบคุมใหการใชคล่ืนความถี่เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
รายงานการวิจัยเรื่อง “การกํากับดูแลโครงสรางสื่อวิทยุและโทรทัศน นไ้ี ดวิเคราะหแนว
คิดทางทฤษฎีถึงความจําเปนในการกํากับดูแลโครงสร งสื่อวิทยและxx ทรทัศน ทบทวนประสบ
การณในตางประเทศ และนําเสนอขอเสนอแนะเพื่อกําก
ดูแลโครงสร
งสื่อวิทยุและโทรทัศนที่
เหมาะสมสําหรับประเทศไทย ขอเท็จจริงท่ีพบและขอเสนอสําคญในรายงานนี้ได ก
• ประเทศตางๆ สวนใหญมักมีขอจํากดั ในการถือครองหุนสวนของชาว ตางชาติ เนื่องจากเกรงวาจะถูกครอบงําทางวัฒนธรรม ประเทศไทย
ควรมีหลักเกณฑในลักษณะเดียวก โดยควรมขอี กําหนดหามชาวตาง
ชาติถือครองหุนสวนขางมากในกิจการวิทยุ โทรทศั นและโทรทัศนแบบ บอกรับสมาชิก
• ควรมีการจําก
จํานวนสถานีวิทยุและโทรท
นที่ผ
ระxxxxxxxxxxxxละ
รายxxxxxxถือครองไดไวไมใหสูงนกั เชน ไมใหถือครองสถานีโทร ทัศนไดเกิน 1 สถานี และสถานีวิทยุเกินกวารอยละ 20 ของจํานวน
สถานีที่มีxxxในพ ทนน้ัี่ เพ่ือปองกันมิใหผ ูประกอบการรายใดรายหนึ่ง
xxxxxxมีxxxxxxxเหนือประชาชนในพน้ื ท่ีนั้นไดมากเกินไป
• ยงไมมีความจําเปxxxxประเทศไทยจะตองมีกฎเกณฑท่ัวไปในการถือ
ครองข มส่ือระหวางส่ือวิทยโทรทุ ัศนและ สื่อหนงั สือพมพิ เหมอนในตื าง
ประเทศ เน่ืองจากที่ผานมา ตลาดหน สือพมพิ ในประเทศไทยมีการ
แขงขันกันxxxมากพอxxxxx นอกจากนี้ การถือครองขามสื่อยังนาจะมี ประโยชนในการลดตนทุนในการประกอบการของผูประกอบการ ซึ่งนา จะสงผลดีตอผูบริโภคดวย
• การxxxxxxโครงสร
งของสื่อวิทยุและโทรทัศนในประเทศไทยจะเกิดขึ้น
ไมไดห ากไมมีการxxxxxxระบบใบอนุญาตประกอบกิจการ ทง้ นี้ การ xxxxxxระบบใบอนุญาตควรมีแนวทางดังตอไปน้ี
▪ กระบวนการออกใบอนุญาตตองมีความโปรงใสเชน มีขั้นตอน ในการขอรับฟงความคิดเห็นจากสาธารณะ (public consultation)
▪ การออกใบอนุญาตควรคํานึงถึงระยะเวลาที่ค กับการลงทุน
วัตถุประสงคของการประกอบกิจการ แนวทางการพัฒนากิจ การของผูขอรบใบอนุญาต ความตxxxxxในxxxxxxx นการสื่อ สารของผูบริโภครวมท้งผลการประเมินการประกอบกิจการ
▪ ควรมีเง่ือนไขการกํากับดูแลด
นโครงสร
งในใบอนุญาตเชน
xxxxxในการใชโครงสรางพืนฐานและพื้นที่สาธารณะ (rights of
way) และการรวมใชโครงขายของผ ระxxxxxxอื่น
• ควรมีมาตรการในการสงเสริมการแขงขนดังตอไปนี้
▪ เรงประกาศหลักเกณฑในการมีอํานาจเหนือตลาด และหลกั เกณฑในการควบรวมกิจการใหมีความชัดเจนโดยเร็ว
▪ ออกมาตรการปองกันการใช ํานาจเหนือตลาดอยางไมเปน
ธรรมของผูประกอบการสถานีโทรทศั นและวิทยุรายใหญ ท่ีมี สวนแบงตลาดสูง และการมีการผนวกกนในแนวดิ่ง
▪ เรงพัฒนาความxxxxxxในการวิเคราะหการแขงขันในตลาดสื่อ ของคณะกรรมการและเจา หนาที่ กสช.
▪ ควรมีบทบัญญัติปองกันการแขงxxxxxxxxเปนธรรมสําหรับกิจ การแพรภาพกระจายเสียงเปนการเฉพาะ เชน ควรมีกฎ
xxxxxxxในการใชอุปกรณ ับสัญญาณโทรทัศนแบบบอ กรบั
สมาชิก (conditional access equipment) หรือ โปรแกรมราย การอิเล็กทรอนิกส (electronic programming guide) เพื่อปอง
กันมิใหผ ใหม
ระxxxxxxกีดกันการแขงขันจากผูประกอบการราย
Due to the limited amount of frequency spectrum, broadcasting media markets tend to be characterized as oligopolistic markets. There are also positive and negative externalities due to spillover effects of the media on the society. This means that the broadcasting media left on their own is unlikely to produce desirable results for the society and there are clear rationales for government intervention. Such interventions may be in the form of supporting public broadcasting and community radios and imposing content and structural regulations.
Structure regulations can be designed to serve many objectives, ranging from promoting diversity in ownership, which in turns enhancing diversity of opinions, promoting cultural diversity through imposing limits on foreign ownership, promoting universal services of broadcasting media and preventing anti-competitive behaviors of dominant media operators.
The goal of this paper is to provide theoretical foundations for structure regulation of broadcasting media, review international experiences in the area of structure regulations, and propose policy recommendations on structure regulation. Our key findings and recommendations include:
• Foreign ownership restrictions are common in many OECD countries. Thailand may impose similar restriction to prevent cultural domination by foreign media. In particular, foreigners should be prohibited to own or control radio and television stations, including subscription televisions.
• To promote diversity of ownership, an entity should be restricted to own or control more than one television station and more than 20 percent of radio stations in a geographical market.
• There is no need to impose restrictions on cross-media ownership and control. This is because the newspaper market in Thailand has long been competitive and contestable. A cross- media ownership can reduce costs for producers by promoting content sharing and increase consumer welfare.
• There is an urgent need to reform the spectrum licensing process:
▪ Transparency and public participation need to be introduced into the process.
▪ License period for radio should be extended from the current 1-2 years to at least 5 years. Rights and obligations of licensees should also be clearly spelled out to provide more certainty.
• Competition law and policy regime should be strengthened. In particular,
▪ Guidelines to define ‘market dominance’ and to control mergers and acquisitions should be issued.
▪ Staffs of the National Broadcasting Commission’s Secretariat Office should be trained to have market analysis capability.
▪ Sector-specific competition rules for the media market, especially the subscription television market, should be specified. In particular, rules related to the access to conditional access equipment and electronic programming guide (EPG) should be defined.
สารบญั
หนา บทคัดยอ i
Abstract iii
1. บทนํา 1
1.1 เหตุผลในการกํากับดูแลสื่อด นโครงสราง 2
1.2 มาตรการกํากับดูแลทางโครงสราง 4
1.3 การกําก ดูแลความเปนเจา ของและการควบคุมสื่อ 4
1.3.1 การควบคุมการถือหุนโดยบุคคลแตละราย 5
1.3.2 การจํากัดการถือครองโดยตางชาติ (Foreign ownership control) 6
1.3.3 การถือครองข มสื่อ (Cross ownership) 6
1.4 การออกใบอนุญาต (Licensing) 7
1.4.1 การแบงประเภทของใบอนุญาต 8
1.4.2 กระบวนการในการออกใบอนุญาต 10
1.4.3 เน หาในใบอนญุ าต (Content of license) 10
1.4.4 นโยบายการแขงขัน (Competition policy) 11
2. ประสบการณของตางประเทศ 12
2.1 ขอจํากัดในการถือครองโดยคนในชาติ 14
2.2 ขอจํากัดในการถือครองโดยชาวตางชาติ 15
2.3 ขอจํากัดเรื่องการถือครองขามสื่อ และการถือครองส่ือข มสาขา 16
3. การกํากับดูแลเชิงโครงสรา งและสภาพปญหาในประเทศไทย 17
3.1 การกํากับดูแลเชิงโครงสรางในปจจุบัน 17
3.2 xxxxxxxxxxxxxxxxxxxาง 21
4.ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย 24
4.1 กฎเกณฑในดานความเปนเจาของ 24
4.2 กฎเกณฑในดานการออกใบอนุญาต 25
4.3 การสงเสริมการแขงขัน 27
เอกสารอางอิง 29
สารบ
ตาราง
หนา
ตารางที่ 1 เปาหมายและมาตรการในการกํากับดูแลวิทยุและโทรทัศน 30
ตารางที่ 2 ขอจํากัดในการถือครอง (ownership restriction) สถานีโทรทัศน ในประเทศในกลุม OECD 31
ตารางที่ 3 ขอจํากัดเรื่องการถือครองสื่อแพรภาพกระจายเสียงโดย
ชาวตางชาติในประเทศ OECD 35
ตารางที่ 4 ขอจํากัดเรื่องการถือครองส่ือขามสาขา (cross-sector ownership restriction)
ในประเทศ OECD 37
ตารางที่ 5 ขอจํากัดเรื่องการถือครองขามสื่อ (cross-media ownership restriction)
ในประเทศ OECD 39
1. บทนํา
ประเด็นทางนโยบายดานส่ืxxxxมีการถกเถียงกนมาโดยตลอดก็คือ รฐั ควรปลอยใหสื่อ โดยเฉพาะสื่อวิทยุและโทรทัศนดําเนินการอยางxxxxตามกลไกตลาดเพื่อใหxxxxxxxแขงขันโดยไม
ตองแทรกแซง หรือควรกําหนดกฎเกณฑในการกําก ดูแลสื่อเพอเื่ กิดประโยชนสูงสุดตอ
สาธารณะจากการทําใหเกิดความหลากหลายในการนําเสนอขอมูลขาวสารท่ีมีคุณภาพแกคนใน สังคม
รายงานเรื่อง “วัตถุประสงค ภาพxxxxxxxxxxxxxและxxxxxxxxxxควรจะเปนของระบบส่ือ” โดยxxxxxxxxx และธนวิทย (2546ก) ไดระบุถึงปญหาของส่ือในประเทศไทยในเชิงโครงสรางไว วา ในปจจุบัน สื่อวิทยุและโทรทศั นท่ีดําเนินการในรูปแบบธุรกิจประสบปญหาจากการพึ่งรายได
จากโฆษณาทําใหตองผลิตเนื้อหาที่xxxxกับความตxxxxxของตลาด ซึ่งอาจทําให องละเลย
กลุมเปาหมายxxxxxมีกําลังซ สื่อวิทยและxx ทรทัศนในปจจ ุบนยั งเสี่ยงตอการถูกครอบงําดวย
อํานาจรัฐจากการแทรกแซงในรูปแบบตางๆ นอกจากนี้ผูประกอบการรายยอยก็ไมxxxxxxxxxจะ
แขงข กับกลุมทนหรอผปูื ระxxxxxxรายใหญได เนองจากื่ xxxxxxxxxxในเรอื งของประสิทธิภาพ
ในการดําเนินงาน
สวนรายงานเร่ือง “โครงสรางตลาดของสื่อวิทยุและโทรทัศน โดยxxxxxxxxx และธนวิทย
(2546ข) ไดระบุปญหาโครงสรางวา มีแนวโนมการกระจุกตัวในส่ือวิทยุและโทรทัศนในประเทศ ไทย ซึ่งทําใหเ กิดการขาดความหลากหลายในการนําเสนอขาวสารไปยังประชาชน ในขณะท่ี การมีอํานาจเหนือตลาดของผxx xxxxxxxxสถานีโทรทัศนและวิทยุรายใหญ ซึ่งมีสวนแบงตลาด สูงและการผนวกกันในแนวด่ิง (vertical integration) ทําใหเกิดพฤติกรรมกีดกันการแขงขัน
พฤติกรรมด กลาวทําใหผูประกอบการรายใหมไมสา มารถเขาสูตลาด หรอไมสาื มารถแขงขนxxx
ซึ่งทําใหผูบริโภคขาดทางเลือก นอกจากนี้ กลไกในการไดมาซึ่งxxxxxในการใชคลื่นความถ่ี ซ่ึง จําเปนตอการประกอบการเปนกระบวนการxxxxxมีความโปรงใส xxxในระบบอุปถัมภและนา
สงสัยวาจะมีการคอร ัปชั่นมาก
รายงานการวิจยฉบับนี้ จะxxxxxxxxxxxxxกํากับดูแลสื่อวิทยุและโทรทัศนในเชิงโครง สร ง เพ่ือนําเสนอขอเสนอแนะทางนโยบายในการxxxxxxระบบสื่อใหม ีความหลากหลายในการ
นําเสนอขาวสารและความคิดเห็น ปรับโครงสรางตลาดสื่อใหเอื้อตอการแขงขันอยางxxxxและเปน
ธรรม บนพ ฐานของการดําเนินงานที่มประสิทธิภาพ และทนตอการเปลี่ยนแปลงทาง
เทคโนโลยี ประเด็นด นโครงสรา งท่ีจะกลาวถึงในรายงานฉบับนจะเ้ี กยว่ี ของกับประเดนทส่ี็ ําคัญ
3 ประเด็นคือข
กําหนดในการถือครองหรือเปนเจ
ของสื่อ (media ownership and control)
การออกใบอนุญาตประกอบการ (licensing) และนโยบายการแขงขัน (competition policy)
1.1 เหตุผลในการกําก ดูแลสื่อดานโครงสราง
บริการแพรภาพกระจายเสียงสวนใหญเกี่ยวของกับการใช ลื่นความถี่ ซงเปนทรพ่ึ ยากร
ท่ีมีxxxอยางจํากัด ซ่ึงทําใหบริการแพรภาพกระจายเสียงในแตละชวงเวลามีปริมาณจํากัดดวย สวนบริการแพรภาพกระจายเสียงxxxxxใชคลื่นความถ่ีในการประกอบกิจการเชน เคเบิล้ ทีวี ก็เปน กิจการที่ลงทุนสูง มีการประหยัดจากขนาดการผลิตและมีอุปสรรคในการเขาสูตลาดหลาย ประการ นอกจากนี้ ส่ือยังเปนสินคาที่มีผลกระทบภายนอก (externality) ตอสังคมอยางกวาง ขวาง เน่ืองจากมีxxxxxxxตอแนวคิด ทัศนคติ ตลอดจนการรับรูขอมูลขาวสารของคนในสังคม ทง้ั
ในดานการเมืองและดา หนาที่ในการผลิตสินค
