Agreement on Port State Measures to Prevent, Deter and Eliminate Illegal, Unreported and Unregulated Fishing: The Improvement of Thai Fisheries Law
ความตกลงว่าด้วยมาตรการของรัฐเจ้าของท่าเพื่อป้องกัน ยับยั้ง และขจัดการท าประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม: การปรับปรุงแก้ไขกฎหมายประมง
Agreement on Port State Measures to Prevent, Deter and Eliminate Illegal, Unreported and Unregulated Fishing: The Improvement of Thai Fisheries Law
1วัฒxxx xxxxสนิ นาค (Watchana Wongsinnak)
2จุมพต xxxxxxxx (Jumphot Saisoonthorn) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) E-mail: xxxxxxxxxxxxxxxxxx@xxxxx.xxx
Received March 20, 2019; Revised October 4, 2019; Accepted April 20, 2020
Abstract
The purposes of this research were (1) to study the problems of Illegal, Unreported and Unregulated Fishing (IUU Fishing); (2) to study the principle of Agreement on Port State Measures to Prevent, Deter and Eliminate Illegal, Unreported and Unregulated Fishing; and (3) to analyse whether the laws on fishery is amended according to the agreement. Thailand submitted on Retrievedion in order to be a partner of the agreement on May 6, 2016. Hence, Thailand must strictly comply with the mentioned agreement. Thus, the laws on fishery must be amended according to the agreement. The findings indicated that Thailand did not completely amend the laws on fishery. The laws also did not cover the agreement, especially for promotion measures and international co- operations for solving illegal fishery.
Keywords: Agreement on Port State Measures, Illegal fishery, Laws of fishery
บทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อท าการศึกษาปัญหาการท าประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้ การควบคุม ศึกษาหลักการแห่งความตกลงว่าด้วยมาตรการของรัฐเจ้าของท่า เพื่อป้องกัน ยับยั้ง และขจัดการท า ประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม และวิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างมาตรการและ หลักการของความตกลงว่าด้วยมาตรการของรัฐเจ้าของท่า เพื่อป้องกัน ยับยั้ง และขจัดการท าประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม กับนโยบาย และมาตรการทางกฎหมายของประเทศไทย ซึ่งประเทศไทยในฐานะ สมาชิกขององค์การอาหารและเกษตรแห่งxxxxxxxxxxx xxxยื่นภาคยานุวัติสารเพื่อเข้าเป็นภาคีความตกลงฯ แล้ว เมื่อ xxxxxx 6 พฤษภาคม 2559 ประเทศไทย จึงมีxxxxxxxxxxxจะต้องปฏิบัติตามความตกลงดังกล่าวอย่างxxxxxxxxx xxxมี ความจ าเป็นต้องมีการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการประมง ให้สอดคล้องและครอบคลุมพันธกรณีของความตกลง ฯ อย่างครบถ้วน จากการศึกษาพบว่า ประเทศไทยยังด าเนินการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายว่าด้วยการประมงไม่ครบถ้วน และครอบคลุมพันธกรณีของความตกลง โดยเฉพาะมาตรการด้านการxxxxxxxx และความร่วมมือระหว่างประเทศใน การแก้ไขปัญหาการท าประมงที่ผิดกฎหมาย
ค าสาคัญ: ความตกลงว่าด้วยมาตรการของรัฐเจ้าของท่า, การท าประมงผิดกฎหมาย, กฎหมายประมง
บทน า
ตามรายงานสถิติการจับสัตว์น้ าของประเทศต่าง ๆ xxxx xคัญทั่วโลก ปี 2554-2558 (Department of
Fisheries, 2016) ได้รายงานว่า ปริมาณการจับสัตว์น้ าทางทะเลรวมทั่วโลก ในปี พ.ศ. 2554 มีปริมาณการจับจ านวน 92,044,200 ตัน ปี พ.ศ. 2555 มีปริมาณการจับจ านวน 89,364,900 ตัน ปี พ.ศ. 2556 มีปริมาณการจับจ านวน
90,442,800 ตัน ปี พ.ศ. 2557 มีปริมาณการจับจ านวน 91,141,400 ตัน และ ปี พ.ศ. 2558 มีปริมาณการจับจ านวน
92,630,500 ตัน แสดงให้เห็นว่ามีปริมาณการจับสัตว์น้ าทางทะเลจ านวนมหาศาลและมีปริมาณการจับที่xxxxxมากขึ้น ทุกปี อย่างไรก็ตาม สถิติดังกล่าวเป็นการแสดงถึงปริมาณการจับสัตว์น้ าทางทะเล แต่ไม่ใช่สถิติที่แสดงถึงจ านวน คงเหลือของสัตว์น้ า (fish stock) ในทางตรงกันข้ามจากการประเมินขององค์การอาหารและการเกษตรแห่ง สหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations หรือ FAO) ในปี พ.ศ. 2555 พบว่าปริมาณ สัตว์น้ าคงเหลือ (fish stock) ทั่วโลกที่อยู่ในภาวะที่มีการท าประมงต่ ากว่าศักยภาพการเกิดxxxxx (under fished) มีอยู่ เพียงร้อยละ 10 เท่านั้น ส่วนที่เหลือร้อยละ 61 อยู่ในภาวะที่มีการท าการประมงเต็มศักยภาพ (fully fished) และร้อย ละ 29 อยู่ในภาวะที่มีการท าประมงเกินขนาด (over fished) (Oranuch Seangjaruek, 2016) ซึ่งท าให้เห็นว่าปริมาณ สัตว์น้ าคงเหลืออยู่ในภาวะวิกฤต องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) xxxxxxxxxสร้างมาตรการต่าง ๆ เพื่อน ามาใช้เป็นแนวทางในการxxxxxxxxและการใช้ทรัพยากรสัตว์น้ าทางทะเลอย่างยั่งยืน มาตรการหนึ่งxxxx xคัญ คือ แผนปฏิบัติการxxxxเพื่อป้องกัน ยับยั้ง และขจัดการประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (IPOA- IUU) xxxxxxxปฏิบัติการxxxxxxxใช้เป็นแนวทางให้แก่ทุกประเทศน าไปปรับใช้บนพื้นฐานความสมัครใจ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อป้องกัน ต่อต้าน และขจัดการท าประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและไร้การควบคุม โดยมุ่งเน้น ในเรื่องมาตรการส าหรับรัฐเจ้าของธง (Flag State Measures) มาตรการรัฐเจ้าของท่า (Port State Measures) รัฐ ชายฝั่งเจ้าของทรัพยากร (Coastal State Measures) และมาตรการที่เกี่ยวข้องในด้านการค้าระหว่างประเทศ (Internationally Agreed Marketing-Related Measures) (Jongkolnee Xxxxxxxxx, 2015)
ต่อมาจากการประเมินผลการปฏิบัติการตามแผนพบว่า มาตรการของรัฐเจ้าของธงไม่xxxxxxแก้ไขปัญหา การประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและไร้การควบคุมได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร องค์การอาหารและ เกษตรแห่งxxxxxxxxxxx xxxร่วมกับประเทศสมาชิกสร้างมาตรการใหม่ซึ่งเน้นบทบาทของรัฐเจ้าของท่าในรูปแบบ ความตกลงที่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหว่างรัฐที่เป็นภาคี คือ “ความตกลงว่าด้วยมาตรการของรัฐเจ้าของท่า เพื่อ ป้องกัน ยับยั้ง และขจัดการท าประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม” (The FAO Agreement on Port State Measures to Prevent, Deter and Eliminate Illegal, Unreported and Unregulated Fishing) ซึ่ งอง ค์ การ อาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) เห็นชอบในการประชุมxxxxxxใหญ่ สมัยที่ 36 เมื่อxxxxxx 22 พฤศจิกายน 2552
