THE KNOWLEDGE AND UNDERSTANDING ABOUT THAI FINANCIAL REPORTING STANDARDS NO.16 LEASES OF ACCOUNTING PROFESSIONALS IN BANGKOK METROPOLITAN REGION
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
THE KNOWLEDGE AND UNDERSTANDING ABOUT THAI FINANCIAL REPORTING STANDARDS NO.16 LEASES OF ACCOUNTING PROFESSIONALS IN BANGKOK METROPOLITAN REGION
xxxxxx xxxxxxx
สาขาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคําแหง ผู้รับผิดชอบบทความ
Nutchaya Suebsakul Email: xxxxxxxx.xxx@xxxxx.xxx
Department of Accounting, Faculty of Business Administration Ramkhamhaeng University
Corresponding author
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
(2) เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จํานวน 400 คนโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ เชิงพรรณนาได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงxxxมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานเพื่อ เปรียบเทียบใช้สถิติการทดสอบแบบ t-test ทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติความxxxxxxxทางเดียว (One-way ANOVA) หากพบความแตกต่างจะนําไปเปรียบเทียบเป็นรายคู่ โดยใช้วิธีของ LSD
ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ที่มีเพศ อายุ ระยะเวลาในการทํางาน ตําแหน่งงาน แตกต่างกันทําให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า แตกต่างกัน และปัจจัยส่วนบุคคลของ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มี ระดับการศึกษา แตกต่างกันทําให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาxxxx xxxแตกต่างกัน
คําสําคัญ : ความรู้ความเข้าใจ, มาตรฐานการรายงานทางการเงิน, ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
ABSTRACT
The purpose of this research was to (1) study The Knowledge and Understanding About Thai Financial Reporting Standards No.16 Leases of Accounting Professionals in Bangkok Metropolitan Region (2) study The Knowledge and Understanding About Thai Financial Reporting Standards No.16 Leases of Accounting Professionals in Bangkok Metropolitan Region, classified by personal factors of the population about Accounting Professionals in Bangkok Metropolitan Region. The sample group used in this research are The Accounting Professionals in Bangkok Metropolitan Region for 400 peoples and questionnaires are a tool for data collection. By the statistics used in the descriptive analysis are frequency, percentage, mean, and standard deviation. Hypothesis test was for comparison, using t-test statistics to test the hypothesis with one-way
ANOVA. If the differences were found, they will be compared in pairs by using The LSD method.
Test results of the hypothesis found that The personal factors of the Accounting Professionals in Bangkok Metropolitan Region which have a different gender, age, working time and job position caused The difference in The Knowledge and Understanding About Thai Financial Reporting Standards No.16 Leases of Accounting Professionals in Bangkok Metropolitan Region and The personal factors of the Accounting Professionals in Bangkok Metropolitan Region which have a different education level caused no difference in The Knowledge and Understanding About Thai Financial Reporting Standards No.16 Leases of Accounting Professionals
Keywords: Knowledge and Understanding, Thai Financial Reporting Standards, Accounting Professionals
บทนํา
สภาวิชาชีพบัญชีได้มีการประกาศใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับใหม่ซึ่งมีผลบังคับใช
สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังxxxxxx 1 xxxxxx 2563 เป็นต้นไป ซึ่งหนึ่งในมาตรฐานรายงาน ทางการเงินที่คาดว่าจะมีผลกระทบต่อหลายกิจการคือ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า (TFRS 16) เนื่องจาก การเช่าถือเป็นธุรกรรมที่สําคัญของหลายๆกิจการ ซึ่งการเช่าเป็นวิธีในการ ให้ได้รับxxxxxในการเข้าถึงสินทรัพย์ การจัดหาเงินทุน และการลดฐานะเปิดต่อความเสี่ยงของความเป็น เจ้าของสินทรัพย์ของกิจการ เนื่องจากความxxxxxxxxของการเช่า ดังนั้น จึงมีความสําคัญที่ผู้ใช้งบการเงิน ควรได้รับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในลักษณะการนําเสนอรายการที่เป็นตัวแทนอันxxxxxxxxxx ให้ข้อมูลพื้นฐานแก่ผู้ใช้งบการเงินในการประเมินผลกระทบของสัญญาxxxxxxxมีต่อฐานะการเงิน ผลการ ดําเนินงานทางการเงิน และกระแสเงินสดของกิจการ ซึ่งวิธีการบัญชีเดิมสําหรับสัญญาเช่าตามมาตรฐานการ บัญชีฉบับที่ 17 (TAS 17) เรื่องสัญญาxxxx xxxกําหนดให้ผู้เช่าและผู้ให้เช่าจัดประเภทสัญญาเช่าเป็นสัญญา เช่าการเงินหรือสัญญาเช่าดําเนินงานและบันทึกบัญชีสําหรับสัญญาxxxxxxxxสองประเภทนี้อย่างแตกต่างกัน
ซึ่งวิธีการบัญชีดังกล่าวถูกวิจารณ์ในแง่xxxxxxxxxxxxxxxxความต้องการของผู้ใช้งบการเงินได้เนื่องจากวิธีการ บัญชีดังกล่าวxxxxxxเป็นตัวแทนอันxxxxxxxxxxสําหรับรายการการเช่าในทุกกรณี โดยเฉพาะการxxxxxxได้ กําหนดให้ผู้เช่ารับรู้สินทรัพย์และหนี้สินที่เกิดขึ้นจากสัญญาเช่าดําเนินงาน ซึ่งส่งผลให้สัญญาเช่าจํานวนมาก ไม่ถูกรับรู้เป็นสินทรัพย์และหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน ทั้งxxxxxxxxxxxใช้สินทรัพย์และภาระxxxxxxxxx เกิดขึ้นจากสัญญาเช่าเข้านิยามของสินทรัพย์และหนี้สิน รวมทั้งส่งผลให้อัตราส่วนทางการเงินที่สําคัญ ถูกบิดเบือน
