N71A660081 การยกระดับมาตรฐานสินคาปูนาตลอดหวงโซอุปทานเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน อําเภอแจหม จังหวัดลําปาง หนา 1 / 9
xxxxxxxxที่ N71A660081
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxนวัตกรรม
สัญญานี้ทําขึ้น ณ สํานักงานการวิจัยแหงชาติ เลขที่ 196 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร จังหวัดกรุงเทพมหานคร เมื่อxxxxxx ....3.0...ม..น..า.ค..ม...2.5..6.6 ระหวางสํานักงานการวิจัยแหงชาติ
โดย นางสาวxxxxรัตน ดีออง ตําแหนง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ ซึ่งตอไปในสัญญานี้จะเรียกวา “ผู ใหทุน” ฝายหนึ่ง กับ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง ซึ่งมีสํานักงานตั้งxxxเลขที่ 119 หมู 9 ตําบลชมพู อําเภอ เมือง จังหวัดลําปาง โดย ผูชวยศาสตราจารยนันทินา ดํารงxxxxxxx ตําแหนง คณบดีคณะเทคโนโลยี การเกษตร ตามหนังสือมอบอํานาจ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง ลงxxxxxx 5 xxxxxx พ.ศ. 2566 แนบทาย สัญญานี้ ซึ่งตอไปในสัญญานี้เรียกวา “ผูรับทุน” อีกฝายหนึ่ง โดยมี ผูชวยศาสตราจารยนันทินา ดํารงxxxxxxx เปนหัวหนาโครงการวิจัย
โดยที่ผูใหทุนมีวัตถุประสงคจะสงเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม เพื่อนําผลการวิจัยและ นวัตกรรมไปใชประโยชนในการแกปญหาที่สําคัญของประเทศหรือนําไปใชในการพัฒนาประเทศ จึงไดจัดสรร เงินอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรม โดยมีหนวยงานภาครัฐ เอกชน หรือบุคคลธรรมดา เปนผูรับทุนอุดหนุนการ วิจัยและนวัตกรรมเพื่อดําเนินการวิจัยและนวัตกรรมใหเปนไปตามวัตถุประสงคแหงสัญญานี้
คูสัญญาทั้งสองฝายจึงไดตกลงกันดังตอไปนี้
ขอ 1. ผูใหทุนตกลงใหทุนและผูรับทุนตกลงรับทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรมเปนจํานวนเงิน 580,000 บาท (หาแสนแปดหมื่นบาทถวน) เพื่อทําการวิจัยและนวัตกรรม เรื่อง การยกระดับมาตรฐาน สินคาปูนาตลอดหวงโซอุปทานเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน อําเภอแจหม จังหวัดลําปาง ตามโครงการ วิจัยและนวัตกรรมของผูรับทุนแนบทายสัญญานี้ในผนวก 1 xxxxxรับอนุมัติจากผูใหทุนแลว ซึ่งตอไปใน สัญญานี้เรียกวา “โครงการ” และมีคณะผูวิจัยตามรายชื่อxxxxxในผนวก 1 รายละเอียดปรากฏตาม หนังสือแจงอนุมัติทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรมแนบทายสัญญานี้ในผนวก 2
ผูรับทุนจะตองทําการวิจัยและนวัตกรรมใหเสร็จสมบูรณภายในเวลา 12 (สิบสอง) เดือน นับตั้งแตxxx xxx .....3..0...ม..น..า..ค..ม....2..5..6..6............ ถึงxxxxxx .....2..9...ม..น..า..ค..ม....2..5..6..7............
ในการสนับสนุนเงินอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการดําเนินโครงการxxxxxxxxนี้ ผูใหทุนทรงไว ซึ่งxxxxxในการปรับลดเงินอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรมที่จัดสรรใหแกผูรับทุนตามความเหมาะสมของวงเงิน
N71A660081 การยกระดับมาตรฐานสินคาปูนาตลอดหวงโซอุปทานเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน อําเภอแจหม จังหวัดลําปาง หนา 1 / 9
งบประมาณที่ผูใหทุนไดรับจากรัฐบาลในแตละป
หากผูรับทุนมีเงินเหลือจากการดําเนินโครงการxxxxxxxx ผูรับทุนจะตองนําเงินxxxxxxxxxxเหลือดัง กลาว มามอบคืนใหแกผูใหทุน ภายใน 30 วัน นับแตการดําเนินโครงการxxxxxxxxxxxxxxxxx
ในกรณีที่ผูใหทุนหรือผูรับทุนเห็นวา โครงการซึ่งไดดําเนินการเสร็จสิ้นโดยครบถวนตามวรรคหนึ่งนั้น อาจดําเนินการพัฒนาอยางใดอยางหนึ่งตอไปเพิ่มเติมจากโครงการเดิม ซึ่งการดําเนินการเพิ่มเติมดังกลาวนี้ จะกอใหเกิดประโยชนสูงสุด หรือเกิดความสมบูรณยิ่งขึ้น ผูใหทุนหรือผูรับทุนมีxxxxxยื่นขอเสนอเพิ่มเติมใหแก คูสัญญาอีกฝายหนึ่งเพื่อดําเนินโครงการเพิ่มเติมใหเปนไปอยางตอเนื่องตามxxxxxxxสองฝายจะไดตกลงกันตอไป
ขอ 2. การเบิกเงินอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรมจากผูใหทุน ผูรับทุนมีxxxxxเบิกเงินอุดหนุนการวิจัย และนวัตกรรมเปนงวด ๆ ตามงบประมาณโครงการxxxxxรับอนุมัติจากผูใหทุน สวนการใชจายเงินใหปฏิบัติตาม ขอกําหนดของผูใหทุนในการขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรมxxxxxxxมีxxxแลว หรือที่จะออกใชบังคับขึ้นใน ภายหนา โดยผูใหทุนจะจายเงินใหแกผูรับทุนเปนงวด ๆ ตามที่ระบุในเอกสารแนบทายสัญญาในผนวก 3
ผูใหทุนจะจายเงินอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรมในแตละงวดดังกลาว โดยวิธีการโอนเงินเขา บัญชีเงินฝาก ซึ่งผูรับทุนเปดบัญชีไวแยกตางหากจากบัญชีอื่น ณ ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) สาขา เซ็นทรัลพลาซา ลําปาง โดยระบุชื่อผูรับทุนเปนผูมีอํานาจในการถอนเงินจากบัญชีดังกลาวเพื่อ ดําเนินxxxxxxวิจัยและนวัตกรรมโครงการxxxxxxxxนี้โดยผูรับทุนจะตองแสดงxxxxxขอรับเงินผาน ธนาคารตามแบบคําขอรับเงินผานธนาคารที่กระทรวงการคลังกําหนด
ในการจายเงินอุดหนุนใหแกผูรับทุนแตละงวด ผูใหทุนจะหักเงินจํานวนรอยละ 5 (หา) ของเงินที่ตอง จายในงวดนั้นเพื่อเปนประกันการปฏิบัติxxxxxxxx ผูรับทุนมีxxxxxจะขอเงินประกันคืนโดยผูรับทุนจะตองนํา หนังสือคํ้าประกันของธนาคารซึ่งออกโดยธนาคารภายในประเทศมาวางไวตอผูใหทุนเพื่อเปนหลักประกันแทน ก็ได ผูใหทุนจะคืนเงินประกันการปฏิบัติxxxxxxxxและ/หรือหนังสือคํ้าประกันของธนาคารใหแกผูรับทุนเมื่อ ผูรับทุนพนจากพันธะหนาxxxxxxxxxxxนี้แลว
ขอ 3. เอกสารแนบทายสัญญาดังตอไปนี้ใหถือเปนสวนหนึ่งของสัญญานี้
3.1 ผนวก 1 ขอเสนอโครงการการวิจัยและนวัตกรรม เรื่อง "การยกระดับมาตรฐานสินคาปูนา ตลอดหวงโซอุปทานเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน อําเภอแจหม จังหวัดลําปาง" จํานวน 43 (สี่สิบสาม) หนา
3.2 ผนวก 2 หนังสือแจงอนุมัติทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรม จํานวน 2 (สอง) หนา
3.3 ผนวก 3 งบประมาณแผนงานxxxxxรับอนุมัติทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรมและการแบง
N71A660081 การยกระดับมาตรฐานสินคาปูนาตลอดหวงโซอุปทานเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน อําเภอแจหม จังหวัดลําปาง หนา 2 / 9
จายงวดเงิน จํานวน 3 (สาม) หนา
3.4 ผนวก 4 แบบรายงานการวิจัยและนวัตกรรม จํานวน 27 (ยี่สิบเจ็ด) หนา
3.5 ผนวก 5 บันทึกขอตกลง เรื่อง การใหความยินยอมเปลี่ยนแปลงอัตราการใชจายเงิน จํานวน 1
(หนึ่ง) หนา
ขอความใดในเอกสารแนบทายสัญญาที่ขัดแยงกับขอความในสัญญานี้ ใหใชขอความในสัญญานี้บังคับและ ในกรณีที่เอกสารแนบทายสัญญาขัดแยงกันเอง หรือมิไดกลาวไว ผูรับทุนจะตองปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของผูใหทุน
ขอ 4. ผูรับทุนจะตองเริ่มดําเนินโครงการทันทีนับแตวันลงนามสัญญานี้ หากผูรับทุนมิไดดําเนิน โครงการภายใน 30 วัน นับจากวันดังกลาวผูใหทุนมีxxxxxบอกเลิกสัญญาได
ขอ 5. ผูรับทุนไดทราบ และเขาใจxxxxxxxและขอกําหนดของผูใหทุนซึ่งมีxxxในขณะที่ทําสัญญานี้โดย ตลอด และจะปฏิบัติตามกฎหมาย xxxxxxx และขอกําหนดซึ่งเกี่ยวของกับการดําเนินการโครงการนี้xxxxxxxมีผลใช บังคับในปจจุบันและที่ซึ่งจะออกใชบังคับตอไปในภายหนาโดยเครงครัด ผูรับทุนจะตองรับผิดชอบแตโดยลําพัง ตอการละเมิดบทบัญญัติแหงกฎหมายหรือxxxxxใด ๆ ในทรัพยสินทางปญญาของบุคคลภายนอกซึ่งผูรับทุนนํามา ใชปฏิบัติงานวิจัยและนวัตกรรมxxxxxxxxนี้
ผูรับทุนจะทําการวิจัยและนวัตกรรมหรือจัดใหมีการวิจัยและนวัตกรรมดวยความxxxxxxxxxxxxxใหสําเร็จ ไดผลสมความมุงหมายของผูใหทุน หากมีความจําเปนตองเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงผูรวมวิจัยหรือรายละเอียด สําคัญอยางใดในแผนงานหรือโครงการวิจัยและนวัตกรรมxxxxxแจงไวในสัญญาตามxxxxxรับความเห็นชอบจากผูให ทุน ผูรับทุนจะรายงานใหผูใหทุนทราบทันที และปฏิบัติตามคําสั่งหรือคําแนะนําของผูใหทุน
ขอ 6. ในระหวางดําเนินโครงการxxxxxxxxนี้ หากมีปญหาใด ๆ อันอาจเปนอุปสรรคในการดําเนิน การตามโครงการใหสําเร็จลุลวงไปเกิดขึ้น ผูรับทุนจะตองแจงเปนหนังสือใหผูใหทุนไดทราบภายใน 30 วัน นับ แตxxxxxxปญหาดังกลาวเกิดขึ้น เพื่อรวมxxxxxแนวทางแกปญหาตอไป
ในกรณีที่ปญหาดังกลาวในวรรคแรกเปนปญหาที่เกี่ยวของกับเนื้อหาวิชาการ (Technical Problem) และไมxxxxxxxxxจะแกไขได ทําใหไมอาจดําเนินโครงการตอไปหรือเกิดอุปสรรคอื่นใดทําใหไมอาจดําเนินโครงการ ตอไปไดโดยมิใชความผิดของผูรับทุน ผูรับทุนจะตองคืนเงินเฉพาะสวนที่เหลือจากการดําเนินโครงการxxxxxรับไปใน แตละงวดนั้น ๆ ใหแกผูใหทุนภายใน 60 วัน นับแตxxxxxxผูใหทุนไดแจงหนังสือใหผูรับทุนทราบ แตหากปญหาหรือ อุปสรรคดังกลาวที่เกิดขึ้นเปนความผิดของผูรับทุนเอง ผูรับทุนจะตองชดใชคืนเงินทุนทั้งหมดxxxxxรับไปใหแกผูให ทุนภายใน 60 วัน นับแตxxxxxxผูใหทุนไดแจงหนังสือใหผูรับทุนทราบ
N71A660081 การยกระดับมาตรฐานสินคาปูนาตลอดหวงโซอุปทานเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน อําเภอแจหม จังหวัดลําปาง หนา 3 / 9
การวินิจฉัยวาปญหาหรืออุปสรรคในการดําเนินโครงการดังกลาวในวรรคสองเกิดจากความผิดของผูรับ ทุนหรือไมนั้น ใหเปนxxxxxของผูใหทุนเปนผูวินิจฉัยชี้ขาด
ผูใหทุนหรือผูxxxxxรับมอบหมายจากผูใหทุนมีxxxxxxxxจะจัดใหมีการตรวจสอบขอเท็จจริงติดตามความกาวหนา และประเมินผลของการดําเนินโครงการxxxxxxxxนี้ และหากพบวามีการดําเนินการใดที่แตกตางไปจากขอตกลงของ สัญญานี้ผูใหทุนทรงไวซึ่งxxxxxxxxจะบอกเลิกสัญญานี้และดําเนินการxxxxxxxxขอ 17 วรรคแรก
ขอ 7. ผูรับทุนจะตองใชเงินทุนซึ่งไดรับจากผูใหทุนxxxxxxxxนี้เพื่อดําเนินการในโครงการใหเปนไป ตามวัตถุประสงคของโครงการในสัญญานี้เทานั้น
ในกรณีที่เกิดปญหาซึ่งตองพิจารณาวาการดําเนินการของผูรับทุนเปนไปตามวัตถุประสงคตามวรรคแรก หรือไม ผูใหทุนจะเปนผูวินิจฉัยชี้ขาด
หากผูรับทุนจะดําเนินการจัดซื้อหรือจัดจางทําครุภัณฑเพื่อเปนอุปกรณการวิจัยและนวัตกรรมในการ ดําเนินการโครงการxxxxxxxx ผูรับทุนจะตองสงใบเสนอราคาการจัดซื้อหรือจัดจางใหผูใหทุนพิจารณาใหความ เห็นชอบกอนทุกครั้งแลวจึงจะดําเนินการจัดซื้อหรือจัดจางได โดยเมื่อไดจัดซื้อหรือจัดจางเสร็จแลว ผูรับทุนจะ ตองระบุขอความไวที่อุปกรณการวิจัยและนวัตกรรมทุกรายการวา “จัดซื้อโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรม ของสํานักงานการวิจัยแหงชาติ พ.ศ. .....” (ระบุปที่จัดซื้อ) พรอมทั้งมีตราของผูใหทุนปรากฏใหเห็นเดนชัดให อุปกรณการวิจัยและนวัตกรรมดังกลาวตกเปนกรรมสิทธิ์ของผูใหทุน ทั้งนี้ รวมถึงกรณีที่ผูรับทุนมีความจําเปน ตองจัดซื้อหรือจัดจางทําครุภัณฑเพิ่มเติมในระหวางการดําเนินการโครงการซึ่งมิไดระบุรายละเอียดไวในขอเสนอ โครงการ ผูรับทุนจะตองจัดสงรายการรายละเอียดราคา พรอมคําชี้แจงความจําเปนในการจัดซื้อหรือจัดจางใหผู ใหทุนพิจารณาอนุมัติกอน จึงจะดําเนินการจัดซื้อหรือจัดจางได
ผูรับทุนจะใชและบําxxxxxxxxอุปกรณการวิจัยและนวัตกรรมซึ่งจัดซื้อจัดจางดังกลาวใหxxxในสภาพดีใช การไดxxxเสมอ และผูรับทุนยินยอมใหผูใหทุนหรือผูxxxxxรับมอบหมายจากผูใหทุนตรวจตราอุปกรณการวิจัย และนวัตกรรมซึ่งเปนกรรมสิทธิ์ของผูใหทุนไดทุกขณะและทุกโอกาส ผูรับทุนจะตองจัดทําบัญชีแสดงรายการ อุปกรณการวิจัยและนวัตกรรมยื่นตอผูใหทุนพรอมกับการสงรายงานการวิจัยและนวัตกรรมฉบับสมบูรณ หาก การวิจัยและนวัตกรรมตามโครงการแลวเสร็จ หรือเมื่อมีการยุติการวิจัยและนวัตกรรม รวมxxxxxxบอกเลิก สัญญา ผูรับทุนจะจัดการกับอุปกรณการวิจัยและนวัตกรรมใหเปนไปตามหลักเกณฑวิธีการที่ผูใหทุนจะ กําหนดขึ้น
ผูรับทุนจะตองจัดการเอาประกันภัยเพื่อความสูญหายหรือเสียหายสําหรับอุปกรณการวิจัยและ
N71A660081 การยกระดับมาตรฐานสินคาปูนาตลอดหวงโซอุปทานเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน อําเภอแจหม จังหวัดลําปาง หนา 4 / 9
นวัตกรรม ซึ่งผูรับทุนจัดซื้อเพื่อใชในการวิจัยและนวัตกรรมตามที่ผูใหทุนกําหนดโดยผูรับทุนเปนผูออก คาใชจายในการประกันภัยและระบุใหผูใหทุนเปนผูรับประโยชน
หากอุปกรณการวิจัยและนวัตกรรมซึ่งใชในการวิจัยและนวัตกรรมเสียหายโดยเหตุที่ผูรับทุนตองรับผิด ผูรับทุนจะจัดการซอมใหxxxในสภาพที่ใชงานไดดวยคาใชจายของผูรับทุน ในกรณีที่ครุภัณฑหรืออุปกรณเสียหาย ดังกลาว แตผูรับทุนxxxxxxxxxจัดการซอมแซมดังกลาว ผูใหทุนมีxxxxxxxxจะดําเนินการใหมีการซอมแซมคาใชจาย ที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการดังกลาวผูใหทุนจะหักจากเงินอุดหนุนซึ่งผูรับทุนมีxxxxxเบิกในงวดตอไป
ขอ 8. ผูรับทุนมีหนาที่สงรายงานการวิจัยและนวัตกรรมแกผูใหทุนตามรายการดังตอไปนี้
8.1 รายงานการวิจัยและนวัตกรรมเบื้องตน (Inception Report) (ภาษาไทย) ภายใน 15 วัน นับ แตวันลงนามในสัญญานี้ และนําเขาขอมูลในระบบ NRIIS
8.2 รายงานความกาวหนาการวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 1 และ (ราง) คูมือองคความรูหรือ เทคโนโลยีเพื่อการใชประโยชนจริง จํานวน 8 ชุด ให วช. พรอมทั้งกรอกขอมูลรายงานความกาวหนาการวิจัย และนวัตกรรม ครั้งที่ 1 และคูมือองคความรูฯ ในรูปแบบไฟล Microsoft Word และ PDF/Adobe Acrobat และนําเขาขอมูลในระบบ NRIIS ใหแลวเสร็จภายใน 4 เดือน นับจากวันลงนามในสัญญารับทุนฯ
8.3 รายงานความกาวหนาการวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 2 และ (ราง) คูมือองคความรูหรือ เทคโนโลยีเพื่อการใชประโยชนจริง จํานวน 8 ชุด ให วช. พรอมทั้งกรอกขอมูลรายงานความกาวหนาการวิจัย และนวัตกรรม ครั้งที่ 2 และคูมือองคความรูฯ ในรูปแบบไฟล Microsoft Word และ PDF/Adobe Acrobat และนําเขาขอมูลในระบบ NRIIS ใหแลวเสร็จภายใน 8 เดือน นับจากวันลงนามในสัญญารับทุนฯ
8.4 (ราง) รายงานการวิจัยและนวัตกรรมฉบับสมบูรณ และ (ราง) คูมือองคความรูหรือเทคโนโลยี เพื่อการใชประโยชนจริง จํานวน 8 ชุด ให วช. พรอมทั้งกรอกขอมูล (ราง) รายงานการวิจัยและนวัตกรรมฉบับ สมบูรณ และคูมือองคความรูฯ ในรูปแบบไฟล Microsoft Word และ PDF/Adobe Acrobat และนําเขา ขอมูลในระบบ NRIIS ใหแลวเสร็จภายใน 11 เดือน นับจากวันลงนามในสัญญารับทุนฯ
8.5 รายงานการวิจัยและนวัตกรรมฉบับสมบูรณ 5 เลม และคูมือองคความรูหรือเทคโนโลยีเพื่อ การใชประโยชนจริง จํานวน 10 ชุด ให วช. พรอมทั้งกรอกขอมูล รายงานการวิจัยและนวัตกรรมฉบับสมบูรณ และคูมือองคความรูฯ ในรูปแบบไฟล Microsoft Word และ PDF/Adobe Acrobat และนําเขาขอมูลในระบบ NRIIS ใหแลวเสร็จภายใน 12 เดือน นับจากวันลงนามในสัญญารับทุนฯ
ผูรับทุนจะใหความรวมมือและอํานวยความสะดวกแกผูใหทุนและผูxxxxxรับมอบหมายจากผูใหทุนในการ
N71A660081 การยกระดับมาตรฐานสินคาปูนาตลอดหวงโซอุปทานเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน อําเภอแจหม จังหวัดลําปาง หนา 5 / 9
ติดตามและประเมินผลการดําเนินโครงการวิจัยและนวัตกรรม ในกรณีที่ผูใหทุนหรือผูไดรับมอบหมายจากผูใหทุน พิจารณาเห็นxxxxxใหผูรับทุนแกไข เปลี่ยนแปลงหรือดําเนินการอื่นใดเพิ่มเติมในสวนที่เกี่ยวกับรายงานการวิจัย และนวัตกรรมฉบับใด ผูรับทุนจะตองดําเนินการตามที่ผูใหทุนกําหนดทั้งสิ้น โดยผูรับทุนจะตองดําเนินการดังกลาว ใหแลวเสร็จกอนการอนุมัติเงินอุดหนุนงวดนั้น ๆ
ขอ 9. ในกรณีที่มีเหตุสุดวิสัย หรือเหตุใด ๆ อันเนื่องมาจากความผิดหรือความบกพรองของผูใหทุน หรือเหตุจากพฤติการณอันใดอันหนึ่งxxxxxสัญญาไมตองรับผิดตามกฎหมายทําใหผูรับทุนไมxxxxxxทําการวิจัย และนวัตกรรมใหแลวเสร็จตามกําหนดเวลาแหงสัญญานี้ได ผูใหทุนมีxxxxxสั่งระงับโครงการชั่วคราว และผูรับทุน มีxxxxxxxรับการขยายเวลาการทําวิจัยออกไปโดยใหxxxในดุลยพินิจของผูใหทุนที่จะพิจารณาตามที่เห็นxxxxx
ขอ 10. ผูใหทุนมีxxxxxนําผลการวิจัยและนวัตกรรมซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากดําเนินโครงการxxxxxxxxนี้ ไมวาที่สําเร็จแลวบางสวนหรือสมบูรณทั้งหมดแลวไปเผยแพรในเอกสารหรือสิ่งพิมพหรือโดยสื่อใด ๆ หรือนําไปใช ในการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาทางวิชาการตอไป หรือใชประโยชนใด ๆ ในทางราชการได
ขอ 11. ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ตลอดจนxxxxxในทรัพยสินทางปญญาและxxxxxอื่นใดในผลงานวิจัย และนวัตกรรมที่เกิดขึ้นจากสัญญาใหทุน ใหตกเปนของผูรับทุน เมื่อผูรับทุนไดเปดเผยผลงานวิจัยและนวัตกรรม และแจงความประสงคจะเปนเจาของผลงานวิจัยและนวัตกรรม พรอมทั้งเสนอแผนและกลไกการใชประโยชนผล งานวิจัยและนวัตกรรมเปนหนังสือตอผูใหทุน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไข และระยะเวลาที่กําหนดตาม กฎหมายวาดวยการสงเสริมการใชประโยชนผลงานวิจัยและนวัตกรรม
ขอ 12. ผูรับทุนมีหนาที่ปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการใชประโยชนผลงานวิจัยและ นวัตกรรม ตลอดจนหลักเกณฑตางๆ ที่กําหนดขึ้นโดยอาศัยอํานาจตามกฎหมายดังกลาว โดยหนาที่ดังกลาวรวม ถึงหนาที่ดังตอไปนี้
(ก) เปดเผยผลงานวิจัยและนวัตกรรมตอผูใหทุน
(ข) นําผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใชประโยชนโดยเร็วตามที่กําหนดไวในกฎหมายวาดวยการสงเสริม การใชประโยชนผลงานวิจัยและนวัตกรรม
(ค) บริหารจัดการและใชประโยชนผลงานวิจัยและนวัตกรรมตามแผนและกลไกการใชประโยชนผล งานวิจัยและนวัตกรรมที่ผูรับทุนเสนอไวตอผูใหทุน
(ง) รายงานการบริหารจัดการและการใชประโยชนผลงานวิจัยและนวัตกรรมตอผูใหทุน
N71A660081 การยกระดับมาตรฐานสินคาปูนาตลอดหวงโซอุปทานเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน อําเภอแจหม จังหวัดลําปาง หนา 6 / 9
(จ) จัดสรรรายไดสวนหนึ่งxxxxxรับจากการใชประโยชนผลงานวิจัยและนวัตกรรมใหแกนักวิจัย
(ฉ) สงมอบขอมูล เอกสารหรือวัตถุอื่นใดที่เกี่ยวของหรือจําเปนตอการปฏิบัติxxxxxxxxใหทุนและ ตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการใชประโยชนผลงานวิจัยและนวัตกรรม ใหแกผูใหทุน
ขอ 13. ในกรณีผลงานวิจัยและนวัตกรรมใดตกเปนของผูใหทุนxxxxxxxxใหทุนหรือตามกฎหมายวา ดวยการสงเสริมการใชประโยชนผลงานวิจัยและนวัตกรรม หากผูใหทุนเห็นxxxxxขอรับความคุมxxxxxxงาน วิจัยและนวัตกรรมนั้นตามกฎหมายทรัพยสินทางปญญาหรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ ผูรับทุนจะตองสงมอบ ขอมูล เอกสารหรือวัตถุอื่นใดที่เกี่ยวของหรือจําเปนตอการขอรับความคุมxxxxxxงานวิจัยและนวัตกรรมนั้นให แกผูใหทุน ตลอดจนใหความรวมมือตามxxxxxในการขอรับความคุมครองของผูใหทุน ซึ่งรวมxxxxxxปกปดผล งานวิจัยและนวัตกรรมไวเปนความลับเพื่อเปนประโยชนในการขอรับความคุมครองดังกลาว เวนแตผูใหทุนจะ อนุญาตใหเปดเผยได ทั้งนี้ ไมวาจะเปนการขอรับความคุมครองตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายตางประเทศ
ขอ 14. ในกรณีที่ผลงานวิจัยและนวัตกรรมตกเปนของผูรับทุน ผูใหทุนหรือผูซึ่งผูใหทุนมอบหมายม xxxxxใชผลงานวิจัยและนวัตกรรมนั้นเพื่อการศึกษา คนควา ทดลอง วิจัยหรือพัฒนา ตามหลักเกณฑที่กําหนด ตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการใชประโยชนผลงานวิจัยและนวัตกรรม และผูรับทุนจะตองใหความรวมมือ ตามxxxxxในการแสดงใหปรากฏตอบุคคลภายนอกวาผูใหทุนหรือผูซึ่งผูใหทุนมอบหมายมีxxxxxใชผลงานวิจัย และนวัตกรรมเพื่อประโยชนดังกลาว ตลอดจนจะตองใหความรวมมือตามxxxxxในการถายทอดองคความรู เกี่ยวกับผลงานวิจัยและนวัตกรรมนั้นแกผูใหทุนหรือผูซึ่งผูใหทุนมอบหมาย ทั้งนี้ เมื่อไดรับการรองขอจากผูให ทุนหรือผูซึ่งผูใหทุนมอบหมาย
ความในขอ 11 มิใหใชบังคับแกสัญญาใหทุนตามมาตรา 10 แหงพระราชบัญญัติสงเสริมการใช
ประโยชนผลงานวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2564
ขอ 15. ในการที่ผูรับทุนจะนําผลการวิจัยและนวัตกรรมที่ไดรับทุนตามสัญญานี้ ไมวาทั้งหมดหรือบางสวน เผยแพรในเอกสารหรือสิ่งพิมพใดหรือสื่อใด ๆ หรือในการสาธิตแกสาธารณชนไมวา ณ ที่ใด ใหถือเปนความรับผิด ชอบของผูรับทุน แตทั้งนี้ผูรับทุนจะตองแจงเปนหนังสือตอผูใหทุนทราบกอนจึงจะเผยแพรหรือสาธิตได กรณี ผูรับ ทุนตีพิมพผลการวิจัยและนวัตกรรมไดแลว ผูรับทุนจะตองลงขอความไวที่หนาปกวา “ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยและ นวัตกรรมจากสํานักงานการวิจัยแหงชาติ” “This project is funded by National Research Council of Thailand (NRCT)” ใหมีตราของผูใหทุนปรากฏอยูบนหนาปกดวย
ขอ 16. ผูรับทุนจะตรวจสอบกํากับดูแลใหผูรวมวิจัยและนวัตกรรมทุกคนปฏิบัติตามระเบียบและขอกําหนด
N71A660081 การยกระดับมาตรฐานสินคาปูนาตลอดหวงโซอุปทานเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน อําเภอแจหม จังหวัดลําปาง หนา 7 / 9
ของผูใหทุนตลอดจนสัญญานี้อยางเครงครัด การเปลี่ยนแปลงบุคคลใด ๆ เกี่ยวกับผูรวมวิจัยและนวัตกรรมผูรับทุน จะตองไดรับความเห็นชอบเปนหนังสือจากผูใหทุนกอน
ขอ 17. ในกรณีที่ผูรับทุนละทิ้งงานวิจัยและนวัตกรรม หรือไมปฏิบัติตามสัญญาขอใดขอหนึ่ง ผูใหทุนจะ มีหนังสือแจงใหผูรับทุนทราบโดยจะกําหนดระยะเวลาพอสมควรเพื่อใหผูรับทุนปฏิบัติใหถูกตองตามสัญญาหาก ผูรับทุนไมปฏิบัติตามระยะเวลาที่กําหนดดังกลาว ผูใหทุนมีสิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันที ในกรณีดังกลาวผูรับทุนจะ ตองชดใชคืนเงินทุนทั้งหมด หรือบางสวนตามที่ผูใหทุนเห็นสมควร รวมทั้งดอกผลที่เกิดจากเงินทุนนั้น ตลอดจน อุปกรณการวิจัยและนวัตกรรมทั้งหมดแกผูใหทุนภายใน 60 วัน นับแตวันที่ผูใหทุนไดแจงหนังสือใหผูรับทุนทราบ ทั้งนี้ในกรณีเกิดความเสียหายอยางใดอยางหนึ่งแกผูใหทุน ผูใหทุนมีสิทธิที่จะเรียกคาเสียหายอยางใดอยางหนึ่งจาก ผูรับทุนอีกดวย
ในกรณีผูรับทุนไมสามารถทําการวิจัยและนวัตกรรมตอไปได หรือไมอาจทําใหแลวเสร็จได และ ประสงคจะขอยุติการวิจัยและนวัตกรรมตามโครงการที่ไดรับทุน ผูรับทุนตองยื่นคํารองตอผูใหทุน และถือวา ผูรับทุนผิดสัญญาและตองดําเนินการรวมทั้งรับผิดตามความในวรรคหนึ่งดวย
ในกรณีผูใหทุนพิจารณาเห็นวาการทําการวิจัยและนวัตกรรมของผูรับทุนจะลาชาเกินกวาระยะเวลา ที่กําหนดตามสัญญานี้ หรือจะเนิ่นนานเกินกวาระยะเวลาตามโครงการวิจัยและนวัตกรรมที่รับทุนเปนเหตุให โครงการของผูรับทุนจะไมเปนประโยชนอีกตอไป ผูใหทุนมีสิทธิจะระงับการจายเงินอุดหนุนและบอกเลิก สัญญาตามวิธีการที่ระบุไวในวรรคหนึ่ง ทั้งนี้ผูรับทุนตองดําเนินการและรับผิดตามความในวรรคหนึ่งดวย
ขอ 18. ผูขอรับทุนขอรับรองวาบรรดาเอกสารหรือขอความใด ๆ อันปรากฏในเอกสาร ซึ่งผูรับทุน ไดยื่นเพื่อขอรับทุนหรือถอยคําใด ๆ ซึ่งผูรับทุนไดแจงแกผูใหทุนเพื่อขอรับทุนตามสัญญานี้ รวมทั้งเอกสารในรายงาน การวิจัยและนวัตกรรมของโครงการและหลักฐานดานการเงินที่เสนอตอผูใหทุนเปนความจริงทุกประการและยินยอม ใหตรวจสอบได
ขอ 19. ในกรณีมีขอพิพาทเกิดขึ้นจากสัญญานี้ระหวางคูสัญญาซึ่งเปนหนวยงานของรัฐใหดําเนินการ ตามกฎหมายวาดวยการพิจารณาชี้ขาดการยุติขอพิพาทระหวางหนวยงานของรัฐซึ่งใชบังคับอยูในขณะนั้น
ขอ 20. หากมีคาภาษีอากร คาใชจายอื่นใดก็ตามที่เกิดขึ้นจากการไดรับเงินทุนอุดหนุนวิจัยและนวัตกรรม ตามสัญญานี้ และคาใชจายใด ๆ ก็ตามที่เรียกเก็บโดยหนวยงานที่เกี่ยวของของรัฐบาล ใหเปนความรับผิดชอบของ ผูรับทุนแตเพียงฝายเดียวและไมถือวาเปนคาใชจายที่อยูในขายไดรับการสนับสนุนเงินทุนภายใตสัญญานี้
N71A660081 การยกระดับมาตรฐานสินคาปูนาตลอดหวงโซอุปทานเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน อําเภอแจหม จังหวัดลําปาง หนา 8 / 9
สัญญานี้ทําขึ้นสองฉบับมีขอความตรงกัน คูสัญญาทั้งสองฝายไดอานและเขาใจขอความในสัญญานี ตลอดแลว จึงไดลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตรา (ถามี) ไวเปนสําคัญตอหนาพยานของแตละฝายและตางเก็บ ไวฝายละฉบับ
(ลงชื่อ). ผูใหทุน
(นางสาววิภารัตน ดีออง) ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ สํานักงานการวิจัยแหงชาติ
(ลงชื่อ). ผูรับทุน
(ผูชวยศาสตราจารยนันทินา ดํารงวัฒนกูล) คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง
(ลงชื่อ). พยานผูใหทุน
(นายธีรวัฒน บุญสม) ผูอํานวยการกองสงเสริมและสนับสนุนการวิจัยและ นวัตกรรม
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ
(ลงชื่อ). พยานผูรับทุน
(ผูชวยศาสตราจารยมยุรี ชมภู) อาจารยคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง
N71A660081 การยกระดับมาตรฐานสินคาปูนาตลอดหวงโซอุปทานเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน อําเภอแจหม จังหวัดลําปาง หนา 9 / 9
แบบฟอร์มข้อเสนอโครงการฉบับสมบูรณ์ (Full Proposal) ประเภทกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม
ภายใต้โครงการการจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพอการใช้ประโยชน์ ประจำปี 2566
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1. ชื่อโครงการ
(ภาษาไทย) การยกระดับมาตรฐานสินค้าปูนาตลอดห่วงโซ่อุปทานเพื่อขบ จังหวัดลำปาง
เคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน อำเภอแจ้ห่ม
(ภาษาอังกฤษ Raising the standards of crab products throughout the supply chain to drive the community economy
2. ความสอดคล้องของโครงการ (ทำเครื่องหมาย ✓ ในช่อง ⭘ เลอกเพียง 1 ข้อเท่านั้น)
การใช้ประโยชน์เชิงความมั่นคง
⭘ ด้านระบบการป้องกันประเทศและความมั่นคง รวมถึงระบบความปลอดภัยในสังคม
⭘ ด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
⭘ การอยู่ร่วมกันในสงั คมอย่างสันติเพื่อความมั่นคงทางการเมือง
การใช้ประโยชน์เชิงชุมชน สังคม
⭘ ด้านการพัฒนาผลผลิตทางการเกษตร การแปรรูปอาหาร การตลาด และการลดการใช้เคมีภัณฑ์ทาง การเกษตร และเกษตรปลอดภัย
⭘ การสง่ เสรมวิสาหกิจชุมชนเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น เศรษฐกิจสร้างสรรค์ นวัตกรรมของชุมชนและทองถิ่น
การพัฒนาชุมชนพึ่งตนเองตามแนวทางพระราชดำริ
⭘ การส่งเสริมชุมชนพึ่งตนเองด้วยการพัฒนางานด้านศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และอัตลักษณ์ ประจำถิ่นสู่การพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน
⭘ การส่งเสริมชุมชนพึ่งตนเองตามแนวพระราชดำริ เกษตรทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่การบริหารจัดการพื้นที่
โคก หนอง นา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
⭘ การส่งเสริมชุมชนพึ่งตนเองด้วยการสืบสาน รักษา ต่อยอดการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าชุมชน เพื่อการใช้ ประโยชน์ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้ประโยชน์เชิงนโยบายสาธารณะ
⭘ การพัฒนาและจัดการพลังงานทดแทน
⭘ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ดิน น้ำ อากาศ เพื่อลดมลภาวะ หรือลดการเกิดก๊าซเรอนกระจก
⭘ ด้านการพัฒนาระบบโลจสติกส์และโซ่อุปทาน
⭘ การพัฒนานโยบายสาธารณะด้านสังคมสงู วัย
3. ระยะเวลาโครงการ 12 เดือน
4. โครงการยืนเสนอขอรับทุนจากหน่วยงานอื่น
⭘ ไม่ยื่นเสนอ ⭘ ยื่นเสนอ ระบหน่วยงาน.....................
