๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ จาก http://www.led.go.th/datacenter/pdf/manual/040759-9.pdf
หลักประกันxxxxxxxxทางแพ่ง
นางxxxxx xxxxxอํานวย วิทยากรชํานาญการพิเศษ กลุ่มงานพัฒนากฎหมาย สํานักกฎหมาย
บทความนี้ใช้เพื่อนําออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงรัฐสภา รายการเจตนารมณ์กฎหมาย สํานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
หลักประกันxxxxxxxxทางแพ่ง
บทนํา
ผู้เรยบเรยง : xxxxx xxxxxอํานวย วิทยากรชํานาญการพิเศษ กลุ่มงานพัฒนากฎ👉มาย สํานักกฎ👉มาย
หลักประกันxxxxxxxxทางแพ่ง ได้แก่ หลักประกันด้วยทรัพย์สินและหลักประกันด้วยบุคคล ในกรณี
หลักประกันด้วยทรัพย์สินมี ๒ รูปแบบ คือ การจํานําและการจํานอง ซึ่งถ้าเป็นทรัพย์เคลื่อนที่ได้เรียกว่า “สังหาริมทรัพย์” xxxx รถยนต์ รถจักรยานยนต์ นาฬิกาข้อมือ แหวนเพชร สร้อยxxxxxคํา ฯลฯ ทรัพย์ประเภทนี้ เมื่อนําไปเป็นหลักประกันการชําระหนี้ได้ในรูปแบบจํานํา โดยผู้จํานําต้องส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ผู้รับจํานํา แต่ถ้าทรัพย์เคลื่อนที่xxxxxxเรียกว่า “อสังหาริมทรัพย์” xxxx บ้าน ที่ดิน ฯลฯ ทรัพย์ประเภทนี้หากจะนําไปเป็น หลักประกันการชําระหนี้ได้ในรูปแบบการจํานอง ผู้จํานองนําทรัพย์สินไปตราไว้แก่ผู้รับจํานองเพื่อเป็นการ ประกันการชําระหนี้โดยไม่ส่งมอบทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันให้แก่ผู้รับจํานอง ในกรณีหลักประกันด้วยบุคคล คือ การค้ําประกันการชําระหนี้ แบ่งเป็น ๒ กรณี คือ กรณีค้ําประกันการชําระหนี้โดยบุคคลคนเดียว และกรณี ค้ําประกันการชําระหนี้โดยบุคคลหลายคน บทความเรื่อง “หลักประกันทางแพ่ง” มีวัตถุประสงค์เพื่อนําเสนอ ข้อมูลวิชาการเกี่ยวกับหลักประกันทางแพ่งในรูปแบบ จํานํา จํานอง และค้ําประกันตามxxxxxxกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อศึกษาหลักการเหตุผลของกฎหมาย รวมถึง สภาพปัญหาและ ข้อเสนอแนะให้ตระหนักรู้และสร้างความเข้าใจกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับหลักประกันทางแพ่งอันจะเป็นประโยชน์ ต่อประชาชนทั่วไป
บทเนื้อหา
การจํานํา การจํานอง และการค้ําประกัน เป็นสัญญาอีกกลุ่มหนึ่งภายใต้ “เอกเทศสัญญา” ตามxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือ ป.พ.พ. xxxxxxxไว้ในบรรพ ๓ โดยมีสาระสําคัญดังนี้
การจํานําคืออะไร
การจํานํา คือ การที่ผู้จํานําส่งมอบทรัพย์สินที่เป็นสังหาริมทรัพย์ ซึ่งตนเป็นเจ้าของให้แก่ผู้รับ จํานําเพื่อเป็นการประกันว่าตนจะชําระหนี้ (ป.พ.พ. มาตรา ๗๔๗)๑ และในกรณีที่ทรัพย์สินที่นํามาจํานํา มีตราสาร ผู้จํานําต้องแจ้งให้ผู้รับจํานําทราบและต้องมอบตราสารหนี้นั้นให้ผู้รับจํานําไว้ด้วย ทั้งนี้ ตราสาร เป็น เอกสารที่ทําขึ้นตามกฎหมายและจะโอนกันxxxxxต่อเมื่อโอนด้วยวิธีของตราสารนั้น ๆ ตามที่กฎหมายกําหนด xxxx ใบหุ้น หรือ ตั๋วเงิน เป็นต้น (ป.พ.พ. มาตรา ๗๕๐ มาตรา ๗๕๑ มาตรา ๗๕๒ และมาตรา ๗๕๓)
การจํานํานั้นย่อมเป็นประกันเพื่อการชําระหนี้กับทั้งค่าอุปกรณ์ต่อไปนี้ด้วย คือ (๑) ดอกเบี้ย
