Free-Grazing Duck Farming in Southern Thailand under Changes
สัญญาเลขที่ RDG5820032
รายงานวิจัยฉบับxxxxxxx
เศรษฐกิจการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในภาคใต้ของประเทศไทย ภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลง
Free-Grazing Duck Farming in Southern Thailand under Changes
โดย
xxxxx xxxxxxxx มหาวิทยาลัยสงขลาxxxxxxxx วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี xxxxx รัตนวุฒิ มหาวิทยาลัยสงขลาxxxxxxxx วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี xxxxxxxxx xxxx มหาวิทยาลัยสงขลาxxxxxxxx วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี
สัญญาเลขที่ RDG5820032
รายงานวิจัยฉบับxxxxxxx
เศรษฐกิจการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในภาคใต้ของประเทศไทย ภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลง
Free-Grazing Duck Farming in Southern Thailand under Changes
โดย
xxxxx xxxxxxxx มหาวิทยาลัยสงขลาxxxxxxxx วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี xxxxx รัตนวุฒิ มหาวิทยาลัยสงขลาxxxxxxxx วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี xxxxxxxxx xxxx มหาวิทยาลัยสงขลาxxxxxxxx วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี
สนับสนุนโดยกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และ สถาบันคลังสมองของชาติ
(ความคิดเห็นในรายงานนี้เป็นของผู้วิจัย สกว. ไม่จําเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป)
บทสรุปสําหรับผู้บริหาร
รายงานการวิจัยเรื่องเศรษฐกิจการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลงในเขตภาคใต้ ตอนบน เพื่อตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัยในการศึกษาระบบการผลิต ระบบตลาด ต้นทุนและ ผลตอบแทน ความเชื่อมโยงของxxxxxxxอุปทานการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้ ศึกษาปัจจัยเสี่ยงและ ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้ และ ศึกษาแนวทางการปรับตัวและการ จัดการความเสี่ยงของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้ โดยผลการศึกษาxxxxxxสรุปได้ดังนี้
1. ข้อมูลทั่วไปทางเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง เกษตรกรผู้ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในจังหวัดพัทลุง นครศรีธรรมราช และสงขลากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ระดับ
การศึกษาของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างโดยส่วนใหญ่จบการศึกษาในระดับประถมศึกษา รองลงมาจบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา อายุของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างโดยเฉลี่ย อยู่ที่ 48 ปี ในขณะที่เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างมีประสบการณ์ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดย เฉลี่ย 9 ปี ในภาพรวมแรงงานของสมาชิกในครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่เป็น แรงงานในภาคเกษตรเป็นหลัก โดยเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นอาชีพหลักและเลี้ยง เป็ดไล่ทุ่งเป็นอาชีพเสริมโดยส่วนใหญ่เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างที่xxxxxx พอื่น นอกเหนือจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ประกอบอาชีพทํานา
2. แหล่งที่มาของรายได้ของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ รายได้ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีแหล่งที่มาของรายได้หลัก และปัจจัยที่มีผลกระทบต่อรายได้ก่อน
หักค่าใช้จ่ายจากภาคเกษตรโดยแหล่งที่มาของรายได้ส่วนใหญ่มาจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ปัจจัยที่มี ผลกระทบต่อรายได้ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่ร้อยละ 49.16 ระบุว่ารายได้จากการ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่ลดลง
3. รายจ่ายของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง หนี้สินและการออม ปัจจัยที่มีผลกระทบ
ต่อรายจ่าย ค่าใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคและบริโภคในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมาของครัวเรือนเกษตรกรผู้ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งพบว่า หมวดค่าใช้จ่ายที่สูงสุด 3 อันดับแรกได้แก่ ค่าอาหารสด เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ ทุ่งโดยส่วนใหญ่ร้อยละ 78.2 มีหนี้สิน สําหรับหนี้สินโดยส่วนใหญ่ร้อยละ 59.70ของหนี้สินเป็นการ กู้ยืมเพื่อการเกษตรไปประกอบการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง แหล่งเงินกู้ยืมเพื่อการเกษตรแหล่งเงินกู้หลักคือ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่มีการออม คิด เป็นร้อยละ 53.22
4. พื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง การเลี้ยงเป็ดส่วนใหญ่xxxxxxxxxxxxxบนxxxxxคนอื่น โดยสาเหตุที่ หันxxxxxxxxเป็ดไล่ทุ่งเพราะรายxxxxx xxxติดต่อใช้พื้นที่ในการเลี้ยงผ่านทางxxxxxxxxxและครอบครัว
เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีเส้นทางการเลี้ยงไปตามจังหวัดพัทลุง นครศรีธรรมราช และสงขลา ตาม รอบการทํานาของแต่ละพื้นที่
5. จํานวนเป็ดไล่ทุ่ง ในภาพรวมมีการเลี้ยงเป็ดโดยเฉลี่ย1,188.60 ตัวต่อการเลี้ยง 1 รอบ โดย ส่วนใหญ่เลี้ยงเป็ดอยู่ในช่วง 500-1,000 ตัว การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในภาคใต้ ประกอบด้วยการเลี้ยง 4
แบบ ได้แก่ xxxxxxxxxxxxxเป็ดปลดระวาง การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งตั้งแต่ลูกเป็ดจนกระทั่งปลดเป็ด แบบที่ สอง คือ การเลี้ยงลูกเป็ด แบ่งขายเป็ดสาว และเก็บเป็ดไว้เลี้ยงจนกระทั่งปลดเป็ด แบบที่สาม คือการ เลี้ยงเป็ดสาวจนกระทั่งปลดเป็ดและแบบสุดท้าย คือ การเลี้ยงเป็ดปลดจากฟาร์มเลี้ยงไข่เป็ดแบบปิด
หรือซื้อจากเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งรายอื่น ๆ ซึ่งการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่พบมากที่สุด คือ คิดเป็นร้อยละ
52.42 เพราะมีต้นทุนไม่สูง ไม่พบว่าไม่มีการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในลักษณะระบบลูกเล้าเหมือนภาคอื่นๆ
6. ต้นทุนและผลตอบแทนในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง จากการสํารวจเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่ม ตัวอย่างใน 1 รอบการเลี้ยง พบว่าต้นทุน ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งประกอบด้วยxxxxxxxxxxxxและxxxxxx
xxที่ โดยการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ไม่ต้องลงทุนมากในส่วนของxxxxxxxxที่ ในส่วน ของxxxxxxxxxxxxพบว่าต้นทุนหลักเป็นค่าอาหารและอาหารเสริม และค่าลูกเป็ด เป็ดสาว หรือเป็ด ปลดระวางต้นทุนเฉลี่ยต่อรอบต่อตัวอยู่ระหว่าง 75.76-209.81 บาท ในส่วนของผลตอบแทนจากการ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง รายxxxxxxได้จากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเฉลี่ยต่อรอบต่อตัวอยู่ระหว่าง 512.55-1,423 บาท
7. การจําหน่ายไข่เป็ดและxxxxxxxอุปทานผู้เลี้ยงเป็ด สําหรับไข่เป็ดเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
ส่วนใหญ่จะxxxxxxสดให้กับผู้ค้าไข่ ทั้งผู้ค้าที่อยู่ในพื้นที่ และผู้ค้าไข่ที่มารับซื้อนอกพื้นที่ ไม่มีเจ้าประจํา รองลงมา คือ ส่งร้านค้าในหมู่บ้าน / สหกรณ์ อันดับที่สาม คือ xxxxxxเป็ดให้กับร้านเบxxxxxxในxxxxxxxx อันดับสี่นําไปแปรรูปเป็นไข่เค็ม จําหน่ายให้กับผู้บริโภคโดยตรง ผู้ค้าไข่นั้นเป็นบุคคลที่มีxxxxxxxต่อ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ในกระบวนการกลางน้ํา
โดยผลวิเคราะห์xxxxxxจากการศึกษาการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในพื้นที่จังหวัดสงขลา พัทลุง และ นครศรีธรรมราช xxxxxxสรุปเป็นประเด็นสําคัญได้ดังนี้
1) การเปลี่ยนแปลงในระดับครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง โครงสร้างในระดับครัวเรือน
ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งยังxxสะท้อนวิถีการทําการเกษตรไทยในอดีตโดยผู้ชายเป็นผู้นําในการ ทําเกษตรกรรม โครงสร้างอายุของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่เมื่อเทียบกับอาชีพ เกษตรกรรมอื่นๆ พบว่าโครงสร้างอายุโดยส่วนใหญ่ยังอยู่ในวัยกลางคนที่กําลังเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ การ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะในด้านผลิตภาพในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจะส่งผลต่อความยั่งยืนในระยะ ยาวของอาชีพเกษตรกรจึงยังxxมีความเสี่ยงน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับอาชีพเกษตรกรอื่นๆ
2) เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีการxxxxxxxภาคเกษตรอยู่ในอัตราที่สูง ลักษณะโครงสร้าง
ครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นครัวเรือนขนาดเล็ก แรงงานของสมาชิกในครัวเรือนเกษตรกรผู้ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่ทํางานในภาคเกษตรโดยเฉพาะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นหลัก สะท้อนให้เห็น ว่าอัตราการxxxxxxxภาคเกษตรxxxxxxxxสูง
3) อาชีพเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งและอาชีพทํานายังxxมีความxxxxxxxxกันxxxxxxxxมากใน ลักษณะการพึ่งพาซึ่งกันและกันและxxxxxxxxกัน ในลักษณะความxxxxxxxxแบบประกอบกัน เนื่องจาก
ต่างเป็นส่วนหนึ่งของxxxxxxxการผลิตxxxxxxxxxxxกัน นอกจากนี้จะเห็นได้ว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดย ส่วนใหญ่นอกจากเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นอาชีพหลักยังมีการทํานาเป็นควบคู่กันไปด้วย
4) การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งxxxxxxxแรงงานในครัวเรือนเป็นหลัก จากการศึกษาพบว่าการเลี้ยงเป็ดไล่ ทุ่งโดยส่วนใหญ่ใช้แรงงานในครัวเรือนเป็นหลักxxxxxxxxxxxxxxแรงงานนอกครัวเรือนเนื่องจากโดยส่วน
ใหญ่ในปัจจุบันการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยเฉลี่ยประมาณ 1,188 ตัว การxxxxแรงงานนอกครัวเรือนจะ เกิดขึ้นในกรณีที่มีการเลี้ยงเป็ดจํานวนมาก
5) แหล่งที่มาของรายได้ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งไม่หลากหลาย เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ด
ไล่ทุ่งมีแหล่งที่มาของรายได้ส่วนใหญ่มาจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ส่วนรายได้อื่นๆ มาจากการxxxxxxx ชนิดอื่นและการเลี้ยงสัตว์ อาชีพการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจะมีความเสี่ยงหากมีปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อ รายxxxxxxได้จากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ปัจจัยสําคัญในปัจจุบันที่ส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งส่วน
หนึ่งมาจากxxxxxxxxxxxxxสูงขึ้นและรายxxxxxxได้จากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่ลดลงเนื่องจากปัจจัยทาง xxxxxxxxที่ทําให้ผลผลิตxxxxxxจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งลดลง
6) ข้อตกลงในการใช้พื้นที่นาในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีลักษณะไม่เป็นทางการและเอื้อ ประโยชน์ซึ่งกันและกันระหว่างผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งและเจ้าของxxxxx จากการศึกษาพบว่าการเลี้ยงเป็ด
ไล่ทุ่งส่วนใหญ่xxxxxxxxxxxxxบนxxxxxคนอื่นเป็นหลัก ลักษณะความxxxxxxxxระหว่างเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ด ไล่ทุ่งกับเจ้าของxxxxxเป็นไปอย่างไม่เป็นทางการมีการแลกเปลี่ยนผลผลิตไข่เป็ดของเกษตรกรผู้เลี้ยง เป็ดไล่ทุ่งในลักษณะเป็นการให้โดยความสมัครใจ
7) ลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่พบโดยส่วนใหญ่เป็นการซื้อเป็ดxxxxxxxxxxxxxxxx
เนื่องจาก เป็นการซื้อเป็ดxxxxxxxxxxxxxxxxโดยจะใช้ระยะเวลาในการเลี้ยงสั้นกว่าลักษณะการเลี้ยง เป็ดแบบอื่นและมีต้นทุนต่ํากว่า
8) การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีxxxxxxxxxxxxxxxxxxxต่ํา ผลตอบแทนxxxxxxxxxx ต้นทุนหลักๆ ในการ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งประกอบด้วยxxxxxxxxxxxxและxxxxxxxxที่ ค่าลูกเป็ด/เป็ดสาว/เป็ดปลดระวาง ในส่วน
ของxxxxxxxxxxxxพบว่าต้นทุนหลักเป็นค่าอาหารและอาหารเสริมซึ่งจะต้องทําการซื้อให้เป็ดกินในช่วง ที่เป็นลูกเป็ด การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นอาชีพที่สร้างรายได้xxxxxxxxxxxยังชีพได้และมีเหลือเก็บ
9) ความxxxxxxxxxxxของอาหารในพื้นที่นาและแหล่งน้ําเป็นปัจจัยสําคัญที่มีxxxxxxxต่อ การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งและผลผลิตxxxxxxจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง โดยในการเลือกพื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดไล่
ทุ่งเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งให้ความสําคัญกับความxxxxxxxxxxxของอาหารในxxxxxxxxเกษตรกรจะใช้ใน การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นอย่างมากเนื่องจากความxxxxxxxxxxxของอาหารจะส่งผลต่อผลผลิตไข่เป็ดไล่ทุ่ง พื้นที่ในการเลี้ยงควรอยู่ใกล้แหล่งน้ําและลุ่มน้ํา เนื่องจากแหล่งน้ํามีความจําเป็นในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งและวิธีการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยง เป็ดไล่ทุ่ง
เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่ ระบุว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ xxxx อากาศxxx xxxxขึ้น ภัยxxxx เป็นอุปสรรคในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเนื่องจากภัยxxxxทําให้ไม่มีน้ํา รองลงมาได้แก่ xxxxx xxxมีอยู่จํากัด และ xxxxxขาดความxxxxxxxxxxx
ในภาพรวมความเสี่ยงที่เกิดขึ้นทางเกษตรกรรมของการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างในเขต ภาคใต้ตอนบนจะเป็นความเสี่ยงทางด้านการผลิต รองลงมาเป็นความเสี่ยงทางด้านการเงิน และ ความเสี่ยงทางด้านทรัพยากรมนุษย์ และความเสี่ยงทางด้านสถาบัน ตามลําดับ
ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในด้านการผลิตพบว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งระบุว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีความเสี่ยงในระดับปานกลาง รองลงมาได้แก่ พื้นที่ในการเลี้ยงเป็ด ไล่ทุ่งมีความเสี่ยงในระดับปานกลาง และขาดความxxxxxxxของอาหาร มีความเสี่ยงในระดับปานกลาง ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในด้านสถาบันพบว่าในภาพรวมมีความเสี่ยงอยู่ในระดับ
น้อย โดยเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งระบุว่า นโยบายของรัฐไม่xxxxxxxxการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีความเสี่ยงอยู่ ในระดับน้อย รองลงมาได้แก่ กฎxxxxxxxในการเคลื่อนย้ายสัตว์ มีความเสี่ยงอยู่ในระดับน้อย ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในด้านการเงินในภาพรวมมีความเสี่ยงอยู่ในระดับน้อย ขาดแคลนเงินทุนมีความเสี่ยงอยู่ในระดับน้อย ภาระหนี้สินมีความเสี่ยงอยู่ในระดับน้อย ขาดสินเชื่อ มี
ความเสี่ยงอยู่ในระดับน้อย และผลตอบแทนไม่คุ้มค่ามีความเสี่ยงอยู่ในระดับน้อย
ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งด้านทรัพยากรมนุษย์ ในภาพรวมมีความเสี่ยงอยู่ใน ระดับน้อย การขาดการรวมกลุ่มมีความเสี่ยงอยู่ในระดับน้อย ความxxxxxxxxxxxของกลุ่มผู้เลี้ยงเป็ดไล่ ทุ่งมีความเสี่ยงอยู่ในระดับน้อย อํานาจต่อรองระหว่างผู้เลี้ยงกับพ่อค้าคนกลางมีความเสี่ยงอยู่ใน ระดับน้อย
เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่เนื่องจากมีความเสี่ยงทางด้านการผลิตสูงกว่าด้านอื่น ดังนั้นเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งต้องการให้รัฐบาลช่วยสนับสนุนด้านการเลี้ยง xxxx ลดต้นทุนการผลิต แจกพันธุ์สัตว์ รองลงมาได้แก่การฉีดวัคซีนให้เป็ดฟรี เพราะค่าใช้จ่ายในการฉีดวัคซีนxxxxxxxxสูง
ผลการวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งและวิธีการปรับตัวxxxxxxสรุป
ได้ดังนี้
(1) การลดลงของพื้นที่นาและแหล่งน้ํา การลดลงของพื้นที่นาและแหล่งน้ําเป็นปัจจัยสําคัญที่
ส่งผลให้มีการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
(2) xxxxxขาดความxxxxxxxxxxxของอาหารที่จะใช้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ความxxxxxxxxxxxของ อาหารในพื้นที่ที่จะใช้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นปัจจัยสําคัญที่เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งใช้เลือกพื้นที่ในการ
เลี้ยง นอกจากนี้ความxxxxxxxxxxxของอาหารในพื้นที่เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งยังเป็นปัจจัยสําคัญที่มีผลต่อ ผลผลิตของเป็ดไล่ทุ่ง
(3) ความเสี่ยงที่เกิดจากโรคระบาด โดยในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดย
ส่วนใหญ่ระบุว่าไม่เคยประสบกับปัญหาโรคระบาด อย่างไรก็ตามถึงแม้สถานการณ์ปัจจุบันความเสี่ยง ที่เกิดจากโรคระบาดโดยเฉพาะโรคไข้หวัดนกจะมีไม่มากแต่ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งยังต้องเฝ้าระวังและเข้าใจ ถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นรวมทั้งแนวปฏิบัติ
(4) การใช้สารเคมีในนาข้าว การใช้สารเคมีในนาข้าวอาจส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง โดยเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งระบุว่าในบางพื้นที่เจ้าของพื้นที่นามีการใช้สารเคมีในนาข้าว ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมีในนาข้าวคือจะทําให้เป็ดตาบอด เป็ดตายและเป็ดป่วย
(5) การอพยพเข้ามาของนกปากห่างในพื้นที่ นกxxxxxxxxxxอพยพเข้ามาในพื้นที่จะเข้ามาเก็บ กินหอยเชอร์รี่ซึ่งเป็นอาหารสําคัญของเป็ดxxxxxxxxxxผลให้หอยเชอร์รี่ซึ่งเป็นศัตรูของต้นข้าวหมดไปใน ขณะเดียวกันทําให้แหล่งอาหารที่สําคัญของเป็ดไล่ทุ่งลดน้อยลงไปด้วย
(6) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ในปีที่ทําการสํารวจ ภัยxxxxมีส่งผลต่อผลผลิตของเป็ดไข่ไล่ทุ่ง ในระยะยาวปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศจะxxxความรุนแรงมากขึ้น
แนวทางในการปรับตัวและการจัดการความเสี่ยงของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีดังนี้ แนวทางการปรับตัวและการจัดการความเสี่ยงของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง มีดังนี้ การปรับตัวต่อความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
พบว่ายังมีข้อจํากัดโดยส่วนใหญ่เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งยังปล่อยตามxxxxxxxx หรือปล่อยตาม สภาพไม่มีการปรับตัวใดๆ แนวทางในการปรับตัวที่พบ xxxx การสูบน้ําเข้าพื้นที่นา การปรับxxxxxxxxx เลี้ยงแบบขังคอก การลดจํานวนเป็ดในการเลี้ยงในแต่ละรอบ ในภาพรวมยังขาดการปรับตัวที่จะ xxxxxxรับมือกับปัจจัยต่าง ๆ
1) การสนับสนุนด้านการเลี้ยง เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรร่วมมือกัน โดยหน่วยงานของรัฐควรให้การสนับสนุนด้านการเลี้ยง xxxx เงินทุน วัคซีน องค์ความรู้ต่าง ๆ xxxx การลดต้นทุน การจดบันทึกฟาร์ม เป็นต้น
2) การxxxxxxxx พัฒนา ปรับปรุงทรัพยากรน้ํา แหล่งน้ําในพื้นที่ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมี
การเลี้ยงxxxxxxxxxไปตามพื้นที่ต่างๆ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลกระทบต่อความxxxx xxxxxxxของแหล่งน้ําในพื้นที่และปริมาณน้ําในพื้นที่ โดยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและปัญหา ภัยxxxxxxxส่งผลต่อฐานทรัพยากรน้ําในพื้นที่ แนวทางที่มีการดําเนินการในปัจจุบันของเกษตรกรผู้เลี้ยง เป็ดไล่ทุ่งคือการสูบน้ําเข้าพื้นที่นา การพัฒนาและxxxxxxxxแหล่งน้ําในพื้นที่จึงมีความสําคัญเพื่อให้ เกษตรกรโดยทั่วไปและเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีน้ําเพียงพอ
3) การxxxxxxxxให้เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งประกอบอาชีพเสริมเพื่อรองรับความเสี่ยงจาก
การผลิต ความเสี่ยงในการผลิตที่เกิดขึ้นจะทําให้รายxxxxxxได้จากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งลดลงเนื่องจาก ผลผลิตไข่ที่ลดลง เพื่อลดผลกระทบดังกล่าวเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งควรได้รับการxxxxxxxxให้มีอาชีพ เสริมเพื่อสร้างรายได้ในช่วงที่ผลผลิตไข่ลดลงหรือช่วงที่หยุดxxxการเลี้ยง
4) การจัดทําสํามะโนผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่ถูกต้องการและกําหนดพื้นที่ที่เหมาะสมในการเลี้ยง เป็ดไล่ทุ่ง จากการสํารวจพบว่าข้อมูลในเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในแต่ละพื้นที่ไม่มีความชัดเจน
เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของจํานวนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในแต่ละปีxxxxxxxxมาก นอกจากนี้ยัง มีเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่ยังไม่ลงทะเบียนจํานวนหนึ่ง ทําให้ข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมี ความคลาดเคลื่อน การจัดทําพื้นที่ที่เหมาะสมในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นแนวทางที่จะช่วยxxxxxxxxการ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งและควบคุมการระบาดของโรคได้อีกแนวทางหนึ่งเพื่อให้อาชีพการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งยังxx อยู่คู่กับวิถีเกษตรกรรมของไทย มากกว่าการxxxxxxxxให้เกษตรกรเลิกเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งแล้วหันไปเลี้ยงใน ระบบปิดแทน
5) การให้ความรู้ในด้านการตลาดและการแปรรูปผลผลิต เพื่อสร้างxxxxxxxxxxxเกษตรกรขาด
ความรู้ด้านการตลาด และการแปรรูปผลผลิต เพื่อxxxxxxวางแผนการผลิตได้ถูกต้อง และการสร้าง xxxxxxxxxxxให้ผลผลิต
6) การสนับสนุนให้เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเสี่ยงที่จะ
เกิดขึ้นต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง เพื่อให้เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งxxxxxxเตรียมความพร้อมและมี แนวทางในการปรับตัวเพื่อรองรับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในxxxxxซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อความยั่งยืน ในอาชีพการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง xxxx การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอายุของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง การ xxxxxxxรายได้จากภาคเกษตรxxxxxxxxสูง ความไม่หลากหลายของแหล่งรายได้ ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจาก การผลิต อํานาจต่อรองในตลาด เนื่องจากการศึกษาพบว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่ยัง ขาดองค์ความรู้เกี่ยวกับแนวทางการปรับตัวเพื่อรองรับความเสี่ยงในแต่ละด้าน โดยเฉพาะมาตรการ จัดการความเสี่ยงด้านการผลิต
Free- Grazing Duck Farming in Southern Thailand under Changes
Xxxxxxxx Xxxxxxxxxxx*, Xxxxxxx Xxxxxxxxxx and Areerat Tosadee Email: xxxxxxxx.xxxx@xxxxx.xxx, xxxxxxx.x@xxx.xx.xx, xxxxxxx.xx@xxx.xx.xx
Abstract
This research was conducted to assess free-grazing duck farming in upper southern Thailand under changes. The objectives of this study are (1) to study the free-grazing duck farming situation in upper southern Thailand including cost and benefits of free-grazing duck farming, market channels and supply chain (2) to assess risks and factors which affects free-grazing duck farming in upper southern Thailand.
(3) To identify methods which help mitigate or alleviate risks in free-grazing duck farming. The study surveyed data from 124 free-grazing duck farmers in three provinces which are Nakorn Sri Thammarat, Phattalung and Songkhla Provinces. The in-depth interviews with free-grazing duck farmers and stakeholders in free-grazing duck farming were conducted to identify methods which help mitigate or alleviate risks in free-grazing duck farming.
The study found that free-grazing duck farming in upper southern of Thailand provides appropriated returns and benefits to free-grazing duck farmers. Overall free- grazing duck farming has low agricultural risks. Limitation of rice field and availability of free-grazing duck’s food in the rice fields are two major threats in free-grazing duck farming.
The study finally provide policy recommendations in order to create sustainable free-grazing duck farming which are (1) promotion of free-grazing duck farming by local authorities (2) development and preservation of water resources in the area of free-grazing duck farming (3) promotion of alternative crops or animals for free-grazing duck farmers to diversity income risk. (3) promotion of registration in free-grazing duck farming in the area and collect accurate data for effective policy decision making (5) promotion of marketing and Food processing Knowledge to free- grazing duck farming (6) promotion of free-grazing duck farming risks’ awareness among free-grazing duck farmers
เศรษฐกิจการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในภาคใต้ของประเทศไทยภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลง xxxxx xxxxxxxx* xxxxx รัตนวุฒิ และxxxxxxxxx xxxx
Email: xxxxxxxx.xxxx@xxxxx.xxx, xxxxxxx.x@xxx.xx.xx, xxxxxxx.xx@xxx.xx.xx
บทคัดย่อ
รายงานการวิจัยเรื่องเศรษฐกิจการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลงในเขตภาคใต้ ตอนบน วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษา (1) ระบบการผลิต ระบบตลาด ต้นทุนและผลตอบแทน ความเชื่อมโยงของxxxxxxxอุปทานการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้ (2) ศึกษาปัจจัยเสี่ยงและผลกระทบ ของปัจจัยเสี่ยงต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้ และ (3) ศึกษาแนวทางการปรับตัวและการจัดการ ความเสี่ยงของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้ โดยการสุ่มตัวอย่าง เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไข่ไล่ ทุ่งจํานวน 124 ครัวเรือน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างโดยวิธีแบบเฉพาะเจาะจง แบบสอบถามและการ สัมภาษณ์เชิงลึกเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในเครือข่ายการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขต พื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุงและสงขลา โดยผลการศึกษาxxxxxxสรุปได้ดังนี้
การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในภาคใต้xxxxxxxxxxxxxเป็ดปลดระวางเพราะมีต้นทุนไม่สูงและได้ ผลตอบแทนxxxx xxxเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีxxxxxxxxxxxxxxxxxxxต่ํา ผลตอบแทนxxxxxxxxxx เกษตรกรผู้เลี้ยง เป็ดไล่ทุ่งมีการxxxxxxxภาคเกษตรอยู่ในอัตราที่สูง อาชีพเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งและอาชีพทํานา ยังxxมีความxxxxxxxxกันxxxxxxxxมากในลักษณะการพึ่งพาซึ่งกันและกัน แหล่งที่มาของรายได้ของ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งไม่หลากหลาย
ความxxxxxxxxxxxของอาหารในพื้นที่นาและแหล่งน้ําเป็นปัจจัยสําคัญที่มีxxxxxxxต่อการเลี้ยง เป็ดไล่ทุ่งและผลผลิตxxxxxxจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ประกอบด้วย (1) การลดลงของพื้นที่นาและแ👉ล่งน้้า (2) xxxxxขาดความxxxxxxxxxxxของอา👉ารที่จะ
ใช้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง (3) ความเสี่ยงที่เกิดจากโรคระบาด (4) การใช้สารเคมีในนาข้าว (5) การอพยพเข้า
มาของนกปาก👉่างในพื้นที่ (6) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ในภาพรวมความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นความเสี่ยงในระดับต่ํา อย่างไรก็ตาม เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งยังไม่มีแนวทางการปรับตัวxxxxxxxxxและมีประสิทธิภาพ แนวทางการจัดการ ความเสี่ยงของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีดังนี้ 1) การxxxxxxxxการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง 2) การxxxxxxxx พัฒนา ปรับปรุงทรัพยากรน้ํา แหล่งน้ําในพื้นที่ 3) การxxxxxxxxให้เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งประกอบ อาชีพเสริมเพื่อรองรับความเสี่ยงจากการผลิต 4) การจัดทําสํามะโนผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่ถูกต้องการและ กําหนดพื้นที่ที่เหมาะสมในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง 5) การให้ความรู้ทางด้านการตลาดและการแปรรูป เพื่อ สร้างxxxxxxxxxxxให้กับผลผลิต 6) การสนับสนุนให้เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
คํานํา
รายงานการวิจัยเรื่องเศรษฐกิจการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลงในเขตภาคใต้ ตอนบนภายใต้ชุดโครงการ "การxxxxxxxxxxความxxxxxxxxงานวิจัยเชิงนโยบายเกษตร" สนับสนุนโดย กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และสถาบันคลังสมองของชาติ มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาระบบ การผลิต ระบบตลาด ต้นทุนและผลตอบแทน ความเชื่อมโยงของxxxxxxxอุปทานการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งใน เขตภาคใต้ ศึกษาปัจจัยเสี่ยงและผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้ และ ศึกษาแนวทางการปรับตัวและการจัดการความเสี่ยงของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้
คณะผู้วิจัยโครงการใคร่ขอขอบพระคุณ กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สถาบันคลังสมอง แห่งชาติ และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งประกอบด้วย สํานักงานปศุสัตว์ จังหวัดพัทลุง สํานักงานปศุสัตว์จังหวัดนครศรีธรรมราช สํานักงานปศุสัตว์จังหวัดพัทลุง รวมทั้ง ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ และเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งxxxxxxให้ข้อมูลที่มีคุณค่าแก่งานวิจัยนี้ นอกจากนี้ คณะผู้วิจัยขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิxxxxxxให้ข้อเสนอแนะและคําแนะนําที่มีคุณค่าแก่งานวิจัยนี้มาโดย ตลอด
คณะผู้วิจัยxxxxxxxxอย่างยิ่งว่า รายงานผลการวิจัยฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ในเรื่องการเลี้ยงเป็ด ไล่ทุ่งภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลงในเขตภาคใต้ตอนบนและการจัดการความเสี่ยงในการเลี้ยงเป็ดไล่ ทุ่งต่อไป