5. คำสำคัญ (Keywords) (กำหนดไม่เกิน 5 คำ)
(ภาษาไทย) มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อาหารท้องถิ่น ปูนา เศรษฐกิจชุมชน
(ภาษาอังกฤษ) product standard, local food, field crab, community economy
รายละเอียดของคณะผู้วิจัย (ใช้ฐานข้อมูลจากระบบสารสนเทศกลางเพื่อบริหารงานวิจัยของประเทศ)ประกอบด้วย
รายชื่อคณะผู้วิจัย | % เวลาที่ใช้ในการ ทำโครงการ* | สัดส่วน การดำเนิน โครงการวิจัย | |
(1) | ชื่อหัวหน้าโครงการ ผศ.ดร.นันทินา ดำรงวัฒนกูล | 30% | ร้อยละ 50 |
สังกัด สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ ลำปาง | |||
ความเชี่ยวชาญ การบริหารโครงการวิจัยที่ เกี่ยวข้องกับการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร การแปร รูป และประสานงานเครือข่ายประชาชน เอกชน และหน่วยงานภาครัฐ พัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัย | |||
ที่อยู่ คณะเทคโนโลยีการเกษตร 119 หมู่ 9 ถนนลำปาง – แม่ทะ ตำบลชมพู อำเภอ เมือง จังหวัดลำปาง 52100 หมายเลขโทรศัพท์: 0896362356 | |||
(2) | ชื่อผู้ร่วมโครงการ รศ.ดร.พรชนก ทองลาด | 10% | ร้อยละ 10 |
สังกัด สาขาบัญชี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | |||
ความเชี่ยวชาญ การดำเนินโครงการวิจัยเชิง คุณภาพ | |||
ที่อยู่ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง อ.เมือง จ.ลำปาง 52100 E – mail : iamnok119@gmail.com หมายเลขโทรศัพท์: 097-9598103 | |||
(3) | ชื่อผู้ร่วมโครงการ ดร. ณัฐฌา เหล่ากุลดิลก | 10% | ร้อยละ 15 |
สังกัด สาขานวัตกรรมและธุรกิจอาหาร คณะ เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | |||
ความเชี่ยวชาญ ดำเนินการวิจัยพัฒนาสูตรอาหาร จากผลิตภัณฑ์แปรรปู จากข้าว | |||
ที่อยู่ คณะเทคโนโลยีการเกษตร 119 หมู่ 9 ถนนลำปาง – แม่ทะ ตำบลชมพู อำเภอ เมือง จังหวัดลำปาง 52100 E – mail : nutchahula@gmail.com หมายเลขโทรศัพท์: 081-5951110 | |||
(4) | ชื่อผู้ร่วมโครงการ ดร.มยุรี ชมภู | 10% | ร้อยละ 15 |
สังกัด สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ ลำปาง | |||
ความเชี่ยวชาญ ดำเนินการวิจัยพัฒนาสูตรอาหาร สำรบั อาหารถิ่นจากผลิตภัณฑ์ชุมชน | |||
ที่อยู่ คณะเทคโนโลยีการเกษตร 119 หมู่ 9 ถนนลำปาง – แม่ทะ ตำบลชมพู อำเภอ เมือง จังหวัดลำปาง 52100 หมายเลขโทรศัพท์: 093-138-8282 | |||
(5) | ชื่อผู้ร่วมโครงการ รศ.ดร.ปองปรารถน์ สุนทร เภสัช | 10% | ร้อยละ 10 |
สังกัด นิเทศน์ศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | |||
ความเชี่ยวชาญ การจัดทำสื่อ การสอสารองค์ ความรู้ | |||
ที่อยู่ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง อ.เมือง จ.ลำปาง 52100 E – mail : aj.pongprad@gmail.com หมายเลขโทรศัพท์: 095 449 8561 | |||
รวม | 100 % |
ส่วนที่ 2 ข้อมูลโครงการ
1. บทสรุปข้อเสนอโครงการ ภาษาไทย (ไม่เกิน 3000 คำ)
ผลิตภัณฑ์น้ำปู เป็นอาหารท้องถิ่นที่ขึ้นชื่อของอำเภอแจ้ห่ม และเป็นอาหารที่แสดงถึงวัฒนธรรมอาหาร ท้องถิ่นเชื่อมโยงกับการทำนาซึ่งเป็นอาชีพหลักของเกษตรกรในพื้นที่ ในอดีตการจับปูในท้องนามาแปรรูปเป็นเรื่องที่ ทำได้ง่าย ปลอดภัยต่อการบริโภค แต่ปัจจุบันด้วยกระบวนการเพาะปลูกที่ใช้สารเคมีในการกำจัด วัชพืชและแมลง ส่งผลต่อการลดจำนวนของปูในนา และยังพบการปนเปื้อนจากสารพาราควอตซึ่งส่งผลต่อสุขภาพของผู้บริโภคอีกด้วย ในปี 2564 ได้มีการนำผลิตภัณฑ์น้ำปู ที่เก็บจากธรรมชาติมาแปรรูป พบว่า ตรวจพบสารพาราควอตซึ่งเป็น สารกำจัดวัชพืชในผลิตภัณฑ์น้ำปู 0.24 mg/kg และเมื่อนำปูที่เลี้ยงในบ่อระบบธรรมชาติจากการเริ่มต้นเลี้ยงด้วยพ่อ แม่พันธุ์ปูจากนาธรรมชาติ 1 ฤดูกาลไปผลิตเป็นน้ำปูและนำไปตรวจพาราควอตพบว่า มีพาราควอตในผลิตภัณฑ์น้ำปู
0.17 mg/kg ปริมาณที่ตรวจพบยังคงสูงกว่าค่ามาตรฐาน 34 เท่า ซึ่งตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 419) พ.ศ. 2563 เรื่อง อาหารที่มีสารพิษตกค้าง (ฉบับที่ ๓) กำหนดให้พบพาราควอตในเนื้อสัตว์ นม ไข่ ได้ไม่เกิน 0.005mg/kg จะเห็นได้ว่า หากมีการเลี้ยงปูนาในบ่อเลียนแบบระบบธรรมชาติที่ปราศจากสารกำจัดวัชพืช จะ ส่งผลต่อความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปูนา และส่งผลต่อความปลอดภัยของผู้บริโภค
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ร่วมกับสำนักงานประมงจังหวัดลำปาง ได้ดำเนินการ โครงการการสร้างรายได้เสริมจากการเลี้ยงปูนาและการเพิ่มมูลค่าสินค้าแปรรูปจากปูนา เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยว
วัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น จังหวัดลำปาง ส่งผลต่อการเกิดเครือข่ายผู้สนใจการเลี้ยงปูนา และเกิดกลุ่มผู้ประกอบการ แปรรูปปูนาในพื้นที่ แต่การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงปูนาในครั้งนั้น ยังขาดการดำเนินการทดลองเลี้ยงตามบริบท
พื้นที่ ยังคงอ้างอิงจากทฤษฎีและประสบการณ์ของผู้เลี้ยงปูนาในจังหวัดราชบุรีเป็นหลัก อย่างไรก็ตามในปจจุบันนี้
เกษตรกรได้ทดลองเลี้ยงปูนาตามบริบทพื้นที่ของตนเอง และได้ศึกษา สังเกตวิธีการเลี้ยงที่ให้อัตราการรอดสูงใน 2 ฤดูกาล จนได้เกษตรกรต้นแบบในพื้นที่อำเภอแจ้ห่มในรูปแบบการเลี้ยง 2 ระบบ ได้แก่ การเลี้ยงในบ่อซีเมนต์ และ การเลี้ยงในแปลงนาอินทรีย์ตามธรรมชาติ ดังนั้นการจัดการความรู้วิธีการเลี้ยงปูนาของกลุ่มเกษตรกรในอำเภอ แจ้ห่ม จะเป็นการตกผลึกความรู้ที่เกษตรกรได้ทดลองเลี้ยงมาแล้วอย่างน้อย 2 ฤดูกาล นอกจากการแปรรูปปูนา เป็นผลิตภัณฑ์น้ำปูแล้ว ยังสามารถแปรรูปปนาได้อีกหลากหลายผลตภัณฑ์ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ปูกรอบสามรส ผลิตภัณฑ์ปู ดองน้ำปลาหวาน ผลิตภัณฑ์อ่องมันปูสมุนไพร (อ่องมันปูทรงเครื่อง) ผลิตภัณฑ์น้ำพริกปูเปรี้ยวหวาน ผลิตภัณฑ์ ปู กรอบซอสกะเพรา ผลิตภัณฑ์ขนมจีนน้ำยาปู ผลิตภัณฑ์ส้มตำสมุนไพรปูนาทอดกรอบ เป็นต้น เกษตรกรสามารถ สร้างรายได้ได้มากขึ้นจากการเพาะเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ปูนา โดยได้ราคาคู่ละ 50 บาท ขายปูนาได้กิโลกรัมละ 80 บาท และสามารถสร้างรายได้จากองค์ความรู้การแปรรูปที่ได้รับการอบรม หากผลิตภัณฑ์แปรรูปต่างๆ ได้รับการยกระดับ การผลิตให้เข้าสู่มาตรฐานการผลิต GMP ผู้บริโภคมั่นใจได้ว่าปลอดภัย และมีนวัตกรรมการแปรรูปสินค้าปูนาใหม่ๆ เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์ เป็นสินค้าของฝากจากชุมชน ก็ยิ่งส่งผลให้ชุมชนสามารถสร้างรายได้มาก ยิ่งขึ้น นอกจากนี้การใช้ Hurdle Technology เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์แปรรูปปูนาและยกระดับ มาตรฐานการผลิต GMP รวมถึงภาพลักษณ์ ภาพจดจำสินค้าแปรรูป การประชาสัมพันธ์วัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น และอัตลักษณ์อาหารแปรรูปปูนาให้เป็นที่รู้จักแก่นักท่องเที่ยวยังสามารถสรางโอกาสทางการตลาดให้กับสินค้าปูนาใน ช่องทางการจัดจำหน่ายอื่นๆได้อีกด้วย
2. บทสรุปข้อเสนอโครงการ ภาษาอังกฤษ
Crab paste is a famous local food of Chae Hom District that represents the local food culture related with farming, which is the main occupation of farmers in the area. In the past, it was easy to catch crabs in the field for processing which safe food for consumption, but nowadays, with the cultivation process that uses chemicals to kill weeds and insects, resulting in a reduction in the number of crabs in the field and also found contamination from paraquat, which affects the health of consumers as well.
The Faculty of Agricultural Technology, Lampang Rajabhat University, in collaboration with the Lampang Provincial Fisheries Office, has implemented a project to generate additional income from rice field crabs farming and increase the value of processed product from rice field crabs to support tourism and local food culture Lampang This resulted in the emergence of a network of people interested in rice field crabs farming, and a group of rice field crabs processing operators was formed in the area. There is still a lack of conducting experiments based on local context, still based primarily on the theory and experience of rice field crabs breeders in Ratchaburi province. However, nowadays, farmers have experimented with raising rice field crabs according to their own local context. Observe the method of raising that gives a high survival rate in 2 seasons, and has acquired a model farmer in Chae Hom district in two farming systems: cement pond farming and natural organic farming. Thus, knowledge management, how to feed rice field crabs of a group of farmers in the district. It crystallizes the knowledge that farmers have been experimenting with for at least 2 seasons. In addition to processing rice field crabs into crab paste products, a variety of rice field
crabs products can also be processed, including three flavors of crispy crab products, pickled crab products with sweet fish sauce, herbal mixed with fat crab products (ongman poo), sweet and sour crab paste products, crispy crab products with basil sauce, Chinese pastry products with crab potions, Som tam products, herbs, fried rice field crabs, crisps, etc. Farmers can earn more from the cultivation of rice field crabs breeders at a price of 50 baht per pair, sell rice field crabs for 80 baht per kilogram, and can earn money from the knowledge of processed trained. If processed products are elevated to GMP production standards, consumers can be assured that they are safe, and new rice field crabs processing innovations to extend the shelf life of products as souvenirs from the community will result in the community generating even more income.
3. ความสำคัญและที่มา
อำเภอแจ้ห่มเป็นหนึ่งใน 13 อำเภอของจังหวัดลำปางที่มีเอกลักษณ์วัฒนธรรมอาหารท้องถิ่นที่ชัดเจน มีการ สืบทอดการผลิต “น้ำปู” เป็นผลิตภัณฑ์อาหารที่ขึ้นชื่อของท้องถิ่นมาช้านาน มีลักษณะกึ่งแข็งกึ่งเหลว สีดำ มีกลิ่น หอมของปูและใช้สมุนไพรเป็นส่วนผสม นิยมบริโภคในแถบภาคเหนือของประเทศไทยใช้เป็นเครื่องปรุงรสในอาหาร บางอย่างเช่นเดียวกับกะปิ เป็นอาหารที่ขึ้นชื่อของคนภาคเหนือมาช้านานมีการผลิตในหลายท้องที่ ได้แก่ เชียงราย
เชียงใหม่ ลำพูน พะเยา แพร่ และลำปาง แต่น้ำปูที่มีชื่อเสียงคือน้ำปูของอำเภอแจ้หม จังหวัดลำปาง ซึ่งสะท้อนให้เหน
จากคำขวัญของอำเภอแจ้ห่มที่ว่า “พระยาคำลือคู่บ้าน มะขามหวานคู่เมือง เงาพระธาตุลือเลื่อง เมืองน้ำปูดี” จาก การตรวจสอบคุณค่าทางโภชนาการพบว่าน้ำปูเป็นผลิตภัณฑ์อาหารที่มีปริมาณโปรตีนสูงถึงร้อยละ 30 โดยในน้ำปู
100 กรัม มีกรดอะมิโนที่สำคัญ และมีปริมาณธาตุเหล็กสูงร้อยละ 0.19 ซึ่งเมื่อบริโภคน้ำปู 1 กรัมคิดเป็นปริมาณธาตุ เหล็กที่แนะนำให้บริโภคต่อวันถึงร้อยละ 12.7 จึงกล่าวได้ว่า น้ำปูเป็นผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิ่นที่เป็นแหล่งของธาตุ
เหล็กเหมาะสมต่อการสง่ เสรมเพื่อบริโภค (ชลธิชา และนันทินา, 2558) วัฒนธรรมการบริโภคปูนาหรอการแปรรูปปนา
เป็นผลิตภัณฑ์น้ำปูนั้นสอดคล้องกับวัฒนธรรมการเพาะปลูก เนื่องจากปูนาถูกจัดว่าเป็นศัตรูข้าวสามารถทำลายโดย การกัดกินต้นข้าวในระยะที่เป็นต้นกล้ารวมถึงเจาะรูอาศัยอยู่บริเวณคันนาทำให้คันนาเสียหายดังนั้นเกษตรกรผู้ปลูก ข้าวจึงจับปูนามาบริโภคและแปรรูป ซึ่งปูนาที่ได้รับความนิยมในการนำมาบริโภคหรือแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์น้ำปูคือปู นาพื้นเมืองที่มีขนาดเล็ก มีกระดองและคีมไม่แข็งสามารถนำมาตำหรือบดให้ละเอียดได้ง่าย ในช่วงต้นของฤดูทำนา ประมาณเดือนสิงหาคมจะเป็นช่วงที่ปูนาชุกชุม ชาวบ้านจะไปเก็บปูมาบริโภคและแปรรูป โดยจะเก็บปูทุกขนาดดังนั้น โอกาสในการแพร่ขยายพันธุ์ของปูนาจึงลดลงเรื่อย ๆ นอกจากนี้รูปแบบการทำนาที่มีการใช้เครื่องจักรกลขนาดใหญ่ การใช้สารเคมีเพื่อกำจัดศัตรูพืช เหล่านี้ล้วนทำให้ประชากรปูนาพื้นเมืองลดลง ในอดีตกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำผัก-น้ำป หมู่ 8 บ้านหนองนาว-บ้านเด่น มีกำลังการผลิตน้ำปูจำนวน 300 กระปุกต่อปี กระปุกละ 100 กรัมคิดเป็นน้ำปูที่ใช้
30,000 กรัม หรือ 30 กิโลกรัมต่อปี น้ำปู 1 กิโลกรัม ผลิตจากปูจำนวน 10 กิโลกรัม ดังนั้นกำลังความต้องการปตอป
อยู่ที่ 300 กิโลกรัม ซึ่งในอดีตการหาวัตถุดิบคือปูนาเพื่อนำมาแปรรูปเป็นน้ำปูนั้นสามารถหาเก็บได้จากแปลงนาใน ธรรมชาติ แต่ในระยะหลัง ๆ ปูนาหาได้ยากขึ้นเนื่องจากสาเหตุที่ได้กล่าวไปข้างต้น การแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์น้ำปูหาก สามารถเก็บปูจากแปลงนาและนำมาแปรรูปจำหน่ายจะลดต้นทุนของวัตถุดิบได้เกือบทั้งหมด แต่ปัจจุบันเมื่อประชากร ปูนาลดจำนวนลงทำให้กลุ่มผู้ผลิตน้ำปูต้องซื้อปูนาในราคากิโลกรัมละ 50-80 บาท เมื่อนำมาคำนวณต้นทุนการผลิต แล้วจะได้ค่าตอบแทนต่ำมาก จากสาเหตุที่ปูนาในธรรมชาติลดลงกระทบต่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิ่นจึงมี การศึกษาหาวิธีการเลี้ยงปูนาในบ่อซีเมนต์เลียนแบบสภาพธรรมชาติ ซึ่งพบว่า ปูนาพื้นเมืองของแจ้ห่มสามารถนำมา เลี้ยงได้โดยหากใช้สัดส่วนของปูนาเพศผู้ต่อเพศเมีย 25:100 จะให้จำนวนประชากรลูกปูนาสูงกว่าการใช้สัดส่วน
25:50 (จำเนียร, 2559) และนอกจากนี้ยังพบว่า การนำแม่พันธุ์ที่มีไข่ในท้องมาปล่อยในบ่อเลี้ยงจะทำให้มีประชากร ลูกปูนามากกว่าการอนุบาลลูกปูในบ่ออนุบาลแล้วย้ายลงบ่อเลี้ยง (ทนุชล และจำเนียร, 2561) จากผลการวิจัยแสดง ให้เห็นว่าปูนาสามารถนำมาเลี้ยงโดยเลียนแบบสภาพธรรมชาติและสามารถส่งเสริมเป็นอาชีพให้กับชุมชนได้ แต่ อย่างไรก็ตามเมื่อคำนวณถึงปริมาณความต้องการปูนาเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์น้ำปูแล้ว การ
เลี้ยงในบ่อขนาด 12 ตารางเมตร จะให้ผลผลิตเฉลี่ยเพียง 5 กิโลกรัมเท่านั้น ซี่งหากเทียบกับการผลิตน้ำปูปีละ 30 กิโลกรัม จะต้องใช้ปู 300 กิโลกรัม ดังนั้น จึงต้องใช้จำนวนบ่อประมาณ 60 บ่อ จึงจะผลิตได้เพียงพอกับความต้องการ เมื่อนำผลิตภัณฑ์น้ำปูของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำผัก - น้ำปู ในตำบลแจ้ห่มมาตรวจวัดมาตรฐานจุลินทรีย์ อ้างอิงมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน น้ำปู มผช.674/2547 พบว่า มีปริมาณจุลินทรีย์ทั้งหมดเกินมาตรฐาน ( 2*104 cfu/g ) และเชื้อราเกินมาตรฐาน 1*102 cfu/g (<1*10 2cfu/g) ซึ่งมาตรฐานกำหนดให้มีปริมาณ <1*104 cfu/g และ <1*10 2cfu/g ตามลำดับ (นันทินา และคณะ, 2559) แม้ว่าสมาชิกกลุ่มจะได้รับองค์ความรู้ และ รับทราบ มาตรฐานการผลิตจากคณะผู้วิจัยในโครงการ การสร้างมาตรฐานกระบวนการผลิตอาหารท้องถิ่นในเขตตำบลแจ้ห่ม อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปางแล้ว แต่ยังไม่สามารถดำเนินการในสถานที่ที่มีมาตรฐานได้ ซึ่งส่งผลต่อการควบคุม
คุณภาพสินค้าทั้งด้านความสะอาด และความสม่ำเสมอของมาตรฐานการผลิต
รูปที่ 1 การปนเปื้อนเชื้อราที่เกิดขึ้นในผลิตภัณฑ์น้ำปูที่ขาดการควบคุมคุณภาพระหว่างกระบวนการผลิต ด้วยการตระหนักเห็นถึงความปลอดภัยของอาหารท้องถิ่น และความต้องการวัตถุดิบปูนาจากธรรมชาติ ที่
ต้องการสืบสานวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่นให้คงอยู่ และสร้างจุดเด่น โชว์จุดขาย อาหารท้องถิ่นประจำอำเภอแจ้ห่ม ทางคณะเทคโนโลยีการเกษตรได้เสนอโครงการ การสร้างรายได้เสริมจากการเลี้ยงปูนาและการเพิ่มมูลค่าสนค้าแปร รูปจากปูนา เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยววัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น จังหวัดลำปาง เพื่อขอรับงบประมาณพัฒนา จังหวัดลำปางประจำปี 2563 ซึ่งมีสำนักงานประมงจังหวัดลำปาง เป็นผู้ดำเนินงานในโครงการ เกิดการทำงานแบบ บูรณาการระหว่างหน่วยงานภาครัฐ โดยเฉพาะสำนักงานประมงจังหวัด และคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัย ราชภัฏลำปาง ผลการดำเนินงานจากโครงการนี้ ได้ขยายผลเกษตรกรผู้เลี้ยงปูนาทั้งหมด 13 อำเภอรวม 200 ราย และเครือข่ายเกษตรกรต้นแบบผู้เลี้ยงปูนาในอำเภอแจ้ห่ม 40 ราย แต่องค์ความรู้ที่เผยแพร่กับเกษตรกรในโครงการ เกิดจากการประมวลที่ไม่เป็นระบบ และเป็นข้อมูลจากการสังเกตจากการเลยง ขาดการพิสูจน์ เปรียบเทียบด้วยข้อมูล เชิงสถิติ องค์ความรู้การเลี้ยงปูนานี้ควรได้รับการจัดการความรู้เพื่อให้เป็นชุดคู่มือมาตรฐานการเลยงปนาอย่างมีระบบ ปัจจุบันเกษตรกรเลี้ยงปูนาใน 2 ระบบ ได้แก่ การเลี้ยงในบ่อซีเมนต์ (รูปที่ 2) และการเลี้ยงในแปลงนาตามธรรมชาติ (รูปที่ 3) อย่างไรก็ตามโครงการนี้ได้ให้องค์ความรู้การแปรรูปปูนาเป็นผลิตภัณฑ์อาหารที่ขายได้ในชุมชน เช่น ผลิตภัณฑ์ปูกรอบสามรส ผลิตภัณฑ์ปูดองน้ำปลาหวาน ผลิตภัณฑ์อ่องมันปูสมุนไพร (อ่องมันปูทรงเครื่อง) ผลิตภัณฑ์ น้ำพริกปูเปรี้ยวหวาน ผลิตภัณฑ์ปูกรอบซอสกะเพรา ผลิตภัณฑ์ขนมจีนน้ำยาปู ผลิตภัณฑ์ส้มตำสมุนไพรปูนาทอด กรอบ (รูปที่ 4) เป็นต้น เกษตรกรสามารถสร้างรายได้ได้มากขึ้นจากการเพาะเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ปูนา โดยได้ราคาคู่ละ 50 บาท ขายปูนาได้กิโลกรัมละ 80 บาท และสามารถสร้างรายได้จากองค์ความรู้การแปรรูปที่ได้รับการอบรม หาก
ผลิตภัณฑ์แปรรูปต่างๆ ได้รับการยกระดับการผลิตให้เข้าสู่มาตรฐานการผลต GMP ผู้บริโภคมั่นใจได้ว่าปลอดภัย และ
มีนวัตกรรมการแปรรูปสินค้าปูนาใหม่ๆเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์ เป็นสินค้าของฝากจากชุมชน ก็ยิ่ง ส่งผลให้ชุมชนสามารถสร้างรายได้มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้โครงการดังกล่าวยังมีภาคเอกชนในชุมชน ได้เข้ามาร่วม สนับสนุน ได้แก่ ร้านอาหารแอ่วอิ่ม และร้านอาหารฮักหนา ซึ่งเป็นร้านอาหารรับรองแขกของอำเภอแจ้ห่ม เป็น
โฮมสเตย์แนะนำของอำเภอ (รูปที่ 5) และมีผู้ประกอบการ “ฮักกัญหนา” พร้อมร่วมพัฒนาสถานที่ผลิตสินค้าแปรรปป
นาเข้าสู่มาตรฐาน GMP และสร้างมาตรฐานสินค้าแปรรูปปูนาให้เป็นที่รู้จักแก่นักท่องเที่ยว ทั้งการขายในระบบ ออฟไลน์ และออนไลน์ ดังนั้นการจัดการความรู้วิธีการเลี้ยงปูนาของกลุ่มเกษตรกรในอำเภอแจ้ห่ม จะเป็นการตก ผลึกความรู้ที่เกษตรกรได้ทดลองเลี้ยงมาแล้วอย่างน้อย 2 ฤดู ซึ่งผลการเลี้ยงปูนายังส่งผลต่อการลดลงของพาราควอต (Paraquat) ในผลิตภัณฑ์น้ำปู พาราควอตเป็นสารเคมีกำจัดวัชพืช หรือยาฆ่าหญ้าที่นิยมใช้ โดยมีพิษเฉียบพลัน ทำ ให้ผู้สัมผัสเป็นแผลพุพอง ไม่อยากอาหาร ปวดท้อง กระหายน้ำ หายใจลําบากแบบเฉียบพลัน หายใจสั่น คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ในปี 2564 ได้มีการนำผลิตภัณฑ์น้ำปู ที่เก็บจากธรรมชาติมาแปรรูป พบว่า ตรวจพบพาราควอต ในผลิตภัณฑ์น้ำปู 0.24 mg/kg และเมื่อนำปูที่เลี้ยงในบ่อระบบธรรมชาติจากการเริ่มต้นเลี้ยงด้วยพ่อแม่พันธุ์ปูจากนา ธรรมชาติ 1 ฤดูกาลไปผลิตเป็นน้ำปูและนำไปตรวจพาราควอตพบว่า มีพาราควอตในผลิตภัณฑ์น้ำปู 0.17 mg/kg ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 419) พ.ศ. 2563 เรื่อง อาหารที่มีสารพิษตกค้าง (ฉบับที่ ๓) กำหนดให้พบ พาราควอตในเนื้อสัตว์ นม ไข่ ได้ไม่เกิน 0.005mg/kg จะเห็นได้ว่า หากมีการเลี้ยงปูนาในบ่อเลียนแบบระบบ ธรรมชาติที่ปราศจากสารกำจัดวัชพืช จะส่งผลต่อความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปูนา และส่งผลต่อความ ปลอดภัยของผู้บริโภค นอกจากนี้เทคโนโลยีการแปรรูปเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์แปรรูปปูนาและมาตรฐาน การผลิต GMP ยังสามารถสร้างโอกาสทางการตลาดให้กับสินค้าปูนาในช่องทางการจัดจำหน่ายอื่นๆได้อีกด้วย
รูปที่ 2 รูปแบบการเลี้ยงในบ่อซีเมนต์ของเกษตรกร
รูปที่ 3 ลักษณะการล้อมกระเบองบนคันนาสำหรับเตรียมเลี้ยงปูนาในธรรมชาติ
รูปที่ 4 ผลิตภัณฑ์แปรรป และการตอบรับจากตลาดสินค้าแปรรูป
รูปที่ 5 สถานที่โฮมสเตย์แอ่วอิ่ม และขัวแตะเดินดูปูนา
รูปที่ 6 กิจกรรมในโครงการ การสร้างรายได้เสริมจากการเลี้ยงปูนาและการเพิ่มมูลค่าสินค้าแปรรูปจากปูนา เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยววัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น จังหวัดลำปาง ประกอบด้วย 1.การขยายผลการเลี้ยงปูนาให้กับเกษตรกรที่สนใจ
2. ควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์น้ำปู และการพัฒนาอาหารแปรรูปจากปูนา และการสร้างแบรนด์สินค้า
3. สร้างอัตลักษณ์การท่องเที่ยวเกษตรแนวใหม่บูรณาการวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่นจังหวัดลำปาง
4. วัตถุประสงค์ (ระบุเป็นข้อ) (ใ👉้ระบุวัตถุประสงค์ของโครงการอย่างชัดเจน กระชับ และเรียงตามลำดับความสำคัญ โดยมีความเชื่อมโยงกับความสำคัญและที่มา ควรสื่อใ👉้เ👉็นผลที่จะเกิดขึ้นของโครงการ ไม่ใช่เป็นการระบุ กระบวนการ👉รือกิจกรรม)
1. เพื่อขยายองค์ความรู้การเลี้ยงปูนาที่ปลอดภัยจากสารกำจัดวัชพืชให้เพียงพอต่อความต้องการเพื่อสร้างอัต ลักษณ์วัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น
2. เพื่อยกระดับมาตรฐานการแปรรูปสินค้าปูนาเพิ่มโอกาสทางการตลาดทั้งออฟไลน์และออนไลน์
5. การสะสม/บ่งชี้ องค์ความรู้ เทคโนโลยี หรือนวัตกรรม (ใ👉้แสดงวิธีการในการรวบรวมความรู้และกระบวนการ
จัดการความรู้ในการได้มาซึ่งองค์ความรู้การวจัย พร้อมทั้งอ้างอิงเอกสารและการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง)
จากโครงการ การสร้างรายได้เสริมจากการเลี้ยงปูนาและการเพิ่มมูลค่าสินค้าแปรรูปจากปูนา เพื่อ สนับสนุนการท่องเที่ยววัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น จังหวัดลำปาง จากงบประมาณพัฒนาจังหวัดลำปางประจำปี 2563 ซึ่งมีสำนักงานประมงจังหวัดลำปาง เป็นผู้ดำเนินงานในโครงการ เกิดการทำงานแบบบูรณาการระหว่าง หน่วยงานภาครัฐ โดยเฉพาะสำนักงานประมงจังหวัด และคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ผล การดำเนินงานจากโครงการนี้ ได้ขยายผลเกษตรกรผู้เลี้ยงปูนาจนเกิดเป็นเครือข่ายผู้สนใจเลี้ยงปูนาในพื้นที่อำเภอ แจ้ห่มจำนวน 50 ราย (ตารางที่1) และมีอาชีพการแปรรูปปูนาจำนวน 20 ราย (ตารางที่2) องค์ความรู้ที่เผยแพร่กับ เกษตรกรในโครงการเกิดจากการประสบการณ์การเลี้ยงของวิทยากรจากจังหวัดราชบุรี ดังนั้นข้อมูลที่บรรจุในคู่มือ การเลี้ยงปูนาที่ทางคณะเทคโนโลยีการเกษตรร่วมกับสำนักงานประมงจังหวัดลำปางรวบรวม และอบรมความรู้ให้แก่ เกษตรกรนั้นจึงเป็นข้อมูลเชิงทฤษฎี และยังขาดการทำซ้ำตามบริบทพื้นที่ เพื่อวิเคราะห์จัดการความรู้วิธีการเลี้ยงที่ ทำให้อัตราการรอดของปูนาที่เลี้ยงเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งเกษตรกรได้เรียนรู้ และได้ทดลองปฏิบัติการเลี้ยงในพื้นที่แล้วเป็น ระยะเวลา 1 ปี
จากการวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการน้ำปู พบว่า น้ำปู เป็นอาหารท้องถิ่นที่มีโปรตีนสูงถึงร้อยละ 26 มี ธาตุเหล็กและแคลเซียมสูง การใช้ปริมาณปูนาในการผลิตน้ำปู 1 กิโลกรัม จะใช้ปูนาทั้งหมด 10 กิโลกรัม โดยปกติ จำหน่ายในราคากิโลกรัมละ 1000 บาท ซึ่งมีต้นทุนวัตถุดิบปูนา ประมาณ 500-800 บาท แต่ผู้ประกอบการยัง สามารถนำปูนา มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อื่นๆอีกมากมาย เช่น ผลิตภัณฑ์ปูกรอบสามรส ผลิตภัณฑ์ปูดองน้ำปลา หวาน ผลิตภัณฑ์อ่องมันปูสมุนไพร (อ่องมันปูทรงเครื่อง) ผลิตภัณฑ์น้ำพริกปูเปรี้ยวหวาน ผลิตภัณฑ์ปูกรอบซอส กะเพรา ผลิตภัณฑ์ขนมจีนน้ำยาปู ผลิตภัณฑ์ส้มตำสมุนไพรปูนาทอดกรอบ เป็นต้น ซึ่งความรู้ที่ต้องใช้เพิ่มเติม แก่ผู้ประกอบการเพื่อยกระดับมาตรฐานการผลิตคือ มาตรฐานการผลิตเพื่อลดการปนเปื้อนจุลินทรีย์ และปลอดภัย จากสารกำจัดวัชพืชต่างๆ รวมถึงการใช้วัตถุปรุงแต่งอาหารเพื่อใช้ Hurdle Technology ในการยืดอายุการเก็บรักษา อาหารให้นานยิ่งขึ้น ปัจจุบันผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปนาเหลานี้ สามารถจำหน่ายตามร้านค้าในชุมชน และร้านอาหาร
แนะนำประจำอำเภอ หากได้รับมาตรฐาน อย. ก็จะสามารถจำหน่ายในระบบออนไลน์ ตลาดโมเดินเทรดได้อีกหลาย ช่องทาง
ปัจจุบันในอำเภอแจ้ห่ม มีผู้สนใจเลี้ยงปูนาเป็นอาชีพเสริมทั้งหมด 50 ราย (ตารางที่ 1) ที่มีรายชื่อแจ้งกับ สำนักงานประมงจังหวัดลำปาง และมีการรวมกลุ่มเพื่อแปรรูปสินค้าปูนา จำนวน 20 ราย (ตารางที่ 2) ซึ่งมีต้นแบบ ของเกษตรกรผู้เลี้ยงปูนาจำนวน 3 ราย ได้แก่ นาง ขันแก้ว คงขยัน นางสาว ศศรี หมั่นทุ่ง และ นาย สุระพล จันทร์ศรี ที่สามารถถ่ายทอดความรู้การเลี้ยงปูนาที่เหมาะสมตามบริบทพื้นที่ เพื่อให้เกิด แหล่งเรียนรู้การเลี้ยงปูนา ขยายผลแก่ เกษตรกรในชุมชน โดยองค์ความรู้ดังกล่าวยังขาดการจัดเก็บให้เป็นระบบ และขาดการใช้สื่อการเรียนรู้รูปแบบต่างๆที่ สามารถถ่ายทอดเทคนิค วิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่นเดียวกับการแปรรูปปูนา ยังขาดการใช้ Hurdle Technology ในการยืดอายุการเก็บรักษาอาหาร เพื่อให้มีโอกาสทางการตลาดได้มากขึ้น
รูปที่ 7 คุณค่าโภชนาการของน้ำป
รูปที่ 8 เมนูแนะนำแปรรูปจากปนา
ตารางที่ 1 รายชื่อเครือข่ายผู้เลี้ยงปูนา
ลำดับ | ชื่อ - นามสกุล | ที่อยู่ | หมายเลขโทรศัพท์ | ||||
เลขที่ | หมู่ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | |||
1 | นาง ลัชชา พงษ์นิกร | 77 | 3 | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0899538158 |
2 | นายบรรจง วรรณารักษ์ | 2 | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0931373424 | |
3 | นายมงคล ความรู้ | 4 | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0871923096 | |