ประเทศไทยในฐานะสมาชิกล าดับที่ 45 ขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ได้ยื่น ภาคยานุวัติสารเพื่อเข้าเป็นภาคีความตกลงฯ แล้ว เมื่อxxxxxx 6 พฤษภาคม 2559 (The Food and Agriculture Organization: FAO, 2018) และเนื่องจากความตกลงดังกล่าวเป็นความตกลงที่มีผลทางกฎหมาย ประเทศไทยจึงมี xxxxxxxxxxxจะต้องปฏิบัติตามความตกลงดังกล่าวอย่างเคร่งครัด โดยหากประเทศไทยไม่ด าเนินการให้เป็นไปตาม พันธกรณีของความตกลงฯ อาจต้องรับผิดในทางxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx จึงต้องมีการศึกษาว่าประเทศไทยได้มี การปฏิบัติการให้เป็นไปตามความตกลงฯ และมีการxxxxxxxการหรือแก้ไขมาตรการต่าง ๆ ทั้งด้านกฎหมายและด้าน นโยบายเป็นไปโดยสอดคล้องกับความตกลงฯ หรือไม่ อย่างไร เพื่อหาข้อสาระในxxxx xเสนอปัญหาและข้อเสนอแนะ แก้ไขต่อไป
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. ศึกษาปัญหาการท าประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม
2. ศึกษาหลักการแห่งความตกลงว่าด้วยมาตรการของรัฐเจ้าของท่า เพื่อป้องกัน ยับยั้ง และขจัดการท าประมง ที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม
3. วิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างมาตรการและหลักการของความตกลงว่าด้วยมาตรการของรัฐเจ้าของท่า เพื่อป้องกัน ยับยั้ง และขจัดการท าประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม กับนโยบาย และมาตรการ ทางกฎหมายของประเทศไทย
ขอบเขตของการวิจัย
งานวิจัยนี้มุ่งศึกษามาตรการของรัฐเจ้าของท่าเรือในการแก้ไขปัญหาการท าประมงผิดกฎหมาย (IUU Fishing) ตามความตกลงว่าด้วยมาตรการของรัฐเจ้าของท่า เพื่อป้องกัน ยับยั้ง และขจัดการท าประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการ รายงาน และไร้การควบคุม (PSM Agreement) ตลอดจนหลักกฎหมายและแนวคิดเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาการท า ประมงผิดกฎหมายของโลก และศึกษาเปรียบเทียบการด าเนินนโยบายและการแก้ไขกฎหมายว่าด้วยการประมงของ ประเทศไทย
ทบทวนวรรณกรรม
สาระส าคัญของความตกลงว่าด้วยมาตรการของรัฐเจ้าของท่า เพื่อป้องกัน ยับยั้ง และขจัดการท าประมงที่ ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (PSM Agreement) ประกอบไปด้วย
1. ความหมายการท าประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (IUU Fishing)
องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ให้นิยามความหมายไว้ ดังนี้
การท าประมงที่ผิดกฎหมาย (Illegal fishing) หมายxxx xxxท าประมงโดยxxxxxxรับอนุญาต หรือขัดต่อ กฎหมาย หรือxxxxxxxของรัฐเจ้าของแหล่งประมง หรือการท าประมงโดยเรือของประเทศที่เป็นภาคีสมาชิกขององค์กร จัดการประมงระดับxxxxxxx (RFMO) โดยขัดต่อมาตรการxxxxxxxxและการจัดการตามมติขององค์กรจัดการประมงระดับ xxxxxxx (RFMO)
การท าประมงโดยขาดการรายงาน (Unreported Fishing) หมายxxx xxxท าประมงโดยxxxxxxแจ้ง หรือไม่ รายงาน หรือรายงานเท็จต่อหน่วยงานของรัฐ อันเป็นการกระท าที่ขัดต่อกฎหมายและxxxxxxxของรัฐนั้น หรือการท า ประมงในพื้นที่ความรับผิดชอบขององค์กรจัดการประมงระดับxxxxxxx (RFMO) โดยไม่แจ้ง หรือไม่รายงาน หรือ รายงานข้อมูลเท็จ อันเป็นการขัดต่อวิธีปฏิบัติขององค์กรจัดการประมงระดับxxxxxxx (RFMO) นั้น
การท าประมงที่ไร้การควบคุม (Unregulated Fishing) หมายxxx xxxxxxxx xประมงในเขตพื้นที่ใช้ ประโยชน์ขององค์กรจัดการประมงระดับxxxxxxx (RFMO) โดยเรือxxxxxxแสดงสัญชาติ (ไม่ชักธง) หรือเรือชักธงของชาติ ใด ๆ xxxxxxได้เข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิกขององค์กรจัดการประมงระดับxxxxxxx (RFMO) หรือการท าประมงในลักษณะxxxxxx สอดคล้อง หรือฝ่าฝืนมาตรการxxxxxxxxและการจัดการขององค์การบริหารจัดการทรัพยากรระดับxxxxxxx (RFMO) นั้น (Oranuch Seangjaruek, 2016)
2. มาตรการของรัฐเจ้าของท่าที่ส าคัญในการป้องกันป้องกัน ยับยั้ง และขจัดการท าประมงที่ผิด กฎหมาย ตามความตกลงฯ ประกอบด้วย 4 ส่วน ดังนี้ (Poungthong On-Ura, 2007)
2.1 แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการเข้าเทียบท่า (ENTRY INTO PORT)
2.1.1 การก าหนดท่าเทียบเรือที่มีความxxxxxxxxxxxxxที่จะท าการตรวจสอบเรือตามบทบัญญัติของ ความตกลงนี้ และเผยแพร่ให้ทราบทั่วกัน รัฐภาคีแต่ละรัฐยังจะต้องจัดส่งบัญชีรายชื่อท่าเทียบเรือของรัฐตนนี้ให้แก่ องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) เพื่อน าไปรวบรวมเพื่อเผยแพร่ต่อไป
2.1.2 ขั้นตอนการตรวจสอบของรัฐเจ้าของท่าเรือxxxx xคัญ ได้แก่
(1) การแจ้งขอเข้าเทียบท่าล่วงหน้า ก าหนดให้แต่ละภาคีจะต้องขอให้เรือส่งมอบข้อมูลตามที่ระบุไว้ ในภาคผนวก ก (ANNEX A) ซึ่งเป็นมาตรฐานxxxxxx xก่อนที่จะอนุญาตให้เข้าเทียบท่าได้ ข้อมูลที่ต้องจัดเตรียมล่วงหน้า xxxx ท่าเรือที่xxxxxxxจะเข้าเทียบ รัฐเจ้าของxxx xxxและเวลาที่คาดว่าจะเข้าเทียบท่า ท่าเทียบเรือที่เรือเดินทางออกมา และxxxxxxออกจากท่า ชื่อเรือ รัฐเจ้าของธง เป็นต้น
(2) การเข้าเทียบท่า การอนุญาต หรือการปฏิเสธค าขอ รัฐภาคีต้องด าเนินการตรวจสอบข้อมูลที่ เกี่ยวข้องxxxxxxรับตามภาคผนวก ก (ANNEX A) และพิจารณาว่าเรือที่ต้องการเข้าเทียบท่านั้น มีการท าประมงที่ผิด กฎหมายหรือมีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระท าดังกล่าวหรือไม่ ซึ่งหากมีการอนุญาตให้เข้าเทียบท่า รัฐเจ้าของท่าก็จะต้อง แจ้งผลการพิจารณาให้เรือหรือผู้แทนของเรือล านั้นทราบ หากปฏิเสธการเข้าเทียบท่า รัฐเจ้าของท่าจะต้องแจ้งการ ตัดสินใจให้รัฐเจ้าของธงของเรือเพื่อทราบ
2.2 การใช้ท่าเทียบเรือ
ความตกลงฯ ได้ก าหนดแนวทางให้รัฐเจ้าของท่าเรืออาจปฏิเสธไม่ให้เรือประมงใช้ท่าเทียบเรือเพื่อxxxx xขึ้น ท่า ขนถ่าย บรรจุหีบห่อ และแปรรูปสัตว์น้ า หรือเพื่อใช้บริการอื่น หากพบว่า (1) เรือไม่มีใบอนุญาตให้ท าประมงหรือ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องซึ่งออกโดยรัฐเจ้าของธงของเรือนั้น (2) เรือไม่มีใบอนุญาตให้ท าประมงหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง ตามที่รัฐชายฝั่งได้ก าหนดในการท าการประมงในเขตอ านาจของรัฐชายฝั่งนั้น (3) รัฐเจ้าของท่าเรือได้รับ พยานหลักฐานxxxxxxxxxว่าสัตว์xx xxxxอยู่บนเรือนั้น จับมาด้วยวิธีการที่ฝ่าฝืนข้อก าหนดของรัฐชายฝั่งที่ใช้บังคับในเขต อ านาจของรัฐนั้น (4) รัฐเจ้าของธงไม่ตอบยืนยันภายในเวลาอันxxxxxตามที่รัฐเจ้าของท่าร้องขอ (5) มีเหตุอันควรเชื่อ ได้ว่า เรือxxxxx xการประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม หรือท ากิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการ ประมงที่สนับสนุนการท าประมงดังกล่าว เว้นแต่มีเหตุผลเพื่อความปลอดภัยของลูกเรือ หรือความปลอดภัยของตัวเรือ