ด้วยเหตุนี้คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (the International Accounting Standards Board : IASB) และคณะกรรมการกําหนดมาตรฐานการรายงานทางการเงินของสหรัฐอเมริกา (the Financial Accounting Standards Board : FASB) ได้ริเริ่มโครงการร่วมกันเพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติ ทางการบัญชีเกี่ยวกับสัญญาเช่าใหม่ ซึ่งกําหนดให้ผู้เช่ารับรู้สินทรัพย์และหนี้สินสําหรับxxxxxและภาระxxxxxx xxxเกิดขึ้นจากสัญญาเช่า คณะกรรมการทั้งสองคณะตัดสินใจว่าผู้เช่าต้องรับรู้สินทรัพย์และหนี้สินสําหรับ สัญญาเช่าทุกรายการ (ด้วยข้อยกเว้นที่จํากัด) และคณะกรรมการทั้งสองคณะได้ให้คํานิยามสัญญาเช่าใน แนวทางเดียวกัน คณะกรรมการมีข้อสรุปที่คล้ายxxxxxxxxxกับ การวัดxxxxxxของหนี้สินจากสัญญาเช่า และ วิธีการบันทึกบัญชีสัญญาxxxxxxxเคยจัดประเภทเป็นสัญญาเช่าการเงิน นอกจากนี้คณะกรรมการทั้งสองคณะยัง ได้xxxxxxxxxxxจะไม่เปลี่ยนแปลงการบัญชีสําหรับผู้ให้เช่าเกือบทั้งหมด
อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการมีข้อสรุปที่แตกต่างxxxxxxxxxกับสัญญาเช่าก่อนหน้า xxxxxxจัดประเภท เป็นสัญญาเช่าดําเนินงาน ในส่วนการรับรู้ค่าใช้จ่ายจากสัญญาเช่าและการรายงานกระแสเงินสดที่เกี่ยวข้อง กับสัญญาเช่า โดยคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศตัดสินใจเลือกใช้วิธีการบัญชีเดียว สําหรับผู้เช่า (single lessee accounting model) โดยผู้เช่าบันทึกสัญญาเช่าทุกรายการในแนวทาง เดียวกัน ในขณะที่คณะกรรมการกําหนดมาตรฐานการรายงานทางการเงินของสหรัฐอเมริกาตัดสินใจเลือก วิธีการบัญชีสําหรับผู้เช่า 2 แบบ โดยมีการจัดประเภทสัญญาเช่าในลักษณะเดียวกับข้อกําหนดเดิม ในหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปของสหรัฐอเมริกา (US GAAP) เพื่อจําแนกระหว่างสัญญาเช่าดําเนินงานและ สัญญาเช่าการเงิน และ มีการบันทึกสัญญาxxxxxxxxสองประเภทอย่างแตกต่างกัน ซึ่งมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาxxxx xxxทําให้แผนของคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ ในการพัฒนาการรายงานทางการเงินในเรื่องสัญญาเช่าxxxxxxx (ประกาศสภาวิชาชีพบัญชีที่ 89/2562 ลงxxxxxx 3 xxxxxx 2562)
มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุงใหม่นี้ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อผู้ประกอบวิชาชีพ บัญชี ที่จะต้องศึกษาต่อการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบที่เกิดขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงxxxxxx ด้วยเหตุนี้จึงเป็นที่มา ของการศึกษาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ของ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพื่อนําผลxxxxxxจากการศึกษาไปพิจารณา วางแผนปรับตัวเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับอื่น ๆ ที่จะมีการประกาศใช้ใน xxxxxxxxอย่างมีประสิทธิภาพ
ดังนั้นผู้วิจัยจึงเห็นถึงความสําคัญและมีความสนใจในเรื่อง ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาxxxx xxxต้องการที่จะศึกษาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ในเรื่อง ต่าง ๆ เพื่อทราบระดับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และใช้เป็น แนวทางการปรับตัวเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับอื่น ๆ ต่อไป
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
2. เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
ขอบเขตของการวิจัย
1. ขอบเขตของประชากร
ขอบเขตการศึกษาการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยตั้งใจศึกษาผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล
2. ขอบเขตของกลุ่มตัวอย่าง
ทางผู้วิจัยไม่ทราบจํานวนของxxxxxxxxxxเป็นประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑลที่แน่นอน จึงใช้วิธีการกําหนดกลุ่มตัวอย่างโดยการเปิดตารางหาขนาด กลุ่มตัวอย่างของ Yamane (1973) โดยที่ผู้วิจัยได้กําหนดค่าความคลาดเคลื่อนของ การxxxxxxxxxxxxxxxยอมรับได้ 0.05 จึงทําให้มีระดับ ความxxxxxxxxxที่ 95% และจากการเปิดตาราง พบว่าจํานวนขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่จะต้องทําการศึกษานั้น อยู่ที่ 400 ตัวอย่าง
3. ขอบเขตของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้จะใช้เครื่องมือในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับ ประเด็นสําคัญต่าง ๆ ในด้าน ปัจจัยส่วนบุคคลที่เป็นผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล และ ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า
4. ขอบเขตด้านเนื้อหาและประเด็นในการศึกษา
ตัวแปรxxxxx ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลของxxxxxxxxxxเป็นผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบ่งเป็น เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลา ในการทํางาน และตําแหน่งงาน ตัวแปรตาม ได้แก่ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง
สัญญาเช่า แบ่งเป็น 8 เรื่องคือ
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินxxx
2. การรับรู้รายการสัญญาเช่าของผู้เช่า
3. การวัดxxxxxxรายการสัญญาเช่าของผู้เช่า
4. การนําเสนอรายการสัญญาเช่าของผู้เช่า
5. การจัดประเภทสัญญาเช่าของผให้เช่า
6. การเปิดเผยข้อมูลสัญญาเช่าของผู้เช่า
7. การเปิดเผยข้อมูลสัญญาเช่าของผู้ให้เช่า
8. วันถือปฏิบัติและการเปลี่ยนแปลง
5. ขอบเขตระยะเวลา
ที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า