(๒) ค่าสินไหมทดแทนในการไม่ชําระหนี้ (๓) ค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับจํานํา (๔) ค่าใช้จ่ายเพื่อรักษาทรัพย์สิน ซึ่งจํานํา และ (๕) ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดแต่ความชํารุดบกพร่องแห่งทรัพย์สินจํานําซึ่งไม่เห็น xxxxxxxx (ป.พ.พ. มาตรา ๗๔๘) ดังนั้น จํานําจึงครอบคลุมถึงหนี้ประธานและหนี้อุปกรณ์ดังกล่าว
๑ ป.พ.พ. มาตรา ๗๔๗ อันว่าจํานํานั้น คือ สัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่าผู้จํานํา ส่งมอบสังหาริมทรัพย์สิ่งหนึ่งให้แก่บุคคล อีกคนหนึ่ง เรียกว่าผู้รับจํานํา เพื่อเป็นประกันการชําระหนี้
xxxxxและหน้าที่ของผู้รับจํานําและผู้จํานํา
ผู้รับจํานํา มีxxxxxxxxจะยึดของจํานําไว้ได้ทั้งหมดจนกว่าจะได้รับชําระหนี้และค่าอุปกรณ์ครบถ้วน (ป.พ.พ. มาตรา ๗๕๘) โดยต้องรักษาทรัพย์สินจํานําไว้ให้ปลอดภัย และต้องสงวนทรัพย์สินจํานํานั้น xxxxอย่างวิญญูชนจะxxxxxxxทรัพย์สินของตนเอง (ป.พ.พ. มาตรา ๗๕๙) แต่ถ้าเอาทรัพย์สินซึ่งจํานําออกใช้เอง หรือเอาไปให้บุคคลภายนอกใช้สอย หรือเก็บรักษา โดยผู้จํานํามิได้ยินยอม ผู้รับจํานําจะต้องรับผิดเพื่อที่ ทรัพย์สินจํานํานั้นสูญหาย หรือบุบสลายไปอย่างใด ๆ แม้ทั้งเป็นเพราะเหตุสุดวิสัย เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่า ถึงอย่างไร ๆ ก็xxxxต้องสูญหาย หรือบุบสลายอยู่นั่นเอง (ป.พ.พ. มาตรา ๗๖๐) และถ้ามิได้กําหนดไว้เป็นอย่าง อื่นในสัญญา หากมีดอกผลxxxxxxxxxxจากทรัพย์สินนั้นอย่างไร ให้ผู้รับจํานําจัดสรรใช้เป็นค่าดอกเบี้ยอันค้าง ชําระแก่ตน ถ้าไม่มีดอกเบี้ยค้างชําระให้จัดสรรใช้ต้นเงินแห่งหนี้อันได้จํานําทรัพย์สินเป็นประกันนั้น (ป.พ.พ. มาตรา
๗๖๑)
ผู้จํานํา ต้องชดใช้ค่าใช้จ่ายใด ๆ อันควรแก่การบําxxxxxxxxทรัพย์สินจํานํานั้นให้แก่ผู้รับจํานํา เว้น แต่จะได้กําหนดไว้เป็นอย่างอื่นในสัญญา (ป.พ.พ. มาตรา ๗๖๒)
เมื่อพ้นหกเดือนนับแต่วันส่งคืนหรือขายทอดตลาดทรัพย์สิน ห้ามมิให้ฟ้องคดี ดังต่อไปนี้ (๑) ฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อความบุบสลายอันผู้รับจํานําก่อให้xxxxxxxทรัพย์สินจํานํา (๒) ฟ้องเรียก ให้ชดใช้ค่าใช้จ่ายเพื่อการบําxxxxxxxxทรัพย์สินจํานํา (๓) ฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันxxxx xxxผู้รับจํานํา เพราะความชํารุดบกพร่องในทรัพย์สินจํานําซึ่งไม่เห็นxxxxxxxx (ป.พ.พ. มาตรา ๗๖๓)
การบังคับจํานํา ผู้รับจํานําต้องแจ้งให้ผู้จํานําทราบล่วงหน้าก่อน แต่ถ้าผู้จํานํายังxxxxxxx ผู้รับจํานํา
อาจนําทรัพย์สินที่จํานํานั้นออกขายทอดตลาดได้ (ป.พ.พ. มาตรา ๗๖๔ ถึงมาตรา ๗๖๘)
การสิ้นสุดของการจํานํา ดังนี้ (๑). เมื่อหนี้ซึ่งจํานําเป็นประกันอยู่นั้นระงับสิ้นไปเพราะเหตุประการอื่น มิใช่เพราะอายุความ xxxx มีการชําระหนี้กันแล้ว หรือได้xxxxxxxxxxxxกันแล้ว เป็นต้น (๒). เมื่อผู้รับจํานํายอมให้ ทรัพย์สินที่จํานํากลับไปสู่การครอบครองของผู้จํานํา ย่อมทําให้การจํานําสิ้นสุดลงด้วย (ป.พ.พ. มาตรา ๗๖๙)