2.3 การตรวจสอบและการปฏิบัติการต่อเนื่อง
2.3.1 ระดับและการxxxx xดับความส าคัญของการตรวจสอบ
ความตกลงฯ มุ่งเน้นใช้มาตรการตรวจสอบโดยมีการxxxx xดับความส าคัญในการตรวจสอบเรือxxxxxxถูก ปฏิเสธการเข้าเทียบท่าเรือ หรือใช้ท่าเรือ เป็นอันดับแรก รองลงมาคือการตรวจสอบตามค าร้องขอจากภาคีที่เกี่ยวข้อง หรือรัฐอื่น ๆ หรือองค์กรจัดการประมงระดับxxxxxxxอื่น ๆ โดยมีพยานหลักฐานว่าเรือที่ขอให้ตรวจสอบนั้น เกี่ยวกับ การท าการประมงที่ผิดกฎหมาย หรือท ากิจกรรมที่เกี่ยวข้องหรือสนับสนุนการท าการประมงที่ผิดกฎหมาย ส าหรับเรือ อื่น ๆ ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าได้เข้าร่วมท าการประมงที่ผิดกฎหมาย หรือท ากิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการท าประมงที่ สนับสนุนการท าประมงดังกล่าวนั้น เป็นประเภทของเรือที่จัดอยู่ในล าดับสุดท้ายในการตรวจสอบ
2.3.2 การปฏิบัติการตรวจสอบ
ความตกลงได้ก าหนดแนวทางปฏิบัติในการตรวจสอบที่ท่าเทียบเรือของรัฐเจ้าของท่าเรือไว้ดังนี้
(1) การตรวจสอบจะต้องด าเนินการโดยเจ้าหน้าที่ผู้ตรวจสอบที่มีคุณวุฒิเหมาะสม ได้รับมอบหมาย อ านาจหน้าที่การตรวจสอบอย่างเป็นทางการ และได้รับการฝึกอบรมหลักสูตรเฉพาะมาแล้ว
(2) เจ้าหน้าที่ผู้ตรวจสอบจะต้องแสดงเอกสารแสดงตนทุกครั้ง ว่าเป็นผู้ได้รับมอบหมายให้ท าหน้าที่ ตรวจสอบต่อผู้ควบคุมเรือก่อนที่จะท าการตรวจสอบ
(3) เจ้าหน้าที่ผู้ตรวจสอบจะต้องตรวจสอบพื้นที่ทั้งหมดของเรือ สัตว์xx xxxxอยู่บนเรือ อวนและเครื่องมือ อื่น ๆ อุปกรณ์ และเอกสารหรือบันทึกประจ าเรือที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ที่พิสูจน์เกี่ยวกับการปฏิบัติตามมาตรการxxxxxxxx และการจัดการที่เกี่ยวข้อง
(4) ต้องก าหนดให้ผู้ควบคุมเรือให้ความช่วยเหลือและแจ้งข้อมูลที่จ าเป็นต่อเจ้าหน้าที่ผู้ตรวจสอบ รวมทั้งส่งมอบวัสดุสิ่งของและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
(5) เมื่อมีการxxxxxxตามความเหมาะสมกับรัฐเจ้าของธงเรือล านั้นแล้ว ให้xxxxรัฐเจ้าของธงเรือเข้าร่วม ในการตรวจสอบ
(6) xxxxxxหลีกเลี่ยงความล่าช้าอันเกินควร เพื่อให้xxxxxxxแทรกแซงหรือความไม่สะดวกต่อเรือน้อย ที่สุด ผู้ตรวจสอบควรหลีกเลี่ยงการขึ้นบนเรือโดยไม่มีxxxx xเป็นใด ๆ
(7) ควรใช้ความxxxxxxอย่างเต็มที่ เพื่ออ านวยความสะดวกในการติดต่อสื่อสารกับผู้ควบคุมเรือ หรือ ลูกเรืออาวุโสของเรือ ทั้งนี้ ผู้ตรวจสอบอาจมีล่ามติดตามในกรณีที่เป็นไปได้และจ าเป็น
(8) ท าให้มั่นใจว่าการตรวจสอบได้กระท าอย่างเป็นธรรม โปร่งใส ไม่เลือกปฏิบัติ และไม่ก่อให้xxxxxxx คุกคามต่อเรือล าใด และ
(9) ไม่แทรกแซงความxxxxxxของผู้ควบคุมเรือในการติดต่อสื่อสารกับเจ้าหน้าที่ของรัฐเจ้าของธง ซึ่ง เป็นไปตามกฎหมายระหว่างประเทศ
2.3.3 ผลการตรวจสอบ
ความตกลงฯ ก าหนดแบบรายงานผลการตรวจสอบเป็นแนวทางของข้อมูลหรือรายละเอียดซึ่งเป็น มาตรฐานxxxxxx xใน “แบบรายงานผลการตรวจสอบ” อยู่ในภาคผนวก ค (ANNEX A) และก าหนดให้ส่งมอบผลการ ตรวจสอบเรือแต่ละครั้งให้กับรัฐเจ้าของธงของเรือx xxxxตรวจสอบเพื่อทราบ รวมทั้งก าหนดให้มีการแจ้งผลการ ตรวจสอบให้รัฐเจ้าของธงทราบโดยทันที และปฏิเสธมิให้เรือล านั้นใช้ท่าเรือเพื่อxxxx xขึ้นท่า ขนถ่าย บรรจุ และแปร รูปสัตว์น้ า ซึ่งยังไม่เคยถูกน าขึ้นท่าเทียบเรือใดxxxxxx และเพื่อใช้บริการอื่นจากท่าเทียบเรือ รวมทั้งการเติมเชื้อเพลิง และเสบียง การซ่อมบ ารุง และxxxx xเรือเข้าซ่อมในxxxxxxx เว้นแต่มีความจ าเป็นเพื่อความปลอดภัยหรือสุขภาพของ ลูกเรือ หรือความปลอดภัยของตัวเรือ
2.3.4 การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารทางอิเล็กทรอนิกส์
สนับสนุนให้รัฐภาคีจัดตั้งกลไกการสื่อสารส าหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารทางอิเล็กทรอนิกส์ โดย ก าหนดแนวทางการด าเนินการไว้ในภาคผนวก ง (ANNEX D) ว่าแต่ละภาคีจะต้องxxxxxxจัดให้มีการติดต่อสื่อสาร ผ่านระบบคอมพิวเตอร์เพื่อให้สอดคล้องกับบทบัญญัติต่าง ๆ ของความตกลงฯ และจัดสร้าง Websites เพื่อเผยแพร่ รายชื่อของท่าเทียบเรือxxxxxxรับการจัดตั้งขึ้นตามบทบัญญัติของความตกลงฉบับนี้ รวมทั้งเผยแพร่ถึงมาตรการต่าง ๆ ที่รัฐเจ้าของท่าเรือได้ดาเนินการไปแล้วด้วย เป็นต้น
2.3.5 การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ
ความตกลงฯ ได้ก าหนดแนวทางปฏิบัติในการฝึกอบรมผู้ตรวจสอบไว้ในภาคผนวก จ (ANNEX E) ว่า อย่างน้อยควรรวมถึงในเรื่องจริยธรรม สุขภาพ ความปลอดภัยและความมั่นคงต่าง ๆ กฎหมายและxxxxxxxxxxxxxx เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ การพิสูจน์ความเป็นจริงและความถูกต้องของข้อมูลและการด าเนินการที่ จ าเป็นต้องกระท าภายหลังการตรวจสอบ
2.4 บทบาทของรัฐเจ้าของธง
ก าหนดให้รัฐภาคีซึ่งเป็นรัฐเจ้าของธงหากพบว่ามีหลักฐานชัดเจนxxxxxxxxxxเชื่อได้ว่าเรือที่ชักธงของตน กระท าการประมงที่ผิดกฎหมาย (Illegal Unreported and Unregulated Fishing; IUU Fishing) หรือท ากิจกรรมการที่ เกี่ยวข้องกับ IUU Fishing รัฐเจ้าของธงจะต้องร้องขอให้รัฐเจ้าของท่าท าการตรวจสอบตามความตกลงนี้ตามความ เหมาะสม และเมื่อได้รับรายงานการตรวจสอบจากรัฐเจ้าของท่าและต้องท าการสอบสวนในทันทีและเต็มรูปแบบ และ มีหน้าที่ต้องรายงานเกี่ยวกับมาตรการลงโทษเรือที่ชักธงของตนแก่รัฐอื่น ๆ องค์กรจัดการประมงระดับxxxxxxx และ FAO ตามความเหมาะสม
3. นโยบาย และมาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการขจัดการท าประมง IUU ของประเทศไทย
ประเทศไทยยื่นภาคยานุวัติสารต่อผู้อ านวยการใหญ่องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) เมื่อ xxxxxx 6 พฤษภาคม 2559 เพื่อให้เข้าเป็นภาคีประเทศไทยจึงมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามพันธกรณีภายใต้ความตกลง ดังกล่าวทุกประการ ประกอบกับภายหลังเมื่อเดือนเมษายน 2558 สหภาพยุโรปออกประกาศอย่างเป็นทางการ โดย ขึ้นบัญชีประเทศไทยเป็นประเทศที่มีความเสี่ยงที่จะไม่ให้ความร่วมมือในการต่อต้านการท าประมงที่ผิดกฎหมาย ไม่