การดําเนินการศึกษาวิจัยเริ่มตั้งแต่เดือน มีนาคม ถึง เมษายน พ.ศ. 2563
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. เพื่อให้ทราบถึงระดับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
2. เพื่อให้ทราบถึงระดับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจําแนกตามปัจจัย ส่วนบุคคลในด้าน เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาในการทํางาน และตําแหน่งงาน
ทบทวนวรรณกรรม
ศึกษาคนควาแนวคิด ทฤษฎี และขอxxxxxxเกี่ยวของกับบทความทางวิชาการตาง ๆ รวมถึงงานวิจัยที่ เกี่ยวของกับงานวิจัย ดังนี้
ความรู้และความเข้าใจ
xxxxxx xxxxxxxxxxx (2559) ความรู้ความเข้าใจ หมายถึง ความทรงจําในเรื่องราว ข้อเท็จจริง รายละเอียดต่าง ๆ และxxxxxxนําความรู้ที่เก็บรวบรวมไว้มาดัดแปลง อธิบาย หรือแปลความ หรือให้ ความหมายที่แสดงออกมาในรูปของความคิดเห็นและข้อสรุปได้ (xxxxxx xxxxxxxxxxx, 2559)
xxxxx xxxxxx (2559) ความรู้ความเข้าใจ หมายxxx xxxรู้เรื่องราวข้อเท็จจริงกฎเกณฑ์และข้อมูล ต่าง ๆ xxxxxxจากประสบการณ์ทั้งทางตรงทางอ้อม สถานที่ สิ่งของ หรือบุคคลที่เกิดจากประสบxxxxxx ทางตรงทางอ้อม ซึ่งเป็นความจําที่มนุษย์ได้สะสมรายละเอียดของเรื่องราวปรากฏการณ์ไว้ และแสดงออกมา เป็นพฤติกรรมที่เรียกเอาสิ่งที่จําได้ออกมาให้ปรากฏให้xxxxxxxxxวัดได้ และความรู้ความเข้าใจเป็นสิ่งที่ เกี่ยวข้องโดยตรง และรวมxxxxxxนํา ความรู้ความเข้าใจไปใช้ในสถานการณ์จริงได้ตามขั้นตอน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ประสบการณ์ของแต่ละบุคคล
xxxxxxxx ปะทิ (2559) ความรู้และความเข้าใจ เป็นกระบวนการรับรู้เรื่องราวต่าง ๆ อย่างเป็น ระบบ และxxxxxxรวบรวมหรือxxxxxxในประเด็นต่าง ๆได้อย่างละเอียดและxxxxxxลําดับขั้นตอนได้ อย่างชัดเจน
สรุปสาระสําคัญของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อกําหนดหลักการสําหรับการรับรู้ รายการ การวัดxxxxxx การนําเสนอและการเปิดเผยข้อมูลของสัญญาเช่า โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ มั่นใจว่าทั้งทางด้านผู้เช่าและผู้ให้xxxxxxxให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการxxxxxxxxxxxเป็นตัวแทนอัน xxxxxx xxxxของรายการ ข้อมูลนี้ให้พื้นฐานแก่ผู้ใช้งบการเงินในการประเมินผลกระทบของสัญญาxxxxxxxมี ต่อฐานะการเงิน ผลการดําเนินงานทางการเงินและกระแสเงินสดของกิจการ กิจการต้องพิจารณา เงื่อนไขและข้อกําหนดของสัญญาและข้อเท็จจริง และสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดเมื่อถือปฏิบัติ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ กิจการต้องถือปฏิบัติมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับนี้อย่างสม่ําเสมอกับสัญญาทั้งหมดที่มีลักษณะและสถานการณ์ ที่คล้ายคลึงกัน
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินxxxxxx 16 เรื่องสัญญาเช่า
มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า มีวัตถุประสงค์เพื่อกําหนดหลักการ สําหรับการรับรู้รายการ การวัดxxxxxx การนําเสนอและการเปิดเผยข้อมูลของสัญญาxxxxxxxxทางด้านผู้เช่าและ ผู้ให้เช่า เพื่อมั่นใจได้ว่าได้ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการxxxxxxxxxxxเป็นตัวแทนอันxxxxxxxxxxของรายการ ซึ่ง กิจการจะต้องถือปฏิบัติกับสัญญาเช่าทั้งหมดรวมถึงสัญญาเช่าxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ในสัญญาxxxxxxxx ยกเว้น สัญญาเช่าเพื่อการสํารวจหรือการใช้แร่ น้ํามัน ก๊าซxxxxxxxx, สัญญาเช่าสินทรัพย์ชีวภาพ,ข้อตกลงสัมปทาน บริการ,ใบอนุญาตของทรัพย์สินทางxxxxx และxxxxxxxxถือครองโดยผู้เช่าภายใต้ข้อตกลงในการให้ใช้xxxxx ใน การประเมินว่าสัญญาเป็นสัญญาเช่าหรือประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ สัญญานั้นจะต้องเป็นการให้xxxxxใน การควบคุมการใช้xxxxxxxxxxxxระบุ มีxxxxxxxxxxxxxประโยชน์เชิงเศรษฐกิจเกือบทั้งหมดตลอดระยะเวลาการใช้ สินทรัพย์สําหรับช่วงเวลาหนึ่งเพื่อการแลกเปลี่ยนกับสิ่งตอบแทน แต่หากสัญญาเช่าไม่มีการกําหนดอายุของ สัญญาเช่ากิจการจะต้องกําหนดอายุสัญญาเช่าตามระยะเวลาxxxxxxxxxxxxxที่ผู้เช่าจะใช้xxxxx xxxxxxxxxxxx สัญญาเช่าระยะสั้น และสัญญาเช่าซึ่งสินทรัพย์อ้างอิงมีxxxxxxต่ํา มาตรฐานฯ มีข้อยกเว้นไม่ต้องรับรู้รายการ ดังกล่าวเป็นสัญญาxxxxxxx
2. การรับรู้รายการสัญญาเช่าของผู้เช่า
ผู้เช่าต้องรับรู้สนทรัพย์สทธิการใช้และหนี้สินxxxxxxxxxxxx x xxxxxxสัญญาเช่าเริ่มมีผล
3. การวัดxxxxxxรายการสัญญาเช่าของผู้เช่า ในการวัดxxxxxxรายการสัญญาเช่าด้านผู้เช่า xxxxxxแบ่งได้เป็น 2 กรณีคือ 1.วัดxxxxxxเริ่มแรก ผู้เช่าต้องวัดxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้โดยใช้
ราคาทุนและการวัดxxxxxxเริ่มแรกของหนี้สินxxxxxxxxเช่าด้วยxxxxxxปัจจุบันของการจ่ายชําระxxxxxxxx xxxxxxxยังxxxxxxจ่ายชําระ ณ วันนั้น 2.วัดxxxxxxภายหลัง ผู้เช่าต้องวัดxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้โดยใช้วิธีราคา ทุน และวัดxxxxxxภายหลังของหนี้สินxxxxxxxxเช่า โดยxxxxxxxxxxxตามบัญชีเพื่อสะท้อนดอกเบี้ย ,ลดxxxxxx ตามบัญชีเพื่อสะท้อนการชําระการจ่ายชําระxxxxxxxxxxxxxxxจ่ายชําระแล้ว และวัดxxxxxxใหม่ตามxxxxxxตาม บัญชีเพื่อสะท้อนการประเมินใหม่หรือการเปลี่ยนแปลงสัญญาเช่าใด ๆ
4. การนําเสนอรายการสัญญาเช่าของผู้เช่า ผู้เช่าต้องแสดงหรือเปิดเผยxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้และหนี้สินxxxxxxxxเชา่ แยกต่างหากจากสินทรัพย์อื่น