คณะผู้วิจัย ตุลาคม 2559
สารบัญ
หน้า | |
บทสรุปสําหรับผู้บริหาร | ii |
Abstract | vii |
บทคัดย่อ | viii |
คํานํา | ix |
สารบัญ | x |
สารบัญตาราง | xii |
สารบัญภาพ | xiii |
บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญ | 1 |
1.1 ที่มาและความสําคัญ | 1 |
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ | 3 |
1.3 ระเบียบวิธีวิจัย | 3 |
1.4 ขอบเขตการศึกษา | 5 |
1.5 กรอบแนวคิดการวิจัย | 5 |
บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม | 6 |
บทที่ 3 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน | 13 |
3.1 การเลี้ยงเป็ดในประเทศไทย | 13 |
3.2 รูปแบบการเลี้ยงเป็ดไข่ | 14 |
3.3 การเลี้ยงเป็ดไข่ในภาคใต้ | 17 |
บทที่ 4 ผลการศึกษา 4.1 ข้อมูลทั่วไปทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง 4.2 รายได้ แหล่งที่มาของรายได้ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อรายได้ หนี้สินและการ ออมของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง 4.3 รายจ่ายของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง 4.4 สภาพการเลี้ยง ระบบการผลิต ต้นทุนและผลตอบแทนในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง โครงสร้างการตลาด ลักษณะการซื้อขาย 4.5 โครงสร้างการตลาด ลักษณะการซื้อขาย ความเชื่อมโยง ห่วงโซ่อุปทาน การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง 4.6 การศึกษาความสัมพันธ์และเปรียบเทียบตัวแปรทางเศรษฐกิจและสังคมของ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 25 |
25 | |
29 | |
55 | |
34 | |
45 | |
52 |
สารบัญ(ต่อ)
หน้า | |
บทที่ 5 ผลการศึกษาปัจจัยเสี่ยงและแนวทางการจัดการความเสี่ยง 5.1 ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ด 5.2 การปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งต่อปัจจัยเสี่ยงที่เกิดขึ้น 5.3 แนวทางการจัดการความเสี่ยงของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง บทที่ 6 สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ 6.1 สรุปการวิจัย อภปรายผล และข้อเสนอแนะ | 55 55 62 64 68 68 |
บรรณานุกรม | 73 |
ภาคผนวก สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน แบบสอบถาม | 76 76 79 |
สารบัญตาราง
หน้า | ||
ตารางที่ 4.1 | ข้อมูลตัวอย่างเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในจังหวัดพัทลุง นครศรีธรรมราช และสงขลา | 26 |
ตารางที่ 4.2 | ข้อมูลทั่วไปของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจังหวัดพัทลุง นครศรีธรรมราช และสงขลา | 26 |
ตารางที่ 4.3 | อายุของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ประสบการณ์ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง และ จํานวนสมาชิกในครัวเรือน | 27 |
ตารางที่ 4.4 | แรงงานของสมาชิกในครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 27 |
ตารางที่ 4.5 | ข้อมูลอาชีพหลัก อาชีพเสริม อาชีพอื่นๆ นอกเหนือจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 28 |
ตารางที่ 4.6 | ข้อมูลทางด้านสุขภาพของสมาชิกครอบครัวเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 28 |
ตารางที่ 4.7 | ข้อมูลโรคในครัวเรือนเกษตรกร | 29 |
ตารางที่ 4.8 | แสดงรายได้และแหล่งที่มาของรายได้ครัวเรือน | 29 |
ตารางที่ 4.9 | แสดงรายได้และแหล่งที่มาของรายได้ในภาคเกษตรของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ด ไล่ทุ่ง | 29 |
ตารางที่ 4.10 | แสดงแหล่งรายได้ และที่มาของรายได้นอกภาคเกษตร | 30 |
ตารางที่ 4.11 | ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อรายได้ | 30 |
ตารางที่ 4.12 | ค่าใช้จ่ายเพื่ออุปโภคและบริโภค ในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมาของครัวเรือน เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 31 |
ตารางที่ 4.13 | หนี้สินของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 31 |
ตารางที่ 4.14 | วัตถุประสงค์ในการกู้ยืม | 32 |
ตารางที่ 4.15 | แหล่งสินเชื่อการกู้ยืม | 32 |
ตารางที่ 4.16 | การออมของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 32 |
ตารางที่ 4.17 | แหล่งเงินออมของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 33 |
ตารางที่ 4.18 | วัตถุประสงค์ในการออม และนําเงินออมไปใช้ | 33 |
ตารางที่ 4.19 | พื้นที่ถือครอง | 34 |
ตารางที่ 4.20 | สิทธิในการถือครองพื้นที่ | 34 |
ตารางที่ 4.21 | การเริ่มเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง และผู้รับช่วงต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 34 |
ตารางที่ 4.22 | สาเหตุที่ไม่มีคนรับช่วงต่อ | 35 |
ตารางที่ 4.23 | พื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 35 |
ตารางที่ 4.24 | ข้อตกลงในการใช้พื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งบนที่นาของคนอื่น | 36 |
ตารางที่ 4.25 | เหตุจูงใจในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 36 |
ตารางที่ 4.26 | รายได้ที่ได้จากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกับการยังชีพ | 36 |
สารบัญตาราง
หน้า | ||
ตารางที่ 4.27 | ปัจจัยในการเลือกพื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 37 |
ตารางที่ 4.28 | การติดต่อใช้พื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 37 |
ตารางที่ 4.29 | การจับจองพื้นที่นา ปัญหาความขัดแย้ง ลักษณะการเดินทางในพื้นที่การ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 38 |
ตารางที่ 4.30 | พื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดในรอบ 1 ปี | 39 |
ตารางที่ 4.31 | จํานวนเป็ดไล่ทุ่งที่เกษตรกรเลี้ยงในรอบ 1 ครั้ง | 39 |
ตารางที่ 4.32 | ลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 40 |
ตารางที่ 4.33 | ลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 40 |
ตารางที่ 4.34 | การจ้างแรงงานในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 41 |
ตารางที่ 4.35 | สายพันธุ์เป็ดที่เลี้ยง | 41 |
ตารางที่ 4.36 | ปัจจัยที่ทําให้ปลดระวางเป็ด | 42 |
ตารางที่ 4.37 | การดําเนินการเมื่อเป็ดปลดระวาง | 42 |
ตารางที่ 4.38 | ต้นทุนในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งแบ่งตามลักษณะการเลี้ยง | 43 |
ตารางที่ 4.39 | รายได้จากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 45 |
ตารางที่ 4.40 | ความถี่ในการขายไข่เป็ด การจัดการไข่เป็ด การจําหน่ายไข่เป็ด | 45 |
ตารางที่ 4.41 | ราคาตอบแทนที่ได้จากเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 46 |
ตารางที่ 4.42 | ปัจจัยที่เป็นตัวกําหนดผลผลิตไข่ | 46 |
ตารางที่ 4.43 | ความสัมพันธ์กับพ่อค้าคนกลางระบบลูกเล้า | 47 |
ตารางที่ 4.44 | เครือข่ายผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในมุมมองของเกษตรกรผู้เลี้ยง เป็ดไล่ทุ่ง | 47 |
ตารางที่ 4.45 | การเปรียบเทียบรายได้เฉลี่ยจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจําแนกตามเพศของ เกษตรกร | 52 |
ตารางที่ 4.46 | แสดงค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างรายได้จากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งและ ประสบการณ์ในการเลี้ยง | 52 |
ตารางที่ 4.47 | การเปรียบเทียบรายได้เฉลี่ยจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจําแนกตามการเลี้ยงเป็ด เป็นอาชีพหลักหรือเสริม | 53 |
ตารางที่ 4.48 | การเปรียบเทียบลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีอิทธิพลต่อต้นทุนเฉลี่ยต่อรอบ ต่อตัวและรายได้รายได้เฉลี่ยต่อรอบต่อตัว | 53 |
ตารางที่ 4.49 | การเปรียบเทียบลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งต่อต้นทุนและรายได้เฉลี่ยต่อ รอบต่อตัว | 54 |
สารบัญภาพ
หน้า | ||
ภาพที่ 3.1 | ลักษณะการเลี้ยงเป็ดแบบขังในโรงเรือน | 17 |
ภาพที่ 3.2 | ฝูงเป็ดที่เลี้ยงแบบปล่อยทุ่ง | 18 |
ภาพที่ 3.3 | หอยกะพงที่ใช้สําหรับการเลี้ยงเป็ด | 19 |
ภาพที่ 3.4 | การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งหลังจากเกี่ยวข้าวเสร็จ | 19 |
ภาพที่ 3.5 | แสดงคอกเป็ดไล่ทุ่ง | 20 |
ภาพที่ 3.6 | ฝูงเป็ดไล่ทุ่งที่กําลังให้ผลผลิต | 21 |
ภาพที่ 3.7 | ลักษณะการเลี้ยงลูกเป็ดไล่ทุ่ง | 22 |
ภาพที่ 3.8 | ฝูงเป็ดสาวที่พร้อมให้ไข่ | 23 |
ภาพที่ 3.9 | รถที่ใช้สําหรับการเคลื่อนย้ายฝูงเป็ดไล่ทุ่ง | 24 |
ภาพที่ 4.1 | ผังแสดงเครือข่ายการผลิตเป็ด | 52 |
บทที่ 1 บทนํำ
1.1 ที่มำและควำมสํำคัญ
การเลี้ยงเป็ดเป็นอาชีพที่ได้มีการเลี้ยงมาอย่างยาวนาน เป็ดไข่เป็นสัตว์ปีกที่นิยมเลี้ยงกันแพร่หลาย ในประเทศไทย และมีความสําคัญต่อเศรษฐกิจโดยเฉพาะในชนบทของไทย การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจึงนับได้ว่า เป็นวิถีชีวิตของเกษตรกรไทย โดยในทางการเกษตรกรรมการเลี้ยงเป็ดเป็นอาชีพหนึ่งที่มีความสําคัญ โดยเฉพาะการเลี้ยงเป็ดไข่ที่มีไข่เป็ดเป็นผลิตผลที่ถูกนําไปใช้ในการแปรรูปเป็นอาหารชนิดต่างๆ เช่น ไข่ เค็ม ขนมหวาน และการปรุงอาหารในครัวเรือน โดยในอดีตการเลี้ยงเป็ดมักจะนิยมเลี้ยงกันในพื้นที่ที่มี แหล่งน้ําอุดมสมบูรณ์เพราะมีอาหารเป็ดที่อุดมสมบูรณ์ ในส่วนของการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในอดีตยังไม่เป็นที่ แพร่หลาย จนกระทั่งระบบชลประทานของประเทศไทยพัฒนาขึ้นทําให้เกษตรกรสามารถปลูกข้าวได้ปีละ หลายครั้ง เนื่องจากการเก็บเกี่ยวข้าวในแต่ละพื้นที่ไม่พร้อมกัน ทําให้มีทุ่งนาที่สามารถต้อนไปเลี้ยงได้ หมุนเวียนตลอดทั้งปี การเลี้ยงเป็ดไข่แบบไล่ทุ่งจึงมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว ประกอบกับการเลี้ยงเป็ดไล่ ทุ่งใช้เงินลงทุนไม่มากนักและมีต้นทุน และค่าใช้จ่ายต่างๆ ต่ํากว่าการเลี้ยงเป็ดในระบบฟาร์ม โดย เกษตรกรจะปล่อยเป็ดในทุ่งนาที่เพิ่งเก็บเกี่ยวเสร็จเพื่อให้เป็ดกินเมล็ดข้าวที่อยู่ในทุ่งนาและหอยเชอร์รี่ ซึ่ง เป็นการช่วยลดค่าอาหารเป็ด ในขณะเดียวกันชาวนาได้ประโยชน์จากการที่เป็ดกินหอยเชอร์รี่ ช่วยลด จํานวนศัตรูของต้นข้าว มูลเป็ดยังช่วยปรับปรุงดินของพื้นที่นา ซึ่งจะช่วยลดการใส่ปุ๋ยของเกษตรกรผู้ปลูก ข้าวด้วย โดยทั่วไปการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งแหล่งที่สําคัญของประเทศจะอยู่แถบภาคกลางและภาคเหนือ ตอนล่าง เนื่องจากการเลี้ยงเป็ดแบบไล่ทุ่งจะพบมากในพื้นที่ที่มีการทํานาเป็นอาชีพหลัก
การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งส่วนใหญ่มีการเลี้ยงกันมากในภาคกลาง อันดับสองได้แก่ ภาคใต้ ในส่วนของ ภาคใต้ ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศ กรมปศุสัตว์ ในปี 2557 ระบุว่าจังหวัดพัทลุงเป็นจังหวัดที่มีจํานวน ครัวเรือนเกษตรกรที่เลี้ยงเป็ดไข่ไล่ทุ่งมากที่สุดจํานวน 370 ครัวเรือน รองลงมาได้แก่ จังหวัด นครศรีธรรมราช จํานวน 312 ครัวเรือน และจังหวัดสงขลาจํานวน 94 ครัวเรือน โดยจังหวัดพัทลุงมีกา ร เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมากที่สุดจํานวน 170,399 ตัว รองลงมาได้แก่จังหวัดนครศรีธรรมราช จํานวน 104,537 ตัว และจังหวัดสงขลา จํานวน 15,691 ตัว ทั้งนี้เนื่องจากจํานวนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีการเปลี่ยนแปลง ค่อนข้างมากในแต่ละปี ประกอบกับข้อมูลจํานวนเป็ดที่ขึ้นทะเบียนมีความคลาดเคลื่อนและมีการ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากมีการแจ้งจํานวนเป็ดตามจํานวนที่นําเข้าเลี้ยงเมื่อมีเป็ดตายไม่มีการ บันทึก หรือแจ้งหรือมีการย้ายเป็ดมาจากที่อื่นไม่มีการขออนุญาต ทําให้ข้อมูลมีการปรับเปลี่ยนอยู่เสมอ มี เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งบางส่วนไม่ลงทะเบียนกับปศุสัตว์ในพื้นที่ ข้อมูลรายปีอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ ตลอดเวลา
อย่างไรก็ตามเนื่องจากสภาพชนบทของไทยในปัจจุบันเริ่มเปลี่ยนเป็นสังคมเมืองและมีการ เจริญเติบโตในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งมีการเปลี่ยนแปลงการปลูกข้าวไปเป็นการปลูกพืชชนิด อื่น ทําให้เกษตรกรมีความสนใจในอาชีพการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งลดลง ส่งผลให้วิถีชีวิตดั้งเดิมแบบชาวนาไทย เริ่มหายไป ประกอบกับการระบาดของไข้หวัดนกในประเทศไทยในช่วงที่ผ่านมา ได้ส่งผลกระทบต่อการ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งซึ่งเป็นวิถีการเลี้ยงดั้งเดิมของไทยและส่งผลกระทบต่อรายได้ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ทําให้ขาดรายได้ การแพร่ระบาดของไข้หวัดนกได้ส่งผลให้เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งบางส่วนเลิกการเลี้ยง
เป็ด ซึ่งส่งผลให้ผลผลิตเป็ดไข่ลดลงในช่วงนั้น การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งถูกมองว่าเป็นจุดด้อยเนื่องจากการระบาด ของไข้หวัดนกทําให้เกิดทัศนคติเชิงลบจากประชาชนทั่วไปต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง (กรมปศุสัตว์, 2555) ประกอบกับนโยบายของราชการ แผนยุทธศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาโรคไข้หวัดนกของคณะกรรมการ พิจารณาแก้ไขสถานการณ์ไข้หวัดนกในช่วงปี พ.ศ. 2548-2550 มีนโยบายที่ส่งเสริมให้ปรับการเลี้ยงเป็ด เข้าสู่ระบบฟาร์มปิดเพื่อการควบคุมไข้หวัดนกที่มีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามไม่ได้รับความร่วมมือจาก เกษตรกรมากนัก นอกจากนี้ความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งอาหารพื้นที่เลี้ยงตามธรรมชาติเริ่มลดลงและมี ข้อจํากัด อย่างไรก็ตามในปัจจุบันผู้บริโภคยังมีความต้องการเป็ดเนื้อและไข่เป็ดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ระบบการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งยังเอื้อต่อการส่งเสริมให้ลดการใช้สารเคมีในนาข้าว โดยช่วยกําจัด ศัตรูพืชในนาข้าว เช่น หอยเชอรี่ เป็นต้น ซึ่งเกื้อกูลต่ออาชีพทํานา การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจึงอาจเป็นทางเลือก หนึ่งที่ช่วยสร้างความมั่นคงของชุมชนให้พึ่งพาตัวเองได้ (ทวีศักดิ์ ส่งเสริม, 2557) ซึ่งสะท้อนให้เห็นผ่าน การพึ่งพากันระหว่างชาวนาและเจ้าของเป็ดโดยหากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งต้องสูญหายไปก็อาจจะส่งผล กระทบต่ออีกอาชีพหนึ่งเนื่องจากเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่การผลิต (คุณากร เต็มปิยะพล และคณะ, 2554)
การผลิตเป็ดไข่ไล่ทุ่ง ประกอบไปด้วยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายกลุ่มที่ได้รับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ที่แตกต่างกันและมีความสัมพันธ์ระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ค่อนข้างซับซ้อน ผลการศึกษาระบบการผลิต เครือข่ายทางสังคมของเป็ดไข่พบว่า เถ้าแก่และโรงฟักมีบทบาทสําคัญในเครือข่ายทางสังคม (ทวีศักดิ์ ส่งเสริม,2557) ผลตอบแทนของเกษตรกรเป็ดไล่ทุ่งขึ้นอยู่กับผลผลิตไข่ ความสะอาด และต้นทุน ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นในระหว่างการเลี้ยง เช่น ค่าขนส่ง ค่าจ้างคนเลี้ยง ค่าน้ํามันที่สูบน้ําเข้านา ผลตอบแทนจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง มีความแตกต่างกันมากในแต่ละเจ้าของและพื้นที่การเลี้ยง โดย ผลตอบแทนหลักของการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งคือการขายเป็ดสาว การขายเป็ดปลดระวาง และการขายไข่เป็ด โดยระบบตลาดของเป็ดไล่ทุ่งมีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายภาคส่วนที่เข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น โรงฟักไข่ โรงเชือด กลุ่มผู้ค้าไข่ เถ้าแก่เป็ด ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นส่วนหนึ่งที่จะทําหน้าที่กระจายไข่ให้กับพ่อค้าคนกลางหรือ พ่อค้าเร่
การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งถือเป็นภูมิปัญญาชาวบ้านที่สะท้อนแนวคิดการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์ สูงสุดและเกื้อกูลต่ออาชีพทํานา ภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในปัจจุบันระบบการเลี้ยงเป็ด แบบไล่ทุ่งมีความจําเป็นต้องมีการปรับตัวเพื่อความอยู่รอด สภาวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ทําให้เกิดความเสี่ยงต่อระบบการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง โดยความเสี่ยงต่อระบบการผลิตเป็ดไล่ทุ่ง ประกอบไปด้วย ความเสี่ยงทางด้านการผลิต (Production Risk) ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โรคระบาด แหล่งอาหารพื้นที่เลี้ยงตามธรรมชาติเริ่มลดลงและมีอยู่อย่างจํากัดซึ่งส่งผลต่อคุณภาพและปริมาณของ ผลผลิต ความเสี่ยงในเชิงสถาบัน (Institutional Risk) สืบเนื่องการดําเนินนโยบายของภาครัฐทําให้ เกิดผลกระทบต่อระบบการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ตัวอย่าง เช่น การระบาดของไข้หวัดนกในไทยในปี 2547 ได้ ส่งผลกระทบต่อเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งอย่างมากสืบเนื่องจากภาครัฐที่ต้องการควบคุมโรคไม่ให้แพร่ ระบาด ทําให้ต้องมีการจํากัดพื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดซึ่งไม่สอดคล้องกับรูปแบบการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจึงส่งผล กระทบต่อเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นวงกว้าง ความเสี่ยงทางด้านราคา (Price Risk or Market risk) ซึ่งเกิดจากความผันผวนของราคาขายหรือราคาของปัจจัยการผลิต โดยเฉพาะในปัจจุบันระบบตลาดของ เป็ดไล่ทุ่ง และไข่เป็ดพ่อค้าคนกลางเป็นผู้มีอํานาจในการกําหนดราคาซื้อ ประกอบกับในปัจจุบันประชาชน มีทัศนคติทางลบต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งภายหลังการเกิดโรคระบาดของไข้หวัดนก (กรมปศุสัตว์, 2555) ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risk) ซึ่งเป็นผลจากการเข้าไม่ถึงแหล่งทุนหรือการกู้ยืมเงินมาเพื่อลงทุน
ซึ่งปัจจัยเสี่ยงที่กล่าวมาในข้างต้นกําลังส่งผลกระทบต่อรายได้ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไ ล่ทุ่ง ดังนั้นการ จัดการความเสี่ยงหรือการปรับตัวเพื่อรับกับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นหรือกําลังจะเกิดขึ้นจึงมีความสําคัญ เนื่องจากตลาดในปัจจุบันยังมีความต้องการบริโภคไข่เป็ด และเป็ดเนื้อค่อนข้างมาก ทําให้ธุรกิจการเลี้ยง เป็ดไล่ทุ่งยังมีตลาดรองรับและยังเป็นธุรกิจที่สามารถพัฒนาและสร้างความมั่นคงของชุมชนให้ชุมชน สามารถพึ่งพาตนเองได้และเป็นอาชีพที่เกื้อกูลต่ออาชีพทํานา
งานศึกษานี้เล็งเห็นความสําคัญของการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมซึ่งก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อระบบ เศรษฐกิจการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งทั้งในด้านรายได้ รายจ่ายของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในการดํารงชีพ ระบบ การผลิต ต้นทุนและผลตอบแทน ห่วงโซ่อุปทานของการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง รวมทั้งปัจจัยเสี่ยงและผลกระทบ ของปัจจัยเสี่ยง แนวทางการปรับตัวและจัดการความเสี่ยงของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้จะ สามารถนําไปพัฒนาศักยภาพในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งและเป็นข้อมูลพื้นฐานในการส่งเสริมการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ให้เหมาะสมกับปัจจัยในพื้นที่และภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างคุณค่าสูงสุดให้กับห่วงโซ่อุปทานของเป็ดไล่ทุ่ง
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงกำร
1) ศึกษาระบบการผลิต ระบบตลาด ต้นทุนและผลตอบแทน ความเชื่อมโยงของห่วงโซ่อุปทาน การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้
2) ศึกษาปัจจัยเสี่ยงและผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้
3) ศึกษาแนวทางการปรับตัวและการจัดการความเสี่ยงของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้
1.3 ระเบียบวิธีวิจัย
กำรวิเครำะห์ข้อมูล
1.3.1 ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งส่วนใหญ่มีการเลี้ยงกันมากในภาคกลาง อันดับสองได้แก่ ภาคใต้ ในส่วนของ ภาคใต้ ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศ กรมปศุสัตว์ ในปี 2557 ระบุว่าจังหวัดพัทลุงเป็นจังหวัดที่มีจํานวน ครัวเรือนเกษตรกรที่เลี้ยงเป็ดไข่ไล่ทุ่งมากที่สุดจํานวน 370 ครัวเรือน รองลงมาได้แก่ จังหวัด นครศรีธรรมราช จํานวน 312 ครัวเรือน และจังหวัดสงขลาจํานวน 94 ครัวเรือน โดยจังหวัดพัทลุงมีการ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมากที่สุดจํานวน 170,399 ตัว รองลงมาได้แก่จังหวัดนครศรีธรรมราช จํานวน 104,537 ตัว และจังหวัดสงขลา จํานวน 15,691 ตัว ทั้งนี้เนื่องจากจํานวนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีการเปลี่ยนแปลง ค่อนข้างมากในแต่ละปี ประกอบกับมีเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งบางส่วนไม่ลงทะเบียนกับปศุสัตว์ในพื้นที่ ข้อมูลรายปีอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา และไม่สอดคล้องกับข้อมูลของกรมปศุสัตว์
1) กำรสุ่มตัวอย่ำง จําแนกวิธีการสุ่มตัวอย่างตามกลุ่มประชากรดังนี้ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไข่ไล่ทุ่งใช้ประชากรทั้งหมดจาก 3 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จั งหวัดพัทลุง 76
ครัวเรือน จังหวัดนครศรีธรรมราช 27 ครัวเรือน และ จังหวัดสงขลา 21 ครัวเรือน ดังแสดงรายละเอียดใน ตารางที่ 5 โดยมีจํานวนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งรวมกันทั้งสิ้น 124 ครัวเรือน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ Non Probability Random Sampling โดยวิธีแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) เนื่องจากการ เก็บข้อมูลต้องเก็บข้อมูลเชิงลึกที่มีรายละเอียดค่อนข้างมากจากผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง จําเป็นต้องได้รับความ ร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่
ทุ่ง และผู้รู้ในพื้นที่และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในเครือข่ายการผลิตไข่เป็ดในจังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุงและ สงขลา
2) กำรพัฒนำและตรวจสอบคุณภำพเครื่องมือ
พัฒนาแบบสอบถามเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิจากกลุ่มตัวอย่าง เกษตรกร และทดลองใช้แบบสอบถามที่นักวิจัยพัฒนาขึ้นกับเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเบื้องต้น เพื่อ ตรวจสอบความสมบูรณ์และความชัดเจนของแบบสอบถาม รวมถึงเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาใน ระหว่างการสํารวจข้อมูลจริง
3) กำรเก็บรวบรวมข้อมูล
เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ การรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) จากแบบสอบถามเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่ได้รับการคัดเลือก ให้เป็นกลุ่มตัวอย่าง ตลอดจนการสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) ตัวแทนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ ทุ่งที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยแบบสอบถามมีโครงสร้างข้อมูลที่สํารวจประกอบไปด้วย
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปทางเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
ตอนที่ 2 แหล่งที่มาของรายได้ของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ รายได้
ตอนที่ 3 รายจ่ายของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง หนี้สินและการออม ปัจจัยที่มี ผลกระทบต่อรายจ่าย
ตอนที่ 4 ต้นทุนและผลตอบแทนในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
ตอนที่ 5 โครงสร้างการตลาด ลักษณะการซื้อขาย ความเชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทานการเลี้ยงเป็ดไล่- ทุ่ง
ตอนที่ 6 ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
ตอนที่ 7 วิธีการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งต่อปัจจัยเสี่ยงที่เกิดขึ้น
ตอนที่ 8 แนวทางการจัดการความเสี่ยงระบบการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเพื่อสร้างสมดุลในการดํารงชีพ ในขณะเดียวกันยังมีการรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) กับผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ (key informants) เช่น ปศุสัตว์จังหวัด ผู้ประกอบการในเครือข่ายการผลิตไข่เป็ด
ผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ
ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) รวบรวมจากการค้นคว้าเอกสาร หนังสือ งานวิจัย เอกสาร วิชาการ และเอกสารเผยแพร่อื่นๆ รวมทั้งข้อมูลจากหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง เช่น ฐานข้อมูล จปฐ. สํานักงานสถิติแห่งชาติ สํานักงานปศุสัตว์จังหวัด เป็นต้น
4) กำรวิเครำะห์ข้อมูลและเครื่องมือที่ใช้ในกำรวิเครำะห์
เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ข้อ 1 เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์การศึกษา ข้อมูลที่รวบรวมได้จาก แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งรวมถึงผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ จะถูกนําเสนอ
และวิเคราะห์ในรูปแบบ ข้อมูลตารางความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสูงสุด ต่ําสุด และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) เพื่อทําให้ทราบถึงข้อมูลทั่วไปทางเศรษฐกิจและสังคมของ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างและข้อมูลอื่นๆ ที่จําเป็น
เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ข้อ 2 ในการศึกษาปัจจัยเสี่ยงและผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงต่อการเลี้ยงเป็ด ไล่ทุ่งในเขตภาคใต้ โดยการนําข้อมูลที่ได้จากการศึกษาในขั้นตอนที่ 1 มาทําการสังเคราะห์เพื่อหาปัจจัย
เสี่ยงที่มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ข้อ 3 การศึกษาแนวทางการปรับตัวและการจัดการความเสี่ยงของ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้ โดยการนําข้อมูลที่ได้จากการศึกษาในขั้นตอนที่ 1 มาทําการ สังเคราะห์เพื่อหาแนวทางการจัดการผลกระทบที่จะสามารถนําไปสู่แนวทางการจัดการความเสี่ยงระบบ การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเพื่อสร้างสมดุลในการดํารงชีพ
1.4 ขอบเขตกำรศึกษำ
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาวิเคราะห์โครงสร้าง การผลิต การตลาด และวิถีการตลาดการเลี้ยง เป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้ ปัจจัยเสี่ยงและผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้และ แนวทางการปรับตัว การจัดการความเสี่ยงของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้ จากการศึกษาพบว่า การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งประกอบด้วยเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่ได้ขึ้นทะเบียนและไม่ได้ขึ้นทะเบียน การศึกษา ครอบคลุมเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่ขึ้นทะเบียนและไม่ได้ขึ้นทะเบียนจากพื้นที่ในจังหวัดพัทลุง นครศรีธรรมราช และสงขลา
กำรเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่สร้ำงสมดุล ในกำรดํำรงชีพ
แนวทางการจัดปรับตัว และการจัดการความเสี่ยง การเลยงเป็ดไล่ทุ่ง
1.5 กรอบแนวคิดกำรวิจัย
การสํารวจข้อมูลระดับครัวเรือนผเู้ ลี้ยง เป็ดไล่ทุ่ง | |||
แหล่งที่มาของรายได้และรายจ่ายและปัจจัยที่มี ผลกระทบต่อรายได้และรายจ่ายของครัวเรือน เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง รายได้ | |||
ความเชื่อมโยงของห่วงโซ่อุปทานการเลยงเป็ด ไล่ทุ่งในเขตภาคใต้ | |||
ผลกระทบที่เกิดขึ้นจาก ปัจจัยเสี่ยง | |||
ต้นทุนและผลตอบแทนในการเลยี้ งเป็ดไล่ทุ่ง | |||
ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | |||
บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม
การเลี้ยงเป็ดแบบไล่ทุ่ง (Free-grazing or normadic system) หมายถึง การเลี้ยงเป็ดโดยมี วัตถุประสงค์การเลี้ยงเพื่อเป็นการค้า แต่มีลักษณะการเลี้ยงที่แตกต่างไปจากการเลี้ยงลักษณะอื่นๆ (ทวีศักดิ์ ส่งเสริม, 2550) โดยการไล่ฝูงเป็ดไปตามแหล่งที่มีอาหาร ซึ่งอาจจะเป็นทุ่งนา ที่เพิ่งเก็บเกี่ยวเสร็จ ซึ่งมีข้าวตกหล่นอยู่ หรือตามแหล่งน้้าธรรมชาติ หนอง บึงต่างๆ ที่มีสัตว์น้้าจ้าพวกปลา กุ้ง และหอยอยู่ มาก ซึ่งเป็นแหล่งหาอาหารหลักของเป็ดไล่ทุ่ง ดังนั้นจึงมีการเปลี่ยนสถานที่เลี้ยงอยู่ตลอดเวลาตามช่วง ระยะเวลาของการท้านา โดยเฉพาะหลังเก็บเกี่ยวข้าว ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจะต้องกกลูกเป็ดให้แข็งแรงเสียก่อน ประมาณ 1-2 สัปดาห์ โดยให้อาหารเสริมในตอนเช้าหรือตอนเย็นก่อนที่จะน้ามาเลี้ยงปล่อยทุ่ง ปล่อยให้ ลูกเป็ดหาอาหารกินเอง (ประภาพร ดาราฉาย, 2554)
การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีความส้าคัญต่อระบบนิเวศน์วิทยาในนาข้าว เนื่องจากอาหารของเป็ดคือข้าวตก และหอยเชอรี่ ซึ่งท้าให้นาข้าวเสียหาย ดังนั้นเป็ดไล่ทุ่งจึงมีส่วนส้าคัญในการก้าจัดศัตรูข้าวและให้ปุ๋ยจาก มูล เป็นการพึ่งพากันระหว่างชาวนาและเจ้าของเป็ด (ธัญญธร และคณะ, 2549) และหากอาชีพใดอาชีพ หนึ่งลดหรือเลิกไปก็จะส่งผลกระทบต่ออีกอาชีพ เนื่องจากต่างเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่การผลิต
ในปัจจุบันการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมี 3 รูปแบบ ประกอบด้วย
(1) การเลี้ยงโดยเกษตรกรรายย่อยอิสระโดยเกษตรกรรายย่อยซื้อลูกเป็ดมาเลี้ยงเองและรับผิดชอบ ค่าใช้จ่ายทั้งหมด การเลี้ยงรูปแบบนี้เหมาะกับการเลี้ยงแบบเกษตรพอเพียง หรือเป็นรายได้เสีย โดยนิยมเลี้ยงกันในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้
(2) การเลี้ยงโดยเกษตรกรรับจ้างเลี้ยง การเลี้ยงรูปแบบนี้ผู้ประกอบการจะจ้างคนมาดูแลโดย รับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมด แรงงานที่จ้างส่วนใหญ่เป็นแรงงานต่างด้าว สามารถเลี้ยงเป็ ดได้ เป็นจ้านวนมาก
(3) การเลี้ยงโดยเกษตรกรรายย่อยที่มีการรับประกันซื้อ การเลี้ยงรูปแบบนี้มีผู้ประกอบการโรงฟัก เป็นผู้ประกอบธุรกิจ อย่างไรก็ตามภายหลังเกิดโรคไข้หวัดนกระบาด ท้าให้มีการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างธุรกิจโดยมีกลุ่มเกษตรกรรายย่อยที่มีศักยภาพหันมาด้าเนินธุรกิจนี้ แทน ผู้ประกอบการโรงฟัก