นวฒนธรรม จากเหตุผลดงั กลาว แมว า สังคมมกคาดหวงวา สื่อตองมี เพื่อตอบxxxxความตxxxxxของมวลชนและดํารงไวซ่ึงผลประโยชน
สาธารณะ ลําพ การดําเนินการของสื่อเพอื ผลประโยชนในเชงพิ าณิชยเพียงดานเดียวก็จะไม
xxxxxxxxxจะตอบxxxxตอความตxxxxxของสังคมไดอยางมีประส ธิภาพ จากความลมเหลว
ของตลาด (market failure) ในการจัดสรรทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ อนเน่ืองมาจากผล กระทบภายนอกและขอจํากัดในการเขาสูตลาดดังกลาว
ความลมเหลวดังกลาวจึงเปนเหตุผลใหร xxxxxxมีบทบาทในการแทรกแซงตลาดส่ืxxx
xxxxxxมาตรการในการแทรกแซงอาจมีหลายรูปแบบ เชน การสนับสนุนใหเกดิ วิทยุและโทรทัศน สาธารณะ (public broadcasting) หรือ วิทยุชุมชน (community radio) การกํากับดูแลดานเนื้อ
หา (content regulation) ในบางรูปแบบ ตลอดจนการกํากับดูแลด นโครงสราง (structure
regulation) ซ่ึงเปนหวขอหลักของรายงานวิจัยฉบับนี้ การกํากับดูแลเชิงโครงสรางของสื่อวิทยุ และโทรทัศนอาจมีวตถุประสงครองรับหลายประการเชน
▪ การสงเสริมความหลากหลายดา นโครงสรางเพื่อเอื้อใหเกิดความหลาก หลายดานเนือหา
▪ การสงเสริมความหลากหลายดา นวัฒนธรรม และปองก วัฒนธรรมโดยตางชาติ
การครอบงําทาง
▪ การสงเสริมใหเกิดบริการอยางทั่วถึง (universal access)
▪ การสนบั สนุนใหเ กิดการแขงขันเพื่อกอใหxxxxxxxพัฒนาบริการxxxxxขึ้น
▪ การสรางความxxxxxxxxxแกสาธารณะตอความโปรงใสในการกํากับดูแลและ การออกใบอนุญาต
▪ การควบคุมใหการใช รบกวนกัน
ล่ืนความถ่ีเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และไมมีการ
รายงาน Communication Outlook 2001 ของ OECD ไดส รุปเปาหมายและมาตรการ ในการกํากับดูแลธุรกิจวิทยุและโทรทัศนไวในตารางท่ี 1
มาตรการในการกํากับดูแลด กลาวขางตนบางสวนเปนม าตรการท่ีเก่ียวของ กบโครง
สรางตลาดสื่อโดยตรง ดังที่ขีดเสนใตไวในตาราง ในขณะที่บางมาตรการเปนมาตรการดานเนือ้ หา แตอาจมีผลกระทบกับโครงสรางตลาดได เชนการกําหนดคาบริการของโทรทัศนระบบบอก
รับสมาชิก สวนบางมาตรการก็เปนมาตรการด ตลาด
นเนื้อหาxxxxxxไมมีผลกระทบตอโครงสร ง
ภาพที่ 1 แสดงมาตรการของร ทเ่ี กี่ยวของกับโครงสราง พฤติกรรม และผลการดําเนินงาน
ของสื่อตามกรอบทฤษฎีองคกรอุตสาหกรรม (industry organization theory) จากภาพจะเห็น
วา โครงสรางตลาดและพฤติกรรมของผูประกอบการมีผลซึ่งกันและก และตางไดรบผลั กระทบ
จากมาตรการของรัฐ และทําใหxxxxxxลัพธของระบบข ทงนี้้ั มาตรการของรฐมทงม้ัี าตร
การที่เก่ียวของกบั การแทรกแซงดานโครงสรางของระบบสื่อโดยตรง และมาตรการในการกํากบั ดูแลพฤติกรรม (ดูคําอธิบายเพิ่มเติมใน Viscusi et. al. (1995) และ xxxxxxxxx และ ธนวิทย (2546))
ภาพที่ 1 โครงสราง พฤติกรรม และผลการดําเนินงาน (Structure Conduct Performance)
โครงสราง
การกระจุกตัว
การผนวกกันในแนวดิ่ง อุปสรรคในการเขาสูตลาด
พฤติกรรม
ราคาคาบริการ คาโฆษณา
การกําหนดเน้ือหารายการ การกีดกันการแขงขัน
ผลลัพธ
กําไรของผูประกอบการ ความหลากหลายของเนื้อหา รายการและความคิดเห็น
xxx
xxxปองกันการผูกขาดและการกํากับดูแล นโยบายตอสถานีของxxx xxxซื้อโฆษณาของxxx
xxxอุดหนุนสื่อโดยรัฐ
มาตรการดานโครงสราง มาตรการดานพฤติกรรม
ที่มา: Viscusi xx.xx. (1995)
การกําก
แมความลมเหลวของตลาดจะทําใหรัฐมีเหตุผลในการเขาไปแทรกแซงตลาดสื่อก็ตาม ดูแลโครงสรางดังกลาวจําตองอยูในขอบเขตท่ีเหมาะสม โดยจํากัดxxxเพียงเพื่อตอบ
xxxxวตถุประสงคของส คมเทานน้ั และควรเลือกใชม าตรการxxxxxxxxxxมขอี ดีเหนอื มาตรการ
อ่ืนๆ xxxxxxxxxxxกันไดเทานั้น เน่ืองจากการกํากับดูแลโครงสรางxxxxxเหมาะสม อาจยิ่งทํา
ใหกลไกตลาดลมเหลว xxxxxxxผูกขาดในตลาดส่ืxxxxxxxxข และxxxxxxx กลุมผลประโยชนเขา
มาครอบงําหนวยงานกํากับดูแล นอกจากน้ี เมื่อพัฒนาการทางเทคโนโลยี และปจจัยแวด ลอมอ่ืนๆ เปลี่ยนแปลงไป ความจําเปนในการตองกํากับดูแลโครงสรางของตลาดสื่อก็อาจ เปลี่ยนแปลงไปดวย
1.2 มาตรการกํากับดูแลทางโครงสราง
มาตรการในการกําก
ดูแลเชิงโครงสร
งประกอบไปดวยมาตรการ 2 กลุมใหญคือ
1) การกํากับดูแลความเปนเจาของและการควบคุมสื่อ (ownership and
control) ท
ในสวนของการจํากัดการถือครองสื่อโดยผ
ือหุนแตละราย การ
ถือครองสื่อโดยชาวตางชาติ และการถือครองข การและเง่ือนไขในการออกใบอนุญาต
มสื่อ ตลอดจน กระบวน
2) นโยบายและมาตรการการแขงขัน (competition policy) หรือ การตอต น
การxxxxxx xxน การควบคุมผูประกอบการท่ีมีอํานาจเหนือตลาด หรือการ กํากับดูแลการควบรวมกิจการ ซ่ึงจะมีผลตอโครงสรางและพฤติกรรมของ ส่ือดวย
ทังนี้ มาตรการในกลุมแรกถือเปนมาตรการท่ีเก่ียวของกับตลาดของสื่อโดยเฉพาะ สวน
มาตรการในกลุมที่สองเปนมาตรการที่ม ใช ําหรับธุรกิจอ่ืนๆ เปนกา รท่ัวไปดวย
1.3 การกํากับดูแลความเปนเจาของและการควบคุมส่ือ
ความเปนเจาของและการควบคุม (ownership and control) เปนประเด็นสําคญในการ กําหนดโครงสรา งตลาดสื่อ ความเปนเจาของมีความเกี่ยวของกับการควบคุม กลาวคือ ผูท่ีถือ หุนในกิจการหน่ึงๆ ในปริมาณที่มากพอเชนรอยละ 20 ยอมxxxxxxควบคุมการบริหารธุรกิจน้นั
ไดในทางใดทางหนึ
เชน ควบคุมผานต
แทนของตนในคณะกรรมการ (board of director)
ของบริษัทที่ประกอบกิจการนั้น
แนวคิดในการกําหนดกฎเกณฑเรื่องความเปนเจาของและการควบคุมส่ือแพรภาพ
กระจายเสียงนั้นเริ่มตนจากxxxxxxxxxวาสื่อเปนสถาบ ทมอี่ี ิทธิพลตอการรับรขอู มลขาวู สารของ
ประชาชนเปนอยางมาก เจาของหรือผ วบคุมสื่อซง่ึ xxxxxxกําหนดทิศทางในการนําเสนอเนื้อ
หาของสื่อจึงมีxxxxxxxในการชี้นําสังคมได ดังน หากบุคคลกลุมใดกลุมหนงxxxx มารถครอบ
ครองหรือควบคุมสื่อจํานวนมาก สังคมก็อาจจะไมไดรับการเสนอขาวสารอยางรอบดาน นั่นก็คือ
การขาดความหลากหลายในด
นความเปนเจ
ของอาจนําไปสูการขาดความหลากหลายในดาน
เนือหาได การกํากับดูแลความเปนเจาของและการควบคุมส่ืxxxxเปนมาตรการหนึ่งท่ีมุงสราง หลกั ประกันในความหลากหลายของเนื้อหา
ในทางปฏิบัติ การกํากับดูแลความเปนเจาของและการควบคุมอาจดําเนินการไดโดยทั้ง
การจํากัดสัดสวนสูงสุดของการถือหุนผ
ือหนแตละราย การจํากัดไมxx
xวตางชาติถือครอง
กรรมxxxxxในส่ือ การจํากัดการถือครองกรรมสิทธ ไปนี้
1.3.1 การควบคุมการถือหุนโดยบุคคลแตละราย
บางประเทศมีกฎเกณฑในการกํากับดูแลที่ห
ามสื่อ ดังที่จะวิเคราะหในรายละเอียดดังตอ
มบุคคลหนึ่งๆ ถือหุนหรือควบคุมธุรกิจสื่อ
เกินกวาสัดสวนท่ีกําหนด เชน ไมเกินรอยละ 25 ทังนีเพื่อปองกนมิใหผูถอหุนดังกล วมอี ํานาจ
ในการช ําการดําเนินการของกองบรรณาธิการสือใหxxxxxอํ สารสนเทศไปในทิศทางท่ีตน
ตองการจนอาจมีxxxxxxxเหนือสังคมไดมากเกินไป อยางไรก็ตาม มาตรการดงั กลาวก็มี ขอเสียกลาวคือ อาจทําใหการบริหารจัดการธุรกิจมีความยากลําบาก เพราะไมมีผูถือหุนรายใด เลยท่ีxxxxxxควบคุมการดําเนินการของฝายบริหารได และมีตนทุนสูงในการท่ีผูถือหุนแตละ รายจะxxxxxxรวมมือกนในการกํากับดูแลกิจการ ซึ่งอาจทําใหกิจการประสบความลมเหลวใน ทางธุรกิจ
มาตรการxxxxxxเปนทางเลือกในการxxxxxวตถประสงคในการปองกนั การท่ีฝายบริหาร แทรกแซงการดําเนินงานดานเนื้อหาของกองบรรณาธิการ ในขณะท่ียังxxxxxxกํากับดูแลกิจ การก็คือ หนึ่ง การไมมีขอจํากัดในดานการถือหุนของผูถือหุนแตละราย แตสรา งกฎและวัฒน ธรรมขององคก รในการแยกการดําเนินการของกองบรรณาธิการใหเปนxxxxxจากฝายอื่นๆ เชน
ฝายการตลาด ฝายบริหารและผ ือหนุ หรอื สอง ยอมรับวาเปนการยากท่ีจะปองกนมิใหเจา
ของกิจการมีxxxxxxxในการดําเนินการของส่ือ และหนไปใชขอกําหนดในการหามมิใหผูประกอบ การแตละรายถือหุนในส่ือจํานวนมากแทน ตวอยา งของมาตรการดังกลาวไดแก การหามเปน เจาของสถานีโทรทัศนเกินกวา 1 ชองท่ีใหบริการในพืxx xxxเดียวกัน
1.3.2 การจํากัดการถือครองโดยตางชาติ (Foreign ownership control)
วตถุประสงคหลักในการกําหนดขอจํากัดการถือครองธุรกิจส่ือโดยชาวตางชาติคือ การ ปองกนไมใหชาวตางชาติxxxxxxเขามามีxxxxxxxตอนําเสนอขาวสาร ซึ่งจะนําไปสูการครอบงํา
แนวคิดด
นเศรษฐกิจ ส
คมและวัฒนธรรมของคนในชาติ หรือนําเสนอเนือหาที่ขัดตอวัฒนธรรม
ของคนในชาติ นอกจากนี้ กิจการของคนตางด วอาจมีขนาดของธุรกิจใหญกวาและมคี วาม
xxxxxxในการแขงขันมากกวาจนทําใหผูประกอบการในประเทศไมxxxxxxอยูรอดได มาตร การเพื่อxxxxวตถุประสงคด ังกลาวในทางปฏิบัติคือ การหา มชาวตางชาติไมใหมีความเปนเจา ของในธุรกิจส่ือเลย หรือใหเปนผูถ ือหุนขางนอย ตลอดจนจํากัดสัดสวนกรรมการท่ีเปนชาว ตางชาติ
ในทางตรงกันขาม การอนุญาตใหชาวตางชาติxx xxถือหนในธุ ุรกิจสื่ออาจมผxx xxxxxx
ประการ เชน การสงเสริมใหเ กิดการลงทุนในธุรกิจสื่อมากขึน้ การไดรับประโยชนจากการถาย ทอดเทคโนโลยีสมัยใหม การลดตนทุนในการใหบริการจากการxxxxxxxขายในการใหบริการขนาด ใหญ (economy of scale) และการไดรบขาวสารและมุมxxxxxxแตกตางจากขาวสารและมุมมอง
ในประเทศ ซึ่งจะเปนประโยชน ของส่ือในxxxxxx
xกในกรณีของประเทศที่รัฐxxxxxxควบคุมการเสนอขาวสาร
ในกรณีxxxxxมีการจํากัดการถือหุนของชาวตางชาติ มาตรการหน่ึงในการกํากับดูแลสื่อ
ใหเสนอเน หาในทางท่ีตxxxxxxxคือ การกํากับดูแลดานเนอห้ื าโดยตรง แทนการกํากับดูแล
โครงสราง เชน การกําหนดสัดสวนขันตํ่าของเน้อหาที่ผลิตในประเทศ หรือการจดั เรตต หาเพ่ือปองกนั การเผยแพรเนือหาxxxxxพึงประสงคในเวลาที่กําหนด เปนตน
1.3.3 การถือครองขามส่ือ (Cross ownership)
ของเนื้อ
การถือครองขามสื่อ (cross ownership) เปนประเด็นท่ีสําคญและมีการถกเถียงกันมาก ในการกํากับดูแลส่ือ วตถุประสงคของการกําหนดเกณฑในการถือครองขามสอื่ ก็เพื่อตxxxxxสง เสริมใหเ กิดความหลากหลายของขอมูลและความคิดเห็น (source of information and opinion) ที่นําเสนอในส่ือและปองกันการกระจุกตัวขามส่ืxxxxมากเกินไป ตวอยางของมาตรการควบคุม
การถือครองข มส่ือก็คือ การหามมิใหผ ูประกอบการสื่อสิ่งพิมพเปนเจาขอ งสถานีวิทยหรอโืุ ทร
ท น หรือการห มผ
ระxxxxxxโทรท
นไปประกอบการโทรท
นแบบเคเบิ้ล เปนต 1
1 ผูxxxxxxxxxบางรายเรยกขอหามในกรณีแรกวา cross-media ownership และกรณีหลงวา cross-sector ownership
การถือครองข มสื่อมทงผล้ัี ดีและผลเสีย ผลดีจากการถือครองขามสื่อมหลี ายประการ ท่ี
สําคัญก็คือ ทําใหxxxxxxxประหยัดจากขอบเขตการดําเนินการ (economy of scope) เชน xxxxxxใชทีมขาวเดียวในการสนับสนุนส่ือโทรทัศน วิทยุ หนังสือพิมพในเครือเดียวกนั เปนตน ในบางประเทศจึงกําหนดเง่ือนไขใหผูประกอบxxxxxxxxxถือครองxxxxxxxxประเภทพรอมกันได เชน ในประเทศเยอรมัน เฉพาะผูประกอบการหนังสือพิมพท่ีมีอํานาจเหนือตลาดในพื้นที่เทาxxxx xxxจะไมไดรับอนุญาตใหถ ือหุนในบริษัทแพรภาพกระจายเสียงในพื้นที่นัน้
อยางไรก็ตาม การถือครองขามส่ืxx xxใํ หมคี วามเสี่ยงตอการเกิดความไมหลากหลาย
ของเน หาและความคิดเห็นในสื่อ เนอ่ื งจากขาดความหลากหลายของแหลงทมาขอ่ี งขอมxx
การจะพิจารณาวา ควรมีขอจํากัดในการถือครองขามส่ือหรือไมนั้น จึงตองxxxxxxxxxxxxxดีและ
ผลเสียเหลานี้ประกอบกัน โดยตองวิเคราะห ิทธิพลของxxxxxxละประเภทหรือแตละรายตอผู
บริโภคขาวสาร ซึ่งอาจตองเก็บขอมูลพฤติกรรมของผูบริโภควา ผูบริโภคแตละกลุมบริโภคขาว สารจากแหลงใด ในทางปฏิบัติ ผูบริโภคแตละกลุมอาจมีพฤติกรรมในการใชสื่อท่ีแตกตางกัน
เชน ผูบริโภคบางกลุมอาจใชสื่อโทรทัศนและวิทยุในการรับร าวสารที่รวดเร็ว และใชส ื่อสิ่งพิมพ
ในการบริโภคขาวสารในเชิงลึก ในขณะท่ีผูบริโภคอีกกลุมหนึ่งอาจใชสื่อโทรทัศนเพ่ือความ
บันเทิง แตอานหน สือพมพิ เมอต่ื xxxxxติดตามขาวxxx xxกระทบจากการถือครองขามสื่อยงั
ขึนxxxกับสวนแบงทางตลาดของผูประกอบการที่ถือครองขามสื่อน กลาวคือ ความเสี่ยงจาก