และหนี้สินอื่นในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ตามลําดับ และผู้เช่าต้องแสดงดอกเบี้ยจ่ายจากหนี้สินxxx xxxxxเช่าแยกต่างหากจากค่าเสื่อมราคาสําหรับxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ ในงบกําไรขาดทุนและกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่นและผู้เช่าต้องจัดประเภทรายการการจ่ายชําระเงินสดสําหรับส่วนของเงินต้นของหนี้สินxxx xxxxxเช่าให้จัดประเภทเป็นกิจกรรมจัดหาเงิน, การจ่ายชําระxxxxxxxxเช่าระยะสั้น การจ่ายชําระเงินสด สําหรับสัญญาเช่าซึ่งสินทรัพย์มีxxxxxxต่ํา และการจ่ายชําระค่าxxxxxxxxxxxxxxxxรวมอยู่ในการวัดxxxxxxหนี้สิน xxxxxxxxเช่าให้จัดประเภทเป็นกิจกรรมดําเนินงานในงบกระแสเงินสด
5. การจัดประเภทสัญญาเช่าของผให้เช่า
ผู้ให้เช่าต้องจัดประเภทสัญญาเช่าแต่ละสัญญาเปน
สัญญาเชา่ ดําเนน
งานหรือสัญญาเช่า เงินทุนในการ
จัดประเภทสัญญาเช่า กิจการต้องพิจารณาถึงเนื้อหาของรายการมากกว่ารูปแบบของสัญญา สัญญาเช่าจัด ประเภทเป็นสัญญาเช่าเงินทุน หากสัญญานั้นโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนเกือบทั้งหมดของสินทรัพย์ อ้างอิงที่ผู้เป็นเจ้าของพึงได้รับ และจัดประเภทเป็นสัญญาเช่าดําเนินงานหากสัญญาxxxxxxxxxxxxxโอนความเสี่ยง และผลตอบแทนเกือบทั้งหมดของสินทรัพย์อ้างอิงที่ผู้เป็นเจ้าของพึงได้รับ
6. การเปิดเผยข้อมูลสัญญาเช่าของผู้เช่า ผู้เช่าต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสัญญาเช่าในด้านของผู้เช่าเป็นหนึ่งข้อในหมายเหตุประกอบงบการเงิน
หรือเป็นส่วนแยกต่างหากในงบการเงินผู้เช่าต้องเปิดเผยจํานวนเงินของค่าเสื่อมราคาสําหรับสินทรัพย์xxxxx, ดอกเบี้ยจ่ายจากหนี้สินxxxxxxxxเช่า,ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับสัญญาเช่าระยะสั้น,ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับสัญญาเช่า ซึ่งสินทรัพย์มีxxxxxxต่ํา,ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการจ่ายชําระค่าxxxxxxxxxx,รายได้จากการให้xxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxใช้,กระแสเงินสดจ่ายทั้งหมดของสัญญาเช่า,การxxxxxขึ้นของxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้,ผลกําไรหรือผล xxxxxxxxxเกิดจากรายการขายและเช่ากลับคืน และxxxxxxตามบัญชีของxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ ณ สิ้นรอบ ระยะเวลารายงาน
7. การเปิดเผยข้อมูลสัญญาเช่าของผู้ให้เช่า ผู้ให้เช่าต้องเปิดเผยจํานวนเงินกําไรหรือขาดทุนจากการขาย,รายได้ทางการเงินของเงินลงทุนxxxxx
xxxxxxxxเช่า และรายxxxxxxเกี่ยวข้องกับการจ่ายชําระค่าxxxxxxxxxxxxxxxxรวมอยู่ในการวัดxxxxxxของเงินลงทุน xxxxxxxxxxxxxเช่าสําหรับสัญญาเช่าเงินทุน และผู้ให้เช่าต้องเปิดเผยจํานวนรายได้จากสัญญาเช่าให้เปิดเผย แยกต่างหากจากรายxxx xxxเกี่ยวข้องกับการจ่ายชําระค่าxxxxxxxxxxxxxxxxได้ขึ้นอยู่กับดัชนีหรืออัตราสําหรับ สัญญาเช่าดําเนินงาน
8. วันถือปฏิบัติและการเปลี่ยนแปลง กิจการต้องปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้กับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลา
บัญชีที่เริ่มในหรือหลังxxxxxx 1 xxxxxx 2563 เป็นต้นไป ด้านผู้เช่าต้องถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับนี้สําหรับสัญญาเช่าของกิจการตามวิธีใดวิธีหนึ่งคือ การปรับปรุงย้อนหลังสําหรับแต่ละรอบ ระยะเวลารายงานงวดก่อนหรือปรับปรุงย้อนหลังโดยการรับรู้ผลกระทบสะสมจากการนํามาตรฐานการ
รายงานทางการเงินฉบับนี้มาปฏิบัติใช้ครั้งแรก ณ xxxxxxนํามาปฏิบัติใช้ครั้งแรก ส่วนด้านผู้ให้xxxxxxxต้อง ปรับปรุงใด ๆ สําหรับการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนแปลง
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
xxxxxxxxx xxxxxxxxx (2557) ผลการวิจัยพบว่า ความเข้าใจผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในเขตกรุงเทพ มหานครต่อมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 xxxxxx xxประโยชน์พนักงาน มีผลการวิเคราะห์เพื่อทดสอบ สมมติฐาน ดังนี้ 1.) อายุและระดับการศึกษาไม่xxxxxxxxกับความรู้ความเข้าใจของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ในเขตกรุงเทพมหานคร 2.) ประสบการณ์การทํางาน มีความxxxxxxxxกับความรู้ความเข้าใจของผู้สอบบัญชี รับอนุญาตในเขตกรุงเทพมหานคร
xxxxxx ขันแข็ง (2557) ผลการวิจัยพบว่า ความรู้ความเข้าใจของผู้ประกอบการวิสาหกิจxxxxxxxx และขนาดย่อมในเขตกรุงเทพมหานครที่มีต่อการจัดทําบัญชี โดยรวมอยู่ในระดับปานกลางโดยมีความรู้ความ เข้าใจด้านภาษีอากรมากที่สุด รองลงมาคือด้านการบัญชีการจะทําบัญชีตามพระราชบัญญัติการบัญชีพ.ศ. 2543 และมาตรฐานการรายงานทางการเงินสําหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ ตามลําดับ และเมื่อ เปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทําบัญชีของผู้ประกอบการจําแนกตามลักษณะกิจการ พบว่า ผู้ประกอบวิสาหกิจxxxxxxxxและขนาดย่อมที่ดําเนินกิจการในรูปแบบบริษัทจํากัดและห้างหุ้นส่วนจํากัด มีความรู้ความเข้าใจในระดับปานกลาง ส่วนผู้ประกอบการที่ดําเนินกิจการในรูปแบบห้างหุ้นส่วนสามัญนิติ บุคคลมีความรู้ความเข้าใจในระดับน้อย
xxxxxx xxxxxxxxxxx (2559) ผลการวิจัยพบว่า ความรู้ความเข้าใจของนักบัญชีไทยต่อมาตรฐานการ รายงานการเงินสําหรับธุรกิจxxxxxxxxและขนาดย่อมในประเทศไทย โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมากและจากการ ทดสอบความxxxxxxxxระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ทําบัญชีธุรกิจxxxxxxxxและขนาดย่อมในประเทศไทย กับความรู้ความเข้าใจในมาตรฐานการรายงานทางการเงินสําหรับxxxxxxxxและขนาดย่อมผลการวิจัยพบว่า ไม่พบความxxxxxxxxใดระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ทําบัญชีธุรกิจxxxxxxxxและขนาดย่อมซึ่งประกอบด้วย เพศ ,อายุ ,ระดับการศึกษา ,ประสบการณ์ทํางานบัญชีและตําแหน่งงานในปัจจุบันกับระดับความรู้ความ เข้าใจในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