ตัวอย่างคําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๓๔๘๑/๒๕๕๙ xxxxxxxxจํานําxxxxxxxxxxxและสัญญาxxxxx
xxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxด้อยคุณภาพนําxxxxxxxxxxxมาจํานําไว้แก่โจทก์โดยตกลงให้ ศ. ซึ่งเป็นพนักงานของลูกหนี้ เป็นผู้เก็บรักษาxxxxxxxxxxxที่จํานําไว้ที่โรงงานของลูกหนี้ โดย ศ. จะได้รับค่าตอบแทนการxxxxxxxxxxxจํานํา เพียงเดือนละ ๑๐๐ บาท และยังมีข้อตกลงว่า ตลอดเวลาที่ทรัพย์จํานําอยู่ในความครอบครองของผู้xxxxxxxxxxx จํานํา แม้ผู้จํานําจะได้ใช้สอยทรัพย์สินที่จํานํา ก็xxxxxxxxxทรัพย์สินที่จํานํากลับคืนสู่ความครอบครองของผู้จํานํา ซึ่งตามข้อตกลงดังกล่าวแม้จะไม่ให้xxxxxxxxxxxxxxxxxกลับคืนสู่การครอบครองของผู้จํานําก็ตาม แต่เป็นการเขียน สัญญาไว้เพื่อเลี่ยงกฎหมาย เพราะxxxxxอันแท้จริงของสัญญาจํานําดังกล่าวxxxxxxxให้ลูกหนี้ได้ใช้ประโยชน์ จากxxxxxxxxxxxอันเป็นทรัพย์สินที่จํานํา การที่โจทก์ซึ่งเป็นผู้รับจํานําxxxxxxxxxxxยอมให้ลูกหนี้สินทรัพย์ ด้อยคุณภาพเข้าใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินที่จํานําย่อมเป็นการยอมให้ทรัพย์สินที่จํานํากลับคืนไปสู่การครอบครอง ของผู้จํานําตาม ป.พ.พ. มาตรา ๗๖๙ (๒) xxxxxจํานําของxxxxxxxxระงับสิ้นไป โจทก์xxxxxxบังคับจํานําตามที่ xxxxxxxไว้ใน ป.พ.พ. มาตรา ๗๖๔ ได้
การจํานอง คืออะไร
การจํานอง คือ สัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้จํานอง” เอาทรัพย์สินตราไว้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า “ผู้รับจํานอง” เป็นประกันการชําระหนี้ โดยไม่ส่งมอบทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้รับจํานอง (ป.พ.พ. มาตรา ๗๐๒)
ทรัพย์สินที่จะจํานองได้ คือ อสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ ที่ดิน ทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดินมีลักษณะ xxxxxxxxxxx xxxxxxอันประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดิน และทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับที่ดินหรือทรัพย์อันติดอยู่กับ ที่ดินหรือประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดินนั้นด้วย และxxxxxxxxxxxxxxxxxจะจํานองได้นั้นต้องเป็นxxxxxxxxxxxxxxxxxได้ จดทะเบียนไว้แล้วตามกฎหมายและเฉพาะสังหาริมทรัพย์ดังต่อไปนี้เท่านั้น คือ เรือมีระวางตั้งแต่ห้าตันขึ้นไป แพ สัตว์พาหนะ และสังหาริมทรัพย์อื่น ๆ ซึ่งกฎหมายxxxxxxxไว้ให้จดทะเบียนเฉพาะการ (ป.พ.พ. มาตรา ๗๐๓)
การจํานองจะxxxxxxxต้องทําเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ (ป.พ.พ. มาตรา
๗๑๔) แต่ถ้าการจําxxxxxxxxxทําเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่การจํานองย่อมตกเป็นโมฆะ (ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๒)๒
xxxxxและหน้าที่ของผู้รับจํานองและผู้จํานอง ถ้าทรัพย์สินได้จํานองแล้ว และภายหลังมีจดทะเบียน