การสูญเสียความหลากหลายของความคิดเห็นจะมีไมมากนกั หากผูประกอบการที่ถือครองขาม ส่ือเปนผูประกอบการรายเล็กท่ีมีสวนแบงตลาดนอย
ผลกระทบของการถือครองข มสื่อตอความหลากหลายในการรบรขาวู สารจึงไม
xxxxxxสรุปxx
xยตัววาจะเกิดขึนในทิศทางใด ผลกระทบด
กลาวยงขึ้นxxxกับพัฒนาการทาง
เทคโนโลยี และความแพรหลายของส่ือทางเลือกใหมๆ เชน อินเทอรเน็ตอีกดวย กลาวคือ หาก
สื่อทางเลือกมีระด ความแพรหล ายสูง และไมถ กควบคุมโดยผูประกอบการสื่อกระแสหลัก
ความเสี่ยงจากการถือครองขามสื่อก็จะลดนอยลงไปดวย
1.4 การออกใบอนุญาต (Licensing)
การออกใบอนุญาต (licensing) เปนเคร่ืองมือสําคัญในการกําหนดโครงสรางตลาดสื่อ วิทยุและโทรทศั น เนื่องจากxxxxxxควบคุมจํานวนของผูประกอบการในตลาด กําหนดวาผ ประกอบการจะxxxxxxเปนเจา ของและควบคุมสื่อไดม ากเพียงใด ถือครองขามสื่อไดหรือไม ซึ่ง
ขึ้นกบนโยบายของรัฐในการใชประxxxx xกคลื่นความถี่ และนโยบายสงเสรมxxx รแขงขนxxx
ตลาดส่ือ นอกจากนี้ การออกใบอนุญาตยังxxxxxxใชเปนเครื่องมือในการกํากับดูแลการ ดําเนินงานของกิจการแพรภาพกระจายเสียง นอกเหนือไปจากกฎxxxxxxxตางๆ ที่มีxxxแลว
เน่ืองจากหนวยงานกํากับดูแลxxxxxxกําหนดเงื่อนไขตางๆ ในการประกอบการเพิ่มเติมในใบ อนุญาตไดเชน การกําหนดลกษณะของรายการ การกําหนดขอกําหนดดานจรรยาบรรณและ กฎเกณฑอื่นๆ ที่ผูไดร บใบอนุญาตจะตองปฏิบัติตาม
จากที่กลาวมาขางตน จะเห็นวา การออกใบอนุญาตxxxxxxใชเปนเครื่องมือในการ กํากับดูแลดงตอไปนี้
1. การกําหนดโครงสรา งตลาด โดยเฉพาะการกําหนดจํานวนผูประกอบการ ทังนี้
เน่ืองจากจํานวนผูประกอบการจะขึ้นอยู ับจานวํ นใบอนุญาตที่ออก
2. การจัดสรรทรัพยากรxxxxxxxxxxเชนคล่ืนวิทยุอยางเปนธรรมและมีxxxxxxxx ภาพ โดยคํานึงxxxxxxใชประโยชนในดา นตางๆ และการสงเสริมการแขงขันใน ตลาดสื่อวิทยุและโทรทัศน
3. การกํากบั ดูแลบริการสาธารณะ เชน การกําหนดภาระในการใหบริการอยางท่ัว ถึง โดยกําหนดกฎเกณฑในการกํากับดูแลในเง่ือนไขใบอนุญาต
4. การสรางรายไดใหแ กภาครัฐ หรือหนวยงานกํากับดูแล จากคาธรรมเนียมใบ อนุญาตหรือคาธรรมเนียมในการใชคลื่นความถี่
5. การกํากับดูแลดานจรรยาบรรณและการค จําเปนไวในใบอนุญาต
ครองผูบริโภค โดยกําหนดเงื่อนไขที่
6. การสรางหลักประกันใหแกผูประกอบการและนักลงทุน โดยการบรรจุเง่ือนไขใน การคุมครองการประกอบการไวในใบอนุญาต
การออกใบอนุญาตจึงเปนหวใจในการกําก ดูแลการประกอบการ ในหัวขอน้ี ผูวิจยxxx
กลาวxxxxxxออกใบอนุญาตเฉพาะในสวนที่เกี่ยวของกบประเด็นดานโครงสราง โดยจะวิเคราะห
ใน 3 ประเด็นคือ การแบงประเภทในอนุญาต เงื่อนไขที่ม การในการออกใบอนุญาต
1.4.1 การแบงประเภทของใบอนุญาต
บรรจุลงในใบอนุญาต และกระบวน
เราxxxxxxxxงประเภทของใบอนุญาตไดทัง้ การแบงตามลักษณะการประกอบกิจการ และการแบงตามลักษณะการพิจารณาใหใบอนุญาต ในดานการแบงตามลักษณะการประกอบ กิจการ ประเทศสวนใหญจะแยกประเภทบริการดังตอไปนี้
▪ ใบอนุญาตประกอบกิจการเชิงพาณิชยโดยท่วไป ซ่ึงหมายxxxxxxประกอบ กิจการวิทยุหรือโทรทัศนโดยไมตองบอกรับสมาชิก
▪ ใบอนุญาตประกอบกิจการเชิงพาณิชยแบบบอกรับสมาชิก โดยอาจแบง แยกยอยออกเปนใบอนุญาตสําหรบโทรทัศนระบบเคเบิล้ หรือระบบ ดาวเทียม
▪ ใบอนุญาตประกอบกิจการสาธารณะ ซ่ึงในบางประเทศจะแยกออกมาตาง หากและมีกฎหมายการประกอบกิจการสาธารณะโดยเฉพาะ
▪ ใบอนุญาตประกอบกิจการชุมชน เชนใบอนุญาตสําหรับวิทยุชุมชน
ทั้งนี้ กฎหมายมักกําหนดหลักเกณฑ เง่ือนไข วิธีการประกอบการและขั้นตอนการขอใบ อนุญาตที่แตกตางกันตามประเภทของการประกอบการ อยางไรก็ตาม บางประเทศเชน
มาเลเซียเลือกใชวิธีไมแยกประเภทบริการตามลักษณะด กลาว ดวยความxxxxxxxxx า พัฒนาการ
ทางเทคโนโลยีในปจจุบันทําใหเกิดปรากฏการณที่เรียกวา “การหลอมรวมสื่อ” (media convergence) ซึ่งทําใหการแบงประเภทของบริการตามแนวตง้ ออกจากกันในลกษณะดังกลาว ขางตนเปนส่ิงxxxxxมีความหมายอีกตอไป มาเลเซียไดเปล่ียนประเภทใบอนุญาตโดยแบง ประเภทใบอนุญาตตามแนวนอนออกเปน ใบอนุญาตใหบริการโครงสรางพื้นฐาน (facility license) เชน เสาหรือหอคอย ใบอนุญาตใหบริการโครงขาย (network license) ใบอนุญาตการ ใชโครงขาย (application license) และใบอนุญาตใหบริการเนื้อหา (content license) เปนตน2
สวนการแบงใบอนุญาตออกตามลักษณะการพิจารณาใหใบอนุญาต xxxxxxxxง
ออกไดเปน 3 ประเภทหล คือ
1. ใบอนุญาตเฉพาะตัว (individual license) เปนใบอนุญาตที่ผูประกอบ การจะไดรับก็ตอเม่ือผานกระบวนพิจารณาเปนรายๆ ไป ใบอนุญาตใน ลักษณะนี้เหมาะกับการประกอบการที่ตองใชทรัพยากรที่มีจํากัด เชน ใบอนุญาตประกอบกิจการวิทยุและโทรทัศนโดยท่วไป
2. ใบอนุญาตเปนกลุม (class license) เปนใบอนุญาตที่จะออกใหแกผู ประกอบการทุกรายท่ีผานเกณฑคุณสมบัติที่หนวยงานกํากับดูแล กําหนดไวลวงหนา โดยไมตองผานกระบวนการในการคดั เลือกเปน รายๆ ใบอนุญาตในลักษณะนเี หมาะสมกับการประกอบกิจการxxxxx ใชทรัพยากรที่มีจํากัดเชน ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรทัศนแบบเค
เบ เปนตน
3. ใบอนุญาตแบบแจงให ราบ (notification) เปนใบอ นญุ าตท่ีผูประกอบ
การไดรับทันทีที่แจ ความจํานงในการประกอบการใหแกหนวยง าน
กํากับดูแล ซ่ึงเหมาะกับกิจการxxxxxตองมีการกํากบั ดูแลมาก เชน ใบ อนุญาตสําหรบบริการเสริม (value-added service) ตางๆ เปนตน
2 ดู xxxxxxxxx และxxxxx (2545ก)
1.4.2 กระบวนการในการออกใบอนุญาต
กระบวนการออกใบอนุญาตเปนขันตอนที่มีผลตอการไดมาxxxxxxxxxxxxประกอบการ ดัง น กระบวนการออกใบอนุญาตจึงตองกระทําอยางเปดเผย โปรงใส และการพิจารณาใบอนุญาต
จะตองเปนไปตามหลักการxxxxxประกาศไวลวงหนา ท นการxxxx กใบอนญุ าตท่ีโปรงใ สจะทําให
การจดสรรทรัพยากรมีประสิทธิภาพ มีรายไดเขารัฐมาก และสร งความมั่นใจแกนกั ลงทุน การ
ศึกษาท่ีผานมาของxxxxxxxxxและxxxxx (2546ข) ชี้วา แนวทางหนึ่งที่เหมาะสมในการจดสรรใบ อนุญาตประกอบการเชิงพาณิชยในกรณีท่ีมีการใชทรัพยากรที่มีอยูจํากัดคือ การประมูลคล่ืน ความถี่หรือการประมูลใบอนุญาต เนื่องจากเปนวิธีท่ีมีความโปรงใส คํานึงถึงความคุมคา ความ
ขาดแคลน และประโยชนสาธารณะมากกวาวิธีอื่นๆ เชน การจัดสรรใบอนุญาตให กผูทยนขอ่ื่ี
กอน (first-come-first-serve) การจัดสรรโดยค
evaluation) หรือการจัดสรรแบบสุม (random)
เลือกจากการเปรียบเทียบ (comparative
กระบวนการออกใบอนุญาตท่ีโปรงใสจะตองมีการประกาศลวงหนาอยางชัดเจนเก่ียวกับ
กฎเกณฑเชน รายละเอียดขันตอนการยืนขอ กฎเกณฑด
นxxxxxบ
ิ (pre-qualification
criteria) และกฎเกณฑการคัดเลือก (selection criteria) ท้งน กฎเกณฑดานคุณสมบัติจะ
กําหนดเงื่อนไขข
ต่ําที่ผูประกอบการจะมีxxxxxในการเขารวมในกระบวนการค
เลือกตอไป ซ่ึง
โดยxxxxแลวเปนข กําหนดทางดานความxxxxxxทางการเงินและเทคนคิ และอาจมเงอนไขื่ี
ดานอื่นเชน การไมเปนเคยเปนผูละเมิดกฎxxxxxxxในการประกอบกิจการแพรภาพกระจายเสียง
สวนกฎเกณฑในการค เลือกอาจมหลี ายวิธี xxx การคัดเลือกโดยผานกระบวนการแขงขนเชั น
การประมูล หรือ การคัดเลือกจากการเปรียบเทียบ (comparative evaluation) เปนต
นอกจากนี้ กระบวนการออกใบอนุญาตที่โปรงใสควรมีการรับฟงความคิดเห็นสาธารณะ
(public consultation) ทังนี้ หนวยงานกํากับดูแลควรจ ใหมกาี รรบฟงความคิดเห็นจากฝาย
ตางๆ กอนการออกใบอนุญาต การรับฟงความคิดเห็นสาธารณะจะชวยใหหนวยงานกํากับดูแล
ทราบถึงความคิดเห็นโดยตรงทั้งจากผูท ี่กําลงยืนขอรบใบอนุญาต ผ ระxxxxxxรายเกา ผ
บริโภคและกลุมอื่นๆ ในส คมxxxxxxไดรบผลั กระทบ ซงึ่ ทาใํ หหนวยง านกํากับดูแลxxxxxxนํา
ความเห็นเหลานีไปกําหนดเงื่อนไขในใบอนุญาตใหเปxxxxยอมรบของทุกฝายxx xทส่ี ุด
1.4.3 เน หาในใบอนุญาต (Content of license)
เนือหาของใบอนุญาตประกอบกิจการแพรภาพกระจายเสียงมักจะประกอบดวยขอมูลทั่ว
ไปและเง่ือนไขเฉพาะที่ผ ับใบอนญุ าตตองปฏบตัิ ิตาม xxx
1. รายละเอียดท่ัวไปเก่ียวกับผ ับใบอนญุ าต
2. ข กําหนดทางดานเทคนิค
3. ขอกําหนดทางดา นเน้ือหา เชน ขอ กําหนดดานสัดสวนเนื้อหา หรือขอ กําหนดดานจรรยาบรรณ
4. รายละเอียดทางดานการเงิน และ
5. เง่ือนไขเฉพาะของผูรับอนุญาตแตละราย
ในประเทศที่พัฒนาแลวสวนใหญจะมีการกําหนดรายละเอียดในใบอนุญาตไมมากนัก
เน่ืองจากมีกฎxxxxxxxในการกํากับดูแลที่ช xxxอยแลู ว รายละเอียดในใบอนญุ าตจงเปนเพx xxx
การระบุและอางอิงตวบทกฎหมาย ตลอดจนกฎเกณฑ ี่ผูขออนญุ าตในกิจการแตละประเภทตอง
ปฏิบัติตามเทาน อยางไร ก็ตาม ในกรณีของประเทศที่กําลงพฒxx xxxมคี วามจาเปํ นตอง
กําหนดรายละเอียดตางๆ ลงในใบอนุญาตมาก เน่ืองจากกฎxxxxxxxxxxจําเปนในการกํากับดูแล ยงไมไดรับการพัฒนาใหมีความชัดเจนเพียงพอ
1.4.4 นโยบายการแขงขัน (Competition policy)
ดังท่ีกลาวมาแลวขางตนวา ตลาดของกิจการวิทยุและโทรทัศนม ักมีโครงสรางxxxxxเอื้อ อํานวยใหxxxxxxxแขงขันอยางxxxxและเปนธรรม เนื่องจาก การมีอุปสรรคในการเขาประกอบการ ในตลาด จากความจํากัดของคลื่นความถี่ การประหยัดจากขนาด (economy of scale) และ มาตรการตางๆ ของรัฐ อุปสรรคดังกลาวทําใหผ ูประกอบการบางรายมีอํานาจเหนือตลาด ซึ่ง xxxxxxมีพฤติกรรมที่เปนผลเสียตอสังคมได เชน การปดก้นผูประกอบการรายอ่ืน การลดคุณ ภาพของรายการ การขึนราคาคาโฆษณา หรือคาสมาชิกในกรณีของโทรทัศนระบบบอกรบั สมาชิก เปนตน
จากเหตุผลดังกลาว นโยบายและกฎหมายการแขงข (competition policy and law)
จึงเปนมาตรการท่ีมีความสําคัญ ตัวอยางของมาตรการดังกลาวไดแก การควบคุมพฤติกรรมของ
ผ ระxxxxxxรายใหญที่เรียกวา “ผูม ีอํานาจเหนือตลาด” (market dominant) ไมใหxxxxxxใช
อํานาจเหนือตลาดในการกีดกันการแขงขันหรือเอาเปรียบผูบริโภคจากพฤติกรรมตางๆ อยางไม เปนธรรมเชน กําหนดราคาสินคา หรือบริการสูงเกินไป บังคับขายพวง หรือกําหนดเงื่อนไขอื่นๆ
xxxxxเปนธรรม นอกจากนี้ กฎหมายแขงขันทางการค โดยทั่วไปยงมกัั มขอี กําหนดที่เกี่ยวกับ
การควบรวมกิจการ (merger and acquisition) การสมคบกับผูประกอบการอื่นในการแขงขัน อยางไมเปนธรรมเชน สมคบกันกําหนดราคาสินคา (price collusion) หรือการกลั่นแกลงผู ประกอบการรายอื่น เปนตน
โดยท่วไปแลว มาตรการสงเสริมการแขงขนนีจะถูกใชรวมก กฎเกณฑกํากับดูแล
เฉพาะด น xxx กฎเกณฑในการกํากับดูแลดานโครงสรา งดังทก่ี ลาวมาขางตน ความแตกตาง
ของมาตรการท สองกลุมก็คือ การกํากับดูแลมกั เปนม าตรการปองกัน (ex-ante measure) ใน
ขณะที่การสงเสริมการแขงขันมักเปนมาตรการเยียวยา ซึ่งจะใชเมื่อมีกรณีรองเรียนxx xx (ex-
post measure) การดําเนินภารกิจทั้งสองควรมีความเชื่อมโยงและหนุนเสริมกัน ซึ่งหมาย
ความวา หากภารกิจทั้งสองแยกxxxในตางหนวยงานก หนวยง าxxxxเก่ียวของ ก็จาเปํ นตองรวม
มือกันเพ่ือใหกฎเกณฑการกํากับดูแลในกิจการสอดxxxxกับหลักการของการแขงขันที่เปนธรรม
ดวย ในทางปฏิบ ิ การแบงภารกิจในการสงเสรมxxx รแขงขนxxx xการกํากับดูแลกิจการวิทยุ
และโทรท นด านโครงสราง และการxxxxxxงานระหวางหนวยง าxxxxเกี่ยวของ กบภารกิจดัง
กลาวจะแตกตางกนในแตละประเทศ เชน ในสหรัฐอเมริกา กฎหมายการสื่อสาร
(Communications Act) กําหนดให FCC มีอํานาจรวมกับหนวยงานปองก การผูกขาดเฉพาะ
ในประเด็นการควบรวมกิจการเทาน ผูสนใจxxxxxxxxตัวอยางขอ งการแบงภารกิจในการสง
เสริมการแขงขันและการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม ซึ่งxxxxxxเทียบเคียงกับกิจการแพร ภาพกระจายเสียงไดจ าก เดือนเดนและเสาวลักษณ (2546)
2. ประสบการณของตางประเทศ
ในหัวขอนี้ ผูวิจยจะกลาวถึงมาตรการที่ประเทศตางๆ โดยเฉพาะประเทศพฒนาแลวซ่ึง เปนสมาชิกขององคก รเพ่ือความรวมมือทางเศรษฐกิจและการพฒนา (OECD) ใชในการกํากับดู แลดา นโครงสรางของกิจการแพรภาพกระจายเสียง โดยเฉพาะกิจการโทรทัศน ใน 4 ประเด็นที่