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเรื่องเศรษฐกิจการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลง สามารถแบ่งออกได้เป็น (1) การศึกษาเกี่ยวกับเป็ดไข่ซึ่งโดยส่วนใหญ่เป็นการศึกษาเกี่ยวกับสภาพการเลี้ยง เป็ดไข่ ต้นทุนและผลตอบแทน ปัญหาและอุปสรรคการเลี้ยงเป็ดไข่ และการศึกษาเครือข่ายทางสังคมของ ผู้เลี้ยงเป็ดไข่ในพื้นที่ต่างๆ ในประเทศไทย (2) การศึกษาเกี่ยวกับเป็ดไข่ไล่ทุ่งซึ่งส่วนใหญ่เป็นงานศึกษาที่ เกี่ยวข้องสภาพการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ต้นทุนและผลตอบแทนการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง เครือข่ายทางสังคมของผู้ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง และการเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกับการเลี้ยงเป็ดแบบอื่นๆ
การเลี้ยงเป็ดไข่
วัชรินทร์ ชมมณฑา (2527) ธงชัย กิตติพงศ์ไพศาล (2533) ไพโรจน์ ชัยสมตระกูล (2531) รพิรัตน์ ท้วมกรุง (2550) คุณาพล เต็มปิยะพล (2555) สภาพการเลี้ยงเป็ดไข่ ต้นทุนและผลตอบแทน ปัญหาและ อุปสรรคการเลี้ยงเป็ดไข่ และการศึกษาเครือข่ายทางสังคมของผู้เลี้ยงเป็ดไข่ในพื้นที่ต่างๆ ในประเทศไทย
วัชรินทร์ ชมมณฑา (2527) ท้าการศึกษาสภาพการเลี้ยงเป็ดไข่ ปัญหาและความต้องการของ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไข่ ในอ้าเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยท้าการศึกษาผู้เลี้ยงเป็ดไข่จ้านวน 117 ราย ในอ้าเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยใช้แบบสัมภาษณ์ ธงชัย กิตติพงศ์ไพศาล (2533) ศึกษา สภาพการเลี้ยงเป็ดไข่และความต้องการทางวิชาการของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไข่ในอ้าเภอบางเลน จังหวัด นครปฐม โดยท้าการศึกษาจากเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดจ้านวน 113 ราย โดยการสัมภาษณ์ตามแบบสัมภาษณ์ รพิรัตน์ ท้วมกรุง (2550) ศึกษาปัญหาการเลี้ยงเป็ดไข่และแนวทางการส่งเสริมเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ด ไข่ในจังหวัดชัยนาท โดยการสัมภาษณ์เกษตรกรจ้านวน 181 ราย ผู้เชี่ยวชาญจ้านวน 12 คนโดยวิธี สนทนากลุ่ม ไพโรจน์ ชัยสมตระกูล (2531) ท้าการศึกษาสถานภาพการเลี้ยงเป็ดในภาคเหนือตอนบนใน พื้นที่ 8 จังหวัด คือ เชียงใหม่ ล้าพูน เชียงราย พะเยา ล้าปาง แพร่ น่านและอุตรดิตถ์ ในปี 2528 โดยการ
สัมภาษณ์โดยใช้แบบสัมภาษณ์ฟาร์มเลี้ยงเป็ดที่มีตั้งแต่ 100 ตัวขึ้นไป จ้านวน 41 ฟาร์ม
คุณาพล เต็มปิยะพล (2555) ศึกษาเครือข่ายทางสังคมของการเลี้ยงเป็ดไข่ในพื้นที่ภาคกลาง ผ่าน ห่วงโซ่อุปทานโดยพิจารณาโครงสร้างทางสังคมและความสัมพันธ์ของเครือข่าย โดยการสัมภาษณ์ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดจ้านวน 477 รายในเขตพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา และนครปฐม
จากการศึกษา วัชรินทร์ ชมมณฑา (2527) และ ธงชัย กิตติพงศ์ไพศาล (2533) พบว่าการเลี้ยงเป็ด ไข่เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดมีทั้งการเลี้ยงเป็ดไข่ที่เป็นอาชีพหลัก โดยมีอาชีพท้านาเป็นอาชีพรองและเกษตรกรผู้ เลี้ยงเป็ดที่ท้าการเลี้ยงเป็ดไข่เป็นอาชีพรอง โดยมีอาชีพท้านาหรืออาชีพอื่นๆ เป็นอาชีพหลักแตกต่างกัน ออกไปตามพื้นที่ที่ใช้ในการศึกษา โดยธงชัย กิตติพงศ์ไพศาล (2533) พบว่าส่วนใหญ่การเลี้ยงเป็ดไข่เป็น อาชีพรองโดยมีอาชีพท้านาเป็นอาชีพหลัก วัชรินทร์ ชมมณฑา (2527) ท้าการศึกษาเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ด ไข่ในอ้าเภอบางปะกง พบว่าอาชีพหลักของประชากรในเขตอ้าเภอบางปะกงมีอาชีพเลี้ยงเป็ดไข่ ในอ้าเภอ บางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ในส่วนของพันธุ์เป็ดที่นิยมเลี้ยง วัชรินทร์ ชมมณฑา (2527) ไพโรจน์ ชัยสมตระกูล (2531) และ ธงชัย กิตติพงศ์ไพศาล (2533) พบว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไข่ส่วนใหญ่นิยมเลี้ยงพันธ์ลูกผสมกากีแคมป์ เบลล์กับพันธุ์พื้นเมือง โดยวัชรินทร์ ชมมณฑา (2527) พบว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไข่ในอ้าเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยส่วนใหญ่เลี้ยงพันธุ์ลูกผสมกากีแคมป์เบลล์กับพันธุ์พื้นเมือง ในขณะที่ธงชัย กิตติ พงศ์ไพศาล (2533) พบว่าการเลี้ยงเป็ดในพื้นที่อ้าเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม เกษตรกรส่วนใหญ่เลี้ยง เป็ดพันธุ์กากีแคมป์เบลล์ ไพโรจน์ ชัยสมตระกูล (2531) พบว่าการเลี้ยงเป็ดในภาคเหนือตอนบนในพื้นที่ 8 จังหวัด พันธุ์เป็ดไข่ที่นิยมเลี้ยงได้แก่ พันธุ์ผสมกากีแคมเบลล์กับพันธุ์พื้นเมือง
สถานที่หรือพื้นที่ในการเลี้ยงโดยส่วนใหญ่ วัชรินทร์ ชมมณฑา (2527) และ ธงชัย กิตติพงศ์ไพศาล (2533) พบว่าการเลี้ยงเป็ดส่วนใหญ่เลี้ยงในโรงเรือน ธงชัย กิตติพงศ์ไพศาล (2533) พบว่าการเลี้ยงเป็ด ส่วนใหญ่เลี้ยงในโรงเรือนเลี้ยงเป็ดที่อยู่ติดข้างบ้าน เกษตรกรโดยส่วนใหญ่เลี้ยงเป็ดไข่ด้วยอาหารผสม โดย ใช้ร้าหยาบ ปลายข้าว และตัวอาหารส้าเร็จรูปเป็นวัตถุดิบผสมอาหาร วัชรินทร์ ชมมณฑา (2527) พบว่า การเลี้ยงเป็ดไข่ขังไว้ในโรงเรือนและอยู่บนที่แห้ง สถานที่ตั้งของโรงเรือนอยู่ติดกับที่พักอาศัย โดยอาหาร ผสมส่วนใหญ่ที่ใช้ในการเลี้ยงเป็ดไข่ได้มาจากการซื้อ ไพโรจน์ ชัยสมตระกูล (2531) ระบุว่านอกจากนี้ ฟาร์มเป็ดส่วนใหญ่จะตั้งอยู่ในบริเวณที่มีการท้านา และอยู่ใกล้แหล่งน้้าธรรมชาติ
แรงงานที่ใช้ในการเลี้ยงเป็ดไข่ โดยส่วนใหญ่เป็นแรงงานในครัวเรือน ธงชัย กิตติพงศ์ไพศาล (2533) พบว่าแรงงานที่ใช้ในการเลี้ยงเป็ดในอ้าเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม ส่วนใหญ่เป็นแรงงานในครัวเรือน ไพโรจน์ ชัยสมตระกูล (2531) พบว่าการเลี้ยงเป็ดในภาคเหนือตอนบนในพื้นที่ 8 จังหวัด ฟาร์มขนาดเล็ก จะใช้แรงงานในครัวเรือน ในขณะที่ฟาร์มขนาดใหญ่จะใช้การจ้างแรงงาน
การจ้าหน่ายผลผลิตเป็ดไข่ผ่านพ่อค้า วัชรินทร์ ชมมณฑา (2527) พบว่าการจ้าหน่ายเป็ดท้าผ่าน พ่อค้าโดยพ่อค้ามารับซื้อถึงบ้าน ในส่วนของปัญหาและอุปสรรคในการเลี้ยงโดยส่วนใหญ่เป็นปัญหาที่ เกี่ยวข้องกับอาหารมีราคาแพง ราคาไข่เป็ด โรคระบาด และแหล่งทุน วัชรินทร์ ชมมณฑา (2527) พบว่า ปัญหาหลักของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไข่ในอ้าเภอบางปะกง คือ อาหารมีราคาแพง โรคระบาด และราคาไข่ เป็ดที่มีราคาต่้า ในขณะที่ธงชัย กิตติพงศ์ไพศาล (2533) พบว่าปัญหาในการเลี้ยงเป็ดไข่ของเกษตรกรผู้ เลี้ยงเป็ดไข่ในอ้าเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม ประกอบไปด้วย ปัญหาโรคระบาด ปัญหาราคาเป็ดตกต่้า และความสะดวกในการขอรับบริการจากสัตว์แพทย์ รพิรัตน์ ท้วมกรุง (2550) พบว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ด ไข่ในจังหวัดชัยนาท มีปัญหาอยู่ในระดับมาก โดยมีปัญหาด้านแหล่งทุน ด้านอาหารและการให้อาหาร และ ด้านการป้องกันโรค วัชรินทร์ ชมมณฑา (2527) พบว่าโรคที่เป็ดไข่เป็นมากที่สุดในการเลี้ยงเป็ดไข่ ใน อ้าเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา คือโรคเพล็ค รองลงมาคือโรคอหิวาต์ ไพโรจน์ ชัยสมตระกูล (2531) ศึกษาปัญหาในการเลี้ยงเป็ดของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไข่ในภาคเหนือตอนบนในพื้นที่ 8 จังหวัด พบว่า ต้นทุนทางด้านอาหารสัตว์ค่อนข้างสูง และการแข่งขันจากไข่ไก่ และไข่เป็ดจากภาคกลางซึ่งมีราคาต่้ากว่า ในส่วนของความช่วยเหลือจากภาครัฐ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไข่ต้องการความช่วยเหลือในเรื่องความรู้ในการ เลี้ยงเป็ด รองลงมาต้องการความช่วยเหลือทางด้านเงินทุน
ในส่วนของเครือข่ายทางสังคมของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไข่ คุณาพล เต็มปิยะพล (2555) ท้าการศึกษาโครงสร้างทางสังคมและความสัมพันธ์ของเครือข่าย พบว่าเครือข่ายการเลี้ยงเป็ดมีการเกาะ กลุ่มอย่างไม่หนาแน่น และการติดต่อกันในเครือข่ายมีขั้นตอนน้อย โดยพบว่าโรงฟักลูกเป็ดและนายทุนมี ความส้าคัญในเครือข่ายเนื่องจากมีการเชื่อมต่อกับกลุ่มต่างๆ ในเครือข่ายการเลี้ยงเป็ดในพื้นที่ภาคกลาง
การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
งานศึกษาเกี่ยวกับเป็ดไล่ทุ่งในประเทศไทย ไพโรจน์ เฮงแสงชัย (2549) คุณาพล เต็มปิยะพล และ คณะ (2555) กรรณิกา อุสสาสาร (2555) ชิดชนก สินธุสุวรรณ์ (2556) ธัญญธร จรัณยานนท์ และคณะ (2548) สุริยพงศ์ วัฒนาศักดิ์ และคณะ (2549) และ ธัญญธร จรัณยานนท์ และคณะ (2549) ท้าการศึกษา เกี่ยวกับสภาพการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ต้นทุนและผลตอบแทนการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง การเปรียบเทียบต้นทุนและ ผลตอบแทนในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกับการเลี้ยงแบบอื่นๆ และเครือข่ายทางสังคมของผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง โดย คุณาพล เต็มปิยะพล และคณะ (2555) ศึกษารูปแบบการเลี้ยงและการจัดการเป็ดไข่ในจังหวัดสุพรรณบุรี อยุธยา และนครปฐม จากการสัมภาษณ์เกษตรกรจานวน 226 ราย ที่เลี้ยงเป็ดไข่ในรูปแบบโรงเรือนเปิด 49 ราย และแบบไล่ทุ่ง 177 ราย ในส่วนของชิดชนก สินธุสุวรรณ์ (2556) ศึกษาสภาพการเลี้ยงเป็ดไข่ไล่ ทุ่ง ปัญหาในการเลี้ยงเป็ดไข่ไล่ทุ่ง และค่าใช้จ่ายและรายได้ในการเลี้ยงเป็ดไข่ไล่ทุ่งในจังหวัดปทุมธานี โดย การใช้แบบสัมภาษณ์ จากเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไข่ไล่ทุ่ง จ้านวน 39 ราย
สุริยพงศ์ วัฒนาศักดิ์ และคณะ (2549) ศึกษาความคิดเห็นของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ไพโรจน์ เฮงแสงชัย (2549) ศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนของการเลี้ยงเป็ดไข่แบบฟาร์มปล่อยลานและ แบบไล่ทุ่ง ในจังหวัดสุพรรณบุรี โดยเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทน และเปรียบเทียบจุดคุ้มทุนในการ
เลี้ยงเป็ดไข่แบบฟาร์มปล่อยลานและแบบไล่ทุ่ง ใน ปีการผลิต 2547/2548 โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วย วิธีการสัมภาษณ์เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างในจังหวัดสุพรรณบุรี จ้านวน 16 ราย
ธัญญธร จรัณยานนท์ และคณะ (2548) ท้าการศึกษารูปแบบและต้นทุนการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในพื้นที่ เขต 7 ธัญญธร จรัณยานนท์ และคณะ (2549) ได้ท้าการศึกษาการเลี้ยงการจัดการและต้นทุนการผลิตจาก อาชีพการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในโซนภาคกลางและภาคตะวันออกโดยศึกษาจากเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไข่ไล่ทุ่งใน พื้นที่ 12 จังหวัดและผู้เลี้ยงเป็ดเนื้อ จ้านวน 3 จังหวัด
ในส่วนของเครือข่ายทางสังคมของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง กรรณิกา อุสสาสาร (2555) ศึกษา ความสัมพันธ์ของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่มีเครือข่ายความสัมพันธ์ของการแลกเปลี่ยนหลาย ระนาบ โดยการสัมภาษณ์และการสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วมเกษตรกรจ้านวน 14 รายจากหมู่บ้าน นางนา อ้าเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก
ชิดชนก สินธุสุวรรณ์ (2556) พบว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไข่ไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่เลี้ยงเป็ดไข่ไล่ทุ่ง เพราะเป็นอาชีพดั้งเดิมของครอบครัว และส่วนมากเลี้ยงเป็ดไข่ไล่ทุ่งร่วมกับการท้านา สุริยพงศ์ วัฒนาศักดิ์ และคณะ (2549) ระบุว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในจังหวัดชัยนาทในปี พ.ศ. 2548 โดยส่วนใหญ่มี รายได้หลักจากการเลี้ยงเป็ด โดยบางส่วนมีรายได้จากการท้านาใกล้เคียงหรือมากกว่าการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง โดย สุริยพงศ์ วัฒนาศักดิ์ และคณะ (2549) พบว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ว่าการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นและมีผลดีต่อการท้านาเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเห็นด้วยว่าการ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีรายได้สูง ผลตอบแทนสูง และมีความเสี่ยงสูงและรายได้ไม่แน่นอน
การเลี้ยงเป็ดไข่ไล่ทุ่งมีทั้งการใช้แรงงานครอบครัวและการจ้างแรงงานเพื่อเลี้ยง โดยชิดชนก สินธุ สุวรรณ์ (2556) พบว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในจังหวัดปทุมธานีส่วนใหญ่มีการใช้แรงงานครอบครัวเป็น ส่วนใหญ่ เช่นเดียวกับ สุริยพงศ์ วัฒนาศักดิ์ และคณะ (2549) พบว่าการใช้แรงงานในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ส่วนใหญ่เป็นการใช้แรงงานในครอบครัว ในขณะที่ธัญญธร จรัณยานนท์ และคณะ (2548) พบว่า เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในพื้นที่เขต 7 การเลี้ยงส่วนใหญ่เป็นการจ้างแรงงานเพื่อเลี้ยง
รูปแบบการเลี้ยงเป็ดไข่ไล่ทุ่ง ธัญญธร จรัณยานนท์ และคณะ (2548) ท้าการศึกษารูปแบบการเลี้ยง เป็ดไล่ทุ่งในพื้นที่เขต 7 พบว่ามีการเลี้ยงเป็ดไข่ไล่ทุ่งมี 2 รูปแบบหลักๆ กลุ่มแรกเป็นการเลี้ยงที่เริ่มต้นด้วย การเลี้ยงลูกเป็ดแรกเกิด กลุ่มที่สองเป็นการเริ่มเลี้ยงด้วยเป็ดไข่สาวอายุ 5 เดือน ธัญญธร จรัณยานนท์ และคณะ (2549) พบว่า ในเป็ดไล่ทุ่งไข่มีรูปแบบ การเลี้ยงการจัดการแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 เริ่มเลี้ยงลูกเป็ดแรกเกิดถึงขายเป็ดสาวเริ่มไข่ กลุ่มที่ 2 เริ่มเลี้ยงลูกเป็ดแรกเกิดถึงเก็บไข่จ้าหน่ายและ จ้าหน่ายเป็ดปลดระวาง กลุ่มที่ 3 เริ่มเลี้ยงลูกเป็ดแรกเกิด ถึงแบ่งขายเป็ดสาวส่วนหนึ่ง เป็ดที่เหลือเก็บไข่ จ้าหน่ายและจ้าหน่ายเป็ดปลดระวาง และกลุ่มที่ 4 เริ่มเลี้ยงเป็ดสาวเริ่มไข่ ถึงเก็บไข่ขายและจ้าหน่ายเป็ด ปลดระวาง
การเลี้ยงเป็ดไข่ไล่ทุ่งให้ผลตอบแทนดีกับเกษตรกรโดยเฉพาะเมื่อเปรียบเทียบกับการเลี้ยงแบบอื่นๆ โดยงานศึกษาของธัญญธร จรัณยานนท์ และคณะ (2548) และไพโรจน์ เฮงแสงชัย (2549) พบว่า การศึกษารูปแบบและต้นทุนการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในพื้นที่เขต 7 พบว่าการเลี้ยงเป็ดไข่แบบไล่ทุ่งให้ ผลตอบแทนดีกว่าการเลี้ยงเป็ดแบบอื่นๆ ในขณะที่ไพโรจน์ เฮงแสงชัย (2549) เปรียบเทียบต้นทุนและ ผลตอบแทนของการเลี้ยงเป็ดไข่แบบฟาร์มปล่อยลานและแบบไล่ทุ่ง ในจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่าการเลี้ยง เป็ดไข่แบบไล่ทุ่งให้ผลตอบแทนที่ดีกว่าการเลี้ยงเป็ดไข่แบบฟาร์มปล่อยลาน การเลี้ยงเป็ดไข่แบบฟาร์ม ปล่อยลานโดยเริ่มเลี้ยงจากเป็ดสาว ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่าการเลี้ยงเป็ดไข่แบบฟาร์มปล่อยลานโดยเริ่ม เลี้ยงจากลูกเป็ด แต่การเลี้ยงเป็ดไข่แบบไล่ทุ่งโดยเริ่มเลี้ยงจากลูกเป็ดให้ผลตอบแทนที่ดีกว่าการเลี้ยงเป็ด
ไข่แบบไล่ทุ่งโดยเริ่มเลี้ยงจากเป็ดสาว ในขณะที่คุณาพล เต็มปิยะพล และคณะ (2555) พบว่าการเลี้ยง แบบโรงเรือนในจังหวัดสุพรรณบุรี อยุธยา และนครปฐม แม้จะให้รายได้จากการขายไข่เป็ดเป็นเวลา 3 เดือน มากกว่าการเลี้ยงแบบไล่ทุ่ง แต่ต้นทุนในการเลี้ยงสูงกว่าอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ ดังนั้น เมื่อ ค้านวณก้าไรสุทธิต่อฟอง และก้าไรสุทธิต่อต้นทุน การเลี้ยงเป็ดไข่แบบไล่ทุ่งจะให้ผลตอบแทนสูงกว่าการ เลี้ยงแบบโรงเรือนอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ
ปัญหาที่พบในการเลี้ยงเป็ดไข่ไล่ทุ่ง ชิดชนก สินธุสุวรรณ์ (2556) ศึกษาการเลี้ยงเป็ดไข่ไล่ทุ่งใน จังหวัดปทุมธานี พบว่ามีการแย่งพื้นที่แปลงนาที่เป็นแหล่งอาหารในการเลี้ยงเป็ดและเป็ดกินสารเคมีที่ ตกค้างในแปลงนา ธัญญธร จรัณยานนท์ และคณะ (2548) ท้าการศึกษารูปแบบและต้นทุนการเลี้ยงเป็ด ไล่ทุ่งในพื้นที่เขต 7 พบว่าการเลี้ยงเป็ดไข่ไล่ทุ่งเกษตรกรผู้เลี้ยงมีปัญหาด้านอาหารเนื่องจากไม่สามารถหา พื้นที่เลี้ยงได้ ด้านพื้นที่เลี้ยงหายาก มีการจ้ากัดพื้นที่เลี้ยง ด้านสุขภาพเป็ดมีสภาพอ่อนแอ ด้านแรงงาน แรงงานหายาก ไม่ซื่อสัตย์ ไม่อดทน ด้านเงินทุน ขาดเงินหมุนเวียนเนื่องจากลูกค้าจ่ายเงินไม่ตรงเวลา
ในส่วนของเครือข่ายทางสังคมของผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง กรรณิกา อุสสาสาร (2555) ศึกษาความสัมพันธ์ ของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่มีเครือข่ายความสัมพันธ์ของการแลกเปลี่ยนหลายระนาบ โดยการ สัมภาษณ์และการสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วมเกษตรกรจ้านวน 14 รายจากหมู่บ้านนางนา อ้าเภอบาง กระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก ความสัมพันธ์ของผู้กระท้าการบนการผลิตเป็ดไข่ไล่ทุ่งเป็นความสัมพันธ์ทาง เศรษฐกิจที่มีความซับซ้อนและมีหลายระนาบ ซึ่งแตกต่างไปจากเครือข่ายทางสังคมของผู้เลี้ยงเป็ดไข่ คุณาพล เต็มปิยะพล และคณะ (2555) พบว่ามีการเกาะกลุ่มไม่หนาแน่นติดต่อระหว่างเครือข่ายน้อย จากการศึกษาพบว่า เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีการแลกเปลี่ยนแบบต่างตอบแทนกับชาวนาและชาวสวน นอกจากนี้ เกษตรกรยังมีการแลกเปลี่ยนทางการตลาดกับพ่อค้าคนกลางที่มีบทบาทส้าคัญในการเป็นผู้ จัดหาปัจจัยการผลิต คือ เป็ดและอาหารสัตว์ โดยมีระบบลูกเล้าเป็นกลไกส้าคัญในการจัดการควบคุมการ ผลิตของเกษตรกร ในขณะเดียวกันเกษตรกรเองก็มิได้ยอมให้ถูกเอารัดเอาเปรียบจากพ่อค้าคนกลาง ตลอดเวลา อย่างไรก็ตาม ความสัมพันธ์ระหว่างเกษตรกรก็ไม่ได้เป็นความสัมพันธ์ที่เป็นอันหนึ่งอันเดียว เสมอ เพราะการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศที่มีนกปากห่างอพยพเข้ามาในพื้นที่ รวมทั้งการเพิ่มจ้านวนฝูง เป็ดของเกษตรกรบางราย ท้าให้พื้นที่เลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรลดลงซึ่งมาสู่ปัญหาความขัดแย้งระหว่าง เกษตรกรในการแย่งชิงพื้นที่เลี้ยงสัตว์ นอกจากนี้พบว่าแนวทางในการควบคุมโรคไข้หวัดนก แม้รัฐจะใช้ อ้านาจในการบังคับใช้กฎระเบียบหรือมาตรการควบคุมโรคไข้หวัดนกกับเกษตรกร แต่กฎระเบียบต่างๆ นั้นก็เต็มไปด้วยช่องโหว่มากมาย แม้ว่าเกษตรกรจะยินยอมปฏิบัติตามมาตรการต่างๆ แต่ยังพบการ หลีกเลี่ยงไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ทั้งการลักลอบเคลื่อนย้ายฝูงเป็ดไล่ทุ่ง ธัญญธร จรัณยานนท์ และคณะ (2548) ระบุเกษตรกรมีความกลัวที่รัฐบาลไม่สนับสนุนให้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง เนื่องจากไม่รู้ไปประกอบอาชีพ อะไรและอายุมากแล้ว ในขณะที่ธัญญธร จรัณยานนท์ และคณะ (2549) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งทั้งในเป็ดไข่และเป็ดเนื้อพบว่าคล้ายคลึงกัน คือ พื้นที่ในการเลี้ยงจ้ากัด พันธุ์เป็ดหายาก แรงงานหายาก คนงานที่เลี้ยงในทุ่งท้างานไม่นานและไม่ค่อยซื่อสัตย์ อาหารส้าเร็จรูปราคาแพง อาหารใน ทุ่งมีน้อย สารเคมีตกค้างในทุ่งนา ผลผลิตราคาตกต่้าในช่วงโรคไข้หวัดนกระบาด การเคลื่อนย้ายไปที่อื่น ท้าไม่ได้ เงินทุนน้อยต้องกู้เงินนอกระบบ ส่วนใหญ่ไม่ทราบวิชาการในการเลี้ยงเป็ด ปัญหาไข้หวัดนกเป็น อุปสรรคในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ถ้าให้เข้าโรงเรือนยังไม่มีความพร้อมเรื่องทุน หาซื้อวัคซีนเพลคและอหิวาต์ ค่อนข้างยาก ต้องซื้อของต่างประเทศซึ่งราคาแพง
ในส่วนของกรมปศุสัตว์ (2547) ได้ท้าการศึกษาแนวทางส่งเสริมเกษตรกรเลี้ยงเป็ดเข้าสู่ระบบฟาร์ม พบว่าการส่งเสริมให้เกษตรกรปรับระบบการเลี้ยงเป็ดเข้าสู่ระบบฟาร์มมีปัญหาและอุปสรรคเนื่องจาก
เกษตรกรที่มีความต้องการเข้าสู่ระบบฟาร์มมาตรฐานขาดแคลนเงินทุนในการปรับปรุงหรือก่อสร้าง โรงเรือน นอกจากนี้การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นการเกษตรผสมผสานที่ลงทุนน้อย แต่ให้ก้าไรมาก การจูงใจ เกษตรกรให้เลี้ยงเป็ดในระบบฟาร์มจึงท้าได้ยาก ข้อมูลจ้านวนเป็ดที่ขึ้นทะเบียนมีความคลาดเคลื่อนและ มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากมีการแจ้งจ้านวนเป็ดตามจ้านวนที่น้าเข้าเลี้ยง แต่เมื่อมีเป็ดตายไม่ มีการบันทึกหรือแจ้ง หรือมีการย้ายเป็ดมาจากที่อื่นไม่มีการขออนุญาต ท้าให้ข้อมูลมีการปรับเปลี่ยนอยู่ เสมอ
ความเสี่ยง
งานศึกษาเกี่ยวกับเป็ดไล่ทุ่งในด้านโรคระบาด ได้แก่ โรคไข้หวัดนกโดยมีเป็ดเป็นพาหนะน้าโรคซึ่งมี อยู่จ้านวนมาก และการศึกษาผลกระทบของโรคไข้หวัดนกต่อการผลผลิตข้าว เช่น Tiensin (2005) ได้ กล่าวว่า ในปี 2547 มีการระบาดของไข้หวัดนก 60 จังหวัด ใน 76 จังหวัดของประเทศไทย และสัตว์ปีกที่ พบว่าเป็นไข้หวัดนกส่วนใหญ่ (ร้อยละ 83) คือ ไก่พื้นเมืองและเป็ด และพื้นที่ที่พบการระบาดอยู่ในพื้นที่ ภาคกลาง ภาคเหนือตอนล่าง และภาคตะวันออก จากการระบาดของโรคไข้หวัดนกในประเทศไทยที่ผ่าน มา พบว่าเป็ดไล่ทุ่งเป็นปัจจัยส้าคัญในการท้าให้เกิดการแพร่กระจายของโรคไข้หวัดนก ในขณะที่ Songserm el.al (2006) รายงานว่าเป็ดสามารถรับเชื้อไข้หวัดนกชนิด H5N1 ได้โดยไม่แสดงอาการป่วย ซึ่งอาจเป็นสาเหตุหรือตัวน้าโรค (carrier) ที่ท้าให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกไปในหลายพื้นที่อย่าง รวดเร็ว ในขณะที่ กรรณิกา อุสสาสาร(2555) กล่าวว่า เป็ดไล่ทุ่งน่าจะเป็นปัจจัยส้าคัญต่อการระบาดของ โรคไข้หวัดนก เนื่องจากพื้นที่ที่มีประชากรเป็ดไล่ทุ่งมากจะทับซ้อนกับพื้นที่ที่มีจ้านวนสัตว์ปีกสูญเสียมาก จึงน่าจะเป็นไปได้ว่าเป็ดไล่ทุ่งเป็นพาหะรับและส่งเชื้อโรคไข้หวัดนกจากนกธรรมชาติไปสู่เป็ดหรือไก่ที่เลี้ยง ในฟาร์มเปิด เช่นเดียวกับ ทวีศักดิ์ ส่งเสริม(2550) กล่าวว่า แม้เป็ดไล่ทุ่งติดเชื้อไข้หวัดนก แต่ไม่ได้เป็น ตัวน้าเชื้อเข้าสู่ฟาร์ม และสาเหตุส้าคัญที่ท้าให้เกิดการระบาดของไข้หวัดนกมากที่สุดก็คือ คน นอกจากนี้ ยังพบว่าการย้ายเป็ดไล่ทุ่งเข้าสู่การเลี้ยงในระบบฟาร์มอาจไม่ประสบความส้าเร็จทุกรายและก่อให้เกิด หนี้สินกับเกษตรกรมากขึ้น อีกทั้งยังเสียหายต่อชาวนาที่ต้องเพิ่มต้นทุนในการก้าจัดเศษข้าวเปลือกบนพื้น นาและหอยเชอรี่จากการที่ไม่มีเป็ดไล่ทุ่งมาก้าจัดสิ่งเหล่านี้ ส้าหรับทางออกของปัญหาดังกล่าวแนะน้าให้ จัดโซนนิ่งเป็ดไล่ทุ่ง ควบคู่กับการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกน่าจะเป็นทางออกที่ดีที่สุด
Songserm et al. (2006) พบเชื้อไวรัส H5N1 ทั้งในเป็ดที่เลี้ยงแบบฟาร์มระบบเปิด แบบเลี้ยงหลัง บ้าน และแบบไล่ทุ่ง แต่ไม่พบเชื้อไวรัส H5N1 ในเป็ดเลี้ยงแบบระบบปิด ดังนั้นจึงมีการน้าเสนอแนวคิด เกี่ยวกับการเลี้ยงเป็ดไข่ในระบบโรงเรือนปิดที่มีระบบป้องกันโรค มีการจัดการและการให้อาหารที่ถูกหลัก วิชาการมากขึ้น แม้ว่าจะท้าให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น จากการเลี้ยงแบบระบบปิด ผลที่ได้รับถือว่าคุ้มค่าจาก การที่ราคาผลผลิตปรับเพิ่มขึ้น
แนวคิดทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง
ความสัมพันธ์ระหว่างผลผลิตกับผลผลิต ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ความสัมพันธ์แบบประกอบกัน (Complementary relationships)
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลผลิตกับผลผลิตในด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ประยงค์ เนตยารักษ์, 2550. ระบุว่าในการผลิตสินค้าเกษตร สินค้าเกษตรบางชนิดมีลักษณะเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน บางชนิดมี
ลักษณะแย่งปัจจัยผลิต บางชนิดร่วมกันได้ และบางชนิดเกี่ยวข้องกัน ความสัมพันธ์ในลักษณะต่าง ๆ ข้างต้นจะส่งผลต่อต้นทุนการผลิตและรายรับรวมจากการผลิตของสินค้าเกษตร
การเลี้ยงเป็ดไข่ไล่ทุ่ง เพื่อผลิตไข่เป็ดและการท้านาเพื่อผลิตข้าว มีความสัมพันธ์ในลักษณะที่เป็ น ความสัมพันธ์แบบประกอบกัน (Complementary relationships) เนื่องจากการผลิตสินค้าชนิดหนึ่ง ได้ ผลิตปัจจัยที่สามารถน้าไปใช้เป็นปัจจัยการผลิตในการผลิตสินค้าอีกชนิดหนึ่งได้
การผลิตสินค้าที่มีความสัมพันธ์แบบประกอบกันมีช่วงความสัมพันธ์ของผลผลิตและผลผลิตที่มี ลักษณะประกอบกันไม่ยาวนัก เนื่องจากการผลิตสินค้าเกษตรชนิดหนึ่งออกมาแล้วได้ปัจจัยการผลิตเพื่อ ผลิตสินค้าอีกชนิดหนึ่งนั้น ปริมาณปัจจัยการผลิตที่ได้มีจ้านวนจ้ากัด ทั้งนี้การเลือกผลิตสินค้าแบบ ประกอบกันจะท้าให้มีรายได้เพิ่มมากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับผู้ผลิตที่ไม่ได้ผลิตสินค้าที่มีลักษณะประกอบ กัน (ประยงค์ เนตยารักษ์, 2550. น 62-63)
บทที่ 3 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานในการเลี้ยงเป็ด
ในบทนี้เป็นการรวบรวมข้อมูลสภาพทั่วไป และข้อมูลพื้นฐานของการเลี้ยงเป็ดในประเทศไทย และใน ภาคใต้เป็ดเป็นสัตว์ปีกที่นิยมเลี้ยงกันมากโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการบริโภคเนื้อและไข่ ในประเทศไทย พบว่ามีการเลี้ยงเป็ดมากในพื้นที่ท้านา พื้นที่แหล่งน้้าธรรมชาติ และพื้นที่ติดชายทะเล เช่น สมุทรสาคร นครปฐม สุพรรณบุรี อ่างทอง เนื่องจากเป็ดสามารถหาอาหารได้ในพื้นที่ซึ่งเป็นการลดต้นทุนในการเลี้ยง
3.1 การเลี้ยงเป็ดในประเทศไทย
เป็ดที่เลี้ยงในประเทศไทย โดยส่วนใหญ่ได้รับการปรับปรุงพันธุ์มาจากเป็ดมอลลาร์ด (Mallard; Ana platyrhyncho) ยกเว้นเป็ดเทศ (Muscovy ; Cairina moschata) โดยพันธุ์เป็ดที่เลี้ยงในประเทศ ไทย แบ่งออกได้เป็น (1) เป็ดพันธุ์เนื้อ (Meat-type duck) จะมีลักษณะเป็นเป็ดที่มีขนาดใหญ่ ตัวใหญ่ และให้เนื้อมาก แต่มีผลผลิตไข่น้อย (2) เป็ดไข่ (Egg-type duck) เป็นเป็ดที่ให้ไข่เป็นผลผลิตหลัก มีขนาด และน้้าหนักตัวไม่มาก
1) เป็ดพันธุ์เนื้อ (Meat Type Duck)
เป็ดพันธุ์เนื้อที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทยมีทั้งหมด 5 สายพันธุ์ ประกอบไปด้วย
- เป็ดเนื้อพันธุ์ปักกิ่ง (Pekin Duck) เป็ดเนื้อพันธุ์ปักกิ่งมีต้นก้าเนิดจากประเทศจีน เลี้ยงง่าย เจริญเติบโตได้ดีภายในระบบการเลี้ยงแบบโรงเรือนที่มีการจัดการดี
- เป็ดเทศ (Muscovy) เป็ดเทศพบที่ทวีปอเมริกาใต้ ให้เนื้อมาก ให้ไข่น้อย เป็ดตัวผู้และเป็ดตัวเมียมี น้้าหนักแตกต่างกันมาก ประกอบกับมีการเจริญเติบโตค่อนข้างช้า จึงไม่นิยมเลี้ยงเพื่อการค้า
- เป็ดปั๊วฉ่าย (Mule Duck) เป็ดปั๊วฉ่ายเป็นเป็ดพันธุ์ผสมระหว่างเป็ดเทศกับเป็ดธรรมดา เลี้ยงง่าย โตเร็ว ทนทานต่อโรคและสภาพแวดล้อม
- เป็ดพันธุ์ผสมเพื่อการค้า (Hybrid breed) เป็ดพันธุ์ผสมเพื่อการค้าส่วนใหญ่เป็นเป็ดพันธุ์ผสมที่มี พันธุ์เป็ดปักกิ่งผสมอยู่ด้วย เช่น พันธุ์เชอรรี่วอลเลย์ พันธุ์ทีเกล เป็นต้น
- เป็ดเทศพันธุ์กบินทร์บุรี เป็นเป็ดที่มีการปรับปรุงพันธุ์มาจากเป็ดพันธุ์บาร์บารี เลี้ยงง่ายขยายพันธุ์ ได้ดี ทนต่อโรคเหมาะกับการเลี้ยงในประเทศไทย
2) เป็ดไข่ (Egg Type Duck)
เป็ดไข่ที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทย มีทั้งหมด 4 สายพันธุ์ ประกอบไปด้วย
- เป็ดพันธุ์กากีแคมเบลล์ (Khaki Campbell) เป็ดพันธุ์กากีแคมเบลล์เป็นพันธุ์ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดย Adele Campbell ให้ไข่ดก เฉลี่ยประมาณ 300 ฟองต่อปี
- เป็ดพันธุ์อินเดียรันเนอร์ (Indian Runnber) เป็ดพันธุ์อินเดียรันเนอร์พบครั้งแรกในแถบประเทศ อินโดนีเซีย มีขนาดเล็ก ให้ไข่ฟองโต เฉลี่ยประมาณ 150-200 ฟองต่อปี
- เป็ดพันธุ์พื้นเมือง (Native Ducks) ในประเทศไทยมีเป็ดพันธุ์พื้นเมืองที่นิยมเลี้ยง 2 สายพันธุ์ ได้แก่ เป็ดนครปฐม และเป็ดปากน้้า เป็นเป็ดพันธุ์พื้นเมืองของไทย อย่างไรก็ตามเป็ดพันธุ์พื้นเมืองใน ปัจจุบันค่อนข้างหายากเนื่องจากมีการผสมข้ามสายพันธุ์กลายเป็นเป็ดพันธุ์ผสม
- เป็ดพันธุ์ลูกผสมกากีแคมเบลล์กับพื้นเมือง (Kaki and Native Ducks) เป็นเป็ดที่เกิดจากการผสม ข้ามสายพันธุ์ เกษตรกรนิยมเลี้ยงเนื่องจาก ทนทานต่อโรคและสภาพแวดล้อมให้เนื้อมากและไข่ดก ประมาณ 260 ฟองต่อปี
กลุ่มสารสนเทศและข้อมูลสถิติ ศูนย์สารสนเทศ กรมปศุสัตว์ (2558) รายงานข้อมูลการเลี้ยงเป็ด ทั้งหมดในประเทศไทยมีจ้านวน 28,762,259 ตัว แบ่งเป็นเป็ดเนื้อ 9,234,511 ตัวคิดเป็นร้อยละ 32 เป็ด
ไข่ไล่ทุ่งจ้านวน 7,027,178 ตัว คิดเป็นร้อยละ 24 เป็ดไข่จ้านวน 6,521,188 ตัว คิดเป็นร้อยละ 23 เป็ด
เทศจ้านวน 5,481,712 ตัว คิดเป็นร้อยละ 29 เป็ดเนื้อไล่ทุ่งจ้านวน 497,670 ตัว คิดเป็นร้อยละ 2 จ้านวนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดมีจ้านวนทั้งสิ้น 422,366 ครัวเรือน แบ่งเป็นครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยง
เป็ดเทศจ้านวน 328,827 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 72 เป็ดไข่จ้านวน 91,159 ครัวเรือนคิดเป็นร้อยละ 20
เป็ดเนื้อจ้านวน 29,894 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 6.57 เป็ดไข่ไล่ทุ่งจ้านวน 3,300 ครัวเรือนคิดเป็นร้อย
ละ 0.72 และเป็ดเนื้อไล่ทุ่งจ้านวน 1,457 ครัวเรือน ร้อยละ 0.32
จากสถิติของกรมปศุสัตว์พบว่า ในปี 2547 ประชากรเป็ดทั่วประเทศลดลงจากปีก่อนหน้าเนื่องจาก มีการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนก และจากข้อมูลในปี 2553 พบว่ามีเป็ดไข่ไล่ทุ่งประมาณ 7 ล้านตัว (ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมปศุสัตว์, 2553) ในปี 2546 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงสาธารณสุขได้ร่วมกันประกาศการระบาดของโรคไข้หวัดในประเทศไทยเช่นเดียวกับหลาย ภูมิภาคของเอเชีย โดยมาตรการของรัฐได้ส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงสัตว์ปีกของเกษตรกรรายย่อยทั่ว ประเทศ โดยมีมาตรการบังคับให้เกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์ปีกทุกประเภทต้องเลี้ยงในระบบปิด (Compartment system) ซึ่งรัฐบาลเชื่อว่าสามารถตัดวงจรการระบาดของโรคไข้หวัดนกได้
3.2 รูปแบบการเลี้ยงเป็ดไข่
อรวรรณ (2547), Songserm et al (2006), ทวีศักดิ์ ส่งเสริม, (2551) ได้แบ่งรูปแบบการเลี้ยงเป็ด ไข่ด้วยเกณฑ์ต่างๆ ดังนี้ อรวรรณ (2547) แบ่งรูปแบบการเลี้ยงเป็ดออกเป็น 2 ลักษณะ คือการเลี้ยงเป็ด เพื่อการบริโภคในครัวเรือนซึ่งเป็นการเลี้ยงเพื่อบริโภคในครัวเรือน โดยส่วนใหญ่เป็นการเลี้ยงเป็ดพันธุ์ พื้นเมือง การเลี้ยงใช้เศษอาหารที่เหลือจากการบริโภคในครัวเรือนน้ามาเลี้ยงเป็ด และร้าข้าวเปลือก และ การเลี้ยงเป็ดเพื่อการค้า แบ่งออกเป็นการเลี้ยงแบบไล่ทุ่ง (Nomadic system) ซึ่งเป็นการเลี้ยงโดยปล่อย ฝูงเป็ดไปหาอาหารตามแหล่งอาหารต่างๆ เช่น นาข้าวที่เพิ่งเก็บเกี่ยว หรือแหล่งน้้าธรรมชาติ การเลี้ยง แบบฟาร์มปล่อยลาน (extensive system) การเลี้ยงจะเป็นการปล่อยให้เป็ดออกหาอาหารนอกโรงเรือน โดยจะมีลานดินหรือแหล่งน้้าอยู่ใกล้โรงเรือนเป็ด การเลี้ยงในโรงเรือนหรือการเลี้ยงแบบฟาร์มระบบปิด (Intensive System) การเลี้ยงเป็ดในโรงเรือนแบบระบบปิด การเลี้ยงเป็ดในโรงเรือนปิดจะช่วยลดปัญหา เรื่องโรคระบาด Songserm et al (2006) แบ่งการเลี้ยงเป็ดออกเป็น การเลี้ยงเป็นระบบอุตสาหกรรม (Industrial raising system) ซึ่งเป็นการเลี้ยงระบบฟาร์มที่ได้มาตรฐาน การเลี้ยงกึ่งอุตสาหกรรม (Semi- Industrial raising system) เป็นการเลี้ยงแบบระบบฟาร์มเช่นกัน แต่ระดับมาตรฐานน้อยกว่าระบบ อุตสาหกรรม การเลี้ยงหลังบ้าน (backyard raising system) เป็นการเลี้ยงเพื่อบริโภคในครัวเรือน การ เลี้ยงแบบไล่ทุ่ง (Free grazing or nomadic system) เป็นการเลี้ยงนอกระบบฟาร์มและเป็นการเลี้ยง เพื่อการค้า นอกจากนี้ ทวีศักดิ์ ส่งเสริม (2557) แบ่งรูปแบบการเลี้ยงเป็ดออกเป็น 3 ลักษณะ คือ การ เลี้ยงเป็ดเพื่อการค้า (commercial farming) การเลี้ยงเป็ดในฟาร์มขนาดใหญ่จ้านวนตั้งแต่ 10,000 ตัว ขึ้นไป มี 3 รูปแบบ คือการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง (Normadic system, Free-grazing system) เป็นการเลี้ยงโดย แบ่งการเลี้ยงออกเป็นสองช่วง คือ หลังการท้านาปรัง และหลังการท้านาปี ปล่อยเป็ดลงทุ่งนาเพื่อเก็บ เมล็ดข้าวกิน หลังจากนั้นประมาณ 3 เดือน ค่อยน้าเป็ดเข้าโรงเรือน เป็นการประหยัดค่าอาหาร การเลี้ยง เป็ดกึ่งการค้า ประกอบด้วย การเลี้ยงเป็ดแบบปล่อยลาน (Extensive System) เกษตรกรจะต้องมีลาน ดิน และบ่อน้้าอยู่ใกล้กับโรงเรือน เป็ดจะกินอาหารนอกโรงเรือนและจะลงน้้า ท้าให้ลดความหนาแน่นของ