ภาระจํายอม โดยผู้รับจํานองมิได้ยินยอมด้วยxxxxxจํานองย่อมเป็นใหญ่กว่าภาระจํายอม (ป.พ.พ. มาตรา ๗๒๒) ถ้าทรัพย์สินซึ่งจํานองบุบสลาย หรือสูญหาย เป็นเหตุให้xxxxxxxxxxแก่การประกัน ผู้รับจํานองจะบังคับจํานอง เสียในทันทีก็ได้ (ป.พ.พ. มาตรา ๗๒๓) ผู้จํานองใดได้จํานองทรัพย์สินของตนไว้เพื่อประกันหนี้อันบุคคลอื่น จะต้องชําระแล้วและเข้าชําระหนี้เสียเองแทนลูกหนี้ ผู้จํานองนั้นชอบที่จะได้รับเงินใช้คืนจากลูกหนี้ตามจํานวน ที่ตนได้ชําระไป (ป.พ.พ. มาตรา ๗๒๔) ผู้จํานองซึ่งจํานองทรัพย์สินของตนไว้เพื่อประกันหนี้อันบุคคลอื่นจะต้อง ชําระ ไม่ต้องรับผิดในหนี้นั้นเกินราคาทรัพย์สินที่จํานองในเวลาที่บังคับจํานองหรือเอาทรัพย์จํานองหลุด (ป.พ.พ. มาตรา ๗๒๗/๑ วรรคหนึ่ง)๓ ข้อตกลงใดxxxxxผลให้ผู้จํานองรับผิดเกินที่xxxxxxxไว้ในวรรคหนึ่ง หรือให้ ผู้จํานองรับผิดอย่างผู้ค้ําประกัน ข้อตกลงนั้นเป็นxxxx xxxว่าข้อตกลงนั้นจะมีอยู่ในสัญญาจํานองหรือทําเป็น ข้อตกลงต่างหาก เว้นแต่กรณีที่นิติบุคคลเป็นลูกหนี้และบุคคลผู้มีอํานาจในการจัดการตามกฎหมายหรือบุคคล ที่มีอํานาจควบคุมการดําเนินงานของนิติบุคคลนั้นเป็นผู้จํานองทรัพย์สินของตนไว้เพื่อประกันหนี้นั้นของนิติบุคคล และผู้จํานองได้ทําสัญญาค้ําประกันไว้เป็นสัญญาต่างหาก (มาตรา ๗๒๗/๑ วรรคสอง)๔
การบังคับจํานอง มี ๒ วิธี คือ (๑) การฟ้องคดีต่อศาลเพื่อให้พิพากษาสั่งให้ยึดทรัพย์สินที่จํานอง
ออกขายทอดตลาด (ป.พ.พ. มาตรา ๗๒๘) และ (๒) การฟ้องคดีต่อศาลเพื่อให้พิพากษาสั่งให้เอาทรัพย์สิน ที่จํานองหลุดเป็นxxxxxของผู้รับจํานอง (ป.พ.พ. มาตรา ๗๒๙)
ความระงับไปของสัญญาจํานอง เมื่อหนี้ที่ประกันระงับสิ้นไปด้วยเหตุประการอื่นใดมิใช่เหตุ
อายุความ เมื่อปลดจํานองให้แก่ผู้จํานองด้วยหนังสือเป็นสําคัญ เมื่อผู้จํานองหลุดพ้น เมื่อถอนจํานอง เมื่อขาย ทอดตลาดทรัพย์สินซึ่งจํานองตามคําสั่งศาลอันเนื่องมาแต่การบังคับจํานองหรือถอนจํานอง หรือเมื่อมีการขาย ทอดตลาดทรัพย์สินตามมาตรา ๗๒๙/๑ และเมื่อเอาทรัพย์สินซึ่งจํานองนั้นหลุด๕ ผู้รับจํานองจะบังคับจํานอง แม้เมื่อหนี้ที่ประกันนั้นขาดอายุความแล้วก็ได้ แต่จะบังคับเอาดอกเบี้ยที่ค้างชําระในการจํานองเกินกว่าห้าปี xxxxxx (ป.พ.พ.มาตรา ๗๔๕) การชําระหนี้ไม่ว่าครั้งใด ๆ สิ้นเชิงหรือแต่บางส่วน หรือ การระงับหนี้อย่างใด ๆ หรือ การตกลงกันแก้ไขเปลี่ยนแปลงจํานอง หรือหนี้อันจํานองเป็นประกันนั้นเป็นประการใด ต้องนําความไป
๒ ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๒ การใดมิได้ทําให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายบังคับไว้ การนั้นเป็นโมฆะ
๓ ป.พ.พ. มาตรา ๗๒๗/๑ xxxxxโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ๒๐) พ.ศ. ๒๕๕๗
๔ ป.พ.พ. มาตรา ๗๒๗/๑ วรรคสอง แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๕๘
๕ ป.พ.พ. มาตรา ๗๔๔ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ๒๐) พ.ศ. ๒๕๕๗
จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เมื่อมีคําขอร้องของผู้มีส่วนได้เสีย มิฉะนั้นจะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้บุคคลภายนอก xxxxxx (ป.พ.พ. มาตรา ๗๔๖)