4 | นางสาว ขวัญจิต กลิ่นหอม | 50 | 3 | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0932296848 |
5 | นาง พรชนก แข็งแรง | 320 | 9 | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0929681422 |
6 | นางสาว ศศรี หมั่นทุ่ง | 325 | 6 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0883442852 |
7 | นางสาว ทอง คนโต | 310 | 6 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0828938852 |
8 | นาง เสงี่ยม ตากล้า | 330 | 6 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | - |
9 | นางสาว นิพาดา ภิญโญ | 329 | 6 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0981130713 |
10 | นาย สนั่น จักร์คร่อง | 169 | 6 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0890636096 |
11 | นาง ราตรี สายแวว | 247 | 1 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0912982408 |
12 | นาง ขันแก้ว คงขยัน | 95 | 1 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0931390554 |
13 | นาง นงลักษณ์ ฟังอารมณ์ | 193 | 1 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0934389895 |
14 | นาง นงคราญ วิลัย | 290 | 1 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0871837947 |
15 | นาง แก้วมูล กองตัน | 311 | 1 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0969720714 |
16 | นาง หรรษา ลูกเชย | 315 | 6 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0932256313 |
17 | นาง มาลัย มูลคำ | 184 | 1 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0844933706 |
18 | นาย สุระพล จันทร์ศรี | 310 | 5 | แจ้ห่ม | แจ้ห่ม | ลำปาง | 086188771 |
19 | นาย สงัด สะท้าน | 323 | 9 | แจ้ห่ม | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0895529630 |
20 | นาง ปิยธิดา วงศ์วาน | 200 | 10 | แจ้ห่ม | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0861804583 |
21 | นางสาว ดวงจันทร์ ชุ่มจิต | 27 | 6 | แจ้ห่ม | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0895354892 |
22 | นางสาว ปวีณา ปงลังกา | 185 | 9 | แจ้ห่ม | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0987992551 |
23 | นาย บุญเรือน ดีใจ | 187 | 1 | ทุ่งผึ้ง | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0622651431 |
24 | นาย ชัยเนตร นวลแก้ว | 75/2 | 3 | ทุ่งผึ้ง | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0810234471 |
25 | นาย ไชยา งามพันธ์ | 57 | 3 | ทุ่งผึ้ง | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0864036687 |
26 | นาย ทรงศักดิ์ กลิ่นหอม | 22 | 3 | ทุ่งผึ้ง | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0971077519 |
27 | นาง พัชรินทร์ ทรายมูล | 72 | 4 | เมืองมาย | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0927450493 |
28 | นาย เกษร ภูบุญคง | 169 | 4 | เมืองมาย | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0852916641 |
29 | นาย เกสร พันธุ์กลิ่นแก้ว | 143 | 3 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0899235493 |
30 | นายพะยอม วงค์ตะวัน | 296 | 3 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0610341544 |
31 | นาง ศรีเลิศ ตากล้า | 86 | 3 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0844957590 |
32 | นาง ศรีไพร เป็นแผ่น | 146 | 3 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0987970899 |
ลำดับ | ชื่อ - นามสกุล | ที่อยู่ | หมายเลขโทรศัพท์ | ||||
เลขที่ | หมู่ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | |||
33 | นาย สมเกียรติ หมั่นทุ่ง | 2 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0817732888 | |
34 | นาย เพชร มีธรรม | 155 | 3 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0821837852 |
35 | นางสาว จงกล ดัดสันเที๊ยะ | 74 | 3 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0811695154 |
36 | นายอำนวย แต้มดื่ม | 17 | 4 | แม่สุก | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0979483072 |
37 | นายไสว ขยันทำ | ๑๕๓ | ๑๑ | แม่สุก | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0985912537 |
38 | นายแถม ธิคม | 112 | 2 | แม่สุก | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0861836191 |
39 | นางอุไร รักชาติ | 110 | 10 | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0613380795 |
40 | นางรัตนา อุตรสัก | 24 | 10 | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0933035793 |
41 | นายธีระพงษ์ กลิ่นฟุ้ง | 67 | 7 | บ้านสา | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0830036861 |
42 | นายไชยา งามพันธ์ | 3 | ทุ่งผึ้ง | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0864036687 | |
43 | นายทศพล สายแปง | 185 | 3 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0622565735 |
44 | นางสาวอัชฎาพร เคร่งครัด | 87 | 3 | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0898542975 |
45 | นายสุพรรณ เคร่งครัด | 191 | 8 | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | 061270754 |
46 | นางแสงจันทร์ กล้าทำ | 231 | 3 | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0898542975 |
47 | นายประเสริฐ อดเหนียว | 62 | 4 | แม่สุก | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0979483072 |
48 | นายสวัสดิ์ วิงวอน | 7 | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0982749124 | |
49 | นายประกิต ฟ้าแลบ | 3 | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | - | |
50 | นายธวัช จิตใหญ่ | 7 | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | 642849133 |
ตารางที่ 2 รายชื่อกลมแปรรปปูนา
ลำดับ | ชื่อ - นามสกุล | ที่อยู่ | หมายเลขโทรศัพท์ | ||||
เลขที่ | หมู่ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | |||
1 | นาง ลัชชา พงษ์นิกร | 77 | 3 | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0899538158 |
2 | นาง ปพิชญา สมร่าง | 45 | 3 | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0884337759 |
3 | นาง ฐิตินันท์ ตัวงาม | 133 | 3 | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0956850198 |
4 | นางสาว ขวัญจิต กลิ่นหอม | 50 | 3 | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0932296848 |
5 | นางสาว ปิมคำ เชื่อยังกาย | 142 | 3 | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0808483482 |
6 | นางโยษตา ไหวพริบ | 75 | 6 | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0932918763 |
7 | นางแสงจันทร์ กล้าทำ | 231 | 3 | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0898542975 |
8 | นางสาว ศศรี หมั่นทุ่ง | 325 | 6 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0883442852 |
9 | นางสาว ทอง คนโต | 310 | 6 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0828938852 |
10 | นาง เสงี่ยม ตากล้า | 330 | 6 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | - |
11 | นายอภิญญา ภิญโญ | 329 | ๖ | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0981130713 |
12 | นาง ราตรี สายแวว | 247 | 1 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0912982408 |
ลำดับ | ชื่อ - นามสกุล | ที่อยู่ | หมายเลขโทรศัพท์ | ||||
เลขที่ | หมู่ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | |||
13 | นาง ขันแก้ว คงขยัน | 95 | 1 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0931390554 |
14 | นาง นงลักษณ์ ฟังอารมณ์ | 193 | 1 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0934389895 |
15 | นาง นงคราญ วิลัย | 290 | 1 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0871837947 |
16 | นาง แก้วมูล กองตัน | 311 | 1 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0969720714 |
17 | นาง มาลัย มูลคำ | 184 | 1 | ปงดอน | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0844933706 |
18 | นางดวงพร ประมาณ | 312 | ๘ | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0813867129 |
19 | นางคนึง พันธ์อุบล | ๒๔๒ | ๘ | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0654358036 |
20 | นางสาวลัดดา สุมา | 169 | 8 | วิเชตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | 0614385898 |
6. องค์ความรู้ เทคโนโลยี หรือนวัตกรรม จากการจัดการความรู้ที่จะนำไปถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์ให้แก่ กลุ่มเป้าหมาย (โปรดระบุชื่อองค์ความรู้จากผลงานวิจัย เทคโนโลยี/นวัตกรรม ที่ผ่านกระบวนการจัดการความรู้ และ รายละเอียดขององค์ความรู้ใ👉้กระชับและชัดเจน)
การถ่ายทอดองค์ความรู้ใช้วิธีการอบรมให้ความรู้ โดยจัดทำสื่อ infographic animation
- เทคนิคการเลี้ยงปูนารูปแบบนาอินทรีย์ และรูปแบบบ่อเลียนแบบธรรมชาติ
- การผลิตน้ำหมักจากกากเหลือทิ้งจากการแปรรูปน้ำปูเพื่อใช้ในการปลูกข้าวแบบอินทรีย์
แหล่งที่มา : ต้นแบบเกษตรกรผู้เลี้ยงปูนาที่ผ่านการทดลองเลย
งตามบริบทพื้นที่จรง
โดยอ้างอิงข้อมูลจากคู่มือการ
เลี้ยงปูนา จัดทำโดย คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ร่วมกับสำนักงานประมงจงั หวัดลำปาง
การถ่ายทอดองค์ความรู้ใช้วิธีการอบรมเชิงปฏิบัติการ
- การแปรรูปผลิตภัณฑ์ปูนาอย่างมีมาตรฐานการผลิต GMP
- การใช้ Hurdle Technology ในการยืดอายุการเก็บรักษาผลตภัณฑ์แปรรูปปูนา
แหล่งที่มา : ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.
๒๕๒๒ เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครองใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง คำชี้แจงประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 418) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. ๒๕๒๒ เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์เงื่อนไข วิธีการใช้ และอัตราส่วนของวัตถุเจือปนอาหาร (ฉบับที่ 2)
การเผยแพร่บนสื่อโซเซียลกับนักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไปที่สนใจท่องเที่ยวในอำเภอแจ้ห่ม โดยจัดทำสื่อ
infographic แสดงคิวอาร์โค้ดคลิปวีดีโอแหล่งเรียนรู้ปูนา และการแปรรูปอาหารจากปูนา
- แหล่งเรียนรู้การเลี้ยงปูนาในเครือข่ายเกษตรกร
- แหล่งท่องเที่ยวในอำเภอแจ้ห่ม
- Signature Menu ปูนา เชื่อมโยงกับสถานที่ท่องเที่ยวในอำเภอแจ้ห่ม และแหล่งกินปู ดูนา พาฟิน อำเภอแจ้ ห่ม
แหล่งที่มา : ต้นแบบผู้เลี้ยงปูนา ประธานการท่องเที่ยวอำเภอแจ้ห่ม ร้านแอ่วอิ่ม ร้านอาหารฮักหนา ร้านอาหารฮักกัญหนา
7. ขอบเขตการดำเนินงาน (ใ👉้แสดงรายละเอียดขอบเขตการดำเนินงานที่จะจัดการความรู้และนำส่ง องค์ความรู้/ เทคโนโลยี/นวัตกรรมสู่พื้นที่ 👉รือกลุ่มเป้า👉มาย)
7.1 ขอบเขตพื้นที่ อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง
7.2 องค์ความรู้สู่พื้นที่เป้าหมาย คือ
- เทคนิคการเลี้ยงปูนารูปแบบนาอินทรีย์ และรูปแบบบ่อเลียนแบบธรรมชาติ
- การผลิตน้ำหมักจากกากเหลือทิ้งจากการแปรรูปน้ำปูเพื่อใช้ในการปลูกข้าวแบบอินทรีย์
- การแปรรูปผลิตภัณฑ์ปูนาอย่างมีมาตรฐานการผลิต GMP
- การใช้ Hurdle Technology ในการยืดอายุการเก็บรกษาผลิตภัณฑ์แปรรูปปูนา
- Signature Menu ปูนา เชื่อมโยงกับสถานที่ท่องเที่ยวในอำเภอแจ้ห่ม และแหล่งกินปู ดูนา พาฟิน อำเภอแจ้ห่ม
8. กลุ่มเป้าหมาย
8.1 รูปแบบ วิธีการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย (ใ👉้แสดงวิธีการคัดเลือกพื้นที่และกลุ่มเป้า👉มายที่เ👉มาะสม👉รือ มีความพร้อมและความต้องการในการรับองค์ความรู้ ทั้งนี้ ใ👉้เน้นพื้นที่และกลุ่มเป้า👉มายที่มีศักยภาพ ในการขยายผล👉รือต่อยอดองค์ความรู้/เทคโนโลยี/นวัตกรรมได้อย่างยั่งยืนเป็นสำคัญ)
กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้คือกลุ่มเป้าหมายและประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ ได้แก่ กลุ่มเครือข่ายผู้เลี้ยงปูนาที่ได้ลงชื่อไว้ที่สำนักงานประมงจังหวัดลำปาง จำนวน 50 ราย (รายชื่อดังตารางที่ 1)
กลุ่มผู้แปรรูปปูนาที่แจ้งชื่อไว้สำนักงานประมงจังหวัดลำปาง จำนวน 20 ราย (รายชื่อดังตารางที่ 2) ผู้ประกอบการร้านค้า/ร้านอาหาร ในอำเภอแจ้ห่ม ร้านแอ่วอิ่ม ร้านฮักหนา ร้านฮักกัญหนา
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือการสัมภาษณ์ (Interview) การสังเกตการณ์ (Observation) แบบทดสอบทาง ประสาทสัมผัส การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR – Participatory Action Research) การวิเคราะห์ ข้อมูล เน้นตรวจสอบสามเส้าทั้งด้านข้อมูล ด้านผู้วิจัย ด้านทฤษฎี ด้านวิธีรวบรวมข้อมูล
8.2 พื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย และจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ (ใ👉้ระบุพื้นที่ กลุ่มเป้า👉มาย และจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ เพื่อประโยชน์ในการพิจารณางบประมาณ เช่น เป็นบุคลากร/เจ้า👉น้าที่ของ👉น่วยงาน องค์กร 👉รือกลุ่มเป้า👉มาย ระดับผู้นำในพื้นที่ ชุมชน ท้องถิ่นที่สามารถต่อยอด ขยายผล และขับเคลื่อนองค์ความรู้ เทคโนโลยีเพื่อการใช้ ประโยชน์อย่างยั่งยืน)
ลำดับ | หน่วยงาน/องค์กร (สืบค้นหรือ กรอกเองได้) | กลุ่มวิสาหกิจ/ชุมชน/สหกรณ์/ ศูนย์/กลุ่มเกษตรกร/หมู่บ้าน/ อื่นๆ (dropdownให้เลือก) | ชื่อ กลุ่มวิสาหกิจ/ชุมชน/ สหกรณ์/ศูนย์/กลุ่มเกษตรกร/ หมู่บ้าน/อื่นๆ | หมู่ ที่ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ภาค | จำนวน กลุ่มเป้าหมาย ที่รับการถ่ายทอด (คน) | องค์ความรู้ |
1 | เครือข่ายผู้เลี้ยงปูนา | กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้เล้ียงปู นาอำเภอแจ้ห่ม | - | ตำบล แ จ้ ห่ ม | แจ้ห่ม | ลำปาง | เหนื อ | 50 | -เ ท ค นิ ค การเลี้ยงปู นารูปแบบ |
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้เล้ียงปู น้ำปู๋ดีแจ้ห่ม กลุ่มวิสาหกิจชุมขนปูนาพา เพลิน วิเชตนคร | ตำบล ว ิ เ ช ตนคร | นาอินทรีย์ แ ล ะ รูปแบบบ่อ เลียนแบบ ธรรมชาติ -การผลิต น้ำ ห มั ก จ า ก ก า ก เ หล ื อทิ้ ง จ า ก ก า ร แปรรูปน้ำ ปูเพื่อใช้ใน ก า ร ป ลู ก ข ้ า วแบบ อินทรีย์ | ||||||||
2 | กลุ่มผู้แปรรูปปูนา | ร้านแอ่วอิ่ม ร้านฮักหนา ร้านฮักกัญหนา | ตำบล แ จ้ ห่ ม ตำบล ว ิ เ ช ตนคร | แจ้ห่ม | ลำปาง | เหนื อ | 20 | -กา รแปร รู ป ผลิตภัณฑ์ ปูนาอย่างมี มาตรฐาน ก า ร ผ ลิ ต GMP - การ ใช้ Hurdle Technolo gy ในการ ยืดอายุการ เก็บรักษา ผลิตภัณฑ์ แปรรูปปู นา - Signature Menu ปู นา |
(👉มายเ👉ตุ 👉น่วยงาน/องค์กร กับ กลุ่มวิสา👉กิจ/ชุมชน/ส👉กรณ์/ศูนย์/กลุ่มเกษตรกร/👉มู่บ้าน/อื่นๆ ใ👉้กรอกได้ทั้งอย่างใดอย่าง👉นึ่ง👉รือ ทั้ง 2 อย่าง)
9. เอกสาร/งานวิจัยอ้างอิงทางวิชาการเกี่ยวกับโครงการ (รวบรวมใ👉้ครบถ้วนตรงกันกับเอกสารที่ระบุใน👉ัวข้ออื่นๆ ที่มีการอ้างอิง)
จำเนียร มีสำลี. 2559. การเลี้ยงปูนาเพื่อการจำหน่ายและการแปรรูปอาหารท้องถิ่น. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.
ทนุชล อินทนนท์. 2560. ศึกษารูปแบบวิธีการเลี้ยงปูนาที่เหมาะสม : กรณีศึกษาบ้านหนองนาว อ. แจ้ห่ม จ. ลำปาง. ปัญหาพิเศษทางการเกษตร. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.
สุระพล จันทร์ศรี. 2563. การเลี้ยงปูนาแบบธรรมชาติและแบบกระชัง. ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เกษตรกรต้นแบบผู้ เลี้ยงปูนา. ศูนย์การเรียนรู้เกษตรผสมผสานบ้านฮ่องลี่ หมู่ที่ 5 อ. แจ้ห่ม จ. ลำปาง.
สุริยพงศ์ จักรคล่อง. 2563. เอกสารประกอบการอบรมเรื่องวิธีการเลี้ยงและดูแลพ่อแม่พันธุ์ด้วยวิธีเติมอากาศ. โครงการสร้างรายได้เสริมจากการเลี้ยงปูนาและการเพิ่มมูลค่าสินค้าแปรรูปจากปนาเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยว วัฒนธรรมอาหารท้องถิ่นจังหวัดลำปาง สำนักงานประมงจังหวัดลำปาง. 30 กรกฎาคม – 14 สิงหาคม 2563.
สุภาพร ใจการุณ, สังวาล สมบูรณ์ และสามารถ วันชะนะ. 2556. การตกค้างของสารเคมีฆ่าแมลงในผักพื้นบ้านและ อาหารท้องถิ่น. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 6(3): 122-129.
ชลธิชา มณีเชษฐา และ นันทินา ดำรงวัฒนกูล. 2559. การพัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์ต้นแบบขนมจีนเสรมโปรตีน และ ธาตุเหล็กด้วยน้ำปู. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม – ธันวาคม 2559. หน้า 67-76.
10. วิธีการดำเนินงาน
1.เปิดเวทีเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงานกับภาคีเครือข่าย
2. รวบรวม เรียบเรียง จัดระบบข้อมูล จากเกษตรกรต้นแบบอย่างน้อย 4 ราย จาก 2 รูปแบบการเลี้ยงได้แก่ การ
เลี้ยงปูนารป
แบบนาอินทรีย์ และรป
แบบบ่อเลียนแบบธรรมชาติ เพื่อวิเคราะห์วิธีการเลี้ยงที่ใหอัตราการรอดสูง
3. คัดเลอกเกษตรกรผเู้ ลี้ยงปูนาจำนวน 10 รายไปร่วมศึกษาดูงานการเลี้ยงปูนา ณ สุโขทัยฟาร์มปูนาออร์แกนิค จังหวัดสุโขทัย เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรเู้ ทคนิคการเลี้ยงเพื่อส่งเสริมใหอัตราการรอดที่สงู ขึ้น
4. จัดเวทีการสะท้อนกลับข้อมล เพื่อเรียบเรียงถ่ายทอดผ่านสื่อดิจทัล
5. อบรมขยายผลให้กับเครือข่ายผู้เลี้ยงที่สนใจ รวมถึงประชาชนทั่วไปที่สนใจ อย่างน้อย 50 รายโดยจัดเป็น หลักสูตรระยะสั้นจากเกษตรกรต้นแบบในชุมชน
6. กระบวนการพัฒนาและปรับปรงุ สถานที่แปรรูปปูนา ให้มีมาตรฐานตามข้อกำหนด GMP ประกอบด้วย
6.1 พัฒนาสถานที่ผลิตใหมีมาตรฐานตามข้อกำหนด GMP โดยสร้างเครอข่ายความร่วมมือกบสำนักงาน
สาธารณสุขจงั หวัดลำปาง กลุ่มงานความปลอดภัยในอาหาร เพื่อให้คำแนะนำจากแบบที่ได้เสนอพร้อมปรับปรงุ
6.2 ดำเนินการปรับปรงุ สถานที่ผลิตตามข้อเสนอแนะที่ได้รบั
6.3 ยื่นเอกสารเพื่อขอรับการตรวจสถานที่ผลิตตามมาตรฐาน GMP
6.4 พัฒนาและปรับปรงุ ตามข้อเสนอแนะที่ได้รับเพื่อขอการรับรอง
7. พัฒนาสินค้าแปรรูปปูนาด้วย Hurdle Technology เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาสินค้าแปรรูป พร้อมนำเสนอ
จุดเด่นทางโภชนาการตามเทรนดการบริโภคยุคใหม่ และรปลักษณ์สินค้าแบบฉบับสากล (Smart Product)
ถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่กลุ่มผู้ประกอบการแปรรปสินค้าปูนา
8. การสร้างการรบ ประกอบด้วย
รู้และสร้างเครือข่ายการตลาดสินค้าชุมชน และช่องการตลาดทั้งออฟไลน์และออนไลน์
8.1.สร้างการรับรู้เรื่องราวการเลยงปูนา สินค้าปูนาปลอดภัยแห่งเมืองแจห แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน
่มด้วยกระบวนการสร้างพลังการ
8.2. ดำเนินการออกแบบบรรจุภัณฑ์ และทดสอบการตลาดสินค้าแปรรูปปูนาด้วยกระบวนการสร้างพลงั การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน
8.3.กิจกรรมสง่ เสรมให้เกิดการเล่าเรองผ่านสื่อดิจิทัล/ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูล นำเสนอเรื่องราว/ เรื่อง เล่า วัฒนธรรมอาหาร วิถีความเป็นอยู่ อาชีพภูมิปัญญาน้ำปู เชื่อมโยงสู่การท่องเที่ยวในมุมมองใหม่ๆ ผ่าน
infographicเชื่อมโยงกับคลปวิดีโอแหล่งท่องเที่ยว และแหล่งกินปู ดูนา พาฟิน
8.4. จัดทำสื่อการประชาสมพันธ์เป็นเครองมือทางการตลาดดิจิทัล พร้อมประเมินผลด้วยกระบวนการสร้าง พลังการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน
8.5. เปิดตัวผลิตภัณฑ์สินค้าแปรรูปปูนา และผลิตภัณฑ์จากโครงการในงาน กินปู ดูนา พาฟิน วัฒนธรรม
อาหารถิ่นลำปาง ครั้งที่ 2 พร้อม Business Matching สินค้าแปรรปปูนาสู่ช่องการตลาดทั้งออฟไลน์และออนไลน์
9.ประเมินผลกระทบทางสังคม (Social Impact Assessment) ในลักษณะ Outcome Mapping เน้นผลกระทบที่
เกิดขึ้นจากโครงการที่ได้ดำเนินการ เพื่อใช้ในการคำนวณผลตอบแทนทางสงั คมที่ได้รบ (Forecast) คุณค่าทางสังคมที่จะเกิดขึ้น
11. การตรวจสอบทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวข้อง
o ไม่มีการตรวจสอบทรัพย์สินทางปัญญา และ/หรือ สิทธิบัตรที่เกี่ยวข้อง
หรอใช้ในการคาดการณ์
o ตรวจสอบทรัพย์สินทางปัญญาแล้ว ไม่มีทรัพย์สินทางปัญญา และ/หรือ สิทธิบัตรที่เกี่ยวข้อง
o ตรวจสอบทรัพย์สินทางปัญญาแล้ว มีทรัพย์สินทางปัญญา และ/หรือ สิทธิบัตรที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวข้อง
ประเภท ทรัพย์สินทางปัญญา | สถานะ การดำเนินงาน | เลขที่ | วันที่ออก | เรื่อง |
ส่วนที่ 3 แผนงาน
1. แผนการดำเนินงาน (ระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินงาน 12 เดือน โดยระบุขั้นตอนและระยะเวลาของแผนการ ดำเนินงาน (Gantt chart) โดยละเอียด โดยนำขั้นตอนและกิจกรรมกระบวนการในข้อ 3 มากำ👉นดระยะเวลา ดำเนินการใ👉้ครบถ้วนทุกกิจกรรม)
กิจกรรม | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | ผลผลิต ที่จะส่ง มอบ | ร้อยละของ กิจกรรมใน ปีงบประมา ณ |
1.เปิดเวทีเพื่อร่วม วาง แผนการดำเนินงานกับภาคี เครือข่าย | ข้อตกลง ความ ร่วมมือ กระบวนกา ร ดำเนินงาน ในโครงการ | 5 | ||||||||||||
2. รวบรวม เรียบเรียง จ ั ด ร ะ บบข ้ อม ู ล จ า ก เกษตรกรต้นแบบอย่าง น้อย 4 ราย จาก 2 รูปแบบ การเลี้ยงได้แก่ การเลี้ยงปู นารูปแบบนาอินทรีย์ และ ร ู ปแบบบ่อเลียนแบบ ธรรมชาติ เพื่อวิเคราะห์ วิธีการเลี้ยงที่ให้อัตราการ รอดสูง | ข ้ อ มู ล วิธีการเลี้ยง จ า ก เ กษตรกร ต ้ น แ บ บ การเลี้ยงปู นารูปแบบ นาอินทรีย์ แ ล ะ รูปแบบบ่อ เลียนแบบ ธรรมชาติ | 10 | ||||||||||||
3. คัดเลือกเกษตรกรผู้เลี้ยง ปูนาจำนวน 20 รายไปร่วม | ประเมินผล การเรียนรู้ | 10 |
กิจกรรม | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | ผลผลิต ที่จะส่ง มอบ | ร้อยละของ กิจกรรมใน ปีงบประมา ณ |
ศึกษาดูงานการเลี้ยงปูนา ณ สุโขทัยฟาร์มปูนาออร์ แกนิค จังหวัดสุโขทัย เพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เทคนิค การเลี้ยงเพื่อส่งเสริมให้ อัตราการรอดที่สูงขึ้น | ก่อน-หลัง การศึกษาดู งาน | |||||||||||||
4.จัดเวทีการสะท้อนกลับ ข้อมูล เพื่อเรียบเรียง ถ่ายทอดผ่านสื่อดิจทิ ัลโดย จัดเป็นหลักสูตรระยะสั้น จากเกษตรกรต้นแบบใน ชุมชน | ข ้ อ มู ล วิธีการเลี้ยง ที่ให้อัตรา การรอดสูง | 10 | ||||||||||||
5. อบรมขยายผลให้กับ เครือข่ายผู้เลี้ยงที่สนใจ รวมถึงประชาชนทั่วไปที่ สนใจ อย่างน้อย 50 ราย | -สื่อดิจิทัลที่ ใ ช ้ ในการ เ ร ี ย น รู้ วิธีการเลี้ยง ปูนา แบบ ธรรมชาติ แ ล ะ แ บ บ บ่อซีเมนต์ เลียนแบบ ธรรมชาติ -หลักสูตร ร ะ ย ะ สั้ น การเลี้ยงปู น า ร ่ ว ม ดำเนินการ โ ด ย สำนักงาน ป ร ะ ม ง จ ั ง ห วั ด ลำปาง | 10 | ||||||||||||
6.กระบวนการพัฒนาและ ปรับปรุงสถานที่แปรรูปปู นา ให้มีมาตรฐานตาม ข้อกำหนด GMP | ได ้ อาคาร ผลิตสินค้า แปรรูปปู น า ที่ ป ร ั บ ป รุ ง ต า ม มาตรฐาน GMP | 20 | ||||||||||||
7. พัฒนาสินค้าแปรรูปปู น า ด ้ ว ย Hurdle Technology เพื่อยืดอายุ การเก็บรักษาสินค้าแปรรูป พร้อมนำเสนอจุดเด่นทาง โภชนาการตามเทรนด์การ บร ิ โ ภค ย ุ ค ใ หม ่ แ ล ะ รูปลักษณ์สินค้าแบบฉบับ สากล ( Smart Product) | 1. ผลิตภัณฑ์ แปรรูปปู นาที่มีอายุ ก า ร เ ก็ บ ร ั ก ษ า มากกว่า 1 เดือน | 20 |
กิจกรรม | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | ผลผลิต ที่จะส่ง มอบ | ร้อยละของ กิจกรรมใน ปีงบประมา ณ |
ถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่กลุ่ม ผู้ประกอบการแ ปร รู ป สินค้าปูนา | 2.รูปลักษณ์ สินค้าที่มี การพัฒนา แบรนด์ให้ น่าสนใจ 3.ท ร า บ อ า ย ุ ก า ร เก็บรักษา ผลิตภัณฑ์ สินค้าแปร รูปปูนา 4.ส า ร พาราควอต ที่ตรวจพบ ใ น น ้ ำ ปู แ ล ะ ผลิตภัณฑ์ แปรรูปจาก ปู | |||||||||||||
8. การสร้างการรับรู้และ สร้างเครือข่ายการตลาด สินค้าชุมชน และช่อง การตลาดทั้งออฟไลน์และ ออนไลน์ | 1.สื่อ การ รับรู้สินค้า แปรรูปจาก ป ู น า เ ช ื ่ อมโยง ก ั บ ก า ร ท่องเที่ยว และแหล่ง กินปู ดูนา พาฟิน ด้วย ภ า พ infographi cแ ล ะ คิ ว อ า ร ์ โ ค้ ด แสดงด้วย คลิปวีดีโอ 2 . มี ผู้ร่วมงาน เ ป ิ ด ตั ว ผลิตภัณฑ์ สินค้าแปร ร ู ป ป ู น า แ ล ะ ผลิตภัณฑ์ จ า ก โครงการใน งาน กินปู ดูนา พาฟิน วัฒนธรรม อาหารถิ่น ล ำ ป า ง | 10 |
กิจกรรม | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | ผลผลิต ที่จะส่ง มอบ | ร้อยละของ กิจกรรมใน ปีงบประมา ณ |
ค ร ั ้ ง ท ี ่ 2 อย่างน้อย 200 คน 3.โ อ ก า ส ท า ง การตลาด ของสินค้า แปรรูปปู น า ทั้ ง ออฟไ ล น์ แ ล ะ อ อ น ไ ล น์ โ ดยสร้าง ร า ย ไ ด้ เ พ ิ ่ ม ขึ้ น ม า ก ก ว่ า ร้อยละ 20 | ||||||||||||||
9.ประเมินผลกระทบทาง ส ั ง ค ม ( Social Impact Assessment) ในลักษณะ Outcome Mapping เน้น ผลกระทบที่เกิดขึ้นจาก โครงการที่ได้ดำเนินการ เพ ื ่ อใช ้ ในการคำนวณ ผลตอบแทนทางสังคมที่ ได ้ ร ั บ หร ื อใช ้ ใ นกา ร ค า ด ก า รณ ์ ( Forecast) ค ุ ณค่าทางสังคมที่จะ เกิดขึ้น | ผ ล ก า ร ประเมินผล กระทบทาง สังคม | 5 |
2. การได้รับทุนอุดหนุนกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย ภายใต้โครงการ
□ ไม่เคย
□ เคย (กรุณากรอกรายละเอียดตามความเป็นจริง)
ปีงบประมาณ | ชื่อโครงการ | งบประมาณที่ได้รับ (บาท) | สถานะโครงการ |
2564 | การต่อยอดการเพิ่มมูลค่าทุนทางวัฒนธรรมสินค้าข้าวสาย น้ำแร่แจ้ซ้อนหนึ่ง เดียวในประเทศ เพื่อการส่งเสริมนวัตกร ชุมชนด้านการท่องเที่ยวและตลาดดิจิทัล | 500,000 | อยู่ระหว่างดำเนินการ เสร็จสิ้นเดือน มค 66 |
การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างข้อเสนอโครงการที่เคยได้รับในปีที่ผ่านมากับที่เสนอขอรับทุนในปีปัจจุบัน รายละเอียดโครงการเดิม ..เป็นโครงการที่เน้นการสร้างอัตลักษณ์ข้าว จังหวัดลำปาง ผลักดันสู่ GI และ ขอบเขตอยู่ที่ตำบลแจ้ซ้อน อำเภอเมืองปาน จังหวัดลำปาง................