เป็ดในบางเวลา การเลี้ยงเป็ดในโรงเรือนเป็นการเลี้ยงคล้ายไก่ที่ให้เป็ดอยู่ในโรงเรือนตลอดเวลา แต่จะต้อง จัดพื้นที่ให้เป็ดได้สัมผัสกับน้้าบ้าง ท้าให้บางพื้นที่อาจเปียกแฉะบ้าง การเลี้ยงแบบนี้ต้องลงทุนมาก แต่จะ ได้ผลตอบแทนสูง อาหารที่ใช้เลี้ยงจะเป็นอาหารข้น การเลี้ยงแบบนี้มักจะเป็นเป็ดเนื้อ ปัจจุบันโรงเรือนที่ ใช้เลี้ยงมักเป็นโรงเรือนแบบปิดเป็นการเลี้ยงเป็ดในโรงเรือน (Intensive system)
ปัจจุบันโรงเรือนที่ใช้เลี้ยงมักเป็นโรงเรือนแบบปิด หรือมีตาข่ายกั้นไม่ให้สัตว์อื่นหรือนกเข้าไป ภายในโรงเรือนได้ ทั้งนี้เพื่อป้องกันโรคระบาด การเลี้ยงเป็ดแบบกึ่งการค้า (Semi-commercial farming) เกี่ยวกับการเลี้ยงเป็ดแบบกึ่งการค้านั้น เป็นการเลี้ยงเป็ดเช่นเดียวกับที่ฟาร์มเป็ดขนาดใหญ่เลี้ยง กันอยู่ในปัจจุบัน แต่ลักษณะโรงเรือนและการก่อสร้างเป็นแบบง่ายๆ เพื่อให้เป็ดอาศัยพักและหลับนอนใน เวลากลางคืน หรือเมื่อมีฝนตก มีลานปล่อยให้เป็ดได้เดินออกก้าลังกายบ้าง มีที่ให้น้้า ให้อาหารอยู่ในลาน การจัดการเลี้ยงดูยังเป็นแบบเก่าที่เคยได้ท้ากันมา คือ ใช้เศษอาหาร ผักสับผสมกับร้าละเอียด ข้าวเปลือก หรืออาหารผสมที่หาซื้อตามร้านค้าทั่วไป หรือบางครั้งอาจน้าเป็ดทั้งฝูงไปปล่อยตามทุ่งนา หรือตามหนอง น้้า หลังฤดูเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จ เพื่อให้เป็ดเก็บกินเมล็ดข้าวที่ตกหล่นในนา เพื่อเป็นการลดต้นทุนค่าอาหาร และการเลี้ยงเป็ดแบบหลังบ้าน (subsistence farming) ส้าหรับการเลี้ยงเป็ดแบบหลังบ้านนั้น เป็นการ เลี้ยงแบบงานอดิเรก การเลี้ยงเป็ดแบบนี้ยังอยู่ในรูปอุตสาหกรรมในครัวเรือน ในชนบทของไทยจ้านวน มาก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ไข่หรือเนื้อเป็นอาหารบริโภคภายในครัวเรือนหรือขายกันภายในหมู่บ้าน เป็นการเลี้ยงแบบหลังบ้าน พันธุ์ที่ใช้เลี้ยงส่วนใหญ่มักจะเป็นการเลี้ยงเป็ดพันธุ์พื้นเมืองเป็นหลัก นอกจากนี้ในหลายแห่งยังมีการเลี้ยงเป็ดเทศหรือเป็ดปั๊วไฉ่กันด้วย วิธีการเลี้ยงไม่ยุ่งยาก โดยทั่วไปจะ ปล่อยให้เป็ดหาอาหารจากแหล่งน้้าเป็นหลัก โดยปล่อยให้เป็ดออกไปหากินเองในแหล่งน้้าธรรมชาติ หรือ ในบ่อเป็นเวลาหรือตลอดทั้งวัน บางแห่งอาจเลี้ยงเป็ดรวมกับการเลี้ยงปลาในบ่อ อาหารหลักมักเป็นปลา และหอยต่างๆ ที่เป็ดชอบกิน นอกจากนั้นยังใช้เศษอาหาร ปลายข้าว และร้า อาหารผสมให้กับเป็ดบ้างแต่ น้อยมาก
อย่างไรก็ตามหากพิจารณาวัตถุประสงค์การเลี้ยง จากผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สามารถแบ่งการ เลี้ยงเป็ดออกเป็น 2 ลักษณะคือ การเลี้ยงเป็ดที่ไม่มุ่งเน้นเพื่อการค้า และการเลี้ยงเป็ดเพื่อการค้า
1) การเลี้ยงเป็ดที่ไม่มุ่งเน้นเพื่อการค้า
การเลี้ยงเป็ดที่ไม่มุ่งเพื่อการค้าเป็นการเลี้ยงเป็ดเพื่อบริโภคในครัวเรือน เป็นการเลี้ยงโดยมี วัตถุประสงค์หลักเพื่อบริโภคในครัวเรือนไม่มุ่งเน้นผลทางการค้าจากการเลี้ยงเป็ด เป็ดส่วนใหญ่เป็นเป็ด พันธุ์พื้นเมือง อย่างไรก็ตามหากมีไข่เป็ดเหลือจากการบริโภคในบางครั้งอาจมีการน้าไปขายในหมู่บ้าน พันธุ์ที่เลี้ยงส่วนใหญ่จะเป็นพันธุ์พื้นเมืองเป็นหลัก
2) การเลี้ยงเป็ดที่มุ่งเน้นเพื่อการค้า
ประกอบไปด้วย การเลี้ยงเป็ดแบบไล่ทุ่ง การเลี้ยงเป็ดแบบปล่อยทุ่งหรือการเลี้ยงเป็ดแบบปล่อย ลาน และการเลี้ยงเป็ดแบบโรงเรือนหรือระบบฟาร์มปิด
2.1) การเลี้ยงแบบไล่ทุ่ง การเลี้ยงวิธีนี้มีทั้งการเลี้ยงเป็ดเนื้อและเป็ดไข่ โดยส่วนใหญ่นิยมเลี้ยง เป็ดเนื้อมากกว่าเป็ดไข่ โดยการปล่อยเป็ดไปตามแหล่งอาหาร เช่น พื้นที่นาที่เพิ่งเก็บเกี่ยวหรือตามแหล่ง
น้้าธรรมชาติ พบมากในพื้นที่ภาคกลางที่มีการท้านาข้าวเป็นหลัก เป็ดที่น้ามาเลี้ยงส่วนใหญ่เป็นเป็ดพันธุ์ พื้นเมืองที่มีความแข็งแรงอดทนต่อสภาพที่ต้องหากินตามธรรมชาติ การเลี้ยงแบบไล่ทุ่งจะแบ่งการเลี้ยง เป็น 2 ฤดูคือท้านาปรังและหลังฤดูท้านาปี จะมีการเลี้ยงเป็ดเล็กในโรงเรือนจนอายุได้ประมาณ 1 เดือน หลังจากนั้นจะปล่อยลงทุ่งนา
2.2) การเลี้ยงแบบปล่อยลาน เป็นการเลี้ยงเป็ดเนื้อและเป็ดไข่โดยจะมีแหล่งน้้าใกล้กับโรงเรือน เป็ด จะปล่อยให้เป็ดออกหากินน้้าและอาหารนอกโรงเรือน เป็นวิธีที่จะท้าให้ความหนาแน่นของเป็ดลดลง ไป เกษตรกรต้องมีลานดินและบ่อน้้าอยู่ใกล้กับโรงเรือน เป็ดจะกินอาหารนอกโรงเรือนและจะลงน้้า การ เลี้ยงแบบนี้พบได้ทั่วไปในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก โดยมักจะใช้เลี้ยงเป็ดไข่
2.3) การเลี้ยงเป็ดแบบปล่อยทุ่ง เป็นการเลี้ยงเป็ดโดยเกษตรกรมีโรงเรือนเป็ด ปล่อยให้เป็ดออก หากินตามแหล่งน้้า และทุ่งนาที่ใกล้เคียง โดยตกเย็นเป็ดจะกลับเข้ามาที่โรงเรือน
2.4) การเลี้ยงในโรงเรือนหรือระบบฟาร์มแบบปิด การเลี้ยงในโรงเรือนเป็ดจะอยู่ในโรงเรือน
ตลอดเวลา โดยการเลี้ยงแบบนี้ใช้เงินลงทุนค่อนข้างสูง โดยการเลี้ยงเป็ดในโรงเรือนซึ่งจะช่วยป้องกัน ปัญหาโรคระบาดได้ดีกว่าการเลี้ยงแบบอื่นๆ ส่วนใหญ่จะเป็นการเลี้ยงเป็ดเนื้อ โรงเรือนที่ใช้เลี้ยงจะเป็น โรงเรือนแบบปิด อาจมีตาข่ายกั้นเพื่อป้องกันมิให้สัตว์อื่นเข้าไป
โดยสรุปการเลี้ยงเป็ดแบบไล่ทุ่ง เป็นการเลี้ยงเพื่อการค้า โดยปล่อยเป็ดไปเลี้ยงในทุ่งนาที่มีการเก็บ เกี่ยวข้าวแล้ว และมีการเคลื่อนย้ายเป็ดไปตามที่ต่างๆ
การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งถือเป็นอาชีพเกษตรกรรมที่อยู่คู่กับวิถีเกษตรของไทยมานาน ไม่ว่าจะเลี้ยงเป็น อาชีพหลัก หรือการเลี้ยงเป็นอาชีพเสริมควบคู่ไปกับการท้าเกษตรกรรม โดยมีลักษณะการเลี้ยงที่แตกต่าง กันออกไป เลี้ยงในระบบฟาร์ม หรือเลี้ยงแบบปล่อยทุ่ง เลี้ยงแบบไล่ทุ่ง โดยเฉพาะเป็ดไล่ทุ่งมีประโยชน์กับ เกษตรกรที่ท้านา เนื่องจากเป็ดไล่ทุ่งจะท้าหน้าที่ช่วยก้าจัดหรือควบคุมปริมาณหอยเชอร์รี่ และศัตรูพืชใน นาข้าว การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งนับได้ว่าเป็นอาชีพที่ต้องพึ่งพาอาศัยกันระหว่างชาวนาและผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ดังนั้นหากพื้นที่ท้านาลดลง หรือจ้านวนผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งลดลงย่อมส่งผลกระทบต่ออีกอาชีพหนึ่งอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้
การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นภูมิปัญญาชาวบ้านของเกษตรกรซึ่งถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น เป็ดไล่ทุ่งเป็นสัตว์ที่ เลี้ยงง่าย และทนทานต่อโรคสามารถใช้สิ่งเหลือใช้ทางการเกษตร การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเกิดจากการที่ เกษตรกรเห็นว่า การเกี่ยวข้าวมีข้าวตกเหลือเป็นจ้านวนมาก เป็ด ไก่ที่เลี้ยงไว้กินข้าวไม่หมด ประกอบกับ กรมปศุสัตว์ ได้ขยายพันธุ์เป็ดไข่จ้าหน่ายให้เกษตรกร จึงมีการเลี้ยงเป็ดไข่แบบฟาร์มย่อยๆ และปล่อยลง เลี้ยงในนาข้าวหลังฤดูเก็บเกี่ยว เกษตรกรส่วนหนึ่งมีเวลาว่างจากการท้านาต้องการใช้เวลาว่างนั้นในการ สร้างรายได้ให้แก่ครอบครัว แต่เป็นที่ทราบกันดีว่าเกษตรกรส่วนใหญ่ขาดแคลนเงินทุน จึงไม่สามารถลงทุน กับกิจการใหญ่ๆ ได้ การเลี้ยงเป็ดไข่เป็นกิจการขนาดเล็กภายในครอบครัวที่ใช้เงินลงทุนไม่มากนักจึง เกิดขึ้น ประกอบกับสภาพโดยทั่วไปของชนบทไทยมีแหล่งน้้า มีพื้นที่ท้านาซึ่งเหมาะแก่การเลี้ยงเป็ด การ เลี้ยงเป็ดท้าได้เกือบจะทุกแห่ง อาหารเป็ดมีอยู่ทั่วไปในธรรมชาติ โดยเกษตรกรมักเริ่มเลี้ยงเป็ดก่อนหน้า ฤดูเกี่ยว 1 เดือน หลังจากเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว สามารถต้อนเป็ดเลี้ยงตามทุ่งนาหากินข้าวตกได้ เกษตรกรไม่มี ความจ้าเป็นต้องซื้ออาหารให้เป็ดและมีไข่ไว้บริโภคส่วนที่เหลือน้าไปจ้าหน่าย โดยทั่วไปประชาชนนิยมน้า ไข่เป็ดมาท้าเป็นอาหาร รวมทั้งการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า เช่น การท้าไข่เค็ม เป็นต้น
3.3 การเลี้ยงเป็ดไข่ในภาคใต้
การเลี้ยงเป็ดในภาคใต้มีลักษณะการเลี้ยง 3 รูปแบบ คือ
1) การเลี้ยงเป็ดในโรงเรือน (Intensive system)
เป็นการเลี้ยงที่ให้เป็ดอยู่ภายในโรงเรือนตลอดเวลา อาจจะมีการจัดพื้นที่ให้เป็ดได้สัมผัสกับน้้าบ้าง ท้าให้บางพื้นที่อาจจะเปียกแฉะบ้าง การเลี้ยงแบบนี้ต้องลงทุนมาก แต่จะได้ผลตอบแทนสูง ผู้เลี้ยงมักจะ ปลดเป็ดออกจากฟาร์มเมื่อเป็ดมีอายุการให้ไข่ประมาณ 1 ปี อาหารที่ใช้เลี้ยงจะเป็นอาหารข้นทั้งหมด โรงเรือนที่ใช้เลี้ยงมักเป็นโรงเรือนแบบปิด หรือมีตาข่ายกั้นไม่ให้สัตว์อื่นหรือนกเข้าไปภายในโรงเรือนได้ ทั้งนี้เพื่อป้องกันโรคต่างๆ ตามมาตรการป้องกันโรคของกรมปศุสัตว์
ภาพที่ 3.1 ลักษณะการเลี้ยงเป็ดแบบขังในโรงเรือน
2) การเลี้ยงเป็ดแบบปล่อยทุ่ง (Extensive system)
การเลี้ยงเป็ดแบบนี้เกษตรกรจะต้องมีพื้นที่ และบ่อน้้าอยู่ใกล้กับโรงเรือน การเลี้ยงแบบนี้จะปล่อย เป็ดไปในช่วงเช้าหลังจากเป็ดวางไข่แล้ว และจะต้อนกลับมาเข้าคอกในช่วงเย็น เป็ดจะหากินอาหารนอก
โรงเรือน อาจจะมีการให้อาหารข้นหรือเปลือกหอยเสริมบ้างในตอนเย็น ผู้เลี้ยงเป็ดนิยมใช้หอยกะพงมา เสริมให้เป็ดกินเพื่อให้เปลือกไข่มีความแข็งแรง ไม่แตกง่าย การเลี้ยงแบบนี้จะประหยัดต้นทุนค่าอาหารได้ ส่วนหนึ่ง
ภาพที่ 3.2 ฝูงเป็ดที่เลี้ยงแบบปล่อยทุ่ง
ภาพที่ 3.3 หอยกะพงที่ใช้ส้าหรับการเลี้ยงเป็ด
3) การเลี้ยงเป็ดแบบไล่ทุ่ง (Normadic system, free-grazing system)
การเลี้ยงเป็ดแบบไล่ทุ่งมีหลายรูปแบบ เช่น การเลี้ยงตั้งแต่เป็ดเล็กจนปลดระวาง การซื้อเป็ดสาวมา เลี้ยงจนกระทั่งปลดระวาง การซื้อเป็ดปลดระวางจากฟาร์มมาเลี้ยง โดยจะท้าเมื่อเกี่ยวข้าวเสร็จแล้ว วิธีการคือ จะมีการปล่อยเป็ดลงทุ่งนาเพื่อเก็บกินเมล็ดข้าวที่เหลือ และกินกุ้ง หอย ปู ปลา ในทุ่งนา จนกระทั่งหมดอาหารในบริเวณนั้น จากนั้นจึงย้ายไปสู่พื้นที่อื่นต่อไป ทั้งนี้เพื่อเป็นการประหยัดค่าอาหาร ผู้เลี้ยงจะท้าคอกชั่วคราวโดยการใช้ตาข่ายกั้นให้เป็นที่อยู่อาศัยของเป็ดในช่วงเวลากลางคืน ส้าหรับพันธุ์ เป็ดที่นิยมน้ามาเลี้ยงแบบไล่ทุ่งมากที่สุด คือ พันธุ์กากีแคมป์เบลล์ ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจะมีการ เคลื่อนย้ายเป็ดไปในพื้นที่ต่างๆ ที่มีอาหาร ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งส่วนใหญ่จะเป็นเกษตรกรรายย่อย
ภาพที่ 3.4 การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งหลังจากเกี่ยวข้าวเสร็จ
ภาพที่ 3.5 แสดงคอกเป็ดไล่ทุ่ง
ภาพที่ 3.6 ฝูงเป็ดไล่ทุ่งที่ก้าลังให้ผลผลิต
ลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในพื้นที่ภาคใต้ จะแบ่งออกเป็น 4 ลักษณะ คือ
1. การเลี้ยงลูกเป็ดแรกเกิดจนกระทั่งปลดระวาง
ผู้เลี้ยงจะท้าการเลี้ยงลูกเป็ดในโรงเรือนประมาณ 1 เดือน หลังจากนั้นจะน้าไปเลี้ยงแบบไล่ทุ่ง จนกระทั่งปลดระวาง ผู้เลี้ยงบางรายจะขายเป็ดสาวออกไปบางส่วน เมื่อเป็ดมีอายุประมาณ 4-5 เดือน ส่วนเป็ดที่เหลือก็น้าไปเลี้ยงแบบไล่ทุ่งจนกระทั่งปลดระวาง ลูกเป็ดที่น้ามาเลี้ยงส่วนใหญ่จะสั่งซื้อมาจาก ภาคกลาง เช่น สุพรรณบุรี ราชบุรี นครปฐม สมุทรสงคราม ฯลฯ ในการเลี้ยงแบบนี้ผู้เลี้ยงจะต้องมีการ จัดการต่างๆ เช่น การกกไฟให้ความอบอุ่นในช่วงเป็ดเล็ก การท้าวัคซีนต่างๆ ตามโปรแกรม เช่น วัคซีน กาฬโรคเป็ด วัคซีนอหิวาต์ อาหารที่ใช้เลี้ยงในช่วงเป็ดเล็กในโรงเรือนจะเป็นอาหารส้าเร็จรูป เมื่อเป็ดมีอายุ ประมาณ 1 เดือน จะมีการน้าข้าวเปลือกมาผสมกับอาหารส้าเร็จรูปเพื่อให้ลูกเป็ดฝึกกินข้าวเปลือก หลังจากนั้นก็จะน้าไปเลี้ยงแบบไล่ทุ่งจนกระทั่งปลดระวาง
ภาพที่ 3.7 ลักษณะการเลี้ยงลูกเป็ดไล่ทุ่ง
2. การผลิตเป็ดสาวขาย
การเลี้ยงแบบนี้จะมีการจัดการในช่วงเป็ดเล็กเหมือนแบบที่ 1 โดยผู้เลี้ยงจะท้าการซื้อลูกเป็ดมา
เลี้ยงในโรงเรือนประมาณ 1 เดือน หลังจากนั้นจะน้าไปเลี้ยงแบบไล่ทุ่ง เมื่อเป็ดสาวมีอายุประมาณ 4 -5 เดือน ก็จะขายเป็ดสาวทั้งหมดและน้าเป็ดรุ่นต่อไปมาเลี้ยง การผลิตเป็ดสาวขายจะต้องมีการจัดการที่ดี เพื่อลดการสูญเสีย เนื่องจากในช่วงเป็ดเล็กอาจจะมีการสูญเสียมากถ้าการจัดการไม่ถูกต้อง และควรมีการ ท้าวัคซีนเพื่อป้องกันโรค
3. การซื้อเป็ดสาวมาเลี้ยง
การเลี้ยงแบบนี้ผู้เลี้ยงจะซื้อเป็ดสาวที่มีอายุประมาณ 4-5 เดือน จากภาคกลางหรือจากผู้เลี้ยงเป็ด สาวในพื้นที่มาเลี้ยงจนกระทั่งปลดระวาง การซื้อเป็ดสาวมาเลี้ยงจะมีความสะดวกส้าหรับเกษตรกร ลด ภาระในการจัดการ และเป็ดมีอัตราการตายน้อย เป็ดสาวที่ซื้อมาสามารถให้ผลผลิตไข่ได้ทันที แต่จะมี ข้อเสียคือราคาเป็ดสาวที่ซื้อมาจะมีราคาสูงมากในบางช่วง โดยเฉพาะช่วงที่ไข่เป็ดมีราคาแพง
ภาพที่ 3.8 ฝูงเป็ดสาวที่พร้อมให้ไข่
4. การซื้อเป็ดปลดระวางมาเลี้ยง
ผู้เลี้ยงจะซื้อเป็ดปลดระวางจากฟาร์มเลี้ยงเป็ดในพื้นที่หรือซื้อเป็ดปลดระวางจากผู้เลี้ยงรายอื่นมา เลี้ยงแบบไล่ทุ่งจนกระทั่งจ้าหน่ายเป็นเป็ดปลดระวาง ซึ่งมีระยะเวลาในการปลดระวางแตกต่างกันออกไป การซื้อเป็ดปลดระวางมาเลี้ยงจะใช้ต้นทุนน้อย และเป็ดไม่ค่อยมีการสูญเสีย แต่จะมีข้อเสียที่ผลผลิตไข่ อาจจะไม่สูงเหมือนกับการซื้อเป็ดสาวเข้ามาเลี้ยง
ภาพที่ 3.9 รถที่ใช้ส้าหรับการเคลื่อนย้ายฝูงเป็ดไล่ทุ่ง
บทที่ 4 ผลการศึกษา
ในบทนี้เป็นการนําเสนอผลการศึกษาเศรษฐกิจการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลงใน เขตภาคใต้ตอนบน เพื่อตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัยในการศึกษาระบบการผลิต ระบบตลาด ต้นทุนและ ผลตอบแทน ความเชื่อมโยงของห่วงโซ่อุปทานการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้ โดยผลการศึกษานําเสนอ ในประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปทางเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
ตอนที่ 2 แหล่งที่มาของรายได้ของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ รายได้
ตอนที่ 3 รายจ่ายของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง หนี้สินและการออม ปัจจัยที่มี ผลกระทบต่อรายจ่าย
ตอนที่ 4 สภาพการเลี้ยง ระบบการผลิต ต้นทุนและผลตอบแทนในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ตอนที่ 5 โครงสร้างการตลาด ลักษณะการซื้อขายความเชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทานการเลี้ยงเป็ด
ไล่ทุ่ง
ตอนที่ 6 การศึกษาความสัมพันธ์และเปรียบเทียบตัวแปรทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกร ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
4.1 ข้อมูลทวไปทางเศรษฐกิจ และสังคมของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
จากการเก็บข้อมูลพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่ม ตัวอย่าง ทั้งหมดจาก 3 จังหวัด (พัทลุง นครศรีธรรมราช และสงขลา) มีจํานวนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง กลุ่มตัวอย่าง ทั้งสิ้น 124 ครัวเรือน เนื่องจากการเก็บข้อมูลต้องเก็บข้อมูลเชิงลึกที่มีรายละเอียด ค่อนข้างมากจากผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง จําเป็นต้องได้รับความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม และการ สัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง และผู้รู้ในพื้นที่ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน เครือข่ายการผลิตไข่เป็ดในจังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลาจึงใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ Non Probability Random Sampling โดยวิธีแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) ซึ่งประกอบไปด้วย ตัวแทนประชากรจากจังหวัดพัทลุงมากที่สุด จํานวน 76 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 61 ของประชากรกลุ่ม ตัวอย่าง อันดับที่สองได้แก่ตัวแทนประชากรจากจังหวัดนครศรีธรรมราช จํานวน 27 ครัวเรือน คิดเป็น ร้อยละ 22 อันดับที่สามได้แก่ตัวแทนประชากรจากจังหวัดสงขลา จํานวน 21 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ
17.0 ของประชากรกลุ่มตัวอย่าง (ตารางที่ 4.1 )
ตารางที่ 4.1 ข้อมูลตัวอย่างเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในจังหวัดพัทลุง นครศรีธรรมราช และสงขลา
จังหวัด | อําเภอ | เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง(ราย) | ร้อยละ |
สงขลา | ระโนด | 21* | 22 |
นครศรีธรรมราช | หัวไทร | 17*** | - |
เชียรใหญ่ | 10** | - | |
รวม | 27 | 17 | |
พัทลุง | เมือง | 76*** | 61 |
รวม | 124 | 100 |
หมายเหตุ:
* จํานวนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่เลี้ยงในพื้นที่ (บางส่วนเคยมีการลงทะเบียนเกษตรกรผเลยงเป็ดไล่ทุ่ง) แต่ ส่วนใหญ่ไม่มีการลงทะเบียนเกษตรกรผเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
** จํานวนเกษตรกรผเลยงเป็ดไลทุ่งที่มีการเลี้ยงจริงในพื้นที่ โดยไม่ได้ลงทะเบียนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง (แต่ เกษตรกรส่วนใหญ่มีการขึ้นทะเบียนเกษตรกร)
*** มีการลงทะเบียนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งอยู่ในพื้นที่ (ข้อมูลจากสํานักงานเกษตรประจําจังหวัด)
จากการสํารวจพบว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในจังหวัดพัทลุง นครศรีธรรมราช และสงขลากลุ่ม ตัวอย่างเป็นเพศชายจํานวน 79 คน คิดเป็นร้อยละ 63.7 เป็นเพศหญิงจํานวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 36.7 โดยส่วนใหญ่เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง กลุ่มตัวอย่างมีสถานภาพสมรส จํานวน 108 คน คิดเป็นร้อยละ 87.10
ระดับการศึกษาของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างในจังหวัดพัทลุง นครศรีธรรมราช และ สงขลาโดยส่วนใหญ่จบการศึกษาในระดับประถมศึกษา จํานวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 48.4 รองลงมาจบ การศึกษาในระดับมัธยมศึกษา จํานวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 33.9 ระดับต่ํากว่าประถมศึกษา จํานวน 3
คน คิดเป็นร้อยละ 10.5 ระดับอนุปริญญา จํานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 5.6 (ตารางที่ 4.2)
ตารางที่ 4.2 ข้อมูลทั่วไปของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจังหวัดพัทลุง นครศรีธรรมราช และสงขลา
ลักษณะเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
เพศ | ||
ชาย | 79 | 63.70 |
หญิง | 45 | 36.70 |
สถานภาพ | ||
โสด | 9 | 7.30 |
สมรส | 108 | 87.10 |
หย่าร้าง/หม้าย | 7 | 5.60 |
ลักษณะเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
ระดับการศึกษา | ||
ต่ํากว่าประถมศึกษา | 13 | 10.50 |
ประถมศึกษา | 60 | 48.40 |
มัธยมศึกษา | 42 | 33.90 |
อนุปริญญา | 7 | 5.60 |
ปริญญาตรี | 2 | 1.60 |
สูงกว่าปริญญาตรี | - | - |
อายุของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 48.54 ปี ในขณะที่เกษตรกรผู้เลี้ยง เป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างมีประสบการณ์ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยเฉลี่ย 9.43 ปี สมาชิกในครัวเรือนของ เกษตรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างมีประมาณ 4 คนต่อครัวเรือน เมื่อพิจารณาอายุเฉลี่ยของเกษตรผู้เลี้ยง เป็ดไล่ทุ่ง โดยส่วนใหญ่พบว่ากําลังเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ (ตารางที่ 4.3 )
ตารางที่ 4.3 อายุของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ประสบการณ์ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง และจํานวนสมาชิก ในครัวเรือน
รายการ | ค่าเฉลี่ย |
อายุของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 48.54 |
ประสบการณ์ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 9.43 |
จํานวนสมาชิกในครัวเรือน | 4.39 |
ในภาพรวมแรงงานของสมาชิกในครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่ทํางานทั้งในภาค เกษตรและนอกภาคเกษตร โดยสมาชิกส่วนใหญ่ในครัวเรือนทํางานในภาคเกษตรเป็นหลัก จากการสํารวจ แรงงานของสมาชิกในครัวเรือน คิดเป็นจํานวนสมาชิกเฉลี่ยต่อครัวเรือนประมาณ 3 คน ทํางานนอกภาค เกษตรเฉลี่ยต่อครัวเรือน จํานวน 2 คน และไม่ทํางานเฉลี่ยต่อครัวเรือนประมาณ 1 คน (ตารางที่ 4.4 )
ตารางที่ 4.4 แรงงานของสมาชิกในครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
ประเภทแรงงาน | จํานวนสมาชิกเฉลี่ยต่อครัวเรือน (คน) | สมาชิกในครัวเรือน | |
จํานวน(คน) | ร้อยละ | ||
ทํางานในภาคเกษตร | 2.87 | 356 | 65.4 |
ทํางานนอกภาคเกษตร | 1.44 | 178 | 32.7 |
ไม่ทํางาน | 0.08 | 10 | 1.8 |
รวมจํานวนสมาชิก | 544 | 100.0 |
จากการสํารวจเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่าง พบว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ประกอบ อาชีพการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นอาชีพหลัก คิดเป็นร้อยละ 50.8 และเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นอาชีพเสริม คิดเป็น ร้อยละ 49.2 เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างที่มีอาชีพอื่นนอกเหนือจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ทํานาปลูกข้าว คิดเป็นร้อยละ 52.4 เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งร้อยละ
33.3 ไม่มีอาชีพเสริมโดยเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นอาชีพหลักแต่เพียงอย่างเดียว เกษตรกรผู้เลี้ ยงเป็ดไล่ทุ่งที่มี อาชีพเสริมนอกเหนือจากการทําเกษตรกรรม ยังประกอบอาชีพค้าขาย ทําธุรกิจส่วนตัว และรับจ้าง ตามลําดับ (ตารางที่ 4.5)
รายการ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
เลี้ยงเป็ดเป็นอาชีพ 1) อาชีพหลัก 2) อาชีพเสริม | 63 61 | 50.8 49.2 |
อาชีพเสริมนอกจากการเลี้ยงเป็ดเป็นอาชีพหลัก - ค้าขาย / ประกอบธุรกิจส่วนตัว - เกษตรกร - รับจ้างทั่วไป - ไม่มีอาชีพเสริม | 4 33 5 21 | 6.3 52.4 7.9 33.3 |
ตารางที่ 4.5 ข้อมูลอาชีพหลัก อาชีพเสริม อาชีพอื่นๆ นอกเหนือจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
หมายเหตุ: เกษตรกรบางรายทําอาชีพอื่นๆมากกว่า 1 อาชีพ สุขภาพของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างโดยส่วนใหญ่ร้อยละ 91.1 ของเกษตรกรผู้เลี้ยง
เป็ดไล่ทุ่งสมาชิกในครัวเรือนไม่มีการเจ็บป่วย ในขณะที่จํานวนครัวเรือนที่มีสมาชิกเจ็บป่วย มีเพียงร้อยละ
8.9 ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลอายุเฉลี่ยของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่ส่วนใหญ่ยังอยู่ในวัยกลางคน มีเพียง บางส่วนที่เข้าสู่วัยผู้สูงอายุทําให้มีการเจ็บป่วยไม่มากหรือในอัตราที่ค่อนข้างต่ํา
ตารางที่ 4.6 ข้อมูลทางด้านสุขภาพของสมาชิกครอบครัวเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
รายการ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ (n=124) |
มีสมาชิกเจ็บป่วย | 11 | 8.90 |
ไม่มีสมาชิกเจ็บป่วย | 113 | 91.10 |
รวม | 124 | 100 |
สมาชิกในครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างที่มีภาวะเจ็บป่วย โดยส่วนใหญ่มีภาวะ พิการคิดเป็นร้อยละ 36.5 รองลงมาได้แก่โรคข้อเสื่อมคิดเป็นร้อยละ 18.2 และโรคอื่นๆ ได้แก่ ลําไส้ อักเสบ มะเร็ง ตาต้อกระจก หลอดลมเป็นต้น คิดเป็นร้อยละ 9.1 (ตารางที่ 4.7 )
ตารางที่ 4.7 ข้อมูลโรคในครัวเรือนเกษตรกร
โรค | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
พิการ | 3 | 36.50 |
ลําไส้อักเสบ | 1 | 9.10 |
ออทิสติก | 1 | 9.10 |
ข้อเสื่อม | 2 | 18.20 |
มะเร็ง | 1 | 9.10 |
ตาต้อกระจก | 1 | 9.10 |
หลอดลม | 1 | 9.10 |
รวม | 11 | 100 |
4.2 รายได้แหล่งทมาของรายได้ ปัจจยที่มีผลกระทบต่อรายได้ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ด ไล่ทุ่ง
จากการสํารวจเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างพบว่าแหล่งที่มาหลักของรายได้ก่อนหัก ค่าใช้จ่ายมาจากภาคเกษตร โดยเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างมีรายได้เฉลี่ย 422,096.94 บาทต่อ ครัวเรือนต่อปี คิดเป็นร้อยละ 95.17 ของรายได้รวมของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง รายได้นอก ภาคเกษตรโดยเฉลี่ย 20,396.77 บาทต่อครัวเรือนต่อปี คิดเป็นร้อยละ 4.83 (ตารางที่ 4.8)
ตารางที่ 4.8 แสดงรายได้และแหล่งที่มาของรายได้ครัวเรือน
แหล่งที่มา | เฉลี่ย (บาท/ครัวเรือน/ปี) | ร้อยละ |
ในภาคเกษตร | 401,700.16 | 95.17 |
นอกภาคเกษตร | 20,396.77 | 4.83 |
รายได้รวม | 422,096.94 | 100.00 |
รายได้ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในภาคเกษตรส่วนใหญ่มาจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งคิดเป็นร้อยละ
79.39 การปลูกพืช ร้อยละ 17.51 และการเลี้ยงสัตว์อื่นๆ ร้อยละ 3.10 จะเห็นได้ว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ด ไล่ทุ่งพึ่งพิงรายได้จากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นหลัก (ตารางที่ 4.9)
ตารางที่ 4.9 แสดงรายได้และแหล่งที่มาของรายได้ในภาคเกษตรของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
แหล่งที่มา | เฉลี่ย(บาท/ครัวเรือน/ปี) | ร้อยละ |
การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 318,889.68 | 79.39 |
การปลูกพืช | 70,350.81 | 17.51 |
การเลี้ยงสัตว์อื่นๆ | 12,459.68 | 3.10 |
รวม | 401,700.16 | 100.00 |
หมายเหตุ จํานวนสมาชิกเฉลี่ย 5 คนต่อครัวเรือน
รายได้ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งนอกภาคเกษตรส่วนใหญ่มาจากการค้าขาย หรือทําธุรกิจ ส่วนตัวคิดเป็นร้อยละ 47.05 รับจ้างทั่วไป ร้อยละ 26.73 และเงินเดือน/ค่าจ้าง ร้อยละ 15.94 (ตารางที่
4.10)
แหล่งที่มา | เฉลี่ย(บาท/ครัวเรือน/ปี) | ร้อยละ |
รับจ้างทั่วไป | 5,451.61 | 26.73 |
ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว | 9,596.77 | 47.05 |
เงินเดือน/ค่าจ้าง | 3,251.61 | 15.94 |
บุตรหลานส่งให้ | 483.87 | 2.37 |
ไม่ระบุ | 1,612.90 | 7.91 |
รวม | 20,396.77 | 100.00 |
ตารางที่ 4.10 แสดงแหล่งรายได้ และที่มาของรายได้นอกภาคเกษตร
หมายเหตุ จํานวนสมาชิกเฉลี่ย 5 คนต่อครัวเรือน ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อรายได้ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง โดยส่วนใหญ่เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
ระบุว่ารายได้จากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่ลดลง ร้อยละ 70.97 รองลงมาได้แก่ ค่าครองชีพที่สูงขึ้น ร้อยละ
ปัจจัย | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
ค่าครองชีพที่สูงขึ้น | 77 | 62.10 |
รายได้จากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งลดลง | 88 | 70.97 |
- ไม่มีผลกระทบ | 14 | 11.29 |
62.10 ไม่มีผลกระทบร้อยละ 11.29 (ตารางที่ 4.11 ) ตารางที่ 4.11 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อรายได้
*ร้อยละรวมมีค่ามากกว่า 100 เนื่องจากเกษตรกรตอบได้หลายข้อ
4.3 รายจ่ายของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทง ผลกระทบต่อรายจ่าย
หนี้สินและการออม ปัจจัยที่ม
ค่าใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคและบริโภคในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมาของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ด ไล่ทุ่ง หมวดค่าใช้จ่ายที่สูงสุด 3 อันดับแรกได้แก่ ค่าอาหารสด คิดเป็นร้อยละ 26.47 ของค่าใช้จ่ายทั้งหมด ค่าเล่าเรียนการศึกษา คิดเป็นร้อยละ 19.87 และค่าโดยสารและค่าน้ํามันที่ใช้ในชีวิตประจําวัน คิดเป็นร้อย ละ 17.80
ตารางที่ 4.12 ค่าใช้จ่ายเพื่ออุปโภคและบริโภค ในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมาของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยง เป็ดไล่ทุ่ง
รายการ | เฉลี่ย(บาท/ครัวเรือน/เดือน) |
ข้าวสาร | 735.28 |
อาหารสด | 4,123.87 |
อาหารปรุงสําเร็จ | 298.39 |
ค่าเสื้อผ้า/เครื่องแต่งกาย | 163.71 |
ค่ารักษาพยาบาล | 73.39 |
ค่าเล่าเรียนการศึกษา | 2,981.21 |
ค่าโดยสาร/ค่าน้ํามัน | 2,772.18 |
ค่าน้ํา/ค่าไฟฟ้า | 816.09 |
ค่าหวย บุหรี่ เหล้า การพนัน | 841.37 |
ค่าใช้จ่ายของใช้ส่วนบุคคล | 295.57 |
ค่าใช้จ่ายด้านสังคม เช่น งานแต่งงาน งานศพ งานบวช ฯลฯ | 2,310.48 |
ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ (ค่าเลี้ยงลูกแรกเกิด อาหารแมว ประกัน) | 165.06 |
รวม | 15,576.59 |
หมายเหตุ สมาชิกเฉลี่ยในครัวเรือน 5 คน
สําหรับภาวะหนี้สินของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่ต้องชําระเป็นสัญญา พบว่าร้อยละ
หนี้สินครัวเรือน | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
ไม่มีหนี้สิน | 27 | 21.8 |
มีหนี้สิน | 97 | 78.2 |
รวม | 124 | 100 |
78.2 มีหนี้สิน ในขณะที่เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งร้อยละ 21.8 ไม่มีหนี้สิน ตารางที่ 4.13 หนี้สินของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
สําหรับวัตถุประสงค์ของการกู้ยืม หนี้สินโดยส่วนใหญ่เป็นการกู้ยืมเพื่อการเกษตรเพื่อนําไปลงทุน ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง คิดเป็น ร้อยละ 59.7 รองลงมาได้แก่ การกู้ยืมไปสร้างบ้านที่อยู่อาศัย ร้อยละ 9.7 ใช้จ่ายในครอบครัวร้อยละ 5.6 การซื้อที่ดิน ร้อยละ 3.2 ตามลําดับ
ตารางที่ 4.14 วัตถุประสงค์ในการกู้ยืม
วัตถุประสงค์ในการกู้ยืม | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
ลงทุนในการประกอบอาชีพ | 74 | 59.7 |
สร้างบ้าน | 12 | 9.7 |
ใช้จ่ายในครอบครัว | 7 | 5.6 |
ซื้อที่ดิน ที่นา | 4 | 3.2 |
รวม | 97 | 100.0 |
แหล่งเงินกู้ยืมเพื่อการเกษตรแหล่งเงินกู้หลักของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่าง คือ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร คิดเป็นร้อยละ 64.9 รองลงมาได้แก่ กองทุนหมู่บ้าน และ สหกรณ์ คิดเป็นร้อยละ 13.40 ตามลําดับ
ตารางที่ 4.15 แหล่งสินเชื่อการกู้ยืม
แหล่งสินเชื่อ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
ธกส. | 63 | 64.9 |
สหกรณ์ | 13 | 13.4 |
กองทุนหมู่บ้าน | 13 | 13.4 |
กลุ่มเกษตรกร | 0 | 0 |
ญาติ | 3 | 2.4 |
ไม่ระบุ | 5 | 4.0 |
รวม | 97 | 100.0 |
หมายเหตุ: บางครัวเรือนมีการกู้ยืมหลายแหล่ง
การออมของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่าง จากการสํารวจพบว่าร้อยละ 53.23 ของ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีการออม โดยมีการออมโดยเฉลี่ย 45,957.015 บาทต่อครัวเรือน ใน ขณะเดียวกันร้อยละ 46.77 ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างไม่มีการออม (ตารางที่ 4.16)
ตารางที่ 4.16 การออมของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
การออม | เฉลี่ย(บาท/ครัวเรือน) | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
มีออม | 45,957.015 | 66 | 53.23 |
ไม่มีออม | - | 58 | 46.77 |
รวม | 124 | 100.00 |
แหล่งการออมเงินที่สําคัญของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ธกส. คิดเป็นร้อยละ
46.97 รองลงมาได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ คิดเป็นร้อยละ 39.39 กองทุนหมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 7.58 และ สหกรณ์ออมทรัพย์ร้อยละ 1.52 (ตารางที่ 4.17 )