ตัวอย่างคําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๓๓๓๗/๒๕๕๖
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า คดีมีปัญหาข้อกฎหมายต้องวินิจฉัยตามxxxxของโจทก์เพียงว่า โจทก์มีxxxxx รับช่วงxxxxxจากเจ้าหนี้มาฟ้องxxxxxxxxเอาจากจําเลยที่ ๒ ได้หรือไม่ เห็นว่า การที่จําเลยที่ ๒ จํานองที่ดินของตน เพื่อประกันหนี้เงินกู้ที่จําเลยที่ ๑ ต้องชําระให้แก่ธนาคาร ก. เจ้าหนี้ เป็นการให้สัญญาต่อเจ้าหนี้ของจําเลยที่ ๑ ว่า หากจําเลยที่ ๑ ไม่ชําระหนี้ก็ให้ธนาคารเจ้าหนี้ของจําเลยที่ ๑ บังคับจํานองเอากับที่ดินของจําเลยที่ ๒ ได้ ต่างกับการค้ําประกันซึ่งโจทก์ผู้ค้ําประกันสัญญาว่า ถ้าจําเลยที่ ๑ ไม่ชําระหนี้ โจทก์จะชําระหนี้ให้เจ้าหนี้ของ จําเลยที่ ๑ โดยยอมรับผิดเป็นลูกหนี้ร่วมกับจําเลยที่ ๑ ลูกหนี้ ในกรณีของจําเลยที่ ๒ ต้องบังคับตาม ป.พ.พ. ในลักษณะจํานอง ซึ่งไม่มีบทบัญญัติให้นํามาตรา ๖๘๒ วรรคสอง ในลักษณะค้ําประกันมาใช้บังคับกับจําเลย ที่ ๒ ให้ต้องรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมกับโจทก์ซึ่งเป็นผู้ค้ําประกันหนี้รายเดียวกันอันจะต้องรับผิดอย่างลูกหนี้ ร่วมกันตาม ป.พ.พ. ๖๘๒๖ วรรคสอง อันจะทําให้โจทก์รับช่วงxxxxxของเจ้าหนี้บังคับจํานองกับที่ดินของจําเลย ที่ ๒ ได้
การค้ําประกัน คืออะไร
การค้ําประกัน คือ สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า “ผู้ค้ําประกัน” สัญญาว่าจะชําระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ ถ้าหากลูกหนี้ไม่ยอมชําระหนี้ หนี้ที่ค้ําประกันนี้จะเป็นหนี้อะไรก็ได้ทั้งสิ้น xxxx หนี้เงินกู้ หนี้ค่าสินค้า หนี้การก่อสร้าง เป็นต้น สัญญาค้ําประกันนั้นถ้ามิได้มีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลงลายมือชื่อผู้ค้ํา ประกันเป็นสําคัญ จะฟ้องร้องให้บังคับคดีxxxxxx (ป.พ.พ. มาตรา ๖๘๐) ค้ําประกันนั้นจะมีได้แต่เฉพาะเพื่อหนี้ xxxxxxxxxx โดยสัญญาค้ําประกันต้องระบุหนี้หรือสัญญาที่ค้ําประกันไว้โดยชัดแจ้ง และผู้ค้ําประกันย่อมรับผิด เฉพาะหนี้หรือสัญญาที่ระบุไว้เท่านั้น (ป.พ.พ. มาตรา ๖๘๑ วรรคสาม)๗
สถานะของผู้ค้ําประกันเป็นลูกหนี้ชั้นรอง ผู้ค้ําประกันไม่ใช่ลูกหนี้ของเจ้าหนี้โดยตรง เป็นเพียง
ผู้ที่เข้ามารับประกันการชําระหนี้ของลูกหนี้ ดังนั้น ในทางปฏิบัติแต่เดิมxxxxxxxxxxxอาศัยอํานาจการต่อรองที่มี มากกว่ากําหนดให้ “ผู้ค้ําประกันต้องร่วมรับผิดกับลูกหนี้ประธานอย่างลูกหนี้ร่วม” เป็นผลให้เมื่อลูกหนี้ ประธานผิดนัด เจ้าหนี้มีxxxxxเรียกร้องและฟ้องร้องเอากับลูกหนี้ประธานและผู้ค้ําประกันได้ทันที xxxxxxxในความ เป็นจริงลูกหนี้ประธานอาจมีทรัพย์สินเพียงพอจะชําระหนี้แก่เจ้าหนี้ได้ แต่ผู้ค้ําประกันกลับต้องถูกบังคับชําระ หนี้อย่างลูกหนี้ประธานและกฎหมายก็กําหนดให้ผู้ค้ําประกันมีxxxxxบางอย่างเพื่อ “เกี่ยง” ไมชําระหนี้ในครั้ง แรกไดข้อตกลงxxxxนี้ย่อมทําให้ผู้ค้ําประกันเสียxxxxxเพื่อจะxxxxxxตนเอง ดังนั้น ข้อตกลงให้ผู้ค้ําประกันต้องรับ ผิดเหมือน “ลูกหนี้ร่วม” ข้อตกลงดังกล่าวเป็น “โมฆะ” ยกเว้นในกรณีที่ผู้ค้ําประกันเป็นนิติบุคคลและยินยอม เข้าผูกพันตนเป็นลูกหนี้ร่วม ดังนั้น ผู้ค้ําประกันจึงไม่มีหน้าที่ต้องร่วมรับผิดกับหนี้ประธานอย่างลูกหนี้ร่วม๘