xxxxxxx xxxxxxx (2559) ผลการวิจัยพบว่า ประเด็นปัญหาการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานรายงานทาง การเงิน TFRS FOR SMEs เรื่องงบการเงินรวมของผู้ทําบัญชีในเขตจังหวัดกรุงเทพมหานครผู้ตอบ แบบสอบถามมีปัญหาเกี่ยวกับการทําความเข้าใจสําหรับการเปลี่ยนแปลงเรื่องที่เปลี่ยนจากเดิม
xxxxx xxxxxxxxxxx,มนทิพย์ ตั้งxxxxxxและคณะ (2561) ผลการวิจัยพบว่า ความรู้ความเข้าใจ ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินสําหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสีย สาธารณะ อยู่ในระดับน้อยที่สุด โดยผู้สอบบัญชีรับอนุญาตมีค่าเฉลี่ยของความรู้ความเข้าใจในมาตรฐานการ รายงานทางการเงินสําหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะโดยรวมมากกว่าผู้ทําบัญชีแต่ไม่แตกต่างกับ ผู้สอบบัญชีภาษีอากร
xxxxxxx xxxxxxxxxxx (2561) ผลการวิจัยพบว่า ความรู้ความเข้าใจในมาตรฐานรายงานทางการเงินไทย ของนิสิตหลักสูตรบัญชีxxxxxx มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ที่มีลักษณะข้อมูลส่วนบุคคลแตกต่างกัน ประกอบด้วย เพศ , ระดับการศึกษา , เกรดเฉลี่ยสะสม ,ประสบการณ์การฝึกงาน , การเข้าฝึกอบรม ด้าน มาตรฐานรายงานทางการเงินไทย และการเรียนเกี่ยวกับรายวิชาที่มีมาตรฐานรายงานทางการเงินไทย (Thai Financial Reporting Standard : TFRS) มีความรู้ความเข้าใจในมาตรฐานรายงานทางการเงินไทย ในแต่ละด้าน ประกอบด้วย ด้านด้านกฎเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติทางการบัญชี ด้านการพัฒนา ด้านข้อมูล ด้านความใส่ใจ แตกต่างกัน
xxxxxxxxx xxxxxxxxx (2561) ผลการวิจัยพบว่า ความรู้ความเข้าใจของผู้ทําบัญชีเกี่ยวกับ มาตรฐานการรายงานทางการเงินสําหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะอยู่ในระดับความเข้าใจมากและ การที่มีมาตรฐานการรายงานทางการเงินสําหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ ขึ้นมาใช้นั้น ผู้ทําบัญชี xxxxxxจัดทํารายงานทางการเงินได้ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินได้ รวมถึงมีความคิดเห็นต่อ มาตรฐานการรายงานทางการเงินในเชิงบวก ตามที่สภาวิชาชีพการบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ xxxxxxxxxx ถึงอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานในการประกาศใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินสําหรับกิจการที่ไม่มีส่วน ได้เสียสาธารณะ
xxxxxxx xxxxx (2562) ผลการวิจัยพบว่า ความรู้ความเข้าใจของผู้ทําบัญชีที่มีต่อมาตรฐานการ รายงานทางการเงินฉบับที่ 15 xxxxxx xxxได้จากสัญญาที่ทํากับลูกค้า ในเขตกรุงเทพมหานครมีความรู้ความ เข้าใจเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ปัจจัยด้านอายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทํางาน ส่งผลต่อความรู้ ความxxxxxxxxxมีต่อมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 xxxxxx xxxได้จากสัญญาที่ทํากับลูกค้า แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ
xxxxxx xxxxx ,xxxxxx xxxxxxxxx และคณะ (2562) ผลการวิจัยพบว่า ความรู้ความเข้าใจของผู้ ประกอบวิชาชีพบัญชีเกี่ยวกับมาตรฐานรายงานทางการเงินสําหรับกิจการxxxxxxxxและขนาดย่อม บทที่ 17 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบความแตกต่างของตัวแปรแต่ละด้านคือด้าน อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทํางาน พบว่า ไม่แตกต่างกัน จึงไม่ส่งผลต่อความรู้ความเข้าใจ
สมมติฐานของการวิจัย
ปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างxxxxxxจะทําให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลต่างกัน
วิธีดําเนินการวิจัย
ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบไม่ทดลอง (Non-Experimental Design) เป็นการวิจัยที่มี การศึกษาตามสภาพที่เป็นไปตามxxxxxxxx โดยไม่มีการจัดกระทําหรือควบคุมตัวแปรใดๆ เป็นการเก็บรวบรวม ข้อมูลภาคสนามแบบวิจัยตัดขวาง (Cross Sectional Studies) คือ เป็นการเก็บข้อมูลในช่วงระยะเวลาใด เวลาหนึ่งเพียงครั้งเดียวโดยใช้เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) และทําการวิเคราะห์ ข้อมูลด้วยวิธีทางสถิติ
ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งสร้างขึ้นโดยมีลักษณะเป็นคําถามปลายปิด
(closed-ended question) และคําถามปลายเปิด (open-ended question) ซึ่งมี 3 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาในการทํางานและตําแหน่งงาน มีจํานวน 5 ข้อ ส่วนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16
เรื่อง สัญญาเช่าของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ประกอบด้วยเรื่อง
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า มีจํานวน 5 ข้อ
2. การรับรู้รายการสัญญาเช่าของผู้เช่า มีจํานวน 1 ข้อ
3. การวัดxxxxxxรายการสัญญาเช่าของผู้เช่า มีจํานวน 4 ข้อ
4. การนําเสนอรายการสัญญาเช่าของผู้เช่า มีจํานวน 5 ข้อ
5. การจัดประเภทสัญญาเช่าของผู้ให้เช่า มีจํานวน 3 ข้อ
6. การเปิดเผยข้อมูลสัญญาเช่าของผู้เช่า มีจํานวน 11 ข้อ
7. การเปิดเผยข้อมูลสัญญาเช่าของผู้ให้เช่า มีจํานวน 4 ข้อ
8. วันถือปฏิบัติและการเปลี่ยนแปลง มีจํานวน 3 ข้อ
ส่วนที่ 3 เป็นข้อคําถามปลายเปิดที่ถามเกี่ยวกับ ความต้องการเรียนรู้หรือพัฒนาความรู้ในเรื่องใด ของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า เพิ่มเติม จํานวน 1 ข้อ
การวิเคราะห์ข้อมูล
1. สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้