ตารางที่ 4.17 แหล่งเงินออมของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
แหล่งออมเงิน | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
ธกส. | 31 | 46.97 |
สหกรณ์ | 1 | 1.52 |
กองทุนหมู่บ้าน | 5 | 7.58 |
ธนาคารพาณิชย์ทั่วไป | 26 | 39.39 |
ไม่ตอบ | 3 | 4.55 |
รวม | 66 | 100.00 |
วัตถุประสงค์ในการออมเงินเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งส่วนใหญ่ออมเงินเพื่อไปใช้จ่ายซื้อรถยนต์ เพื่อ ใช้ในชีวิตประจําวันและขนย้ายเป็ด คิดเป็นร้อยละ 37.88 รองลงมาได้แก่การใช้จ่ายภายในครอบครัว ร้อย ละ 25.76 การลงทุนทําธุรกิจ ร้อยละ 12.12 การซื้อที่ดิน ร้อยละ 6.06 และการสร้างบ้านร้อยละ 1.52
(ตารางที่ 4.18 )
ตารางที่ 4.18 วัตถุประสงค์ในการออม และนําเงินออมไปใช้
วัตถุประสงค์ในการออม | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
ลงทุนในการประกอบอาชีพ | 8 | 12.12 |
สร้างบ้าน | 1 | 1.52 |
ใช้จ่ายในครอบครัว(อนาคต) | 17 | 25.76 |
ซื้อที่ดิน | 4 | 6.06 |
ซื้อรถยนต์ | 25 | 37.88 |
ใช้จ่ายยามชราภาพ | 4 | 6.06 |
ไม่ตอบ | 7 | 10.61 |
รวม | 66 | 100.00 |
4.4 สภาพการเลี้ยง ระบบการผลิต ต้นทุนและผลตอบแทนในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง โครงสร้าง การตลาด ลักษณะการซื้อขาย
เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างมีพื้นที่ถือครองโดยเฉลี่ย 14.81 ไร่ต่อครัวเรือน นอกจากนี้
เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีการเช่าที่ดินโดยเฉลี่ย 23.46 ไร่ต่อครัวเรือน (ตาราง 4.19)
ตารางที่ 4.19 พื้นที่ถือครอง
พื้นที่ถือครอง | พื้นที่เฉลี่ย(ไร่/ครัวเรือน) |
มีพื้นที่ถือครอง | 14.81 |
ไม่มีพื้นที่ถือครอง | 0 |
เช่าที่ดิน | 23.46 |
เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่ที่มีพื้นที่ถือครองที่มีกรรมสิทธิ์เป็นโฉนดร้อยละ 82.25 มีสิทธ
ในการถือครองเป็น สปก. ร้อยละ 1.61 และ นส 3 ร้อยละ 0.80 (ตารางที่ 4.20)
ตารางที่ 4.20 สิทธิในการถือครองพื้นที่
สิทธิการถือครองพื้นที่ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
ของตนเอง -โฉนด -นศ.3ก -นส.3 -สปก. | 102 0 1 2 | 82.25 0 0.80 1.61 |
-ภทบ.5 -อื่น ๆ เช่าที่ดิน | 0 0 19 | 0 0 15.32 |
การเริ่มเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในพื้นที่กลุ่มตัวอย่างโดยส่วนใหญ่ พบว่า ร้อย ละ 90.30 เริ่มต้นเลี้ยงด้วยตัวเอง มีเพียงร้อยละ 6.50 และ 3.20 ที่รับช่วงต่อจากครอบครัวและเพื่อนบ้าน ตามลําดับ ในขณะที่ร้อยละ 50.80 ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งระบุว่า ไม่มีผู้รับช่วงต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ ทุ่ง (ตารางที่ 4.21)
ตารางที่ 4.21 การเริ่มเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง และผู้รับช่วงต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
รายการ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
การเริ่มเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง -เริ่มต้นด้วยตนเอง | 112 | 90.30 |
รับช่วงต่อจาก -ครอบครัว -เพื่อนบ้าน | 8 4 | 6.50 3.20 |
รายการ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
ผู้รับช่วงต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง -มี -ไม่มี | 61 63 | 49.20 50.80 |
สาเหตุที่ไม่มีผู้รับช่วงต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่ เนื่องจากบุตรหลานมีงานทําแล้วคิดเป็น ร้อยละ 23.8 บุตรกําลังเรียนหนังสือ คิดเป็นร้อยละ 17.5 จึงทําให้บุตรหลานไม่สนใจที่จะมาทํางานในภาค
เกษตร โดยเฉพาะการสานต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง(ตารางที่ 4.22)
ตารางที่ 4.22 สาเหตุที่ไม่มีคนรับช่วงต่อ
สาเหตุ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
ไม่แน่ใจ | 12 | 19.0 |
บุตรมีงานทําแล้ว | 15 | 23.8 |
ลําบาก | 7 | 11.1 |
ความไม่อุดมสมบูรณ์ของอาหาร | 2 | 3.2 |
เลิกเลี้ยงแบบไล่ทุ่ง | 3 | 4.8 |
บุตรกําลังเรียน | 11 | 17.5 |
ไม่มีบุตร/ครอบครัว | 3 | 4.8 |
ไม่ระบุ | 10 | 15.9 |
รวม | 63 | 100.0 |
ลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในพื้นที่กลุ่มตัวอย่างโดยส่วนใหญ่พบว่า ร้อยละ 91.1 เป็นการเลี้ยงเป็ดบนที่นาคนอื่น มีเพียงส่วนน้อยคิดเป็นร้อยละ 8.9 ที่ใช้พื้นที่ของตัวเองใน
การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง (ตารางที่ 4.23)
ตารางที่ 4.23 พื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
พื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
-เลี้ยงบนที่นาตัวเอง | 11 | 8.9 |
-เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งบนที่นาคนอื่น | 113 | 91.1 |
ในกรณีการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งบนที่นาคนอื่น ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกับ เจ้าของที่นาเป็นไปอย่างไม่เป็นทางการ โดยส่วนใหญ่ร้อยละ 75.80 มีการแลกเปลี่ยนผลผลิตไข่เป็ดของ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในลักษณะเป็นการให้โดยความสมัครใจของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง เพื่อตอบ แทนเจ้าของที่นาในการให้ผู้เลี้ยงเป็ดนําฝูงเป็ดไล่ทุ่งมาเลี้ยงในที่นา ร้อยละ 22.58 ไม่จําเป็นต้องเสีย ค่าใช้จ่ายใดๆ และไม่จําเป็นต้องแลกเปลี่ยนไข่เป็ดกับการเข้าไปใช้พื้นที่นาในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง นอกเหนือจากการไม่มีข้อตกลงอย่างเป็นทางการ ข้อตกลงในลักษณะอื่นๆ ที่พบจากการสัมภาษณ์กลุ่ม ตัวอย่างมีบางกรณีเจ้าของที่นาอาจร้องขอเป็นกรณีพิเศษว่าจะนําเป็ดลงได้ขอให้ช่วยเผาซังข้าวให้ด้วย
ตารางที่ 4.24 ข้อตกลงในการใช้พื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งบนที่นาของคนอื่น
ข้อตกลงในการใช้พื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
-จ่ายค่าเช่าที่นา | 1 | 0.80 |
-การแลกเปลี่ยน | 94 | 75.80 |
-การตกลงลักษณะอื่น ๆ | 1 | 0.80 |
-ไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ ไม่ต้องแลกเปลี่ยน | 28 | 22.58 |
หากพิจารณาสาเหตุที่เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งหันมาเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่ร้อยละ 58.5 เห็นว่าการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้ดี รองลงมาสาเหตุอื่นๆ เช่น ทํา นาขาดทุน ไม่มีงานอื่นทําเป็นอาชีพเสริม พื้นที่เหมาะสม เป็นต้น ร้อยละ 20.1 และเลี้ยงตามเพื่อน ร้อย ละ 18.9 เพราะประสบความสําเร็จในการเลี้ยงและทําให้มีผลตอบแทนจากการเลี้ยงที่ดี
รายงาน | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
เหตุจูงใจในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 124 | 100 |
-เลี้ยงตามเพื่อน -รายได้ดี -การสนับสนุนจากภาครัฐ -อาชีพเสริม | 31 96 4 33 | 18.90 58.50 2.40 20.10 |
ตารางที่ 4.25 เหตุจูงใจในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
*ร้อยละรวมมีค่ามากกว่า 100 เนื่องจากตอบได้มากกว่า 1 ข้อ การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นอาชีพที่สร้างรายได้ที่ดีให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดซึ่งเป็นมูลเหตุหลักที่
เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่ระบุว่าเป็นเหตุจูงใจให้หันมาเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ ทุ่งกลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 54.0 ระบุว่ารายได้ที่ได้จากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งสามารถยังชีพได้และมีเหลือเก็บ ร้อยละ 43.5 ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างระบุว่าการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีรายได้พอที่จะยังชีพ โดยสรุปอาชีพการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นอาชีพที่ทําให้เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีรายได้ที่ดีและสามารถยังชีพ ได้และมีเงินเหลือเก็บ (ตารางที่ 4.26)
รายการ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
-ไม่เพียงพอ -พอที่จะยังชีพ -ยังชีพได้และมีเหลือเก็บ -เพิ่งเริ่มเลี้ยง | 7 54 67 1 | 5.6 43.5 54.0 0.8 |
ตารางที่ 4.26 รายได้ที่ได้จากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกับการยังชีพ
*ร้อยละรวมมีค่ามากกว่า 100 เนื่องจากตอบได้มากกว่า 1 ข้อ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในพื้นที่นาของคนอื่น โดยการตัดสินใจว่าจะ
เลือกพื้นที่ไหนที่เหมาะกับการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ปัจจัยที่มีความสําคัญต่อการเลือกพื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 85.5 คือ ความอุดมสมบูรณ์ของอาหารในที่นาที่เกษตรกรจะใช้ในการเลี้ยงเป็ดไล่ ทุ่ง เนื่องจากความอุดมสมบูรณ์ของอาหารจะส่งผลต่อผลผลิตไข่เป็ดไล่ทุ่ง รองลงมาได้แก่การอยู่ใกล้แหล่ง น้ําและลุ่มน้ํา เนื่องจากแหล่งน้ํามีความจําเป็นในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง คิดเป็นร้อยละ 82.3 และ รอบการทํา นาเป็นปัจจัยหนึ่งที่เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งนํามาตัดสินใจว่าควรจะนําเป็ดไล่ทุ่งเข้าไปเลี้ยงในพื้นที่ไหน คิดเป็นร้อยละ 63.7 (ตารางที่ 4.27)
รายการ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
-ความอุดมสมบูรณ์ของอาหาร -อยู่ใกล้แหล่งน้ํา ลุ่มน้ํา -รอบการทํานา -ระยะทาง -อยู่ร่วมกับชุมชนได้ -ความปลอดภัยของเป็ด | 106 102 79 14 8 6 | 85.5 82.3 63.7 11.3 6.5 4.8 |
ตารางที่ 4.27 ปัจจัยในการเลือกพื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
*ร้อยละรวมมีค่ามากกว่า 100 เนื่องจากตอบได้มากกว่า 1 ข้อ การเข้าไปติดต่อใช้พื้นที่นากับเจ้าของพื้นที่นาเพื่อที่จะนําเป็ดไล่ทุ่งมาเลี้ยง เกษตรกรโดยส่วนใหญ่
คิดเป็นร้อยละ 58.1 เข้าไปติดต่อโดย ดําเนินการผ่านทางเครือญาติและครอบครัวที่มีอาชีพเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ด้วยกัน เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ร้อยละ 37.9 ระบุว่าเข้าไปติดต่อโดยผ่านเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่มี การนําเป็ดไล่ทุ่งไปเลี้ยงอยู่ก่อนแล้วในพื้นที่ และเจ้าของพื้นที่นาติดต่อให้เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งนําเป็ด ไปลงในที่นาของตนเองคิดเป็นร้อยละ 27.4 (ตารางที่ 4.28)
รายการ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
-เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในพื้นที่ใกล้เคียง | 47 | 37.9 |
-เครือญาติ/ครอบครัวประกอบอาชีพเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 72 | 58.1 |
-กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นําชุมชนของแต่ละพื้นที่ที่จะเข้าไปเลี้ยง เป็ดไล่ทุ่ง | 12 | 9.7 |
-เจ้าของที่นาในแต่ละพื้นที่ติดต่อมา | 34 | 27.4 |
-เจ้าของเป็ดไปติดต่อเจ้าของที่นา | 28 | 22.6 |
ตารางที่ 4.28 การติดต่อใช้พื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
*ร้อยละรวมมีค่ามากกว่า 100 เนื่องจากตอบได้มากกว่า 1 ข้อ เมื่อเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งดําเนินการติดต่อขอใช้พื้นที่ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่
ร้อยละ 73.40 ระบุว่าไม่จําเป็นต้องมีการจับจองพื้นที่เพื่อใช้ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ในขณะที่ร้อยละ 26.60 ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ระบุว่ามีการจับจองพื้นที่นาที่จะใช้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยติดต่อเจ้าของนา โดยตรงหรือผ่านผู้เลี้ยงเป็ดที่เลี้ยงเป็ดอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียง
เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่ ร้อยละ 83.90 ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่าง ระบุว่าไม่มีความขัดแย้งระหว่างเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งด้วยกัน อย่างไรก็ตามร้อยละ 16.10 ของ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ระบุว่ามีปัญหาความขัดแย้งระหว่างผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในพื้นที่ใกล้เคียงกัน โดย ส่วนใหญ่เป็นความขัดแย้งในการแย่งพื้นที่ในการเลี้ยง รองลงมาคือการที่เป็ดไล่ทุ่งที่เลี้ยงในพื้นที่ใกล้เคียง กันปะปนกัน
ลักษณะการเดินทางเข้าไปเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในพื้นที่ที่ได้ทําการจับจองพบว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง โดยส่วนใหญ่คิดเป็น ร้อยละ75 เดินทางไปเพียงลําพังพร้อมเป็ดไล่ทุ่ง รองลงมาร้อยละ 21 ของเกษตรกรผู้ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง เดินทางเข้าไปเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งพร้อมกับผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งรายอื่น (ตาราง 4.29)
รายการ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
1.การจับจองพื้นที่นาในพื้นที่การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง -ต้องจับจองพื้นที่ ด้วยวิธีการดังต่อไปนี้ 1) ติดต่อเจ้าของนาโดยตรง 2) ตรวจสอบผู้เลี้ยงเป็ดในพื้นที่ 3) แจ้งผ่านญาติ | 33 22 9 2 | 26.6 17.7 7.3 1.6 |
-ไม่ต้องจับจองพื้นที่ | 91 | 73.4 |
2.ปัญหาความขัดแย้ง -ไม่มี | 104 | 83.9 |
-มี ดังต่อไปนี้ 1) แย่งพื้นที่การเลี้ยง 2) เป็ดปะปนกัน | 20 16 4 | 16.1 |
3.ลักษณะการเดินทางในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง -เดินทางไปเพียงลําพังพร้อมเป็ดไล่ทุ่ง | 93 | 75.0 |
-เดินทางไปพร้อมๆ กับเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งรายอื่นๆ | 26 | 21.0 |
-อื่น ๆ ได้แก่ 1) ปล่อยตอนเช้าและต้อนกลับตอนเย็น 2) เลี้ยงอยู่ที่เดิมไม่มีพื้นที่ก็ขังในเล้าเอาหอยให้กิน | 5 3 2 | 4.0 |
ตารางที่ 4.29 การจับจองพื้นที่นา ปัญหาความขัดแย้ง ลักษณะการเดินทางในพื้นที่การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
*ร้อยละรวมมีค่ามากกว่า 100 เนื่องจากตอบได้มากกว่า 1 ข้อ เนื่องจากลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจะต้องมีการเปลี่ยนพื้นที่การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งไปตามรอบการทํา
นา เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 29.20 มีการนําเป็ดไปเลี้ยงเพียงพื้นที่ เดียว (ในพื้นที่เดียวแต่อาจมีการเคลื่อนย้ายไปตามหมู่ต่างๆ ที่ใกล้เคียง) รองลงมาร้อยละ 26.50 ของ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีการเปลี่ยนพื้นที่การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งประมาณ 2-3 พื้นที่ในรอบ 1 ปี
หากพิจารณาพื้นที่ปลูกข้าวในจังหวัดสงขลา พัทลุง นครศรีธรรมราช พบว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ ทุ่งมีการเลี้ยงเป็ดในพื้นที่ที่มีพื้นที่ปลูกข้าวมากที่สุด โดยในจังหวัดพัทลุงมีการเลี้ยงมากในอําเภอเมือง ซึ่ง ส่วนใหญ่อําเภอเมืองมีพื้นที่ปลูกข้าวมากที่สุด จังหวัดนครศรีธรรมราชมีการเลี้ยงในพื้นที่อําเภอหัวไทร
และอําเภอเชียรใหญ่ ซึ่งมีพื้นที่ปลูกข้าวมากที่สุด และจังหวัดสงขลามีการเลี้ยงในพื้นที่อําเภอระโนด ซึ่งมี พื้นที่ปลูกข้าวมากที่สุดในจังหวัดสงขลา สําหรับเส้นทางการย้ายพื้นที่การสัมภาษณ์เกษตรกรระบุว่า เป็นไปตามรอบการทํานา อย่างไรก็ตามในปัจจุบันมีการทํานาเกือบตลอดปี การเคลื่อนย้ายพื้นที่อาจมีการ เปลี่ยนแปลงไปบ้างจากอดีต
ตารางที่ 4.30 พื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดในรอบ 1 ปี
รายการ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
1 พื้นที่ | 33 | 29.20 |
2 พื้นที่ | 30 | 26.50 |
3 พื้นที่ | 30 | 26.50 |
4 พื้นที่ | 18 | 15.90 |
5 พื้นที่ | 2 | 1.80 |
ในภาพรวมเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งพบว่า มีจํานวนเป็ดไล่ทุ่งที่เลี้ยงแตกต่างกันออกไป โดยจําแนก กลุ่มเกษตรกรตามจํานวนเป็ดไล่ทุ่งที่เลี้ยงได้ดังตารางที่ 4.31 เกษตรกรส่วนใหญ่คิดเป็นร้อยละ 48.39
เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งอยู่ในช่วง 500-1,000 ตัว รองลงมาเกษตรกรคิดเป็นร้อยละ 26.61 เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในช่วง
1,000-2,000 ตัว เกษตรกรคิดเป็นร้อยละ 16.13 เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งต่ํากว่า 500 ตัว โดยมีจํานวนเป็ดโดย
เฉลี่ยในการเลี้ยง 1 รอบ จํานวน 1,188.60 ตัว
ตารางที่ 4.31 จํานวนเป็ดไล่ทุ่งที่เกษตรกรเลี้ยงในรอบ 1 ครั้ง
กลุ่มที่ | จํานวนเป็ดไล่ทุ่งที่เลี้ยง(ตัว) | จํานวนเกษตรกร | |
จํานวน(ราย) | ร้อยละ | ||
1 | ต่ํากว่า 500 | 20 | 16.13 |
2 | 500-1,000 | 60 | 48.39 |
3 | 1,001-2,000 | 33 | 26.61 |
4 | 2,001-3,000 | 5 | 4.03 |
5 | มากกว่า 3,000 | 6 | 4.84 |
รวม | 124 | 100.00 |
หากพิจารณาตามลักษณะการเลี้ยงพบว่า การเลี้ยงเป็ดในลักษณะที่ 1 เกษตรกรโดยส่วนใหญ่คิด เป็นร้อยละ 40.0 เลี้ยงเป็ดจํานวน 2,001-3,000 ตัว การเลี้ยงเป็ดในลักษณะที่ 2 เกษตรกรโดยส่วนใหญ่
คิดเป็นร้อยละ 40.0 เลี้ยงเป็ดจํานวน 2,001-3,000 ตัว การเลี้ยงเป็ดในลักษณะที่ 3 เกษตรกรโดยส่วน
ใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 27.27 เลี้ยงเป็ดจํานวน 1,001-2,000 ตัว และการเลี้ยงเป็ดในลักษณะที่ 4 เป็นการ
เลี้ยงเป็ดจํานวน 500-1,000 (ตารางที่ 4.32)
ตารางที่ 4.32 ลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
กลุ่มที่ | จํานวนเป็ดไล่ทุ่งที่เลี้ยง (ตัว) | ลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง(ราย) | |||||||
ลักษณะที่ 1 | ร้อยละ | ลักษณะที่ 2 | ร้อยละ | ลักษณะที่ 3 | ร้อยละ | ลักษณะที่ 4 | ร้อยละ | ||
1 | ต่ํากว่า 500 | 6 | 30.00 | 0 | 0.00 | 5 | 25.00 | 9 | 45.00 |
2 | 500-1,000 | 9 | 15.00 | 0 | 0.00 | 8 | 13.33 | 43 | 71.67 |
3 | 1,001-2,000 | 9 | 27.27 | 2 | 6.06 | 9 | 27.27 | 13 | 39.39 |
4 | 2,001-3,000 | 2 | 40.00 | 2 | 40.00 | 1 | 20.00 | 0 | 0.00 |
5 | มากกว่า 3,000 | 1 | 16.67 | 4 | 66.67 | 1 | 16.67 | 0 | 0.00 |
ลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างพบว่า เกษตรกรโดยส่วนใหญ่ร้อยละ 52.42 ซื้อเป็ดปลด ระวางมาเลี้ยงโดยการเลี้ยงเป็ดปลดระวางจะใช้ระยะเวลาในการเลี้ยงสั้นกว่าลักษณะการเลี้ยงเป็ดแบบอื่น รองลงมาเกษตรกร คิดเป็นร้อยละ 21.77 ซื้อลูกเป็ดเลี้ยงจนออกไข่จนถึงเก็บไข่จําหน่ายและจําหน่ายเป็ด ปลดระวาง การเลี้ยงในลักษณะนี้จะซื้อลูกเป็ดมาเลี้ยงจนกระทั่งออกไข่และปลดระวางเมื่อถึงระยะเวลา อันควร ร้อยละ 19.35 ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเลี้ยงโดยซื้อเป็ดสาวมาเลี้ยงจนออกไข่และจําหน่าย เป็ดปลดระวาง และร้อยละ 6.45 เลี้ยงโดยซื้อลูกเป็ดมาเลี้ยงจนเป็นเป็ดสาวแล้วจึงแบ่งขายเป็ดสาวส่วน หนึ่ง เป็ดที่เหลือเก็บไข่จําหน่ายจนปลดระวาง (ตารางที่ 4.33 )
ตารางที่ 4.33 ลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
ลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
ลักษณะที่ 1 ซื้อลูกเป็ดเลี้ยงจนออกไข่จนถึงเก็บไข่จําหน่ายและจําหน่ายเป็ด ปลดระวาง | 27 | 21.77 |
ลักษณะที่ 2 ซื้อลูกเป็ดเลี้ยงจนเป็นเป็ดสาวจึงแบ่งขายเป็ดสาวส่วนหนึ่ง เป็ดที่เหลือเก็บไข่จําหน่ายจนเป็ดปลดระวาง | 8 | 6.45 |
ลักษณะที่ 3 ซื้อเป็ดสาวมาเลี้ยงจนออกไข่และจําหน่ายเป็ดปลดระวาง | 24 | 19.35 |
ลักษณะที่ 4 ซื้อเป็ดปลดระวางมาเลี้ยง | 65 | 52.42 |
แรงงานที่ใช้ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่คิดเป็นร้อยละ 94.35 ใช้ แรงงานในครัวเรือน มีเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ร้อยละ 5.64 จ้างแรงงานนอกครัวเรือนเพิ่มซึ่งการจ้าง แรงงานนอกครัวเรือนจะพบในกรณีที่ผู้เลี้ยงมีจํานวนเป็ดในฝูงค่อนข้างมาก (ตารางที่ 4.34)
ตารางที่ 4.34 การจ้างแรงงานในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
รายการ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
แรงงานในครัวเรือน | 117 | 94.35 |
แรงงานนอกครัวเรือน | 7 | 5.64 |
พันธุ์เป็ดที่มีการเลี้ยงมากที่สุดร้อยละ 87.9 ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งพันธุ์ผสมระหว่างกากีแคม เบลล์กับพันธุ์พื้นเมือง ซึ่งพันธุ์พื้นเมืองโดยส่วนใหญ่เป็นพันธุ์พื้นเมืองสุพรรณบุรี รองมาได้แก่พันธุ์พื้นเมือง คิดเป็นร้อยละ 4.0 และร้อยละ 7.30 ขอเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งระบุว่าไม่ทราบสายพันธุ์พื้นเมืองคิดเป็น
ร้อยละ 7.30 (ตารางที่ 4.35)
ตารางที่ 4.35 สายพันธุ์เป็ดที่เลี้ยง
รายการ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
พันธุ์พื้นเมือง | 5 | 4.0 |
พันธุ์ผสมระหว่างกากีแคมแบล กับพันธุ์พื้นเมือง | 109 | 87.9 |
ไม่ทราบพันธุ์ | 10 | 7.30 |
ปัจจัยที่เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งตัดสินใจในการปลดระวาง เป็ดร้อยละ 67.7 ของเกษตรกรผู้เลี้ยง เป็ดไล่ทุ่ง พิจารณาอายุของเป็ดไล่ทุ่งเน้นปัจจัยหลักเนื่องจากโดยปกติเป็ดที่มีอายุมากจะให้ผลผลิตไข่ที่ น้อยลง รองลงมาผลผลิตไข่ที่น้อยลง เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ร้อยละ 60.5 พิจารณาโดยหากเป็ดที่เลี้ยง แบบไล่ทุ่งมีการให้ผลผลิตไข่ที่น้อยลงเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจะทําการปลดระวางเป็ด เกษตรกรผู้เลี้ยง เป็ดไล่ทุ่ง ร้อยละ 25 พิจารณาความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ หากความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ลดลงจะส่งผล ให้ผลผลิตของไข่เป็ดลดลงซึ่งจะนําไปสู่การปลดระวางเป็ด (ตารางที่ 4.36)
ตารางที่ 4.36 ปัจจัยที่ทําให้ปลดระวางเป็ด
รายการ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
อายุ | 84 | 67.7 |
โรคระบาด | 10 | 8.1 |
ผลผลิตไข่ที่น้อยลง | 75 | 60.5 |
เกิดปัญหาในพื้นที่การเลี้ยง | 21 | 16.9 |
ความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ | 31 | 25.0 |
สภาวะการตลาด | 5 | 4.0 |
อื่นๆ เช่น -เป็ดเจ็บขา -เป็ดผลัดขนบ่อยขึ้น -เป็ดเริ่มฝูงควบคุมยาก | 3 1 1 1 | 2.4 |
*ร้อยละรวมมีค่ามากกว่า 100 เนื่องจากตอบได้มากกว่า 1 ข้อ
เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่ร้อยละ 43.5 จะนําเป็ดที่ปลดระวางแล้วไปส่งขายให้โรงฆ่า สัตว์ในพื้นที่ ทั้งนี้พบว่าร้อยละ 33.9 ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง จําหน่ายเป็ดปลดระวางให้กับพ่อค้าคน กลาง ร้อยละ 1.6 ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง นําไปบริโภคในครัวเรือนคิดเป็นร้อยละ 1.6 อื่นๆ คิดเป็น ร้อยละ 25.8 เช่น ขายให้คนเลี้ยงเป็ดรายอื่น คิดเป็นร้อยละ 25.8 (ตารางที่ 4.37)
รายการ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
ขาย/จําหน่ายให้กับพ่อค้าคนกลาง | 42 | 33.9 |
บริโภคในครัวเรือน | 2 | 1.6 |
ส่งโรงฆ่าสัตว์ | 54 | 43.5 |
ขายให้คนเลี้ยงเป็ดรายอื่น | 32 | 25.8 |
ตารางที่ 4.37 การดําเนินการเมื่อเป็ดปลดระวาง
*ร้อยละรวมมีค่ามากกว่า 100 เนื่องจากตอบได้มากกว่า 1 ข้อ จากการสํารวจเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างใน 1 รอบการเลี้ยง พบว่าต้นทุนในการเลี้ยง
เป็ดไล่ทุ่งประกอบด้วยต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที่ ในส่วนของต้นทุนผันแปรพบว่าต้นทุนหลักเป็น ค่าอาหารเป็ด รองลงมาได้แก่ อาหารเสริมซึ่งประกอบด้วย วิตามิน ข้าวเปลือก หญ้าข้าวนก ซึ่งจะต้องทํา การซื้อให้เป็ดกินในช่วงที่เป็นลูกเป็ด และค่าลูกเป็ด เป็ดสาว หรือเป็ดปลดระวาง ตามลําดับ โดยการเลี้ยง เป็ดในลักษณะที่ 3 มีต้นทุนรวม (บาท/รอบ/ตัว) มากที่สุด 209.81 บาท/รอบ/ตัว รองลงมาได้แก่การเลี้ยง เป็ดในลักษณะที่ 2 มีต้นทุนรวม 111.20 บาท/รอบ/ตัว การเลี้ยงเป็นในลักษณะที่ 4 มีต้นทุนรวม 86.19
บาท/รอบ/ตัว และการเลี้ยงเป็ดในลักษณะที่ 1 มีต้นทุนรวม 75.76 บาท/รอบ/ตัว (ตารางที่ 4.38) ต้นทุนการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งแตกต่างกันออกไปตามลักษณะการเลี้ยงซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ลักษณะการเลี้ยงแบบที่ 1 การเลี้ยงโดยซื้อลูกเป็ดมาเลี้ยงจนออกไข่จนถึงเก็บไข่จําหน่ายและจําหน่ายเป็ดปลดระวาง รอบการ
เลี้ยงโดยเฉลี่ยประมาณ 3 ปี เป็ดจะออกไข่ครั้งแรกโดยเฉลี่ยเมื่อนํามาเลี้ยงได้เป็นระยะเวลา 4-5 เดือน ถึง จะออกไข่ โดยใน 1 เดือนเป็ดจะออกไข่โดยเฉลี่ย 25 วัน ในปีแรกมีระยะเวลาออกไข่โดยเฉลี่ย 8 เดือน โดยผลผลิตไข่ที่ได้คิดเป็นร้อยละ 90 ของจํานวนเป็ดที่เลี้ยงในแต่ละรอบ ในปีที่ 2 และปีที่ 3 ผลผลิตไข่ที่
ได้คิดเป็นร้อยละ 70 และ 60 ของจํานวนเป็ดที่เลี้ยงในแต่ละรอบตามลําดับ จึงจําหน่ายเป็ดปลดระวาง
ลักษณะการเลี้ยงแบบที่ 2
การเลี้ยงโดยซื้อลูกเป็ดเลี้ยงจนเป็ดสาวจึงแบ่งขายเป็ดสาวส่วนหนึ่ง เป็ดที่เหลือเก็บไข่จําหน่ายจน เป็ดปลดระวาง รอบการเลี้ยงโดยเฉลี่ยประมาณ 3 ปี โดยเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจะแบ่งเป็ดสาวส่วน หนึ่งขายใน 4-5 เดือนแรกของรอบการเลี้ยง ซึ่งการเตรียมเป็ดสาวที่จะแบ่งขายเกษตรกรต้องให้อาหาร เป็ดในช่วง 4-5 เดือนแรก เพื่อให้เป็ดมีสุขภาพสมบูรณ์พร้อมที่จะแบ่งขายและให้ผลผลิตไข่ เป็ดส่วนที่ เหลือจากการแบ่งขายเกษตรกรจะเลี้ยงเพื่อจําหน่ายผลผลิตไข่และขายเป็ดปลดระวาง โดยผลผลิตไข่ที่ได้ ในปีแรกคิดเป็นร้อยละ 90 ของจํานวนเป็ดที่เลี้ยง ในปีที่ 2 และปีที่ 3 ผลผลิตไข่ที่ได้คิดเป็นร้อยละ 70 และ 60 ตามลําดับ จึงจําหน่ายเป็ดปลดระวาง
ลักษณะการเลี้ยงแบบที่ 3
การเลี้ยงโดยซื้อเป็ดสาวมาเลี้ยงจนออกไข่และจําหน่ายเป็ดปลดระวาง รอบการเลี้ยงโดยเฉลี่ย ประมาณ 2 ปี โดยใน 1 เดือนแรกเป็ดสาวส่วนใหญ่จะไม่ออกไข่ จึงต้องรอให้เป็ดปรับตัวเป็นระยะเวลา
ประมาณ 1-1.5 เดือน ก่อนออกไข่ แล้วจึงนําไปเลี้ยงแบบไล่ทุ่ง โดยในปีแรกไข่จะออกประมาณ 11 เดือน ผลผลิตไข่คิดเป็นร้อยละ 90 ของจํานวนเป็ดที่เลี้ยง และปีที่ 2 ผลผลิตไข่คิดเป็นร้อยละ 70 แล้วจึง จําหน่ายเป็นเป็ดปลดระวาง
ลักษณะการเลี้ยงแบบที่ 4
การเลี้ยงโดยซื้อเป็ดปลดระวางมาเลี้ยง ซึ่งเป็นการเลี้ยงที่เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในภาคใต้นิยม เลี้ยงเนื่องจากต้นทุนในการเลี้ยงต่ํา รอบการเลี้ยงโดยเฉลี่ยประมาณ 1 ปี และจําหน่ายเป็ดปลดระวาง ลักษณะการเลี้ยงแบบนี้เกษตรกรได้ผลผลิตไข่ทันทีเมื่อซื้อเป็ดปลดระวางมาเลี้ยง
ค่าลูกเป็ด/เป็ดสาว/เป็ดปลดระวาง
ลักษณะการเลี้ยงแบบที่ 1 และ 2 มีต้นทุนค่าลูกเป็ดคิดเป็นค่าเฉลี่ย 25.4 และ 25.77 บาท/รอบ/ ตัว ซึ่งน้อยกว่าต้นทุนในการเลี้ยงในลักษณะการเลี้ยงแบบที่ 3 และ 4 ซึ่งมีต้นทุนการซื้อเป็ดสาว และเป็ด ปลดระวางมาเลี้ยงค่อนข้างสูง
ค่าขนส่งจากโรงฟักไข่
โดยส่วนใหญ่เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ซื้อลูกเป็ด/เป็ดสาว/เป็ดปลดระวาง ค่าขนส่งได้คิดรวมในค่า เป็ดเรียบร้อยแล้ว อย่างไรก็ตามมีเพียงส่วนน้อยที่จ่ายเหมาค่าขนส่งแยกต่างหากให้กับผู้ขาย ซึ่งโดยเฉลี่ยมี มูลค่าไม่สูงมาก
ค่าอาหารเป็ด
ลักษณะการเลี้ยงแบบที่ 2 มีค่าต้นทุนอาหารเป็ดสูงมากที่สุด เมื่อเทียบกับการเลี้ยงในลักษณะอื่นๆ เพราะเกษตรกรต้องให้อาหารเป็ดระยะเวลา 4-5 เดือนเต็มมากกว่าการเลี้ยงในลักษณะอื่นๆ รองลงมา ได้แก่ การเลี้ยงลักษณะที่ 3 ซึ่งเป็นการซื้อเป็ดสาวมาเลี้ยงโดยใน 1 เดือนแรกเป็ดสาวส่วนใหญ่ยังไม่ออก ไข่ ซึ่งต้องให้รอให้เป็ดปรับตัวประมาณ 1 เดือน และให้อาหารเป็ดช่วงนี้ด้วย การเลี้ยงในลักษณะที่ 4 มี ต้นทุนค่าอาหารที่ต่ําสุด เนื่องจากเป็นการซื้อเป็ดปลดระวางมาเลี้ยง เกษตรกรส่วนใหญ่จะไม่ให้อาหารเป็ด เนื่องจากได้ผลผลิตไข่โดยทันที
ตารางที่ 4.38 ต้นทุนในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งแบ่งตามลักษณะการเลี้ยง
ต้นทุน | ค่าเฉลี่ย (บาท/รอบ/ตัว) ตามลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | |||
ลักษณะที่ 1 | ลักษณะที่ 2 | ลักษณะที่ 3 | ลักษณะที่ 4 | |
ต้นทุนผันแปร | ||||
1. ค่าลูกเป็ด/เป็ดสาว/เป็นปลดระวาง | 25.4 | 25.77 | 119.67 | 67.97 |
2. ค่าขนส่งจากโรงฟักไข่ | 0.57 | 0.03 | 0.07 | 0.48 |
3. ค่าอาหารเป็ด | 23.89 | 57.06 | 25.36 | 5.16 |
4. ค่าอาหารเสริม (วิตามิน, ข้าวเปลือก, หญ้าข้าวนก) | 10.42 | 11.02 | 18.91 | 6.39 |
5. ค่ายา/วัคซีน ในการป้องกันรักษาโรค (วัคซีนกาฬโรค, วัคซีนอหิวาต์, วัคซีน อื่นๆ) | 6.24 | 10.19 | 7.23 | 3.27 |
6. ค่าน้ํา | 0.52 | 0.09 | 2.33 | 0.11 |
ต้นทุน | ค่าเฉลี่ย (บาท/รอบ/ตัว) ตามลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | |||
ลักษณะที่ 1 | ลักษณะที่ 2 | ลักษณะที่ 3 | ลักษณะที่ 4 | |
ต้นทุนผันแปร | ||||
7.ค่าไฟฟ้า | 0.96 | 0.8 | 0.03 | 0.07 |
8.ค่าจ้างแรงงานในการเลี้ยงเป็ด | 4.47 | 5.04 | 29.29 | 0.62 |
9.ค่าอื่น ๆ (ค่ารถบรรทุกเป็ด, น้ํามัน สําหรับการสูบน้ํา, ซื้อลูกเป็ดเพิ่ม) | 0.11 | 0.51 | 0.94 | 0.41 |
ต้นทุนคงที่ | ||||
1.ค่าเช่าที่ดิน (ถ้ามี) | 0.11 | 0.00 | 0.00 | 0.00 |
2.ค่าโรงเรือน | 0.77 | 0.00 | 0.83 | 0.24 |
3.ค่าอุปกรณ์ต่าง ๆ (ตาข่าย รางน้ํา ราง อาหาร หลอดไฟ อื่นๆ) | 2.27 | 0.69 | 5.16 | 1.29 |
4.ค่าอื่น ๆ (ค่าจ้างขนเป็ด ฟาง เหล็ก กันสุนัข) | 0.04 | 0.00 | 0.00 | 0.19 |
ต้นทุนรวม(บาท/รอบ/ตัว) | 75.76 | 111.20 | 209.81 | 86.19 |
หมายเหตุ การคิดต้นทุนการเลี้ยงในแบบต่าง ๆ ดังนี้
ลักษณะที่ 1 คือ ซื้อลูกเป็ดเลี้ยงจนออกไข่ เก็บไข่จําหน่ายและจําหน่ายเป็ดปลดระวาง ไข่เป็ดจะ ออกครั้งแรกใน เดือนที่ 4 และให้ผลผลิตร้อยละ 90 ปีที่ 2 ให้ผลผลิตร้อยละ 70 และปีที่ 3 ให้ผลผลิตร้อย
ละ 60 ระยะเวลาในการเลี้ยง 1 รอบโดยเฉลี่ย 3 ปี
ลักษณะที่ 2 คือ ซื้อลูกเป็ดเลี้ยงจนเป็นเป็ดสาว และแบ่งขายเป็นสาวส่วนหนึ่ง และเก็บไว้เลี้ยงเอง จนเป็นเป็ดปลดระวาง ใช้ระยะเวลาในการแบ่งขายเป็ดสาว 4 เดือน และเลี้ยงเป็ดส่วนที่เหลือจนอายุ 3 ปี (เดือนที่ 4 ให้ผลผลิตร้อยละ 90 ปีที่ 2 ให้ผลผลิตร้อยละ 70 และปีที่ 3 ให้ผลผลิตร้อยละ 60 ระยะเวลา
ในการเลี้ยง 1 รอบโดยเฉลี่ย 3 ปี)
ลักษณะที่ 3 คือซื้อเป็ดสาวมาเลี้ยงจนออกไข่และจําหน่ายเป็ดปลดระวาง การซื้อเป็ดสาวมานั้นกว่า จะออกไข่เป็ดต้องใช้ระยะเวลาในการปรับตัว 1 เดือน (ให้ผลผลิตร้อยละ 90 ปีที่ 2 ให้ผลผลิตร้อยละ 70
และปีที่ 3 ให้ผลผลิตร้อยละ 60 ระยะเวลาในการเลี้ยง 1 รอบโดยเฉลี่ย 2 ปี)
ลักษณะที่ 4 คือซื้อเป็ดปลดระวางมาเลี้ยง ให้ผลผลิตไข่ประมาณ 1 รอบ ระยะเวลาในการเลี้ยง 1
ปี
ผลตอบแทนจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งแตกต่างกันออกไปตามลักษณะการเลี้ยง การเลี้ยงลักษณะที่ 1
มีรายได้จากการขายไข่เป็ดและขายเป็ดปลดระวาง รายได้เฉลี่ย 1,265.92 บาท/รอบ/ตัว การเลี้ยง ลักษณะที่ 2 มีรายได้จากการขายเป็ดสาว ขายไข่เป็ดและขายเป็ดปลดระวาง รายได้เฉลี่ย 1,063.9 บาท/ รอบ/ตัว การเลี้ยงลักษณะที่ 3 มีรายได้จากการขายไข่เป็ดและเป็ดปลดระวาง รายได้เฉลี่ย 1,423.01 บาท/รอบ/ตัว และการเลี้ยงลักษณะที่ 4 รายได้ที่ได้จากการขายไข่เป็ดและ รายได้จากการขายเป็ดปลด ระวางเฉลี่ยต่อรอบ 512.55 บาท/รอบ/ตัว (ตารางที่ 4.39)