๖ ป.พ.พ. มาตรา ๖๘๒ ท่านว่าบุคคลจะยอมเข้าเป็นxxxxxxxxxxx คือเป็นประกันของผู้ค้้าประกันอีกชั้นหนึ่ง ก็เป็นได้ ถ้าบุคคลหลายคนยอมตนเข้าเป็นผู้ค้้าประกันในหนี้รายเดียวกันxxxx ท่านว่าผู้ค้้าประกันเหล่านั้นมีความรับผิดอย่างลูกหนี้ ร่วมกัน แม้ถึงว่าจะมิได้เข้ารับค้้าประกันรวมกัน
๗ ป.พ.พ. มาตรา ๖๘๑ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ๒๐) พ.ศ. ๒๕๕๗
๘ กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม. คู่มือหลักประกันเพื่อการประกอบธุรกิจ การประกันการช้าระหนี้ดวยบุคคล. สืบค้นxxxxxx
๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ จาก xxxx://xxx.xxx.xx.xx/xxxxxxxxxx/xxx/xxxxxx/000000-0.xxx
การเข้าค้ําประกัน กระทําได้ ๒ กรณีคือ (๑) กรณีการเข้าค้ําประกันด้วยคน ๆ เดียว (๒) กรณี การเข้าค้ําประกันด้วยคนหลายxx xxxเขียนในข้อสัญญาว่าให้ผู้ค้ําประกันมีความรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมด้วย นั้น ข้อสัญญานี้จะเป็นโมฆะ๙ ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่xxxxxx ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ เป็นต้นมา การเข้าค้ําประกัน ด้วยคนหลายคน ผู้ค้ําประกันจะมีลักษณะเป็นลูกหนี้ร่วมกันนั่น หมายความว่า เจ้าหนี้จะบังคับให้ผู้ค้ําประกัน คนใดคนหนึ่งใช้หนี้แทนจนหมดสิ้น หรือให้เฉลี่ยกัน หรือบังคับที่ใครมากน้อยอย่างไรก็ได้๑๐
ความรับผิดของผู้ค้ําประกัน ความรับผิดของผู้ค้ําประกันเกิดขึ้นเมื่อ “หนี้ประธาน” ถึงกําหนด
ชําระ (xxxx หนี้xxxxxxxxกู้ยืมเงิน หนี้xxxxxxxxxxxxแรงงาน) และ “ลูกหนี้” สัญญาประธานผิดสัญญาไม่ ชําระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ ซึ่งเจ้าหนี้มีหน้าที่บอกแจ้งการผิดนัดให้แก่ผู้ค้ําประกันทราบภายใน ๖๐ วัน นับแต่xxxxxx ลูกหนี้ผิดนัด
ความระงับสิ้นไปแห่งการค้ําประกัน เมื่อหนี้ของลูกหนี้ระงับสิ้นไป ไม่ว่าเพราะเหตุใด ๆ ผู้ค้ํา
ประกันย่อมหลุดพ้นจากความรับผิด (ป.พ.พ. มาตรา ๖๙๘) การค้ําประกันเพื่อกิจการเนื่องกันไปหลายคราวไม่ มีจํากัดเวลาเป็นคุณแก่เจ้าหนี้ ผู้ค้ําประกันอาจเลิกเสียเพื่อคราวอันเป็นxxxxxxxx โดยxxxxxxxxความxxxxxxx นั้นแก่เจ้าหนี้ กรณีxxxxนี้ ผู้ค้ําประกันไม่ต้องรับผิดในกิจการที่ลูกหนี้กระทําลงภายหลังคําxxxxxxxxนั้นได้ไปถึง เจ้าหนี้ (ป.พ.พ. มาตรา ๖๙๙) ถ้าค้ําประกันหนี้อันจะต้องชําระ ณ เวลามีกําหนดแน่นอน หากเจ้าหนี้ยอมผ่อน เวลาให้แก่ลูกหนี้โดยที่ผู้ค้ําประกันxxxxxxตกลงด้วยในการผ่อนเวลานั้น ผู้ค้ําประกันย่อมหลุดพ้นจากความรับผิด (ป.พ.พ. มาตรา ๗๐๐) นอกจากนี้ ผู้ค้ําประกันจะขอชําระหนี้แก่เจ้าหนี้ตั้งแต่เมื่อถึงกําหนดชําระก็ได้ แต่ถ้าxxxxxxxx xxxยอมรับชําระหนี้ผู้ค้ําประกันก็เป็นอันหลุดพ้นจากความรับผิดด้วยxxxxกัน (ป.พ.พ. มาตรา ๗๐๑)