รายงาน และไร้การควบคุม หรือก็คือการแจ้งเตือน ‘ใบxxxxxx’ (Yellow card warning) ท าให้ประเทศไทยต้องเร่งแก้ไข ปัญหาในอุตสาหกรรมประมง หากปัญหาดังกล่าวxxxxxxรับการแก้ไขสิ่งที่จะตามมาก็คือ ผลกระทบต่อเศรษฐกิจของ ประเทศอย่างหลีกเลี่ยงxxxxxx เนื่องจากประเทศไทยถือเป็นผู้ส่งออกสินค้าประมงรายใหญ่นับเป็นอันดับ 3 ของโลก โดยxxxxxxการส่งออกปลา xxxx ปลาหมึก และอาหารทะเลแปรรูปไปยัง EU สูงถึงราว 700 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อปี (คิดเป็น 12% ของxxxxxxการส่งออกสินค้าประมงโดยรวมของไทย) ทั้งนี้ กว่า 58% ของผลิตภัณฑ์ประมงxxxxxxส่งออก ไปยัง EU เป็นอาหารส าเร็จรูปหรืออาหารกระป๋อง โดยส่วนใหญ่เป็นทูน่ากระป๋องและxxxxแปรรูป (Parima Arkkarayut, 2015) จากการศึกษาพบว่าประเทศไทย มีการด าเนินการด้านนโยบายxxxx xคัญ ดังนี้
1. การแต่งตั้งคณะกรรมการนโยบายแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์และการท าประมงผิดกฎหมาย โดยมี นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน ตามค าสั่งส านักxxxxxxxxxxxx xxx 52/2558 ลงxxxxxx 17 กุมภาพันธ์ 2558 มีอ านาจหน้าที่ ในการก าหนดนโยบาย xxxxxxxxxx และเป้าหมายในการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ และการประมงผิดกฎหมาย ซึ่ง ต่อมาคณะกรรมการฯ ได้มีการประชุมก าหนดแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาการประมง IUU เพื่อน าไปสู่การปฏิบัติต่อไป โดยแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาการประมง IUU ประกอบด้วยแผนงานหลัก 6 แผนงาน (Department of Fisheries, 2011) ดังนี้ 1) จดทะเบียนเรือประมงและออกใบอนุญาตท าการประมง เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาxxxxxxxxxxประมงและ
เครื่องมือท าการประมง ให้ถูกต้องตามกฎหมาย
2) การควบคุมและเฝ้าระวังการท าประมง จะxxxxxประสิทธิภาพในการควบคุมเฝ้าระวังการท าประมงใน ทะเล โดยจัดตั้งศูนย์บัญชาการควบคุมเฝ้าระวังการท าประมง (MCS) xxxxxxxxxxx และในxxxxxxx เพื่อxxxxxxการบูร ณาการปฏิบัติงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ
3) การจัดท าระบบติดตามต าแหน่งเรือ (VMS) จะจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการควบคุมและติดตามต าแหน่ง เรือประมง หรือศูนย์ควบคุม VMS โดยใช้ระบบดาวเทียม
4) การปรับปรุงระบบการตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) จะxxxxxxxในการตรวจสอบย้อนกลับตลอด สายการผลิตจากเรือประมง แพปลา โรงงานแปรรูปและผู้ส่งออกให้มีประสิทธิภาพ
5) การปรับปรุงพระราชบัญญัติการประมงและกฎหมายล าดับรอง ร่าง พ.ร.บ.การประมงฉบับใหม่xxxxxxรับ การปรับปรุงสาระส าคัญให้เหมาะสม
6 ) การจัดท าแผนระดับชาติในการป้ องกัน ยั บ ยั้ งและขจัดการท าประมงที่ ผิ ดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (NPOA – IUU)
2. การจัดตั้งศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการท าการประมงผิดกฎหมาย หรือ ศปมผ. ตามค าสั่งหัวหน้าคณะ รักษาความสงบแห่งชาติที่ 10/2558 ลงxxxxxx 28 เมษายน 2558 ท างานร่วมกับหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อ ท างานแบบบูรณาการณ์และท าให้การแก้ปัญหาประสบผลส าเร็จเร็วที่สุด
3. จัดท าแผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยการป้องกัน ยับยั้งและขจัดการท าการประมงที่ผิดกฎหมาย ขาด การรายงาน และไร้การควบคุม พ.ศ. 2558–2562 (Thailand National Plan of Action to Prevent, Deter and Eliminate Illegal, Unreported and Unregulated Fishing 2015-2019 หรือ NPOA-IUU) ซึ่งมีกรอบโครงสร้างและขอบเขต ครอบคลุม 5 มิติ ดังนี้ (Thailand NPOA-IUU 2015–2019)
1) ความรับผิดชอบในฐานะที่เป็นรัฐ (All State Responsibilities) ต้องก าหนดนโยบายการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรทางทะเลให้เกิดความxxxxxระหว่างทรัพยากรสัตว์น้ า สิ่งแวดล้อมทางทะเลเศรษฐกิจ สวัสดิภาพทางสังคม ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้บริโภค
2) ความรับผิดชอบในฐานะรัฐเจ้าของธง (The Responsibilities of Thailand as a Flag Stage) ในฐานะรัฐ เจ้าของธง ประเทศไทยมีพันธกรณีในการด าเนินการควบคุมการท าการประมงของเรือประมงชักxxxxx ให้เป็นไปตาม กฎหมายและกฎxxxxxxx ประกอบด้วยมีมาตรการดังนี้ คือ 1) การจดทะเบียนเรือประมง 2) การจัดท าทะเบียนประวัติ เรือประมง 3) การท าการประมงของเรือประมงไทย (การใช้ระบบอนุญาตให้ท าประมง) 4) มาตรการควบคุมเรือขน ถ่ายสัตว์น้ า
3) ความรับผิดชอบของประเทศไทยในฐานะรัฐชายฝั่ง ( Thailand’s Coastal State Responsibilities) ประกอบด้วยมาตรการดังนี้ 1) มาตรการเพื่อป้องกัน ยับยั้งและขจัดการท าประมง IUU ในเขตเศรษฐกิจจ าเพาะของ ไทย 2) การติดตาม ควบคุม และเฝ้าระวังเรือประมงในเขตเศรษฐกิจจ าเพาะของไทย 3) การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร กับองค์การบริหารจัดการด้านการประมง 4) การอนุญาตให้ท าการประมงส าหรับเรือประมงไทย 5) การอนุญาตให้ท า การประมงส าหรับเรือประมงต่างชาติ
4) มาตรการรัฐเจ้าของท่าเรือของไทย (Thailand’s Port State Measures) ประเทศไทยในฐานะรัฐเจ้าของ ท่าเรือ ต้องบังคับใช้มาตรการประกอบด้วย 1) การแจ้งการเข้าเทียบท่า 2) การตรวจสอบการท าการประมง ณ ท่า เทียบเรือ 3) การด าเนินการต่อเรือประมงต่างชาติ ณ ท่าเทียบเรือ ที่พบว่าเป็นเรือท าประมง IUU 4) การปฏิเสธการ เข้าเทียบท่า 5) ความร่วมมือกับรัฐเจ้าของท่าเรือ/องค์การบริหารจัดการประมงระดับxxxxxxx
5) มาตรการที่เกี่ยวข้องในด้านการค้าระหว่างประเทศ
4. มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการขจัดการท าประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้ การควบคุม ตามความตกลงฯ ของประเทศไทย
4.1 มาตรการควบคุมการท าการประมงโดยใช้ระบบใบอนุญาต และการขึ้นทะเบียน ท าให้การท าประมง จะต้องได้รับใบอนุญาตจากหน่วยงานของxxx xxxท าประมงxxxxxxได้รับอนุญาตย่อมเป็นการท าประมงที่ผิดกฎหมาย ตามนิยามความหมายของค าว่า “การท าการประมงที่ผิดกฎหมาย” ตามมาตรา 1(จ) ของความตกลงว่าด้วยมาตรการ ของรัฐเจ้าของท่าเรือฯ (PSM Agreement) จากการศึกษาพระราชก าหนดการประมง พ.ศ. 2558 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 พบว่า ความในมาตรา 5 ก าหนดความหมายของการท าประมงที่ผิดกฎหมาย ว่าหมายxxxxxxท า ประมงโดยxxxxxxรับอนุญาตตามกฎหมายและแบ่งการท าประมงออกเป็น ดังนี้
(1) การท าการประมงในน่านxx xxxx