สําค
คือ
- ขอจํากัดในการถือครอง (ownership restriction) สื่อแพรภาพกระจายเสียง โดยคนในชาติ
- ขอจํากัดเรื่องการถือครองส่ือแพรภาพกระจายเสียงโดยชาวตางชาติ
- ขอจําก เรอง่ื การถือครองสื่อขา มสาขา (cross-sector ownership restriction)
ซ่ึงเก่ียวของกับการถือครองขา มสื่อแพรภาพกระจายเสียงตางประเภทกัน
- ขอจํากัดเรื่องการถือครองขามสื่อ (cross-media ownership restriction) ซึ่ง
เก่ียวของก สิ่งพิมพ
การถือครองสื่อแพรภาพกระจายเสียงและสื่ออ่ืนๆ โดยเฉพาะส่ือ
ตารางที่ 2-5 สรุปขอจําก
ในการเปนเจ
ของและควบคุมส
แพรภาพกระจายเสียงใน
ประเทศสมาชิกของ OECD ใน 4 ประเด็นดังกลาวขางตน จากขอมูลในตารางดังกลาว ผูวิจัย
มีข สังเกตโดยภาพรวมและขอสังเกตตอขอจาxx xดในแตละดานดังตอไปน้ี
ประการท่ีหน่ึง ระดบและรูปแบบของการกํากับดูแลดานโครงสร งขึ้นอยกู บประเภทของ
บริการ (delivery platform) ที่เกี่ยวของ กลาวคือ กิจการโทรทัศนภาคพื้นดินแบบไมมีการบอก รับสมาชิก (free-to-air television) มกั จะxxxภายใตกฎเกณฑการกํากับดูแลท่ีเขมงวดที่สุด เน่ืองจากเปนกิจการที่มีผลกระทบตอประชาชนกวา งขวางที่สุด
ประการที่สอง เร่ิมมีแนวโนมของการผอนเพลากฎxxxxxxxในการกํากบั ดูแลดานโครง สร งในธุรกิจแพรภาพกระจายเสียงในประเทศสมาชิกของ OECD บางประเทศ แตโดยรวมแลว
ประเทศสวนใหญก็ยังไมไดปลอยใหการประกอบการในธุรกิจด
กลาวดําเนินไปอยางxxxxท
หมด
เชน ในสหรัฐเอง FCC ซึ่งเปนหนวยงานกํากับดูแลไดทบทวนขอกําหนดในการถือครองสื่อ เมื่อ
เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2543 และเห็นวา แม าตลาดสื่อแพรภาพกระจ ายเสียงจะมพลวี ัตรสูง
และผูชมรายการมีทางเลือกมากข้ึนในรอบหลายปท่ีผานมา ชาวสหรฐั สวนใหญก็ยังใชสื่อแพร ภาพกระจายเสียงเปนหลักในการติดตามรับฟงขาวสาร FCC จึงไมไดผอนผันขอจํากัดในการ ถือครองสื่อลงจากอดีตมากนัก เนื่องจาก ยังมีความจําเปxxxxตองรักษาความหลากหลายและการ แขงขันในตลาดไว อยางไรก็ตาม กระแสการเปดxxxxทางการคาไดม ีสวนผลกดันใหxxxxxxx ผอนเพลากฎxxxxxxxในการกํากับดูแลตลาดส่ือในบางประเทศเชน เชน ญี่ปุนไดยกเลิกขอจํากัด
ในการถือครองธุรกิจเคเบิ xxx ีโดยชาวตางชาติ ในขณะที่เกาหลีใตยงไมไั ดยกเลิกขอจาxx xดใน
ลักษณะเดียวกันแตก็เริ่มผอนผอนเพลาความxxxxxxลง
ประการที่สาม แมวาธุรกิจโทรคมนาคมและธุรกิจแพรภาพกระจายเสียงจะมีความ คลายคลึงกนในหลายดาน การกํากับดูแลธุรกิจทัง้ สองในประเทศสมาชิกของ OECD ก็ยังมี ความแตกตางกนมากกลาวคือ ในธุรกิจโทรคมนาคม บางประเทศไดเร่ิมหนมาใชกฎหมายแขง
ข ทางการคาแทนข กําหนดในเฉพาะสาขาภายหลงจากการเปดเสรตี ลาดโทรคมนาคม ใน
ขณะที่ การกํากับดูแลโครงสรางธุรกิจแพรภาพกระจายเสียงยังxxใชมาตรการเฉพาะของสาขา
ธุรกิจนี้ตอไป ทั้งนี าจเนอ่ื งมาจาก ธุรกิจสื่อยงมแนวโนมใีั นการแขงขนนั อยกวาธุรกิจโทร
คมนาคม และการกําก ดูแลกิจการแพรภาพกระจายเสียงยังตองพจารxx xมิติทางความม่ันคง
ส คมและวัฒนธรรมดวยนอกเหนือไปจากการกํากับดูแลใหเกิดประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจเพียง
อยางเดียวในธุรกิจโทรคมนาคม ขอยกเวxxxxพบในประเทศ OECD ก็คือ บางประเทศเชน เดนมารก ฟนแลนด ไอรแลนด xxxxxแลนด โปรตุเกส และสเปน ไดหันมาใชมาตรการxxxxx กําหนดเงื่อนไขเฉพาะในการเปนเจาของธุรกิจสื่อแพรภาพกระจายเสียง ในขณะท่ีบางประเทศ เชน นอรเวยไมไดออกขอหามในการถือครองส่ือเปนการเฉพาะ แตใหหนวยงานท่ีเกี่ยวของ พิจารณาขอกําหนดในการถือครองสื่อเปนกรณีไป
ประการที่สี่ ปรากฏการณ “การหลอมรวมสื่อ” (media convergence) จากการปรับ เปล่ียนจากส่ืออนาล็อกไปสูส่ือดิจิตัล และการxxxxxxxxxxทีวีและโทรทัศนผานดาวเทียมมีความ
สําคัญมากข้ึน ทําใหการกํากับดูแลธุรกิจแพรภาพกระจายเสียง โดยเฉพาะเคเบ xxx ี และโทร
ทัศนผ านดาวเทียม มีลกษณะบางประการคลายการกํากับดูแลดานโทรคมนาคม เชน มีการ กําหนดกติกาในการใชหรือเชื่อมตอโครงขาย (access to network) และมีการกํากับดูแลการใช กลองรับสัญญาณ (set-top box) และโปรแกรมอิเล็กทรอนิกส (electronic program guide) มากขึ้น เนื่องจากโครงขายและอุปกรณดังกลาวมีความสําคญตอการแขงขันในตลาด เพราะเปน ปจจัยที่จะกําหนดวาบริการใดจะxxxxxxเผยแพรตอผูบริโภคได
2.1 ขอจํากดในการถือครองโดยคนในชาต
ขอจํากัดในการถือครองและควบคุมสื่อโดยคนในชาติ สวนใหญเปนขอจําก ในแนวราบ
(horizontal restriction) ซ่ึงมีจุดประสงคเพื่อปองกันมิใหมีผ ระxxxxxxบางรายxxxxxxถือ
ครองหรือควบคุมสื่อในตลาดหนึ่งๆ จนxxxxxxxกระจุกตวในตลาดสื่อน้นั ซ่ึงทําใหส คมสูญเสีย
ความหลากหลายในการแสดงความคิดเห็น เราxxxxxxxxงขอจํากัดในการถือครองสื่อของ
ประเทศในกลุม OECD ออกxx xมลกษณะของมาตรการดังตอไปนี้
1. มาตรการท่ีกําหนดสัดสวนหรือจํานวนของสถานีวิทยุหรือโทรท xxxx
แตละรายxxxxxxถือครองได เชน การหามไมใหแตละรายเปนเจาของ
สถานีโทรท นเ กินกวา 1 สถานี หรอวิื ทยเุ กินกวา 3 สถานีจากสถานี
ทังหมดไมเกิน 8 สถานีในเขตพืน้ ท่เี ดียวกัน (แคนาดา) หรือหาม เปนเจาของสถานีโทรทัศนมากกวา 1 แหงในพื้นที่เดียวกัน (สหรัฐ)
2. มาตรการที่กําหนดขอบเขตการรับชมรับฟงส่ือสูงสุดไวลวงหนา เชน
การห
มxxxxxxละรายครอบคลมพ
ที่เกินกวารอยละ 75 ของประเทศ
(ออสเตรเลีย) หรือใหบริการในพื้นที่ซ่ึงมีประชากรเกินกวา 4 ลานคน
(ฝร่งเศส) การห
(สเปน)
มเคเบิ้ลทีวีแตละรายมีสมาชิกเกินกวา 1.5 ลานคน
3. มาตรการที่กําหนดเพดานสวนแบงตลาดในดานผxx มหรือรายไดจ าก การประกอบการเม่ือเทียบกับสวนแบงตลาดทั้งหมด เชน การหามไม
ให ถานีโทรท นแตละแหงมสี วนแบงผู ชมเฉxxxยตอปเ กินรอยละ 30
(เยอรม
) หรือ การหามสถานีโทรท
นมีรายxx
xกคาโฆษณาและคา
รับชมเกินกวารอยละ 30 ของท อุตสาหกรรม (อิตาลี)
4. มาตรการที่อ งอิงหลกกฎหมายแขงขนxxx งการคา xxx ใชหล ักเหตุผล
(rules of reason) ในการควบคุมการควบรวมกิจการ หรือ ควบคุม การใชอํานาจเหนือตลาดในทางไมชอบ (โปรตุเกส)
5. มาตรการxxxxxกําหนดขอจํากัดxxxxxxxxxไวลวงหนา แตxx xลพนจxxx ก
หนวยงานกํากับดูแลในการแทรกแซงตลาดไดเชน การที่ Media
Ownership Authority อาจแทรกแซงตลาดส่ือไดในกรณีท่ีบุคคลใดถือ ครองสื่อมากเกินไปในประเทศหรือในแตละพื้นที่ (นอรเวย)
มาตรการของบางประเทศยังอาจจํากัดขอบเขตการเปนกรรมการของแตละบุคคลไว เน่ืองจากผูท่ีเปนกรรมการxxxxxxควบคุมการดําเนินการของบริษัทที่ประกอบธุรกิจสื่อได เชน
ห มเปนกรรมการในสถานีโทรท นเ กินกวา 1 แหง (เดนมารก) นอกจากนี้ บางประเทศยงั
กําหนดสัดสวนสูงสุดในการถือห ในบริษัทแพรภาพกระจ ายเสียงทxxxx ละบคคุ ลxxxxxxถือครอง
ได เชน ไมxxxxxxถือห เบิรก)
ไดเกินกวารอยละ 25 ของหุนทั้งหมดในบริษัท (กรีซและล
เซม
มาตรการเหลาน ีจดอุ อนและจดุ แข็งทแ่ ตกตางกัน xxxม าตรการในกลุมท่ี 1 จะ
xxxxxxบงั คับใชไดงายกวามาตรการในกลุมที่ 4 หรือ 5 เน่ืองจากมีขอกําหนดที่ชดั xxxตายตัว ซ่ึงนาจะเหมาะสมกับประเทศกําลังพัฒนาที่หนวยงานกํากับดูแลยังมีขีดความxxxxxxxxสูงมาก หรือการบังคบใชกฎหมายยังไมมีความโปรงใสเพียงพอ สวนมาตรการในกลุมท่ี 2 ซ่ึงมุงเนน
จํากัดดานโครงสร
งลวงหน
ก็นาจะเปนมาตรการท่เหมาะสมกวามาตรการในกลุมที่ 3 ซึ่งมุง
เนนจํากัดผลประกอบการท่ีเกิดขึ
ในแงท่ีxxxxxxตรวจสอบได
ายกวา
2.2 ขอจํากัดในการถือครองโดยชาวตางชาต
ประเทศสมาชิก OECD สวนใหญมีกฎเกณฑที่ห มการถือครองสื่อแพรภาพกระจ าย
เสียงโดยชาวตางชาติ มาตรการโดยทั่วไปมักมุงเนนจํากัดการถือหุนหรือการเปนกรรมการ
ของชาวตางชาติในบริษทสื่อ อยางไรก็ตาม การให ําจาxx xดความของ “ชาวตางชาติ” อาจแตก
ตางกันออกไปตามความตกลงทางการคาระหวางประเทศหรือความตกลงระหวางประเทศอื่นๆ เชน ประเทศในสหภาพยุโรปบางประเทศถือวา คนในสหภาพยุโรปไมถือเปนชาวตางชาติ ใน
ขณะที่สหราชอาณาจักรอนุญาตใหผ ือสญชาติของประเทศในเขตเศรษฐกิจยุโรป (European
Economic Area) หรือนิติบุคคลท่ีจดทะเบียนในประเทศดังกลาวมีxxxxxในการขออนุญาต ประกอบกิจการส่ือในสหราชอาณาจักรได
นอกจากมาตรการด
นโครงสรางแล
บางประเทศเชน แคนาดา ออสเตรเลีย และ
เกาหลีใต ยังมีมาตรการกํากับดูแลดา นเนือหา โดยมีขอกําหนดสดสวนขั้นตํ่าของรายการท่ีผลิต ในประเทศ ในสหภาพยุโรปเอง ขอ กําหนดเรื่องโทรทัศนไรพรมแดน (The Television
Without Frontier Directive) ยังสงเสริมให
ถานีโทรท
นในสหภาพยุโรปสงวนเวลาในการนํา
เสนอรายการสวนใหญให กรายการท่ีผลิตในสหภาพยุโรป ในขณะท่ีบางประเทศเชน ฝรงเ่ั ศส
ยังมีนโยบายในการสงเสริมผูผลิตรายการxxxxxในประเทศ นอกเหนือจากมาตรการตางๆ ท่ี กลาวมาแลวขางตน
2.3 ขอจํากัดเรื่องการถือครองขามส่ือ และการถือครองสื่อขามสาขา
เราxxxxxxxxงขอจํากัดในการถือครองข มสื่อ (cross-media ownership restriction)
และการถือครองส่ือขามสาขา (cross-sector ownership restriction) ของประเทศตางๆ ในกลุม
OECD ออกไดตามลักษณะของมาตรการดงตอไปนี้
1. มาตรการที่ห มการถือครองโดยเด็ดขาด xxx เจาของใบอนญุ าต
ประกอบกิจการโทรทัศนแบบบอกรบั สมาชิกไมxxxxxxเปนเจาของใบ อนุญาตประกอบกิจการโทรทัศนท่วไป และไมxxxxxxเปนผูถ ือหุนในสื่อ อื่นเกินกวา 2 ประเภท (กรีซ) หรือการที่ผูประกอบการแตละรายไม xxxxxxถือครองสถานีโทรทศั น วิทยุ และหนังสือพิมพในพื้นท่ีเดียวกนได (ออสเตรเลีย)
2. มาตรการที่หา มการถือครองแบบมีเงื่อนไข เชน หามเฉพาะผูประกอบการ ท่ีมีอํานาจเหนือตลาดถือครองส่ืออ่ืน เชน การหามผูประกอบการหนังสือ พิมพท ่ีมีอํานาจเหนือตลาดในพื้นที่ไมใหถือหุนในบริษัทแพรภาพxxxxxx เสียงในพืxx xxxนั้น (เยอรมัน) หรือ การแบงตลาดออกเปนสวนยอยๆ เชน โทรทัศนภาคพนื ดิน วิทยุ และเคเบิ้ลทีวี-โทรทศั นผานดาวเทียม และ กําหนดให ในแตละตลาด ผxx xxxxxxxxแตละรายไมxxxxxxมีรายไดเกิน กวารอยละ 30 ของตลาดนั้น ทั้งน้ี ผูประกอบการแตละรายอาจประกอบ การไดในสองหรือสามตลาด หากไมมีรายไดเกินกวารอยละ 30 ในแตละ ตลาด (อิตาลี)
ความแตกตางของมาตรการในสองกลุมนีก้ ็คือ มาตรการในกลุมแรกมีลxxxxxxxคอนขาง ตายตัว ทําใหxxxxxxบงั คบใชไดงายกวามาตรการในกลุมที่สอง ในทางตรงกนขาม มาตรการ ในกลุมแรกอาจจํากดโอกาสในการประกอบการอยางมีประสิทธิภาพของผูประกอบการโดยไมจํา
เปน เชน ไมมีความเส่ียงจากการที่ผxx xxxxxxxxจะxxxxxxครอบงําความคิดของคนในส เนื่องจากเปนผูประกอบการรายเล็กท่ไมมีอํานาจเหนือตลาดเปนตน
คมได
3. การกําก ดูแลเชิงโครงสรางและสภาพปญหาในประเทศไทย
3.1 การกํากับดูแลเชิงโครงสรางในปจจุบัน
การถือครองและการควบคุม
โครงสรางของการถือครองสถานีวิทยุและโทรทัศนของประเทศไทยในปจจุบัน ขึนxxxกับ แนวทางในการจัดสรรคล่ืนความถี่ของหนวยงานรฐแตละแหงท่ีใหอนุญาตหรือสัมปทานแกผู ประกอบการเอกชน เงื่อนไขในการใหอนุญาตหรือxxxxxxxxxxแตกตางไปตามหนวยงานรัฐ อยางไรก็ตาม การท่ีประเทศไทยยังไมมีกฎหมายท่ีกําหนดขอจํากัดในดานความเปนเจาของ สถานีวิทยุและโทรทศั นเปนการท่วไปหมายความวา ในปจจุบันยังไมมีขอจํากดั ในการความเปน เจาของของผxx xxxxxxxxแตละราย นอกจากเง่ือนไขที่ปรากฏอยูในใบอนุญาตหรือสัมปทาน
ของผูประกอบการ เชน เดิมสถานีโทรทัศนไอทีวี มีขอจําก ไวท ่ีรอยละ 10 เปนตน
การถือครองโดยชาวตางชาต
ในการถือหุนของผูถ ือหุนแตละราย
มาตรา 39 ของรฐxxxxxxxกําหนดใหเจาของกิจการหนังสือพิมพหรือสื่อมวลชนอื่นตอง
เปนบุคคลสญชาติไทยท น ามที่กฎหมายบญxxxx กฎหมายหนึ่งทเ่ี กี่ยวของ คือ พ.ร.บ.การ
ประกอบการของคนตางดาว พ.ศ. 2542 นั้น ใหคําจํากัดความของชาวตางชาติวาหมายถึง
1. บุคคลธรรมดาซ่ึงไมมีสัญชาติไทย
2. นิติบุคคลซึ่งไมไดจดทะเบียนในประเทศไทย
