ขอตกลงพนธมตรการค้าระหว่าง Johor Port และ Access World
ขอตกลงพนธมตรการค้าระหว่าง Johor Port และ Access World
Johor Port Bhd (JPB) บริษัทลูกของกลุ่ม MMC ได้ลงนามในข้อตกลงพันธมิตรธุรกิจร่วมกับบริษัท Access World ซึ่งเป็นบริษัทโลจิสติกส์ชั้นนําของโลก โดยจะร่วมมือและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรร่วมกันเพื่อxxxxx ปริมาณสินค้าโภคภัณฑ์ที่เข้ามาในรัฐยะโฮร์หรือมีการซื้อขายในรัฐยะโฮร์ และทําให้รัฐยะโฮร์เป็นศูนย์กลาง การค้าสินค้าโภคภัณฑ์ในระดับxxxxxxx อาทิ เมล็ดโกโก้ กาแฟ น้ํามันปาล์ม ถ่านหิน เหล็ก และอxxมิเนียม
ความร่วมมือพันธมิตรธุรกิจดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายที่จะทําให้ท่าเรือยะโฮร์ได้รับมอบหมายเป็นจุดส่ง มอบสินค้าสําหรับตลาดแลกเปลี่ยนสินค้าโภคภัณฑ์ระดับนานาชาติต่างๆ นอกเหนือจากสินค้าเหล็กที่ท่าเรือ ยะโฮร์เป็นหนึ่งในท่าเรือส่งมอบxxxxxxรับอนุญาตจาก London Metal Exchange (LME) เมื่อปี 2547 เนื่องจากสินค้าโภคภัณฑ์เป็นสินค้าที่มีศักยภาพและมีความสําคัญต่อxxxxxxxเอเชียตะวันออกxxxxxxxx อีกทั้ง ยังมีxxxxxxxxxxxxxxxขึ้นต่อคลังสินค้าโภคภัณฑ์ที่ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ และได้มาตรฐานxxxx xxxxxxx ลูกค้าจะ ได้รับความสะดวกxxxxxxxขึ้นจากบริการที่ครบวงจรและมีxxxxxxxxxxxขึ้น อาทิ การบรรจุภัณฑ์ใหม่ (repacking) ซึ่งจะช่วยให้ลูกค้าxxxxxxใช้ประโยชน์สูงสุดจากxxxxxxxอุปทานและตอบxxxxความต้องการของตลาดใน xxxxxxxxxx
Access World เป็นบริษัทระดับโลกที่มีธุรกิจครอบคลุมทั้งในด้านโลจิสติกส์ การรับจัดการขนส่งสินค้า การบริการเช่าเหมาลํา การบริหารจัดการหลักประกัน การรับขนของขึ้น-ลงเรือ และคลังสินค้าสําหรับสินค้า โภคภัณฑ์ต่างๆ ได้แก่ โกโก้ อุตสาหกรรมป่าไม้ น้ํามันและก๊าซ โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก เหล็ก และอัลลอย รวมทั้ง และการขนส่งสินค้าที่ในโครงการต่างๆ ตลอดจนการส่งมอบทางกายภาพสําหรับตลาดแลกเปลี่ยนสินค้า โภคภัณฑ์ต่างๆ
ที่มา: New Straits Times, 16 ธันวาคม 2562
🗸
Office of Commercial Affairs, Royal Thai Embassy,
Kuala Lumpur, Malaysia
000 Xxxxx Xxxxxx 00000 KL
T : +6032 2142 4601
ผลกระทบต่อประเทศไทย มาเลเซียมีความxxxxxxอย่างต่อเนื่องที่จะพัฒนาศักยภาพและขีดความxxxxxxในการให้บริการของท่าเรือใน รัฐยะโฮร์เพื่อแข่งขันท่าเรือสิงคโปร์ ดังนั้น การยกระดับการบริการท่าเรือยะโฮร์จะช่วยรองรับปัญหาความ xxxxxของท่าเรือสิงคโปร์ อีกทั้งช่วยอํานวยความสะดวกการค้าสินค้าโภคภัณฑ์ในxxxxxxx อันเป็นผลดีต่อ ประเทศไทย ซึ่งเป็นผู้ผลิตและผู้ส่งออกสินค้าโภคภัณฑ์รายใหญ่ของโลกหลายรายการ อาทิ ข้าว ยางพารา และมันสําปะหลัง เป็นต้น
โอกาสและแนวทางปรับตัวของผู้ประกอบการ ผู้ให้บริการขนส่งและโลจิสติกส์ของไทยควรแสวงหาโอกาสในการสร้างพันธมิตรธุรกิจและเชื่อมโยงการค้ากับ ท่าเรือยะโฮร์ รวมทั้งท่าเรืออื่นๆ ในรัฐยะโฮร์ ซึ่งจะเป็นอีกหนึ่งทางเลือกสําหรับประเทศไทยที่จะใช้ถ่ายลําหรือ ขนถ่ายสินค้าเพื่อส่งออกไปยังตลาดต่างประเทศ นอกเหนือจากท่าเรือสิงคโปร์ ทั้งนี้ รัฐยะโฮร์มีท่าเรือที่สําคัญ หลายแห่ง อาทิ Pasir Gudang Port, Port of Tanjung Pelepas และ Tanjung Langsat Port สําหรับ ท่าเรือ Tanjung Pelepas เป็นท่าเรือสําคัญสําหรับการถ่ายลําตู้สินค้า (transshipment) มีศักยภาพในการ รองรับตู้สินค้าประมาณ 9 ล้าน TEUs ต่อปี เป็นท่าเรือสําคัญลําดับที่ 2 รองจากท่าเรือ Klang ซึ่งรองรับตู้ สินค้าได้ประมารณ 12-13 ล้าน TEUs ต่อปี (ท่าเรือแหลมฉะบังของไทยรองรับตู้สินค้าได้ประมาณ 8 ล้าน TEUs ต่อปี ข้อมูลจาก World Shipping Council) ในขณะที่ท่าเรือยะโฮร์เป็นทางเรือที่มีความสําคัญและ จุดแข็งในด้านสินค้าโภคภัณฑ์ โดยเป็นท่าเรือที่ใหญ่ที่สุดของโลกสําหรับปาล์มน้ํามัน และเป็นท่าเรือสําคัญ ลําดับที่ 6 จาก 35 แห่งสําหรับตลาดแลกเปลี่ยนเหล็กลอนดอน (LME) อีกทั้งยังเป็นหนี่งในท่าเรือสําคัญของ ประเทศสําหรับปุ๋ย โกโก้ ข้าว ซีเมนต์ น้ํามันและก๊าซxxxxxxxxอีกด้วย
Office of Commercial Affairs, Royal Thai Embassy,
Kuala Lumpur, Malaysia
🗸