ตารางที่ 4.39 รายได้จากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
รายได้ | ค่าเฉลี่ย (บาท/รอบ/ตัว) ตามลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | |||
ลักษณะที่ 1 | ลักษณะที่ 2 | ลักษณะที่ 3 | ลักษณะที่ 4 | |
1.ขายเป็ดสาว | - | 74.38 | - | - |
2.ขายไข่เป็ด | 1,236.45 | 973.93 | 1,385.92 | 483.67 |
3.ขายเป็ดปลดระวาง | 29.46 | 15.59 | 37.08 | 28.88 |
4.อื่น ๆ | - | - | - | - |
รายได้รวม | 1,265.92 | 1,063.9 | 1,423.01 | 512.55 |
หมายเหตุ รายได้จากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ในแบบต่าง ๆ ดังนี้
-การขายเป็นสาว ราคา 110-140 บาทขึ้นอยู่กับช่วงเวลาที่ขายว่าราคาเท่าไหร่
-การขายไข่เป็ด ช่วง 1 ปีแรก ซื้อลูกเป็ดเลี้ยงจนออกไข่ เก็บไข่จําหน่ายและจําหน่ายเป็ดปลด ระวาง ไข่เป็ดจะออกครั้งแรกใน เดือนที่ 4 และให้ผลผลิตร้อยละ 90 คูณราคาไข่ ณ ตอนนั้น คูณ 25 วัน ใน 1 เดือน และคูณ 8 เดือน ปีที่ 2 ให้ผลผลิตร้อยละ 70 คูณราคาไข่ ณ ตอนนั้น คูณ 25 วันใน 1 เดือน
และคูณ 12 เดือน และปีที่ 3 ให้ผลผลิตร้อยละ 60 ระยะเวลาในการเลี้ยง 1 รอบโดยเฉลี่ย 3 ปี (ขึ้นอยู่กับ ลักษณะการเลี้ยงว่าเป็นแบบใด)
-การขายเป็ดปลดระวาง ขายเป็นตัว ราคา ณ ตอนนั้นที่ให้ข้อมูลหรือที่เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง เคยขายได้
4.5 โครงสร้างการตลาด ลักษณะการซื้อขาย ความเชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทานการเลี้ยงเป็ด ไล่ทุ่ง
การจําหน่ายผลผลิตไข่เป็ดของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่เป็นการจําหน่ายวันต่อวันคิด เป็นร้อยละ 66.40 รองลงมา 2 วันต่อ 1 ครั้ง นอกจากนั้นเป็นการจําหน่าย 3 วันต่อครั้ง 5 วันต่อครั้ง 1 สัปดาห์ครั้ง โดยในการขายแต่ละครั้งโดยส่วนใหญ่ร้อยละ 92.7 เป็นการขายทั้งหมดโดยไม่เก็บไว้บริโภค มี เพียงร้อยละ 4.8 ที่ขายบางส่วนและเก็บไว้บริโภคเองบางส่วน ทั้งนี้ในส่วนของการจําหน่ายเป็ดปลดระวาง มีทั้งพ่อค้ามารับซื้อถึงที่คิดเป็นร้อยละ 49.2 และคนเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งนําไปขายโรงฆ่าสัตว์ 50.8 (ตารางที่
4.40)
ตารางที่ 4.40 ความถี่ในการขายไข่เป็ด การจัดการไข่เป็ด การจําหน่ายไข่เป็ด
รายการ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
1.ความถี่ในการขายไข่เป็ด -วันต่อวัน -2 วันต่อ 1 ครั้ง -อื่น ๆ โปรดระบุ (1) 3 วันต่อ 1 ครั้ง (2) 5 วันต่อ 1 ครั้ง (3) 1 สัปดาห์ต่อ 1 ครั้ง | 81 17 24 4 7 13 | 66.4 13.9 19.7 |
รายการ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
2.การจัดการไข่เป็ด ขายทั้งหมด ขายบางส่วนและเก็บไว้เอง -บริโภค -แปรรูปเป็นไข่เค็ม ไม่มีการจัดการไข่เพราะขายเป็ดสาว ไม่ตอบ | 115 6 3 3 2 1 | 92.7 4.8 1.6 0.8 |
3.การจําหน่ายเป็ด - มีพ่อค้ามารับซื้อถึงที่ - ขายโรงฆ่าสัตว์ | 59 61 | 49.2 50.8 |
ราคาเฉลี่ยของการขายไข่เป็ดของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งซึ่งโดยปกติจะจําหน่ายเป็นแผงแผงละ
99.79 บาท ในส่วนของราคาเป็ดสาว ราคาเฉลี่ยสูงสุด 118.89 บาทต่อตัว ราคาเฉลี่ยต่ําสุด 86.39 บาท ต่อตัว และราคาจําหน่ายเป็ดปลดระวาง ราคาเฉลี่ยสูงสุด 53.63 บาทต่อตัว ราคาเฉลี่ยต่ําสุด 38.35 บาท ต่อตัว (ตารางที่ 4.41)
ตารางที่ 4.41 ราคาตอบแทนที่ได้จากเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
ผลตอบแทน | แผงละ | ฟองละ |
ราคาขายไข่เป็ด (บาท) | 99.79 | 3.16 |
ผลตอบแทน | ราคาเฉลี่ยสูงสุด | ราคาเฉลี่ยต่ําสุด |
ขายเป็ดสาวตัวละ (บาท) | 118.89 | 86.39 |
ขายเป็ดปลดระวางตัวละ (บาท) | 53.63 | 38.35 |
ปัจจัยที่เป็นกําหนดผลผลิตไข่ของเป็ดไล่ทุ่ง สภาพแวดล้อมในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีความสําคัญมาก ที่สุดคิดเป็นร้อยละ 83.9 รองลงมา การรบกวนของสัตว์อื่น ร้อยละ 57.3 อายุของเป็ด ร้อยละ 55.6 และ สุขภาพเป็ด ร้อยละ 54.0 (ตารางที่ 4.42)
ตารางที่ 4.42 ปัจจัยที่เป็นตัวกําหนดผลผลิตไข่
รายการ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
สุขภาพเป็ด | 67 | 54.0 |
สภาพแวดล้อม | 104 | 83.9 |
การรบกวนของสัตว์อื่น | 71 | 57.3 |
อายุของเป็ด | 69 | 55.6 |
ปัจจัยอื่น ๆ (การได้รับอาหารที่ครบถ้วน) | 18 | 14.5 |
*ร้อยละรวมมีค่ามากกว่า 100 เนื่องจากตอบได้มากกว่า 1 ข้อ
ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่าง พบว่าไม่มีการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งใน ลักษณะระบบลูกเล้าเหมือนภาคอื่นๆ โดยเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ร้อยละ 98.40 ระบุว่าไม่มี ความสัมพันธ์กับพ่อค้าคนกลางในลักษณะระบบลูกเล้า (ตารางที่ 4.43)
ตารางที่ 4.43 ความสัมพันธ์กับพ่อค้าคนกลางระบบลูกเล้า
รายการ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
-ไม่มีความสัมพันธ์ในลักษณะระบบลูกเล้า | 122 | 98.40 |
-มีความสัมพันธ์ในลักษณะระบบลูกเล้า | 2 | 1.60 |
เครือข่ายผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง หากพิจารณามุมมองของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งพบว่า ชาวนา มี ความสําคัญมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.48 รองลงมาได้แก่ ผู้บริโภค ค่าเฉลี่ย 4.1 เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ค่าเฉลี่ย 3.24 พ่อค้าคนกลาง 2.59 เจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ 2.41 โรงฆ่าสัตว์ 1.66 และโรงฟัก 1.33 มีบทบาท น้อยที่สุด
ตารางที่ 4.44 เครือข่ายผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในมุมมองของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
รายการ | ระดับความสําคัญ | ค่าเฉลี่ย | ระดับ | |||||||||
5 | 4 | 3 | 2 | 1 | ||||||||
ราย | ร้อยละ | ราย | ร้อยละ | ราย | ร้อยละ | ราย | ร้อยละ | ราย | ร้อยละ | |||
ชาวนา | 88 | 71 | 20 | 16.1 | 7 | 5.6 | 6 | 4.8 | 3 | 2.4 | 4.48 | มาก ที่สุด |
โรงฟัก | 2 | 1.6 | 2 | 1.6 | 7 | 5.6 | 13 | 10.5 | 100 | 80.6 | 1.33 | น้อย ที่สุด |
เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ด ไล่ทุ่ง | 33 | 26.6 | 17 | 13.7 | 35 | 28.2 | 25 | 20.2 | 14 | 11.3 | 3.24 | ปาน กลาง |
เจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ | 6 | 4.8 | 17 | 13.7 | 35 | 28.2 | 30 | 24.2 | 36 | 29.0 | 2.41 | น้อย |
พ่อค้าคนกลาง | 15 | 12.1 | 14 | 11.3 | 39 | 31.5 | 17 | 13.7 | 39 | 31.5 | 2.59 | ปาน กลาง |
โรงฆ่าสัตว์ | 3 | 2.4 | 5 | 4.0 | 12 | 9.7 | 31 | 25.0 | 73 | 58.9 | 1.66 | น้อย |
ผู้บริโภค | 73 | 58.9 | 21 | 16.9 | 9 | 7.3 | 10 | 8.1 | 11 | 8.9 | 4.10 | มาก |
อื่น ๆ | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - |
ห่วงโซ่อุปทานการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในภาคใต้
จากการศึกษาสภาพข้อเท็จจริงและการสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องในโซ่อุปทานของผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ใน ภาคใต้ของประเทศไทย ใน 3 จังหวัดที่มีการเลี้ยงเป็ดแบบไล่ทุ่งมากที่สุด คือ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง และจังหวัดสงขลา จํานวน 124 ราย สามารถสรุปโครงสร้าง และองค์ประกอบหลักในห่วง โซ่อุปทานของเป็ดไล่ทุ่งที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการของเป็ดไล่ทุ่งตั้งแต่ต้นน้ํา ไปจนถึงปลายน้ํา แสดงใน ภาพที่ 4.1 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ต้นน้ํา ประกอบไปด้วย ผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
1) โรงฟักลูกเป็ดจากภาคกลาง/ภาคตะวันออก
โรงฟักจากภาคกลาง/ภาคตะวันออก พบว่า เป็นผู้ที่มีบทบาทสําคัญใน รูปแบบการเลี้ยงในแบบที่ 1 2 และ 3 (แบบที่ 1 เกษตรกรจะเลี้ยงเป็ดแรกเกิด จนถึงเก็บไข่จําหน่าย และจําหน่ายเป็ดปลดระวาง แบบ ที่ 2 เกษตรกรจะเริ่มเลี้ยงเป็ดแรกเกิด แบ่งขายเป็ดสาวบางส่วน เป็ดที่เหลือเก็บไข่จําหน่ายและจําหน่าย เป็ดปลดระวาง และแบบที่ 3 เกษตรกรจะเริ่มเลี้ยงเป็ดสาว เริ่มไข่ถึงเก็บจําหน่ายและจําหน่ายเป็ดปลด ระวาง) ซึ่งสาเหตุที่ในภาคใต้ ไม่มีโรคฟักลูกเป็ด เพราะแหล่งเลี้ยงเป็ดอยู่ในภาคกลางเป็นหลัก (กลุ่มผู้ ต้องการเลี้ยงเป็ดอยู่ในภาคกลางมากที่สุด) โดยจากการสํารวจ โรงฟักลูกเป็ดในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง จะมา จากภาคกลาง ได้แก่ จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐม และจังหวัดสมุทรสาคร และภาคตะวันออก ได้แก่ จังหวัดชลบุรี พันธุ์เป็ดที่ใช้ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง คือ พันธุ์กากีแคมเบล เป็นพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูง ทนทานต่อ โรค ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดีกว่าพันธุ์อื่นๆ จึงเป็นที่นิยมมากของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งการซื้อ ขายจะใช้เงินสดในการซื้อขายตลอดทั้ง 3 รูปแบบการเลี้ยง ไม่มีการให้สินเชื่อใดๆ
2) ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในภาคใต้ พบจํานวนผู้เลี้ยงมากที่สุด ใน 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง และจังหวัดสงขลา ซึ่งจากการสํารวจพบว่า จังหวัดพัทลุง เป็นจังหวัดที่มีผู้นิยมเลี้ยงเป็ดไล่ ทุ่งมากกว่าจังหวัดอื่นๆ เนื่องจาก มีรอบการทํานามากกว่า 2 รอบในบางพื้นที่ และมีน้ําอุดมสมบูรณ์
รูปแบบการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งนั้นมีทั้งหมด 4 ลักษณะ โดยแบบที่เป็นที่นิยมเลี้ยงกันมากที่สุด คือ แบบ ที่ 4 (เกษตรกรจะเลี้ยงเป็ดปลดระวางและจําหน่ายเป็ด) และแบบที่ 2 มีการเลี้ยงน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ
50.8 และ 6.45 ตามลําดับ
การจัดการเลี้ยงดูเป็ดไล่ทุ่งของผู้เลี้ยง พบว่า รูปแบบที่ 1 และ 2 จะต้องดูแลอย่างใกล้ชิดมากกว่า แบบอื่นๆ เพราะมีอัตราการตายสูงในขณะที่เป็นลูกเป็ดเล็ก ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ ส่งผลให้ป่วยง่าย (มีความเสี่ยงต่อการตายสูง) ไม่สามารถปรับตัวให้ทนทานต่อสภาพแวดล้อมได้ โดยเฉพาะช่วงที่ลูกเป็ดมีอายุต่ํากว่า 1 เดือน หากลูกเป็ดมีอายุมากกว่า 1 เดือนขึ้นไป ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง จะ นําเป็ดออกมาเลี้ยงในทุ่งนา เพราะประหยัดต้นทุนค่าอาหาร แต่ก็ยังมีการให้อาหารสําหรับลูกเป็ดในช่วง เย็น และเริ่มให้น้อยลงจนไม่ให้อาหารเลย เมื่อเป็ดอายุมากกว่า 4 เดือน เพื่อให้เป็ดได้ออกหาอาหารในทุ่ง นาเองได้
นอกจากนี้ รูปแบบการเลี้ยงในแบบที่ 3 ก็มีการให้อาหารกับเป็ดสาวบ้าง เนื่องจากเป็ดยังไม่ สามารถหาอาหารเองในทุ่งนาได้ จึงมีการเสริมอาหารให้กับเป็ดสาวในตอนเย็นบ้าง จากการสัมภาษณ์ พบว่า ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจะให้อาหารเสริมไม่เกิน 1-2 อาทิตย์ เป็นการให้เป็ดสาวได้ปรับตัวในการหาอาหาร ในทุ่งนาได้ และในรูปแบบการเลี้ยงแบบที่ 4 ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจะให้เป็ดได้ปรับตัวก่อนการไปหาอาหารกิน เองในทุ่งนาเช่นกัน เพราะส่วนใหญ่เป็ดจะมาจากฟาร์มเลี้ยงเป็ดไข่แบบปิด จากอําเภอปากแตระ จังหวัด
สงขลา จึงยังไม่คุ้นเคยกับการหาอาหารเอง โดยผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจะให้อาหารกับเป็ดไม่เกิน 1 อาทิตย์ใน การปรับตัว เพราะมีต้นทุนค่าอาหารสูง
ในการรวมกลุ่มของผู้เลี้ยงนั้น พบว่าไม่มีการจัดตั้งการรวมกลุ่มสําหรับผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในภาคใต้ เนื่องจาก ผู้เลี้ยงเป็ดในแต่ละรายมีการเคลื่อนย้ายเป็ดในแต่ละพื้นที่ต่างกัน ทําให้มีความยากลําบากในการ ติดต่อ และประชุมกลุ่ม
3) ร้านค้าเกษตรในท้องถิ่น
ร้านค้าเกษตรในท้องถิ่นนั้น เป็นผู้จัดเตรียมวัตถุดิบและอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการเลี้ยงเป็ดให้กับผู้ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ในทุกรูปแบบการเลี้ยง ซึ่งพบว่า รูปแบบการเลี้ยงในแบบที่ 1 2 และ 3 ร้านค้าเกษตรใน ท้องถิ่น เป็นผู้มีบทบาทในการจัดเตรียมวัตถุดิบ (อาหารสําหรับลูกเป็ด) ให้กับผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง รวมไปถึง วิตามิน ที่เสริมให้กับเป็ด ทั้งนี้ อุปกรณ์ที่ใช้ในการเลี้ยงเป็ด ได้แก่ ตาข่ายและผ้าใบพลาสติก ก็เป็นปัจจั ย จําเป็นสําหรับที่ผู้เลี้ยงเป็ดที่ต้องซื้อ โดยส่วนใหญ่ซื้อจากร้านค้าเกษตรในท้องถิ่น ในทุกรูปแบบการเลี้ยง โดยรอบการซื้อในแต่ละครั้ง จะมีการซื้อแตกต่างกันไป กล่าวคือ รูปแบบการเลี้ยง แบบที่ 1 และ 2 จะมี การซื้ออุปกรณ์ จํานวนทั้งสิ้น 3 ครั้ง (3 ครั้ง/ รอบการเลี้ยง) รองลงมา คือ การเลี้ยงแบบที่ 3 และ 4 ตามลําดับ โดยการซื้อขายวัตถุดิบและอุปกรณ์ต่างๆ ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจะใช้เงินสดในการซื้อขายตลอด ไม่มี การให้สินเชื่อใดๆ ในทุกรูปแบบการเลี้ยง
4) ปศุสัตว์ในท้องถิ่น
ปศุสัตว์ในท้องถิ่น มีบทบาทสําคัญในเรื่องการจัดการดูแลควบคุมโรคระบาดที่อาจจะเกิดขึ้นกับเป็ด ได้แก่ กาฬโรคเป็ด และอหิวาต์ ซึ่งจะมีการสุ่มตรวจเชื้อทุกๆ 6 เดือน เพื่อติดตามและเฝ้าระวังการเกิด โรค อีกทั้งยังเป็นผู้จัดเตรียมวัคซีนให้กับผู้เลี้ยงเป็ด ซึ่งส่วนใหญ่ผู้เลี้ยงเป็ดจะไปซื้อวัคซีนจากปศุสัตว์ใน ท้องถิ่น เนื่องจากมีราคาที่ถูกกว่าราคาที่ขายตามท้องตลาดหรือซื้อผ่านพ่อค้าคนกลาง โดยพบว่า วัคซีนที่ จะฉีดให้กับเป็ดจะมีการฉีดทุกๆ 6 เดือนต่อครั้ง ทั้งนี้รูปแบบการเลี้ยงในแบบที่ 1 และ 2 จะมีการฉีด วัคซีนมากที่สุด (เนื่องจากมีรอบการเลี้ยงมากที่สุด คือ 3 ปี) ดังนั้น อิทธิพลของปศุสัตว์จึงมีความสําคัญ มากในรูปแบบการเลี้ยงดังกล่าว รองลงมาคือรูปแบบการเลี้ยงแบบที่ 3 และ 4 ตามลําดับ และหน้าที่อีก ประการ สําหรับปศุสัตว์ ก็คือ การควบคุม และดูแล ในกรณีที่มีการเคลื่อนย้ายเป็ดไปในแต่ละพื้นที่การ เลี้ยงใน 3 จังหวัด เพื่อป้องกันการเกิดโรคระบาด
นอกจากนี้ ปศุสัตว์ยังเป็นผู้ฉีดวัคซีนให้กับผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในราคาตัวละ 1.00 – 2.50 บาท ขึ้นอยู่ กับการตกลงระหว่างผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกับปศุสัตว์ เนื่องจากผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งไม่มีความรู้และความชํานาญใน การฉีดวัคซีน จึงนิยมจ้างให้ปศุสัตว์มาฉีดยาให้กับเป็ดเพื่อป้องกันโรคและลดอัตราการตายของเป็ด หรือ อาจจะจ้างผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมาฉีดวัคซีนดังกล่าวให้โดยผู้ที่มาฉีดวัคซีนนั้นสามารถฉีดได้อย่างถูกต้อง แต่ใน กรณีที่ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเลี้ยงมาเป็นระยะเวลายาวนาน มีประสบการณ์ในการเลี้ยงมากขึ้น จะนิยมซื้อยาจาก ปศุสัตว์มาฉีดเอง ทําให้ปศุสัตว์มีบทบาทเพียงเป็นผู้จัดเตรียมวัตถุดิบและดูแลโรคระบาดที่อาจจะเกิดขึ้น เท่านั้น
กลางน้ํา มีผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่
1) ผู้ค้าไข่
ผู้ค้าไข่ถือได้ว่าเป็นผู้ที่มีอิทธิพลต่อผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นอย่างยิ่งใน รูปแบบการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง แบบที่ 1 2 3 และ 4 โดยผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งนั้นไม่มีเจ้าประจํารายใดรายหนึ่ง แต่จะพบว่า จะมีผู้ค้าไข่หลายรายที่ เดินทางมาติดต่อซื้อไข่กับผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในแต่ละพื้นที่ที่ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเคลื่อนย้ายเป็ดไปเลี้ยงในพื้นที่ ต่าง ๆ ใน 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง และจังหวัดสงขลา
นอกจากนี้ ยังพบว่า ผู้ค้าไข่มีทั้งที่เป็นคนในพื้นที่และนอกพื้นที่ ที่เดินทางมาติดต่อขอซื้อไข่เป็ดไล่ ทุ่งกับผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง โดยมีการติดต่อซื้อไข่ถึงพื้นที่การเลี้ยง แต่สําหรับผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งบางรายก็จะนําไข่ เป็ดของตนเองไปขายให้กับผู้ค้าไข่ในพื้นที่ที่ตนเองเดินทางไปเลี้ยงเป็ดในพื้นที่นั้น ๆ ด้วย แต่พบไม่มากนัก หากผู้ค้าไข่รายใดมาติดต่อขอซื้อ ผู้เลี้ยงก็จะขายไข่เป็ดไล่ทุ่งให้ในราคาที่ทั้งสองฝ่ายตกลงกันได้ หากผู้ค้า ไข่ให้ราคาต่ํากว่า 3.00 บาท ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งส่วนใหญ่จะไม่นิยมขาย เนื่องจากไข่เป็ดที่ยังไม่ได้มีการล้าง ทําความสะอาดสามารถเก็บเอาไว้ขายได้ไม่เกิน 2 อาทิตย์ แต่ถ้าหากผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งทําความสะอาดไข่ เป็ดจะสามารถเก็บได้ไม่เกิน 4-5 วัน เพราะไข่จะเสียได้ง่าย ดังนั้นการล้างทําความสะอาดไข่เป็ดจึงเป็น กิจกรรมที่ผู้ค้าไข่ส่วนใหญ่ต้องไปดําเนินการเอง แต่ในบางครั้ง ากผู้ค้าไข่ไปติดต่อขอซื้อไข่เป็ดไล่ทุ่ง โดยมี ข้อตกลงว่าผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจะต้องล้างทําความสะอาดไข่ให้กับผู้ค้าไข่ด้วย จะมีการติดต่อกันโดยตรงก่อนที่ จะมาทําการซื้อไข่ เนื่องจากไข่เป็ดไล่ทุ่งเก็บไว้ได้ไม่นาน ดังที่กล่าวไปแล้วข้างต้นนั่นเอง แต่พบเพียงไม่กี่ รายเท่านั้น
2) ผู้ค้าเป็ด
ผู้ค้าเป็ดในภาคใต้นั้น พบว่า เป็นผู้ที่เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ และซื้อเป็ดไปขายต่อ ให้กับผู้ที่ต้องการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในแบบที่ 4 และเป็นที่นิยมมากสําหรับผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่เลี้ยงในระยะสั้นๆ โดยเฉพาะในช่วงที่ทุ่งเปิด (ช่วงทุ่งเปิด หมายถึง ช่วงเวลาหลังจากที่ชาวนาเก็บเกี่ยวผลผลิตเสร็จเรียบร้อย และชาวนาเริ่มสูบน้ําเข้าแปลงเพื่อเตรียมปลูกข้าวในรอบต่อไป ซึ่งการสูบน้ําเข้านาจะทําให้หอยเชอรี่ที่ อาศัยอยู่ใต้ดินออกมาวางไข่ อันเป็นช่วงเวลาที่เป็ดจะมีอาหารในท้องนาอุดมสมบูรณ์เต็มที่ เพราะมีทั้ง อาหารและแหล่งน้ํา เป็ดได้เล่นอย่างมีความสุขทําให้เป็ดไม่เครียด ซึ่งส่งผลต่อการให้ไข่ของเป็ดอย่างมาก หากเป็ดอยู่ในวัยเจริญพันธุ์เต็มที่) โดยระยะเวลาในการเลี้ยงจะเลี้ยงในช่วงสั้นๆ คือประมาณ ไม่เกิน 3-4 เดือนต่อรอบการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในแบบที่ 4 เนื่องจากผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งไม่ต้องให้อาหารเสริมกับเป็ดในตอน เย็น เป็นการลดต้นทุน เพราะเป็ดสามารถหาอาหารกินเองได้ และจะขายออกในช่วงที่ทุ่งปิด (ทุ่งปิด หมายถึง ช่วงเวลาที่ชาวนาจะทํานาพร้อมกันหรือไล่เลี่ยกัน โดยเฉพาะในช่วงการทํานาปี) ซึ่งในการเลี้ยง รูปแบบดังกล่าว ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจะเคลื่อนย้ายเป็ดไปเลี้ยงในจังหวัดที่ตนเองอาศัยอยู่หรือในอําเภอใกล้ๆ เท่านั้น เพราะเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นอาชีพเสริม เพื่อรอการทํานารอบใหม่นั้นเอง
การติดต่อขอซื้อเป็ดจากผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง จากการสัมภาษณ์พบว่า ส่วนใหญ่ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจะมีการ บอกกล่าวให้ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งด้วยกันรับรู้ ว่าตนเองต้องการขายเป็ดออก หรือปลดเป็ดออก แต่จะไม่มีผู้ค้า เป็ดที่มาติดต่อขอซื้อเป็ดเองจากผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง จึงอาจกล่าวได้ว่า อาชีพผู้ค้าเป็ดในภาคใต้นั้น เป็นผู้ที่มี อิทธิพลน้อยที่สุด เพราะต้องรอให้ผู้เลี้ยงเป็ดต้องการขายเป็ดออกเอง ไม่สามารถกดดันหรือบีบบังคับให้ผู้ เลี้ยง ขายเป็ดให้กับตนเองได้ และการซื้อขายก็จ่ายเป็นเงินสดงวดเดียว ไม่มีการแบ่งจ่ายหรือให้เครดิตกับ ผู้ขายเช่นกัน
3) พ่อค้าคนกลาง
พ่อค้าคนกลาง เป็นผู้ที่มีหน้าที่ในการจัดหาเป็ดที่ผู้เลี้ยงเป็ดในรูปแบบที่ 1 2 3 และ 4 ต้องการ จําหน่าย ส่งให้กับโรงเชือด แต่ไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างพ่อค้าคนกลางและผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในรูปแบบ ความสัมพันธ์ระบบลูกเล้า (ระบบลูกเล้า คือ พ่อค้าคนกลางจะให้สินเชื่อแก่เกษตรกรที่ไม่มีทุนที่เป็นเงิน สดในการสั่งซื้อลูกเป็ดหรือในเกษตรกรรายที่ไม่ต้องการอนุบาลลูกเป็ดเอง เกษตรกรไม่มีประสบการณ์ใน การอนุบาลลูกเป็ดเล็ก ซึ่งพ่อค้าคนกลางก็จะเป็นผู้จัดหาเป็ดสาวที่พร้อมให้ไข่เป็ดมาให้เกษตรกร และ เกษตรกรจะต้องขายไข่เป็ดคืนให้แก่พ่อค้าคนกลางจนกว่าจะครบจํานวนเงินที่พ่อค้าคนกลางลงทุนให้ก่อน)
ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นผู้ลงทุนในการเลี้ยงเองทั้งหมด ซึ่งแตกต่างจากภาคกลางที่มีระบบลูกเล้าระหว่างพ่อค้า คนกลางและเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ในการซื้อขายตลอด ไม่มีการให้สินเชื่อ
4) โรงเชือด
โรงเชือด เป็นผู้จัดเตรียมวัตถุดิบให้กับร้านค้าทั้งในพื้นที่ (3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา) และนอกพื้นที่ จากการสัมภาษณ์ พบว่า เป็ดที่รับซื้อจากผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งนั้นมีเนื้อน้อย น้ําหนักเบากว่าเป็ดที่เลี้ยงในโรงเรือน ซึ่งในบางครั้ง ก็จะต้อง ให้อาหารเป็ด หรือขุนให้เป็ดมีความสมบูรณ์ ก่อน ประมาณ 1-2 อาทิตย์ จึงส่งเข้าโรงเชือดและจําหน่ายให้กับร้านค้าตามความต้องการ
ปลายน้ํา
1) ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง มีการนําไข่เป็ดและเนื้อเป็ดมาบริโภคในครัวเรือน แต่มีอัตราที่ต่ํามาก คิดเป็นร้อย ละ 2.4 และ 1.6 ตามลําดับ เนื่องจากไข่เป็ดไล่ทุ่งที่มีในแต่ละวันมีเป็นจํานวนมาก อีกทั้งยังพบว่า ผู้เลี้ยง เป็ดไล่ทุ่งบางรายไม่นิยมขายตัวเป็ดให้กับพ่อค้าคนกลาง หรือผู้ค้าเป็ด หรือผู้มาติดต่อขอซื้อใดๆ แต่จะ ปล่อยให้แก่ตายไปเอง คิดเป็น 25.8 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากผู้เลี้ยงเป็ดมีความผูกพันไม่อยากให้เป็ดที่ตนเอง เลี้ยงมาถูกเชือดและถูกชําแหละเพื่อนํามารับประทาน และไม่มีการนําเป็ดไล่ทุ่งที่เลี้ยงมาบริโภคใน ครัวเรือน ซึ่งจะพบในกรณีของผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่เป็นเพศหญิงเป็นหลัก
2) ผู้บริโภค
ผู้บริโภคไข่เป็ดไล่ทุ่ง ถือได้ว่าเป็นผู้ที่มีอิทธิพลมากที่สุดในบรรดาผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในห่วงโซ่อุปทาน เป็ดไล่ทุ่ง ซึ่งส่วนใหญ่จะนิยมซื้อไข่เป็ดสดมาบริโภคในครัวเรือนเป็นหลัก ไม่มีการซื้อไข่เป็ดไล่ทุ่งที่แปรรูป แล้วมารับประทานในครัวเรือน เนื่องจากผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง และ/หรือพ่อค้าคนกลาง ไม่นิยมแปรรูป (ไข่เค็ม และไข่เยี่ยวม้า) เพราะเปลือกของไข่เป็ดไล่ทุ่งมีลักษณะบางและแตกง่าย แหล่งที่ผู้บริโภคสามารถหาซื้อไข่ เป็ดไล่ทุ่งได้ คือ ตลาดสด และตลาดนัด ใน 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง และจังหวัด สงขลา ทั้งนี้ผู้บริโภคส่วนใหญ่จะอยู่ในจังหวัดพัทลุงเป็นหลัก เพราะผู้บริโภคชื่นชอบในรสชาติของไข่เป็ด ไล่ทุ่งมากกว่าไข่เป็ดในโรงเรือนปิด สําหรับเนื้อเป็ด ที่ผู้บริโภคนิยมรับประทานมากที่สุด คือ เป็ดพะโล้ เนื่องจากมีรสชาติที่ถูกปากและเป็นที่ต้องการของตลาด
ร้านค้า
ร้านเกษตรในท้องถิ่น
ฟาร์มเลี้ยงไข่เป็ดแบบปิด
โรงฟักภาคตะวันออก
โรงฟักภาคกลาง
วัคซีน
อาหาร+วิตามิน
ผู้ค้าเป็ด
ปศุสัตว์ในท้องถิ่น
การจัดการ(ตัวเป็ด)
ขาย 33.9 %
ไม่ปลด 25.8 %
บริโภคในครัวเรือน
1.6 %
โรงเชือด
45.5 %
ผู้บริโภค
ผู้ค้าไข่ 92.7%
พ่อค้าคนกลาง
แปรรูปไข่เค็ม 2.4%
อาหารเสริม
บริโภคใน ครัวเรือน 2.4 %
ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งลูกเป็ด-ปลด เป็ด (แบบที่ 1) 21.77 % | |
| |
ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งลูกเป็ด-แบ่ง ขาย-ปลดเป็ด (แบบที่ 2) 6.45 % | |
| |
ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็ดสาว-- ปลด (แบบที่ 3) 19.35 % | |
ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็ดปลด (แบบที่ 4) 50.8 % | |
ภาพที่ 4.1 ผังแสดงห่วงโซ่อุปทานการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
4.6 การศึกษาความสัมพันธ์และเปรียบเทียบตัวแปรทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกร ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง การทดสอบสมมติฐานเพื่อเปรียบเทียบลักษณะทั่วไปทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรผู้เลี้ยง
เป็ดไล่ทุ่งกับตัวแปรที่สําคัญต่างๆ ดังนี้
1. การเปรียบเทียบรายได้เฉลี่ยจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจําแนกตามเพศของเกษตรกร
จากการทดสอบสมมติฐานสรุปว่าเกษตรกรเพศชายและหญิงมีรายได้เฉลี่ยต่อปีจากการเลี้ยงเป็ดไล่ ทุ่งแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05
เกษตรกรเพศชายและหญิงมีรายได้เฉลี่ยต่อรอบต่อตัวจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งแตกต่างกันอย่างไม่มี นัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 (ตารางที่ 4.45)
ตารางที่ 4.45 การเปรียบเทียบรายได้เฉลี่ยจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจําแนกตามเพศของเกษตรกร
รายได้จากการเลี้ยงเป็ดไล่ ทุ่ง | เพศของเกษตรกร | t | d.f. | p-value | |
ชาย | หญิง | ||||
รายได้เฉลี่ยต่อปี | 318,930.63 | 318,817.78 | 0.002 | 122 | 0.999 |
รายได้เฉลี่ยต่อรอบต่อตัว | 888.70 | 887.81 | 0.007 | 122 | 0.994 |
* มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.05)
2. ความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งและรายได้เฉลี่ยต่อปีจากการเลี้ยง เป็ดไล่ทุ่ง และความสัมพันธ์ของประสบการณ์ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งและรายได้เฉลี่ยต่อรอบต่อตัวจาก การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกับตัวแปรที่สําคัญต่างๆ
จากการทดสอบสมมติฐานความสัมพันธ์ สามารถระบุได้ว่าประสบการณ์ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกับ รายได้เฉลี่ยต่อปีและรายได้ต่อรอบต่อตัวจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งไม่มีความสัมพันธ์กัน ที่ระดับนัยสําคัญ
0.05 โดยที่ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.023 และ 0.016 ตามลําดับ (ตารางที่ 4.46)
ตารางที่ 4.46 แสดงค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างรายได้จากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งและประสบการณ์ใน การเลี้ยง
รายได้ | |||
รายได้ต่อปี | รายได้ต่อรอบต่อตัว | ||
ประสบการณ์ในการเลี้ยง | Pearson Correlation | 0.023 | 0.126 |
p-value | 0.800 | 0.164 |
3. การเปรียบเทียบรายได้ที่ได้จากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นอาชีพหลักและการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็น อาชีพเสริม
จากการทดสอบสมมติฐาน สามารถสรุปได้ว่าการเลี้ยงเป็ดเป็นอาชีพหลักหรือเสริมมีรายได้เฉลี่ยต่อ ปีจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05
การเลี้ยงเป็ดเป็นอาชีพหลักหรือเสริมมีรายได้เฉลี่ยต่อรอบต่อตัวจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งแตกต่างกัน อย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 (ตารางที่ 4.47 )
ตารางที่ 4.47 การเปรียบเทียบรายได้เฉลี่ยจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจําแนกตามการเลี้ยงเป็ดเป็นอาชีพหลัก หรือเสริม
รายได้จากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | การเลี้ยงเป็ดเป็นอาชีพ | t | d.f. | p-value | |
หลัก | เสริม | ||||
รายได้เฉลี่ยต่อปี | 321,826.98 | 315,856.07 | 0.104 | 122 | 0.918 |
รายได้เฉลี่ยต่อรอบต่อตัว | 912.89 | 863.06 | 0.429 | 122 | 0.669 |
* มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.05)
4. การเปรียบเทียบลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีอิทธิพลต่อต้นทุนเฉลี่ยต่อรอบต่อตัวและรายได้ รายได้เฉลี่ยต่อรอบต่อตัว
จากการทดสอบสมมติฐานสามารถสรุปได้ว่า ลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งแบบที่ 3 เมื่อเปรียบเทียบ กับแบบที่ 1 และแบบที่ 4 มีต้นทุนรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 นอกนั้นต้นทุนรวมของลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งคู่ที่เหลือมีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติ
ลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งแบบที่ 4 เมื่อเปรียบเทียบกับแบบที่ 1 และแบบที่ 3 มีรายได้รวม แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 นอกนั้นรายได้รวมของลักษณะการเลี้ยงเป็ด ไล่ทุ่งคู่ที่เหลือมีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 4.48)
ตารางที่ 4.48 การเปรียบเทียบลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีอิทธิพลต่อต้นทุนเฉลี่ยต่อรอบต่อตัวและรายได้ รายได้เฉลี่ยต่อรอบต่อตัว
รายการ | ลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | F | p-value | |||
ลักษณะที่ 1 | ลักษณะที่ 2 | ลักษณะที่ 3 | ลักษณะที่ 4 | |||
ต้นทุนรวม | 75.76A | 111.20AB | 209.81B | 86.19A | 26.220a | < 0.001* |
รายได้รวม | 1,265.92A | 1,063.9AB | 1,423.01A | 512.55B | 15.608a | < 0.001* |
a Brown-Forsythe Statistic (Asymptotically F distributed.)
* มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.05) และตัวอักษรที่แตกต่างกันในแถวนอนแสดง ความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.05)
5.ลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีอิทธิพลต่อต้นทุนเฉลี่ยต่อรอบต่อตัวและรายได้เฉลี่ยต่อรอบต่อตัว จากการทดสอบสมมติฐานสามารถสรุปได้ว่า ลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งแบบที่ 3 เมื่อเปรียบเทียบ กับแบบที่ 1 และแบบที่ 4 มีต้นทุนรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05
นอกนั้นต้นทุนรวมของลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งคู่ที่เหลือมีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติ ลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งแบบที่ 4 เมื่อเปรียบเทียบกับแบบที่ 1 และแบบที่ 3 มีรายได้รวม
แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 นอกนั้นรายได้รวมของลักษณะการเลี้ยงเป็ด ไล่ทุ่งคู่ที่เหลือมีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 4.49)
ตารางที่ 4.49 การเปรียบเทียบลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งต่อต้นทุนและรายได้เฉลี่ยต่อรอบต่อตัว
รายการ | ลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | F | p-value | |||
ลักษณะที่ 1 | ลักษณะที่ 2 | ลักษณะที่ 3 | ลักษณะที่ 4 | |||
ต้นทุนรวม | 75.76A | 111.20AB | 209.81B | 86.19A | 26.220a | < 0.001* |
รายได้รวม | 1,265.92A | 1,063.9AB | 1,423.01A | 512.55B | 15.608a | < 0.001* |
a Brown-Forsythe Statistic (Asymptotically F distributed.)
* มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.05) และตัวอักษรที่แตกต่างกันในแถวนอนแสดง ความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.05)
จากการศึกษาความสัมพันธ์และเปรียบเทียบตัวแปรทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรผู้เลี้ยง เป็ดไล่ทุ่ง สามารถสรุปได้ว่า เพศ ประสบการณ์ในการเลี้ยง การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นอาชีพหลักหรืออาชีพ เสริม ไม่มีผลทําให้รายได้เฉลี่ยของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีความแตกต่าง อย่างไรก็ตามลักษณะการ เลี้ยงเป็ดมีผลต่อต้นทุนและรายได้ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
บทที่ 5 ผลการศึกษาปัจจัยเสี่ยงและแนวทางการจัดการความเสี่ยง
ในบทนี้เป็นการนําเสนอผลการศึกษาเศรษฐกิจการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลงใน เขตภาคใต้ตอนบน เพื่อตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัยในการศึกษาปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อการเลี้ยง เป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้ ศึกษาแนวทางการปรับตัวต่อปัจจัยเสี่ยง และการจัดการความเสี่ยงของเกษตรกรผู้ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้ตอนบน
ตอนที่ 1 ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
ตอนที่ 2 วิธีการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งต่อปัจจัยเสี่ยงที่เกิดขึ้น
ตอนที่ 3 แนวทางการจัดการความเสี่ยงระบบการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเพื่อสร้างสมดุลในการดํารงชีพ
5.1 ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในปัจจุบันระบบการเลี้ยงเป็ดแบบไล่ทุ่งมีความ จําเป็นต้องมีการปรับตัวเพื่อความอยู่รอด สภาวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทําให้เกิดความ เสี่ยงต่อระบบการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง โดยความเสี่ยงต่อระบบการผลิตเป็ดไล่ทุ่ง การดําเนินนโยบายของภาครัฐ ทําให้เกิดผลกระทบต่อระบบการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง เนื่องจากภาครัฐที่ต้องการควบคุมโรคไม่ให้แพร่ระบาด ทํา ให้ต้องมีการจํากัดพื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดซึ่งไม่สอดคล้องกับรูปแบบการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจึงส่งผลกระทบต่อ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นวงกว้าง
ผลการศึกษาสภาพการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขตพื้นที่จังหวัดสงขลา นครศรีธรรมราช และพัทลุง การ ผลิต ต้นทุนและผลตอบแทน ห่วงโซ่อุปทานของการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง รวมทั้งปัจจัยเสี่ยงและผลกระทบของ ปัจจัยเสี่ยง แนวทางการปรับตัวและจัดการความเสี่ยงของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง มีรายละเอียดดังนี้
1) ความเสี่ยงของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
ในด้านความเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างพบว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ส่วนใหญ่ไม่ต้องการขยายการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งคิดเป็นร้อยละ 60.50 ต้องการขยายการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งคิดเป็น
ร้อยละ 33.10 และคิดที่จะเลิกเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งร้อยละ 6.50 ในส่วนของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่คิดจะขยายการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งออกไปอีกเนื่องจากรายได้และ
ผลตอบแทนจากการเลี้ยงเป็ดค่อนข้างดี ในส่วนของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่มีความต้องการจะเลิกเลี้ยง เป็ดไล่ทุ่ง สาเหตุหลักเนื่องจากขาดแคลนแรงงานในการเลี้ยงและพื้นที่ที่ใช้ในการเลี้ยงเป็ดขาดความอุดม สมบูรณ์ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่ไม่ต้องการขยายสาเหตุหลัก เพราะพื้นที่นาในปัจจุบันมีจํากัดและขาด แคลนแรงงานที่จะมาเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง (ตารางที่ 5.1)
ตารางที่ 5.1 ความต้องการขยายการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
รายการ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
1.ต้องการขยาย | 41 | 33.10 |
-ต้องการขยาย เพราะ | 41 | |
(1) เลี้ยงเป็ดแบบขังคอกแทน | 2 | |
(2) รายได้ดี | 23 | |
(3) รอขยายทุน | 2 | |
(4) รอช่วงฤดูเกี่ยวข้าว(ทุ่งเปิด) | 6 | |
(5) มีแรงงาน | 6 | |
(6) ถ้าทํานาเพิ่ม | 1 | |
2.เลิกเลี้ยง | 8 | 6.50 |
-เลิกเลี้ยง เพราะ | 8 | |
(1) ไม่มีแรงงาน | 4 | |
(2) นาไม่อุดมสมบูรณ์ | 2 | |
(3) สุขภาพไม่ดี | 1 | |
(4) น้ําไม่พอเพียง | 1 | |
3.ไม่ขยาย | 75 | 60.50 |
-ไม่ขยาย เพราะ | 75 | |
(1) พอเพียง | 10 | |
(2) ไม่มีแรงงาน | 20 | |
(3) นาไม่อุดมสมบูรณ์ | 3 | |
(4) คอกอนุบาลไม่เพียงพอ | 1 | |
(5) สุขภาพไม่ดี | 3 | |
(6) ชรา | 2 | |
(7) พื้นที่นาจํากัด | 19 | |
(8) น้ําไม่พอเพียง | 4 | |
(9) ขายไข่ลําบาก | 2 | |
(11) รอขยายทุน | 2 | |
(10) รายได้ไม่พอเพียง | 3 | |
(11) รอฤดูกาลเกี่ยวข้าว(ทุ่งเปิด) | 3 |
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่ร้อยละ 71.30 ในพื้นที่กลุ่มตัวอย่างไม่ เคยประสบกับปัญหาโรคระบาด ในขณะที่ร้อยละ 28.70 ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดระบุว่า ประสบกับ ปัญหาโรคระบาด โดยโรคระบาดที่พบส่วนใหญ่คือกาฬโรค รองลงมาได้แก่ อหิวาต์ ไข้หวัดนก โรคขี้ขาว เป็นต้น ส่วนใหญ่เกิดขึ้นในพื้นที่พัทลุง ร้อยละ 10.5 เมืองพัทลุง รองลงมาได้แก่อําเภอเชียรใหญ่ ร้อยละ
7.3 อําเภอระโนด ร้อยละ 4.8 อําเภอหัวไทรร้อยละ 2.4 อําเภอกระแสสินธุ์ ร้อยละ 0.8 (ตารางที่ 5.2 )
ตารางที่ 5.2 โรคระบาดในช่วง 1-5 ปี
รายการ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
-ไม่เคย | 87 | 71.30 |
-เคย ระบุ 1) อหิวาต์ 2) กาฬโรค 3) ไข้หวัดนก 4) โรคขี้ขาว 5) ไม่ทราบโรค | 35 5 25 3 1 2 | 28.70 4.00 20.00 2.40 1.60 8.00 |
เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างโดยส่วนใหญ่ร้อยละ 95.16 ระบุว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ เช่น อากาศที่ร้อนขึ้น ภัยแล้ง เป็นอุปสรรคในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเนื่องจากภัยแล้งทําให้ไม่มีน้ํา รองลงมาได้แก่ ที่นาที่มีอยู่จํากัด คิดเป็นร้อยละ 84.68 และ ที่นาขาดความอุดมสมบูรณ์คิดเป็นร้อยละ
84.68 (ตารางที่ 5.3)
ตารางที่ 5.3 อุปสรรคในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
รายการ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
ที่นาจํากัด | 105 | 84.68 |
ที่นาขาดความอุดมสมบูรณ์ของอาหารที่จะใช้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 105 | 84.68 |
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เช่น อากาศที่ร้อนขึ้น | 118 | 95.16 |
ไม่มีตลาดรองรับผลผลิต | 10 | 8.06 |
ขาดแคลนแรงงาน | 26 | 20.97 |
โรคระบาด | 27 | 21.77 |
ผลตอบแทนไม่แน่นอน | 44 | 35.48 |
ถูกเอารัดเอาเปรียบจากพ่อค้าคนกลาง | 8 | 6.45 |
นโยบายรัฐไม่ส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรคในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 17 | 13.71 |
อื่นๆ เช่น -สุนัขรบกวน -คนแย่งพื้นที่นาเลี้ยงเป็ด -เพื่อนขโมยเป็ดเนื่องจากเลี้ยงรวมกัน -เป็ดเปลี่ยนขนทําให้เป็นโรค -น้ําท่วม -ค่าน้ํามันสูบน้ํา | 24 16 3 2 1 1 1 | 19.35 |
*ร้อยละรวมมีค่ามากกว่า 100 เนื่องจากตอบได้มากกว่า 1 ข้อ
เพื่อพิจารณาอันดับของอุปสรรคในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งพบว่า อุปสรรคอันดับแรก คือการ เปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ รองลงมาได้แก่ ที่นาขาดความอุดมสมบูรณ์ และที่นาจํากัด ซึ่งเป็นอุปสรรค หลักๆ ที่เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งระบุว่าส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง (ตารางที่ 5.4)
อุปสรรค | จํานวน (ราย) | อันดับ1 | อันดับ2 | อันดับ3 | ดัชนี | |||
จํานวน | ร้อยละ | จํานวน | ร้อยละ | จํานวน | ร้อยละ | |||
ที่นาจํากัด | 124 | 38 | 30.65 | 33 | 26.61 | 20 | 16.13 | 200 |
ที่นาขาดความอุดมสมบูรณ์ของ อาหารที่จะใช้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 124 | 32 | 25.81 | 42 | 33.87 | 22 | 17.74 | 202 |
การเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ เช่น อากาศที่ร้อน ขึ้น | 124 | 39 | 31.45 | 27 | 21.77 | 44 | 35.48 | 215 |
ไม่มีตลาดรองรับผลผลิต | 124 | 1 | 0.81 | 1 | 0.81 | 2 | 1.61 | 7 |
ขาดแคลนแรงงาน | 124 | 1 | 0.81 | 5 | 4.03 | 4 | 3.23 | 17 |
โรคระบาด | 124 | 1 | 0.81 | 6 | 4.84 | 5 | 4.03 | 20 |
ผลตอบแทนไม่แน่นอน | 124 | 0 | 0.00 | 6 | 4.84 | 8 | 6.45 | 20 |
ถูกเอารัดเอาเปรียบจากพ่อค้า คนกลาง | 124 | 0 | 0.00 | 1 | 0.81 | 1 | 0.81 | 3 |
นโยบายรัฐไม่ส่งเสริมหรือเป็น อุปสรรคในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 124 | 2 | 1.61 | 0.00 | 5 | 4.03 | 11 | |
อื่น ๆ | 124 | 10 | 8.06 | 2 | 1.61 | 5 | 4.03 | 39 |
ตารางที่ 5.4 อันดับอุปสรรคในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
หมายเหตุ:ดัชนี = (จํานวนผู้ตอบอันดับ1 x 3)+(จํานวนผู้ตอบอันดับ2 x 2)+(จํานวนผู้ตอบอันดับ1 x 1) การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีความเสี่ยงทางด้านการผลิต ค่าเฉลี่ย 2.49 รองลงมาได้แก่ความเสี่ยงด้าน
การเงิน ค่าเฉลี่ย 2.14 ความเสี่ยงด้านทรัพยากรมนุษย์ ค่าเฉลี่ย 2.08 และความเสี่ยงด้านสถาบัน ค่าเฉลี่ย 1.95
ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในด้านการผลิต พบว่า ในภาพรวมมีความเสี่ยงในระดับน้อย เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ระบุว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีความเสี่ยงในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย
3.19 รองลงมาได้แก่ พื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ค่าเฉลี่ย 3.10 และขาดความสมบูรณ์ของอาหาร ค่าเฉลี่ย 2.85
ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในด้านสถาบันพบว่าในภาพรวมมีความเสี่ยงอยู่ในระดับน้อย โดยเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งระบุว่า นโยบายของรัฐไม่ส่งเสริมการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีความเสี่ยงอยู่ในระดับ น้อย ค่าเฉลี่ย 2.08 รองลงมาได้แก่ กฎระเบียบในการเคลื่อนย้ายสัตว์ ค่าเฉลี่ยร้อยละ 1.82
ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในด้านการเงินในภาพรวมมีความเสี่ยงอยู่ในระดับน้อย ขาด แคลนเงินทุนมีความเสี่ยงอยู่ในระดับน้อย ค่าเฉลี่ย 2.33 ภาระหนี้สิน ค่าเฉลี่ย 2.27 ขาดสินเชื่อ ค่าเฉลี่ย
2.04 ผลตอบแทนไม่คุ้มค่า ค่าเฉลี่ย 1.94
ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งด้านทรัพยากรมนุษย์ ในภาพรวมมีความเสี่ยงอยู่ในระดับ น้อย การขาดการรวมกลุ่ม ค่าเฉลี่ย 2.27 ความไม่เข้มแข็งของกลุ่มผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ค่าเฉลี่ย 2.21 อํานาจ ต่อรองระหว่างผู้เลี้ยงกับพ่อค้าคนกลาง ค่าเฉลี่ย 2.05
ตารางที่ 5.5 ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
รายการ | ค่าเฉลี่ย | ระดับ |
ด้านการผลิต 1.ขาดความรู้ในการเลี้ยง | 1.77 | น้อยที่สุด |
2.ขาดความอุดมสมบูรณ์ของอาหาร | 2.85 | ปานกลาง |
3.การแพร่ระบาดของโรค | 1.86 | น้อย |
4.การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ | 3.19 | ปานกลาง |
5.ความไม่แน่นอนของปริมาณผลผลิต | 2.41 | น้อย |
6.ความไม่แน่นอนของราคาผลผลิต | 2.22 | น้อย |
7.พื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 3.10 | ปานกลาง |
ด้านการผลิต | 2.49 | น้อย |
ด้านสถาบัน 1.นโยบายของภาครัฐ(ไม่ส่งเสริม) | 2.08 | น้อย |
2.กฎระเบียบในการเคลื่อนย้ายสัตว์(การขออนุญาต) | 1.82 | น้อย |
ด้านสถาบัน | 1.95 | น้อย |
ด้านการเงิน 1.ขาดแคลนเงินทุน | 2.33 | น้อย |
2.ภาระหนี้สิน | 2.27 | น้อย |
3.ขาดสินเชื่อ | 2.04 | น้อย |
4.ผลตอบแทนไม่คุ้มค่า | 1.94 | น้อย |
ด้านการเงิน | 2.14 | น้อย |
ด้านทรัพยากรมนุษย์ 1.ขาดแคลนแรงงาน | 1.90 | น้อย |
2.สุขภาพของเกษตรกร | 1.96 | น้อย |
3.ขาดการรวมกลุ่ม | 2.27 | น้อย |
4. ความไม่เข้มแข็งของกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยง | 2.21 | น้อย |
5. อํานาจต่อรองระหว่างผู้เลี้ยงกับพ่อค้าคนกลาง | 2.05 | น้อย |
ด้านทรัพยากรมนุษย์ | 2.08 | น้อย |
หากเปรียบเทียบระดับความเสี่ยงเฉลี่ยในแต่ละด้านจําแนกตามลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งตารางที่
5.6 แสดงให้เห็นว่าลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งไม่มีอิทธิพลต่อระดับความเสี่ยงในแต่ละด้าน ที่ระดับ นัยสําคัญ 0.05
ตารางที่ 5.6 การเปรียบเทียบระดับความเสี่ยงเฉลี่ยในแต่ละด้านจําแนกตามลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
ปัจจัย | ลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | F | p-value | |||
ลักษณะที่ 1 | ลักษณะที่ 2 | ลักษณะที่ 3 | ลักษณะที่ 4 | |||
ด้านการผลิต | 2.53 | 1.95 | 2.52 | 2.52 | 1.725 | 0.166 |
ด้านสถาบัน | 2.17 | 1.63 | 2.15 | 1.83 | 1.397 | 0.247 |
ด้านการเงิน | 2.28 | 1.59 | 2.33 | 2.08 | 1.500 | 0.218 |
ด้านทรัพยากรมนุษย์ | 2.27 | 1.90 | 2.31 | 1.94 | 1.754 | 0.160 |
* มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.05) และตัวอักษรที่แตกต่างกันในแถวนอนแสดงความแตกต่าง อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.05)
ความเสี่ยงเรื่องโรคที่จะเกิดกับการเลี้ยงเป็ดแบบไล่ทุ่ง เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง โดยส่วนใหญ่ ร้อย ละ 32.7 โรคที่พบได้บ่อยคือกาฬโรค รองลงมาได้แก่โรคอหิวาห์สัตว์ปีก ร้อยละ 31.70 และไข้หวัดนกร้อย ละ 5.0 (ตารางที่ 5.7)
ตารางที่ 5.7 โรคที่เกิดกับการเลี้ยงเป็ดแบบไล่ทุ่ง
โรค | จํานวน(ครัวเรือน) | ร้อยละ |
กาฬโรค | 33 | 32.70 |
ไข้หวัดนก | 5 | 5.00 |
โรคอหิวาห์สัตว์ปีก | 32 | 31.70 |
อื่นๆ เช่น (1) สารตกค้างในเป็ด (2) โรคหน้าบวม (3) ไม่มีโรค | 31 29 1 1 | 30.70 |
เนื่องจากเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งต้องพึ่งพิงเกษตรกรผู้ปลูกข้าว อย่างไรก็ตามหากมีการใช้สารเคมี ในนาข้าวอาจส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ร้อยละ 55 ระบุว่าได้รับ ผลกระทบของการใช้สารเคมีในนาข้าว โดยจะทําให้เป็ดตาบอด เป็ดตายและเป็ดป่วย
ในปัจจุบันนอกจากการใช้สารเคมีในนาข้าวซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง พบว่าในบาง บริเวณมีการอพยพเข้ามาของนกปากห่างทําให้ส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ดโดยส่วนใหญ่ร้อยละ 67 ระบุ ว่าส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ส่งผลให้เป็ดตาบอด เป็นต้น (ตารางที่ 5.8)
ตารางที่ 5.8 ผลกระทบของการใช้สารเคมีในนาข้าวของชาวนา
รายการ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
ไม่มี | 55 | 45.1 |
มี - เป็ดตาบอด - เป็ดตาย - เป็ดป่วย - โรคขาอ่อน - เป็ดไม่แข็งแรง/เป็ดไม่กินอาหาร - เป็ดไม่ไข่ - เป็ดขาดสารอาหาร | 67 36 11 9 1 3 5 2 | 29.5 9.0 7.4 0.8 2.5 4.1 1.6 |
ตารางที่ 5.9 การอพยพเข้ามาของนกปากห่าง มีผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ด
รายการ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
ไม่มี | 14 | 11.5 |
มี | 108 | 88.5 |
ในส่วนของความอุดมสมบูรณ์ของอาหารในพื้นที่นา ในเบื้องต้นเป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปแล้วว่า พื้นที่นามีอยู่อย่างจํากัดและขาดความอุดมสมบูรณ์ หากพิจารณาพบว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วน ใหญ่ระบุว่าหอยเชอร์รี่ และกุ้ง ปู ปลามีในปริมาณที่ลดลง ในขณะที่วัชพืชในนาข้าวยังอยู่ในระดับคงที่ (ตารางที่ 5.10)
ตารางที่ 5.10 ความอุดมสมบูรณ์ของอาหารในพื้นที่นา
รายการ | เพิ่มขึ้น | ลดลง | คงที่ | |||
จํานวน (ราย) | ร้อยละ | จํานวน (ราย) | ร้อยละ | จํานวน (ราย) | ร้อยละ | |
-หอยเชอร์รี่ | 2 | 1.6 | 111 | 88.8 | 11 | 8.8 |
-กุ้ง ปู ปลา | 4 | 3.2 | 100 | 80.0 | 20 | 16.0 |
-วัชพืชในนาข้าว | 7 | 5.6 | 50 | 40 | 67 | 53.6 |
5.2 การปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งต่อปัจจัยเสี่ยงที่เกิดขึ้น
การปรับตัวของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งต่อความเสี่ยงในด้านต่างๆ มีรายละเอียดดังนี้ (ตารางที่
5.11)
ความเสี่ยงทางด้านการผลิต จากการสํารวจพบว่า (1) เกษตรกรบางส่วนมีการหาความรู้ในการ
เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเพิ่มเติมเพื่อทําให้การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีต้นทุนที่ลดลงและมีผลผลิตที่เพิ่มขึ้น (2) การปรับตัว เพื่อรองรับการขาดความอุดมสมบูรณ์ของอาหารในพื้นที่นา พบว่า มีแนวทางหลากหลาย เช่น การสูบน้ํา เข้าพื้นที่นา การย้ายพื้นที่เลี้ยง การปรับมาเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งแบบขังคอก การเปลี่ยนไปประกอบอาชีพอื่น หรือการเพิ่มอาหารเสริมให้กับเป็ดที่เลี้ยง (3) การแพร่ระบาดของโรค เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วน- ใหญ่ มีการเฝ้าระวังเรื่องโรคระบาดและให้ความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐเป็นอย่างดี หากพื้นที่ใดมีโรค ระบาด แนวทางการปรับตัวคือการย้ายพื้นที่ การทําลายเป็ดทั้งฝูงในฝูงที่พบว่าเป็ดเป็นโรค การฉีดวัคซีน เป็นต้น (4) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แนวทางการปรับตัว ได้แก่ การสูบน้ําเข้าพื้นที่นาหากพื้นที่ นาประสบกับภาวะแห้งแล้ง การลดจํานวนเป็ดที่เลี้ยงในแต่ละรอบลง เนื่องจากอาหารไม่อุดมสมบูรณ์ซึ่ง เป็นผลสืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งการปรับมาเลี้ยงแบบขังคอก (5) ความไม่ แน่นอนของปริมาณผลผลิตและราคาผลผลิต พบว่าแนวทางในการรับมือความเสี่ยงดังกล่าว คือ การลด จํานวนเป็ดที่เลี้ยงในแต่ละรอบลง หรือการเปลี่ยนไปประกอบอาชีพอื่นในช่วงที่ราคาผลผลิตตกต่ํา (6) พื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง หากพื้นที่ไม่มีความอุดมสมบูรณ์เกษตรกรจะทําการย้ายพื้นที่ หรือหาแหล่งน้ํา หรือลดจํานวนเป็น หรือหันมาเลี้ยงแบบขังคอก
ความเสี่ยงด้านสถาบัน เนื่องจากนโยบายภาครัฐไม่ส่งเสริมการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง แนวทางการปรับตัว
ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่พบคือการขึ้นทะเบียนผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเพื่อให้ได้รับการดูแลจากหน่วยงาน ภาครัฐ หรือการหยุดเลี้ยงไปประกอบอาชีพอื่น หรือการหันไปเลี้ยงแบบขังคอก
ความเสี่ยงด้านการเงิน ซึ่งประกอบไปด้วย การขาดแคลนเงินทุน ภาระหนี้สิน ขาดสินเชื่อ และ ผลตอบแทนไม่คุ้มค่า แนวทางการปรับตัวที่พบ การไปกู้ยืมเงินเพิ่มมาลงทุนในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง การขอ
ประนอมหนี้ การหันไปประกอบอาชีพอื่นด้วยเพื่อหารายได้มาจุนเจือ และการเพิ่มจํานวนเป็ดที่เลี้ยงในแต่ ละรอบเพื่อให้มีรายได้เพิ่มขึ้น
ความเสี่ยงด้านทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งประกอบไปด้วย การขาดแคลนแรงงาน สุขภาพของเกษตรกร
การขาดการรวมกลุ่ม ความไม่เข้มแข็งของเกษตรกรผู้เลี้ยง อํานาจต่อรองระหว่างผู้เลี้ยงกับพ่อค้าคนกลาง แนวทางการปรับตัวที่พบเป็นการหันมาพึ่งพิงแรงงานในครัวเรือน การดูแลรักษาสุขภาพ ส่วนในเรื่องการ ร่วมกลุ่มและความไม่เข้มแข็งของเกษตรกรผู้เลี้ยง พบว่าไม่มีการปรับตัวโดยเกษตรกรระบุว่าไม่มีแนวคิดที่ จะรวมกลุ่ม
โดยสรุปจะเห็นได้ว่าแนวทางการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งต่อปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ยังมีข้อจํากัดและเป็นการปรับตัวเพื่อรองรับปัญหาที่จะเกิดขึ้นในระยะสั้น ยังขาดการปรับตัวที่จะสามารถ รับมือกับปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ในระยะยาว
ตารางที่ 5.11 การปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งต่อปัจจัยเสี่ยงที่เกิดขึ้น
รายการ | แนวทางการปรับตัว |
ด้านการผลิต 1.ขาดความรู้ในการเลี้ยง | -การหาความรู้เพิ่มเติม -ไม่ทําอะไร |
2.ขาดความอุดมสมบูรณ์ของอาหาร | -สูบน้ําเข้าพื้นที่นา -ย้ายพื้นที่การเลี้ยง -หาแหล่งน้ํา -ขังคอก -ไม่ทําอะไร -อาหารเสริม -เปลี่ยนอาชีพ |
3.การแพร่ระบาดของโรค | -หาแหล่งน้ํา -ให้ยา -อาหารเสริม -ย้ายพื้นที่ |
4.การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ | -สูบน้ําให้เป็ด -ย้ายพื้นที่ -หาแหล่งน้ํา -ลดจํานวนเป็ด -ขังคอก -ไม่ทําอะไร -อาหารเสริม -เปลี่ยนอาชีพ |
5.ความไม่แน่นอนของปริมาณผลผลิต | -ไม่ทําอะไร -ย้ายพื้นที่ |
6.ความไม่แน่นอนของราคาผลผลิต | -ลดจํานวนเป็ด -อาหารเสริม -เปลี่ยนอาชีพ |
7.พื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | -ย้ายพื้นที่ -หาแหล่งน้ํา -ลดจํานวนเป็ด -ขังคอก -ไม่ทําอะไร -อาหารเสริม -เปลี่ยนอาชีพ -สูบน้ําให้เป็ด |
รายการ | แนวทางการปรับตัว |
ด้านสถาบัน 1.นโยบายของภาครัฐ(ไม่ส่งเสริม) | -ดูแลเป็ดเอง -ขึ้นทะเบียนผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง -ไม่มีการปรับตัว -หยุดเลี้ยง -เลี้ยงคอก |
2.กฎระเบียบในการเคลื่อนย้ายสัตว์(การขออนุญาต) | -ขึ้นทะเบียนผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง -ไม่มีการปรับตัว |
ด้านการเงิน 1.ขาดแคลนเงินทุน | -กู้ยืม ธกส. -ทยอยเพิ่มจํานวนเป็ด -ทําอาชีพอื่นมาจุนเจือ -หยุดเลี้ยง |
2.ภาระหนี้สิน | -ทําการประนอมหนี้ -ทยอยเพิ่มจํานวนเป็ด -กู้ยืม ธกส. -ทําอาชีพอื่นมาจุนเจือ |
3.ขาดสินเชื่อ | -ให้ญาติกู้ให้ -กู้ยืม ธกส. |
4.ผลตอบแทนไม่คุ้มค่า | -หยุดเลี้ยง |
ด้านทรัพยากรมนุษย์ 1.ขาดแคลนแรงงาน | -ไม่มีการปรับตัวใดๆ -ใช้แรงงานในครัวเรือนแทน -จ้างแรงงาน -เปลี่ยนอาชีพ |
2.สุขภาพของเกษตรกร | -ป้องกัน ดูแลรักษาสุขภาพตนเอง |
3.ขาดการรวมกลุ่ม | -ไม่มีการปรับตัวใดๆ |
4. ความไม่เข้มแข็งของกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยง | -ไม่มีการปรับตัวใดๆ |
5. อํานาจต่อรองระหว่างผู้เลี้ยงกับพ่อค้าคนกลาง | -หาพ่อค้าคนกลางคนอื่นแทน |
5.3 แนวทางการจัดการความเสี่ยงของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
สภาวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในปัจจุบันทําให้เกิดความเสี่ยงต่อระบบการเลี้ยงเป็ดไล่ ทุ่ง ดังนั้นเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรให้ความสําคัญและหาทางป้องกันผลกระทบที่ จะเกิดขึ้นจากความเสี่ยงในด้านต่างๆ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อวิถีการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในภาคใต้ทั้งในระยะสั้น และระยะยาว การดําเนินการหาแนวทางปรับตัวให้สอดคล้องกับปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น ในภาพรวมจะเห็น ได้ว่าความเสี่ยงที่เกิดขึ้นทางเกษตรกรรมของการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้ตอนบนจะเป็นความเสี่ยง ทางด้านการผลิต ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในด้านการผลิตประกอบด้วย การเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ พื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีจํากัด และขาดความสมบูรณ์ของอาหารในพื้นที่การเลี้ยงเป็ด ไล่ทุ่ง
มุมมองของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งต้องการความช่วยเหลือจากภาครัฐในการจัดการความเสี่ยง เกษตรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีความเสี่ยงทางด้านการผลิตสูงกว่าด้านอื่น ดังนั้นเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดย ส่วนใหญ่ต้องการให้รัฐบาลช่วยสนับสนุนด้านการเลี้ยง เช่น ลดต้นทุนการผลิต แจกพันธุ์สัตว์ คิดเป็นร้อย ละ 38 รองลงมาได้แก่การฉีดวัคซีนให้เป็ดฟรี ร้อยละ 17.70 เพราะค่าใช้จ่ายในการฉีดวัคซีนค่อนข้างสูง ช่วยเหลือเวลาเกิดภัยพิบัติเป็ดสูญหายไปกับน้ําท่วม ร้อยละ 10.10 เงินกู้ดอกเบี้ยต่ําสําหรับเกษตรกร ร้อย ละ 10.10 เป็นต้น (ตารางที่ 5.12)
ตารางที่ 5.12 ความต้องการของเกษตรกรที่ต้องการความช่วยเหลือจากภาครัฐ
ความต้องการช่วยเหลือที่ต้องการจากภาครัฐ | จํานวน(ราย) | ร้อยละ |
การสนับสนุนด้านการเลี้ยง (ลดต้นทุนการผลิต, แจกพันธุ์สัตว์) | 30 | 38.00 |
การให้เงินอุดหนุน | 4 | 5.10 |
เงินกู้อัตราดอกเบี้ยต่ําสําหรับเกษตรกร | 8 | 10.10 |
กั้นน้ําเค็มไม่ให้ทะลักเข้ามาในคลอง | 1 | 1.30 |
อํานวยความสะดวกในการขนย้ายเป็ด | 2 | 2.50 |
แนะแนวการเลี้ยงสัตว์ (ที่มีการใช้เทคโนโลยี) | 4 | 5.10 |
ฉีดวัคซีนให้เป็ดฟรี | 14 | 17.70 |
กําหนดราคาให้ดีขึ้น | 6 | 7.60 |
ช่วยเหลือเวลาเกิดภัยพิบัติเป็ดสูญหายไปกับน้ําท่วม | 8 | 10.10 |
จัดตั้งกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง | 2 | 2.50 |
จากการประชุมระดมสมอง และการสัมภาษณ์เชิงลึก แนวทางในการปรับตัวและการจัดการความ เสี่ยงของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งพบว่ามีความสอดคล้องกับข้อมูลที่ได้จากการสํารวจความต้องการความ ช่วยเหลือจากภาครัฐ (ในตารางที่ 5.12 ) โดย
1) การสนับสนุนด้านการเลี้ยง เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีความต้องการให้ภาครัฐเข้ามาสนับสนุน
ด้านการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งให้มากขึ้น จากการสํารวจพบว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งและหน่วยงานภาครัฐที่ เกี่ยวข้องไม่ค่อยมีความร่วมมือกัน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเข้ามาสนับสนุนด้านการเลี้ยงให้กับกลุ่ม เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งให้มากขึ้น โดยการส่งเสริมหรือสนับสนุนควรเป็นไปในลักษณะที่ทําให้วิถีการ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งผสมผสานและเกื้อกูลกับวิถีการทํานาได้อย่างสมดุล เช่น การจัดอบรมให้ความรู้กับ เกษตรกรในด้านพันธุ์เป็ดไล่ทุ่ง การแจกพันธุ์เป็ดไล่ทุ่ง การให้ความช่วยเหลือด้านการฉีดวัคซีนโดยไม่คิด ค่าใช้จ่ายหรือให้หาวิธีลดต้นทุน รวมทั้งการให้ความรู้เกี่ยวกับระบบสุขาภิบาลของการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งให้กับ เกษตรกร และการส่งเสริมให้เกษตรกรมีการจดบันทึกการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง รวมทั้งการทําบัญชีรายรับ รายจ่ายเพื่อให้ทราบต้นทุนการเลี้ยงที่แท้จริง ผลผลิตที่แท้จริง และรายได้ที่แท้จริง เพื่อสามารถนําไปวาง แผนการใช้จ่ายของครัวเรือนเกษตรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
2) การอนุรักษ์ พัฒนา ปรับปรุงทรัพยากรน้ํา แหล่งน้ําในพื้นที่ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีการ เลี้ยงที่กระจายไปตามพื้นที่ต่างๆ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลกระทบต่อความอุดมสมบูรณ์ของ
แหล่งน้ําในพื้นที่และปริมาณน้ําในพื้นที่ โดยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและปัญหาภัยแล้งจะส่งผล ต่อฐานทรัพยากรน้ําในพื้นที่ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการในการทําเกษตรกรรมโดยทั่วไปและ การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งซึ่งต้องพึ่งพาอาศัยแหล่งน้ําธรรมชาติเป็นสําคัญ แนวทางที่มีการดําเนินการในปัจจุบัน ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งคือการสูบน้ําเข้าพื้นที่นา รวมทั้งการพัฒนาแหล่งกักเก็บน้ําในพื้นที่เพื่อใช้ใน การเกษตร การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการน้ําโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ในปัจจุบันพบว่า แหล่งน้ําธรรมชาติในพื้นที่ซึ่งเป็นแหล่งอาหารทางธรรมชาติและใช้เพื่อทําเกษตรกรมีจํานวนและปริมาณที่ ลดลง การพัฒนาและอนุรักษ์แหล่งน้ําในพื้นที่จึงมีความสําคัญเพื่อให้เกษตรกรโดยทั่วไปและเกษตรกรผู้ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง เพื่อให้พื้นที่นามีน้ําเพียงพอและพื้นที่ในการเลี้ยงมีแหล่งน้ําที่ใกล้เคียงสําหรับใช้ในการเลี้ยง เป็ดไล่ทุ่ง การจัดการในระดับพื้นที่หน่วยงานในพื้นที่มีบทบาทสําคัญในการส่งเสริมและจัดตั้งกลุ่มอนุรักษ์ แหล่งน้ํา ซึ่งการดําเนินการอนุรักษ์ พัฒนา ปรับปรุงทรัพยากรน้ํา แหล่งน้ําในพื้นที่ จะทําให้เกษตรกรทั้ง ชาวนาและผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งได้ประโยชน์ทั้งสองฝ่าย
3) การส่งเสริมให้เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งประกอบอาชีพเสริมเพื่อรองรับความเสี่ยงจากการ
ผลิต จะเห็นได้ว่าความเสี่ยงที่เกิดขึ้นทางเกษตรกรรมของการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้ตอนบนจะเป็น ความเสี่ยงทางด้านการผลิต ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในด้านการผลิตประกอบด้วย การ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พื้นที่ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีจํากัด และขาดความสมบูรณ์ของอาหารในพื้นที่ การเลี้ยงเป็ด ความเสี่ยงในการผลิตที่เกิดขึ้นจะทําให้รายได้ที่ได้จากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งลดลงเนื่องจาก ผลผลิตไข่ที่ลดลง เพื่อลดผลกระทบดังกล่าวเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งควรได้รับการส่งเสริมให้มีอาชีพเสริม เพื่อสร้างรายได้ในช่วงที่ผลผลิตไข่ลดลงหรือช่วงที่หยุดพักการเลี้ยง จากการสํารวจพบว่าเกษตรกรผู้เลี้ยง เป็ดไล่ทุ่งในชาวบ้านโดยส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพเสริมในช่วงที่หยุดพักการเลี้ยงหรือผลผลิตไข่ลดลง เกษตรกร ยังขาดความรู้ และทักษะในการประกอบอาชีพเสริม ซึ่งการดําเนินการดังกล่าวจะต้องดําเนินการผ่านกล ยุทธ์ระดับจังหวัดหน่วยงานต่างๆ ทางการเกษตรร่วมกับปศุสัตว์จังหวัดเข้าไปส่งเสริมอาชีพให้กับเกษตรกร ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งซึ่งอาจดําเนินการในระดับชุมชนควบคู่กันไปโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในระดับชุมชน ดําเนินการส่งเสริมอาชีพให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในพื้นที่
4) การจัดทําสํามะโนผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่ถูกต้อง และกําหนดพื้นที่ที่เหมาะสมในการเลี้ยงเป็ดไล่
ทุ่ง อาชีพการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นอาชีพที่อยู่คู่กับสังคมชนบทไทยและวิถีเกษตรกรรมไทยมาเป็นระยะ เวลานาน อย่างไรก็ตามผลจากการระบาดของไข้หวัดนกทําให้ภาครัฐมีนโยบายส่งเสริมให้เกษตรกรผู้เลี้ยง เป็ดไล่ทุ่งหันมาเลี้ยงเป็ดในระบบปิด และทําให้มีจํานวนผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งลดลง การดําเนินการและควบคุม ในปัจจุบันมีการสํารวจและลงทะเบียนผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในแต่ละพื้นที่ รวมทั้งการควบคุมการเคลื่อนย้าย สัตว์ข้ามพื้นที่โดยต้องทําการขออนุญาต ผลจากการดําเนินนโยบายดังกล่าวและจากการสํารวจพบว่า เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งบางส่วนยังคงหลีกเลี่ยงไม่ลงทะเบียนและทําการเคลื่อนย้ายสัตว์ข้ามพื้นที่โดยไม่ ขออนุญาต จากการสํารวจพบว่าข้อมูลในเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในแต่ละพื้นที่ไม่มีความชัดเจนเนื่องจาก มีการเปลี่ยนแปลงของจํานวนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในแต่ละปีค่อนข้างมาก นอกจากนี้ยังมีเกษตรกรผู้ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่ยังไม่ลงทะเบียนจํานวนหนึ่ง ทําให้ข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีความคลาดเคลื่อน นอกจากนี้การจัดทําพื้นที่ที่เหมาะสมในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นแนวทางที่จะช่วยส่งเสริมการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง และควบคุมการระบาดของโรคได้อีกแนวทางหนึ่งเพื่อให้อาชีพการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งยังคงอยู่คู่กับวิถี เกษตรกรรมของไทย มากกว่าการส่งเสริมให้เกษตรกรเลิกเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งแล้วหันไปเลี้ยงในระบบปิดแทน
5) การให้ความรู้ในเรื่องการตลาด และการแปรรูปผลผลิต เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตจาก
การสํารวจพบว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไข่ไล่ทุ่งบางส่วนยังขาดความรู้เรื่องการตลาด และการแปรรูปผลผลิต
เพื่อที่จะสามารถวางแผนการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งได้อย่างถูกต้องสอดคล้องกับสภาวะตลาด และมีความรู้ เกี่ยวกับการแปรรูปผลผลิต เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิต ในส่วนของการรวมกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ด ไข่ไล่ทุ่งเพื่อเพิ่มอํานาจการต่อรองกับพ่อค้าคนกลาง พบว่ามีความเป็นไปได้น้อยในการที่เกษตรกรผู้เลี้ยง เป็ดไล่ทุ่งจะรวมตัวกันเพื่อเพิ่มอํานาจต่อรองกับพ่อค้าคนกลาง สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการขาดองค์ความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการบริหารกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
6) การสนับสนุนให้เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น ต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง เพื่อให้เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งสามารถเตรียมความพร้อมและมีแนวทางในการ
ปรับตัวเพื่อรองรับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อความยั่งยืนในอาชีพการเลี้ยง เป็ดไล่ทุ่ง เช่น การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอายุของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง การพึ่งพิงรายได้จากภาค เกษตรค่อนข้างสูง ความไม่หลากหลายของแหล่งรายได้ ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการผลิต อํานาจต่อรองใน ตลาด จากการศึกษาพบว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่ยังขาดองค์ความรู้เกี่ยวกับแนวทางการ ปรับตัวเพื่อรองรับความเสี่ยงในแต่ละด้าน โดยเฉพาะมาตรการจัดการความเสี่ยงด้านการผลิตการสร้าง องค์ความรู้จึงเป็นสิ่งจําเป็นเพื่อให้เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีทางเลือกและแนวทางในการปรับตัวที่ เหมาะสมกับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต รวมทั้งการสร้างความสามารถทางเทคนิคให้กับเกษตรกรผู้ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในการกําหนดแนวทางที่เหมาะสมในการปรับวิถีการเลี้ยงเป็ด นอกจากนี้การสร้างกลไกใน การสนับสนุนเงินทุนและทรัพยากรที่จําเป็นในการส่งเสริมให้มีการปรับตัวและจัดการความเสี่ยงที่เพียงพอ ซึ่งจะทําให้การจัดการความเสี่ยงมีประสิทธิภาพมากขึ้น
บทที่ 6
สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
ในบทนี้จะกล่าวถึงสรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
6.1 สรุปการวิจัย และอภิปรายผล
สภาพทั่วไปทางเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
1) การเปลี่ยนแปลงในระดับครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง โครงสร้างในระดับครัวเรือนของ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในภาคใต้ ยังคงสะท้อนวิถีการทําการเกษตรไทยในอดีตโดยผู้ชายเป็นผู้นําในการทํา เกษตรกรรมสอดคล้องกับงานศึกษาการจัดการเลี้ยงเป็ดไข่ไล่ทุ่งในจังหวัดปทุมธานีของชิดชนก สินธุสุวรรณ (2556) จากการศึกษาพบว่าผู้นําในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งซึ่งโดยส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ซึ่งยังคงมีบทบาท ค่อนข้างมากในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ในส่วนของผู้หญิงพบว่ามีเพียงส่วนน้อยที่ทําหน้าที่หลักในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง บทบาทของผู้หญิงส่วนใหญ่เป็นผู้สนับสนุนหรือผู้ช่วยและดูแล ตัวอย่างเช่น การจัดการไข่เป็ดไล่ทุ่งเพื่อ จําหน่าย นอกจากนี้โครงสร้างอายุของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่เมื่อเทียบกับอาชีพเกษตรกรรม อื่นๆ พบว่าโครงสร้างอายุโดยส่วนใหญ่ยังอยู่ในวัยกลางคนที่กําลังเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ ซึ่งยังไม่ส่งผลในระยะยาว ต่อผลิตภาพในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมากนักเมื่อเทียบกับอาชีพเกษตรกรรมอื่นๆ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะในด้านผลิตภาพในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจะส่งผลต่อความยั่งยืนในระยะยาวของอาชีพเกษตรกรจึงยังคง มีความเสี่ยงน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับอาชีพเกษตรกรอื่นๆ
2) เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีการพึ่งพิงภาคเกษตรอยู่ในอัตราที่สูง ลักษณะโครงสร้างครัวเรือน
เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นครัวเรือนขนาดเล็ก ประสบการณ์ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยเฉลี่ยประมาณ 10 ปี ในภาพรวมแรงงานของสมาชิกในครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่ทํางานในภาคเกษตร โดยเฉพาะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นหลักสอดคล้องกับงานศึกษาสุริยพงศ์ วัฒนาศักดิ์ (2549) โดยสมาชิกส่วน ใหญ่ในครอบครัวเป็นแรงงานในภาคเกษตรเป็นหลัก จากการสํารวจแรงงานของสมาชิกในครัวเรือนเกษตรกรผู้ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งพบว่าโดยส่วนใหญ่ทํางานในภาคเกษตรกรรม คิดเป็นจํานวนสมาชิกเฉลี่ยต่อครัวเรือนประมาณ 3 คน ทํางานนอกภาคเกษตรเฉลี่ยต่อครัวเรือนประมาณจํานวน 2 คน และไม่ทํางานเฉลี่ยต่อครัวเรือน ประมาณ 1 คน แต่สมาชิกส่วนใหญ่ในครอบครัวเป็นแรงงานในภาคเกษตรสะท้อนให้เห็นว่าอัตราการพึ่งพิง ภาคเกษตรค่อนข้างสูง แหล่งรายได้ของครัวเรือนไม่หลากหลาย
3) อาชีพเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งและอาชีพทํานายังคงมีความสัมพันธ์กันค่อนข้างมากในลักษณะ การพึ่งพาซึ่งกันและกันและเกื้อกูลกัน การเป็ดไล่ทุ่งจึงมีส่วนสําคัญในการกําจัดศัตรูข้าวและให้ปุ๋ยจากมูล
เป็นการพึ่งพากันระหว่างชาวนาและเจ้าของเป็ด หากอาชีพใดอาชีพหนึ่งลดหรือเลิกไปก็จะส่งผลกระทบต่ออีก อาชีพ เนื่องจากต่างเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่การผลิตสอดคล้องกับความสัมพันธ์ระหว่างผลผลิตและผลผลิตซึ่ง มีลักษณะเกื้อหนุนกัน (ประยงค์ เนตายารักษ์, 2550)
4) การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งพึ่งพิงแรงงานในครัวเรือนเป็นหลัก จากการศึกษาพบว่าการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดย ส่วนใหญ่ใช้แรงงานในครัวเรือนเป็นหลักไม่นิยมการจ้างแรงงานนอกครัวเรือนสอดคล้องกับงานศึกษาของชิด
ชนก สินธุสุวรรณ์ (2556)และสุริยพงศ์ วัฒนาศักดิ์ และคณะ (2549) เนื่องจากโดยส่วนใหญ่การเลี้ยงเป็ดไล่ ทุ่งในภาพมีจํานวนเป็ดไม่มากเฉลี่ยประมาณ 1,000 ตัว การจ้างแรงงานนอกครัวเรือนจะเกิดขึ้นในกรณีที่มีการ เลี้ยงเป็ดจํานวนมาก นอกจากนี้การใช้แรงงานในครัวเรือนเป็นหลักสุขภาพของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็น
ประเด็นสําคัญ โดยพบว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่ไม่มีการเจ็บป่วยของสมาชิกในครัวเรือน ซึ่ ง สอดคล้องกับข้อมูลอายุเฉลี่ยของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่ส่วนใหญ่ยังอยู่ในวัยกลางคน มีเพียงบางส่วนที่เข้า สู่วัยผู้สูงอายุทําให้มีการเจ็บป่วยไม่มากในอัตราที่ค่อนข้างต่ํา ทั้งนี้แรงงานและประสิทธิภาพแรงงานในการ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งอาจจะยังไม่ได้รับผลกระทบที่ชัดเจนจากโครงสร้างอายุเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง เนื่องจาก ความสามารถในการประกอบอาชีพ หรือทํางานอื่นๆ เพื่อหารายได้ยังอยู่ในเกณฑ์ดี
รายได้ แหล่งที่มาของรายได้ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อรายได้ หนี้สิน การออมของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ด
ไล่ทุ่ง
5) แหล่งที่มาของรายได้ของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งไม่หลากหลาย จากการสํารวจเกษตรกรผู้เลี้ยง
เป็ดไล่ทุ่งกลุ่มตัวอย่างพบว่าแหล่งที่มาของรายได้ก่อนหักค่าใช้จ่ายหลักมาจากภาคเกษตร โดยเกษตรกรผู้เลี้ยง เป็ดไล่ทุ่ง มีแหล่งที่มาของรายได้ส่วนใหญ่มาจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ส่วนรายได้อื่นๆ มาจากการปลูกพืชชนิด อื่นและการเลี้ยงสัตว์ อาชีพการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจะมีความเสี่ยงหากมีปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อรายได้ที่ได้จากการ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ปัจจัยสําคัญในปัจจุบันที่ส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งส่วนหนึ่งมาจากค่าครองชีพที่สูงขึ้น และรายได้ที่ได้จากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งที่ลดลงเนื่องจากปัจจัยทางธรรมชาติที่ทําให้ผลผลิตที่ได้จากการเลี้ยงเป็ด ไล่ทุ่งลดลง นอกจากนี้ภาพรวมด้านการเงินของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งพบว่าการออมยังคงอยู่ในระดับที่ไม่ สูงมาก อย่างไรก็ตามการกู้ยืมส่วนใหญ่เป็นการกู้ยืมมาลงทุนเพื่อการเกษตรซึ่งโดยส่วนใหญ่นํามาลงทุนในการ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจึงยังคงเป็นการนําเงินมาลงทุนให้เกิดผลิตผลทางการเกษตร
6) ค่าใช้จ่ายด้านสังคมของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งค่อนข้างสูง ค่าใช้จ่ายด้านสังคมของเกษตรกรผู้ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง เช่น งานแต่งงาน งานศพ งานบวช เฉลี่ยประมาณ 2,310 บาทต่อครัวเรือนต่อเดือน ส่วนหนึ่ง
เนื่องจากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งจําเป็นต้องอาศัยเครือข่ายทางสังคมในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ทําให้เกษตรกรผู้เลี้ยง เป็ดไล่ทุ่งมีความจําเป็นที่จะต้องให้ความสําคัญกับงานประเพณีต่างๆ ในพื้นที่ นอกเหนือจากการให้ผลผลิตไข่ ตอบแทนกับเจ้าของที่นาและคนในพื้นที่เวลามีงานบุญหรืองานประเพณีต่างๆ
7) การกู้ยืมเป็นการกู้ยืมเพื่อลงทุนในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่มีการ
กู้ยืม โดยแหล่งกู้ยืมหลักคือ ธกส. ทั้งนี้วัตถุประสงค์การกู้ยืมหลักๆ เป็นการนํามาลงทุนในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ ง ซึ่งเป็นการกู้ยืมที่ก่อให้เกิดผลิตผลทางการเกษตร ในส่วนของการออม เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่มี การออม การออมโดยส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์ในการซื้อรถซึ่งนํามาใช้ในชีวิตประจําวันและการขนถ่ายเป็ดไล่ ทุ่ง
สภาพการเลี้ยง ระบบการผลิต ต้นทุนและผลตอบแทน โครงสร้างตลาด ลักษณะการซื้อขาย ห่วงโซ่
อุปทาน
8) ข้อตกลงในการใช้พื้นที่นาในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีลักษณะไม่เป็นทางการและเอื้อประโยชน์ซึ่งกัน และกันระหว่างผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งและเจ้าของที่นา จากการศึกษาพบว่าการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งส่วนใหญ่เป็นการ เลี้ยงบนที่นาคนอื่นเป็นหลัก ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกับเจ้าของที่นาเป็นไป อย่างไม่เป็นทางการมีการแลกเปลี่ยนผลผลิตไข่เป็ดของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในลักษณะเป็นการให้โดย ความสมัครใจของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเพื่อตอบแทนเจ้าของที่นาในการให้ผู้เลี้ยงเป็ดนําฝูงเป็ดไล่ทุ่งมา เลี้ยงในที่นา
การเข้าใช้พื้นที่นามี 2 ลักษณะ (1) การติดต่อโดยเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งดําเนินการผ่านทางเครือ
ญาติและครอบครัวที่มีอาชีพเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งด้วยกัน (2) เจ้าของพื้นที่นาติดต่อให้เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งนํา เป็ดไปลงในที่นาของตนเอง การใช้พื้นที่นาโดยส่วนใหญ่ไม่มีความขัดแย้งระหว่างเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
ด้วยกัน ทั้งนี้ในกรณีที่มีปัญหาความขัดแย้งโดยส่วนใหญ่เป็นความขัดแย้งในการแย่งพื้นที่ในการเลี้ยงเป็นหลัก รองลงมาคือความขัดแย้งที่เกิดจากการที่เป็ดไล่ทุ่งที่เลี้ยงในพื้นที่ใกล้เคียงกันปะปนกัน
9) โครงสร้างลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมี 4 ลักษณะโดยที่พบโดยส่วนใหญ่เป็นการซื้อเป็ดปลด ระวางมาเลี้ยง แตกต่างไปจากการเลี้ยงในภาคกลางและภาคตะวันออก ที่ไม่นิยมการเลี้ยงเป็ดปลดระวาง
ลักษณะการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในพื้นที่ภาคใต้ตอนบนในจังหวัดนครศรีธรรมราช สงขลา และพัทลุงพบว่าส่วนใหญ่ เป็นการซื้อเป็ดปลดระวางมาเลี้ยงโดยจะใช้ระยะเวลาในการเลี้ยงสั้นกว่าลักษณะการเลี้ยงเป็ดแบบอื่น
10) การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีต้นทุนคงที่ค่อนข้างต่ํา ผลตอบแทนค่อนข้างดี จากการศึกษาพบว่าต้นทุน
หลักๆ ในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งประกอบด้วยต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที่ ในส่วนของต้นทุนผันแปรพบว่าต้นทุน หลักเป็นค่าอาหารเป็ด รองลงมาได้แก่อาหารเสริมซึ่งจะต้องทําการซื้อให้เป็ดกินในช่วงที่เป็นลูกเป็ด ค่าลูกเป็ด เป็ดสาว หรือเป็ดปลดระวาง เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่ระบุว่าสาเหตุที่มาเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเนื่องจาก เป็นอาชีพที่สร้างรายได้ที่ดีให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งสอดคล้องกับงานศึกษาสุริยพงศ์ วัฒนาศักดิ์ และ คณะ(2549) โดยรายได้ที่ได้จากการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งสามารถยังชีพได้และมีเหลือเก็บ
11) ผลผลิตไข่เป็ดไล่ทุ่งเป็นการผลิตเพื่อขายเกือบทั้งหมด มีเพียงส่วนน้อยที่เก็บไว้บริโภค การ
จําหน่ายผลผลิตเป็ดไล่ทุ่งจําหน่ายวันต่อวัน โดยส่วนใหญ่เป็นการขายทั้งหมดไม่ได้เก็บไว้บริโภค รวมทั้งมีการ นําไปแปรรูปน้อยมาก โดยความสัมพันธ์ระหว่างเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกับพ่อค้าคนกลางไม่พบการเลี้ยงเป็ด ไล่ทุ่งในลักษณะแบบลูกเล้าเหมือนภาคอื่นๆ สภาพแวดล้อมเป็นปัจจัยสําคัญในการกําหนดผลผลิตไข่ ในส่วน เครือข่ายการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในมุมมองเกษตรกรระบุว่าชาวนามีความสําคัญมากที่สุด รองลงมาได้แก่ เกษตรกร ผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง รองลงมาได้แก่ พ่อค้าคนกลาง
12) การจําหน่ายไข่เป็ด เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ส่วนใหญ่จะส่งไข่สดให้กับผู้ค้าไข่ ทั้งผู้ค้าที่อยู่ใน
พื้นที่ และผู้ค้าไข่ที่มารับซื้อนอกพื้นที่ ไม่มีเจ้าประจําเพียงรายเดียวส่วนใหญ่จะหมุนเวียนกันมาซื้อไข่เป็ด มี การล้างทําความสะอาดไข่เป็ด เหมาจ่ายทั้งไข่เป็ดสดขนาดกลางหรือใหญ่ รองลงมา คือ ส่งร้านค้าในหมู่บ้าน
/ สหกรณ์ อันดับที่สาม คือ ส่งไข่เป็ดให้กับร้านเบเกอรี่ในท้องถิ่น
13) ห่วงโซ่อุปทานผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง พบว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีความสําคัญที่สุดในกระบวนการ ต้นน้ํา พ่อค้าคนกลางและผู้ค้าเป็ดจึงเป็นบุคคลที่มีความสําคัญอย่างยิ่งในกระบวนกลางกลางน้ํา กระบวนการ ปลายน้ําคือ ผู้บริโภคจะซื้อไข่เป็ดสดในตลาดท้องถิ่น
ปัจจัยเสี่ยง แนวทางการปรับตัวและการจัดการความเสี่ยง
สภาวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในปัจจุบันทําให้เกิดความเสี่ยงต่อระบบการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ปัจจัยเสี่ยงที่จะส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งสามารถสรุปได้ดังนี้
(1) การลดลงของพื้นที่นาและแหล่งน้ํา การลดลงของพื้นที่นาและแหล่งน้ําเป็นปัจจัยสําคัญที่ส่งผลให้ มีการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง โดยในปัจจุบันเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่ไม่ต้องการ
ขยายการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเนื่องจากพื้นที่นาในปัจจุบันมีจํากัดและมีขาดแคลนแรงงานเป็นหลัก
(2) ที่นาขาดความอุดมสมบูรณ์ของอาหารที่จะใช้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ความอุดมสมบูรณ์ของอาหารใน พื้นที่ที่จะใช้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเป็นปัจจัยสําคัญที่เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งใช้เลือกพื้นที่ในการเลี้ยง นอกจากนี้ ความอุดมสมบูรณ์ของอาหารในพื้นที่เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งยังเป็นปัจจัยสําคัญที่มีผลต่อผลผลิตของเป็ดไล่ทุ่ง เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่ระบุว่าหอยเชอร์รี่ และกุ้ง ปู ปลามีในปริมาณที่ลดลง โดยเกษตรกรผู้ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในปัจจุบันส่วนหนึ่งมีความต้องการจะเลิกเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเนื่องจากพื้นที่ที่ใช้ในการเลี้ยงเป็ดขาด ความอุดมสมบูรณ์
(3) ความเสี่ยงที่เกิดจากโรคระบาด โดยในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยส่วนใหญ่ ระบุว่าไม่เคยประสบกับปัญหาโรคระบาด ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการดําเนินนโยบายของภาครัฐในการป้องกัน การระบาดของไข้หวัดนกโดยโรคที่พบโดยทั่วไปในเป็ดไล่ทุ่งปัจจุบันได้แก่โรค กาฬโรค รองลงมาได้แก่ อหิวาต์ อย่างไรก็ตามถึงแม้สถานการณ์ปัจจุบันความเสี่ยงที่เกิดจากโรคระบาดโดยเฉพาะโรคไข้หวัดนกจะมีไม่มากแต่ผู้ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งยังต้องเฝ้าระวัง
(4) การใช้สารเคมีในนาข้าว เนื่องจากเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งต้องพึ่งพิงเกษตรกรผู้ปลูกข้าว อย่างไร ก็ตามหากมีการใช้สารเคมีในนาข้าวอาจส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง โดยเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งระบุ
ว่าในบางพื้นที่เจ้าของพื้นที่นามีการใช้สารเคมีในนาข้าวซึ่งเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งไม่ทราบก่อนเอาเป็ดไล่ทุ่ง ไปลง ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมีในนาข้าวคือจะทําให้เป็ดตาบอด เป็ดตายและเป็ดป่วย
(5) การอพยพเข้ามาของนกปากห่างในพื้นที่ นกปากห่างที่อพยพเข้ามาในพื้นที่จะเข้ามาเก็บกินหอย
เชอร์รี่ซึ่งเป็นอาหารสําคัญของเป็ดไล่ทุ่งส่งผลให้หอยเชอร์รี่ซึ่งเป็นศัตรูของต้นข้าวหมดไปในขณะเดียวกันทําให้ แหล่งอาหารที่สําคัญของเป็ดไล่ทุ่งลดน้องลงไปด้วย โดยในปัจจุบันพบการเข้ามาของนกปากห่างในพื้นที่และ ส่งผลกระทบต่อความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งอาหารในพื้นที่นาที่จะใช้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
(6) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง สภาพความแปรปรวนทาง ภูมิอากาศของแต่ละพื้นที่ย่อมมีผลกระทบต่อผลผลิตทางการเกษตรในแต่ละพื้นที่ ซึ่งความผันผวนของผลผลิต
จะส่งผลกระทบต่อรายได้ของครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง จากการสํารวจพบว่าในปีที่ทําการสํารวจภัย แล้งมีส่งผลต่อผลผลิตของเป็ดไข่ไล่ทุ่ง ในระยะยาวปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะทวี ความรุนแรงมากขึ้น การปรับตัวต่อความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ด ไล่ทุ่งพบว่ายังมีข้อจํากัดโดยส่วนใหญ่เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งยังปล่อยตามธรรมชาติ หรือปล่อยตามสภาพไม่ มีการปรับตัวใดๆ แนวทางในการปรับตัวที่พบ การสูบน้ําเข้าพื้นที่นา การปรับเปลี่ยนมาเลี้ยงแบบขังคอก การ ลดจํานวนเป็ดในการเลี้ยงในแต่ละรอบ
(7) ความเสี่ยงทางด้านการผลิตเป็นความเสี่ยงหลักในการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง สภาวะการเปลี่ยนแปลง
ของสภาพแวดล้อมทําให้เกิดความเสี่ยงต่อระบบการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ในภาพรวมจะเห็นได้ว่าความเสี่ยงที่เกิดขึ้น ทางเกษตรกรรมของการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในเขตภาคใต้ตอนบนจะเป็นความเสี่ยงทางด้านการผลิต ปัจจัยเสี่ยงที่มี ผลต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในด้านการผลิตประกอบด้วย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีความเสี่ยง พื้นที่ใน การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง และขาดความสมบูรณ์ของอาหาร
(8) แนวทางการปรับตัวไม่หลากหลาย มีข้อจํากัด โดยแนวทางการปรับตัวเพื่อรองรับปัญหาโดยส่วน
ใหญ่เป็นการปรับตัว เพื่อแก้ปัญหาในระยะสั้น โดยจะเห็นได้ว่าแนวทางการปรับตัวของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ ทุ่งไม่หลากหลาย ตัวอย่างแนวทางการปรับตัวเช่น การสูบน้ําเข้าพื้นที่นา การปรับมาเลี้ยงแบบขังคอก การลด จํานวนเป็ดใน 1 รอบ การย้ายพื้นที่ การขังคอก เป็นต้น
(9) แนวทางการจัดการความเสี่ยง เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งต้องการความช่วยเหลือจากภาครัฐในการ
สนับสนุนการเลี้ยง รวมทั้งการลดต้นทุน ซึ่งประกอบไปด้วย การฉีดวัคซีน การส่งเสริมให้เกษตรกรประกอบ อาชีพเสริมเพื่อกระจายความเสี่ยง การอบรมให้ความรู้ทางด้านการตลาด และการแปรรูปผลผลิต และการ สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น
จากการสรุปผลและอภิปรายผล เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งมีความเสี่ยงที่จะต้องเผชิญทั้งในระยะสั้น และระยะยาว และต้องการการสนับสนุนจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ข้อเสนอแนะสําหรับเกษตรกร เกษตรกรควร ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง และศึกษาการตลาด รวมทั้งแนวทางในการแปรรูปผลิตภัณฑ์
รวมทั้งการจดบันทึกรายรับ รายจ่าย และผลผลิต ในส่วนของหน่วยงานภาครัฐควรให้การสนับสนุนการเลี้ยง เป็ดไล่ทุ่งในลักษณะที่เกื้อหนุนกันระหว่างชาวนา และผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งอย่างสมดุล รวมทั้งการส่งเสริมให้มีการ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งโดยคํานึงถึงความเสี่ยงจากโรคระบาด การให้การสนับสนุนด้านวัคซีน และการลดต้นทุนอาหาร สัตว์ เป็นต้น
บรรณานุกรม
กรมปศุสัตว์. 2555. ยุทธศาสตร์ไก่พื้นเมืองและเป็ดไล่ทุ่ง สืบค้นจาก http://planning.dld.go.th/th/index.php?option=com_content&view=article&id=362&I
temid=141, 21 มีนาคม 2558
กรมปศุสัตว์. 2547. มูลค่าการนําเข้า/ส่งออกสินค้าปศุสัตว์ มกราคม-ธันวาคม 2546. สืบค้นจาก
http://www.dld.go.th/doc/im_ex1.html , 21 ธันวาคม 2558
กรรณิกา อุสสาสาร. (2555) การเมืองว่าด้วยเป็ดไล่ทุ่ง : วาทกรรมไข้หวัดนกและการต่อรองของเกษตรกร (วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, คณะศิลปศาสตร์. สืบค้นจาก http://cmuir.cmu.ac.th/handle/6653943832/35755 http://search.library.tu.ac.th/ , 22 มีนาคม 2558
คุณากร เต็มปิยพล, สุวิชา เกษมสุวรรณ, วราพร พิมพ์ประไพ. 2554. รูปแบบการเลี้ยงและการผลิตเป็ดไข่
ในจังหวัดสุพรรณบุรี อยุธยา และนครปฐม สืบค้นจาก http://kucon.lib.ku.ac.th/Fulltext/KC5003001.pdf, 22 มีนาคม 2558
คุณาพร เต็มปิยะพล. (2555). การวิเคราะห์เครือข่ายทางสังคมของการเลี้ยงเป็ดไข่ในเขตพื้นที่ภาคกลางของ ประเทศไทย วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ทวีศักดิ์ ส่งเสริม. (2551). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การศึกษาโครงการระบบตลาดข้อตกลงสินค้าปศุสัตว์ (เป็ดเนื้อ) ในประเทศไทย, สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ทวีศักดิ์ ส่งเสริม 2557 เป็ดไล่ทุ่ง: เส้นทางสกัดไข้หวัดนกด้วยเครือข่ายใยแมงมุม สืบค้นจาก
http://www.trf.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=5031:2014-09- 01-10-49-33&catid=317: 2013 12-14-18-51-41&Itemid=262, 22 มีนาคม 2558
ธงชัย กิตติพงศ์ไพศาล (2533) สภาพการเลี้ยงเป็ดไข่และความต้องการทางวิชาการของเกษตรกรอําเภอบาง เลน จังหวัดนครปฐม วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ธัญญธร จรัณยานนท์ วิภาวรรณ ปาณะพล. วิโรจน์ วนาสทธิชัยวัฒน์ รักไทย งามภักดี นพพร ปานจินดา เวียง ทอง อินทอง และนิสาชล ศรีอ่อน. (2549) การเลี้ยงการจัดการและต้นทุนการผลิตจากอาชีพการเลี้ยง เป็ดไล่ทุ่งในโซนภาคกลางและภาคตะวันออก: กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย
ธัญญธร จรัญยานนท์และคณะ. (2548). การศึกษารูปแบบและต้นทุนการผลิตของเป็ดไล่ทุ่งในพื้นที่เขต 7 จุล
สารปศุสัตว์เขต 7 :1-3
นิพนธ์ พัวพงศกร, บุญจิต ฐิตาภิวัฒนกุล, สุเมธ องกิตติกุล, ชัยสิทธิ์ อนุชิตวรวงศ์, ชลัท ทัพประเสริฐ, สุวรรณา ตุลยวศินพงศ์, นิภา ศรีอนันต์, เศก เมธาสุรารักษ์, กัมพล ปั้นตะกั่ว (2553) โครงการศึกษาแนว ทางการจัดการห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ของสินค้าเกษตร สืบค้น http://tdri.or.th/wp- content/uploads/2012/09/a148.pdf
ประภากร ธาราฉาย. (2553). การผลิตสัตว์ปีก, 10 เมษายน สืบค้นจาก http://www.animal.mju.ac.th/E- book/t_prapakorn/prapakorn.html
ประภากร ธาราฉาย. การเลี้ยงเป็ด สืบค้นจาก http://www.as.mju.ac.th/E-Book/t_prapakorn/สศ 241/การเลี้ยงเป็ด.pdf, 12 ธันวาคม 2558
ประยงค์ เนตยารักษ์.(2550).เศรษฐศาสตร์การเกษตร.สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.กรุงเทพฯ. ไพโรจน์ ชัยสมตระกูล. (2531). การเลี้ยงเป็ดในภาคเหนือตอนบน วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ไพโรจน์ เฮงแสงชัย. (2549). การศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนการเลี้ยงเป็ดไข่แบบฟาร์มปล่อย ลานและแบบไล่ทุ่งในจังหวัดสุพรรณบุรี วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
รพิรัตน์ ท้วมกรุง. (2550). แนวทางการส่งเสริมเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไข่ในจังหวัดชัยนาท มหาวิทยาลัยราชภัฎ นครสวรรค์
วัชรินทร์ ชมมณฑา (2527). การศึกษาสภาพการเลี้ยงเป็ดไข่และความต้องการบางประการของเกษตรกรใน อําเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สิริพงศ์ สิริลักษณ์, และณัฐวุฒิ ปุรินทราภิบาล. (2555). การผลิตและการตลาดเป็ดไข่ของเกษตรกรในจังหวัด สงขลา สืบค้นจาก http://pvlo-sgk.dld.go.th/th/images/stories/reseach57/dug57.pdf, 23 มีนาคม 2558
.การจัดเขตศักยภาพการผลิตข้าว จังหวัดพัทลุง สืบค้นจาก http://www.brrd.in.th/ricemap/data/Phatthalung/book.pdf, 15 ธันวาคม 2558
.การจัดเขตศักยภาพการผลิตข้าว จังหวัดนครศรีธรรมราช. สืบค้นจาก http://www.brrd.in.th/ricemap/data/Nakhon_Si_Thammarat/book.pdf, 20 ธันวาคม
2558
.การจัดเขตศักยภาพการผลิตข้าว จังหวัดสงขลา. สืบค้นจาก http://www.brrd.in.th/ricemap/data/Songkhla/book.pdf, 20 ธันวาคม 2558
อรวรรณ ชินราศรี. (2547). เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ปีก มหาสารคาม: อภิชาตการพิมพ์
Christopher Martin.2005.Logistics and Supply Chain Management, 3 rd ed. London : Pitman.
Gilbert M, Chaitaweesub P, Parakamawongsa T, Premshthira S, Tiensin T, Kalparavidh W, Wagner H and Slingenbergh J. 2006. Free-grazing ducks and highly pathogenic avian influenza, Thailand. Emerg Infect Dis 12(2):227-34
Handfield, R.B. and Nichols, E. L. Jr.1999.Introduction to supply Chain Management, Prentice Hall, Upper Saddle River,NJ.
Russell, R.S. and Taylor, B.W.2009. Operations management : Creating value along the supply chain.Hoboken,NJ: Jonh Wiley & Sons.
Songserm T, Jam-on R, Sae-Heng N, Meemak N, Hulse-Post Dj, Sturm-Ramirez Kam and Wester RG. 2006. Domestic Ducks and H5N1 influenze epidemic, Thailand. Emerge Infect Dis 12(4):575-81
Tiensin, T., P. Chaitaweesub, T. Songserm, A. Chaisingh, W. Hoonsuwan, C. Buranathai, T. Parakamawongsa, S. Premashthira, A. Amonsin, M. Gilbert, M. Nielen and A. Stegeman.
2005. Highly pathogenic avian influenza H5N1, Thailand, Emerg. Infect. Dis. 11: 1664– 72.
Vogt, R., Pienaar , W.J., and de Witt, P.W.C.2002.Business logistics management. Oxford.
ภาคผนวก
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
1. ข้อมูลพื้นที่นาแยกตามรายจังหวัด
1.1 จังหวัดพัทลุง
จังหวัดพัทลุง ประกอบด้วย 10 อํำเภอ และ 1 กิ่งอํำเภอ ได้แก่ อํำเภอเมืองเมืองพัทลุง ควนขนุน, เขำ ชัยสน, ปำกพะยูน กงหรำ, ตะโหนด, ป่ำบอน, ศรีบรรพต, บำงแก้ว, ป่ำพะยอมและ กิ่ง อ.ศรี-นครินทร์ มีพื้นที่ กำรทํำนำ 586,161 ไร่ หรือ ประมำณร้อยละ 41 ของพื้นที่กำรเกษตรทั้งหมด 1,425,413 ไร่ รองลงมำ เป็น กำรใช้พื้นที่เพื่อกำรปลูกพืชไร่ และ ไม้ผล
ตำรำงที่ 2 แสดงพื้นที่ปลูกนำข้ำว ปี 2557
อําเภอ | พื้นที่นา (ไร่) |
เมืองพัทลุง ควนขนุน เขำชัยสน ปำกพพะยูน กงหรำ ตะโหมด ป่ำบอน ศรีบรรบต บำงแก้ว ป่ำพะยอม กิ่งอํำเภอศรีนครินทร์ | 164,587 150,786 78,041 70,850 32,789 12,330 52,341 5,277 42,777 35,143 18,539 |
รวม | 663,460 |
ที่มำ: รำยงำน กำรจัดเขตศักยภำพกำรผลิตข้ำว จังหวัดพัทลุง
1.2 จังหวัดนครศรีธรรมราช
จังหวัดนครศรีธรรมรำช ประกอบด้วย 21 อํำเภอ 2 กิ่งอํำเภอ ประกอบด้วย อํำเภอเมือง, เชียรใหญ่, ปำกพนัง, ชะอวด, ทุ่งสง, ท่ำศำลำ, ร่อนพิบูลย์, สิชล, ลำนสกำ, พิปูน, หัวไทร, ทุ่งใหญ่, ฉวำง, บำงขัน, ขนอม, นำบอน, พรหมคีรี, จุฬำภรณ์, ถ้ํำพรรณรำ, พระพรหม, เฉลิมพระเกียรติ, กิ่งอํำเภอนบพิตํำ และ กิ่งอํำเภอช้ำง กลำง มีพื้นที่กำรทํำนำประมำณร้อยละ 22.89 ของพื้นที่ทํำกำรเกษตร พื้นที่นำส่วนใหญ่เป็นนำน้ํำฝน ปลูก ข้ำวปีละครั้ง
ตำรำงที่ 3 แสดงพื้นที่ปลูกนำข้ำว ปี 2557
อําเภอ | พื้นที่นา (ไร่) |
เมือง เชียรใหญ่ ปำกพนัง ชะอวด ทุ่งสง ท่ำศำลำ ร่อนพิบูลย์ สิชล ลำนสภำ พิปูน หัวไทร ทุ่งใหญ่ ฉวำง บำงชัน ขนอม นำบอน พรหมคีรี จุฬำภรณ์ ถ้ํำพรรณรำ พระพรหม เฉลิมพระเกียรติ กิ่งอํำเภอนบพิตํำ กิ่งอํำเภอช้ำงกลำง | 64,627 79,600 57,850 63,450 13,530 36,695 30,100 30,830 7,000 5,000 166,550 3,850 9,000 542 570 9,000 14,000 14,429 4,050 25,728 58,978 4,594 556 |
รวม | 700,529 |
ที่มำ: รำยงำนกำรจัดเขตศักยภำพกำรผลิตข้ำว จังหวัดนครศรีธรรมรำช
1.3 จังหวัดสงขลา
จังหวัดสงขลำ ประกอบด้วย 16 อํำเภอ ได้แก่ อํำเภอเมืองสงขลำ อํำเภอนำทวี อํำเภอหำดใหญ่ อํำเภอ จะนะ อํำเภอระโนด อํำเภอรัตภูมิ อํำเภอสะบ้ำย้อย อํำเภอสทิงพระ อํำเภอเทพำ อํำเภอกระแสสินธ์ อํำเภอ นำหม่อม อํำเภอคำนเนียง อํำเภอบำงกล่ํำ อํำเภอสิงหนคร อํำเภอคลองหอยโข่ง และอํำเภอสะเดำ มีพื้นที่ ปลูกข้ำว ประมำณ 437,002 ไร่ ได้ผลผลิตเฉลี่ยต่อพื้นที่เก็บเกี่ยวประมำณ 510 กิโลกรัม/ไร่ ปริมำณผลผลิต รวม 210,122 ตัน อํำเภอที่มีพื้นที่ปลูกข้ำวมำกที่สุด ได้แก่ อํำเภอระโนด มีพื้นที่ปลูก 124,525 ไร่ รองลงมำ
ได้แก่ อํำเภอจะนะ มีพื้นที่ปลูก 56,120 ไร่ และอํำเภอที่มีพื้นที่น้อยที่สุด คือ อํำเภอนำหม่อม มีพื้นที่ปลูก 480 ไร่
ตำรำงที่ 4 แสดงพื้นที่ปลูกนำข้ำว ปี 2557
อําเภอ | พื้นที่เก็บเกี่ยว (ไร่) |
เมืองสงขลำ นำทวี หำดใหญ่ จะนะ ระโนด รัตภูมิ สะบ้ำย้อย สทิงพระ เทพำ กระแสสินธ์ นำหม่อม ควนเนียง บำงกล่ํำ สิงหนคร คลองหอยโข่ง | 7,820 5,105 7,500 56,120 133,208 46,950 2,900 37,145 16,000 27,800 480 25,600 4,500 44,644 1,500 |
รวม | 417,292 |
ที่มำ: รำยงำน กำรจัดเขตศักยภำพกำรผลิตข้ำว จังหวัดสงขลำ
แบบสอบถาม
โครงการวิจัยเรื่อง“เศรษฐกิจการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในภาคใต้ของประเทศไทย ภายใต้กระแสการ เปลี่ยนแปลง”
ชื่อ-สกุล เบอร์โทรศัพท์
......................................................
บ้านเลขที่...........หมู่ที่........ตําบล....................อําเภอ.....................จังหวัด พื้นที่
..........................
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1. เพศ □ ชำย □ หญิง 2. อำยุ ปี
3. สถำนภำพ □ โสด □ สมรส □ หย่ำ/หม้ำย/แยกกันอยู่
4. ระดับกำรศึกษำ
□ ต่ํำกว่ำประถมศึกษำ | □ ประถมศึกษำ | □ มัธยมศึกษำ |
□ อนุปริญญำ | □ ปริญญำตรี | □ ปริญญำโทหรือสูงกว่ำ |
5.เลี้ยงเป็ดเป็นอำชีพ
□ อำชีพหลัก อำชีพเสริม (ระบุ) คือ.....................................
□ อำชีพเสริม อำชีพหลัก (ระบุ) คือ......................................
6. ลักษณะกำรเลี้ยงเป็ดเป็นแบบ
□ ปล่อยทุ่ง □ ไล่ทุ่ง
7. จํำนวนสมำชิกในครัวเรือน. คน
ประกอบด้วย อำยุ............ปี อำยุ...............ปี อำยุ. ปี
อำยุ............ปี อำยุ..............ปี อำยุ. ปี
ทํำงำนในภำคเกษตร.................คน เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง.............คน อื่น ๆ (ระบุ). คน
นอกภำคเกษตร.......................คน โปรดระบุอำชีพ......................................
8.สถำนะสุขภำพของสมำชิกในครัวเรือน
□ ไม่มีสมำชิกป่วย
□ มีสมำชิกป่วย จํำนวน..............คน เป็นโรค...........................
ตอนที่ 2 รายได้ แหล่งที่มาของรายได้ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อรายได้ รายจ่าย หนี้สิน การออม
1. รำยได้ของครัวเรือน (ก่อนหักค่ำใช้จ่ำย). บำท/ปี
2. แหล่งที่มำของรำยได้ของครัวเรือน
2.1) ในภำคเกษตร
□ กำรเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง. บำท/ปี
□ กำรปลูกพืช บำท/ปี
□ กำรเลี้ยงสัตว์ บำท/ปี
2.2) นอกภำคเกษตร
□ รับจ้ำงทั่วไป. บำท/ปี
□ ค้ำขำย/ธุรกิจส่วนตัว บำท/ปี
□ เงินเดือน/ค่ำจ้ำง. บำท/ปี
□ บุตรหลำนส่งให้. บำท/ปี
□ อื่น ๆ (ระบุ) บำท/ปี
3. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อรำยได้ (ตอบได้มำกกว่ำ 1 ข้อ)
□ ค่ำครองชีพที่สูงขึ้น
□ รำยได้จำกกำรเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งลดลง
□ อื่นๆ โปรดระบุ……………………………..
4. ค่ำใช้จ่ำยเพื่อกำรอุปโภค/บริโภค ในรอบ 12 เดือนที่ผ่ำนมำ
□ ข้ำวสำร. บำท/เดือน
□ ค่ำอำหำรสด (เนื้อ,ปลำ,ไก่,ผัก) บำท/สัปดำห์
□ ค่ำอำหำรปรุงสํำเร็จ (แกงถุง). บำท/สัปดำห์
□ ค่ำเสื้อผ้ำ/เครื่องแต่งกำย. บำท/เดือน
□ ค่ำรักษำพยำบำล บำท/เดือน
□ ค่ำเล่ำเรียนกำรศึกษำ บำท/เดือน
□ ค่ำโดยสำร/ค่ำน้ํำมัน บำท/เดือน
□ ค่ำน้ํำ/ค่ำไฟฟ้ำ บำท/เดือน
□ ค่ำหวย บุหรี่ เหล้ำ กำรพนัน บำท/เดือน
□ ค่ำใช้จ่ำยของใช้ส่วนบุคคล (สบู่ ยำสีฟัน แป้ง) บำท/เดือน
□ ค่ำใช้จ่ำยด้ำนสังคม (คนแต่งงำน งำนศพ งำนบวช ขึ้นบ้ำนใหม่). บำท/เดือน
□ ค่ำอื่น ๆ บำท/เดือน
5. หนี้สินของครัวเรือน ในรอบ 12 เดือน
□ ไม่มีหนี้สิน
□ มีหนี้สิน วัตถุประสงค์ในกำรกู้ยืม......................................................
แหล่งสินเชื่อ | □ ธกส. | □ สหกรณ์ | □ กองทุนหมู่บ้ำน |
□ กลุ่มเกษตรกร | □ ญำติ | □ อื่น ๆ ระบุ................................. |
6. กำรออมของครัวเรือนในรอบ 12 เดือนที่ผ่ำนมำ
□6.1 ไม่มีกำรออม
□6.2 มีกำรออม จํำนวน..........................บำทต่อปี แหล่งกำรออม.................................
วัตถุประสงค์กำรออม..........................................................................................................
นํำเงินออมไปใช้ทํำอะไร......................................................................................................
ตอนที่ 3 สภาพทั่วไปของการเลี้ยง ต้นทุน และผลตอบแทนที่เกษตรกรได้รับ
1. ประสบกำรณ์ในกำรเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ปี. เดือน
2. เริ่มต้นกำรเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง □ เริ่มต้นด้วยตัวเอง □ รับช่วงต่อจำก
....................................................
3. มีคนรับช่วงต่อกำรเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งหรือไม่ □ มี □ ไม่มี เพรำะ…………………………………….
4. พื้นที่ถือครอง
□ 4.1 มีพื้นที่ถือครอง ไร่
สิทธิกำรถือครองพื้นที่ □ โฉนด □ อื่นๆ โปรดระบุ………………….......................
□ 4.2 ไม่มีพื้นที่ถือครอง
เช่ำที่ดิน ไร่
5. กำรใช้ประโยชน์พื้นที่ถือครอง
□ 5.1 เพื่อกำรเกษตร
5.1.1 ปลูกพืช จํำนวน ไร่
5.1.2 เลี้ยงสัตว์ จํำนวน ไร่
□ 5.2 ไม่ใช่เพื่อกำรเกษตร โปรดระบุ………........................จํำนวน ไร่
6. พื้นที่ในกำรเลี้ยงเป็ด
□ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งบนที่นำของตนเอง
□ เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งบนที่นำของคนอื่น
□ จ่ำยค่ำเช่ำที่นำ......................(โปรดระบุค่ำเช่ำ บำทต่อไร่)
□ กำรแลกเปลี่ยน เช่น ให้ไข่ กำรสูบน้ํำเข้ำนำให้ (โปรดระบุ. )
□ กำรตกลงลักษณะอื่นๆ (โปรดระบุ )
□ ไม่มีค่ำใช้จ่ำยใดๆ และไม่ต้องทํำกำรแลกเปลี่ยนหรือตกลงใดๆ
7. เหตุจูงใจในกำรเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง (ตอบได้มำกกว่ำ 1 ข้อ)
□ เลี้ยงตำมเพื่อนบ้ำน/ครอบครัว
□ รำยได้ดี
□ กำรสนับสนุนจำกภำครัฐ
□ อื่น ๆ โปรดระบุ..........................
8. รำยได้ที่ได้จำกกำรเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งกับกำรยังชีพ (ตอบได้มำกกว่ำ 1 ข้อ)
□ ไม่เพียงพอที่จะยังชีพ
□ พอที่จะยังชีพ
□ ยังชีพได้และมีเหลือเก็บ
□ อื่น ๆ โปรดระบุ..........................
9. กำรเลือกพื้นที่ในกำรเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งพิจำรณำปัจจัยใดเป็นหลัก (ตอบได้มำกกว่ำ 1 ข้อ)
□ ควำมอุดมสมบูรณ์ของอำหำร □ อยู่ใกล้แหล่งน้ํำ ลุ่มน้ํำ
□ รอบกำรทํำนำ □ ระยะทำง
□ ไม่มีหลักเกณฑ์เอำตำมหลักควำมสะดวก □ อื่น ๆ โปรดระบุ........................................
10. กำรติดต่อหรือใช้พื้นที่นำในกำรเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งดํำเนินกำรผ่ำนทำง (ตอบได้มำกกว่ำ 1 ข้อ)
□ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในพื้นที่ใกล้เคียง
□ เครือญำติ/ครอบครัวประกอบอำชีพเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
□ กํำนัน ผู้ใหญ่บ้ำน ผู้นํำชุมชนของแต่ละพื้นที่ที่จะเข้ำไปเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
□ เจ้ำของที่นำในแต่ละพื้นที่ติดต่อมำ □ อื่น ๆ โปรดระบุ.....................................................
11. กำรจับจองพื้นที่นำในกำรเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
□ ต้องจับจองพื้นที่ ด้วยวิธีกำร (โปรดระบุ).....................................…………………………
□ ไม่ต้องจับจองพื้นที่
12. ปัญหำควำมขัดแย้งในกำรจับจองพื้นที่นำในกำรเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
□ ไม่มี
□ มี โปรดระบุ.....................................................
13. ลักษณะกำรเดินทำงเพื่อเข้ำไปในพื้นที่เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
□ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเดินทำงไปเพียงลํำพังพร้อมเป็ดไล่ทุ่ง
□ เกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งเดินทำงไปพร้อมๆ กับเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งรำยอื่นๆ
□ อื่น ๆ โปรดระบุ.....................................................
14. พื้นที่ในกำรเลี้ยงเป็ดในรอบ 1 ปี จํำนวนกี่พื้นที่ พื้นที่ เส้นทำงในกำรเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
(ตำมลํำดับ)
พื้นที่ 1 หมู่ที่..................ตํำบล...................อํำเภอ....................ชวงเวลำเดือน........................................
แนวโน้มควำมอุดมสมบูรณ์ของอำหำรในพื้นที่ □ ลดลง □ คงที่ □ เพิ่มขึ้น เพรำะ……………..
อุปสรรคและปัญหำในกำรเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในพื้นที่ข้ำงต้น (โปรดระบุ)………………………………………………
พื้นที่ 2 หมู่ที่..................ตํำบล...................อํำเภอ....................ชวงเวลำเดือน......................................
แนวโน้มควำมอุดมสมบูรณ์ของอำหำรในพื้นที่ □ ลดลง □ คงที่ □ เพิ่มขึ้น เพรำะ……………..
อุปสรรคและปัญหำในกำรเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในพื้นที่ข้ำงต้น (โปรดระบุ)………………………………………………
พื้นที่ 3 หมู่ที่..................ตํำบล...................อํำเภอ....................ชวงเวลำเดือน.......................................
แนวโน้มควำมอุดมสมบูรณ์ของอำหำรในพื้นที่ □ ลดลง □ คงที่ □ เพิ่มขึ้น เพรำะ……………..
อุปสรรคและปัญหำในกำรเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในพื้นที่ข้ำงต้น (โปรดะบุ)………………………………………………..
พื้นที่ 4 หมู่ที่..................ตํำบล...................อํำเภอ....................ชวงเวลำเดือน......................................
แนวโน้มควำมอุดมสมบูรณ์ของอำหำรในพื้นที่ □ ลดลง □ คงที่ □ เพิ่มขึ้น (ระบุสำเหตุ )
อุปสรรคและปัญหำในกำรเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในพื้นที่ข้ำงต้น (โปรดระบุ )
15. จํำนวนเป็ดที่เลี้ยงในรอบ 1 ครั้ง.............................ตัว (เป็ดไข่............ตัว เป็ดเนื้อ ตัว)