1.1 ใช้ค่าร้อยละ (Percentage) และความถี่ (Frequency) ในการวิเคราะห์xxxxxxxxxมี ระดับการวัดเชิงกลุ่ม ได้แก่ ปัจจัยบุคคลที่ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาในการทํางาน และตําแหน่งงาน
1.2 ใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงxxxมาตรฐานกับxxxxxxxxxมีระดับการวัดเชิงปริมาณ ได้แก่ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ของผู้ประกอบ วิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
2. สถิติเชิงxxxxxx (Inferential Statistics) ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้
2.1 เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จําแนกตามเพศ โดยใช้ การวิเคราะห์ด้วยข้อมูลสถิติ t-test
2.2 เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จําแนกตามอายุ ระดับ การศึกษา ระยะเวลาในการทํางานและตําแหน่งงาน โดยใช้การวิเคราะห์ด้วยข้อมูลสถิติความxxxxxxxทาง เดียว (One – way ANOVA) หากพบความแตกต่างจะนาไปสู่การเปรียบเทียบเป็นรายคู่โดยใช้วิธีของ LSD
สรุปผลการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามการวิจัย เรื่อง ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล xxxxxxสรุปผลการวิจัยได้ดังต่อไปนี้
1. ผลการวิเคราะห์ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยภาพรวม ระดับความรู้ความ เข้าใจอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายเรื่อง โดยเรียงตามลําดับได้แก่ การรับรู้รายการสัญญาเช่าของผู้เช่า การวัดxxxxxxรายการสัญญาเช่าของผู้เช่า การนําเสนอรายการสัญญาเช่าของผู้xxxx xxxถือปฏิบัติและการ เปลี่ยนแปลง การจัดประเภทสัญญาเช่าของผู้ให้เช่า การเปิดเผยข้อมูลสัญญาเช่าของผู้เช่า ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า และการเปิดเผยข้อมูลสัญญาเช่าของผู้ให้เช่า
2. ผลการเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จําแนกตามเพศ อายุ ระดับ การศึกษา ระยะเวลาในการทํางานและตําแหน่งงาน xxxxxxสรุปการวิจัยได้ดังนี้
2.1 ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มี เพศ อายุ ระยะเวลาในการทํางาน ตําแหน่งงาน ต่างกัน ทําให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ต่างกัน
2.2. ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มี ระดับการศึกษา ต่างกัน ทําให้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาxxxx xxxต่างกัน
การอภิปรายผล
ผลการวิจัยความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล xxxxxxสรุปตามวัตถุประสงค์ได้ดังนี้
1. ผลการศึกษาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยรวมอยู่ในระดับมาก และ xxxxxxแยกเป็นรายเรื่องได้ดังนี้
1.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่าอยู่ในระดับมาก
1.2 การรับรู้รายการสัญญาเช่าของผู้เช่า อยู่ในระดับมาก
1.3 การวัดxxxxxxรายการสัญญาเช่าของผู้เช่า อยู่ในระดับมาก
1.4 การนําเสนอรายการสัญญาเช่าของผู้เช่า อยู่ในระดับมาก
1.5 การจัดประเภทสัญญาเช่าของผู้ให้เช่า อยู่ในระดับมาก
1.6 การเปิดเผยข้อมูลสัญญาเช่าของผู้เช่า อยู่ในระดับมาก
1.7 การเปิดเผยข้อมูลสัญญาเช่าของผู้ให้เช่า อยู่ในระดับมาก
1.8 วันถือปฏิบัติและการเปลี่ยนแปลง อยู่ในระดับมาก
ผู้วิจัยมีความคิดเห็นว่า ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลส่วนใหญ่ มี ความรู้ความเข้าใจในมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ในเรื่อง การรับรู้รายการ การวัดxxxxxx การนําเสนอและการเปิดเผยข้อมูลของสัญญาxxxxxxxxทางด้านผู้เช่าและผู้ให้เช่า รวมถึงxxxxxxถือ ปฏิบัติซึ่งสอดคล้องกับ xxxxxxxxx xxxxxxxxx (2561) กล่าวว่า ความรู้ความเข้าใจของผู้ตอบแบบสอบถาม ในเรื่องมาตรฐานการบัญชีสําหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ มีระดับความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับมาตรฐาน การเงินสําหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ อยู่ในระดับที่มาก ความรู้ความเข้าใจในเรื่องของงบการเงิน xxxxxxxxxxในมาตรฐาน อยู่ในระดับที่มาก ความรู้ความเข้าใจในการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และแก้ไขข้อผิดพลาดอยู่ในระดับที่มาก สอดคล้องกับ xxxxxxx xxxxx (2562) กล่าวว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจต่อมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 xxxxxx xxxได้จากสัญญาที่ทํากับลูกค้า เฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมาก และสอดคล้องกับ xxxxxx xxxxx , xxxxxx xxxxxxxxx ,วรกร xxxxxxxxx และxxxxxxx xxxxxxxแสง (2562) กล่าวว่า ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ มาตรฐานรายงานทางการเงินสําหรับกิจการxxxxxxxxและขนาดย่อม บทที่ 17 เรื่องที่ดิน อาคาร และ อุปกรณ์ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีมีความรู้ความเข้าใจในมาตรฐานฉบับนี้อยู่ในระดับมาก
2. ผลการศึกษา ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล xxxxxxสรุปได้ดังนี้
2.1 ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีเพศ ต่างกันทําให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า โดยรวมต่างกัน ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐาน ผู้วิจัยมีความคิดเห็นว่าผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่มีเพศต่างกันมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ต่างกัน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ xxxxxxx xxxxxxxxxxx ( 2561) ทําการศึกษาความรู้ความเข้าใจในมาตรฐานรายงานทางการเงินไทยของนิสิตหลักสูตรบัญชีxxxxxx