3. นิติบุคคลซึ่งจดทะเบียนในประเทศไทย และมีลักษณะดังตอไปนี้
(ก) นิติบุคคลซ่ึงมีหุนอันเปนทุนต แตกึ่งหนงของนxxxx ิบคคุ ลนนั ถือโดย
บุคคลตาม (1) หรือ (2) หรือนิติบุคคลซ่ึงมีบุคคลตาม (1) หรือ (2)
ลงทุนxxxxxคาตง้ แตกึ่งหนงึ ของทุนทั้งหมดในนิติบุคคลน้นั
(ข) หางหุนสวนจํากัดหรือหางหุ
สวนสามัญท่ีจดทะเบียน ซ่ึงห
สวนผ
จัดการหรือผูจัดการเปนบุคคลตาม (1)
4. นิติบุคคลซ่ึงจดทะเบียนในประเทศไทย ซึ่งมีหุนอันเปนทุนตั้งแตกึ่งหนึ่ง ของนิติบุคคลนั้น ถือโดยบุคคลตาม (1) (2) หรือ (3) หรือนิติบุคคลซึ่งมี บุคคลตาม (1) (2) หรือ (3) ลงทุนxxxxxคาต้งแตกึ่งหนึ่งของทุนทั้งหมดใน นิติบุคคลนัน้
ทังนี้ในทายบัญชีหนึ่งของกฎหมายดังกลาวไดกําหนดใหการทํากิจการหนังสือพิมพ การ ทํากิจการสถานีวิทยุกระจายเสียงหรือ สถานีวิทยุโทรทัศน เปนธุรกิจxxxxxอนุญาตใหค นตางดาว
ประกอบกิจการดวยเหตุผลพิเศษ นอกจากนี้ กฎกระทรวง ฉบ ท่ี 10 ทอ่ี อกโดยพระราช
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxวิทยุโทรทัศน (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2530 ไดระบุxxxxxxขออนุญาต
ประกอบกิจการของคนตางด ววาใหเปนไปต ามกฎหมายการประกอบธุรกิจของคนตางดาวเชน
กัน จากขอกําหนดของกฎหมายการประกอบธุรกิจของคนตางดาว ในปจจุบัน ชาวตางชาติจึง
ไมxxxxxxถือหุนตังแตครึ่งหนึ่งในกิจการวิทยุและโทรท นในประเ ทศไทยได
อยางไรก็ตาม กฎหมายการประกอบธุรกิจของคนตางดาวมีบทบัญญัติวา ในกรณีที่มี
กฎหมายอ่ืนกําหนดเรื่องการถือห การเปนหุนสวนหรอื การลงทุนของคนตางดาว การอนุญาต
หรือการหามคนตางดาวในการประกอบธุรกิจบางประเภท หรือกําหนดหล เกณฑเกี่ยวกับการ
ประกอบธุรกิจของคนตางดาวไว ใหใชบังคบตามกฎหมายดังกลาวแทน ซึ่งหมายความวา ตอ ไปหากมีการออกกฎหมายประกอบกิจการวิทยุและโทรทัศนท่ีมีบทบัญญัติในการควบคุมการถือ หุนของชาวตางชาติในกิจการดังกลาวขึนมาเปนการเฉพาะ กฎเกณฑในดานความเปนเจาของ
ในกิจการวิทยุและโทรทัศนของชาวตางชาติ ก็จะขึนxxxกับบทบัญญัติในกฎหมายด กลาวแทน
การสงเสริมการแขงขัน
กฎหมายที่เกี่ยวกับการสงเสริมการแขงขันของไทยในปจจุบันคือ พ.ร.บ.การแขงขันทาง การคา พ.ศ. 2542 ซึ่งมีมาตรการในการปองปรามพฤติกรรมการผูกขาดใน 4 ลักษณะคือ การ ใชอํานาจเหนือตลาด (abuse of dominance) การควบรวมธุรกิจ (merger) การกระทําการตก ลงรวมกัน (collusion) และ พฤติกรรมการคาxxxxxเปนธรรม (unfair trade practice) ดังนี้
1. การใชอ ํานาจเหนือตลาด: มาตรา 25 ของกฎหมายดังกลาวมีวัตถุประสงค ในการควบคุมพฤติกรรมของผูประกอบการรายใหญที่มี “อํานาจเหนือ
ตลาด” ไมใหใชอํานาจในการจํากัดหรือกีดก การแขงขนั ซงเปนมึ่ าตรการ
ท่ีมีความจําเปนอยางย่ิงในกิจการแพรภาพกระจายเสียงซ่ึงมีแนวโนมท่ีจะมี ผูประกอบการรายใหญไมกี่รายในตลาด ทั้งนี้ การท่ีผูประกอบการราย หน่ึงรายใดมีอํานาจเหนือตลาดมิใชเปนการละเมิดมาตรา 25 โดยตวเอง
เวนแตจะใช ํานาจดังกลาวกระทําการดังตอไปน้ี
- กําหนดหรือรักษาระดับราคาซื้อหรือขายสินคาหรือคาบริการอยาง ไมเปนธรรม
- กําหนดเง่ือนไขในลักษณะท่ีเปนการบังคบโดยตรงหรือโดยออม อยางไมเปนธรรมใหผูประกอบธุรกิจอื่นซึ่งเปนลูกคาของตนตอง จํากัดการบริการ การผลิต การซื้อ หรือการจําหนายสินคาหรือตอง
จํากัดโอกาสในการเลือกซ้ือหรือขายสินคา การได หรือในการจัดหาสินเชื่อจากผูประกอบธุรกิจอื่น
ับหรือใหบริการ
- ระง ลด หรอจากํื ัดการบริการ การผลิต การซื้อ การจําหนาย การ
สงมอบ การนําเขามาในราชอาณาจ รโดยไมมเหตี ุผลอันxxxxx
ทําลายหรือทําใหเ สียหายซ่ึงสินคา เพื่อลดปริมาณใหต่ํากวาความ ตxxxxxของตลาด
- แทรกแซงการประกอบธุรกิจของผ ื่นโดยไมมเหตี ุผลอันxxxxx
2. การควบรวมธุรกิจ: การควบรวมธุรกิจ โดยเฉพาะในกรณีที่เปนการควบ รวมธุรกิจระหวางผูประกอบการสองรายxxxxxxแขงขันxxxในตลาดเดียวกัน มักทําใหตลาดดังกลาวมีการแขงขันนอยลงหรือกลายเปนตลาดxxxxxxxx
เพ่ือปองกันการผูกขาดในลกษณะดังกลาว หนวยงานปองก การผูกขาด
หรือหนวยงานกํากับดูแลจึงควรพิจารณาผลกระทบท่ีเกิดขึ้น และอาจระงับ การควบรวมกิจการในกรณีท่ีเห็นวา การควบรวมธุรกิจจะทําใหการแขงขัน
ในตลาดลดลงอยางมีน สําคัญ มาตรา 26 ของ พ.ร.บ. การแขงขนxxx ง
การคา พ.ศ. 2542 หามมิใหผูประกอบธุรกิจกระทําการรวมธุรกิจ อนอาจ กอใหxxxxxxxผูกขาดหรือความไมเปนธรรมในการแขงขัน ตามท่ีคณะ
กรรมการประกาศกําหนด เวนแตจะxx xxxxญุ าต อยางไร ก็ตาม ใน
ปจจุบันคณะกรรมการการแขงขันทางการคา ยังมิไดมีการกําหนดหลัก เกณฑท ่ีเกี่ยวของ ธุรกิจจึงxxxxxxควบรวมกันไดโดยปราศจากการกํากับ ดูแลโดยรัฐ
3. การกระทําการตกลงรวมก : การกระทําการตกลงรวมกันระหวางผ
ประกอบการต้งแต 2 รายข้ึนไปอาจมีเหตุผลในการxxxxxประสิทธิภาพทาง ธุรกิจ หรืออาจเปนพฤติกรรมการผูกขาดตลาดก็ได หนวยงานปองกันการ xxxxxxxxxตองxxxxxxxxxxxxเหตุผลในการทําความตกลงรวมกันในแต ละกรณี อยางไรก็ตาม การตกลงรวมกนในบางลักษณะถอเปนการจํากัด หรือกีดกันการแขงขันโดยตรงโดยไมมีขอยกเวนเชน การกําหนดราคารวม กัน (price fixing) และการรวมหวั กันในการประมูล (bid rigging) ใน
กรณีเหลาน หนวยง านปองกนั การผูกขาดโดยท่วไปจะxxxxxการกระทําดัง
กลาวเปนการละเมิดกฎหมายโดยตวของมนเอง หรือที่เรียกวา ใชหลักผิด โดยตัวมันเอง (per se rule) มาตรา 27 ของ พ.ร.บ. การแขงขันทางการ
คา พ.ศ. 2542 ได ําหนดลักษณะของการทําการตกลงรวมกันระหวางผ
ประกอบการต แต 2 รายขึ้นไปxxxxxxเปนกา รจํากัดหรอื กีดกันการแขงขนั
ทางการค ไวถึง 10 รปแบบู โดยกําหนดใหการทําการตกลงรวมกันใน 4
รูปแบบเปนการละเมิดกฎหมายโดยไมมีขอยกเวนคือ การกําหนดราคาขาย
สินค
หรือบริการหร
กําหนดปริมาณการขายรวมก
การกําหนดราคาซื้อ
สินค หรือบรxxx รหรือกําหนดปริมาณการซื้อรวมก ัน การตกลงรวมกัน
เพื่อเขาครอบครองตลาดหรือควบคุมตลาด และการตกลงกันในการประมูล หรือประกวดราคาสินคา หรือบริการ
4. การคาxxxxxเปนธรรม: มาตรา 29 ของ พ.ร.บ. การแขงขันทางการคา พ.ศ.
2542 หามมิให ูประกอบธุรกิจกระทําการใดๆ อันมิใชกา รแขงขนโดยxxxx
อยางเปนธรรมและมีผลเปนการทําลาย ทําใหเ สียหาย ขัดขวาง กีดกัน หรือ จํากัดการประกอบธุรกิจของผูประกอบธุรกิจอื่น หรือเพ่ือมิใหผ ูอ่ืนประกอบ ธุรกิจ หรือตองลมxxxxxxxประกอบธุรกิจ จะเห็นวา มาตรา 29 ครอบคลุม การกระทําที่เปนการแขงxxxxxxxxเปนธรรมทุกประเภท ซึ่งหากมีพฤติกรรม ของผูประกอบการใดxxxxxเขาขายความผิดในมาตรา 25-27 ก็อาจเขาขาย
ความผิดในมาตรา 29 ไดโดยไมตองมีการพิสจนวาผูกระทําด กลาวมี
“อํานาจเหนือตลาด” หรือไม อยางไรก็ตาม การใชมาตรานี้จะตองมีการ พิสูจนความเสียหายกอน ซึ่งแตกตางจากการใชม าตรา 25 ซ่ึงไมจําเปน ตองพิสูจนความเสียหายแตอยางใด
จะเห็นไดวา กฎหมายแขงขันทางการคามีบทบัญญัติสวนใหญในการควบคุมพฤติกรรม
ของผูประกอบการมากกวาการกํากับดูแลดานโครงสร งโดยตรง ยกเวนในสวนทเ่ี กี่ยวของกับ
การควบรวมกิจการดังท่ีกลาวมาขางตน อยางไรก็ตาม กฎหมายดังกลาวก็ยังมีปญหาในทาง ปฏิบัติหลายประการ เชน ยงไมมีการกําหนดนิยามของการมีอํานาจเหนือตลาดเปนการท่วไป และยงไมมีกฎเกณฑท่ีเก่ียวของกบธุรกิจท่ีจะตองขออนุญาตในการควบรวมกิจการ นอกจากนี้ กฎหมายยังมีขอยกเวนในการบังคับใชตอหนวยงานรัฐ ทั้งหนวยราชการและรัฐวิสาหกิจ ซ่ึงทํา
ใหไมxxxxxxควบคุมพฤติกรรมของหนวยงานรฐจ
นวนมากในตลาดวิทยุและโทรท
น ใน
กรณีที่หนวยงานดังกลาวมีพฤติกรรมท่ีกีดกันการแขงขัน
การออกใบอนุญาต
ในปจจุบัน ประเทศไทยยังไมมีระบบการใหอนุญาตการประกอบกิจการวิทยุและโทร ท นจ ากหนวยงานกํากบั ดูแลท่ีเปนxxxxx อยางไรก็ตาม พระราชบัญญัติวิทยุกระจายเสียงและ
วิทยุโทรทัศน (ฉบ
ท 4) พ.ศ.2530 ไดใหอํานาจกรมxxxxxสัมพันธในการกําหนดหล
เกณฑ
วิธีการ เงื่อนไข ในการขออนุญาตแพรภาพกระจายเสียง (ท ทางคลื่นและสื่อตัวนาไฟฟํ า) ตลอด
จนมีหนาที่ในการกําหนดเงื่อนไขในการดําเนินการและควบคุมดานรายการ การโฆษณาและ
บริการธุรกิจ ลักษณะพึงประสงคทางเทคนิค กําหนดxxxxxบ ิของผูทรบใบอนญุัี่ าตเปนผ ูจดั
รายการหรือดําเนินรายการ กําหนดเวลาใหสถานีทําการถายทอดรายการท่ีกําหนด การเพิก ถอนใบอนุญาต และการกําหนดคาธรรมเนียม คาดวา กฎหมายดังกลาวจะถูกยกเลิกไปเม่ือมี การออกกฎหมายการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศนฉบับใหมขึ้นมาแทน
ในด
นการจัดสรรคลื่นความถ่ีน
พระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่ ไดกําหนด
ใหมีการจดตั้งคณะกรรมการการสื่อสารแหงชาติ (กสช.) โดยให กสช. มีหนาท่ีในการกําหนด นโยบายและแผนแมบทกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน และแผนความถี่วิทยุ แผนแม บทการบริหารคลื่นความถี่ และตารางการกําหนดคล่ืนความถี่แหงชาติ ตลอดจนพิจารณาออกใบ อนุญาตและกํากับดูแลการใชคล่ืนความถ่ีเพื่อกิจการดังกลาว ทั้งนีการดําเนินการวางแผนการ ใชคลื่นความถ่ีจะเปนการดําเนินการรวมกบั คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กทช.)
3.2 สภาพป หาเชิงโครงสราง
รายงานการศึกษาโครงสร งสื่อวิทยและxx ทรทัศนในประเ ทศไทยโดย xxxxxxxxx และ
ธนวิทย (2546ข) พบวาโครงสร งสื่อวิทยและxx ทรทัศนของไทยมปญหี าหลายประการดังน้ี
โทรทัศน
ในปจจุบนตลาดโทรท นในประเทศไทย มxxx ประกอบการ 6 ราย โดยเปนการดําเนิน
การโดยรัฐ 3 ราย และเอกชนซึ่งรับสมปทาน 3 ราย ผ ระxxxxxxที่มสี วนแบงตล าดสูงสุดคือ
ชอง 7 และชอง 3 ซึ่งมีสวนแบงตลาดในระดับเกินกวารอยละ 25 ทั้ง 2 ชอง ทงั้ สองรายไดรบั
สัมปทานใหประกอบการไปจนถึงปพ.ศ. 2566 และปพ.ศ. 2563 ตามลําดับ
ลักษณะของการผลิตรายการโทรทัศนมีท
การผลิตเองโดยสถานี ซ่ึงได
กรายการขาว
สวนรายการบันเทิงมักเปนการจางบริษ
อื่นผลิต ท้งบริษัทในเครือ บริษัทที่เกี่ยวเนื่องก
หรือ
บริษัทผูผลิตรายการxxxxx โดยมีลักษณะของสญญาทั้งสัญญาจางผลิต และสัญญาแบงเวลา
โฆษณา (time sharing) ตามสัดสวนที่ตกลงxxx xxxxนี ึ ก ความเสี่ยงของรายการในการดึงดูด
ผูชม ลกษณะของสัญญาดังกลาวซ่ึงกําหนดโดยสถานีสะทอนใหเห็นถึงอํานาจตอรองของสถานี ท่ีมีเหนือผูผลิตรายการ และชีใหเห็นถึงความเปนไปไดในการใชอํานาจในการตลาดที่เหนือกวา ในการกําหนดเง่ือนไขxxxxxเปนธรรมแกผูผลิตรายการ
พฤติกรรมxxxxxใหเห็นถึงอํานาจตอรองในระดบั สูงของผูประกอบการโทรทัศนรายใหญก็ คือ ความxxxxxxในการขึนอัตราคาบริการอยางตอเนื่องในระดบเฉxxxยรอยละ 8.8-9.5 ตอปใน ระหวางป 2533-2546 ซ่ึงเปนระดับที่สูงกวาอัตราเงินเฟอของระบบเศรษฐกิจโดยรวมซึ่งxxxใน
ระดบเฉxxxยเพียงรอยละ 3.9 เปนอยางมาก นอกจากน การผนวกกนในแนวดิ่งทงในxxx xปแบบ
บริษัทในเครือหรือบริษัทท่ีเก่ียวเนื่องกนซึ่งเปนแนวโนมท่ีพบมากขึนตั้งแตชวงปลายป 2546
เปนตนxx xxxเปนอุปสรรคในการเขาสูตลาดของผูผลิตรายการรายใหมอีกดวย
ในกรณีของสถานีโทรท
นของร
ปญหาสําคญประการหนึ่งในปจจุบันก็คือ การจัดสรร
เวลาใหเอกชนเขามารวมผลิตรายการดวยเปนระบบการแขงขันที่มีความโปรงใส ซ่ึงอาจเปดชอง วางใหมีการแสวงหาผลประโยชน หรือการใชสายสมพนธกบผูม ีอํานาจได
ผลลัพธของระบบโทรท นในประเ ทศไทยท่ีกลาวมาขางตนคือ การท่ีผูประกอบการโดย
เฉพาะผูประกอบการรายใหญมีผลตอบแทนสูงมาก ในขณะที่รายการมีความหลากหลายลด ลง และผูประกอบการรายใหมประสบปญหาในการเขาสูตลาด ซ่ึงทําใหประชาชนขาดการได รับขาวสารและความคิดเห็นที่หลากหลาย
โทรทัศนแบบบอกร สมาชิก
ตลาดโทรท นบอ กรบสมาชั ิกในประเทศไทยแบงเปน 2 ตลาดท่ีแตกตางกันคือ ตลาด
ระดบประเทศ ซึ่งในปจจุบนมีผูประกอบการรายเดียวคือ UBC และตลาดระดบxxxxxxx ซึ่ง ประกอบไปดวยผูประกอบการxxxxxรับอนุญาต 78 รายและผูประกอบการอื่นๆ อีกประมาณ 160
ราย ท สองตลาดนี้ เปนต ลาดที่แยกขาดจากกัน อยางไร ก็ตาม ในชวงป 2546 พบแนวโนม