รายละเอียดโครงการที่เสนอขอปี 2565 เป็นโครงการที่เน้นการสร้างอัตลักษณ์สินค้าแปรรูปปูนา ซึ่งเป็นมี
น้ำปู เป็นสินค้าอัตลักษณ์ของอำเภอแจ้ห่ม.
3. รูปแบบ/กระบวนการ/แผนงานการนำส่งองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมสู่กลุ่มเป้าหมาย (ใ👉้แสดงรูปแบบ/ กระบวนการ/ขั้นตอนการนำส่งองค์ความรู้ เทคโนโลยี ใ👉้แก่กลุ่มเป้า👉มายที่ครอบคลุมขอบเขตการดำเนินงาน
ที่ระบุพื้นที่ สถานที่ที่จะใช้ดำเนินการ กลุ่มเป้า👉มาย จำนวนครั้งในการดำเนินการ ระยะเวลา ฯลฯ ที่สอดคล้อง กับงบประมาณที่เสนอใ👉้ชัดเจน)
1.ถอดบทเรียนวิธีการเลี้ยงปูนา จากการเกษตรต้นแบบ อย่างน้อย 4 ราย ตามองค์ความรู้ที่เกษตรได้รับจาก คู่มือการเลี้ยงปูนา ที่จัดทำโดยคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง และสำนักงานประมงจังหวัด ลำปาง อย่างน้อย 4 วัน
2, ศึกษาดูงานเพื่อศึกษาเทคนิค และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพิ่มเติมกับสุโขทัยฟาร์มปูนาออร์แกนิค จังหวัดสุโขทัย โดยตัวแทนเกษตรผู้เลี้ยงปูนาที่ได้รับการคัดเลือกจากสมาชิกในกลุ่ม จำนวน 1 วัน
3.จัดเวทีการสะท้อนกลับข้อมูลเพื่อวิเคราะห์วิธีการเลี้ยงทใี่ ห้อัตราการรอดสูง จำนวนเกษตรกร 20 รายเรียบ เรียงข้อมูล จัดทำเป็นสื่อ infographic animation
4. อบรมขยายผลให้กับเครือข่ายผู้เลี้ยงที่สนใจ รวมถึงประชาชนทั่วไปที่สนใจ อย่างน้อย 50 รายโดยจัดเป็น หลักสูตรระยะสั้นโดยเกษตรกรต้นแบบในชุมชน ระยะเวลา 2 วัน
5. อบรมเชิงปฏิบัติการ และใช้กระบวนการพีเลี้ยงในกระบวนการพัฒนาและปรับปรุงสถานที่แปรรูปปูนา ให้ มีมาตรฐานตามข้อกำหนด GMP จำนวนผู้ประกอบการแปรรูป 20 ราย ระยะเวลา 2 วันโดยกระบวนการให้ คำปรึกษาดำเนินการต่อเนื่อง จนกว่าจะยื่นเอกสารเพื่อขอรับรองสถานที่ผลิต
6. อบรมเชิงปฏิบัติการ การแปรรูปปูนาด้วย Hurdle Technology เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ จำนวนผู้ประกอบการแปรรูป 20 ราย
7.ทดสอบและวัดคุณภาพสินค้าแปรรูปปูนา เพื่อศึกษาอายุการเก็บรักษา อย่างน้อย 1 เดือน
8. จัดการประชุมเพื่อสะท้อนกระบวนการทำงานในเวทีผู้มีส่วนได้เสีย ทุก 3 เดือน จำนวนผู้ร่วมเวทีครั้งละ
20 ท่าน จำนวน 4 ครั้ง
9. การสร้างการรับรู้และสร้างเครือข่ายการตลาดสินค้าชุมชน และช่องการตลาดทั้งออฟไลน์และออนไลน์ใน งาน กินปู ดูนา พาฟิน วัฒนธรรมอาหารถิ่น จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 2 ระยะเวลาจัดงานจำนวน 2 วัน
4. แผนการประชุมเพื่อวิพากษ์ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย และ/หรือการหารือความร่วมมือร่วมกับหน่วยงานและ
ผู้ที่เกี่ยวข้อง (ระบุ👉น่วยงาน ที่มีส่วนร่วมในการสนับสนุนการดำเนินงาน/👉น่วยงานที่จะนำแผนงาน/องค์ความรู้ ผลสำเร็จของงานไปใช้ประโยชน์/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย/กลุ่มเป้า👉มายผู้ใช้ประโยชน์ สถานที่ในการดำเนินการ จำนวน ครั้ง และจำนวนผู้ที่จะเข้าร่วม)
1.จัดประชุมเพื่อเตรียมงาน และสร้างความเข้าใจในทีมงานและผู้มีส่วนได้เสียในชุมชน (แกนนำ) 2 ค รั้ ง จำนวน 15 คน
2. จัดชี้แจงข้อตกลงความร่วมมือผู้มีส่วนได้เสีย ประกอบด้วย จำนวน 1 ครั้ง จำนวนผุ้เข้าร่วมประชุม 50 ราย ประกอบด้วย ภาครัฐ สำนักงานประมงจังหวัดลำปาง องค์การบริหารส่วนตำบลวิเชตนคร สำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดลำปาง ชุมชน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้เลี้ยงปูนาอำเภอแจ้ห่ม กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้เลี้ยงปูน้ำปู๋ดีแจ้ ห่ม กลุ่มวิสาหกิจชุมขนปูนาพาเพลิน วิเชตนคร เกษตรกรผู้สนใจเลี้ยงปูนาในอำเภอแจ้ห่มอย่างน้อย 30 ราย
ภาคเอกชน ผู้ประกอบการร้านอาหารและโฮมสเตย์ อำเภอแจ้ห่ม ผู้ประกอบการร้านอาหารแอ่วอิ่ม อำเภอแจ้ห่ม ผู้ประกอบการร้านอาหารฮักหนา อำเภอแจ้ห่ม ผู้ประกอบการฮักกัญหนา อำเภอแจ้ห่ม
3. จัดประชุมเพื่อเตรียมงานโดยคณะผู้วิจัย 5 ครั้งๆละ 5 คน
5. แผนการเผยแพร่องค์ความรู้ เทคโนโลยี (จัดทำแผนการเผยแพร่องค์ความรู้ เทคโนโลยี ใ👉้ชัดเจน พร้อมทั้งระบุ สถานที่ในการเผยแพร่ จำนวนครั้ง จำนวนผู้เข้ารับการเผยแพร่ พร้อมทั้งระบุ👉น่วยงานที่สังกัด ความเ👉มาะสม👉รือ ความพร้อมในการรับองค์ความรู้)
แผนการเผยแพร่องค์ความรู้ และเทคโนโลยี คือการแบ่งปันแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ประกอบด้วย1) ความรู้ ที่ชัดแจ้งแบ่งปันแลกเปลี่ยน โดย การทำเป็นเอกสาร ฐานความรู้ หรือสื่อดิจิทัล เพื่อให้ผู้สนใจศึกษาในรูปแบบที่ตนเอง ต้องการ 2) ความรู้ที่ฝังลึกในตัวบุคคลอาจ แบ่งปัน แลกเปลี่ยนด้วยการสอนงาน การสัมภาษณ์ หรือโดยการจัด กิจกรรม ต่างๆ เช่น ประชุม ฝึกอบรม ประกวดแข่งขัน เวที แลกเปลี่ยนความรู้ฯลฯ ให้กับ1.)กลุ่ม ผู้เลี้ยงปูนา รวม จำนวน 50 ราย 2.) กลุ่มผู้ประกอบการแปรรูป 20 ราย เพื่อเชื่อมโยงห่วงโซ่คุณค่า ทั้งต้นน้ำ กลางน้ำและปลายน้ำ ของสินค้าแปรรูปปูนา และ 3) กลุ่มผู้ประกอบการร้านค้า/โฮมสเตย์ จำนวนอย่างน้อย 2 แห่ง
แผนการใช้จ่ายงบประมาณของโครงการ
5.1 แสดงรายละเอียดประมาณการงบประมาณตลอดโครงการ โดยแบ่งเป็นหมวดต่าง ๆ ดังนี้
ประเภทงบประมาณ | รายละเอียด | งบประมาณ (บาท) | เป็นงบประมาณของปีงบประมาณ พ.ศ. (dropdownให้เลือก) |
งบดำเนินงาน: ค่าตอบแทน/ค่าจ้าง | |||
- ค่าจ้างผู้ช่วยนักวิจัยทำงานเต็ม เวลา | (วุฒิปริญญาตรี 15,000 บาท x จำนวน ..1... คน 10.. เดือน) | 150,000 | |
- ค่าตอบแทนคณะวิจัย | 30,000 | ||
- วิทยากรฝึกอบรม | จำนวน 5 คนๆละ 12 ชม. ๆละ 600 บาท | 36,000 | |
งบดำเนินงาน: ค่าใช้สอย | |||
เบี้ยเลี้ยงลงพื้นที่/ติดต่อประสานงาน | จำนวน 6 คนๆละ 240 บาท จำนวน 10วัน | 14,400 | |
เบี้ยเลี้ยงเดินทางศึกษาดูงาน | จำนวน 20 คนๆละ 240 บาท | 4,800 | |
ค่าที่พักระหว่างปฏิบัติงานในพื้นที่ | จำนวน 5 ค ื นๆละ 2 ห้องๆละ 800 บาท | 8,000 | |
จ้างเหมารถตู้/รถประจำทาง | จำนวน 5 คร ั ้ งๆละ 1,800 บาท | 9,000 | |
ค่าอาหารว่าง/อาหารกลางวัน | ครั้งละ 40 คนๆละ 150 บาท จำนวน 5ครั้ง | 30,000 | |
จ้างเหมาพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปปู นาด้วย Hurdle Technology | จำนวน 1 ผลิตภัณฑ์ๆ ละ20,000 บาท | 20,000 | |
จ้างเหมาวิเคราะห์อายุการเก็บรักษา สินค้าแปรรูปปูนา | จำนวน 1 ผลิตภัณฑ์ๆ ละ20,000 บาท | 20,000 | |
จ้างเหมาจัดทำสื่อการจัดการความรู้ infographic แ ล ะ infographic animation | จำนวน 2 สื่อละ 10000 บาท | 20,000 | |
จ้างเหมาจัดทำคลิปวีดีโอ เพื่อ เชื่อมโยงการท่องเที่ยว สถานที่พัก และแหล่งเรียนรู้ กินปู ดูนา พาฟิน | จำนวน 5 คลิปๆละ 5,000 บาท | 25,000 | |
จ้างเหมาทำบรรจุภัณฑ์ รีแบรนด์ สินค้าแปรรูปปูนา | จำนวน 1 ผลิตภัณฑ์ละ 10,000 บาท | 10,000 | |
จ้างเหมาจัดงานกินปู ดูนา พาฟิน | 80,000 | ||
จ้างเหมาวิเคราะห์สารพาราควอตใน ผลิตภัณฑ์แปรรูปปูนา | จำนวน 2 ผลิตภัณฑ์ละ 5,000 บาท | 10,000 |
ประเภทงบประมาณ | รายละเอียด | งบประมาณ (บาท) | เป็นงบประมาณของปีงบประมาณ พ.ศ. (dropdownให้เลือก) |
งบดำเนินงาน: ค่าวัสดุ | |||
-ค่าวัสดุสำนักงาน | 10,000 | ||
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ | 8,000 | ||
- ค่าวัสดุก่อสร้าง เช่น อุปกรณ์บ่อ เลี้ยงปูนา แผ่นกระเบื้อง กะละมัง แยกอนุบาล บ่อซีเมนต์ ฯลฯ | 20,000 | ||
- ค่าวัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น | ค่าน้ำมัน กม. ละ 4 บาท ระยะทางประมาณไป- กลับครั้งละ ..150... กม. (4 x 150 = 600. บาท) จำนวน 20 ครั้ง | 12,000 | |
ค่าน้ำมันไปศึกษาดูงาน ท ี ่ จ ั ง ห ว ั ด ส ุ โ ข ทั ย ระยะทางประมาณไป- กลับ ..600... กม จำนวนรถตู้ 2 คัน (4 x 600 x 2= 4,800 บาท) | 4,800 | ||
งบลงทุน: ค่าครุภัณฑ์ | |||
งบดำเนินงาน: ค่าธรรมเนียมอุดหนุน สถาบัน | 58,000 | ||
รวม | 580,000 |
• ค่าธรรมเนียมอุดหนุนสถาบัน
5.2 รายละเอียดการจัดซื้อครุภัณฑ์ : กรณีมีความต้องการซื้อครุภัณฑ์ให้ใส่รายละเอียด ดังนี้
ชื่อครุภัณฑ์ | ครุภัณฑ์ที่ขอสนับสนุน | เหตุผลและความ จำเป็นต่อ โครงการ | การใช้ประโยชน์ ของครุภัณฑ์นี้เมื่อ แผนงานสิ้นสุด | ||
รายละเอียด ครุภัณฑ์ | ครุภัณฑ์ที่มีอยู่เดิม และเครื่องมือที่ เกี่ยวข้องกับ งานวิจัย (ถ้ามี) | สถานภาพการใช้ งาน ณ ปัจจุบัน | |||
• แนบใบเสนอราคาจาก 3 บริษัทประกอบมาด้วย
6. หน่วยงานร่วมดำเนินการ (ต้องระบุ👉น่วยงานในพื้นที่ 👉รือ👉น่วยงานที่เกี่ยวข้องที่มีส่วนร่วมและสนับสนุน การดำเนินงาน และลักษณะความร่วมมือ👉น่วยงาน)
ลำดับที่ | ปีงบประมาณ | ชื่อหน่วยงาน/ บริษัท | แนวทางร่วม ดำเนินการ | การร่วมลงทุน ในรูปแบบตัว เงิน (in-cash) (บาท) | การร่วมลงทุน ในรูปแบบอื่น (in-kind) (บาท) | รายละเอียด การร่วมลงทุน ในรูปแบบอื่น (in-kind) | รวม |
1 | 2566 | สำนักงาน ประมงจังหวัด ลำปาง | เข้าร่วมถ อด บทเรียน และ สนับสนุนกลุ่ม เ ก ษ ต ร ก ร แลกเปลี่ยน เ ร ี ย นร ู ้ ก า ร เลี้ยงปูนา | - | - | - | |
2 | 2566 | องค์การบริหาร ส่วนตำบลวิเช ตนคร | ขับเคลื่อนเชิง นโยบาย ใน การสนับสนุน ประชาสัมพันธ์ กลุ่มผู้เลี้ย ง และแปรรูปปู นา | - | - | - | |
3 | 2566 | สำนักงาน สาธารณสุข จังหวัดลำปาง | เป็นวิทยากร และให้ คำแนะนำปรึ กาการ ปรับปรุง สถานที่ผลิต สินค้าแปรรูปปู นา | - | - | - | |
4 | 2566 | ผู้ประกอบการ ร้านฮักกัญหนา | ปรับปรุง สถานที่ผลิต สินค้าแปรรูปปู นา | 150,000 | - | - | 150,000 |
7. การติดตามความสำเร็จของโครงการ/การประเมินผลโครงการ (ใ👉้แสดงวิธีการ/ขั้นตอนการติดตามประเมินผล สำเร็จในการนำส่งองค์ความรู้สู่กลุ่มเป้า👉มาย ได้แก่ การประเมินในระ👉ว่างดำเนินการ การติดตามประเมินผล
👉ลังดำเนินการได้ 3 – 6 เดือน และการร่วมติดตามประเมินผล👉ลังดำเนินการได้ 6 เดือน – 1 ปี)
ปีที่ | เดือนที่ | ผลงานที่คาดว่าจะสำเร็จ |
1 | 1-6 | 1 ข้อตกลงความร่วมมือกระบวนการดำเนินงานในโครงการ 2 ข้อมูลวิธีการเลี้ยงจากเกษตรกรต้นแบบตามบริบทพื้นที่การเลี้ยงปูนารูปแบบนาอินทรีย์ และรูปแบบ บ่อเลียนแบบธรรมชาติ 3 สื่อดิจิทัล infographic animation ที่ใช้ในการเรียนรู้วิธีการเลี้ยงปูนา แบบธรรมชาติ และแบบบ่อ ซีเมนต์เลียนแบบธรรมชาติ 4 หลักสูตรระยะสั้นการเลี้ยงปูนา ร่วมดำเนินการโดยสำนักงานประมงจังหวัดลำปาง 5 แบบการปรับปรุงอาคารสถานที่แปรรูปสินค้าปูนา |
7-12 | 1.ผลิตภัณฑ์แปรรูปปูนาที่มีอายุการเก็บรักษามากกว่า 1 เดือน 2.รูปลักษณ์สินค้าที่มีการพัฒนาแบรนด์ให้น่าสนใจ 3.ทราบอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์สินค้าแปรรูปปูนา |
4.สารพาราควอตที่ตรวจพบในน้ำปู และผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปู 5.สื่อการรับรู้สินค้าแปรรูปจากปูนา เชื่อมโยงกับการท่องเที่ยวและแหล่งกินปู ดูนา พาฟิน ด้วยภาพ infographicและคิวอาร์โค้ดแสดงด้วยคลิปวีดีโอ 6.มีผู้ร่วมงานเปิดตัวผลิตภัณฑ์สินค้าแปรรูปปูนา และผลิตภัณฑ์จากโครงการในงาน กินปู ดูนา พาฟิน วัฒนธรรมอาหารถิ่นลำปาง ครั้งที่ 2 อย่างน้อย 200 คน 7.ช่องทางการตลาดของสินค้าแปรรูปปูนาทั้งออฟไลน์และออนไลน์ 8.เอกสารการรับรองสถานที่ผลิตแปรรูปปูนาตามมาตรฐาน GMP |
8. แนวทางการขยายผลการดำเนินงานโครงการไปยังหน่วยงานภาคปฏิบัติหรือในพื้นที่อื่นๆ (ใ👉้จัดทำแผนการ ดำเนินงานเพื่อใ👉้ผู้รับดำเนินการถอดบทเรียน รูปแบบของโครงการไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยต้องมี
👉น่วยงานเป้า👉มาย และมีพื้นที่ขยายผลสำเร็จของโครงการที่ชัดเจน ที่จะมารับงานไปดำเนินการต่อ เข้าร่วม เรียนรู้และ/👉รือปฏิบัติการในโครงการด้วย)
Activity Description | Indicators | Means of Verification | Assumptions |
Overall Objective รายได้ที่ เพิ่มขึ้นของคนในชุมชนจากการเลี้ยง ปูนา และสินค้าแปรรูปปูนา | รายได้เกษตรกรกลุ่มผู้เลี้ยงปูนาและแปรรูป สินค้าปูนาเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 | มีการตรวจสอบรายได้ที่เพิ่มขึ้นของ เกษตรกรกลุ่มผู้เลี้ยงปูนาและแปรรูป สินค้าปูนา | |
P u r p o s e 1. เพื่อขยายองค์ความรู้การเลี้ยงปู นาที่ปลอดภัยจากสารกำจัดวัชพืชให้ เพียงพอต่อความต้องการเพื่อ สร้างอัตลักษณ์วัฒนธรรมอาหาร ท้องถิ่น 2. เพื่อยกระดับมาตรฐานการแปร รูปสินค้าปูนาเพิ่มโอกาสทาง การตลาดทงั้ ออฟไลน์และออนไลน์ | 1.กระบวนการมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้เลี้ยงปูนา ในการเก็บข้อมูลมีระบบ 2. การบริหารจัดการกลุ่ม 3.รูปแบบสินค้าแปรรูปปูนาที่ทันสมัยและ ปลอดภัยต่อผู้บริโภค | มีตัวแทนเกษตรกรผู้เลี้ยงปูนาเข้าร่วม กระบวนการตลอดการดำเนินงาน มีตัวแทนจาก สสจ ให้คำแนะนำการ ปรับปรุงอาคารเพื่อขอรับรอง มาตรฐานการผลิตสินค้า | 1 เกษตรกรให้ความร่วมมือ 2 มีโครงสร้างการบริหารของกลุ่ม เกษตรกรเพื่อจัดการวัตถุดิบปูนาให้มีใช้ ตลอดปี 3 อบต ในพื้นที่สนับสนุนงบประมาณ เพื่อสร้างความยั่งยืน 4 มีสถานที่แปรรูปปูนาที่มีมาตรฐานของ อำเภอแจ้ห่ม |
Activity Description | Indicators | Means of Verification | Assumptions |
Results องค์ความรู้การเลี้ยงปูนาอย่างมี ระบบและมีอัตราการรอดสูง กระบวนการจัดการกลุ่มเพื่อจัดการ ผลผลิตปูนาให้มีต่อเนื่องตลอดปี สินค้าแปรรูปปูนาที่มีมาตรฐานการ ผลิต และช่องทางการตลาดที่ ทันสมัย | 1.คู่มือการเลี้ยงปูนาตามบริบทพื้นที่ที่มีการ วิเคราะห์อัตราการรอดสูง 2.ข้อตกลงความร่วมมือการบริหารจัดการ กลุ่ม 3.ผลิตภัณฑ์แปรรูปและช่องทางจัดจำหน่าย | มีการถอดบทเรียนจากกระบวนการ เรียนรู้เกษตรกรผู้เลี้ยงปูนาเป็นระยะ ทุก 2 เดือน มีการทดสอบการตลาดของสินค้าแปร รูป มีการประเมินสถานที่ผลิตสินค้าแปร รูป | เกิดระบบการเรียนรู้ของเกษตรกรผู้เลี้ยง ปูนา สินค้าแปรรูปปูนาของอำเภอแจ้ห่มเป็นที่ รู้จักในวงกว้างและมีความสะอาด ปลอดภัย |
Activities | Means & Resources | Sources of information about action progress | Assumptions |
Activity for objective 1. เพื่อ ขยายองค์ความรู้การเลี้ยงปูนาที่ ปลอดภัยจากสารกำจัดวัชพืชให้ เพียงพอต่อความต้องการเพื่อ สร้างอัตลักษณ์วัฒนธรรมอาหาร ท้องถิ่น | 1 ข้อตกลงความร่วมมือกระบวนการ ดำเนินงานในโครงการ 2 ข้อมูลวิธีการเลี้ยงจากเกษตรกรต้นแบบตาม บริบทพื้นที่การเลี้ยงปูนารูปแบบนาอินทรีย์ และรูปแบบบ่อเลียนแบบธรรมชาติ 3 สื่อดิจิทัล infographic animation ทใี่ ช้ใน การเรียนรู้วิธีการเลี้ยงปูนา แบบธรรมชาติ และแบบบ่อซีเมนต์เลียนแบบธรรมชาติ 4 หลักสูตรระยะสั้นการเลี้ยงปูนา ร่วม ดำเนินการโดยสำนักงานประมงจังหวัดลำปาง | 1 มีแนวทางวิธีการเลี้ยงปูนาที่มีอัตรา การรอดสูงจากการถอดบทเรียน ประสบการการเลี้ยงของเกษตรกร ต้นแบบ และการศึกษาดูงาน ณ จังหวัดสุโขทัย | ความร่วมมือการสร้างแนวทางการเลี้ยง ตามบริบทพื้นที่ที่ให้อัตราการรอดสูง ปราศจากสารกำจัดวัชพืชและมีความ ปลอดภัย |
Activity for objective 2 เพื่อ ยกระดับมาตรฐานการแปรรูป สินค้าปูนาเพิ่มโอกาสทาง การตลาดทั้งออฟไลน์และออนไลน์ 2.1 ปรับปรุงสถานที่ผลิตในชุมชน ให้มีมาตรฐานตามข้อกำหนด GMP 2.2 พัฒนาสินค้าแปรรูปปูนาด้วย Hurdle technology เพื่อยืดอายุ การเก็บรักษา พร้อมนำเสนอจุดเด่น ทางโภชนาการตามเทรนด์การ บริโภคยุคใหม่ และรูปลักษณ์สินค้า แบบฉบับสากล 2.3 การสร้างการรับรู้และสร้าง เครือข่ายการตลาดสินค้าชุมชน และ ช่องทางการตลาดออฟไลน์และ ออนไลน์ | 1.ผลิตภัณฑ์แปรรูปปูนาที่มีอายุการเก็บรักษา มากกว่า 1 เดือน 2.รูปลักษณ์สินค้าที่มีการพัฒนาแบรนด์ให้ น่าสนใจ 3.ทราบอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์สินค้า แปรรูปปูนา 4.สารพาราควอตที่ตรวจพบในน้ำปู และ ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปู 5.สื่อการรับรู้สินค้าแปรรูปจากปูนา เชื่อมโยง กับการท่องเที่ยวและแหล่งกินปู ดูนา พาฟิน ด้วยภาพ infographicและคิวอาร์โคด้ แสดง ด้วยคลิปวดี ีโอ 6.มีผู้ร่วมงานเปิดตัวผลิตภัณฑ์สินค้าแปรรูปปู นา และผลิตภัณฑ์จากโครงการในงาน กินปู ดูนา พาฟิน วัฒนธรรมอาหารถิ่นลำปาง ครั้ง ที่ 2 อย่างน้อย 200 คน | ข้อมูลสินค้าความต้องการของผู้บริโภค ในตลาด มีสินค้าแปรรูปปูนาหลากหลายและมี มาตรฐานการผลิต GMP มีช่องทางการตลาดและการสื่อสาร ระบบดิจิทัลเชื่อมโยงการท่องเที่ยว | สินค้าแปรรูปปูนาปลอดภัย และเป็นที่ รู้จักในวงกว้าง ถือเป็น “ของดี ของดัง เมืองลำปาง” |
Activity Description | Indicators | Means of Verification | Assumptions |
7.ช่องทางการตลาดของสินค้าแปรรูปปูนาทั้ง ออฟไลน์และออนไลน์ |
9. ความเสี่ยงของโครงการ (ระบุความเสี่ยง👉รือปัจจัยเสี่ยงที่อาจทำใ👉้โครงการไม่ประสบความสำเร็จ👉รือเกิด ปัญ👉า ความเสี่ยงเรื่องลิขสิทธิ์ ความเสี่ยงต่อสังคมคุณภาพชีวิต คุณธรรม จริยธรรม พร้อมทั้งแนวทาง การป้องกันและแก้ปัญ👉านั้น)
- ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ได้แก่
1. สถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด
2. การปรับปรุงอาคารผลิตสินค้าให้มีมาตรฐาน GMP ใช้งบประมาณและการลงทุนสูง
- แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาความเสี่ยง ได้แก่
1.การจัดประชุมสร้างแกนนำภาคีเครือข่าย /ผู้นำกลุ่ม ด้วยการสื่อสารดิจิทัลเพื่อถ่ายโยงความรู้และการ พัฒนาสู่สมาชิก
2. เน้นการให้ความรการผลิตตามมาตรฐาน GMP และการใช้ Hurdle Technology ในการผลิตสินค้าให้ได้
คุณภาพ คู่ขนานกับการปรบปรุงอาคารผลิต
ส่วนที่ 4 ผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบ
1. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (แสดงความคาด👉มายถึงประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมที่พื้นที่ และกลุ่มเป้า👉มายจะ ได้รับจากโครงการ)
🞎 ด้านวิชาการ
ระบุ หลักสูตรระยะสั้นการเลี้ยงปูนา ร่วมดำเนินการโดยสำนักงานประมงจังหวัดลำปาง และเกษตรกร
ต้นแบบในชุมชน
สื่อการเรียนรู้แบบดิจิทัลส่งเสริมการเรียนรู้แบบ Long Life Learning
🞎 ด้านสังคม
☐ด้านสาธารณะ ☐ด้านชุมชนและพื้นที่ ☐ด้านสิ่งแวดล้อม ระบุ เกิดกระบวนการเสริมสร้างพลังการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน โดยใช้ ปูนา เป็นสื่อ ในการพัฒนา
ชุมชนสู่ความยั่งยืน และเน้นชุมชนจัดการตนเอง................................................
🞎 ด้านนโยบาย
ระบุ..เกิดเป็นแผนพัฒนาอำเภอแจ้ห่ม/แผนพัฒนาตำบล เพื่อสืบสานวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่นปลอดภัย
นโยบายการส่งเสริมการเพาะเลี้ยงปูนา ให้ปลอดภัยจากสารกำจัดวัชพืช ของสำนักงานประมงจังหวัด ลำปาง
🞎 ด้านเศรษฐกิจ
ระบุ....ร้านค้าชุมชน ร้านอาหาร โฮมสเตย์เป็นแหล่งจำหน่ายผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปูนาชุมชน มีศูนย์เรียนรู้ เพาะฟักลูกปู ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน...........
2. ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ (Output)
ผลผลิต | ประเภทผลผลิต | รายละเอียดของผลผลิต | จำนวนนำส่ง | หน่วยนับ |
1 เกษตรกรต้นแบบ ตามบริบทพื้นที่การ เลี้ยงปูนารูปแบบนา อินทรีย์ และ รูปแบบบ่อ เลียนแบบธรรมชาติ | ก ำ ล ั ง ค น ห รื อ หน่วยงาน ที่ได้รับ การพัฒนาทักษะ | เกษตรกรได้รับการอบรมเชิงปฏิบัติการ และ ศึกษาดูงานการเลี้ยงปูนา ที่มีการจัดการความรู้ ให้อัตราการรอดสูง | 50 | คน |
2.ผู้ประกอบการ แปรรูปสินค้าปูนา | ก ำ ล ั ง ค น ห รื อ หน่วยงาน ที่ได้รับ การพัฒนาทักษะ | ผู้ประกอบการสินค้าแปรรูปปูนาได้รับการอบรม การใช้ Hurdle Technology ในการยืดอายุการ เก็บรักษาผลิตภัณฑ์ และสามารถผลิตสินค้าให้มี มาตรฐาน อย. | 20 | คน |
3 สื่อดิจิทัล infographic animation ทใี่ ช้ใน การเรียนรู้วิธีการ เลี้ยงปูนา แบบ ธรรมชาติ และแบบ บ่อซีเมนต์ เลียนแบบธรรมชาติ | ต้นแบบผลิตภัณฑ์ หร ื อ เ ท ค โ น โ ล ยี / กระบวนการใหม่หรือ นวัตกรรมทางสังคม | สื่อดิจิทัล infographic animation ที่ใช้ในการ เรียนรู้วิธีการเลี้ยงปูนา แบบธรรมชาติ และแบบ บ่อซีเมนต์เลียนแบบธรรมชาติ | 2 | รายการ |
4 หลักสูตรระยะสั้น การเลี้ยงปูนา ร่วม ดำเนินการโดย สำนักงานประมง จังหวัดลำปาง | ต้นแบบผลิตภัณฑ์ หรือเทคโนโลยี/ กระบวนการใหม่หรือ นวัตกรรมทางสังคม | หลักสูตรระยะสั้นการเลี้ยงปูนา ร่วมดำเนินการ โดยสำนักงานประมงจังหวดั ลำปาง จัดอบรม เผยแพร่ให้กับประชาชนทั่วไปที่สนใจ | 1 | รายการ |
5.อาคารแปรรูปปู นาที่ได้รับมาตรฐาน สถานที่ผลิต | เครื่องมือ และ โครงสร้างพื้นฐาน (Facilities and Infrastructure) | อาคารแปรรูปปูนาที่ได้รับมาตรฐานสถานที่ผลิต | 1 | รายการ |
6.ผลิตภัณฑ์แปรรูป ปูนาที่มีอายุการเก็บ รักษามากกว่า 1 เดือน และ รูปลักษณ์สินค้าที่มี การพัฒนาแบรนด์ ให้น่าสนใจ | ต้นแบบผลิตภัณฑ์ หรือเทคโนโลยี/ กระบวนการใหม่หรือ นวัตกรรมทางสังคม | ผลิตภัณฑ์แปรรูปปูนาที่มีอายุการเก็บรักษา มากกว่า 1 เดือน และรูปลักษณ์สินค้าที่มีการ พัฒนาแบรนด์ให้น่าสนใจ | 1 | รายการ |
7.สื่อการรับรู้สินค้า แปรรูปจากปูนา เชื่อมโยงกับการ ท่องเที่ยวและแหล่ง กินปู ดูนา พาฟิน ด้วยภาพ infographicและคิว อาร์โค้ดแสดงด้วย คลิปวีดีโอ | ต้นแบบผลิตภัณฑ์ หรือเทคโนโลยี/ กระบวนการใหม่หรือ นวัตกรรมทางสังคม | แผ่นพับประชาสัมพันธ์สินค้าแปรรูปจากปูนา เชื่อมโยงกับการท่องเที่ยวและแหล่งกินปู ดูนา พาฟิน ด้วยภาพ infographicและควิ อาร์โค้ด แสดงดว้ ยคลิปวีดโอ | 1 | รายการ |
ประเภทของผลผลิตและคำจำกัดความ (Type of Outputs and Definition)
1. นิยามของผลผลิต คือ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการวิจัยที่ได้รับการจัดสรรทุนวิจัย ผ่านกองทุนสง่ เสรมิ วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม โดยเป็นผลที่เกิดขึ้นทันทีเมื่อจบโครงการ และเป็นผลโดยตรงจากการดำเนิน โครงการ ทั้งนี้ หน่วยงานจะต้องนำส่งภายใน 2 ปี งบประมาณ
2. ประเภทของผลผลิต ประกอบด้วย 10 ผลผลิต ตามตารางดังนี้
ประเภทของผลผลิต (Type of Output) | คำจำกัดความ (Definition) |
1. กำลังคน หรือหน่วยงาน ที่ได้รับการพัฒนาทักษะ | กำลังคนหรือหน่วยงานเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาจากโครงการ ววน. โดย นับเฉพาะคนหรือ หน่วยงานที่เป็นเป้าหมายของโครงการนั้นๆ ซึ่งอาจจะ เป็นโครงการในรูปแบบทุนการศึกษา การฝึกอบรมเพื่อเพิ่มทักษะหรือการ ดำเนินการในรูปแบบอื่นที่ระบุไว้ในโครงการ |
2. ต้นฉบับบทความวิจัย (Manuscript) | งานเขียนทางวิชาการ ซึ่งมีการกำหนดประเด็นที่ต้องการอธิบายหรือ วิเคราะห์อย่างชัดเจน ทั้งนี้ต้องมีการวิเคราะห์ประเด็นดังกล่าวตามหลัก วิชาการ โดยมีการสำรวจวรรณกรรมเพื่อสนับสนุน จนสามารถสรุปผล การ วิเคราะห์ในประเด็นนั้นได้ มีการแสดงเหตุผลหรือที่มาของประเด็นที่ ต้องการอธิบายหรือวิเคราะห์ กระบวนการอธิบายและวิเคราะห์และ บทสรุป มีการอ้างอิงและบรรณานุกรมที่ครบถ้วนและสมบูรณ์วารสาร การ วิจัยนั้นอาจจะเผยแพร่เป็นรูปเล่มสิ่งพิมพ์หรือ เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ง ต้นฉบับบทความวิจัย ( Manuscript) ได้แก่ Proceeding ระดับชาติ Proceeding ระดับนานาชาติบทความในประเทศและบทความ ต่างประเทศ |
3. หนังสือ | ข้อมูลงานวิจัยในรูปแบบหนังสือ ตำรา หรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E- book) ทั้งระดับชาติและ นานาชาติ โดยจะต้องผ่านกระบวนการ Peer review ประกอบด้วย 3.1 บางบทของหนังสือ (Book Chapter) 3.2 หนังสือทั้งเล่ม (Whole book) 3.3 เอกสาร/หนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ เรื่องใดเรื่องหนึ่ง อย่างครบถ้วน (Monograph) |
4. ต้นแบบผลิตภัณฑ์ หรือเทคโนโลยี/กระบวนการใหม่หรือ นวัตกรรมทางสังคม | ผลงานที่เกิดจากการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ที่ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือเทคโนโลยีใหม่/ กระบวนการใหม่ หรือการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ หรือ เทคโนโลยี/กระบวนการให้ดีขึ้นกว่าเดิม รวมถึงสื่อสร้างสรร สื่อสารคดี เพื่อการเผยแพร่ สื่อออนไลน์ แอปพลิเคชัน/ Podcast/กิจกรรม/ กระบวนการ เพื่อสร้างการเรียนรู้ การมีส่วนร่วม และ/หรือ การตระหนัก รู้ต่าง ๆ 4.1 ต้นแบบผลิตภัณฑ์หมายถึง ต้นแบบในรูปแบบของผลิตภัณฑ์ที่ ใช้ สำหรับการทดสอบก่อน สั่งผลิตจริง ที่พัฒนาขึ้นจากกระบวนการวิจัย พัฒนา หรือการปรับปรุงกระบวนการเดิมด้วยองค์ความรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีทั้งในระดับห้องปฏิบัติการ ระดับภาคสนาม ระดับ อุตสาหกรรม 4.2 เทคโนโลยี/กระบวนการใหม่ หมายถึง กรรมวิธีขั้นตอน หรือเทคนิค ที่พัฒนาขึ้นจาก กระบวนการวิจัย พัฒนา หรือการปรับปรุง กระบวนการ เดิมด้วยองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4.3 นวัตกรรมทางสังคม (Social Innovation) หมายถึง การ ประยุกต์ใช้ ความคิดใหม่ และ เทคโนโลยีที่เหมาะสม ในการยกระดับ คุณภาพชีวิต ชุมชน และสิ่งแวดล้อม อันจะนำไปสู่ความ เท่าเทียมกันใน สังคม และ สามารถลดปัญหาความเหลื่อมล้ำได้อย่างเป็นรูปธรรม ตัวอย่างเช่น หลักสูตรอบรมปฏิบัติการเพื่อพัฒนานักวิจัย หลักสูตร พื้นฐานเพื่อพัฒนา อาชีพใหม่ในรูปแบบ Reskill หรือ Upskill หลักสูตร การเรียนการสอน หลักสูตรบัณฑิตพันธุ์ใหม่ หลักสูตรการผลิต ครู เป็น ต้น |
ประเภทของผลผลิต (Type of Output) | คำจำกัดความ (Definition) |
5. ทรัพย์สินทางปัญญา | ผลงานอันเกิดจากการประดิษฐ์ คิดค้น หรือสร้างสรรค์ของนักวิจัย ได้แก่ อนุสิทธิบัตร สิทธิบัตร การประดิษฐ์ สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ ลิขสิทธิ์ เครื่องหมายทางการค้า ความลับ ทางการค้า ชื่อทางการค้า การ ขึ้นทะเบียนพันธุ์พืชหรือสัตว์ สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ แบบผังภูมิของวงจร |
6. เครื่องมือ และโครงสร้างพื้นฐาน (Facilities and Infrastructure) | เครื่องมือ และโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการวิจัยและพัฒนา นวัตกรรม ที่จัดซื้อ สร้างขึ้น หรือพัฒนาต่อยอด ภายใต้โครงการ |
7. ฐานขอ้ มูล ระบบและกลไกหรือมาตรฐาน | การพัฒนาฐานข้อมูล และสร้างระบบ กลไก หรือมาตรฐานที่ตอบสนอง การพัฒนาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมต่างๆ และเอื้อต่อการพัฒนา ประเทศ ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนากำลังคน การจัดการปัญหาทางสังคม สิ่งแวดล้อม และการสร้างความสามารถในการแข่งขัน เป็นต้น - ระบบและกลไก หมายถึง ขั้นตอนหรือเครื่องมือ การปฏิบัติงานที่มกี าร กำหนดอย่างชัดเจนใน การดำเนินการ เพื่อให้ได้ผลออกมาตามที่ต้องการ ขั้นตอนการปฏิบัติงานจะต้องปรากฏให้ทราบ โดยทั่วกัน ไม่ว่าจะอยู่ใน รูป ของ เอกสาร หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือโดยวิธีการอื่น ๆองค์ประกอบ ของระบบและกลไก ได้แก่ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลผลิต กลุ่มคนที่ เกี่ยวข้อง และข้อมูลป้อนกลับ ซึ่งมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน ตัวอย่างเช่น ระบบการผลิตและการพัฒนากำลังคน ระบบส่งเสริมการจัดการ ทรัพยากร และ สิ่งแวดล้อม ระบบส่งเสริมการวิจัยร่วมกับ ภาคอุตสาหกรรม ระบบ บริการหรือสิ่งสนับสนุนประชาชนทั่วไป ระบบ บริการหรือสิ่งสนับสนุน กลุ่มผู้สูงอายุระบบบริการหรือสิ่งสนับสนุนกลุ่ม ผู้ด้อยโอกาส รวมถึงกลไก การพัฒนาเชิงพื้นที่ - ฐานข้อมูล (Database) คือ ชุดของสารสนเทศ ที่มี โครงสร้างสม่ำเสมอ หรือชุดของ สารสนเทศใด ๆ ที่ประมวลผลด้วย คอมพิวเตอร์ หรือสามารถ ประมวลด้วยคอมพิวเตอร์ได้ - มาตรฐาน หมายถึง การรับรองมาตรฐานสินค้า และ/หรือ ศูนย์ทดสอบ ต่าง ๆ เพื่อ สร้างและ ยกระดับความสามารถทางด้านคุณภาพ ทั้งในชาติ และนานา ชาต |
8. เครือข่าย | เครือข่ายความร่วมมือ (Network) และสมาคม (Consortium) ด้าน วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม ที่เกิดจากการดำเนินการของโครงการ ทั้งเครือข่ายในประเทศ และเครือข่ายระดับ นานาชาติ ซึ่งจะช่วยในการ ยกระดับความสามารถในการแข่งขันให้แก่ประเทศ ได้แก่ 1. เครือข่าย ความร่วมมือทางด้านวิชาการ 2. เครือข่ายเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ 3. เครือข่ายเพื่อการพัฒนาสังคม 4. เครือข่ายเพื่อการพัฒนาสิ่งแวดล้อม เป็น ต้น |
9. การลงทุนวิจัยและนวัตกรรม | ความสามารถในการระดมทุนเงินงบประมาณจากภาครัฐ และ ผู้ประกอบการภาคเอกชน ทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ เพื่อการลงทุน สนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม ทั้งในรูปของเงินสด (In cash) และส่วน สนับสนุนอื่นที่ไม่ใช่เงินสด (In kind) |
10. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย (Policy Recommendation) และ มาตรการ (Measures) | ข้อเสนอแนะในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ หรือมาตรการจาก งานวิจัย ที่เป็นประโยชน์ต่อ ภาคประชาชน สังคม และเศรษฐกิจ รวมทั้ง สามารถ นำไปใช้ในการบริหารจัดการ และแก้ปัญหา ของประเทศ เช่น มาตรการที่ ใช้เพื่อปรับปรุงกฎหมาย/ระเบียบ หรือพัฒนามาตรการและ สร้าง แรงจูงใจให้เอื้อต่อการพัฒนาภาคประชาชน สังคม หรือเศรษฐกิจ |
3. ผลลัพธ์ Expected Outcomes ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (ระบุผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น👉รือผลต่อเนื่องจากผลผลิตที่มีต่อ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย👉รอผู้ได้รบ ผลลัพธ์ใ👉้ชัดเจน)
ประโยชน์จากองค์ความรู้ ในเชิงปริมาณ👉รือเชิงคุณภาพ และระบุตัวชี้วัดของแต่ละ
นิยามของผลลัพธ์ คือ การนําผลผลิต (output) ที่ได้ของโครงการพัฒนา ววน. ไปใช้ประโยชน์โดยผู้ใช้ (users) ที่ชัดเจน ส่งผลทำให้ระดับความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรม การปฏิบัติหรือทักษะ ของผู้ใช้มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เมื่อเทียบกับก่อนการนำผลผลิตจากโครงการมาใช้ รวมถึงการใช้ประโยชน์จากผลผลิตของโครงการที่เป็นทั้ง ผลิตภัณฑ์ การบริการ และเทคโนโลยี โดยภาคเอกชนหรือประชาสังคม ตลอดจนการพัฒนาต่อยอดผลผลิตของ โครงการเดิมที่ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ ให้มีระดับความพร้อมในการใช้ประโยชน์สูงขึ้นอย่างมีนัยยะสำคัญ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ทำ dropdown list ให้เลือก) | จำนวน | รายละเอียดของผลลัพธ์ | ผู้ได้รับผลกระทบ | ปีที่นำส่งผลลัพธ์ (dropdown) |
ผลงานตีพิมพ์ (Publications) | 1 | บทความวิชาการ | คณะผู้วิจัย | 2567 |
การอ้างอิง (Citations) | ||||
เครื่องมือและระเบียบวิธีการวิจัย (Research tools and methods) | ||||
ฐานข้อมูลและแบบจำลองวิจัย (Research databases and models) | ||||
ความก้าวหน้าในวิชาชีพของบุคลากรด้าน วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม (Next destination) | ||||
รางวัลและการยอมรับ (Awards and recognition) | ||||
การใช้ประโยชน์จากเครื่องมือ อุปกรณ์ ห้องวิจัยและ โครงสร้างพื้นฐาน (Use of facilities and resources) | ||||
ทรัพย์สินทางปัญญา การขึ้นทะเบียนพันธุ์พืชและ พันธุ์สัตว์ และการอนุญาตให้ใช้สิทธิ (Intellectual property, Registered Plants Varieties and Animals Breeding and licensing) | ||||
การถ่ายทอดเทคโนโลยี (Technology Transfer) | 2 | 1. เทคนิคการเลี้ยงปูนา ให้มีอัตราการรอดสูง 2 . ก า ร ใ ช ้ Hurdle Technology เพื่อยืดอายุ การเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ | 1.เกษตรกรผู้เลี้ยง ป ู น า แ ล ะ ประชาชนที่สนใจ 2.ผู้ประกอบการ แปรรูปสินค้าปูนา | 2566 |
ผลิตภัณฑ์และการบวนการ บริการ และการรับรองมาตรฐานใหม่ (New Products/Processes, New Services and New Standard Assurances) | 1 | มาตรฐานการผลิตสินค้า แปรรูปปูนา | ผู้ประกอบการร้าน ฮักกัญหนา | 2566 |
ทุนวิจัยต่อยอด (Further funding) | ||||
ความร่วมมือหรือหุ้นส่วนความร่วมมือ (Collaborations and partnerships) | 1 | การสนับสนุนงานเทศกาล กินปู ดูนา พาฟิน | อบต.วิเชตนคร/ สำนักงานประมง จังหวัดลำปาง/ ผู้ประกอบการที่พัก โฮมสเตย์ | 2566 |
การผลักดันนโยบาย แนวปฏิบัติ แผนและ กฎระเบียบ (Influence on policy, practice, plan and regulations) | ||||
กิจกรรมสร้างการมีส่วนร่วม (Engagement activities) | 2 | 1.เชื่อมโยงเครือข่ายผู้เลี้ยง ปูนาและผู้ประกอบการ แปรรูปสินค้าปูนา 2.ผู้รับซื้อ/ตัวแทนจำหน่าย สินค้าแปรรูปปูนาทั้งตลาด ออฟไลน์และออนไลน์ | 1.เกษตรกรผู้เลี้ยง ปูนาและประชาชน ที่สนใจ 2.ผู้ประกอบการ แปรรูปสินค้าปูนา | 2566 |
ประเภทของผลลัพธ์และคำจำกัดความ (Type of Outcomes and Definition)
ประเภทของผลลัพธ์ (Types of Outcomes) | คำจำกัดความ (Definition) |
ผลงานตีพิมพ์ (Publications) | ผลงานทางวิชาการในรูปแบบสิ่งพิมพ์และไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเกิดจากการศึกษาวิจัย อาทิเช่น บทความจากการ ประชุมวิชาการ บทความวิจัย บทความปริทศั น์ บทความวิชาการ หนังสือ ตำรา พจนานุกรม และงานวิชาการ อื่นๆ ในลักษณะเดียวกัน |
การอ้างอิง (Citations) | จำนวนครั้งในการอ้างอิงผลงานวิจยั ที่ตีพมิ พใ์ นวารสารระดับนานาชาติ โดยสืบค้นจากฐานขอมูล Scopus |
เครื่องมือและระเบียบวิธีการวิจัย (Research tools and methods) | เครื่องมือหรือกระบวนการที่ผู้วิจัยใช้ในการทดลอง ทดสอบ เก็บรวบรวมหรือวิเคราะห์ข้อมูล โดยเป็นสิ่งใหม่ที่ ไม่ได้มีมาก่อน แต่ได้เผยแพร่และเป็นที่ยอมรับโดยมีผู้นำเครื่องมือและระเบียบวธิ ีการวิจัยไปใช้ต่อและมีหลักฐาน อ้างอิงได้ |
ฐานขอ้ มูลและแบบจำลองวจิ ัย (Research databases and models) | ฐานข้อมูล (ระบบที่รวบรวมข้อมูลไว้ในที่เดียวกัน) หรือแบบจำลอง (การสร้างรูปแบบเพื่อแทนวัตถุ กระบวนการ ความสัมพันธ์ หรือ สถานการณ์) ทถูกพัฒนาขึ้นจากงานวิจัย โดยมีผู้นำฐานข้อมูลหรือแบบจำลองไปใช้ให้เกิด ประโยชน์มีหลักฐานอ้างอิงได้ |
ความก้าวหนา้ ในวิชาชีพของบุคลากรด้าน วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม (Next destination) | การติดตามการเคลื่อนย้ายและความก้าวหน้าในวิชาชีพของบุคลากรในโครงการด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (ววน.) ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริม ววน. หลังจากสิ้นสุดโครงการ โดยมีหลักฐาน อ้างอิงได้ |
รางวัลและการยอมรับ (Awards and recognition) | เกียรติยศ รางวัลและการยอมรับจากสังคมที่ได้มาโดยหน้าที่การงานจากการทำงานด้านวทิ ยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (ววน.) โดยมีส่วนที่เกี่ยวข้องกับโครงการที่ได้รับงบประมาณจากกองทุนส่งเสริม ววน. โดยมีหลักฐาน อ้างอิงได้ |
การใช้ประโยชน์จากเครื่องมือ อุปกรณ์ ห้องวจิ ัย และโครงสร้างพื้นฐาน (Use of facilities and resources) | การใช้ประโยชน์จากเครื่องมือ อุปกรณ์ ห้องวิจัยและโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) ที่นักวิจัยพัฒนาขึ้น หรือได้รับงบประมาณเพื่อการจัดหาให้เกิดประโยชน์ต่อผู้ที่มาใช้งานในวงกว้าง โดยมี หลักฐานอ้างองได้ |
ทรัพย์สินทางปัญญา การขึ้นทะเบียนพันธุ์พืชและ พันธุ์สัตว์ และการอนุญาตให้ใช้สิทธิ (Intellectual property, Registered Plants Varieties and Animals Breeding and licensing) | ทรัพย์สินทางปัญญา หมายถึง การประดิษฐ์ คิดค้นหรือคิดทำขึ้น อันเปนผลใหไดมาซึ่งผลิตภัณฑ์หรือกรรมวิธีใด ขึ้นใหม หรือการกระทําใดๆ ที่ทําใหดีขึ้นซึ่งผลิตภัณฑ์หรือกรรมวิธี หรือการกระทำใดๆ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ริเริ่มโดยใช้สติปัญญา ความรู้ ความสามารถ และ ความวิริยะอุตสาหะของตนเองในการสร้างให้เกิดงานสร้างสรรค์ 9 ประเภทตามที่กฎหมายกำหนด อาทิเช่น งาน วรรณกรรม งานศิลปกรรม งานดนตรีกรรม งานภาพยนตร์ เป็นต้น โดยไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น ซึ่งเกิดจากผลงานวิจัย ด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริม ววน. โดยมี หลักฐานอ้างอิงได้ การขึ้นทะเบียนพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ หมายถึง พันธุ์พืชหรือพันธุ์สัตว์ที่ เกิดจากงานวิจัย และจะต้องจดทะเบียน พันธุ์ใหม่โดยหน่วยงานที่มีหน้าที่ใน การรับจดทะเบียนพันธุ์ หรือหน่วยงานต้นสังกัดของนักวิจัย การอนุญาตให้ใช้สิทธิ หมายถึง การที่เจ้าของสิทธิอนุญาตให้ผู้ขอใช้สิทธิใดๆ ที่เกิดขึ้นจากงานวิจัย เช่น ผลิต / ขาย / ใช้ หรือมีไว้ โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงความเป็นเจ้าของสิทธทิ ั้งนี้เพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์เป็นหลัก โดยมีหลักฐานอ้างองได้ |
การถ่ายทอดเทคโนโลยี (Technology Transfer) | การนำเอาเทคโนโลยีหรือองค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัยและนวัตกรรมถ่ายทอดให้แก่ผู้ใช้ และเกิดการนำเอา ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ เพื่อขับเคลื่อนงานวิจัยไปสู่การขยายผลในเชิงพาณิชย์ โดยมีหลักฐานอา้ งอิงได้ |
ผลิตภัณฑ์และการบวนการ บริการ และการรับรองมาตรฐานใหม่ (New Products/Processes, New Services and New Standard Assurances) | ผลิตภัณฑ์และกระบวนการใหม่ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ ที่ได้ จากการวิจัย อาทิเช่น ผลิตภัณฑ์ทาง การแพทย์/ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวเนื่องกับ ซอฟต์แวร์และปัญญาประดิษฐ์/ผลิตภัณฑ์ด้านเทคนิคและเทคโนโลยี/ ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและอาหาร ผลิตภัณฑ์ด้านศิลปะและการ สร้างสรรค์รวมถึงกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ หรือการจัดการในรูปแบบ ใหม่ ซึ่งเป็นสิ่งใหม่หรือพัฒนาให้ดีขึ้นกว่าเดิมอย่างมีนัยสำคัญ นำไปใช้ ประโยชน์ได้ และสามารถก่อให้เกิดคุณค่าทางเศรษฐกิจและสังคม บริการใหม่ หมายถึง รูปแบบและวิธีการบริการใหม่ๆ ซึ่ง เป็นสิ่งใหม่หรือ พัฒนาให้ดีขึ้นกว่าเดิมอย่างมีนัยสำคัญ นำไปใช้ประโยชน์ได้ และสามารถ ก่อให้เกิดคุณค่าทาง เศรษฐกิจและสังคม การรับรองมาตรฐานใหม่ หมายถึง มาตรฐานที่พัฒนาขึ้นใหม่ และ/หรือ ศูนย์ทดสอบต่างๆ ที่ พัฒนาจนได้รับการรับรองมาตรฐาน เพื่อสร้าง ความสามารถทางด้านคุณภาพ ทั้งในระดับประเทศและ ต่างประเทศ และ สามารถก่อให้เกิดคุณค่าทางเศรษฐกิจและสังคม โดยมีหลักฐานอ้างอิงได้ |
ประเภทของผลลัพธ์ (Types of Outcomes) | คำจำกัดความ (Definition) |
ทุนวิจัยต่อยอด (Further funding) | ทุนที่นักวิจัยได้รับเงินอุดหนุนการวิจัยต่อยอดจากงานวิจัยเดิม ซึ่งเกิดจากการนำผลงานวิจัยที่ได้ของโครงการวิจัย เดิมมาเขียนเป็นข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับทุนวิจัยต่อยอดในโครงการใหม่ สิ่งสำคัญคือ การให้ข้อมูลเกี่ยวกับ แหล่งทุนและงบประมาณที่ได้รับจากโครงการทุนวิจัยต่อยอดใหม่ โดยมีหลักฐานอ้างอิงได้ |
ความร่วมมือหรือหุ้นส่วนความร่วมมือ (Collaborations and partnerships) | ความร่วมมือหรือหุ้นส่วนความร่วมมือที่เกิดขึ้นหลังจากโครงการวิจัยเสร็จสิ้น โดยเป็นความร่วมมือที่เกี่ยวข้อง โดยตรงหรืออาจจะทางอ้อมจากการดำเนินโครงการ ทั้งนี้สิ่งสำคัญคือ การระบุผลผลิต (output) ผลลัพธ์ (outcome) และผลกระทบ (impact) ที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือหรือหุ้นส่วนความร่วมมือนี้ โดยมีหลักฐาน อ้างอิงได้ |
การผลักดันนโยบาย แนวปฏิบัติ แผนและ กฎระเบียบ (Influence on policy, practice, plan and regulations) | การดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อขับเคลื่อนการนำผลงานวิจัยไปสู่การใช้ประโยชน์เชิงนโยบาย หรือเกิดแนว ปฏิบัติ แผนและกฎระเบียบต่างๆ ขึ้นใหม่ เพื่อให้เกิดผลลัพธ์และผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงในมิติต่างๆ ทาง เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และการเมืองการปกครอง ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศโดยรวม โดยมีหลักฐานอ้างองได้ ทั้งนี้ต้องไม่ใช่การดำเนินการที่ระบุไว้เป็นส่วนหนึ่งของแผนงานวิจัย |
กิจกรรมสร้างการมีส่วนร่วม (Engagement activities) | กิจกรรมที่หัวหน้าโครงการและ/หรือทีมวิจัย ได้สื่อสารผลงานดา้ นวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) กับ กลุ่มผู้เข้าร่วมกิจกรรม เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ และเป็นเส้นทางที่ส่งผลให้เกิดผล กระทบในวงกว้างต่อไป โดยมีหลักฐานอ้างอิงได้ ทั้งนกี้ ิจกรรมดังกล่าวต้องมใิ ช่กิจกรรมที่ได้ระบุไว้เป็นส่วน หนึ่งของแผนงานวิจัย |
4. ผลกระทบ (Expected Impacts) ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (ใ👉้แสดงใ👉้เ👉็นถึงผลกระทบ (impact) ในเชิงสังคม
👉รือเชิงเศรษฐศาสตร์ ที่เกิดขึ้นกับประเทศ ชุมชน สังคม 👉รือกลุ่มเป้า👉มาย ภาย👉ลังจากการนำองค์ความรู้ไปใช้ ประโยชน์ใ👉้เ👉็นอย่างชัดเจน เช่น มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น (ดีขึ้นอย่างไร), มีรายได้เพิ่มขึ้น (เพิ่มขึ้นเท่าไ👉ร่ เป็นบาท
👉รือร้อยละจากเดิม), มีอาชีพใ👉ม่และ/👉รืออาชีพเสริมของชุมชนเกิดขึ้นกี่อาชีพ อื่นๆ)
นิยามของผลกระทบ คือ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากผลลัพธ์ (outcome) ในวงกว้างทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม หรือผลสำเร็จระยะยาวที่เกิดขึ้นต่อเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของผลลัพธ์ โดยผ่านกระบวนการ การสร้างการมีส่วนร่วม (Engagement activities) และมีเส้นทางของผลกระทบ (impact pathway) ในการ ขับเคลื่อนไปสู่การสร้างผลกระทบ ทั้งนี้ ผลกระทบที่เกิดขึ้นจะพิจารณารวมผลกระทบในเชิงบวกและเชิงลบ ทางตรง และทางอ้อม ทั้งที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจให้เกิดขึ้น
🞎 ด้านวิชาการ
รายละเอียดผลกระทบ.............................................................................................................................
................................................................................................................................................................
🞎 ด้านสังคม
O ด้านสาธารณะ O ด้านชุมชนและพื้นที่ O ด้านสิ่งแวดล้อม
รายละเอียดผลกระทบด้านชุมชนและพื้นที่
เกิดการรวมกลุ่มของเกษตรกรผเู้ ลี้ยงปูนาอย่างมีระบบการบริหารจัดการกลุ่ม มีการทำ contact farming รายละเอียดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม เกษตรกรลดการใช้สารฆ่าหญ้าและสารฆ่าแมลงเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงปูนาในระบบธรรมชาติ ด้านนโยบาย
รายละเอียดผลกระทบ..การท่องเที่ยวกินปู ดูนา พาฟิน ดำเนินการจัดอย่างต่อเนื่อง ร่วมกับอบต.วิเชตนคร
🞎 ด้านเศรษฐกิจ
รายละเอียดผลกระทบ เกษตรกรมีรายได้เสริมจากการเลี้ยงปูนาและการเพิ่มมูลค่าสินค้าแปรรูป
ส่วนที่ 5 เอกสารแนบ
1. เอกสารแนบ (บังคับ)
- หลักฐานแสดงความจำนงร่วมมือดำเนินกิจกรรมร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่
- ประวัตินักวิจัย ที่ปรึกษาโครงการ และผู้ร่วมดำเนินการทุกท่าน
(แสดงสั้นๆ ใ👉้เ👉็นถึงประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับโครงการนี้)
ประวัติทีมวิจัย ประวัติ หัวหน้าโครงการวิจัย ผศ.ดร.นันทินา ดำรงวัฒนกูล
ชื่อ-สกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นันทินา ดำรงวัฒนกูล
Asst. Prof. Dr. Nanthina Damrongwattanagool
หมายเลขบัตรประชาชน 3-6399-00004-95-6
หน่วยงาน คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
ที่อยู่ 119 หมู่ 9 ถนนลำปาง – แม่ทะ ตำบลชมพู อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง 52100
วุฒิการศึกษา วทบ. (จลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุร
วทม. (วิทยาศาสตรการอาหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วทด. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตำแหน่งผู้บริหารจัดการงานวิจัย
ผู้ประสานงานโครงการ EnPUS ดำเนินการโดยสำนกงานกองทุนสนับสนุนการวจ ภัฏลำปาง ระยะเวลา สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ - ๒๕๕๐
ัย ร่วมกับ มหาวิทยาลัยราช
ผู้บริหารชุดโครงการ ABC-PUS/MAG โครงการ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ของประชาชนตำบลแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จงั หวัดลำปางดำเนินการโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ร่วมกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ระยะเวลา มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๒
รางวัลที่เคยได้รับ
รางวัลผลงานเด่น “การจัดการงานวิจัยเชิงพื้นที่” จากการประชุมวิชาการ “งานวิจัยเพื่อท้องถิ่นที่สนอง ยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ภาคเหนือ ครงั้ ที่ 4 โดยความร่วมมือระหว่างเครือข่ายมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือร่วมกบ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ผลงานวิจัยเด่นประจำปี พ.ศ. 2552 เรื่อง การพัฒนางานวิจัย และระบบบรหารจัดการ งานวิจัยของกลุ่ม
ราชภัฏ : ให้เป็นกลไกวิชาการเพื่อการพัฒนาพื้นที่ โดยสำนกงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ผลงานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์ (ไม่เกิน 5 ปี)
กระบวนการพัฒนาข้าวอัตลักษณ์ลําปางโดยการสร้างเสริมพลังการเรียนรู้เกษตรกร (ชาวนาอัจฉริยะ) ผ่าน
การวิจัยเชงิ ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม โครงการนี้ได้รบ (องค์การมหาชน) สัญญาทุน สวก.เลขที่ 06/2563
การสนับสนุนทุนวจ
ัยจาก สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร
บทความ (ไม่เกิน 5 ปี)
Nanthina Damrongwattanakool, Pongprad Soonthornpasuch, Suchat Kruangchai and Natcha Laokuldilok.Increasing. 2018. Increasing the sense of self-worth in the elderly through participation in community events that transmit local wisdom about food to younger generations in Lampang province, Thailand. 4 th Asiaengage Regional Conference. 26 – 28 November 2018 . Chiang Mai, Thailand. p.73
Laokuldilok, N. Surin, S. and Damrongwattanakool, N. (2021). Effect of using
riceberry flour and xanthan gum on physical properties and estimated glycemic index of steamed rice cakes: optimization by D-optimal mixture design approach. [Electronic version] J Food Sci Technol, Publish online 20 April 2021.