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พบว่า นิสิตหลักสูตรบัญชีxxxxxxxxxมีเพศแตกต่างกัน มีความรู้ความเข้าใจ ในมาตรฐานรายงานทางการเงินไทย ในด้านกฎเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติทางการบัญชีแตกต่างกัน และ สอดคล้องกับแนวคิดของ xxxxxxx xxxxxxx (2559) ทําการศึกษาประเด็นปัญหาการเปลี่ยนแปลงมาตรฐาน รายงานทางการเงิน TFRS FOR SMEs เรื่องงบการเงินรวมของผู้ทําบัญชีในเขตจังหวัดกรุงเทพมหานคร พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตามเพศมีความคิดเห็นที่แตกต่างกัน เพศชายจะทราบถึงนโยบายบัญชี รวมถึงวิธีปฏิบัติงานเพื่อกําหนดขอบเขตของงบการเงินขององค์กร เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานรายงานทาง การเงิน เรื่องงบการเงินรวมน้อยกว่าเพศหญิง
2.2 ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีอายุ ต่างกันทําให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า โดยรวมต่างกัน ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐาน ผู้วิจัยมีความคิดเห็นว่าผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่มีอายุต่างกันมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ต่างกัน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ xxxxxxx xxxxx (2562) ทําการศึกษาความรู้ความเข้าใจของผู้ทําบัญชีที่มีต่อมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 15 xxxxxx xxxได้จากสัญญาที่ทํากับลูกค้า ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ความรู้ความเข้าใจของผู้ทําบัญชีจําแนก ตามอายุ มีความแตกต่างกันส่งผลต่อความรู้ความxxxxxxxxxมีต่อมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 xxxxxx xxxได้จากสัญญาที่ทํากับลูกค้าแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ และสอดคล้องกับแนวคิดของ xxxxxxx xxxxxxx (2559) ทําการศึกษาประเด็นปัญหาการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานรายงานทางการเงิน TFRS FOR SMEs เรื่องงบการเงินรวม ของผู้ทําบัญชีในเขตจังหวัดกรุงเทพมหานคร พบว่า อายุที่แตกต่างกันส่งผลต่อ ความรู้ความเข้าใจของผู้ทําบัญชีในเขตจังหวัดกรุงเทพมหานคร ในการจัดทํางบการเงินรวมตามมาตรฐาน รายงานทางการเงิน TFRS for SMEs แตกต่างกัน
2.3 ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีระดับ การศึกษา ต่างกันทําให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า โดยรวมไม่ต่างกัน ไม่เป็นไปตามสมมติฐานผู้วิจัยมีความคิดเห็นว่ าผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ต่างกัน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ xxxxxx xxxxx ,xxxxxx xxxxxxxxxและคณะ(2562) ทําการศึกษาความรู้ความเข้าใจของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีเกี่ยวกับมาตรฐาน รายงานทางการเงินสําหรับกิจการxxxxxxxxและขนาดย่อม บทที่ 17 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ พบว่า ประกอบวิชาชีพบัญชีมีระดับการศึกษาที่ต่างกัน มีความรู้ความเข้าใจในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน สําหรับกิจการxxxxxxxxและขนาดย่อม บทที่ 17 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ โดยภาพรวม ไม่แตกต่างกัน และสอดคล้องกับแนวคิดของ xxxxxxxxx xxxxxxxxx (2557) ทําการศึกษา ความเข้าใจผู้สอบบัญชีรับอนุญาตใน เขตกรุงเทพมหานครต่อมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 xxxxxx xxประโยชน์พนักงาน พบว่า ระดับการศึกษาไม่ xxxxxxxxกับความรู้ความเข้าใจของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในเขตกรุงเทพมหานคร
2.4 ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ประกอบวิชาชพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีระยะเวลา ในการทํางานต่างกันทําให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า โดยรวมต่างกัน เป็นไปตามสมมติฐานผู้วิจัยมีความคิดเห็นว่าผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่มีระยะเวลาในการทํางานต่างกันมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ต่างกันซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ xxxxxxxxx xxxxxxxxx (2557) ทําการศึกษาความเข้าใจผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในเขตกรุงเทพมหานครต่อมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 xxxxxx xxประโยชน์พนักงาน พบว่า ประสบการณ์การทํางาน มีความxxxxxxxxกับความรู้ความเข้าใจของผู้สอบบัญชี รับอนุญาตในเขตกรุงเทพมหานคร และสอดคล้องกับแนวคิดของ xxxxxx xxxxx ,xxxxxx xxxxxxxxx และคณะ (2562) ทําการศึกษาความรู้ความเข้าใจของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีเกี่ยวกับมาตรฐานรายงานทางการเงิน สําหรับกิจการxxxxxxxxและขนาดย่อม บทที่ 17 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ พบว่า ตัวแปรด้านประสบการณ์ ทํางานทําให้ความรู้ความเข้าใจในมาตรฐานการรายงานทางการเงินสําหรับกิจการxxxxxxxxและขนาดย่อม บทที่ 17 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์โดยภาพรวม ไม่แตกต่างกัน แต่เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ผู้ประกอบ วิชาชีพบัญชี มีความรู้ความเข้าใจแตกต่างกัน คือ ด้านการรับรู้รายการ