(1.1) การท าประมงพื้นบ้าน ตามมาตรา 32 แห่งพระราชก าหนดการประมง พ.ศ. 2558 และที่
แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ก าหนดให้การท าประมงพื้นบ้านโดยใช้เรือประมงหรือเครื่องมือที่มีขนาดหรือ ลักษณะตามที่อธิบดีประกาศก าหนด ต้องได้รับใบอนุญาตท าการประมงพื้นบ้านจากอธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย เว้นแต่เป็นการใช้เรือประมงโดยใช้เครื่องมือท าการประมงประเภทที่อธิบดีประกาศก าหนด และยังใช้มาตรการควบคุม โดยก าหนดให้การออกใบอนุญาตจะต้องเป็นการออกให้ประจ าเรือแต่ละล าและก าหนดจ านวนจ ากัดใบอนุญาตแก่ เจ้าของเรือตามจ านวนที่รัฐมนตรีประกาศก าหนด และก าหนดห้ามมิให้การท าการประมงพื้นบ้านไปท าการประมงใน เขตทะเลนอกชายฝั่งเว้นแต่ได้รับอนุญาตจากอธิบดี
(1.2) การท าการประมงพาณิชย์ ตามมาตรา 36 แห่งพระราชก าหนดการประมง พ.ศ. 2558 และ
ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ก าหนดให้การท าการประมงพาณิชย์ต้องได้รับใบอนุญาตท าการประมงพาณิชย์ จากอธิบดีกรมประมงหรือผู้ที่อธิบดีกรมประมงมอบหมาย จ ากัดจ านวนและประเภทของเครื่องมือในการท าประมง ปริมาณสัตว์น้ าสูงสุดที่อนุญาตให้ท าการประมงหรือห้วงเวลาที่ก าหนดให้ท าการประมงได้ โดยให้ความส าคัญกับขีด
ความความxxxxxxในการท าการประมงและปริมาณผลิตผลสูงสุดของสัตว์xx xxxxxxxxxxท าการประมงได้อย่างยั่งยืน ซึ่งก าหนดรายละเอียดไว้ในแผนบริหารจัดการการประมง (มาตรา 36)
(2) การท าการประมงนอกน่านxx xxxx ตามมาตรา 48 แห่งพระราชก าหนดการประมง พ.ศ. 2558 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ก าหนดให้ผู้ที่จะใช้เรือประมงไทย (จดทะเบียนเป็นเรือไทยตามกฎหมายว่า ด้วยเรือไทย) ท าการประมงในเขตทะเลนอกxxxxx xxxx ต้องยื่นค าขอรับใบอนุญาตจากอธิบดีกรมประมงหรือผู้ที่อธิบดี กรมประมงมอบหมาย และในการท าการประมงนอกน่านxx xxxx ผู้ได้รับใบอนุญาตจะต้องมีผู้xxxxxxxxxxx ประจ าอยู่ ในเรือประมงตามหลักเกณฑ์ของรัฐชายฝั่งหรือขององค์การระหว่างประเทศที่มีเขตอ านาจเหนือพื้นที่ที่เข้าไปท าการ ประมงก าหนด หรือตามหลักเกณฑ์ที่อธิบดีประกาศก าหนด จากการศึกษาพบว่า ปัจจุบันประเทศไทยยังไม่เคยมีการ อนุญาตให้เรือที่ชักxxxxxออกไปท าการประมงในเขตทะเลนอกxxxxx xxxx มีเพียงการอนุญาตเรือขนถ่ายนอกน่านน้ า เท่านั้นแต่ในxxxxxอันใกล้นี้คาดว่าจะมีการอนุญาตและปล่อยเรือไทยไปท าการประมงในเขตทะเลนอกน่านxx xxxx ซึ่งขณะนี้กรมประมงและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอยู่ระหว่างการศึกษาและร่างกฎxxxxxxxเพื่อเตรียมมาตรการ ควบคุมดูแลในxxxxx ในxxxxxเมื่อประเทศไทยจะมีอนุญาตให้เรือประมงไปท าการประมงในพื้นที่นอกน่านxx xxxx หรือในพื้นที่ที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรใด ประเทศไทยจะต้องน าเรือล านั้นไปขึ้นทะเบียนกับรัฐนั้น ๆ หรือ องค์กรนั้น ๆ ซึ่งในxxxxxอันใกล้นี้ เรือนอกน่านน้ าคาดว่าน่าจะได้ออกไปท าประมงนอกน่านน้ า และเนื่องจากขณะนี้ ประเทศไทยยังเคยมีการอนุญาตเรือที่ชักxxxxxไปท าประมงนอกน่านxx xxxx จึงยังไม่มีมาตรการหรือข้อก าหนดใด ๆ เกี่ยวกับการแจ้งให้รัฐอื่นตรวจสอบเรือที่ชักธงของไทยตามมาตรการที่ก าหนดไว้ในความตกลงว่าด้วยมาตรการของรัฐ เจ้าของท่าฯ (PSM Agreement)
4.2 มาตรการควบคุมการท าการประมงโดยการก าหนดข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการxxxxxxxเทียบเรือ (Entry into
Port)
จากการศึกษาพบว่า ประเทศได้มีการปรับปรุงกฎหมายด้านการประมงโดยการตราพระราช
ก าหนดการประมง พ.ศ. 2558 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ยกเลิกพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. 2495 โดยเนื้อหาในพระราชการก าหนดดังกล่าวได้เพิ่มเติมมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการขจัดและยับยั้งการท าการ ประมงแบบ IUU ดังนี้
1. การก าหนดท่าเทียบเรือ
ประเทศไทยได้ก าหนดข้อปฏิบัติดังกล่าวไว้ในมาตรา 95 แห่งพระราชก าหนดการประมง พ.ศ. 2558 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 (มาตรา 95) ที่ก าหนดให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ต้องประกาศก าหนดท่าเทียบเรือส าหรับเรือประมงที่ไม่ใช่เรือประมงไทยที่จะเข้าเทียบท่าเป็นการเฉพาะ ซึ่ง ต่อมารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้มีการประกาศก าหนดท่าเทียบเรือตามมาตรการของรัฐเจ้าของ ท่า (Designated Ports) จ านวน 25 ท่า ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 16 พฤศจิกายน 2560 โดยการด าเนินงานภายใต้ มาตรการรัฐเจ้าของท่าของประเทศไทยแบ่งโครงสร้างออกเป็น 2 ส่วนคือ การด าเนินงานภายใต้มาตรการรัฐเจ้าของ ท่าส าหรับเรือประมงต่างประเทศที่มิใช่สัญชาติประเทศเพื่อนบ้าน 16 ท่า และการด าเนินงานภายใต้มาตรการรัฐ เจ้าของท่าสัญชาติประเทศเพื่อนบ้าน 6 ท่า (Thira Rodchewit, 2018)
2. การแจ้งขอxxxxxxxเทียบเรือล่วงหน้า
ประเทศไทยก าหนดข้อปฏิบัติในการแจ้งขอเข้าเทียบท่าล่วงหน้าไว้ในมาตรา 95 แห่งพระราช
ก าหนดการประมง พ.ศ. 2558 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ซึ่งก าหนดให้เรือประมงที่ไม่ใช่เรือประมง
ไทยจะต้องแจ้งข้อมูลตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ประกาศก าหนดล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสี่แปด ชั่วโมงแก่ศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้า - ออก (Port In - Port Out Controlling Centre) ซึ่งต่อมารัฐมนตรีว่าการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มีการประกาศก าหนดให้ผู้xxxxxxxจะน าเรือประมงที่มิใช่เรือประมงไทยที่จะน าสัตว์น้ า หรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ าเข้ามาในราชอาณาจักร ต้องแจ้งข้อมูลล่วงหน้าตามแบบค าร้องขอน าเรือประมงต่างประเทศเข้า เทียบท่าตามที่ก าหนดไว้ท้ายประกาศต่อxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxน้อยกว่าสี่สิบแปดชั่วโมง ก่อนเวลาที่เรือประมงจะ เดินทางถึงท่าเทียบเรือ และพนักงานเจ้าหน้าที่จะต้องพิจารณาว่าจะอนุญาตหรือปฏิเสธการเข้าเทียบท่าเรือและแจ้ง ผลให้ผู้ควบคุมเรือภายในยี่สิบสี่ชั่วโมงหลังได้รับแจ้งข้อมูล
ทั้งนี้ มีการปรับปรุงพระราชก าหนดการประมง พ.ศ. 2558 และกฎหมายล าดับรองที่เกี่ยวข้องกับ มาตรการการแจ้งขอเข้าเทียบท่าล่วงหน้า ดังนี้
(1) การปรับแก้พระราชก าหนดการประมง พ.ศ. 2558 ในมาตรา 95
- ปรับxxxxxระยะเวลาในการยื่นแบบค าร้องขอน าเรือประมงต่างประเทศเข้าเทียบท่าจาก 48 ชั่วโมง เป็นระยะเวลาตามที่รัฐมนตรีประกาศก าหนดแต่จะประกาศเกิน 96 ชั่วโมงมิได้