Chompoo, M. Damrongwattanakool, N. Raviyan, P. (2561). Properties of healthy oil formulated from red palm, rice bran and sesame oils. Songklanakarin J. Sci. Technol. 41 (2), Mar. - Apr. 2019. 450-458.
Chompoo, M. Damrongwattanakool, N. Raviyan, P. (2561). Effect of chemical degumming process on physicochemical properties of red palm oil. Songklanakarin J. Sci. Technol. 41 (2), Mar. - Apr. 2019.513-521.
นันทินา ดำรงวัฒนกูล, ณัฐฌา เหล่ากุลดิลก และศักดิ์สิทธิ์ คำหลวง. 2561. การสืบสานและการต่อยอดภูมิ ปัญญาอาหารท้องถิ่นด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชนตำบลแจ้ห่ม อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง. การประชุมวิชาการทาง วัฒนธรรมแห่งชาติวิจัยวัฒนธรรม ครั้งที่ 8“พลังสร้างสรรค์ในมิติวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9”ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพ. วันศุกร์ที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๑. กลุ่มวิจัย และพัฒนา กรมส่งเสริมวัฒนธรรม.
ณัฐฌา เหล่ากุลดิลก, สุวนันทร์ คำปัน, ธัญเรศ พรมอินทร์, นภาพันธ์ โชคอำนวยพร, นันทินา ดำรงวัฒนกูล. (2561). สภาวะที่เหมาะสมสำหรับการงอกของข้าวเหนียวพันธุ์ กข 6 และการประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์ข้างอบพอง. วารสารเกษตร Journal of Agriculture วารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ ม.เชียงใหม่. 297 - 309
ณัฐฌา เหล่ากุลดิลก พัชมน ปัญญาแก้ว ศจี แจ๋วภัคจิราวงศ์ และนันทินา ดำรงวัฒนกูล. (2558). การใช้ สเกลความพอดีในการปรับสูตรผลิตภัณฑ์ผงโรยข้าวน้ำพริกน้ำผัก. ใน: รายงานการประชุมวิชาการประจำปี 2558 มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 8-9 ธันวาคม 2558; ณ ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมนานาชาติมหาวิทยาลัยแม่โจ้. ๑๘๑-๑๘๙.
ชลธิชา มณีเชษฐา ณัฐฌา เหล่ากุลดิลก และนันทินา ดำรงวัฒนกูล.(2559). การพัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์ต้นแบบ ขนมจีนเสริมโปรตีนและธาตุเหล็กด้วยน้ำปู. วารสารเทคโนโลยีการอาหารมหาวิทยาลัยสยาม, 11(1): 67-76.
ประวัติ ผู้ร่วมวิจัย
1 รองศาสตราจารย์ ดร.พรชนก ทองลาด
1. ชื่อ - นามสกุล นางสาวพรชนก ทองลาด
ชื่อ - นามสกุล (ภาษาอังกฤษ) Miss.Pornchanok Tonglad
2. หมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน 3-3604-00745-42-1
3. ตำแหน่งปัจจุบัน หัวหน้าสำนักงานประสานงานบัณฑิตศึกษา
4. ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์
5. เวลาที่ใช้ทำวิจัย ( 15 ชั่วโมง : สัปดาห์)
6. หน่วยงานและสถานที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส (e-mail) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง อ.เมือง จ.ลำปาง 52100
หมายเลขโทรศัพท์ 097-9598103 อีเมลล์ iamnok119@gmail.com
7. สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ (แตกต่างจากวุฒิการศึกษา)
-การจัดการความรู้
-การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง
-การประยุกต์แนวคิดทางพุทธศาสนาในการบริหารธุรกิจ
ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง พ.ศ. 2550 (บริหารธุรกิจ)
ปริญญาโท บรหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิทยาลัยโยนก พ.ศ. 2541
(บริหารธุรกิจ)
ปริญญาตรี บรหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง พ.ศ. 2537
(การเงินและการธนาคาร)
ผลงานทางวิชาการ
รายงานวิจัย
พรชนก ทองลาด และคณะ(2561). “การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมกระบวนการพัฒนา คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ขององค์การบริหารส่วนตำบลแม่สัน อำเภอห้างฉัตร จังหวัด ลำปาง” ลำปาง : มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
บทความวิจัย
พรชนก ทองลาด.(2561).การเขียนบทความวิจัยเพื่อเผยแพร่ผลงาน...ทำได้อย่างไร ? .วารสาร ปัญญาภิวัฒน์.ปีที่10 ฉบับพิเศษ กรกฎาคม 2561 : 279-291.
สิงหา คำมูลตาและพรชนก ทองลาด. (2560). มาตรฐานการปฏิบัติงานส่งผลประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงานของผู้ทำบัญชีในเขตภาคเหนือตอนบน. วารสารวิชาการ Veridian E- Journal, Sitpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ. ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม –เมษายน 2560.
พรชนก ทองลาด, ณัฐนันท์ ฐิติยาปราโมทย์, สุขเกษม ลางคุลเสน, กาญจนา คุมา จีราภรณ์ พงศ์พันธุ์พัฒนะ,ปริยนุช ปัญญา, บัณฑิต บุษบา, ฐิฏิกานต์ สุริยสาร และสุธีรา ทิพย์ วิวัฒน์พจนา. (2559). หนทางการทำวิจัยทางการบัญชีให้สำเร็จและเป็นสุข.วารสาร ปัญญาภิวัฒน์. ปีที่9 ฉบับที่ 1(2560) มกราคม-เมษายน :135-148.
พรชนก ทองลาด และสุธีรา ทิพย์วิวัฒน์พจนา .(2558). โครงสร้างความสัมพันธ์ แนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียง การบริหารตน ต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของนักบัญชีในภาคเหนือตอนบน. วารสารวิชาการและวิจัยทางสังคมศาสตร์. ปีที่ 11 ฉบับที่31 มกราคม - มิถุนายน 2559 : 17-32.
พรชนก ทองลาด, ไพฑูรย์ อินต๊ะขัน และบัณฑิต บุษบา. (2557). ตัวแบบพฤติกรรมความ รับผิดชอบต่อสังคมของผู้ประกอบการไทย. วารสารวิชาการและวิจัยทาง สังคมศาสตร์. ปีที่ 10 ฉบับที่ 30 กันยายน-ธันวาคม 2558 : 49-66.
พรชนก ทองลาด, ไพฑูรย์ อินต๊ะขัน และบัณฑิต บุษบา. (2557). แนวทางการพัฒนาธุรกิจให้มี ความยั่งยืน ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของผู้ประกอบการ ในจังหวัดลำปาง ลำพูน และเชียงใหม่.วารสารสมาคมนักวิจัย. ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2559: 74-
87.
8. รางวัลผลงานวิจัยที่เคยได้รับ
8.1 พรชนก ทองลาด.(2550).อิทธิพลของพรหมวิหารธรรมที่มีต่อความพึงพอใจในการทำงานและ การปฎิบัติงานของพนักงานเซรามิก ในเขตภาคเหนือตอนบน . วารสารสมาคม นักวิจัย .12 (1) มกราคม-เมษายน 2550 : 28-41 .(รางวัลวิทยานิพนธ์ระดับชมเชย ด้านจิตพฤติกรรมศาสตร์ ของการวิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย สำนักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปี 2551)
8.2 พรชนก ทองลาด และคณะ .(2555).แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง องค์คุณของผู้ประกอบการที่มี ต่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน ของผู้ประกอบการในเขตภาคเหนือ.การประชุมวิชาการ การพัฒนาชนบทที่ยั่งยืน ประจำปี 2555:107-110 ,16-19 กุมภาพันธ์ 2555 (รางวัล บทความวิจัยระดับชมเชยด้านพัฒนบริหารศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ จากสถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประจำปี 2555 เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนา สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ครบรอบ 46 ปี )
8.3 พรชนก ทองลาด .(2555).ปัจจัยเชิงสาเหตุต่อพฤติกรรมการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีจรรยาบรรณ วิชาชีพบัญชี ของนักบัญชีในภาคเหนือตามรูปแบบทฤษีปฏิสัมพันธ์นิยม .วารสารพัฒ นบริหารศาสตร์NIDA Development Journal.ปีที่22 ฉบับที่ 1 : 67-99..(รางวัล บทความวิจัยระดับชมเชยด้านพัฒนบริหารศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ จากสถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประจำปี 2557 เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนา สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ครบรอบ 48 ปี)
8.4 พรชนก ทองลาด .(2561) “การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมกระบวนการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตผู้สูงอายุ ขององค์การบริหารส่วนตำบลแม่สัน อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง” ลำปาง : มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง (รางวัลนักวิจัยเชิงพื้นที่ที่มีผลงานวิจัยโดดเด่น ประเด็นสุขภาพชุมชน โดยชุมชน ภายใต้โครงการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการจัดการ ตนเองของชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยสำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สำนัก3 ) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏ ลำปาง วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2562)
2. ผศ.ดร.ณัฐฌา เหลากุลดิลก
1. ชื่อ-สกุล ภาษาไทย นางสาวณัฐฌา เหล่ากุลดิลก
2. ชื่อ-สกุล ภาษาอังกฤษ Miss Natcha Laokuldilok
3. ตำแหน่งปัจจุบัน ประธานสาขานวัตกรรมและธุรกิจอาหาร
เวลาที่ใช้ทำวิจัย 12 (ชั่วโมง: สปดาห)
4. หน่วยงาน/ภาควิชา คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง 119 หมู่ที่ 9 ถ.ลำปาง-แม่ทะ ต.ชมพู อ.เมือง จ.ลำปาง 52100 โทรศัพทที่ทำงาน 054317081
โทรสาร 054317081
เบอรมือถือ 081-5951110
5. ประวัติการศึกษา
ปริญญาเอก วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2558
ปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2552
ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (เทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์) พ.ศ. 2548
6. ผลงานทางวิชาการ รายงานวิจัย
ณัฐฌา เหล่ากุลดิลก และคณะ (2562). “การศึกษากระบวนการเร่งอายุการเก็บข้าวเหนียว กข 6 เพื่อ การผลิตข้าวแต๋นและการพัฒนาต้นแบบระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์แบบอัตโนมัติสำหรับบ่ม ข้าวในระดับโรงงานนำร่อง” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ภายใต้โครงการ การพัฒนาทุนทางสังคมสู่ความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานรากด้วยนวัตกรรม ประจำปี พ.ศ. 2561.
ณัฐฌา เหล่ากุลดิลก และคณะ (2562). “การพัฒนาขาเค็มพอกดินภูเขาไฟด้วยนวัตกรรม สู่ตลาด ใหม่” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ภายใต้โครงการ การ พัฒนาทุนทางสังคมสู่ความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานรากด้วยนวัตกรรม ประจำปี พ.ศ.2561.
บทความวิจัย
รัตนภัทร มะโนชัย นันทินา ดำรงวฒนกูล พงศ์นรินทร์ สุภาพันธ์ ศราวุธ มณีวงศ์ และ ณัฐฌา เหล่า
กุลดิลก. (2563). อิทธิพลของโซเดียมไดอะซเิ ตทและโพแทสเซียมซอร์เบทต่ออายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ ลูกชิ้น. การประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัย 9. วันที่ 23-24 มกราคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยพะเยา
จังหวัดพะเยา.
ณัฐฌา เหล่ากุลดิลก นภาพร ปันทอง สาริกา กิตติพนาไพร ทิพรัตน์ ติฆะปัญญา และ พรพิมล เตา คำ. (2562). การประยุกต์ใช้เทคนิคคลื่นอัลตราโซนิคสาหรับการดองไข่เค็มขมิ้น. การประชุมวิชาการ
ระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจำปี พ.ศ. 2562 “ท้องถิ่นก้าวไกล ด้วยวิจัยและวัตกรรม” 12 – 13 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
ณัฐฌา เหล่ากุลดิลก กาญจนา รัตนธีรวิเชียร ศรายุทธ มาลัย ณรงค์ คชภักดี และหฤทัย ไทยสุชาติ.
(2561). คุณสมบัติบางประการของดินภูเขาไฟจากอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง และผลของการผันแปร ความเข้มข้นเกลือและการกำจัดเชื้อในดินต่อคุณภาพไข่เค็มพอกดินภูเขาไฟ. การประชุมวิชาการระดับ นานาชาติ และระดับชาติ ราชภัฏวิจัย ครั้งที่ 5. วันที่ 2-5 ธันวาคม 2561 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. หน้า 174-183.
ณัฐฌา เหล่ากุลดิลก สุวนันท์ คำปัน ธัญเรศ พรมอินทร์ นภาพันธ์ โชคอำนวยพร และ นันทินา ดำรง วัฒนกูล. (2561). สภาวะที่เหมาะสมสาหรับการงอกของข้าวเหนียวพันธุ์ กข6 และการประยุกต์ใช้ใน
ผลิตภัณฑ์ข้าวอบพอง. วารสารเกษตร, 34(2), หน้า 297-309.
3. ดร. มยุรี ชมภู
1. ชื่อ - นามสกุลภาษาไทย นางสาวมยุรี ชมภู
ชื่อ – นามสกุลภาษาอังกฤษ Miss Mayuree Chompoo
2. ตำแหน่งปัจจุบัน อาจารย์
3. หน่วยงานและสถานที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก
สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัลำปาง สถานที่ติดต่อ 119 หมู่ 9 ถ.ลำปาง-แม่ทะ ต.ชมพู อ.เมือง จ.ลำปาง 52100
หมายเลขโทรศัพท์ 093-138-8282
4, ประวัติการศึกษาต้องระบุสถาบันการศึกษา สาขาวิชาและปีที่จบการศึกษา
ระดับ วุฒิ ปีที่สำเร็จการศึกษา สาขาวิชา สถาบันการศึกษา
ปริญญาตรี วท.บ.
ปริญญาโท วท.ม.
ปริญญาเอก วท.ด.
2552 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลล้านนาลำปาง 2554 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2561 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
5. สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ (แตกต่างจากวุฒิการศึกษา) ระบุสาขาวิชาการ การเพิ่มมูลค่าของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตอาหาร การแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ และการศึกษา อายุการเก็บ
6. ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ (โดยระบุ
สถานภาพในการทำการวิจัยว่าเป็นผู้อำนวยการแผนงานวิจัย หัวหน้าโครงการวิจัย หรือ ผ ร่วมวิจัยในแต่ละข้อเสนอการวิจัย)
6.1 หัวหน้าโครงการวิจัย
- โครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสข พื้นที่ 2560
ภาพจากเหดนางฟ้าและวัสดุเพาะเห็ดถั่งเช่า สกว.เชิง
- โครงการการเพิ่มศักยภาพของธุรกิจผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นด้วยนวัตกรรมด้านอาหารและบรรจุภัณฑ์ สกว.เชิงพื้นที่ 2561
- นวัตกรรมกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากไผ่และ ผ้าปักอัตลักษณ์ชุมชน เพื่อการท่องเที่ยวโดย ชุมชน : บ้านแม่แจ๋ม อำเภอเมืองปาน บ้านจำปุย อำเภอแม่เมาะ และบ้านโป่งน้ำร้อน อำเภอ เสริมงาม จังหวัดลำปาง สกว.เชิงพื้นที่ 2561
- นวัตกรรมแผ่นฟิล์มสมุนไพรละลายในปากเสริมสร้างรายได้สินค้าสุมนไพรของชุมชนแนวใหม่ อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง สกสว.2562
- การเพิ่มศักยภาพการผลตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์มะม่วงหยีด้วยนวัตกรรมด้านอาหาร และบรรจ ภัณฑ์ ภายใต้อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (STeP) ปี 2562
6.2 งานวิจัยที่ทำเสร็จแล้ว
- โครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสข พื้นที่ 2560
ภาพจากเหดนางฟ้าและวัสดุเพาะเห็ดถั่งเช่า สกว.เชิง
- โครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ไข่เค็มพอกดินภูเขาไฟ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ด้วย นวัตกรรมสู่ตลาดใหม่ สกว.เชิงพื้นที่ 2561
- โครงการธุรกิจผลิตภัณฑ์กราโนลาบาร์โปรตีนสูงจากจิ้งหรีด ปีงบประมาณ 2560 โครงการ Innovation Hub – Food & Agriculture: Start-up ภายใต้อุทยานวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ (STeP)
- โครงการการเพิ่มศักยภาพของธุรกิจผลิตภัณฑ์กราโนลาบาร์ผสมผงจิ้งหรีดด้วยนวัตกรรมด้าน อาหารและบรรจุภัณฑ์ ปีงบประมาณ 2560 โครงการการพัฒนา Tech-based Startup ภายใต้ อุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาคและเครือข่าย (TESNet) โดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- โครงการการพัฒนาชาเมล็ดลำไยผสมสมุนไพรจีนชนิดซองพร้อมชง ปีงบประมาณ 2560 โครงการ Talent Mobility ภายใต้อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (STeP)
- โครงการการเพิ่มศักยภาพของธุรกิจผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นด้วยนวัตกรรมด้านอาหารและบรรจุภัณฑ์ สกว.เชิงพื้นที่ 2561
- นวัตกรรมกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากไผ่และ ผ้าปักอัตลักษณ์ชุมชน เพื่อการท่องเที่ยวโดย ชุมชน : บ้านแม่แจ๋ม อำเภอเมืองปาน บ้านจำปุย อำเภอแม่เมาะ และบ้านโป่งน้ำร้อน อำเภอ เสริมงาม จังหวัดลำปาง สกว.เชิงพื้นที่ 2561
4. รศ. ดร. ปองปรารถน์ สุนทรเภสัช
1. ชื่อ – นามสกุลภาษาไทย นางปองปรารถน์ สุนทรเภสัช
2. ชื่อ – นามสกุลภาษาอังกฤษ Mrs. Pongprad Soonthornpasuch
3. ตำแหน่งปัจจุบัน อาจารย์ประจำสาขาวิชานิเทศศาสตร์
4. ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์
5. เวลาที่ใช้ทำวิจัย ( 15 ชั่วโมง : สัปดาห)์
6. หน่วยงานและสถานที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร และไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง อ.เมือง จ.ลำปาง 52100
หมายเลขโทรศัพท์ 095 449 8561 อีเมล: aj.pongprad@gmail.com
7. สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ (แตกต่างจากวุฒิการศึกษา)
- การสังเคราะหง์ านวิจัย
- การประชาสมพันธ์
8. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปรญญา (สาขาวิชา) ชื่อสถาบัน ปี พ.ศ. ที่จบ
ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สตรีและเพศสภาวะศกษา) มหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ พ.ศ. 2550
ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการการสอสาร) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีซิดนีย์ พ.ศ.
2541
ปริญญาตรี นิเทศศาสตรบัณฑิต (การโฆษณา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2532
9. ผลงานทางวิชาการ
9.1 รายงานวิจัย
- กระบวนการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้างเครือข่ายเยาวชนในการสืบทอดวัฒนธรรม (ผู้ร่วมวิจัย)
- การเล่าเรื่องอาหารท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมแหลง่ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม: กรณีศึกษาน้ำปูแจห คณะวิจัย
่ม (หัวหน้า
- บทบาทผส
ูงอายุกับการพัฒนาและสืบสานภูมิปญ
ญาอาหารท้องถิ่นสู่เยาวชนจงั หวัดลำปาง (ผู้ร่วมวิจัย)
- อัตลักษณ์อาหารพื้นบ้านภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน : บ้านแม่แจ๋ม บ้านจำปุย บ้านโป่งน้ำรอน จังหวัด
ลำปาง (ผู้ร่วมวจัย)
9.2 บทความวิจัย
ปองปรารถน์ สุนทรเภสัช. (2551). ความคาดหวังของสังคมต่อบทบาทของหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นในการส่งเสริมการ ปฏิรูปการศึกษา: ศึกษากรณีหนังสือพิมพท้องถิ่น อำเภอเมืองลำปาง จงั หวัดลำปาง. วารสารการวิจัยกาสะ
ลองคำ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. ปที่ 2 ฉบบที่ 1 ม.ค.-มิ.ย. 51. หน้า 17-29.
- 43 –
ปองปรารถน์ สุนทรเภสัช. (2555). ความรู้และการใช้ความรด้านกฎหมายและจริยธรรมสื่อมวลชนของนักหนังสือพิมพ
ท้องถิ่นจงั หวัดลำปาง. ราชภัฏเพชรบูรณ์สาร. ปีที่ 14 ฉบบ
95
ที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน 2555 หน้า 88-
บุษยกร ตีรพฤติกุลชัย, ประนอม วงศ์หมื่นรัตน์, ปองปรารถน์ สุนทรเภสัช และสุคนทิพย์ สุภาจันทร์. (2556).
กระบวนการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้างเครือข่ายเยาวชนในการสบทอดวัฒนธรรมท้องถิ่น.
วารสารวชาการ “วารสารศาสตร์” คณะวารสารศาสตร์และการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์. ฉบับ “หลากสำเนียง เสียงชายขอบ” ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-เมษายน 2556
ปองปรารถน์ สุนทเภสัช, กิติวัฒน์ กิติบุตร และกนกพร เอกกะสินสกุล. (2561). การเล่าเรื่องอาหารท้องถิ่นเพื่อ
ส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวเชิงวฒ
นธรรม: กรณีศึกษาน้ำปูแจ้หม
. การเล่าเรื่องอาหารท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมแหล่ง
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม: กรณีศึกษาน้ำปูแจห้ มกราคม – มิถุนายน 2561. หน้า 192-213.
2. เอกสารแนบ (ไม่บังคับ)
- คู่มือองค์ความรู้
- หนังสือนำส่ง
่ม. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1
หมายเหตุ : สำหรับโครงการที่ผ่านการพิจารณาและได้รับการจัดสรรงบประมาณ ต้องตอบแบบสอบถามเก็บ รวบรวมข้อมูลจากผู้ถ่ายทอดผลงานวิจัย (supply side) เพื่อประเมินผลโครงการ ทั้งก่อนและหลัง ดำเนินโครงการ
ผนวก 3
งบประมาณแผนงาน/โครงการวิจัย ที่ได้รับอนุมัติทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรม และการแบ่งจ่ายงวดเงิน
1. งบประมาณการวิจัยที่ได้รับอนุมัติทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรม
1.1 ชื่อแผนงาน/โครงการวิจัย การยกระดับมาตรฐานสินค้าปูนาตลอดห่วงโซ่อุปทานเพื่อขับเคลอน
เศรษฐกิจชุมชน อำเภอแจ้หม
1.2 ประจำปี 2566
จังหวัดลำปาง
1.3 หัวหน้าแผนงาน/โครงการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทินา ดำรงวฒนกูล
1.4 งบประมาณที่ได้รับอนุมัติ 580,000 (ห้าแสนแปดหมื่นบาทถ้วน)
- งบประมาณ วช. 580,000 บาท (ห้าแสนแปดหมื่นบาทถวน)
จำแนกได้ ดังนี้
1) ค่าตอบแทนนักวิจัย รวมจำนวน 30,000 บาท
2) ค่าใช้จา่ ยในการดำเนินงาน (ค่าจ้าง ค่าใช้สอย ค่าวส
3) ค่าครุภัณฑ์ รวมจำนวน - บาท ดังนี้
4) ค่าสงิ่ ก่อสร้าง - บาท
ดุ และอื่น ๆ) รวมจำนวน 492,000 บาท
5) ค่าธรรมเนียมอุดหนุนสถาบัน รวมจำนวน 58,000 บาท
หมายเหตุ : 1. สามารถถัวจ่ายงบประมาณได้ ยกเว้นค่าตอบแทนนักวิจัย และค่าครุภัณฑ์
2. ค่าธรรมเนียมอุดหนุนสถาบัน (ถ้ามี) ให้ผู้รับทุนเบิกจ่ายเมื่อร่างรายงาน การวิจัยและนวัตกรรมฉบับสมบูรณ์ได้รับความเห็นชอบแล้ว ตามงบประมาณที่ วช. อนุมัติ
2. การแบ่งจ่ายงวดเงิน
ในการเบิกจ่ายเงินทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรม ผู้รับทุนจะต้องขอเบิกค่าใช้จ่ายตาม แผนงานโครงการที่ได้รับทุนเป็นงวดๆ ตามกำหนดเวลาดังต่อไปนี้
- งบประมาณ วช จำนวน 580,000 บาท (ห้าแสนแปดหมื่นบาทถ้วน)
งวดที่ (1) เป็นเงิน 174,000 บาท (หนึ่งแสนเจ็ดหมื่นสี่พันบาทถ้วน) โดยหักเงินประกันผลงาน 8,700 บาท (แปดพันเจ็ดร้อยบาทถ้วน) คงเหลือเบิกจ่ายเป็นจำนวนเงิน 165,300 บาท (หนึ่งแสนหกหมื่นห้าพัน สามร้อยบาทถ้วน) เมื่อผู้รับทุนส่งรายงานการวิจัยและนวัตกรรมเบื้องต้น (Inception Report) (ภาษาไทย) ภายใน 15 วัน นับแต่วันลงนามในสัญญานี้ และนำเข้าข้อมูลในระบบ NRIIS
งวดที่ (2) เป็นเงิน 174,000 บาท (หนึ่งแสนเจ็ดหมื่นสี่พันบาทถ้วน) โดยหักเงินประกันผลงาน 8,700 บาท (แปดพันเจ็ดร้อยบาทถ้วน) คงเหลือเบิกจ่ายเป็นจำนวนเงิน 165,300 บาท (หนึ่งแสนหกหมื่นห้าพัน สามร้อยบาทถ้วน) เมื่อผู้รับทุนส่งงาน ดังนี้ รายงานความก้าวหน้าการวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 1 และ (ร่าง) คู่มือ องค์ความรู้หรือเทคโนโลยีเพื่อการใช้ประโยชน์จริง จำนวน 8 ชุด ให้ วช. พร้อมทั้งกรอกข้อมูลรายงาน ความก้าวหน้าการวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 1 และคู่มือองค์ความรู้ฯ ในรูปแบบไฟล์ Microsoft Word และ PDF/Adobe Acrobat และนำเข้าข้อมูลในระบบ NRIIS ให้แล้วเสร็จภายใน 4 เดือน นับจากวันลงนามในสัญญา รับทุนฯ
งวดที่ (3) เป็นเงิน 116,000 บาท (หนึ่งแสนหนึ่งหมื่นหกพันบาทถ้วน) โดยหักเงินประกันผลงาน 5,800 บาท (ห้าพันแปดร้อยบาทถ้วน) คงเหลือเบิกจายเปนจำนวนเงิน 110,200 บาท (หนึ่งแสนหนึ่งหมื่นสองร้อย บาทถ้วน) เมื่อผู้รับทุนส่งงาน ดังนี้ รายงานความก้าวหน้าการวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 2 และ (ร่าง) คู่มือ องค์ความรู้หรือเทคโนโลยีเพื่อการใช้ประโยชน์จริง จำนวน 8 ชุด ให้ วช. พร้อมทั้งกรอกข้อมูลรายงาน ความก้าวหน้าการวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 2 และคู่มือองค์ความรู้ฯ ในรูปแบบไฟล์ Microsoft Word และ PDF/Adobe Acrobat และนำเข้าข้อมูลในระบบ NRIIS ให้แล้วเสร็จภายใน 8 เดือน นับจากวันลงนามในสัญญา รับทุนฯ
งวดที่ (4) เป็นเงิน 116,000 บาท (หนึ่งแสนหนึ่งหมื่นหกพันบาทถ้วน) โดยหักเงินประกันผลงาน 5,800 บาท (ห้าพันแปดร้อยบาทถ้วน) คงเหลือเบิกจายเปนจำนวนเงิน 110,200 บาท (หนึ่งแสนหนึ่งหมื่นสองร้อย บาทถ้วน) เมื่อผู้รับทุนส่งงาน ดังนี้ (ร่าง) รายงานการวิจัยและนวัตกรรมฉบับสมบูรณ์ และ (ร่าง) คู่มือองค์ความรู้ หรือเทคโนโลยีเพื่อการใช้ประโยชน์จริง จำนวน 8 ชุด ให้ วช. พร้อมทั้งกรอกข้อมูล (ร่าง) รายงานการวิจัยและ นวัตกรรมฉบับสมบูรณ์ และคู่มือองค์ความรู้ฯ ในรูปแบบไฟล์ Microsoft Word และ PDF/Adobe Acrobat และนำเข้าข้อมูลในระบบ NRIIS ให้แล้วเสร็จภายใน 11 เดือน นับจากวันลงนามในสัญญารับทุนฯ
โดยให้ผู้รับทุนเบิกจ่ายงบประมาณค่าธรรมเนียมอุดหนุนสถาบัน (Overhead) ไม่เกินร้อยละ 10
งวดที่ (5) ผู้ให้ทุนจะจ่ายเงินประกันผลงานทั้งสิ้นที่ได้หักไว้ร้อยละห้า (5%) เป็นจำนวนเงินรวม ทั้งหมด 29,000 บาท (สองหมื่นเก้าพันบาทถ้วน) เมื่อผู้รับทุนส่งงาน ดังนี้ รายงานการวิจัยและนวัตกรรมฉบับ
สมบูรณ์ 5 เล่ม และคู่มือองค์ความรู้หรือเทคโนโลยีเพื่อการใช้ประโยชน์จรง จำนวน 10 ชุด ให้ วช. พร้อมทั้งกรอก
ข้อมูล รายงานการวิจัยและนวัตกรรมฉบับสมบูรณ์ และคู่มือองค์ความรู้ฯ ในรูปแบบไฟล์ Microsoft Word และ PDF/Adobe Acrobat และนำเข้าข้อมูลในระบบ NRIIS ให้แล้วเสร็จภายใน 12 เดือน นับจากวันลงนามในสัญญา รับทุนฯ
3. การจัดซื้อและกรรมสิทธิ์ในครุภัณฑ์ที่จัดซื้อโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรม
3.1 ต้องดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหาร พัสดุ ภาครัฐ พ.ศ. 2560 ยกเว้น เข้าเงื่อนไขของกรมบัญชีกลางที่กำหนดให้มิต้องดำเนินการตามพระราชบัญญัติ จัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
4. การใช้จ่ายเงิน ผู้วิจัยหรือผู้รับทุนต้องมีหลักฐานการใช้จ่ายเงินและจัดเก็บไว้ เพื่อให้สำนักงานตรวจเงิน
แผ่นดินตรวจสอบ
แบบรายงานการวิจัยและนวัตกรรม (Inception Report)
ชื่อกิจกรรม (ภาษาไทย) การยกระดับมาตรฐานสินค้าปูนาตลอดห่วงโซ่อุปทานเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน อำเภอแจ้ห่มจังหวัดลำปาง