2.5 ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีตําแหน่งงาน ต่างกันทําให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า โดยรวมต่างกัน เป็นไปตามสมมติฐานผู้วิจัยมีความคิดเห็นว่าผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ที่มีตําแหน่งงานในการทํางานต่างกันมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ต่างกัน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ xxxxxxx xxxxxxx (2559) ทําการศึกษาประเด็นปัญหาการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานรายงานทางการเงิน TFRS FOR SMEs เรื่อง งบการเงินรวม ของผู้ทําบัญชีในเขตจังหวัดกรุงเทพมหานคร พบว่า ตําแหน่งที่แตกต่างกันส่งผลต่อความรู้ ความเข้าใจของผู้ทําบัญชีในเขตจังหวัดกรุงเทพมหานคร ในการจัดทํางบการเงินรวมตามมาตรฐานรายงาน ทางการเงิน TFRS for SMEs แตกต่างกัน
ข้อเสนอแนะเพื่อนําไปใช้
จากผลวิจัยครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะในการวิจัยเพื่อให้เป็นประโยชน์และเป็นแนวทางแก่องค์กร ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
1. เพศ อายุ ระยะเวลาในการทํางาน ตําแหน่งงาน ต่างกัน ทําให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ต่างกัน ดังนั้น ควรจัดให้มีหลักสูตรการอบรม กับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปในแนวทางเดียวกัน มีความถูกต้อง ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
2. ความรู้ความเข้าใจเรื่องการเปิดเผยข้อมูลสัญญาเช่าของผู้ให้เช่า มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด เป็นxxxx xxxเกี่ยวข้องกับผู้ทําบัญชีน้อยที่สุด อย่างไรก็ตามควรxxxxxxxxและกระตุ้นให้ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีพัฒนา ตนเองอย่างสม่ําเสมอ
ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป
1. ควรใช้คําถามที่เป็นแนวทางการปฏิบัติมากขึ้น xxxx ตัวอย่างการพิจารณาสัญญาที่เข้าหลักเกณฑ์ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ตัวอย่างการบันทึกบัญชี ตัวอย่างการ วัดxxxxxx เป็นต้น เพื่อให้ทราบระดับความรู้ความxxxxxxxxxมากขึ้น
2. ควรxxxxxขนาดของกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาวิจัยให้กว้างขึ้นนอกเหนือจากผู้ประกอบวิชาชีพบัญช ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพื่อให้ได้ข้อมูลที่หลากหลาย
บรรณานุกรม
xxxxxx xxxxxxxxxxx. (2559). ความรู้ความเข้าใจของนักบัญชีไทยต่อมาตรฐานการรายงานการเงินสําหรับ ธุรกิจxxxxxxxxและขนาดย่อมในประเทศไทย . รายงานวิจัย คณะวิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยสงขลาxxxxxxxx.
xxxxx xxxxxxxxxxx, xxxxxxx xxxxxxxxxx และคณะ. (2561). ความรู้ความเข้าใจของผู้ประกอบวิชาชีพ บัญชีเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินสําหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ . xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx. ปีที่ 9 (ฉบับที่ 1).
xxxxxxxxx xxxxxxxxx. (2561). ความรู้ความเข้าใจของผู้ทําบัญชีเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทาง การเงินสําหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ. การค้นคว้าxxxxx บัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
xxxxxxx xxxxxxxxxxx. (2561). ความรู้ความเข้าใจในมาตรฐานรายงานทางการเงินไทยของนิสิตหลักสูตร บัญชีxxxxxx มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx. ปีที่ 9 (ฉบับที่ 2).
xxxxxx xxxxx, xxxxxx xxxxxxxxx และคณะ. (2562). ความรู้ความเข้าใจของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี เกี่ยวกับมาตรฐานรายงานทางการเงินสําหรับกิจการxxxxxxxxและขนาดย่อม บทที่ 17 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์. ค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2563, จาก xxxx://xxxxx.xxxx.xx.xx/xxxxxxxxxxxxxx/xxxx/X00.xxx.
xxxxxxx xxxxx. (2562). ความรู้ความเข้าใจของผู้ทําบัญชีที่มีต่อมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 15 xxxxxx xxxได้จากสัญญาที่ทํากับลูกค้า ในเขตกรุงเทพมหานคร . การค้นคว้าxxxxx บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
xxxxxxxxxxxxxxx. (2562). ประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 89/2562 เรื่อง มาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า. ค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2563, จาก xxxx://xxx.xxxx.xx.xx/xxxxxx/0000/XxXxXxXx0X.xxx.
xxxxx xxxxxx. (2559). ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการใช้xxxxxประโยชน์ 7 กรณี ของผู้ประกันตนที่มา ใช้บริการสํานักงานประกันสังคมจังหวัดชลบุรี. xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx, มหาวิทยาลัยบูรพา.
xxxxxxx xxxxxxx. (2559). ประเด็นปัญหาการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานรายงานทางการเงิน TFRS FOR SMEs เรื่องงบการเงินรวม ของผู้ทําบัญชีในเขตจังหวัดกรุงเทพมหานคร. xxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx, มหาวิทยาลัยบูรพา.
xxxxxx ขันแข็ง. (2557). ความรู้ความเข้าใจของผู้ประกอบการวิสาหกิจxxxxxxxxและขนาดย่อมในเขต ก รุ ง เท พ ม ห าน คร ที่ มี ต่ อการจัด ทํ าบั ญ ชี . การค้น ค ว้ าxx x xx บั ญ ชี มหาxxx xx x , มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
xxxxxxxxx xxxxxxxxx. (2557). ความเข้าใจผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในเขตกรุงเทพมหานครต่อมาตรฐานการ บัญชี ฉบับที่ 19 xxxxxx xxประโยชน์พนักงาน. การค้นคว้าxxxxx บัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
xxxxxxxx ปะทิ. (2559). ความรู้ ความเข้าใจ และความคิดเห็นของประชาชนในชุมชนต่อการคุ้มครอง คนไร้ที่พึ่ง: กรณีศึกษาประชาชนในตําบลผาสิงห์ อําเภอเมือง จังหวัดน่าน. xxxxxxxxx xxxxx สงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.