- เรือประมงต่างประเทศxxxxxxxxxxxxxxxน าสัตว์น้ าเข้าในราชอาณาจักร xxxx เรือที่เข้ามาเพื่อ ซ่อมแซมเรือ ซื้อเสบียงอาหาร ต้องยื่นแบบค าร้องขอน าเรือประมงต่างประเทศเข้าเทียบท่าxxxxเดียวกัน
(2) การปรับปรุงประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง การแจ้งข้อมูลล่วงหน้าและก าหนดท่า เทียบเรือของเรือประมงที่มิใช่เรือประมงไทย ที่xxxxxxxจะเข้ามาในราชอาณาจักร พ.ศ. 2560 ซึ่งอาศัยอ านาจตาม ความในมาตรา 95 มีผลบังคับใช้เมื่อ 16 พฤศจิกายน 2560 ซึ่งก าหนดระยะเวลาที่ต้องแจ้งค าร้องขอน าเรือประมงเข้า เทียบท่า ดังนี้
• เรือประมงที่มีสัญชาติราชอาณาจักรกัมพูชา และมาเลเซียต้องแจ้งข้อมูล ตามแบบค าร้องขอน า เรือประมงต่างประเทศเข้าเทียบท่า และยื่นเอกสารประกอบแบบค าร้องล่วงหน้า ต่อxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxน้อยกว่า 3 ชั่วโมงก่อนเวลาที่เรือประมงจะเดินทางถึงท่าเทียบเรือ
• เรือประมงที่มีสัญชาติสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาต้องแจ้งข้อมูลตามแบบค าร้องขอ น าเรือประมงต่างประเทศเข้าเทียบท่า และยื่นเอกสารประกอบแบบค าร้องล่วงหน้าต่อxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxน้อยกว่า 6 ชั่วโมงก่อนเวลาที่เรือประมงจะเดินทางถึงท่าเทียบเรือ
• เรือประมงที่มีสัญชาติสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ต้องแจ้งข้อมูลตามแบบค าร้องขอน าเรือประมง ต่างประเทศเข้าเทียบท่า และยื่นเอกสารประกอบแบบค าร้องล่วงหน้าต่อxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxน้อยกว่า 12 ชั่วโมงก่อน เวลาที่เรือประมงจะเดินทางถึงท่าเทียบเรือ
• เรือประมงที่มิใช่สัญชาติข้างต้นต้องแจ้งข้อมูลตามแบบค าร้องขอน าเรือประมง ต่างประเทศเข้า เทียบท่า และยื่นเอกสารประกอบแบบค าร้องล่วงหน้าต่อxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxน้อยกว่า 72 ชั่วโมงก่อนเวลาที่ เรือประมงจะเดินทางถึงท่าเทียบเรือ
นอกจากนี้ยังมีการปรับแบบฟอร์มของแบบค าร้องขอน าเรือประมงต่างประเทศเข้าเทียบท่าให้ สอดคล้องกับการท างานของเจ้าหน้าที่และพื้นที่ในการปฏิบัติงานอีกด้วย
3. การใช้ท่าเทียบเรือ
ประเทศไทยได้ก าหนดข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ท่าเทียบเรือไว้ในมาตรา 96 แห่งพระราชก าหนดการ
ประมง พ.ศ. 2558 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 โดยก าหนดให้เรือประมงxxxxxxรับอนุญาตให้เทียบท่าและ
เทียบท่าแล้ว หากจะน าสัตว์น้ าหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ าขึ้นท่าเทียบเรือนั้น จะต้องขออนุญาตน าเข้าสัตว์น้ าหรือ ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ าอีกชั้นหนึ่ง และบทบัญญัติดังกล่าวได้ก าหนดข้อห้ามมิให้พนักงานเจ้าหน้าที่อนุญาตให้น าเข้าสัตว์น้ า หรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ าจากเรือประมงxxxxxxรับอนุญาตให้เทียบท่าแล้ว เว้นแต่เจ้าของเรือหรือผู้ควบคุมเรือจะพิสูจน์ได้ว่า (1) เรือประมงนั้นมีใบอนุญาตให้ท าการประมงหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการประมงซึ่งออกโดยรัฐ
เจ้าของธงหรือรัฐชายฝั่งหรือไม่
(2) มีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่ามิได้มีการท าประมงโดยมิชอบด้วยกฎหมาย
(3) เจ้าของเรือหรือผู้ควบคุมเรือท าหนังสือรับรองว่ารัฐเจ้าของธงจะยืนยันในเวลาอันxxxxxว่าสัตว์ xx xxxxจับได้นั้นเป็นไปตามข้อบังคับขององค์การระหว่างประเทศ
4. การปฏิบัติการตรวจสอบ
ความตกลงฯ ได้ก าหนดให้ภาคีผู้ตรวจสอบจะต้องจัดท ารายงานผลการตรวจสอบการท าการ ประมงแบบ IUU โดยน าข้อมูลที่ก าหนดไว้เป็นมาตรฐานxxxxxx xในภาคผนวก ค xxxxxxxxการจัดท ารายงานด้วย และ ยังได้ก าหนดให้ภาคีผู้ตรวจสอบจะต้องส่งมอบรายงานผลการตรวจสอบดังกล่าวแก่รัฐเจ้าของธงเรือที่ถูกตรวจสอบ ด้วยทุกครั้งไป อีกทั้งยังก าหนดให้มีการแจ้งรัฐเจ้าของธงเรือเพื่อทราบในทันทีที่ภาคีผู้ตรวจสอบได้ท าการตรวจสอบ และพบพยานหลักฐานชัดเจนที่ท าให้เชื่อได้ว่าเรือx xxxxถูกตรวจสอบนั้นได้ท าการประมงแบบ IUU หรือเกี่ยวกับการ ป้องกันท าการประมงแบบ IUU
วิธีด าเนินการวิจัย
เป็นการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) โดยศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ บทความ หนังสือพิมพ์ วารสาร กฎหมายว่ า ด้ วยการประมง รวมทั้ ง ข้ อ มู ลทางสื่ อ อิ เ ล็ กทรอนิกส์ และน ามาวิเคราะห์ ว่ ากฎหมาย ว่าด้วยการประมงและการด าเนินนโยบายของประเทศไทย สอดคล้องและครอบคลุมตามหลักการของ ความตกลงว่าด้วยมาตรการของรัฐเจ้าของท่าเพื่อป้องกัน ยับยั้ง และขจัดการท าประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการ รายงาน และไร้การควบคุม หรือไม่ และน าเสนอโดยการวิเคราะห์เนื้อหาและน าเสนอข้อมูลโดยการพรรณนาความ
ผลการวิจัย
1. ปัญหาทางนโยบาย รัฐบาลไทยด าเนินนโยบายในการแก้ไขปัญหา IUU เพื่อให้ประเทศหลุดพ้นจาก มาตรการกีดกันทางการค้าจาก EU และส่วนใหญ่กระท าโดยการใช้อ านาจเบ็ดเสร็จตามxxxxxxxxxxชั่วคราว พ.ศ. 2557 มาตรา 44 ของหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ในการออกค าสั่งต่าง ๆ โดยเฉพาะค าสั่งจัดตั้ง “ศูนย์ บัญชาการแก้ไขปัญหาการท าการประมงผิดกฎหมาย” xxxxxxxxxxถึงความส าคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชนผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียในกิจการที่เกี่ยวข้องกับการประมง ซึ่งก็มีข้อดีตรงที่มีความเด็ดขาดการแก้ไขปัญหามีประสิทธิภาพสูง แต่การขับเคลื่อนนโยบายโดยวิธีxxxxนี้ ย่อมขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนผู้มีส่วนได้เสีย ท าให้การตัดสินใจส่วนใหญ่ มาจากการเลือกรับฟังแต่เฉพาะข้อมูลจากหน่วยงานของรัฐ หรือจากบุคคลบางกลุ่ม ท าให้การแก้ไขปัญหาดังกล่าว อาจส าเร็จได้เพียงในระยะสั้นเท่านั้น
2. ปัญหาด้านมาตรการทางกฎหมาย พระราชก าหนดการประมง พ.ศ. 2558 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 เป็นการแก้ไขกฎหมายด้านการประมงฉบับเดิมคือ พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. 2490 ซึ่งพบว่า กฎหมายดังกล่าวมีการก าหนดมาตรการในการตรวจสอบการเข้าและออกท่าเทียบเรือเป็นไปตามมาตรฐานxxxxxx x
ตามที่ความตกลงว่าด้วยมาตรการของรัฐเจ้าของท่า เพื่อป้องกัน ยับยั้ง และขจัดการท าประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการ รายงาน และไร้การควบคุม ก าหนดไว้ แต่พระราชก าหนดการประมง พ.ศ. 2558 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ยังขาดมาตรการในด้านการxxxxxxxxxxxส าคัญ ดังนี้