(ภาษาอังกฤษ) Raising the standards of crab products throughout the supply chain to drive the community economy ได้รับทุนอุดหนุนการทำกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปี
จำนวน 580,000 บาท ระยะเวลาดำเนินกิจกรรม 12 เดือน เริ่มทำการวิจัยเมื่อ (เดือน, ปี) 2566 รายงานการทำกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมเบื้องต้น (Inception Report) ระหว่าง (เดือน, ปี) กุมภาพันธ์ 2566 ถึง (เดือน, ปี) กุมภาพันธ์ 2567 . รายนามหัวหน้ากิจกรรม และผู้ร่วมกิจกรรม พร้อมทั้งหน่วยงานที่สังกัดและรายละเอียดการติดต่อ (ที่อยู่/โทรศัพท์/โทรสาร/e-mail)
1.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นันทินา ดำรงวัฒนกูล ที่อยู่ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง อ. เมือง จ.ลำปาง 52100 โทรศัพท์ 089-6362356 e-mail nanthinap@live.com
2.รองศาสตราจารย์ ดร.พรชนก ทองลาด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง อ.เมือง จ.ลำปาง
52100 โทรศัพท์ 097-9598103 e-mail iamnok119@gmail.com
3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐฌา เหล่ากุลดิลก ที่อยู่ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง อ. เมือง จ.ลำปาง 52100 โทรศัพท์ 081-5951110 e-mail nutchahula@gmail.com
4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มยุรี ชมภู ที่อยู่ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง อ.เมือง จ. ลำปาง 52100 โทรศัพท์ 093-138-8282 e-mail cmyuree@gmail.com
5. รองศาสตราจารย์ ดร. ปองปรารถน์ สุนทรเภสัช ที่อยู่ สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง อ.เมือง จ.ลำปาง 52100 โทรศัพท์ 095-449 8561 e-mail aj.pongprad@gmail.com
1. หลักการและเหตุผล
อำเภอแจ้ห่มเป็นหนึ่งใน 13 อำเภอของจังหวัดลำปางที่มีเอกลักษณ์วัฒนธรรมอาหารท้องถิ่นที่ชัดเจน มี การสืบทอดการผลิต “น้ำปู” เป็นผลิตภัณฑ์อาหารที่ขึ้นชื่อของท้องถิ่นมาช้านาน มีลักษณะกึ่งแข็งกึ่งเหลว สีดำ มี กลิ่นหอมของปูและใช้สมุนไพรเป็นส่วนผสม นิยมบริโภคในแถบภาคเหนือของประเทศไทยใช้เป็นเครื่องปรุงรสใน อาหารบางอย่างเช่นเดียวกับกะปิ เป็นอาหารที่ขึ้นชื่อของคนภาคเหนือมาช้านานมีการผลิตในหลายท้องที่ ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ ลำพูน พะเยา แพร่ และลำปาง แต่น้ำปูที่มีชื่อเสียงคือน้ำปูของอำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง ซึ่ง สะท้อนให้เห็นจากคำขวัญของอำเภอแจ้ห่มที่ว่า “พระยาคำลือคู่บ้าน มะขามหวานคู่เมือง เงาพระธาตุลือเลื่อง เมืองน้ำปูดี” จากการตรวจสอบคุณค่าทางโภชนาการพบว่าน้ำปูเป็นผลิตภัณฑ์อาหารที่มีปริมาณโปรตีนสูงถึงร้อย ละ 30 โดยในน้ำปู 100 กรัม มีกรดอะมิโนที่สำคัญ และมีปริมาณธาตุเหล็กสูงร้อยละ 0.19 ซึ่งเมื่อบริโภคน้ำปู 1
กรัมคิดเป็นปริมาณธาตุเหล็กที่แนะนำให้บริโภคต่อวันถึงร้อยละ 12.7 จึงกล่าวได้ว่า น้ำปูเป็นผลิตภัณฑ์อาหาร ท้องถิ่นที่เป็นแหล่งของธาตุเหล็กเหมาะสมต่อการส่งเสริมเพื่อบริโภค (ชลธิชา และนันทินา, 2558) วัฒนธรรมการ บริโภคปูนาหรือการแปรรูปปูนาเป็นผลิตภัณฑ์น้ำปูนั้นสอดคล้องกับวัฒนธรรมการเพาะปลูก เนื่องจากปูนาถูกจัดว่า เป็นศัตรูข้าวสามารถทำลายโดยการกัดกินต้นข้าวในระยะที่เป็นต้นกล้ารวมถึงเจาะรูอาศัยอยู่บริเวณคันนาทำให้คัน นาเสียหายดังนั้นเกษตรกรผู้ปลูกข้าวจึงจับปูนามาบริโภคและแปรรูป ซึ่งปูนาที่ได้รับความนิยมในการนำมาบริโภค หรือแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์น้ำปูคือปูนาพื้นเมืองที่มีขนาดเล็ก มีกระดองและคีมไม่แข็งสามารถนำมาตำหรือบดให้ ละเอียดได้ง่าย ในช่วงต้นของฤดูทำนาประมาณเดือนสิงหาคมจะเป็นช่วงที่ปูนาชุกชุม ชาวบ้านจะไปเก็บปูมาบริโภค และแปรรูป โดยจะเก็บปูทุกขนาดดังนั้นโอกาสในการแพร่ขยายพันธุ์ของปูนาจึงลดลงเรื่อย ๆ นอกจากนี้รูปแบบ การทำนาที่มีการใช้เครื่องจักรกลขนาดใหญ่ การใช้สารเคมีเพื่อกำจัดศัตรูพืช เหล่านี้ล้วนทำให้ประชากรปูนา พื้นเมืองลดลง ในอดีตกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำผัก-น้ำปูหมู่ 8 บ้านหนองนาว-บ้านเด่น มีกำลังการผลิตน้ำปูจำนวน 300 กระปุกต่อปี กระปุกละ 100 กรัมคิดเป็นน้ำปูที่ใช้ 30,000 กรัม หรือ 30 กิโลกรัมต่อปี น้ำปู 1 กิโลกรัม ผลิต จากปูจำนวน 10 กิโลกรัม ดังนั้นกำลังความต้องการปูต่อปีอยู่ที่ 300 กิโลกรัม ซึ่งในอดีตการหาวัตถุดิบคือปูนา เพื่อนำมาแปรรูปเป็นน้ำปูนั้นสามารถหาเก็บได้จากแปลงนาในธรรมชาติ แต่ในระยะหลัง ๆ ปูนาหาได้ยากขึ้น เนื่องจากสาเหตุที่ได้กล่าวไปข้างต้น การแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์น้ำปูหากสามารถเก็บปูจากแปลงนาและนำมาแปรรูป จำหน่ายจะลดต้นทุนของวัตถุดิบได้เกือบทั้งหมด แต่ปัจจุบันเมื่อประชากรปูนาลดจำนวนลงทำให้กลุ่มผู้ผลิตน้ำปู ต้องซื้อปูนาในราคากิโลกรัมละ 50-80 บาท เมื่อนำมาคำนวณต้นทุนการผลิตแล้วจะได้ค่าตอบแทนต่ำมาก จาก สาเหตุที่ปูนาในธรรมชาติลดลงกระทบต่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิ่นจึงมีการศึกษาหาวิธีการเลี้ยงปูนาใน บ่อซีเมนต์เลียนแบบสภาพธรรมชาติ ซึ่งพบว่า ปูนาพื้นเมืองของแจ้ห่มสามารถนำมาเลี้ยงได้โดยหากใช้สัดส่วนของ ปูนาเพศผู้ต่อเพศเมีย 25:100 จะให้จำนวนประชากรลูกปูนาสูงกว่าการใช้สัดส่วน 25:50 (จำเนียร, 2559) และ นอกจากนี้ยังพบว่า การนำแม่พันธุ์ที่มีไข่ในท้องมาปล่อยในบ่อเลี้ยงจะทำให้มีประชากรลูกปูนามากกว่าการอนุบาล ลูกปูในบ่ออนุบาลแล้วย้ายลงบ่อเลี้ยง (ทนุชล และจำเนียร, 2561) จากผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าปูนาสามารถ นำมาเลี้ยงโดยเลียนแบบสภาพธรรมชาติและสามารถส่งเสริมเป็นอาชีพให้กับชุมชนได้ แต่อย่างไรก็ตามเมื่อคำนวณ ถึงปริมาณความต้องการปูนาเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์น้ำปูแล้ว การเลี้ยงในบ่อขนาด 12 ตารางเมตร จะให้ผลผลิตเฉลี่ยเพียง 5 กิโลกรัมเท่านั้น ซี่งหากเทียบกับการผลิตน้ำปูปีละ 30 กิโลกรัม จะต้องใช้ปู 300 กิโลกรัม ดังนั้น จึงต้องใช้จำนวนบ่อประมาณ 60 บ่อ จึงจะผลิตได้เพียงพอกับความต้องการ
เมื่อนำผลิตภัณฑ์น้ำปูของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำผัก - น้ำปู ในตำบลแจ้ห่มมาตรวจวัดมาตรฐานจุลินทรีย์
อ้างอิงมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน น้ำปู มผช.674/2547 พบว่า มีปริมาณจุลินทรีย์ทั้งหมดเกินมาตรฐาน ( 2*104 cfu/g ) และเชื้อราเกินมาตรฐาน 1*102 cfu/g (<1*10 2cfu/g) ซึ่งมาตรฐานกำหนดให้มีปริมาณ <1*104 cfu/g และ <1*10 2cfu/g ตามลำดับ (นันทินา และคณะ, 2559) แม้ว่าสมาชิกกลุ่มจะได้รับองค์ความรู้ และ รับทราบ มาตรฐานการผลิตจากคณะผู้วิจัยในโครงการ การสร้างมาตรฐานกระบวนการผลิตอาหารท้องถิ่นในเขตตำบลแจ้ห่ม อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปางแล้ว แต่ยังไม่สามารถดำเนินการในสถานที่ที่มีมาตรฐานได้ ซึ่ งส่งผลต่อการควบคุม คุณภาพสินค้าทั้งด้านความสะอาด และความสม่ำเสมอของมาตรฐานการผลิต
รูปที่ 1 การปนเปื้อนเชื้อราที่เกิดขึ้นในผลิตภัณฑ์น้ำปูที่ขาดการควบคุมคุณภาพระหว่างกระบวนการผลิต
ด้วยการตระหนักเห็นถึงความปลอดภัยของอาหารท้องถิ่น และความต้องการวัตถุดิบปูนาจากธรรมชาติ ที่ ต้องการสืบสานวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่นให้คงอยู่ และสร้างจุดเด่น โชว์จุดขาย อาหารท้องถิ่นประจำอำเภอแจ้ห่ม ทางคณะเทคโนโลยีการเกษตรได้เสนอโครงการ การสร้างรายได้เสริมจากการเลี้ยงปูนาและการเพิ่มมูลค่าสินค้า แปรรูปจากปูนา เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยววัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น จังหวัดลำปาง เพื่อขอรับงบประมาณ พัฒนาจังหวัดลำปางประจำปี 2563 ซึ่งมีสำนักงานประมงจังหวัดลำปาง เป็นผู้ดำเนินงานในโครงการ เกิดการ ทำงานแบบบูรณาการระหว่างหน่วยงานภาครัฐ โดยเฉพาะสำนักงานประมงจังหวัด และคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ผลการดำเนินงานจากโครงการนี้ ได้ขยายผลเกษตรกรผู้เลี้ยงปูนาทั้งหมด 13 อำเภอ รวม 200 ราย และเครือข่ายเกษตรกรต้นแบบผู้เลี้ยงปูนาในอำเภอแจ้ห่ม 40 ราย แต่องค์ความรู้ที่เผยแพร่กับ เกษตรกรในโครงการเกิดจากการประมวลที่ไม่เป็นระบบ และเป็นข้อมูลจากการสังเกตจากการเลี้ยง ขาดการพิสูจน์ เปรียบเทียบด้วยข้อมูลเชิงสถิติ องค์ความรู้การเลี้ยงปูนานี้ควรได้รับการจัดการความรู้เพื่อให้เป็นชุดคู่มือมาตรฐาน การเลี้ยงปูนาอย่างมีระบบ ปัจจุบันเกษตรกรเลี้ยงปูนาใน 2 ระบบ ได้แก่ การเลี้ยงในบ่อซีเมนต์ (รูปที่ 2) และการ เลี้ยงในแปลงนาตามธรรมชาติ (รูปที่ 3) อย่างไรก็ตามโครงการนี้ได้ให้องค์ความรู้การแปรรูปปูนาเป็นผลิตภัณฑ์ อาหารที่ขายได้ในชุมชน เช่น ผลิตภัณฑ์ปูกรอบสามรส ผลิตภัณฑ์ปูดองน้ำปลาหวาน ผลิตภัณฑ์อ่องมันปูสมุนไพร (อ่องมันปูทรงเครื่อง) ผลิตภัณฑ์น้ำพริกปูเปรี้ยวหวาน ผลิตภัณฑ์ปูกรอบซอสกะเพรา ผลิตภัณฑ์ขนมจีนน้ำยาปู ผลิตภัณฑ์ส้มตำสมุนไพรปูนาทอดกรอบ (รูปที่ 4) เป็นต้น เกษตรกรสามารถสร้างรายได้ได้มากขึ้นจากการ เพาะเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ปูนา โดยได้ราคาคู่ละ 50 บาท ขายปูนาได้กิโลกรัมละ 80 บาท และสามารถสร้างรายได้จาก องค์ความรู้การแปรรูปที่ได้รับการอบรม หากผลิตภัณฑ์แปรรูปต่างๆ ได้รับการยกระดับการผลิตให้เข้าสู่มาตรฐาน การผลิต GMP ผู้บริโภคมั่นใจได้ว่าปลอดภัย และมีนวัตกรรมการแปรรูปสินค้าปูนาใหม่ๆเพื่อยืดอายุการเก็บรักษา ของผลิตภัณฑ์ เป็นสินค้าของฝากจากชุมชน ก็ยิ่งส่งผลให้ชุมชนสามารถสร้างรายได้มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้โครงการ ดังกล่าวยังมีภาคเอกชนในชุมชน ได้เข้ามาร่วมสนับสนุน ได้แก่ ร้านอาหารแอ่วอิ่ม และร้านอาหารฮักหนา ซึ่งเป็น ร้านอาหารรับรองแขกของอำเภอแจ้ห่ม เป็นโฮมสเตย์แนะนำของอำเภอ (รูปที่ 5) และมีผู้ประกอบการ “ฮักกัญ หนา” พร้อมร่วมพัฒนาสถานที่ผลิตสินค้าแปรรูปปูนาเข้าสู่มาตรฐาน GMP และสร้างมาตรฐานสินค้าแปรรูปปูนา
ให้เป็นที่รู้จักแก่นักท่องเที่ยว ทั้งการขายในระบบออฟไลน์ และออนไลน์ ดังนั้นการจัดการความรู้วิธีการเลี้ยงปู นาของกลุ่มเกษตรกรในอำเภอแจ้ห่ม จะเป็นการตกผลึกความรู้ที่เกษตรกรได้ทดลองเลี้ยงมาแล้วอย่างน้อย 2 ฤดู ซึ่งผลการเลี้ยงปูนายังส่งผลต่อการลดลงของพาราควอต (Paraquat) ในผลิตภัณฑ์น้ำปู พาราควอตเป็นสารเคมี กำจัดวัชพืช หรือยาฆ่าหญ้าที่นิยมใช้ โดยมีพิษเฉียบพลัน ทำให้ผู้สัมผัสเป็นแผลพุพอง ไม่อยากอาหาร ปวดท้อง กระหายน้ำ หายใจลําบากแบบเฉียบพลัน หายใจสั่น คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ในปี 2564 ได้มีการนำผลิตภัณฑ์ น้ำปู ที่เก็บจากธรรมชาติมาแปรรูป พบว่า ตรวจพบพาราควอต ในผลิตภัณฑ์น้ำปู 0.24 mg/kg และเมื่อนำปูที่ เลี้ยงในบ่อระบบธรรมชาติจากการเริ่มต้นเลี้ยงด้วยพ่อแม่พันธุ์ปูจากนาธรรมชาติ 1 ฤดูกาลไปผลิตเป็นน้ำปูและ นำไปตรวจพาราควอตพบว่า มีพาราควอตในผลิตภัณฑ์น้ำปู 0.17 mg/kg ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 419) พ.ศ. 2563 เรื่อง อาหารที่มีสารพิษตกค้าง (ฉบับที่ ๓) กำหนดให้พบพาราควอตในเนื้อสัตว์ นม ไข่ ได้ ไม่เกิน 0.005mg/kg จะเห็นได้ว่า หากมีการเลี้ยงปูนาในบ่อเลียนแบบระบบธรรมชาติที่ปราศจากสารกำจัด วัชพืช จะส่งผลต่อความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปูนา และส่งผลต่อความปลอดภัยของผู้บริโภค นอกจากนี้เทคโนโลยีการแปรรูปเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์แปรรูปปูนาและมาตรฐานการผลิต GMP ยัง สามารถสร้างโอกาสทางการตลาดให้กับสินค้าปูนาในช่องทางการจัดจำหน่ายอื่นๆได้อีกด้วย
รูปที่ 2 รูปแบบการเลี้ยงในบ่อซีเมนต์ของเกษตรกร
รูปที่ 3 ลักษณะการล้อมกระเบื้องบนคันนาสำหรับเตรียมเลี้ยงปูนาในธรรมชาติ
รูปที่ 4 ผลิตภัณฑ์แปรรูป และการตอบรับจากตลาดสินค้าแปรรูป
รูปที่ 5 สถานที่โฮมสเตย์แอ่วอิ่ม และขัวแตะเดินดูปูนา
รูปที่ 6 กิจกรรมในโครงการ การสร้างรายได้เสริมจากการเลี้ยงปูนาและการเพิ่มมูลค่าสินค้าแปรรูปจากปูนา เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยววัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น จังหวัดลำปาง ประกอบด้วย 1.การขยายผลการเลี้ยงปูนาให้กับเกษตรกรที่สนใจ
2. ควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์น้ำปู และการพัฒนาอาหารแปรรูปจากปูนา และการสร้างแบรนด์สินค้า
3. สร้างอัตลักษณ์การท่องเที่ยวเกษตรแนวใหม่บูรณาการวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่นจังหวัดลำปาง
2. วัตถุประสงค์ (เป้าหมายการดำเนินการวิจัย)
จากความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา นำไปสู่วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย โดยเน้นการวิจัยเชิง ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR) ดังนี้
1. เพื่อขยายองค์ความรู้การเลี้ยงปูนาที่ปลอดภัยจากสารกำจัดวัชพืชให้เพียงพอต่อความต้องการเพื่อ สร้างอัตลักษณ์วัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น
2. เพื่อยกระดับมาตรฐานการแปรรูปสินค้าปูนาเพิ่มโอกาสทางการตลาดทั้งออฟไลน์และออนไลน
3. ขอบเขตของการศึกษา
- ขอบเขตพื้นที่ อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง
- องค์ความรู้สู่พื้นที่เป้าหมาย คือ
(1) เทคนิคการเลี้ยงปูนารูปแบบนาอินทรีย์ และรูปแบบบ่อเลียนแบบธรรมชาติ
(2) การผลิตน้ำหมักจากกากเหลือทิ้งจากการแปรรูปน้ำปูเพื่อใช้ในการปลูกข้าวแบบอินทรีย์
(3) การแปรรูปผลิตภัณฑ์ปูนาอย่างมีมาตรฐานการผลิต GMP
(4) การใช้ Hurdle Technology ในการยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์แปรรูปปูนา
(5) Signature Menu ปูนา เชื่อมโยงกับสถานที่ท่องเที่ยวในอำเภอแจ้ห่ม และแหล่งกินปู ดูนา พาฟิน อำเภอแจ้ห่ม
4.แผนการดำเนินงาน/ปฏิบัติงานอย่างละเอียด พร้อมผลผลิตนำส่ง (Gantt Chart) (ระยะเวลาดำเนินการทุก กิจกรรม, ระยะเวลาการเก็บข้อมูล, ระยะเวลาการส่งรายงาน)
แผนงานวิจัย | ช่วงระยะเวลาในการด˚าเนินงาน | |||||||||||
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | |
1.การวางแผน โดยประชุมการทำงาน ร่วมกันกับภาคีที่เกี่ยวข้อง | ||||||||||||
2.รวบรวม เรียบเรียง จัดระบบข้อมูล จากเกษตรกรต้นแบบอย่างน้อย 4 ราย จาก 2 รูปแบบการเลี้ยงได้แก่ การเลี้ยงปู นารูปแบบนาอินทรีย์ และรูปแบบบ่อ เลียนแบบธรรมชาติ เพื่อวิเคราะห์วิธีการ เลี้ยงที่ให้อัตราการรอดสูง | ||||||||||||
3. คัดเลือกเกษตรกรผู้เลี้ยงปูนาจำนวน 10 รายไปร่วมศึกษาดูงานการเลี้ยงปูนา ณ สุโขทัยฟาร์มปูนาออร์แกนิค จังหวัด สุโขทัย เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เทคนิคการ เลี้ยงเพื่อส่งเสริมให้อัตราการรอดที่สูงขึ้น | ||||||||||||
4. จัดเวทีการสะท้อนกลับข้อมูล เพื่อ เรียบเรียงถ่ายทอดผ่านสื่อดิจิทัล | ||||||||||||
5. อบรมขยายผลให้กับเครือข่ายผู้เลี้ยงที่ สนใจ รวมถึงประชาชนทั่วไปที่สนใจ อย่างน้อย 50 รายโดยจัดเป็นหลักสูตร ระยะสั้นจากเกษตรกรต้นแบบในชุมชน | ||||||||||||
6. กระบวนการพัฒนาและปรับปรุง สถานที่แปรรูปปูนา ให้มีมาตรฐานตาม ข้อกำหนด GMP ประกอบด้วย 6.1 พัฒนาสถานที่ผลิตให้มีมาตรฐานตาม ข้อกำหนด GMP โดยสร้างเครือข่าย ความร่วมมือกับสำนักงานสาธารณสุข |
แผนงานวิจัย | ช่วงระยะเวลาในการด˚าเนินงาน | |||||||||||
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | |
จังหวัดลำปาง กลุ่มงานความปลอดภัยใน อาหาร เพื่อให้คำแนะนำจากแบบที่ได้ เสนอพร้อมปรับปรุง 6.2 ดำเนินการปรับปรุงสถานที่ผลิตตาม ข้อเสนอแนะที่ได้รับ 6.3 ยื่นเอกสารเพื่อขอรับการตรวจ สถานที่ผลิตตามมาตรฐาน GMP 6.4 พัฒนาและปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ ที่ได้รับเพื่อขอการรับรอง | ||||||||||||
7. พัฒนาสินค้าแปรรูปปูนาด้วย Hurdle Technology เพื่อยืดอายุการเก็บรักษา สินค้าแปรรูป พร้อมนำเสนอจุดเด่นทาง โภชนาการตามเทรนด์การบริโภคยุคใหม่ และรูปลักษณ์สินค้าแบบฉบับสากล (Smart Product) ถ่ายทอดเทคโนโลยี แก่กลุ่มผู้ประกอบการแปรรูปสินค้าปูนา | ||||||||||||
8. การสร้างการรับรู้และสร้างเครือข่าย การตลาดสินค้าชุมชน และช่องการตลาด ทั้งออฟไลน์และออนไลน์ประกอบด้วย 8.1.สร้างการรับรู้เรื่องราวการเลี้ยงปูนา สินค้าปูนาปลอดภัยแห่งเมืองแจ้ห่มด้วย กระบวนการสร้างพลังการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ในชุมชน 8.2. ดำเนินการออกแบบบรรจุภัณฑ์ และทดสอบการตลาดสินค้าแปรรูปปูนา ด ้ วยกระบวนการสร้างพลังก า ร แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน 8.3.กิจกรรมส่งเสริมให้เกิดการเล่าเรื่อง ผ่านสื่อดิจิทัล/ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ ข้อมูล นำเสนอเรื่องราว/ เรื่องเล่า วัฒนธรรมอาหาร วิถีความเป็นอยู่ อาชีพ ภูมิปัญญาน้ำปู เชื่อมโยงสู่การท่องเที่ยว ในมุมมองใหม่ๆ ผ ่ าน infographic |
แผนงานวิจัย | ช่วงระยะเวลาในการด˚าเนินงาน | |||||||||||
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | |
เชื่อมโยงกับคลิปวิดีโอแหล่งท่องเที่ยว และแหล่งกินปู ดูนา พาฟิน 8.4. จัดทำสื่อการประชาสัมพันธ์เป็น เครื่องมือทางการตลาดดิจิทัล พร้อม ประเมินผลด้วยกระบวนการสร้างพลัง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน 8.5. เปิดตัวผลิตภัณฑ์สินค้าแปรรูปปูนา และผลิตภัณฑ์จากโครงการในงาน กินปู ดูนา พาฟิน วัฒนธรรมอาหารถิ่นลำปาง ครั้งที่ 2 พร้อม Business Matching สินค้าแปรรูปปูนาสู่ช่องการตลาดทั้ง ออฟไลน์และออนไลน์ | ||||||||||||
9ประเมินผลกระทบทางสังคม (Social Impact Assessment) ใ น ล ั ก ษ ณ ะ Outcome Mapping เน้นผลกระทบที่ เกิดขึ้นจากโครงการที่ได้ดำเนินการ เพื่อ ใช้ในการคำนวณผลตอบแทนทางสังคมที่ ไ ด ้ ร ั บ หร ื อ ใ ช ้ ใ นการคาดการณ์ (Forecast) คุณค่าทางสังคมที่จะเกิดขึ้น |
5. รายละเอียดของการดำเนินงานแต่ละขั้นตอน
วัตถุประสงค์ | แผนงานวิจัย | ช่วงเวลาที่ทำวิจัย | ผลงานที่คาดว่าจะได้/ การนำส่งองค์ความรู้สู่ กลุ่มเป้าหมาย | ผู้รับผิดชอบ |
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 | การวางแผน โดยประชุม การทำงานร่วมกันกับภาคี ที่เกี่ยวข้อง | เดือนที่ 1 | ข้อตกลงความร่วมมือ กระบวนการดำเนินงาน ในโครงการ | นันทินา และคณะภาคีที่ เ ก ี ่ ย ว ข ้ อ ง ไ ด ้ แ ก่ ประกอบด้วย ภาครัฐ สำนักงานประมงจังหวัด ลำปาง องค์การบริหาร ส่วนตำบลวิเชตนคร สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดลำปาง ชุมชน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ เลี้ยงปูนาอำเภอแจ้ห่ม |
วัตถุประสงค์ | แผนงานวิจัย | ช่วงเวลาที่ทำวิจัย | ผลงานที่คาดว่าจะได้/ การนำส่งองค์ความรู้สู่ กลุ่มเป้าหมาย | ผู้รับผิดชอบ |
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ เลี้ยงปูน้ำปู๋ดีแจ้ห่ม กลุ่ม วิสาหกิจชุมขนปูนาพา เ พ ล ิ น ว ิ เ ช ต น ค ร เกษตรกรผู้สนใจเลี้ยงปู นาในอำเภอแจ้ห่มอย่าง น้อย 10 ราย ภ า ค เ อ ก ช น ผ ู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ร้านอาหารและโฮมส เตย์ อำเภอแจ้ห่ม ผ ู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ร ้ านอาหารแอ่ว อิ่ ม อำเภอแจ้ห่ม ผ ู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ร ้ านอาหารฮักหนา อ ำ เ ภ อ แ จ ้ ห่ ม ผู้ประกอบการฮักกัญ หนา อำเภอแจ้ห่ม | ||||
2. รวบรวม เรียบเรียง จ ั ดระบบข้อมูล จาก เกษตรกรต้นแบบอย่าง น ้ อ ย 4 ร า ย จ า ก 2 รูปแบบการเลี้ยงได้แก่ การเลี้ยงปูนารูปแบบนา อินทรีย์ และรูปแบบบ่อ เลียนแบบธรรมชาติ เพื่อ วิเคราะห์วิธีการเลี้ยงที่ให้ อัตราการรอดสูง | เดือนที่ 2-3 | ข้อมูลวิธีการเลี้ยงจาก เกษตรกรต้นแบบการ เลี้ยงปูนารูปแบบนา อินทรีย์ และรูปแบบบ่อ เลียนแบบธรรมชาติ | นันทินา/พรชนก/ปองป รารถน์ | |
3. คัดเลือกเกษตรกรผู้ เลี้ยงปูนาจำนวน 20 ราย ไปร่วมศึกษาดูงานการ เลี้ยงปูนา ณ สุโขทัยฟาร์ม | เดือนที่ 4 | ประเมินผลการเรียนรู้ ก่อน-หลังการศึกษาดูงาน | นันทินา/พรชนก/ปองป รารถน์ |
วัตถุประสงค์ | แผนงานวิจัย | ช่วงเวลาที่ทำวิจัย | ผลงานที่คาดว่าจะได้/ การนำส่งองค์ความรู้สู่ กลุ่มเป้าหมาย | ผู้รับผิดชอบ |
ปูนาออร์แกนิค จังหวัด สุโขทัย เพื่อแลกเปลี่ยน เรียนรู้เทคนิคการเลี้ยงเพื่อ ส่งเสริมให้อัตราการรอดที่ สูงขึ้น | ||||
4.จัดเวทีการสะท้อนกลับ ข้อมูล เพื่อเรียบเรียง ถ่ายทอดผ่านสื่อดิจิทัลโดย จัดเป็นหลักสูตรระยะสั้น จากเกษตรกรต้นแบบใน ชุมชน | เดือนที่ 5 | ข้อมูลวิธีการเลี้ยงที่ให้ อัตราการรอดสูง | นันทินา/พรชนก/ปองป รารถน์ | |
5. อบรมขยายผลให้กับ เครือข่ายผู้เลี้ยงที่สนใจ รวมถึงประชาชนทั่วไปที่ สนใจ อย่างน้อย 50 ราย | เดือนที่ 6 | -สื่อดิจิทัลที่ใช้ในการ เรียนรู้วิธีการเลี้ยงปูนา แบบธรรมชาติ และแบบ บ่อซีเมนต์เลียนแบบ ธรรมชาติ -หลักสูตรระยะสั้นการ เลี้ยงปูนา ร่วมดำเนินการ โดยสำนักงานประมง จังหวัดลำปาง | นันทินา/พรชนก/ปองป รารถน์ | |
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 | กระบวนการพัฒนาและ ปรับปรุงสถานที่แปรรูป ปูนา ให้มีมาตรฐานตาม ข้อกำหนด GMP | เดือนที่ 2-5 | ได้อาคารผลิตสินค้าแปร รูปปูนาที่ปรับปรุงตาม มาตรฐาน GMP | นันทินา/ณัฐฌา/มยุรี |
พัฒนาสินค้าแปรรูปปูนา ด้วย Hurdle Technology เพื่อยืด อายุการเก็บรักษาสินค้า แปรรูป พร้อมนำเสนอ จุดเด่นทางโภชนาการตาม เทรนด์การบริโภคยุคใหม่ และรูปลักษณส์ ินค้าแบบ | เดือนที่ 6-9 | 1.ผลตภณั ฑ์แปรรูปปูนา ที่มีอายุการเก็บรักษา มากกว่า 1 เดือน 2.รูปลักษณ์สินค้าที่มีการ พัฒนาแบรนด์ให้น่าสนใจ 3.ทราบอายุการเก็บ รักษาผลิตภณั ฑ์สินค้าแปร รูปปูนา | นันทินา/ณัฐฌา/มยุรี |
วัตถุประสงค์ | แผนงานวิจัย | ช่วงเวลาที่ทำวิจัย | ผลงานที่คาดว่าจะได้/ การนำส่งองค์ความรู้สู่ กลุ่มเป้าหมาย | ผู้รับผิดชอบ |
ฉบับสากล (Smart Product) ถ่ายทอด เทคโนโลยีแก่กลุ่ม ผู้ประกอบการแปรรูป สินค้าปูนา | 4.สารพาราควอตที่ตรวจ พบในน้ำปู และผลิตภณั ฑ์ แปรรูปจากปู | |||
การสร้างการรับรู้และ สร้างเครือข่ายการตลาด สินค้าชุมชน และช่อง การตลาดทั้งออฟไลน์และ ออนไลน์ | เดือนที่ 10-11 | 1.สื่อการรับรู้สินค้าแปร รูปจากปูนา เชื่อมโยงกับ การท่องเที่ยวและแหล่ง กินปู ดูนา พาฟิน ด้วย ภาพ infographicและ คิวอาร์โค้ดแสดงด้วยคลิป วีดีโอ 2.มีผู้ร่วมงานเปิดตัว ผลิตภัณฑ์สินค้าแปรรูปปู นา และผลิตภัณฑ์จาก โครงการในงาน กินปู ดู นา พาฟิน วัฒนธรรม อาหารถิ่นลำปาง ครั้งที่ 2 อย่างน้อย 200 คน 3.โอกาสทางการตลาด ของสินค้าแปรรูปปูนาทั้ง ออฟไลน์และออนไลน์ โดยสร้างรายได้เพิ่มขึ้น มากกว่า ร้อยละ 20 | นันทินา/ณัฐฌา/มยุรี/ ปองปรารถน์ | |
ประเมินผลกระทบทาง สังคม (Social Impact Assessment) ใ น ล ั ก ษ ณ ะ Outcome Mapping เ น้ น ผลกระทบที่เกิดขึ้นจาก โครงการที่ได้ดำเนินการ เพื่อใช้ในการคำนวณ | เดือนที่ 11-12 | ผลการประเมินผล กระทบทางสังคม | นันทินา/ณัฐฌา/มยุร/ี พรชนก/ปองปรารถน์ |
วัตถุประสงค์ | แผนงานวิจัย | ช่วงเวลาที่ทำวิจัย | ผลงานที่คาดว่าจะได้/ การนำส่งองค์ความรู้สู่ กลุ่มเป้าหมาย | ผู้รับผิดชอบ |
ผลตอบแทนทางสังคมที่ ได ้ ร ั บ หร ื อใช้ในการ คาดการณ์ (Forecast) คุณค่าทางสังคมที่จะ เกิดขึ้น |
6.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (เปรียบเทียบก่อนและหลังจากการดำเนินการ)
ก่อนการดำเนินงาน | หลังการดำเนินงาน |
1.ยังไม่มีแผนการทำงานเชิงบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ภาครัฐ ประชาชน และเอกชน 2.ขาดการจัดเก็บระบบความรู้ที่เกิดจากการปฏิบัติจนเกิดผล อย่างเป็นรูปธรรม 3.ขาดการพัฒนารูปลักษณ์สินค้า ให้ทันสมัย และขาดการ ปรับปรุงกระบวนการผลิตสินค้าแปรรูปปูนา 4. ขาด story สินค้าอัตลักษณ์ท้องถิ่น และขาดการ ประชาสัมพันธ์เชื่อมโยงกับการท่องเที่ยว ดึงจุดขายให้เป็น “Signature Food of Lampang” | 1 ข้อตกลงความร่วมมือกระบวนการดำเนินงานใน โครงการ 2 ข้อมูลวิธีการเลี้ยงจากเกษตรกรต้นแบบตามบริบท พื้นที่การเลี้ยงปูนารูปแบบนาอินทรีย์ และรูปแบบ บ่อเลียนแบบธรรมชาติ 3 สื่อดิจิทัล infographic animation ที่ใช้ในการ เรียนรู้วิธีการเลี้ยงปูนา แบบธรรมชาติ และแบบบ่อ ซีเมนต์เลียนแบบธรรมชาติ 4 หลักสูตรระยะสั้นการเลี้ยงปูนา ร่วมดำเนินการ โดยสำนักงานประมงจังหวัดลำปาง 5.ผลิตภัณฑ์แปรรูปปูนาที่มีอายุการเก็บรักษา มากกว่า 1 เดือน 6.รูปลักษณ์สินค้าที่มีการพัฒนาแบรนด์ให้น่าสนใจ 7.ทราบอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์สินค้าแปรรูปปู นา 8.สารพาราควอตที่ตรวจพบในน้ำปู และผลิตภัณฑ์ แปรรูปจากปู 9.สื่อการรับรู้สินค้าแปรรูปจากปูนา เชื่อมโยงกับการ ท่องเที่ยวและแหล่งกินปู ดูนา พาฟิน ด้วยภาพ infographicและคิวอาร์โค้ดแสดงด้วยคลิปวีดีโอ |
ก่อนการดำเนินงาน | หลังการดำเนินงาน |
10.มีผู้ร่วมงานเปิดตัวผลิตภัณฑ์สินค้าแปรรูปปูนา และผลิตภัณฑ์จากโครงการในงาน กินปู ดูนา พา ฟิน วัฒนธรรมอาหารถิ่นลำปาง ครั้งที่ 2 อย่างน้อย 200 คน 11.ช่องทางการตลาดของสินค้าแปรรูปปูนาทั้ง ออฟไลน์และออนไลน์ |
7. ความเสี่ยงและแผนบริหารความเสี่ยง (การวิเคราะห์ถึงปัญหาต่าง ๆ ที่จะเป็นความเสี่ยง หรือ มีผลกระทบต่อ การดำเนินงาน/ความสำเร็จ หรือ ผลผลิตที่จะเกิดขึ้น พร้อมแนวทางแก้ไขหรือควบคุม)
- ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ได้แก่
1. สถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด
2. การปรับปรุงอาคารผลิตสินค้าให้มีมาตรฐาน GMP ใช้งบประมาณและการลงทุนสูง
- แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาความเสี่ยง ได้แก่
1.การจัดประชุมสร้างแกนนำภาคีเครือข่าย /ผู้นำกลุ่ม ด้วยการสื่อสารดิจิทัลเพื่อถ่ายโยงความรู้และการ พัฒนาสู่สมาชิก
2. เน้นการให้ความรู้การผลิตตามมาตรฐาน GMP และการใช้ Hurdle Technology ในการผลิตสินค้าให้ ได้คุณภาพ คู่ขนานกับการปรับปรุงอาคารผลิต
(ลงชื่อ).....................................................................