ท่ีบริษัท UBC ไดมุงจําหนายรายการของตนผานเครือขายของสถานีโทรทัศนบอกรบั สมาชิกใน ตางจังหวัดดวย
อุปสรรคในการแขงขันในตลาดในมุมมองของบริษัท UBC ได ก การที่สญญาสัมปทาน
หามการโฆษณา การที่รายการของบริษัทถูกละเมิดลิขสิทธ และการท่ีสัญญาสัมปทานมีขอ
จํากัดตางๆ ซึ่งทําใหบริษัทตองขออนุญาตจากรัฐกอนเปล่ียนแปลงใดๆ สวนอุปสรรคในการ ประกอบการในมุมมองของผxx xxxxxxxxรายเล็กไดแ ก การกําหนดคาสัมปทานซ่ึงคิดตายตัว
ตามจํานวนชอง ชองละประมาณ 20,000 บาท โดยไมคํานึงถึงพ ทxxxx การประกอบการ ซงเปน่ึ
อุปสรรคในการเขาสูตลาดของผูประกอบการรายเล็ก การมีขอจําก ในการวางโครงขายในเขต
กรุงเทพ การไมxxxxxxซื้อรายการจากตางประเทศ เนื่องจากผูประกอบการรายใหญทําสัญญา ท่ีมีลักษณะปดxxxxxxอ่ืน (exclusive)
ในมุมมองด นนโยบายสาธารณะ UBC ซงเปนผึ่ ูประกอบการรายใหญ ถอไดวาเปนผ
ประกอบการที่มีอํานาจเหนือตลาด (market dominance) ในความหมายตามหลักวิชาเศรษฐ
ศาสตร เนื่องจากเปนรายเดียวที่ประกอบการอย โดยมีสวนแบงตล าดรอยละ 100 ในตลาด
ระดบประเทศ ซ่ึงเปนตลาดที่มีอุปสรรคในการเขาสตลาดสูง และมีการแขงขันทางออมxxxxxรุน
แรง บริษัทด กลาวจงxxx มารถขึ้นอัตราคาบริการไดอยางต อเนองโ่ื ดยจานวํ นสมาชิกไมล ดลง
ผูวิจัยยังพบพฤติกรรมในการแสวงหาผลประxxxx
xกผ
ริโภคในรูปแบบตางๆ ในชวงท่ีผานมา
เชน การลดจํานวนแพ็กเกจซ่ึงเปนการลดทางเลือกของผูบริโภค การเลือกปฏิบัติระหวาง สมาชิกรายเดิมและสมาชิกใหม การปรับยายรายการxxxxxรับความxxxxเขาสูแพ็กเกจราคาแพง เปนตน ในชวงหลัง ยงมีรายงานขาวถึงพฤติกรรมอ่ืนๆ ท่ีมีลักษณะการใชอํานาจเหนือตลาด อีกเชน การทําสัญญาที่มีลักษณะปดกนั รายอื่น (exclusive) และการกําหนดราคาแบบเลือก
ปฏิบัติระหวางผูบริโภคในกรุงเทพและในตางจังหวัด ซึ่งทําให ูบรโภคในกรงxxx ทพเสียประโยชน
วิทยุ
ตลาดวิทยุในประเทศไทยเปนตลาดที่แตกเปนตลาดยอย (fragmented) กวา 520 สถานี ตามพื้นท่ี โดยมีทั้งผูประกอบการรัฐ และผูรับสัมปทานเอกชน อุปสรรคในการเขาสูตลาดวิทยุ ในประเทศไทยคือ ระบบสัญญาสมปทาน ซึ่งมีอายุสน้ มาก และมีความเส่ยงสูงเนื่องจากหนวย
งานภาครัฐxxxxxxบอกเลิกสัญญาได ายเดยว หรอในบางื กรณีก็ไมม ีสัญญาเลย นอกจากน
xxxxxxxxxxx xซง่ึ สมปทานยังขาดความโปรงใสและแทบไมมมาตี รฐานในการคิดคาสัมปทาน
ซึ่งเอื้อตอระบบอุปถัมภและการคอรรปชั่น
การวิจยั ที่ผานมาพบวา ตลาดวิทยุเริมมีแนวโนมกระจุกตวั (concentration) สูงข้ึน ดัง จะเห็นไดจากสดสวนรายไดของผูประกอบการวิทยุ FM ในกรุงเทพ 3 รายใหญที่สุดxxxxxขึ้นจาก รอยละ 13 ของรายไดโฆษณาผานสื่อวิทยุทงั หมดในป 2542 เปนรอยละ 18 ในป 2544 นอก
จากน ยงมแนวโนมมีั ุงไปสูการเปนเครอขายวื ิทยระุ ดับประเทศ ซงจะช่ึ วยใหผ ูประกอบการxxxxx
xxxxxขายไดเปรียบในการหาโฆษณา และการลดต ทนในุ การผลิตรายการ ในขณะเดียวกัน
โครงสรางตลาดวิทยุก็มีการผนวกกันในแนวดิ่งกบธุรกิจที่เกี่ยวเน่ือง โดยเฉพาะธุรกิจเพลงมาก
ข เนื่องจากผูผลิตเพลงxx xxประมูลคลื่นวิทยุ
รายงานการวิจัยที่ผานxxxxxพบดวยวา สถานีวิทยุที่ธุรกิจเพลงเปนผูดําเนินการมีแนว
โนมในการเปดเพลงในคายของxxxxxกวาสถานีท่ีเปนผxx xxxxxxxxxxxxxอยางมีน สถิติ ซ่ึงนาจะเปนอุปสรรคในการเขาสูตลาดของผูผลิตเพลงxxxxx
สําคัญในทาง
4. ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย
ในหัวขอนี้ คณะผูวิจยจะนําเสนอขอเสนอแนะทางนโยบายในการกาก ดูแลโครงสร ง
ของสื่อวิทยุและโทรท
น โดยจะใหความสําคญต
การปรบปรุงกฎเกณฑในการกํากับดูแลจาก
กฎเกณฑท ี่มีอยูในปจจุบัน หรือท่ีกําลังดําเนินการxxx เชน การรางกฎหมายการประกอบกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน
4.1 กฎเกณฑในดานความเปนเจาของ
ดังที่กลาวมาข งต กฎเกณฑทเ่ี ก่ยวของ กับความเปนเจาขอ งหรอื การควบคุมกิจการ
วิทยุและโทรทัศนเกี่ยวของกับขอกําหนดตางๆ คือ การจํากัดสัดสวนการถือหุนของผูถือหุนแต
ละราย การจํากัดจํานวนสถานีวิทยุและโทรท นท ี่ผูประกอบการxxxxxxละรายxxxxxxถือครอง
ได การจํากัดสัดสวนการถือหุนของตางชาติ และการจํากัดการถือครองขามสื่อและการถือครอง
ส่ือขามสาขา กฎเกณฑด กลาวลวนมจดประุี สงครวมก ันคือ การสงเสรมใิ หเกิดความหลาก
หลายดานโครงสราง บนพื้นฐานของxxxxxxxxxวา ความหลากหลายด ความหลากหลายดานเนือหา
นโครงสรางจะทําใหเกิด
ในสวนของการถือหุนของผ
ือหุนแตละรายน
ผูวิจัยมีความเห็นวา หลักเกณฑท่ีจะ
กําหนดข
xxxxxxจะตองคํานึงถึงความเปนจริงที
า สื่อวิทยุและโทรทัศนในประเทศไทยสวนใหญ
ยกเวนสื่อของรัฐเปนส่ืxxxxดําเนินการทางธุรกิจ ซึ่งหมายความวาหลกั เกณฑในการถือหุนควร จะสอดคลองกับแนวทางดานบรรษัทxxxxx (corporate governance) ในปจจุบัน ซ่ึงผูถือหุนใน
บริษัทสวนใหญมักเปนกลุมผู
ือหุนรายใหญไมก่ีกลุม3 การกําหนดสัดสวนการถือครองหุxxxx
ผูถือหุนแตละรายxxxxxxถือครองxx xงสุดไวในระดับทตํี่ ่ามากเชนรอยละ 10 จงxx xจไมเหม าะ
สมกับสภาพความเปนจริง และอาจทําใหเกิดปญหาขัดแยงในการควบคุมบริษัทของผูถือหุน จํานวนมาก เชนกรณีxxxxxxเกิดขึ้นกับสถานีโทรทัศนไอทีวี การสงเสริมใหเ กิดความหลาก
หลายทางโครงสรางจึงควรกฎเกณฑ
่ืนๆ ในดานโครงสร
งแทน
สวนของการกําหนดหลักเกณฑในการถือหุนของชาวตางชาตินัน้ ประเทศตางๆ สวน ใหญมักมีขอจํากัดในการถือครองหุนสวนของชาวตางชาติ เนืองจากเกรงวาจะถูกครอบงําทาง วัฒนธรรม ผูวิจัยมีความเห็นวาประเทศไทยควรมีหลกั เกณฑในลกษณะเดียวกัน โดยควรมีขอ
กําหนดหามชาวตางชาติถือครองหุ
สวนข
งมากในกิจการวิทยุ โทรทัศนและโทรทัศนแบบบอก
รับสมาชิก และควรหามชาวตางชาติเปนกรรมการในกิจการดังกลาวในสัดสวนขางมากตามขอ
3 ลกษณะดังกลาวแตกตางจากแนวทางดานบรรษัทxxxxxของประเทศสหรัฐ และสหราชอาณาจักร ซ่ึงบริษัทในตลาดหลักทรัพย สวนใหญเปนกิจการที่มีผูถ ือหุนขางนอยจํานวนมาก
หัวใจสําคัญของการสงเสริมใหเกิดความหลากหลายด นโครงสรางขอ งกิจการวิทยxxxx
โทรทศั นในประเทศไทยนาจะอยูท่ีการกําหนดขอจากัดในการถือครองสถานีวิทยุและโทรทัศน ของผูประกอบการแตละราย และการถือครองขามสื่อและการถือครองส่ือขามสาขา ทั้งนี้ ผูวิจัย
มีความเห็นวา ควรมีการจํากัดจํานวนสถานีวิทยุและโทรท นทผ่ี ูประกอบการxxxxxละราย รวม
ทังหนวยงานร
xxxxxxถือครองไดไวไมใหสูงน
เชน ไมใหถือครองสถานีโทรทัศนไดเ กิน 1
สถานี และสถานีวิทยุเกินกวารอยละ 20 ของจํานวนสถานีท่ีมีอยูในพื้นที่น เพื่อปอง กันมิใหผ
ประกอบการรายใดรายหนึ่งxxxxxxมีxxxxxxxเหนือประชาชนในพื้นที่น
ไดมากเกินไป ท
นี้
กฎเกณฑที่ใช วรเปน กฎเกณฑทมขอี่ี กําหนดชัดเจนมากกวาการใหดุลพนจxxx กหนวยง านกํากับ
ดูแล เนื่องจาก ขีดความxxxxxxในการวิเคราะหโครงสรางตลาดและมาตรการในการรับประก
ความโปรงใสของหนวยงานกํากับดูแลในชวงแรกยงไม าจะสูงนกั ขอจาxx xดในการถือครอง
สถานีวิทยุและโทรทัศนดังกลาวอาจผอนผันลงได หากมีหลักประกันวาเทคโนโลยีใหมๆ เชน เทคโนโลยีวิทยุและโทรทัศนในระบบดิจิตัลxxxxxxxxxxxxนแปลงโครงสรางตลาดไดอยางมีนัย
สําค
ซึ่งนาจะยงไมเกิดขึนในxxxxxอนใกลน4้ี
อยางไรก็ตาม ผูวิจยเห็นวา ยังไมมีความจําเปxxxxประเทศไทยจะตองมีกฎเกณฑ ั่วไป
ในการถือครองขามสื่อระหวางสื่อวิทยุโทรท นและ สื่อหนงั สือพมพิ เหมอนในตื างประเทศบาง
ประเทศ เนื่องจากท่ีผานมา ตลาดหนังสือพิมพในประเทศไทยมีการแขงข กันอยมู ากพอxx
xxx นอกจากนี้ การถือครองข มส่ือยงนาจะมั ีประโยชนในการลดตนทนในุ การประกอบการของ
ผูประกอบการ ซึ่งนาจะสงผลดีตอผูบริโภคดวย การควบคุมการถือครองขามสื่อจึงควรจะมีขึ้น
ก็ตอเม่ือมีเหตุท่ีทําใหเช่อได
า การถือครองข
มสื่อดังกลาวจะลดการแขงขนในตลาดส่ืxxxxเกี่ยว
ของอยางมีน เทานั้น
สําคัญ และทําใหเกิดความสูญเสียตอความหลากหลายในการแสดงความคิดเห็น
4.2 กฎเกณฑในดานการออกใบอนุญาต
ระบบสมปทานไดส รางอุปสรรคในการประกอบกิจการวิทยุและโทรทศั นในปจจุบันหลาย ประการ ในกรณีของวิทยุและโทรทัศน ระบบสัมปทานxxxxxโปรงใสมีผลในการโอนกรรมสิทธใิ น การใชค ลื่นความถ่ี xxxxxxxxxคามหาศาลใหแกผูป ระxxxxxxเอกชนกลมนอย โดยที่รฐและสังคม ไมไดxxxxxตอบแทนอยางเหมาะสม ในกรณีของวิทยุ สญญาxxxxxxxxxxมีอายุสั้นเพียง 1-2 ป
4 ดูรายละเอียดxxxxxเติมใน xxxxxxxxx (2547)
และไมมีเง่ือนไขxxxxxxxxxxในการคุมครองผูประกอบการยังมีผลทําxx xฐxxxxxxแทรกแซงสื่อ
วิทยุผานหนวยงานรฐั ที่เปนผใู หสมปทานไดโดยงาย สวนในกรณีของโทรทัศนแบบบอกรับ สมาชิก xxxxxxxxxxผูประกอบการแตละรายไดรับมเง่ือนไขที่แตกตางกัน ซ่ึงสรา งความไมxxxx xxxในการแขงขัน ปญหาท่ีสําคัญอีกประการหนึ่งก็คือ สัญญาสัมปทานในปจจุบันยังมีเนื้อ หาสวนใหญในดา นขอ กําหนดทางเทคนิคและการแบงผลตอบแทนระหวางรฐและเอกชนเทานน้ั โดยไมมีเง่ือนไขท่ีเอื้อตอการกํากับดูแลดานโครงสรางและดานเนื้อหาเชน ขอกําหนดดานจรรยา บรรณตางๆ เปนตน
จากที่กลาวมาขางตน จะเห็นวาการxxxxxxโครงสรางของสื่อวิทยุและโทรทัศนในประเทศ ไทยจะเกิดขึนไมไดหากไมมีการxxxxxxระบบใบอนุญาตประกอบกิจการ ทังนี้ การxxxxxxระบบ ใบอนุญาตควรมีแนวทางดังตอไปนี้
▪ กระบวนการออกใบอนุญาตตองมีความโปรงใสเชน มีข ตอนในการขอรบั
ฟงความคิดเห็นจากสาธารณะ (public consultation) ตอหลักเกณฑในการ ออกใบอนุญาต มีขอกําหนดใหกสช.ประกาศหลักเกณฑในการออกใบ
อนุญาตให
ราบอยางกวางขวางที
ุด และมีความเปนธรรมในการคัด
เลือกผไู ดรบใบอนุญาต โดยตองมีกระบวนการค เลือกทมประีี่ xxxxxภาพ
และเปนธรรม เชนการจัดสรรคล่ืนความถ่ีดวยวิธีการประมูลในกรณีการ ประกอบการในเชิงพาณิชย สวนในกรณีของการประกอบกิจการแพร ภาพกระจายเสียงสาธารณะหรือชุมชน ซึ่งมีจุดประสงคไมแสวงหาผลกําไร
อาจใชวิธีการคัดเลือกจากขอเสนอ ประกอบก การขอรับเงินทนอุ ุดหนนุ
จากกองทุนพฒนากิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศนเพื่อประโยชน สาธารณะควรจัดเก็บคาธรรมเนียมใบอนุญาตในการใชคลื่นความถี่ที่ถือ ครองโดยหนวยงานรฐในระดับท่ีเหมาะสมกับคาเสียโอกาส โดยไมยกเวน คาธรรมเนียมในการใชคลื่นความถ่ี โดยเฉพาะแกหนวยงานท่ีถือครองคล่ืน ความถี่เกินกวา 1 สถานี เพื่อใหหนวยงานรัฐใชคล่ืนความถ่ีเทาที่จําเปน
ไมถือครองคล่ืนความถี่ไว ากเกินไป และนําไปแสวงหาผลประโยชนใน
เชิงพาณิชยในแนวทางxxxxxมีความโปรงใส และเปนอุปสรรคขัดขวางการ ใชคลื่นความถ่ีของภาคเอกชนและภาคประชาชน
▪ ในกรณีท่ีการประกอบการไมเก่ียวของก การใชทรพยั ากรxxxxxxจากํูี ัด xxx
คล่ืนความถี่ การกําหนดคาธรรมเนียมใบอนุญาตควรยึดหลักเกณฑใหคา ธรรมเนียมดังกลาวมีความครอบคลุมคาใชจายในการกํากับดูแลผูประกอบ การนนั ๆ โดยไมสรา งภาระจากคาธรรมเนียมใบอนุญาตที่สูงเกินไป เพื่อสง
เสริมใหเกิดผ ระxxxxxxหลายรายแขงขนกั ันในตลาด
▪ ใบอนุญาตควรมีระยะเวลาที่คุมก การลงทุนแตไมควร ทีจะนานเกินไป xxx
ในตางประเทศ ระยะเวลาของใบอนุญาตแพรภาพกระจายเสียงทุกประเภท
ม จะไมเกิน 5-8 ป ทงั นี้ เพื่อใหผูประกอบการอ่ืนมีโอกาสเขาสูตลาด และ
xxxxxxนําคลื่นความถี่ดังกลาวไปใชไ ดอยางยืดหยุนและมีประสิทธิภาพสูง
สุดเชน นําไปใชในการแพรภาพกระจายเสียงแบบดิจิต เปนต น
▪ การตออายุใบอนุญาตควรมีความโปรงใสเชนเดียวกับการขอใบอนุญาต โดยควรคํานึงถึงผลการดําเนินการท่ีผานมาของผูประกอบการ เชน การ พิจารณาวามีการปฏิบัติตามกฎxxxxxxxหรือขอกําหนดดานจริยธรรม (code of conduct) หรือไม ทั้งนี้ การพิจารณาตอใบอนุญาตควรดําเนิน การกอนท่ีใบอนุญาตที่มีอยูจะหมดอายุพอxxxxxxxน กอนใบอนุญาตหมด
อายุอยางนอย 6-9 เดือนขึนไป เพื่อใหxxxxxxคัดเลือกผ ระxxxxxxราย
ใหม และใหผูประกอบการxxxxxไดรับอนุญาตxxxxxxเตรียมความพรอมใน การเลิกกิจการได
▪ ใบอนุญาตควรมีการกําหนดxxxxxและหนาที่ของผูรับใบอนุญาตxxxxxxxxx