2.1 มาตรการxxxxxxxxความร่วมมือและการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
ความตกลงฯ (PSM Agreement) ได้ให้ความส าคัญอย่างยิ่งกับมาตรการความร่วมมือของภาคีต่าง ๆ ในการขจัดและยับยั้งการท าประมงแบบ IUU โดยเฉพาะมาตรการความร่วมมือและการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ระหว่างภาคีหรือกับองค์การระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้มีxxxx xมาตรการต่าง ๆ ที่เป็นการสนับสนุนการขจัด การท าประมงแบบ IUU และการxxxxxxxxทรัพยากรสัตว์น้ าตามความตกลงนี้ไปปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ แต่พระราช ก าหนดการประมง พ.ศ. 2558 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ยังก าหนดมาตรการxxxxxxxxความร่วมมือ ระหว่างรัฐภาคีxxxxxxxxxx โดยเฉพาะความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับมาตรการขจัดการท า ประมงแบบ IUU
2.2 มาตรการxxxxxxxxเกี่ยวกับบทบาทของรัฐเจ้าของธง
ความตกลงฯ (PSM Agreement) ยังได้ก าหนดให้มีมาตรการxxxxxxxxเกี่ยวกับบทบาทของรัฐเจ้าของ ธง ซึ่งมีลักษณะเป็นความร่วมมือที่ต้องอาศัยความจริงใจต่อกันระหว่างรัฐต่าง ๆ มุ่งเน้นให้รัฐเจ้าของธงเรือประมงที่มี หลักฐานชัดเจนxxxxxxxxxxเชื่อได้ว่าเรือประมงที่ชักธงของตนนั้น ได้ท าการประมงแบบ IUU ในน่านน้ าของรัฐอื่น มี หน้าที่จะต้องแจ้งให้รัฐชายฝั่งxxxxx xการตรวจสอบเรือหรือด าเนินมาตรการอื่นที่สอดคล้องกับความตกลงนี้ และเมื่ อ รัฐเจ้าของธงได้รับรายงานว่าเรือประมงที่ชักธงของตนxxxx x xการประมงแบบ IUU รัฐเจ้าของธงจะต้องท าการ สอบสวนในทันที และต้องรายงานภาคีอื่น ๆ และรัฐเจ้าของท่าที่เกี่ยวข้อง เพื่อทราบถึงมาตรการในการลงโทษ เรือประมงที่ชักธงของตน แต่จากการศึกษาพบว่า พระราชก าหนดการประมง พ.ศ. 2558 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ไม่มีมาตรการxxxxxxxxเกี่ยวกับบทบาทของประเทศไทยในฐานะรัฐเจ้าของธงดังกล่าว
2.3 การปฏิบัติการตรวจสอบ
xxxxxxxส าคัญประการหนึ่งที่ความตกลงฯ (PSM Agreement) ให้ความส าคัญคือ “ผู้ตรวจสอบ” โดยก าหนดให้แต่ละภาคีจะต้องมีผู้ตรวจสอบประจ าท่าเรือและต้องท าให้มั่นใจว่าผู้ตรวจสอบดังกล่าวผ่านการ ฝึกอบรมอย่างเหมาะสม โดยความตกลงฯ ได้ก าหนดแนวทางปฏิบัติในการฝึกอบรมไว้ในภาคผนวก จ แต่จาก การศึกษาพบว่าพระราชก าหนดการประมง พ.ศ. 2558 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 มีเพียงบทบัญญัติ ว่าด้วย “ผู้xxxxxxxxxxx” ซึ่งประจ าอยู่ในเรือประมง xxxxxxxให้นิยามความหมายของค าว่า “ผู้xxxxxxxxxxx” ทั้งยังมีการ ก าหนดหลักสูตรอบรมและคุณสมบัติของ “ผู้xxxxxxxxxxx” ตามที่อธิบดีกรมประกาศก าหนด แต่ไม่มีบทบัญญัติว่า ด้วย “ผู้ตรวจสอบ” มีเพียง “พนักงานเจ้าหน้าที่” ซึ่งพระราชก าหนดxxxxxxxไว้อย่างกว้างว่าหมายถึงผู้ซึ่งรัฐมนตรี แต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชก าหนดนี้ และแม้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะได้มีค าสั่งแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้ท าหน้าที่เป็น “ผู้ตรวจสอบ” แต่ก็ไม่มีการวางข้อก าหนดใด ๆ เกี่ยวกับxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxจะท าหน้าที่เป็น “ผู้ตรวจสอบ” ตามที่ความตกลงฯ ก าหนดไว้ xxxx การก าหนดคุณสมบัติของxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxจะท าหน้าที่เป็น “ผู้ตรวจสอบ” หลักสูตรการฝึกอบรมที่เข้มข้น ซึ่งจากการศึกษาพบเพียงการก าหนดคุณสมบัติ การขึ้นทะเบียน และ การฝึกอบรมของผู้ที่จะเป็น “ผู้xxxxxxxxxxx” เท่านั้น
3. จากการศึกษากฎหมายต่างประเทศ คือ ประเทศแคนาดา ได้น ามาตรการxxxxxxxxความร่วมมือระหว่าง
ประเทศว่าด้วยการเปิดเผยและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ตามความตกลงฯ มาตรา 6 ไปxxxxxxxแก้ไขเพิ่มเติมไว้ใน
กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองการท าประมงชายฝั่งของประเทศแคนาดา (The Coastal Fisheries Protection Act) ซึ่ง เรียกว่ากฎหมายว่าด้วยการxxxxxxxการความตกลงว่าด้วยมาตรการของรัฐเจ้าของท่า เพื่อป้องกัน ยับยั้ง และขจัดการ ท าประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (The Port State Measures Agreement Implementation Act) ในเรื่องการเปิดเผยและและเปลี่ยนข้อมูลดังกล่าวอยู่ในหมวดว่าด้วยข้อมูลข่าวสาร (Information) ข้อ 16.4 ซึ่งให้ อ านาจรัฐมนตรีอาจประกาศเปิดเผยต่อรัฐเจ้าของxx xxxเจ้าของสัญชาติ รัฐชายฝั่ง องค์กรจัดการประมงระดับxxxxxxx องค์กรของรัฐหรือองค์กรระหว่างประเทศ xxxxข้อมูลที่เกี่ยวข้องการปฏิเสธไม่ให้เรือต่างชาติเข้าเขตการท าประมงของ ประเทศแคนาดา การตั้งข้อสงสัย การแก้ไขเปลี่ยนและการยกเลิก ค าสั่งต่าง ๆ รายงานการสอบสวนเกี่ยวกับการ กระท าความผิดของเรือต่างชาติ มาตรการที่พนักงานเจ้าหน้าที่ใช้บังคับที่เรือต่างชาติต้องปฏิบัติ เป็นต้น
นอกจากนี้ ในข้อ 16.5 ยังxxxxxxxให้รัฐมนตรีxxxxxxประกาศเปิดเผยต่อภาคีสมาชิก PSM Agreement รัฐ ชายฝั่ง หรือองค์กรจัดการประมงระดับxxxxxxx ซึ่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับมาตรการที่มีประสิทธิภาพทั้งหลายในการแก้ไข ปัญหาการท าประมงที่ผิดกฎหมาย ภายใต้กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองการประมงชายฝั่ง
สรุปผล
จากการศึกษาสรุปได้ว่า
1. รัฐบาลไทยด าเนินนโยบายการแก้ไขปัญหา IUU Fishing แบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาดโดยใช้ข้อมูลจากหน่วยงาน
ภาครัฐเป็นส่วนใหญ่ ขาดการรับฟังข้อมูลหรือปัญหาจากภาคประชาชน หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
2. พระราชก าหนดการประมง พ.ศ. 2558 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ยังมีมาตรการของรัฐ เจ้าของxxxxxxxxxสอดคล้องและไม่ครบถ้วนตามความตกลงว่าด้วยมาตรการของรัฐเจ้าของท่าเพื่อป้องกัน ยับยั้ง และ ขจัดการท าประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (PSM Agreement)
อภิปรายผล