(ผู้ชว
ยศาสตราจารย์ ดร.นันทินา ดำรงวัฒนกูล)
หัวหน้ากิจกรรม
6/1/66
แบบฟอร์มรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่......
(รายงานตามงวดงานในสัญญา)
โครงการ (ไทย) (อังกฤษ) ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรมประจำปี จำนวน บาท
ระยะเวลาทำการวิจัย เดือน เริ่มทำการวิจัยเมื่อ (เดือน, ปี)
รายงานความก้าวหน้าของการวิจัยและนวัตกรรม ครั้งท ระหว่าง (เดือน, ปี) ถึง (เดือน, ปี)
รายนามหัวหน้าโครงการและผู้ร่วมโครงการ พร้อมทั้งหน่วยงานที่สังกัดและรายละเอียดการติดต่อ (ที่อยู่/โทรศัพท์/โทรสาร/e-mail)
1. หลักการและเหตุผล (ระบสาเหตุความจำเป็นที่ต้องดำเนินการวิจัย)
2. วัตถุประสงค์ (เป้าหมายการดำเนินการวิจัย)
3. ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
4. ระเบียบวิธีวิจัย (ขั้นตอนการดำเนินการวิจัยตลอดแผนงานวิจัย)
4.1 รายละเอียดของขั้นตอนการดำเนินงานจริงตามแผนงาน (ช่วงรายงานความก้าวหน้า)
4.2 สรุปผลการดำเนินงานเปรียบเทียบกับแผนงานทั้งหมด
5. รายงานผลการดำเนินการวิจัยและนวัตกรรม และการวิเคราะห์การดำเนินงาน (ตามขั้นตอนที่ 4)
5.1 ตารางเปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับแผนการดำเนินการที่ตั้งไว้ (Gantt Chart)
กิจกรรม | เดือน | |||||||||||
ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. | ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | |
1. | ||||||||||||
2. | ||||||||||||
3. |
หมายเหตุ : ให้ระบุเดือนที่เริ่มดำเนินการวิจัยตามสัญญารบทุน
หมายถึง งานหรือกจกรรมที่วางแผนไว้ว่าจะทำตามขอเส้ นอโครงการ
หมายถึง งานหรือกิจกรรมที่ได้ทำแล้ว
5.2 รายละเอียดของขั้นตอนการดำเนินงานจริงตามแผนงาน (ช่วงรายงานความก้าวหน้า) และสรุปผลของ กิจกรรมในรูปแบบ one-page summary
5.3 สรุปผลการดำเนินงานนำเสนอองค์ความรู้เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมที่ได้วิเคราะห์ สังเคราะห์ และ จัดการความรู้ และนำมาขยายผลแก่กลุ่มเป้าหมายในครั้งนี้
5.4 รายละเอียดอื่น ๆ เช่น เครื่องมือการวิจัยต่าง ๆ (แบบสอบถาม แบบวัด ฯลฯ) บทความ/report (ถ้ามี)
6. ผลผลิต(output) หรือ ตัวชี้วัดในแต่ะละช่วงรายงานความก้าวหน้า
กิจกรรม | ผลผลิต (output) | หมายเหตุ | |
ตามข้อเสนอ | ตามช่วงเวลาที่รายงาน | ||
1. | |||
2. | |||
3. | |||
4. | |||
5. |
7. งบประมาณที่ได้ใช้จ่ายไปแล้วนับตั้งแต่เริ่มโครงการ
หมวดรายการงบประมาณ | งบประมาณ (บาท) | หมายเหตุ | ||
ที่ได้รับอนุมัติ | ใช้จริง | คงเหลือ | ||
7.1 งบบุคลากร | ||||
7.2 งบดำเนินงาน (ค่าตอบแทน, ค่าใช้สอย, ค่าวัสดุ) | ||||
7.3 งบลงทุน (ค่าที่ดิน, ค่าครุภัณฑ์) | ||||
7.4 ค่าธรรมเนียมอุดหนุนสถาบัน | ||||
รวมทั้งสิ้น |
8. งานตามโครงการที่จะทำต่อไป
9. ข้อมูลโดยสรุปของการจัดทำ (ร่าง) คู่มือองค์ความรู้หรือเทคโนโลยีเพื่อการใช้ประโยชน์จริง หรือ คู่มือ องค์ความรู้ฯ ขนาด A5 ที่ใช้ในการถ่ายทอดฯ ในโครงการที่ได้วิเคราะห์/สังเคราะห์และจัดการความรู้แล้ว (ให้อธิบายว่าคู่มือนี้ ใครจะเป็นผู้นำไปใช้ประโยชน์ เช่น หน่วยงานภาคปฏิบัติ หรือ บุคคล เป็นต้น และ จะมีวิธีการนำไปใช้ประโยชน์อย่างไร)
10. คำชี้แจงเกี่ยวกับอุปสรรคหรือปัญหา พร้อมวิธีการแก้ปัญหา (ถ้ามี)
11. แผนการบริหารความเสี่ยง
ลงชื่อ หัวหน้าโครงการ วันที่ / / .
หมายเหตุ :
1. การจัดทำรายงานความก้าวหน้าตามที่ระบุในข้อเสนอโครงการ โดยจัดส่งผ่านระบบ NRIIS และ รูปแบบเอกสารส่งมาที่ วช.
2. การจัดทำรายงานความก้าวหน้าต้องนำเสนอรายละเอียดที่สอให้คณะผตรวจสอบทางวิชาการอ่านและ เข้าใจกระบวนการทำงานที่ผ่านมาทั้งหมดอย่างชัดเจนเพื่อเป็นประโยชน์ต่อนักวิจัยในการอนุมัติ เบิกจ่ายงบประมาณในงวดต่อไป
3. แบบฟอร์มสรุปผลของกิจกรรมในรูปแบบ One-page summary เป็นภาษาไทย
4. ข้อมูลในรายงานความก้าวหน้าฯ ควรมีเนื้อหาที่ครอบคลุมการดำเนินงานตามแผนงานที่ได้เสนอไว้ และนำเสนอโดยละเอียดที่สุด (ไม่ต่ำกว่า 20 หน้า A4) เนื่องจากเป็นเอกสารสำคัญในการพิจารณา การเบิกจ่ายงบประมาณการดำเนินงานในระยะต่อไป
5. ตรวจสอบความถูกต้องของการสะกดคำ การเว้นวรรคตอน การใส่โลโก้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้ละเอียดก่อนการจัดทำเล่ม
6. จัดทำเล่มรายงานความก้าวหน้าฯ โดยเข้าเล่มแบบสันกาว ให้เรียบร้อยและสวยงาม
7. จัดส่งรายงานความก้าวหน้า และ (ร่าง) คู่มือองค์ความรู้หรือเทคโนโลยีเพื่อการใช้ประโยชน์จริง ให้ วช. จำนวน 8 ชุด พร้อม Flash Drive บันทึกข้อมูล จำนวน 1 ชุด
การพิมพ์รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยและนวัตกรรม
1. ตัวอักษรและการพิมพ์ ให้ใช้ตัวอักษร TS sarabunPSK ขนาด 18 ตัวหนา สำหรับหัวข้อ และขนาด 16
สำหรับเนื้อหารายงาน
2. การตั้งค่าหน้ากระดาษ
บน 2.5 ซ.ม. ล่าง 2.5 ซ.ม.
ซ้าย 3.0 ซ.ม. ขวา 2.0 ซ.ม.
3. การใสเลขหน้า ตัวอักษร TS sarabunPSK ขนาด 14 กลางหน้ากระดาษด้านบน
โดย
4. หน้าปก จัดรูปแบบตาม (ตัวอย่าง) ปกรายงานความก้าวหน้าฯ
( ตัวอย่างปก )
รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 1
(ชื่อโครงการภาษาไทย) (ชื่อโครงการภาษาอังกฤษ)
(ชื่อนักวิจัย)..............................................................................
(ชื่อหน่วยงาน)...........................................................................
ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรมจากสำนกั งานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2566
รูปภาพประกอบ
ก. ส่วนประกอบตอนต้น
แบบการเขยนรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ (สำหรับโครงการวิจัยและนวัตกรรม)
1. หน้าปก (Cover) (ให้มีทุกหัวข้อโดยเรียงตามลำดับหมายเลข) ดังนี้
1.1 ให้ทำปกแข็ง (อย่างน้อย 120 แกรม) เคลือบมัน สันกาว เข้าเล่มมีตราของ วช. ปรากฎอยู่บนหน้าปก ด้านบน
1.2 ให้ระบุคำว่า “รายงานการวิจัยและนวัตกรรม” และชื่อเรื่องเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อมทั้ง ระบุชื่อผู้วิจัยและหน่วยงานที่สังกัด
1.3 ให้ใช้กระดาษในการจัดทำรายงานการวิจัยขนาด A4 80 แกรม
1.4 ที่สันปกให้พิมพ์ชื่อเรื่องและปีงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร
1.5 ด้านล่างของปก
1.5.1 ให้ระบุข้อความ “ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรมจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ”
1.5.2 ให้ระบุปีงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร
2. ปกในมีข้อความเช่นเดียวกับหน้าปก
3. กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) ให้ ระบุได้รับ ทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรม จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ.........
4. บทสรุปผู้บริหาร ความยาวของแบบสรุปผู้บริหารไม่ควรเกิน 5 หน้ากระดาษ
4.1 รายละเอียดเกี่ยวกับโครงการ/กิจกรรม
4.1.1 ชื่อเรื่อง ภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ
4.1.2 ชื่อคณะผู้วิจัย (นาย นาง นางสาว)/หน่วยงานที่สังกัด/หมายเลขโทรศัพท์/โทรสาร/e-mail
4.1.3 งบประมาณและระยะเวลาทำวิจัย
- ได้รับงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ............ งบประมาณที่ได้รับ บาท
- ระยะเวลาทำวิจัย ตั้งแต่..........(เดือน, ปี)...................ถึง............(เดือน, ป)ี ...........................
4.2 สรุปโครงการวิจัยและนวัตกรรม
4.2.1 รายละเอียดเกี่ยวกับความสำคัญและที่มาของปัญหาการดำเนินงาน ให้ระบุแนวความคิด พื้นฐาน ทฤษฎีหลัก หรือสภาพปัญหาที่มีความสำคัญ หรือความจำเป็นที่ต้องดำเนินงาน เรื่องนี้ โดยสรุปส่วนที่สำคัญไม่ควรเกิน 5 บรรทัด
4.2.2 รายละเอียดเกี่ยวกับวัตถุประสงค์การดำเนินการ ให้ระบุวัตถุประสงค์หรือคำตอบของการ ดำเนินงาน ให้ชัดเจน โดยเน้นประเด็นสำคัญของคำตอบที่ต้องการ
4.2.3 รายละเอียดเกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัย ให้ระบุระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้ให้ครอบคลุมป ระเด็นของ รูปแบบการวิจัย จำนวนหรือขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษา ขั้นตอนและวิธีการเก็บรวบรวม ข้อมูล และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล โดยเขียนสรุปไม่ควรเกิน 5 บรรทัด และเขียนให้เข้าใจง่าย ไม่จำเป็นต้องใช้ศัพท์ทางวิชาการที่สูงเกินไป
4.2.4 รายละเอียดเกี่ยวกับผลการดำเนินงาน ให้เขียนการนำเสนอผลการดำเนินงาน เรียงการ นำเสนอให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การดำเนินงานที่ตั้งไว้ทั้งหมด
4.2.5 รายละเอียดเกี่ยวกับข้อเสนอแนะที่ได้จากการดำเนินงาน ให้ระบุประเด็นสำคัญ ๆ ที่พบในการ ดำเนินงาน เสนอแนะแยกในแต่ละกลุ่มของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อธิบายรายละเอียดให้กลุ่มต่าง ๆ สามารถนำไปใช้ได้อย่างชัดเจน ในส่วนนี้เป็นส่วนที่สำคัญมาก อาจมีรายละเอียดมากกว่า ส่วนอื่น ๆ
5. บทคัดย่อภาษาไทยและบทคัดย่อภาษาอังกฤษ (Abstract) ให้จัดทำบทคัดย่อภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ โดยเขียนเป็นความเรียงที่มีรายละเอียดเนื้องหา ดังนี้ ปัญหา วัตถุประสงค์ วิธีดำเนินการ โดยสังเขป ผลของการดำเนินงาน (การเสนอคำตอบให้แก่หัวข้อปัญหาที่พบและการค้นพบ ตลอดจน
ข้อเสนอแนะ (ถ้ามี) ที่เป็นประเด็นหลัก ซึ่งความยาวของบทคัดย่อไม่เกินกว่า 1 หน้ากระดาษพิมพ์ ขนาด A4
6. คำสำคัญ (Key words)
7. สารบัญเรื่อง (Table of Contents)
8. สารบัญตาราง (List of Tables) (ถ้ามี)
9. สารบัญภาพ (List of Illustration) (ถ้ามี)
10. คำอธิบายสัญลักษณ์และคำย่อที่ใช้ในการวิจัย (List of Abbreviations) (ถ้ามี)
ข. ส่วนประกอบเนื้อเรื่อง (อย่างน้อยต้องมีเนื้อหาต่อไปนี้)
1. บทที่ 1 บทนำ
2. บทที่ 2 องค์ความรู้และเทคโนโลยี
3. บทที่ 3 วิธีดำเนินการดำเนินงาน
4. บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
5. บทที่ 5 สรุปผลการดำเนินงานและข้อเสนอแนะ ให้สรุปเรื่องราวในการดำเนินงานพร้อมทั้งเสนอแนะ เกี่ยวกับการดำเนินงานในขั้นต่อไป ตลอดจนประโยชน์ในทางประยุกต์ของผลการดำเนินที่ได้
6. บรรณานุกรม (Bibliography) ระบุรายชื่อเอกสารอ้างอิงโดยเรียงลำดับเอกสารอ้างอิงภาษาไทยก่อน
แล้วตามด้วยเอกสารภาษาต่างประเทศ ทั้งนี้ให้เรียงตามลำดับการอ้างอิงเอกสารใหเ้ ปนไปตามมาตรฐานใด มาตรฐานหนึ่ง
7. ภาคผนวก (Appendix) ถ้ามี
ค. ส่วนประกอบตอนท้าย
ชื่อหัวหน้าโครงการวิจัยและคณะนักวิจัยทุกคน พร้อมหน่วยงานสังกัด รายละเอียดสถานที่ติดต่อ เบอร์โทรศัพท์/โทรสาร และ E-mail
ง. รายละเอียดการพิมพ์
การพิมพ์เนื้อหาให้ใช้อักษร TH SarabunPSK ขนาด 16 point โดยใช้กระดาษ A4 80 แกรม และพิมพ์ 2 หน้า โดยรูปภาพ และแผนภูมิจะต้องเป็นภาพสี
จ. Flash Drive บันทึกข้อมูล ประกอบด้วย
1. รายงานการวิจัยและนวัตกรรม (ในรูปแบบไฟล์ Word และ PDF)
2. คู่มือองค์ความรู้หรือเทคโนโลยีเพื่อการใช้ประโยชน์จริง (ในรูปแบบไฟล์ Word และ PDF)
3. ภาพการจัดกิจกรรม เช่น ภาพการลงพื้นที่ การประชุม การอบรม การฝึกปฏิบัติ การศึกษาดูงาน เป็นต้น (ในรูปแบบไฟล์ JPEG หรือ PNG จำนวน 15 – 20 ภาพ) โดยภาพกิจกรรมต้องระบุ วัน เวลา สถานที่จัด กิจกรรมอย่างละเอียด
( ตัวอย่างปก )
รายงานการวิจัยและนวัตกรรม
เรื่อง
(ชื่อโครงการภาษาไทย) (ชื่อโครงการภาษาอังกฤษ)
ชื่อนักวิจัย ชื่อหน่วยงาน
ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรมจากสำนกั งานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2566
รูปภาพประกอบ
โดย
แบบฟอร์มสรุปผลงานวิจัย/โครงการวิจัย 1 หน้ากระดาษ A4 (สำหรับประชาสัมพันธ์) (อยู่ในส่วนภาคผนวก)
1. ชื่อผลงาน/โครงการ............(ภาษาไทย).........................................................................................................
..............(ภาษาอังกฤษ)...................................................................................................
2. ชื่อ - นามสกุล นักวิจัย............(ภาษาไทย)......................................................................................................
............(ภาษาอังกฤษ).......................................................................................................
3. ที่อยู่ที่ติดต่อได้..........................................เบอร์โทรศัพท์....................................E-mail.................................
4. ชื่อหน่วยงาน....................................................................................................................................................
5. ปี พ.ศ. ที่ดำเนินการเสร็จ.................................................................................................................................
6. คำค้น keyword..............................................................................................................................................
7. อ้างอิง (ใส่ URL ที่สามารถเข้าถึงเอกสารได้กรณีเผยแพรผลงานฉบับเต็มทางอินเตอรเ์ น็ต ถ้าไม่มใี หเ้ ว้นว่างไว้)
8. รูปภาพ หรือภาพเคลื่อนไหว (สามารถแยกไฟล์ หรือใส่รวมไว้ในเนื้อหาได้)
9. คำอธิบาย 1 หน้ากระดาษ A4 (TH SarabunPSK ขนาด 10 แบบ Regular)
(สรุปรายละเอียดผลงานวิจัย/โครงการวิจัย มีความยาว 1 หน้ากระดาษ A4 เนื้อหาครอบคลุมถึง ความสำคัญ ของการดำเนินงานชิ้นนี้ วัตถุประสงค์ วิธีการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน และประโยชน์ของการดำเนินงาน)
แบบฟอร์มสรุปผลงานวิจัย/โครงการวิจัย 5 บรรทัด
(สำหรับเผยแพร่ในระบบ EXPLORE ผานทางเว็บไซต์ www.thai-explore.net)
(อยู่ในส่วนภาคผนวก)
1. ชื่อผลงาน/โครงการ......(ภาษาไทย)....................................................................................................................
......(ภาษาอังกฤษ).................................................................................................................
2. ชื่อ นามสกุล นักวิจัย.....(ภาษาไทย)...................................................................................................................
.....(ภาษาอังกฤษ).............................................................................................. ...............
3. ที่อยู่ที่ติดต่อได้..................................เบอร์โทรศัพท์......................................E-mail.........................................
4. ชื่อหน่วยงาน......................................................................................................................................................
5. ปี พ.ศ. ที่ดำเนินการเสร็จ...................................................................................................................................
6. คำค้น Keyword.................................................................................................................................................
7. อ้างอิง...(ใส่ URL ที่สามารถเข้าถึงเอกสารได้กรณเี ผยแพรผ
8. รูปภาพ หรือภาพเคลื่อนไหว
ลงานฉบบ
เต็มทางอินเตอร์เน็ต ถ้าไม่มีใหเ้ ว้นว่างไว้)
9. คำอธิบาย 5 บรรทัด (TH SarabunPSK ขนาด 10 แบบ Regular) (สรุปรายละเอียดผลงานวิจัย/โครงการวิจัย มีความยาวไม่เกิน 5 บรรทัด อธิบายด้วยภาษาง่ายๆ เข้าใจได้ง่าย ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งานทุกระดับ)
10. สรุปงานวิจัยในรูปแบบ One-page summary โดยให้มีตราสัญลักษณ์ของ วช. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
11. นำเขา
ข้อมูลสรุปผลงานวิจัย/โครงการวิจัย 5 บรรทัด ในระบบ EXPLORE ผา
นทางเว็บไซต์
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
แบบฟอร์มประเมินผลการวิจัยในการนำไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ
**********************************************
ชื่อแผนงานวิจัย/ชื่อโครงการวิจัย
ชื่อนักวิจัย หน่วยงาน งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุน (บาท) ปีงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุน วัน/เดือน/ปี ที่ดำเนินการวิจัยแล้วเสร็จ
เป้าหมายดำเนินการ พื้นที่การใช้ประโยชน์ ส่วนที่ 2 ผลการวิจัยและการนำไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม
2.1 การนำไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม (สามารถตอบได้มากกว่า 1 มิติ)
🞏 มิตินโยบาย หมายถึง การมีเอกสารแสดงความสนใจ ความต้องการ หรือการนำข้อมูลและแนวทางแก้ไข ซึ่งได้จากผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมมาใช้ประกอบการแก้ไขปัญหาสำคัญและปัญหาเร่งด่วน ของประเทศในองค์กร หรือหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน
- ปัญหาสำคัญ/ปัญหาเร่งด่วนของประเทศ คือ
- ชื่อองค์กร หรือหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ที่นำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
- ช่วงเวลาที่นำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ (วัน/เดือน/ปี)
- ลักษณะการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ (โปรดให้คำอธิบาย พร้อมแนบเอกสาร/ภาพประกอบ)
- การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นต่อองค์กร หรือหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน (โปรดให้คำอธิบาย พร้อม แนบเอกสาร/ภาพประกอบ)
🞏 มิติวิชาการ หมายถึง การมีเอกสารแสดงถึงการอ้างอิง (Citations) บทความวิจัย ที่ได้รับการตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ซึ่งมี Peer-review (โปรดแนบเอกสาร/หลักฐานอ้างอิง)
🞏 มิติเชิงสังคม/ชุมชน หมายถึง การมีเอกสารแสดงความสนใจ หรือความต้องการเข้ารับการถ่ายทอด ความรู้ของชุมชน ท้องถิ่น หรือองค์กร (ไม่ใช่หน่วยงานต้นสังกัดของนักวิจัย/หน่วยงานให้ทุน) ที่แสดงให้ เห็นถึงการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ และรูปแบบการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นต่อชุมชน ท้องถิ่น องค์กร
- ชื่อชุมชน ท้องถิ่น หรือองค์กร ที่นำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
- ช่วงเวลาที่นำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ (วัน/เดือน/ปี)
- ลักษณะการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ (โปรดให้คำอธิบาย พร้อมแนบเอกสาร/ภาพประกอบ)
- การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นต่อชุมชน ท้องถิ่น องค์กร (โปรดให้คำอธิบาย พร้อมแนบเอกสาร/ ภาพประกอบ)
🞏 มิติพาณิชย์ หมายถึง การมีเอกสารแสดงความสนใจ หรือความต้องการในการนำผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรมไปพัฒนา/ปรับปรุง กระบวนการผลิตและจำหน่ายในภาคการผลิตและภาคอุตสาหกรรม
- ภาคการผลิต/ภาคอุตสาหกรรม ที่นำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
- ช่วงเวลาที่นำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ (วัน/เดือน/ปี)
- ลักษณะการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ (โปรดให้คำอธิบาย พร้อมแนบเอกสาร/ภาพประกอบ)
- การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นต่อภาคการผลิตและภาคอุตสาหกรรม (โปรดให้คำอธิบาย พร้อมแนบ เอกสาร/ภาพประกอบ)
2.2 ทรัพย์สินทางปัญญาที่เกิดจากงานวิจัย (โปรดระบุเดือน/ปี ที่ยื่นขอและได้รับ)
2.3 ผู้ได้รับผลประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม (โปรดระบุหน่วยงาน บุคคล หรือพื้นที่ที่นำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์)
2.4 ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานวิจัย (งานวิจัยที่แล้วเสร็จ)
🞏 ไม่มีปัญหาและอุปสรรค
🞏 มีปัญหาและอุปสรรค (โปรดระบุสาเหตุ)
2.5 ผลกระทบจากการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ (งานวิจัยที่แล้วเสร็จ)
🞏 ไม่มีผลกระทบ
🞏 มีผลกระทบ (โปรดระบุสาเหตุ)
ลงชื่อ
( ) ตำแหน่ง
แบบฟอร์มสรุปผลของกิจกรรมในรูปแบบ One-page summary เป็นภาษาไทย
ประกอบด้วย
1. Input (ทรัพยากรนำเข้าหรืออาจจะมองเป็นมุมมองที่มาของงาน/ โจทย์ปัญหา/ ความต้องการเร่งด่วน), process, output, outcome, impact (ผลกระทบที่ได้รับเชิงพัฒนาคุณภาพชีวิตหรือมูลค่าเชิงเศรษฐกิจ เช่น ต้นทุน......................บาท ทาให้มีรายได้เพิ่มขึ้น บาท)
2. What = องค์ความรที่นำมาถ่ายทอด
3. Who = กลุ่มเป้าหมาย แบ่งเป็น หน่วยงาน และกลมผรู้ บประโยชน์ และจำนวนคน
4. When = ปีงบประมาณที่ไดรับทุน
5. Where = พื้นที่ที่ได้รับประโยชน์ (ระบุชื่อหมู่บ้าน/ชุมชน (หรือหมู่ที่ xx) ตำบล อำเภอ และจังหวัด / ชื่อศูนย์การเรียนรู้ / อื่น ๆ)
6. How = คู่มือที่ใช้ในการเผยแพร่ / ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ / กระบวนการการถ่ายทอด เป็นต้น
7. หน่วยงานสนับสนุนทุน = Logo ของ วช.
หมายเหตุ : สไลด์ขนาด 16 : 9 จำนวน 1 หน้าสไลด์ ไฟล์ .png หรือ .jpg ตัวอย่าง 1 สไลด์
DOCUMENT ID:630c3a9eb03a9466e0d7fe5d292561581679300251
ผนวก 5
บันทึกขอตกลง
เรื่อง การใหความยินยอมเปลี่ยนแปลงอัตราการใชจายเงิน
1. กรณีระเบียบสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติวาดวยการใชจายเงินอุดหนุนทั่วไป เพื่อการวิจัย และสงเสริมและสนับสนุนการวิจัย พ.ศ.2550 ถูกยกเลิกหลังจากที่ผูรับทุนไดลงนามในสัญญาใหทุนอุดหนุนการ วิจัยและนวัตกรรม หรือสัญญาใหทุนอุดหนุนการทํากิจกรรมสงเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม โครงการการยกระดับมาตรฐานสินคาปูนาตลอดหวงโซอุปทานเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน อําเภอแจหม จังหวัดลําปาง แลว ตอมาเมื่อสํานักงานการวิจัยแหงชาติไดมีการประกาศเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑการใชจายเงิน อุดหนุนไวในระเบียบการใชจายเงินเพื่อการวิจัยและนวัตกรรม และสงเสริมสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม ผูรับทุนมีสิทธิที่จะใชจายเงินในการดําเนินโครงการตามหลักเกณฑใหมตามที่กําหนดไวในระเบียบดังกลาว อยางไรก็ตามการใชจายเงินตามหลักเกณฑใหมนั้น ไมเปนเหตุใหผูรับทุนมีสิทธิขอขยายวงเงินที่เคยไดรับการ อนุมัติจากผูใหทุนแลวแตอยางใด
2. กรณีหากเกิดความเสียหายอยางหนึ่งอยางใดอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงตามขอ 1 ผูรับทุนจะ ไมเรียกรองคาเสียหายหรือฟองรองใดๆ จากผูใหทุนทั้งสิ้น
การยกระดับมาตรฐานสินคาปูนาตลอดหวงโซอุปทานเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน อําเภอแจหมจังหวัดลําปาง หนา 1 / 1
Certificate Of Completion ใบรบัับรองการลงลายมือื ชื่อ่ืออิเิเล็ก็ ทรอนิกิกส | |||
Subject: ชื่อเอกสาร: | สญั ญาเลขท่ี N71A660081 | ||
Document ID: หมายเลขเอกสาร: | 630c3a9eb03a9466e0d7fe5d292561581679300251 | Document Pages: จํานวนหนา เอกสาร: | 85 |
Signatures: ลายเซ็น: | 4 | Sent for Signatures: สงเมื่อ: | 20/03/2023 15:17:47 |
Certificate Pages: จํานวนหนาใบรับรอง: | 2 | Timestamp: การประทบั เวลา: | Enabled เปดใชงาน |
Time Zone: | (GMT+07:00) Bangkok |
Document Record Tracking ติดิดตามการลงรายการในเอกสาร | |||||
Document: เอกสาร: | Original ตน ฉบับ | Document Holder: เจา ของ/ผสู ราง เอกสาร: | ระบบขอ มูลสารสนเทศวจิ ัยและนวตั กรรมแหง ชาติ NRIIS | Location: สถานที่สรา ง เอกสาร: | Creden e-Signature Platform |
Signer Events ลําดับรายการผูลงลายมือชื่อ | ||||
(1) | Signer: ผูลงนาม: | มยุรี ชมภู (cmyuree@gmail.com) | Signed: ลงลายมือช่ือเม่ือ: | 27/03/2023 10:59:43 |
Securtity Level: ระดับความปลอดภัย: | Email/OTP อีเมล/ชุดรหสั ผานแบบใช ครั้งเดียว | Digital Certificate: การใชใ บรบั รอง: | - | |
e-KYC: การยืนยนั ตัวตนทาง อิเล็กทรอนิกส: | IAL 1.3 | Serial Number: หมายเลขซีเรียล: | - | |
Using IP Address ใชห มายเลข IP Address | 110.164.137.31 | |||
(2) | Signer: ผูล งนาม: | นนั ทินา ดํารงวัฒนกลู (nanthinap@live.com) | Signed: ลงลายมือช่ือเม่ือ: | 27/03/2023 19:00:03 |
Securtity Level: ระดับความปลอดภยั : | Email/OTP อีเมล/ชุดรหสั ผานแบบใช คร้งั เดียว | Digital Certificate: การใชใ บรับรอง: | - | |
e-KYC: การยืนยนั ตัวตนทาง อิเล็กทรอนิกส: | IAL 1.3 | Serial Number: หมายเลขซีเรียล: | - | |
Using IP Address ใชห มายเลข IP Address | 171.4.243.32 | |||
(3) | Signer: ผูล งนาม: | ธีรวฒั น บุญสม (terawat.b@nrct.go.th) | Signed: ลงลายมือช่ือเม่ือ: | 27/03/2023 20:29:22 |
Securtity Level: ระดับความปลอดภัย: | Email/OTP อีเมล/ชุดรหสั ผานแบบใช ครง้ั เดียว | Digital Certificate: การใชใบรบั รอง: | Enabled เปดใชงาน | |
e-KYC: การยืนยนั ตัวตนทาง อิเล็กทรอนิกส: | IAL 2.3 | Serial Number: หมายเลขซีเรียล: | 2b:8b:7f:52:aa:86:c8:5b:1d:78:0e:bf:1b:80:41:3d:35:2a:ca:87 | |
Using IP Address ใชห มายเลข IP Address | 49.229.253.98 |
Signer Events ลําดบั รายการผูลงลายมือชื่อ | ||||
(4) | Signer: ผูล งนาม: | วิภารัตน ดีออง (wiparat.d@nrct.go.th) | Signed: ลงลายมือช่ือเม่ือ: | 30/03/2023 08:58:52 |
Securtity Level: ระดับความปลอดภัย: | Email/OTP อีเมล/ชุดรหัสผานแบบใช ครง้ั เดียว | Digital Certificate: การใชใบรับรอง: | Enabled เปดใชง าน | |
e-KYC: การยืนยันตวั ตนทาง อิเล็กทรอนิกส: | IAL 2.3 | Serial Number: หมายเลขซีเรียล: | 2b:8b:7f:52:aa:86:c8:5b:1d:78:0e:bf:1b:80:41:3d:35:2a:ca:9b | |
Using IP Address ใชห มายเลข IP Address | 49.229.167.0 |
Summary Document Events สรุปรายการเอกสาร | |||||
Sending Complete: สงเสร็จสมบูรณเมื่อ: | 20/03/2023 15:17:47 | Signing Complete: ลงลายมือช่ือครบถวน เมื่อ: | 30/03/2023 08:58:52 | Document Complete: เอกสารเสร็จสมบูรณ: | 30/03/2023 08:58:59 |