เชน xxxxxในการใชโครงสร งพืนฐานและพื้นทส่ าxxxxx (rights of way)
xxxxxในการใชโครงขายโทรคมนาคมสาธารณะ (public telecom operator)
เชน การใช
องสัญญาณของผ
ระxxxxxxดาวเทียม และการรวมใชโครง
ขายของผูประกอบการอื่น และควรมีเงื่อนไขในการกําก
ดูแลในด
นตางๆ
ตามความจําเปน โดยเฉพาะอยางย่ิงในชวงแรกxxxxxไมมีกฎxxxxxxxในการ กํากับดูแลตางๆ อยางครบถวนสมบูรณ เชน ประเภทและสัดสวนราย การ ตลอดจนมาตรฐานในทางจรรยาบรรณตางๆ เปนตน
4.3 การสงเสริมการแขงขัน
จากการวิเคราะหในหวขxxxxผานมาจะเห็นวา ในปจจุบัน ผูประกอบการในตลาดวิทยุและ
โทรxxxx xงราย มพฤติี กรรมในลักษณะที่กีดกันการแขงขนขอั งผูประกอบการรายอื่นหรอมกาีื ร
กําหนดเงื่อนไขในการประกอบธุรกรรมกับผ ระxxxxxxอื่นๆ หรอผบรโภคในลิูื ักษณะxxxxxเปน
ธรรมเชน การกําหนดอตราคาบริการในระดับท่ีสูงเกินไป หรือการบังคับขายพวง พฤติกรรม
ด กลาวควรถูกควบคุมดวยพ.ร.บ. การแขงข
ทางการคา ซึ่งมีผลบ
คับใชแลวตังแตป 2542
อยางไรก็ตามในปจจุบัน พ.ร.บ.การแขงขันทางการคายังไมxxxxxxบังคบใชไดอยางมีประสิทธ ผลในหลายเรื่อง เนื่องจากยังไมไดมีการกําหนดนิยามของผูมีอํานาจหรือตลาด หรือกฎเกณฑ
ในการควบรวมกิจการ เพื่อใหxxxxxxบ คบใชกฎหมายดังกลาวอยางม ีxxxxxxxxxx คณะ
กรรมการแขงขันทางการคา รัฐบาลและกสช. แลวแตก รณีควรเรงดําเนินการดังตอไปนี้
ก) ประกาศหลักเกณฑการมีอํานาจเหนือตลาด และหลักเกณฑในการควบรวมกิจ การใหมีความชัดเจนโดยเร็ว
ข) กําหนดมาตรการปองก การใชอํานาจเหนือตลาดอยางไมเปนธ รรมของผ
ประกอบการสถานีโทรทศั นและวิทยุรายใหญ ที่มีสวนแบงตลาดสูง และการม การผนวกกนในแนวด่ิง (vertical integration) ซึ่งทําใหผูประกอบการรายใหม ไมxxxxxxเขาสูตลาด หรือไมxxxxxxแขงขันได
ค) พฒนาความxxxxxxในการวิเคราะหการแขงขันในตลาดส่อแพรภาพxxxxxx เสียงของคณะกรรมการและเจาหนาที่ กสช. เมื่อไดรับการจัดตั้งขึน้
นอกจากน
กฎหมายการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน
ังควรมีบท
บัญญัติปองกันการแขงxxxxxxxxเปนธรรมที่พบเฉพาะในกิจการดังกลาว และไมมีบทบัญญัติใน
กฎหมายแขงขันทางการคารองรับ เชน ควรมีกฎxxxxxxxในการใชอุปกรณ ับสัญญาณโทรทัศน
แบบบอกรับสมาชิก (conditional access equipment) หรือ โปรแกรมรายการอิเล็กทรอนิกส
(electronic programming guide) เพื่อปองกนมิใหผxx xxxxxxxxโทรทศั นแบบบอกรบั สมาชิกใช
ความเปนเจาของอุปกรณ
ังกลาวในการกีดกันการแขงขันจากผ
ระxxxxxxรายใหม
เอกสารอางอิง
เดือนเดน และเสาวลักษณ (2546) เดือนเดน xxxxบริรักษ และเสาวลกษณ ชีวxxxxxxxxนท,
“การปองกันการผูกขาดในตลาดโทรคมนาคม”, สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2546
xxxxxxxxx (2547) xxxxxxxxx ต้งั กิจxxxxxย, “สื่อดิจิตัลและเทคโนโลยีส่ือ”, สถาบันวิจัยเพื่อการ พฒนาประเทศไทย, 2547
xxxxxxxxx และxxxxx (2546ก) xxxxxxxxx ต กิจวานชยิ และxxxxx รตั นนฤมตรxx x, “สภาพตลาด
โทรคมนาคมในตางประเทศและประเทศไทย”, สถาบันวิจัยเพื่อการพฒนาประเทศไทย, 2546
xxxxxxxxx และxxxxx (2546ข) xxxxxxxxx xxxx xxxxxxxxย และxxxxx รตั นxxxxxxศร, “การจัดสรร คลื่นความถี่”, สถาบันวิจยเพ่ือการพฒนาประเทศไทย, 2546
xxxxxxxxx และธนวิทย (2546ก) xxxxxxxxx xxxx xxxxxxxxย และธนวิทย สุทธรตนกุล, “วตถุ ประสงค ภาพxxxxxxxxxxxxx และxxxxxxxxxควรจะเปนของระบบส่ือ”, สถาบันวิจัยเพ่ือการ พฒนาประเทศไทย, 2546
xxxxxxxxx และธนวิทย (2546ข) xxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxย และ ธนวิทย xxxxxxxxxxx, “โครงสราง ระบบส่ือวิทยุและโทรทัศน”, สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2546
OECD (2001), Organisation for Economic Cooperation and Development Communication Outlook 2001
Xxxxxxx xx.xx. (1995) W. Xxx Xxxxxxx, Xxxx X. Xxxxxx and Xxxxxx X. Xxxxxxxxxx, Xx., “Economics of Regulations and Antitrust”, Second Edition, MIT Press, 1995
ตารางท่ี 1 เปาหมายและมาตรการในการกํากับดูแลวิทยุและโทรทัศน
วัตถุประสงค / เปาหมาย | มาตรการ |
ความหลากหลายในเนื้อหา | ▪ ขอจํากัดในเรื่องการกระจุกตวและการถือครองขามสื่อ ▪ ขอจํากัดในเรื่องการเขาถึงชองทางการเผยแพรของผูประกอบการxxxxx ▪ ขอจํากัดในเรื่องของขอบเขตของธุรกิจ ▪ การใหเงินทุนสนับสนุนแกสื่อสาธารณะ |
ความหลากหลายในเชิง วฒนธรรรม | ▪ การจัดสรรโควตาใหกบรายการท่ีผลิตโดยผูผลิตรายการในประเทศ ▪ การใหความชวยเหลือทางการเงินในการผลิตรายการในประเทศ ▪ ขอจํากดในการเปนเจาของและควบคุมสื่อโดยชาวตางชาติ ▪ การใหเงินทุนสนับสนุนแกส่ือสาธารณะ |
ความหลากหลายของประเภท รายการ | ▪ จดสรรโควตาใหก ับรายการบางประเภท ▪ ขอหามในรายการบางประเทศทอ่ี าจจะสงผลตอผบู ริโภคในวงกวาง ▪ การใหเงินทุนสนับสนุนแกสื่อสาธารณะ |
มาตรฐานของส่ือชุมชน | ▪ การกําหนดขอจํากัดตอรายการบางประเภทxxxxxเหมาะสมตอชุมชน ▪ การกําหนดเง่ือนไขใหเกิดความถูกตองในรายการขาวxxx |
xxxโฆษณา | ▪ การกําหนดขอจํากัดเรื่องจํานวนของโฆษณา ▪ ขอจํากดในการโฆษณาสินคาหรือบริการบางประเภท ▪ ขอจํากัดในเร่ืองของการโฆษณาในบางชวงเวลา เชนชวงเวลารายการ สําหรับเด็ก |
การจัดสรรคลื่นความถี่ | ▪ ขอจํากัดในเรื่องของจํานวนผูประกอบการ |
หมายเหตุ: มาตรการกํากับดูแลดานโครงสรางสื่อนั้นคือมาตรการที่ขีดเสนใตไว ท่ีมา: OECD (2001).
ตารางที่ 2 ขอจํากดในการถือครอง (ownership restriction) สถานีโทรทัศนในประเทศในกลุม OECD
ประเทศ | โทรทัศนภาคพ้ืนดิน (terrestrial television) | เคเบิล้ ทีวี (cable television) | โทรทัศนผานดาวเทียม (direct broadcast satellite) |
ออสเตรเลีย | แตละรายไมไดร ับอนุญาตใหค วบคุมโทรทศนเชิงพาณิชยในระบบภาคพื้นดิน ท่ี ครอบคลุมพืxxxxซึ่งมีประชากรเกินกวารอยละ 75 ของประเทศ | ไมมี | ไมมี |
ออสเตรีย | ไมมี | ไมมี | ไมมี |
เบลเยียม | ผูท่ีถือหนุ ทงั ทางตรงและทางออมเกินกวารอยละ 24 ในสถานโี ทรทัศนของชุมชน ฝร่งเศส จะไมxxxxxxถือหุนทั้งทางตรงและทางออ มเกินรอยละ 24 ในสถานีโทร ทัศนอ ีกแหงหน่ึงได | ||
โทรทศนแบบบอกรบสมาชิกของชุมชนฝร่งเศสจะตอ งสงวนหุนอยางนอยรอยละ 26 แก RTBF ทงั นอ้ี าจอxxในรูปการถือหุนโดยตรง หรือการถือหุนโดยบริษทั ลูกของ RTBF หรือการใหxxxxxในการxxxxแก RTBF | |||
แคนาดา | แตละรายไมไดร ับอนุญาตใหเปนเจาของสถานีโทรทศนเกินกวา 1 ชองที่ใหบริการ ในภาษาทางการและพนื ท่ีเดียวกัน ในกรณีของวิทยุ ในพื้นที่ที่มีจํานวนสถานีเชิงพาณิชยน อยกวา 8 สถานีที่ใหบริการ ในภาษาเดียวกัน แตละรายจะเปนเจาของสถานีxxxxเกิน 3 สถานี ทงั น้ี ในชวง ความถ่ีเดียวกันเชน AM หรือ FM จะถือครองxxxxเกิน 2 ชอง ในพืxxxxxxxมีสถานีต้ัง แต 8 สถานีขึนไป จะอนุญาตใหเปนเจาของxxxxเกิน 4 สถานี (FM และ AM อยาง ละ 2 สถานี) | ไมมี | ไมมี |
สาธารณรัฐเชค | ไมมี | ไมมี | ไมมี |
เดนมารก | ในกรณีของโทรทศน แตละคนจะไมxxxxxxเปนกรรมการในสถานีไดเกิน 1 แหง | ไมมี | ไมมี |
หามประกอบธุรกิจอ่ืนนอกจาก หนงสือพิมพ | |||
ฟนแลนด | ไมมี อยางไรก็ตาม หนวยงานใหใบอนุญาตจะxxxxxxxxxxxxxสงเสริมเสรีภาพใน การแสดงความคิดเห็นและความหลากหลายของรายการ และผปู ระxxxxxxตอ ง ขออนุญาตใหมในกรณีที่มีการเปลี่ยนเจาของและการควบคุม | ไมมี | ไมมี |
xxxxxเศส | แตละรายไมxxxxxxถือครองเกินกวารอยละ 49 ของหุนในบริษทแพรภ าพxxxxxx เสียง ผูประกอบการxxxxxรับอนุญาตใหบริการในพืxxxxxxxมีประชากรตง้ แต 4 ลานคนขึน้ ไปจะไมxxxxxxขอใบอนุญาตxxxxxxxอีก นอกจากนี้ ยังมีขอจํากัดอีก 4 ประการในกรณีของโทรทัศนดิจิตัล โดยหามบุคคล หรือองคกรใด - ถือหุน หรือมีxxxxxออกเสียงเกินกวารอยละ 49 ในบริษทxxxxxรบั อนุญาต - ควบคุมโทรทศนมากกวา 5 ชอง - ไดร ับใบอนุญาตมากกวา 1 ใบในพืxxxxเดียวกัน - ถือใบอนุญาตประกอบการหลายใบในหลายพืxxxx จนครอบคลุมประชากร เกินกวา 6 ลานคน | ผูป ระxxxxxxxxxxxรบั อนุญาตใหบริการ ครอบคลุมพื้นที่ ซ่ึงมีประชากรมากกวา 6 ลานคน จะไมxxxxxxxxร ับใบอนุญาตอื่น อีก | |
เยอรมัน | สถานีแตละแหงจะไมไดรบั อนุญาตใหมีสวนแบงผูชมเฉลี่ยตอปเกินกวารอยละ 30 | ||
กรีซ | แตละรายไมxxxxxxถือหนุ ไดเกินกวารอยละ 25 ในบริษทแพรภาพกระจายเสียง แตละรายไมxxxxxxถือหุนหรือออกเสียงไดเกนกวา 1 สถานี | ไมมีขอ มูล | ไมมีขอ มูล |
ฮงการี | แตละรายท่ีถือครองใบอนุญาต หรือxxxxxxควบคุมบริษทแพรภ าพกระจายเสียงได จะไมไดรับอนุญาตใหค วบคุมสถานีโทรทัศนอ ่ืนได | ผxx xxxxxxxxโทรคมนาคมไมxxxxxxเปน เจาของ เชา หรือควบคมเครือขายเคเบิ้ลทีวี ยกเวนในเขตที่มีประชากรนอยกวา 3 หมื่น | ไมมี |
คน | |||
ไอรแลนด | ไมมี | ไมมี | |
อิตาลี | แตละรายไมxxxxxxถือครองคล่ืนความถี่ท่ีมีxxxเกินกวารอยละ 20 หรือมีรายได จากทั้งคาโฆษณาและคารบั ชม (license fee) เกินกวารอยละ 30 ของอุตสาหกรรม | แตละรายไมxxxxxxมีรายไดเกินกวารอยละ 30 ของอุตสาหกรรมเคเบ้ิลและโทร ทัศนผานดาวเทียม | |
ญี่ปุน | แตละรายไมxxxxxxเปนเจาของหรือควบคุมสถานีโทรทัศนมากกวาหนึ่งแหง | ไมมี | แตละรายไมxxxxxxเปนเจาของ หรือควบคุมสถานีโทรทัศนมากกวา หนึ่งแหง |
เกาหลีใต | แตละรายไมxxxxxxถือหุนเกินกวารอยละ 30 ในสถานีโทรทัศนทั่วไปหรือขา ว แตละรายไมxxxxxxถือหุนเกินกวารอยละ 30 ในเคเบ้ิลทีวีหรือโทรทัศนผานดาว เทียมท่ีเผยแพรรายการท่ัวไปหรือขาว | ผูป ระxxxxxxไมxxxxxxxxxxxขายเกินกวา รอยละ 33 ของรายไดท้งั อุตสาหกรรม ผูประกอบการไมxxxxxxเปนเจาของเครือ ขายเคเบล้ิ ในมากกวารอยละ 10 ของพืxxxxxx xxxxx | ผูป ระxxxxxxไมxxxxxxxxxxxขาย เกินกวารอยละ 33 ของรายไดท ั้งxxx xxหกรรม |
ลักเซมเบิรก | แตละรายจะตองไมถือครองหุนเกินกวา 1 สถานี แตละรายไมxxxxxxถือหุนเกินกวารอยละ 25 สถานีโทรทัศน | ||
เม็กซิโก | ไมมี | ผูป ระxxxxxxจะตองไดรับอนุญาตกอนรับสัมปทานเกินกวา 1 สัมปทานในพื้นที่ เดียวกัน | |
เนเธอรแ ลนด | ไมมี | ไมมี | ไมมี |
xxxxxแลนด | ไมมี | ไมมี | ไมมี |
นอรเวย | Media Ownership Authority อาจแทรกแซงในกรณีท่ีบุคคลใดถือครองส่ือมาก เกินไปในประเทศหรือในแตละพืxxxx | xxมี | ไมมี |
โปรตุเกส | ใชกฎหมายแขงขนทางการคาในการจดการกับการใชอํานาจเหนือตลาดในทางไมชอบ (abuse of dominance) |
สเปน | แตละรายไมxxxxxxถือครองใบอนุญาตไดเกิน 1 ใบ แตละรายไมxxxxxxถือหุนทั้งทางตรงหรือทางออ มเกินกวารอยละ25 และไม xxxxxxถือหนุ ในบริษัทxxxxxรับใบอนุญาตเกินกวา 1 แหง | จํานวนสมาชิกของผูประกอบการแตละราย ตองไมเกิน 1.5 ลานคน | แตละรายไมxxxxxxถือหุนทงั ทาง ตรงหรือทางออ มเกนกวารอยละ 25 |
สวีเดน | ไมมี | ไมมี | ไมมี |
สวิตเซอรแ ลนด | ผูข อใบอนุญาตจะตองเปดเผยรายช่ือผูถ ือหุนแกห นวยงานออกใบอนุญาต ซึ่งจะตรวจสอบวาการถือหุนดังกลาวจะทําใหxxxxxxเสียตอความหลากหลายทางความคิดหรือ ไม | ||
ตุรกี | แตละรายไมxxxxxxถือหุนในสถานีเกินกวารอยละ 20 | ||
สหราชอาณาจักร | ในกรณีของระบบอนาล็อก: แตละรายไมxxxxxxถือครองหรือควบคุมใบอนุญาตที่ครอบคลุมเกินรอยละ 15ของผูช ม ในกรณีของระบบดิจิตลั : ใชระบบแตม (point scheme) โดยแตละรายจะถือครองxxxxเกินรอยละ 20-25 ของรายการโทรทัศนดิจิตัล แตละรายไมxxxxxxถือครองใบ อนุญาตไดเกิน 3 มัลติเพล็กซ | ||
สหรัฐอเมริกา | แตละรายไมxxxxxxถือครอง ใหบริการ หรือควบคุมสถานีโทรทัศน ซ่ึงครอบคลุม เกินกวารอยละ 35 ของประชากรทงั ประเทศ แตละรายไมxxxxxxถือครองสถานีโทรทศนเกินกวา 1 แหงในตลาดเดียวกนั แตละรายไมxxxxxxถือครอง ใหบ ริการ หรือควบคุมเครือขายสถานีโทรทัศนด ังตอ ไปนี้เกินกวา 1 แหง: ABC, CBS, FOX, NBC xxxxxxเปนเจาของเครือขายสถานีโทรทัศนขางตนได 1 แหงและเครือขายเกิดใหม (emerging network) เชน UPN, WB ไดอีก 1 แหง | แตละรายไมxxxxxxถือครอง ใหบริการ หรือควบคุมสถานีระบบเคเบิ้ล ซ่ึงให บริการสมาชิกเกินกวารอยละ 30 ของระบบ เคเบิ้ลทั่วประเทศ | ไมมี |