จากการศึกษาพระราชก าหนดการประมง พ.ศ. 2558 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 พบว่าเป็น การแก้ไขกฎหมายด้านการประมงฉบับเดิมคือ พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. 2490 ซึ่งยังขาดมาตรการในการ ควบคุม ขจัดและเฝ้าระวังการท าการประมงxxxxxxชอบด้วยกฎหมายและการท าการประมงxxxxxxสอดคล้องต่อผลผลิต ตามxxxxxxxx เพื่อให้มีมาตรการการควบคุมการท าการประมงxxxxxxชอบด้วยกฎหมายสอดคล้องตามมาตรฐานxxxx ซึ่งพบว่ากฎหมายดังกล่าวมีการก าหนดมาตรการในการตรวจสอบการเข้าและออกท่าเทียบเรือเป็นไปตามมาตรฐาน xxxxxx xตามที่ความตกลงว่าด้วยมาตรการของรัฐเจ้าของท่า เพื่อป้องกัน ยับยั้ง และขจัดการท าประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม ก าหนดไว้ แต่พระราชก าหนดการประมง พ.ศ. 2558 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ยังขาดมาตรการในด้านการxxxxxxxx xxxxมาตรการมาตรการxxxxxxxxความร่วมมือและการแลกเปลี่ยน ข้อมูลข่าวสาร มาตรการxxxxxxxxเกี่ยวกับบทบาทของรัฐเจ้าของธงและมาตรการสนับสนุนอื่น ๆ ในการปฏิบัติการ ตรวจสอบ
ประเทศไทยในปัจจุบันยังxxละเลยการก าหนดหรือวางมาตรการด้านการxxxxxxxxและด้านการสนับสนุนใน การแก้ไขปัญหา IUU Fishing ท าให้กฎหมายว่าด้วยการประมงของประเทศไทยซึ่งเป็นกฎหมายหลัก ยังไม่สอดคล้อง กับเจตนารมณ์ของความตกลงฯ ดังนั้นจึงควรมีการแก้ไขเพิ่มเติมมาตรการดังกล่าวไว้ในกฎหมายว่าด้วยการประมงให้ ชัดเจน เพื่อให้สอดคล้องกับความความตกลงฯ อีกทั้งในการด าเนินนโยบายของรัฐบาลจะต้องการของในแต่ละพื้นที่
โดยรับฟังความคิดเห็นและความต้องการประชาชนด้วย จะท าให้มาตรการในการแก้ไขปัญหา IUU Fishing มี ประสิทธิภาพและxxxxxxxยอมรับ
ข้อเสนอแนะ
1. ปัญหาทางนโยบาย รัฐบาลไทยต้องให้ความส าคัญกับกระบวนการรับฟังความคิดเห็น และการรับฟัง ข้อมูลให้รอบด้านมากขึ้น ให้xxxxxแก่ผู้มีส่วนได้เสียและนักวิชาการที่เกี่ยวข้องร่วมพิจารณาหรือด าเนินการด้วย และxxx x xคัญต้องมีมาตรการดูแลหรือเยียวยาด้วยวิธีการที่เหมาะสมส าหรับผู้ประกอบอาชีพประมงที่ต้องหยุดหรือเปลี่ยน อาชีพไป ซึ่งจากการศึกษาพบว่ามีเพียงมาตรการรับซื้อเรือหรือเครื่องมือการท าประมงจากxxxxxxxxเท่านั้นซึ่งยังxxx xxxxxxx นอกจากนี้ในด้านระหว่างประเทศ ประเทศไทยก็ควรแสดงบทบาทส าคัญในการxxxxxxxxความร่วมมือทาง ทะเลในระดับxxxxxxxด้วย xxxx การจัดท าความตกลงกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน เพื่อผลักดันให้การต่อต้านการ ประมง IUU เป็นวาระส าคัญในxxxxxxxอาเซียน เพื่อป้องกัน ยับยั้งและขจัดการท าประมง IUU ในxxxxxxx และผลักดัน ให้มีการจัดท านโยบายร่วมด้านการประมงในอาเซียน เพื่อxxxxxxxxการท าประมงอย่างยั่งยืน เพื่อความมั่นคง ทาง อาหารและการxxxxxxxxทรัพยากรทางทะเล
2. ปัญหาด้านมาตรการทางกฎหมาย ควรมีการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการประมงของไทยอีกครั้ง โดย xxxxxxxมาตรการด้านการxxxxxxxxเพิ่มเติม คือ มาตรการxxxxxxxxความร่วมมือและการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร มาตรการxxxxxxxxเกี่ยวกับบทบาทของรัฐเจ้าของธง โดยน ากฎหมายของประเทศแคนาดาดังxxxxxxศึกษามาเป็นต้นแบบ และควรมีการเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วย “ผู้ตรวจสอบ” ไว้ในกฎหมายดังกล่าวด้วย ซึ่งผู้เขียนเห็นว่าเป็นกลไกส าคัญ ในการตรวจสอบการกระท าเกี่ยวกับ IIU Fishing โดยต้องมีบทบัญญัติย่อยว่าด้วย คุณสมบัติของ “ผู้ตรวจสอบ” หลักสูตรการฝึกอบรมที่เข้มข้น การขึ้นทะเบียน และการฝึกอบรมผู้ที่จะท าหน้าที่ผู้ตรวจสอบ ให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นไป ตามแนวทางที่ก าหนดไว้ในความตกลงว่าด้วยมาตรการของรัฐเจ้าของท่า เพื่อป้องกัน ยังยั้ง และขจัดการท าประมงที่ ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ประโยชน์xxxxxxรับจากการวิจัย
1. ได้ทราบถึงเจตนารมณ์และมาตรการของรัฐเจ้าของท่า ที่ส าคัญในการแก้ไขปัญหา IUU Fishing ตามความ ตกลงว่าด้วยมาตรการของรัฐเจ้าของท่า เพื่อป้องกัน ยังยั้ง และขจัดการท าประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม
2. ได้ทราบถึงมาตรการของรัฐเจ้าของท่าต่างประเทศ
3. ได้ทราบถึงแนวนโยบายและมาตรการทางกฎหมายxxxx xคัญในฐานะรัฐเจ้าท่าเรือ เพื่อน าไปสู่การแก้ไข เพิ่มเติมกฎหมายภายในที่เกี่ยวข้องให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และสอดคล้องกับความตกลงว่าด้วยมาตรการของรัฐ เจ้าของท่า เพื่อป้องกัน ยังยั้ง และขจัดการท าประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม
References
Arkkarayut, P (2015). European Union gives yellow cards to warn Thailand for solving Illegal, Unreported and Unregulated Fishing problem. Retrieved December 2, 2016, from xxxxx://xxx.xxxxxx.xxx
/th/detail/product/1436
Xxxxxxxxx, J. (2015). Adjustment of Thailand under The Agreement on port state measures to prevent, deter and eliminate illegal, unreported and unregulated fishing. Bangkok: Department of Fisheries.
Chanrachkij, I., Siripichayatrakol, P., Wangdee, N., & Phechpiroon, S. (2007). Illegal Unreported and Unregulated Fishing: IUU Fishing. Retrieved August 7, 2017, from xxxx://xxx.xxxxxxx.xxx
/downloads/pdf/IUU_thai.pdf
Department of Fisheries. (2011). Department of Fisheries News. Retrieved March 12, 2016, from xxxxx://xxx.xxxxxxxx.xxx/xxxx/xxxxxxxx/xxxxxxxx/XXX_xxxxxxx.xxx.
Department of Fisheries. (2016). Fisheries Statistics of Thailand. Retrieved August 20, 2018,
from xxxxx://xxx.xxxxxxxxx.xx.xx/xxxxxxxx-xxxx/xxxxxXxx/xxxxx/0000/0/xxxxxxxx_0000.xxx On-Ura, P. (2007). International Plan of Action to Prevent, Deter and Eliminate Illegal, Unreported and
Unregulated Fishing (IPOA-IUU). Retrieved September 1, 2018, from xxxxx://xxx.xxxx.xx.xx
/law_agri-files-401091791792
Seangjaruek, O. (2016). Illegal Unreported and Unregulated Fishing Problems: opportunities for reform of the Thai fisheries sector. Retrieved March 4, 2017, from xxxxx://xxxxxxxxxxx.xxx /2016/01/iuu- reform-opportunities-2/
Thailand National Plan of Action to Prevent, Deter and Eliminate Illegal, Unreported and Unregulated Fishing 2015 - 2019 (Thailand NPOA-IUU 2015-2019) Retrieved 20 December, 2018, from xxxx://xxxxxxxxxx0.xxx.xxx/xxxx/xxx/xxx000000.xxx
The Food and Agriculture Organization (FAO). (2018). Status of Port State Measures Agreement. Retrieved 21 December, 2018. Available from xxxx://xxx.xxx.xxx/xxxxxxxxx/xxxx_xxxxxx/xxxxx/xxxx/000x-x.xxx
Interview
Rodchewit, T. Department of Fisheries. December 3, 2018.