ที่มา: OECD 2001
ตารางที่ 3 ขอจํากัดเรื่องการถือครองสื่อแพรภาพกระจายเสียงโดยชาวตางชาติในประเทศ OECD
ประเทศ | ขอจํากัด |
ออสเตรเลีย | หามชาวตางชาติควบคุมสถานีโทรทัศนระบบภาคพืนดินเชิงพาณิชย หามตางชาติถือหุน รวมกนเกินกวารอยละ 20 สัดสวนกรรมการชาวตางชาติตองไมเกินรอยละ 20 ของ กรรมการทั้งหมด หามชาวตางชาติถือหุนในสถานีโทรทัศนบอกรับสมาชิกเกินกวารอยละ 20 และหามตาง ชาติถือหุนรวมกันเกินรอยละ 35 ในสถานีดังกลาว |
ออสเตรีย | บริษัทนอกสหภาพยุโรปหามถือหุนเกินกวารอยละ 49 ในสถานีเคเบิ้ลทีวีและโทรทศน ผานดาวเทียม และหามถือหุนเกนกวารอยละ 25 ในสถานีวิทยุ |
เบลเยียม | ไมมี |
แคนาดา | หามตางชาติถือหุxxxxออกเสียงไดเกินกวารอยละ 20 ในบริษทสื่อแพรภาพกระจายเสียงทุก ประเภท และหามถือหุนที่ออกเสียงไดเกินกวารอยละ 33.3 ในบริษัทแมหรือบริษัท โฮลดิ้งของบริษัทดังกลาว |
สาธารณรัฐเชค | ไมมี |
เดนมารก | ไมมี |
ฟนแลนด | ไมมี |
เยอรมัน | จะออกใบอนุญาตแพรภาพกระจายเสียงเฉพาะแกผูประกอบการท่ีนําเสนอรายการที่เสนอ ความคิดเห็นในเยอรมันที่หลากหลาย โดยจะใหxxxxxพิเศษแกผูประกอบการเยอรมันและผู ประกอบการในสหภาพยุโรปในการออกใบอนุญาตโทรทัศนในระบบเคเบิ้ล และโทร ทัศนภาคพนื ดิน |
กรีซ | สํานักงานใหญของผูประกอบการตองอยูในสหภาพยุโรป และตองมีตวั แทนตามกฎหมาย xxxในกรีซ |
ไอรแลนด | ไมมี |
อิตาลี | ไมมี |
ญ่ีปุน | จะไมออกใบอนุญาตใหแกบุคคลดังตอไปนี้ - บุคคลxxxxxมีสัญชาติญี่ปุน รฐบาลตางประเทศ หรือนิติบุคคลหรือสมาคมตางชาติ - นิติบุคคลหรือสมาคม ซึ่งมีเจาหนาท่ตามขางตนเปนผูควบคุมกิจกรรมตางๆ - นิติบุคคลหรือสมาคม ซ่ึงมีหุxxxxออกเสียงไดเกินกวา 1 ใน 5 เปนบุคคลตามที่กลาว มาขางตน ขอจํากัดในการประกอบกิจการเคเบิ้ลทีวีถูกยกเลิกไปตั้งแตป 1999 |
เกาหลีใต | ชาวตางชาติไมไดรับอนุญาตใหล งทุนในสถานีโทรทัศนภาคพื้นดิน ชาวตางชาติxxxxxxถือหุนในบริษัทที่เปนเจาของโครงขายเคเบิ้ลทีวี xxxxเกินรอยละ 49 ถือหุนในบริษทใหบริการระบบเคเบิ้ลทีวี หรือผูผลิตรายการ (ยกเวนรายการขาวหรือราย การท่ัวไป) ไดไมเกินรอยละ 33 ตามลําดับ ชาวตางชาติxxxxxxถือหุนในบริษัทโทรทศนผานดาวเทียมxxxxเกินรอยละ 33 |
35
เม็กซิโก | ชาวตางชาติxxxxxxถือหุนไดไมเกินรอยละ 49 |
เนเธอรแลนด | ไมมี |
xxxxxแลนด | ไมมี |
นอรเวย | ไมมี |
โปรตุเกส | ไมมี |
สเปน | ชาวตางชาติ xxxxxxถือหุนไดไมเกินรอยละ 25 ในสถานีโทรทศนภาคพื้นดิน ทางการอาจพิจารณาใหช าวตางชาติxxxxxxถือหุนเกินรอยละ 25 ในสถานีเคเบิ้ลทีวี ทังนี้ คนในสหภาพยุโรปไมถือวาเปนชาวตางชาติ |
สวีเดน | ไมมี |
สวิตเซอรแลนด | ชาวตางชาติเฉพาะที่มีxxxxxxx หรือนิติบุคคลท่ีมีสํานักงานใหญในสวิตเซอรแลนดเทาxxxx xxxxxxxxxยื่นขอใบอนุญาตได หากรัฐบาลตางประเทศที่เกี่ยวของใหxxxxxตางตอบแทนที่ เทาเทียมกันแกชาวสวิสหรือนิติบุคคลสัญชาติสวิส |
ตุรกี | ชาวตางชาติxxxxxxถือหุนไดไมเกินรอยละ 20 และไมอนุญาตใหถ ือหุนไดเกินกวาสถานี เกินกวา 1 สถานี |
สหราชอาณาจักร | เฉพาะชาวสหราชอาณาจักรและผูถือสัญชาติของประเทศใน European Economic Area หรือนิติบุคคลท่ีจดทะเบียนในประเทศดังกลาวเทาxxxx xxxxxxxxxถือครองใบอนุญาตสถานี แพรภาพกระจายเสียงระดับชาติหรือระดบทองถิ่น ยกเวนในกรณีโทรทัศนในระบบเค เบิ้ล โทรทัศนผานดาวเทียมตางประเทศ บริการมัลติเพล็กซสัญญาณวิทยุและโทรทัศน บริการรายการโทรทัศนหรือวิทยุดิจิตัล |
สหรัฐอเมริกา | ชาวตางชาติ นิติบุคคลท่ีถือหุนเกินกวารอยละ 20 โดยคนตางชาติ นิติบุคคลท่ีถือหุนเกิน กวารอยละ 25 โดยนิติบุคคลอื่นที่ควบคุมโดยชาวตางชาติ จะไมไดรับอนุญาตใหประกอบ การแพรภาพกระจายเสียง |
ที่มา: OECD (2001)
36
ตารางที่ 4 ขอจํากดเรื่องการถือครองสื่อขามสาขา (cross-sector ownership restriction)
ในประเทศ OECD
ประเทศ | ขอจํากดั |
ออสเตรเลีย | ผูประกอบการที่ควบคุมใบอนุญาตโทรทศนเ ชิงพาณิชย หรือโทรทัศนสาธารณะไมไดรับ อนุญาตใหควบคุมใบอนุญาต datacaster |
ออสเตรีย | โทรทัศนสาธารณะไมไดรบั อนุญาตใหประกอบกิจการเคเบิ้ลทีวี |
เบลเยียม | ผูป ระxxxxxxเคเบ้ลิ ทีวีไมไดรับอนุญาตใหบ ริการโทรทศนภาคพื้นดิน หรือถือครองหุนเกิน กวารอยละ 24 ในสถานีโทรทัศนเอกชนหรือชุมชน หรือบริหารหรือมีสวนในการบริหารเกิน กวา 1 ใน 3 ของสถานีดังกลาว ผูประกอบการโทรทศนภาคพื้นดินไมไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการเคเบิ้ลทีวี |
แคนาดา | ไมมี |
สาธารณรัฐเชค | ไมมี |
เดนมารก | ไมมี |
ฟนแลนด | ไมมี |
ฝร่งเศส | ผูป ระxxxxxxโทรทัศนภ าคพืนดินท่ีใหบรการในพืxxxxxxxมีประชากรเกินกวา 4 ลานคนขึ้นไป ไมไดรับอนุญาตใหบ ริการโครงสรางพื้นฐานของกิจการเคเบิ้ลทีวี ผูใ หบริการโครงสรางพืนฐานของเคเบล้ิ ทีวีที่ใหบริการในพxx xxxxxxมีประชากรเกินกวา 6 ลาน คนขึนไป ไมไดรบั อนุญาตใหบ ริการโทรทัศนภาคพื้นดิน |
เยอรมัน | ไมมี |
กรีซ | ผูป ระxxxxxxโทรทัศนหรือวิทยุบอกรับสมาชิก ไมไดรบั อนุญาตใหประกอบการโทรทัศน แบบไมบอกรับสมาชิก (free-to-air) ผูป ระxxxxxxโทรทัศนบ อกรับสมาชิกxxxxxxถือครองใบอนุญาตเดียวสําหรับโทรทัศนxxx xxxภาพในระบบเดียวกัน (เคเบิ้ล ดาวเทียม ภาคพืนดิน) และอีกหน่ึงใบอนุญาตสําหรับโทร ทัศนบอกรบสมาชิกตางระบบ |
ไอรแ ลนด | ไมมี |
อิตาลี | กฎหมายไดแบงตลาดออกเปน 3 ตลาดคือ โทรทศนภ าคพื้นดิน วิทยุ และเคเบลิ้ ทีวี-โทรทศน ผานดาวเทียม ในแตละตลาด ผูประกอบการแตละรายจะไมxxxxxxมีรายไดเกินกวารอยละ 30 ของตลาด นั้น ผูประกอบการอาจประกอบการในสองหรือสามตลาดได หากไมมีรายไดเกินกวารอย ละ 30 ในแตละตลาดนั้น |
ญ่ีปุน | ผูป ระxxxxxxโทรทัศนภาคพื้นดินจะไดรบั อนุญาตใหประกอบกิจการเคเบล้ิ ทีวีเฉพาะใน กรณีพิเศษเทาน้นั |
เกาหลีใต | ผูประกอบการไมxxxxxxถือครองขามสาขาระหวางเคเบล้ิ ทีวีและโทรทัศนภาคพื้นดิน ผูประกอบการโทรทัศนภาคพื้นดินไมxxxxxxถือหุนเกินรอยละ 33 ในบริษัทผูใหบริการโทร |
37
ทัศนผานดาวเทียม ผูประกอบการโทรทัศนผานดาวเทียมไมxxxxxxถือหุนเกินรอยละ 33 ในบริษัทผูใหบริการเค เบิ้ลทีวี หามการถือครองขามสาขาระหวางผูป ระxxxxxxโครงขายเคเบิ้ล (network operator) ผูให บริการระบบเคเบล้ิ (system operator) และผูผลิตรายการ (program provider) | |
เม็กซิโก | ไมมี |
เนเธอรแลนด | ไมมี |
xxxxxแลนด | ไมมี |
นอรเ วย | Media Ownership Authority อาจแทรกแซงการเขาถือครองหนังสือพิมพ หรือส่ือแพรภาพ กระจายเสียง หากผทู ี่จะเขาครอบครองนน้ ไดเปนเจาของอยางมีนัยสําคัญ (significant ownership) ในสื่อระดบั ชาติ ระดับทองถิ่น และระดับพืxxxx ซึ่งขัดตอxxxxxของกฎหมาย |
โปรตุเกส | ไมมี |
สเปน | ผปู ระxxxxxxโทรทัศนเชิงพาณิชยภาคพืนดินไมไดรับอนุญาตใหบริการโครงขายเคเบิ้ลทีวี ผูประกอบการโทรทัศนเชิงพาณิชยภาคพืนดินจะไมไดรับอนุญาตใหบริการเคเบิล้ ทีวีเกิน 1 ใบอนุญาต ผูประกอบการโทรทัศนเชิงพาณิชยภาคพืนดินท่ีใหบริการโทรคมนาคมดวย จะไมไดรับใบ อนุญาตเกิน 1 ใบอนุญาต |
สวีเดน | ไมมี |
สวิตเซอรแลนด | ไมมี |
ตุรกี | ไมมี |
สหราชอาณาจักร | หาม BBC และผูป ระxxxxxxโทรทัศนภาคพืนดินเชิงพาณิชยป ระกอบกิจการเคเบิ้ลทีวี |
สหรัฐอเมริกา | ผูป ระxxxxxxเคเบล้ิ ไมxxxxxxxxxสัญญาณภาพของสถานีโทรทัศน ซ่ึงถือครอง ใหบริการ หรือควบคุมโดยผูประกอบการเคเบิ้ลนั้น โดยมีพืxxxxทบซอนxxx |
xxxมา: OECD (2001)
38
ตารางที่ 5 ขอจํากดเรื่องการถือครองขามสื่อ (cross-media ownership restriction)
ในประเทศ OECD
ประเทศ | ขอจํากดั |
ออสเตรเลีย | แตละรายไมxxxxxxถือครองสถานีโทรทัศน วิทยุ และหนังสือพิมพในพื้นที่เดียวกันได |
ออสเตรีย | ผูประกอบการหนังสือพิมพxxxxxxถือหุนในบริษัทเคเบิ้ลทีวีหรือโทรทัศนผานดาวเทียม ไดไมเกินรอยละ 26 และxxxxxxถือหุนในบริษทั วิทยุไดไมเกินรอยละ 26 ในเขตเดียว กัน และไมเกินแหงละรอยละ 10 ในอีก 2 เขต |
เบลเยียม | ไมมี |
แคนาดา | ไมมี |
สาธารณรัฐเชค | ไมมี |
เดนมารก | ไมมี |
ฟนแลนด | ไมมี |
ฝรั่งเศส | ผูผลิตบริการสําหรบการแพรภาพในระบบดิจิตัลหรือผูใหบ ริการ (service distributor) จะไมไดรับอนุญาตใหใชคลื่นความถ่ี หรือถือครองใบอนุญาต และผูประกอบการเชิง พาณิชย (commercial distributor) จะไมxxxxxxจดทะเบียนกบั หนวยงานกํากับดูแลเพื่อ ใหบริการได หากเขาขายตอไปนี้ ตั้งแตสองเงื่อนไขขึ้นไป - ผูใ หบ ริการโทรทัศนด ิจิตลั ซ่ึงครอบคลุมผชู มอยางนอย 4 ลานคน - ผูใ หบ ริการวิทยุตง้ แตหนึ่งสถานีขึ้นไป ซึ่งครอบคลุมผูฟ งอยางนอย 30 ลานคน - ผูใ หบริการ (service distributor) เชน ผูใหบ ริการเคเบิล้ ทีวี โทรทัศนผานดาวเทียม หรือระบบมัลติเพล็กซ ซึ่งครอบคลุมพืxxxxซึ่งมีผูชมอยางนอย 6 ลานคน - ผูป ระxxxxxxหนังสือพิมพรายวันระดับประเทศ ซึ่งมีเนื้อหาทั่วไปหรือการเมือง xxxx xxxxxขายเกินกวารอยละ 20 ของตลาด |
เยอรมัน | ผูป ระxxxxxxโทรทศนซ ึ่งใหบริการสื่ออ่ืนดวย จะไมไดรับอนุญาตใหมีxxxxxxxตอความ คิดเห็นของผูชมเกินกวารอยละ 30 ของผูชมในตลาดโทรทัศน ผูป ระxxxxxxหนังสือพิมพที่มีอํานาจเหนือตลาดในพื้นที่ จะไมไดร ับอนุญาตใหถ ือหุนใน บริษัทแพรภาพกระจายเสียงในพื้นที่นั้น |
กรีซ | เจาของใบอนุญาตประกอบการโทรทศนแบบบอกรับสมาชิกไมxxxxxxเปนเจาของใบ อนุญาตประกอบการโทรทัศนท่วั ไป และไมxxxxxxเปนผูถือหนุ ในสื่อประเภทอื่นเกิน กวา 2 ประเภท |
ไอรแลนด | ไมมี |
อิตาลี | กฎหมายไดแบงตลาดออกเปน 3 ตลาดคือ โทรทศนภาคพื้นดิน วิทยุ และเคเบิ้ลทีวี-โทร ทัศนผ านดาวเทียม ในแตละตลาด ผูประกอบการแตละรายจะไมxxxxxxมีรายไดเกินกวารอยละ 30 ของ ตลาดน้นั ผูประกอบการอาจประกอบการในสองหรือสามตลาดได หากไมมีรายไดเกิน |
39
กวารอยละ 30 ในแตละตลาดนัน้ | |
ญ่ีปุน | แตละรายจะไมxxxxxxถือครองสถานีโทรทศนวิทยุและหนงสือพิมพในเขตเดียวกัน ยก เวนในกรณีเฉพาะ |
เกาหลีใต | ผูป ระxxxxxxหนงสือพิมพหรือกลุมอุตสาหกรรมไมxxxxxxถือครองหรือบริหารโทร ทัศนท้งั ภาคพื้นดิน ดาวเทียม และเคเบิ้ลทีวีท่ีนําเสนอขาวสารและรายการทั่วไป ผูประกอบการหนังสือพิมพหรือกลุมอุตสาหกรรมไมxxxxxxมีสวนแบงตลาดเกินกวา รอยละ 33 ในตลาดเคเบิ้ลทีวีหรือโทรทัศนผานดาวเทียม |
เม็กซิโก | ไมมี |
เนเธอรแ ลนด | โทรทัศนสาธารณะไมไดรบั อนุญาตใหถือครองกรรมสิทธิ์ขามสื่อ ผูประกอบโทรทัศนและวิทยุเชิงพาณิชย ไมไดรับอนุญาตใหมีสวนแบงตลาดตั้งแตรอยละ 25 ในตลาดหนังสือพิมพ |
xxxxxแลนด | ไมมี |
โปรตุเกส | ไมมี |
สเปน | ไมมี |
สวีเดน | ไมมี |
สวิตเซอรแลนด | ไมมี |
ตุรกี | ผูป ระxxxxxxหนงสือพิมพไมไดรบั อนุญาตใหถือหุนเกินกวารอยละ 20 ในสถานีโทร ทัศนและวิทยุ |
สหราชอาณาจกั ร | ผูถ ือใบอนุญาตประกอบกิจการวิทยุในระดบประเทศไมไดรบั อนุญาตใหถือใบอนุญาต โทรทัศนระดบั ชาติหรือระดับxxxxxxx ผูถ ือใบอนุญาตประกอบกิจการโทรทศนในระดับ xxxxxxxxxxxxxxxถือใบอนุญาตวิทยุในพืxxxxเดียวกัน ผูถือหุนของกลุมหนังสือพิมพxxxxxxxxขายเกินกวารอยละ 20 ของตลาดทั่วประเทศ ไม xxxxxxถือครองใบอนุญาตวิทยุหรือโทรทัศนทั้งในระดับประเทศและระดับทองถ่ิน ผู ถือหุนของหนังสือพิมพอื่นๆ ที่ตอ งการขอใบอนุญาตโทรทศนหรือวิทยุจะถูกพิจารณา เปนรายๆ ไป โดยยึดผลประโยชนสาธารณะ |
สหรัฐอเมริกา | ผูป ระxxxxxxไมxxxxxxถือครอง ใหบริการหรือควบคุมวิทยุหรือโทรทัศน และหนังสือ พิมพซึ่งตีพิมพในเขตชุมชนเดียวกัน |
ที่มา: OECD (2001)
40