ตัวอย่างคําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๒๗๑๑/๒๕๕๘
โจทก์ (เจ้าหนี้) ฟ้องจําเลย (ผู้ค้ําประกันลูกหนี้) ศาลฎีกาตรวจสํานวนประชุมปรึกษาแล้ว ข้อเท็จจริงเบื้องต้นฟังได้ว่า บ. (ลูกหนี้) xxxxxxเงินโจทก์ (เจ้าหนี้) โดยออกตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อประกันการชําระ หนี้ โดยมีจําเลยทําสัญญาค้ําประกันยอมรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมและจะชํา ระหนี้ต้นเงินภายในวงเงิน
๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท ต่อมา บ. (ลูกหนี้) ผิดสัญญา โจทก์xxxxxxx บ. ต่อศาลแพ่ง โจทก์กับ บ. ทําสัญญา ประนีประนอมยอมความและศาลได้มีคําพิพากษาตามยอม จากนั้น บ. ชําระหนี้ให้โจทก์บางส่วน จํานวนเงิน
๘๖๑,๐๒๔.๒๙ บาทแล้วไม่ชําระอีก xxxxxxxxฟ้องจําเลยในฐานะผู้ค้ําประกันเป็นคดีนี้ ศาลฎีกามีปัญหาต้องวินิจฉัยตามxxxxของจําเลยว่า จําเลยต้องรับผิดxxxxxxxxค้ําประกันใช้เงิน
แก่โจทก์ตามคําพิพากษาอุทธรณ์หรือไม่ เห็นว่า หนี้xxxxxxxxค้ําประกันเป็นหนี้อุปกรณ์ ผู้ค้ําประกันจะต้องรับ ผิดxxxxxxxxค้ําประกันก็ต่อเมื่อลูกหนี้ไม่ชําระหนี้เงินกู้ซึ่งเป็นหนี้ประธาน หรือยังมีหนี้ประธานที่ผู้ให้กู้ยังxxxxxx รับชําระหนี้ กล่าวคือ ยังxxมีหนี้ประธานอยู่ การที่โจทก์ฟ้อง บ. ให้รับผิดชําระหนี้xxxxxxxxกู้ยืมซึ่งเป็นหนี้ประธาน โจทก์กับ บ. ทําสัญญาประนีประนอมยอมความและศาลพิพากษาตามยอมแล้ว ย่อมทําให้หนี้ประธาน คือ หนี้ กู้ยืมระงับ เกิดเป็นหนี้ใหม่xxxxxxxxประนีประนอมยอมความตาม ป.พ.พ. มาตรา ๘๕๒ เมื่อหนี้กู้ยืมเงินซึ่ง
๙ ป.พ.พ. มาตรา ๖๘๑/๑ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ๒๐) พ.ศ.
๒๕๕๗ โดยxxxxx “ข้อตกลงใดที่กําหนดให้ผู้ค้ําประกันต้องรับผิดอย่างเดียวกับลูกหนี้ร่วมหรือในฐานะเป็นลูกหนี้ร่วม ข้อตกลง นั้นเป็นโมฆะ”
๑๐ ป.พ.พ. มาตรา ๖๘๒ วรรคสอง ถ้าบุคคลหลายคนยอมตนเข้าเป็นผู้ค้ําประกันในหนี้รายเดียวกัน ท่านว่าผู้ค้ําประกันเหล่านั้น มีความรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมกัน แม้ถึงว่าจะมิได้เข้ารับค้ําประกันรวมกัน
เป็นหนี้ประธานระงับ จึงไม่มีหนี้ที่จําเลยในฐานะผู้ค้ําประกันจะต้องรับผิดอีก จําเลยจึงไม่ต้องรับผิดxxxxxxxx ค้ําประกันที่จะต้องใช้เงินแก่โจทก์ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๖๙๘๑๑
ตัวอย่างคําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๑๐๒๗/๒๕๕๕
กรณีโจทก์ (เจ้าหนี้) ฟ้องจําเลยที่ ๔ (ผู้ค้ําประกันชําระหนี้และจํานองที่ดิน) จําเลยที่ ๔ รับว่าทํา สัญญาค้ําประกันหนี้ของจําเลยที่ ๑ ที่ ๒ บริษัท ย. และบริษัท เอ. ไว้แก่โจทก์รวม ๕ ฉบับ และจําเลยที่ ๔ จะต้องรับผิดในวงเงินxxxxxxxxค้ําประกันนั้นเป็นเงินรวม ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยจําเลยที่ ๔ จํานองที่ดินไว้ต่อ โจทก์เพื่อเป็นประกันหนี้ของจําเลยที่ ๔ เอง รวมถึงที่จําเลยที่ ๔ ได้ค้ําประกันหนี้สินของจําเลยที่ ๑ และที่ ๒ กับ บริษัทในเครือดังกล่าวที่มีอยู่ต่อโจทก์ โดยจําเลยที่ ๔ ในฐานะผู้ค้ําประกันและผู้จํานองในวงเงิน ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท ดังนั้น เมื่อโจทก์xxxxxxให้จําเลยที่ ๔ ในฐานะผู้ค้ําประกันชําระหนี้ และจําเลยที่ ๔ ได้ขอชําระหนี้ให้แก่ โจทก์ตามจํานวนเงินในสัญญาค้ําประกันรวม ๕ ฉบับ เป็นเงิน ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยไม่ปรากฏว่าจํานวนเงิน ดังกล่าวxxxxxxxxxxต่อความรับผิดของจําเลยที่ ๔ xxxxxxxxค้ําประกันทั้งหมด และโจทก์มิได้นําสืบให้ชัดว่า จํานวนเงินที่จําเลยที่ ๔ ชําระยังxxxxxxxxxxต่อความรับผิดxxxxxxxxค้ําประกันเพราะยังมีดอกเบี้ยหรือค่า อุปกรณ์อื่น ๆ อีก จึงต้องฟังว่าจําเลยที่ ๔ ชําระหนี้ครบถ้วนตามความรับผิดในสัญญาค้ําประกันแล้ว แต่โจทก์ ไม่ยอมรับชําระหนี้จากจําเลยที่ ๔ จําเลยที่ ๔ ในฐานะผู้ค้ําประกันจึงเป็นอันหลุดพ้นจากความรับผิดตาม ป.พ.พ. มาตรา ๗๐๑ วรรคสอง๑๒
หลักประกันตามกฎหมายอื่น
เนื่องจากการจํานองและจํานํานั้นต่างเป็นการประกันการชําระหนี้ที่มีข้อจํากัด ซึ่งกรณีจํานองนั้น แม้กฎหมายมิได้กําหนดให้ต้องส่งมอบทรัพย์สินที่จํานองและผู้จํานองxxxxxxใช้สอยทรัพย์สินที่จํานองให้เกิด ประโยชน์ทางเศรษฐกิจต่อไปได้จนกว่าจะมีการบังคับจํานอง แต่ทรัพย์สินที่xxxxxxนําไปจํานองได้นั้นจํากัด เฉพาะอสังหาริมทรัพย์และสังหาริมทรัพย์มีทะเบียนบางประเภทเท่านั้นไม่xxxxxxนําสังหาริมทรัพย์อื่นที่มี xxxxxxทางเศรษฐกิจ xxxx xxxxxxxxxxx xxxxxเรียกร้อง สินค้าคงคลัง วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตสินค้า หรือทรัพย์สิน ทางxxxxx ฯลฯ หรือสังหาริมทรัพย์อื่นที่ผู้ประกอบการใช้ในการประกอบธุรกิจ อาทิ เครื่องบิน เป็นต้น มาจํานอง เป็นประกันการชําระหนี้ได้ ส่วนกรณีจํานํานั้นเฉพาะสังหาริมทรัพย์เท่านั้นที่จะนํามาจํานําได้ และต้องมีการส่ง มอบxxxxxxxxxxxxxxxxxจํานําด้วย จึงมีความจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นกฎหมายเฉพาะเพื่อให้มีการนําทรัพย์สินที่มีxxxxxxทางเศรษฐกิจxxxxxxxxxxxxจํานองหรือจํานําได้ มาใช้เป็น ประกันการชําระหนี้ในลักษณะที่ผู้ให้หลักประกันไม่ต้องส่งมอบการครอบครองทรัพย์สินที่เป็นหลักประกัน ให้แก่ผู้รับประกันได้ เพื่อให้ผู้ประกอบxxxxxxxxxใช้ทรัพย์สินเหล่านั้นให้เกิดประโยชน์สูงสุดทางเศรษฐกิจที่ เป็นประโยชน์ต่อภาคธุรกิจได้อย่างแท้จริง โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อxxxxxx ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ และมีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดสองร้อยสี่สิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป เว้นแต่ บาง มาตราที่มีผลบังคับทันที
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx คือ สัญญาซึ่งคู่สัญญาฝ่ายหนึ่ง เรียกว่า “ผู้ให้หลักประกัน” ตรา
ทรัพย์สินไว้แก่คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง เรียกว่า “ผู้รับหลักประกัน” เพื่อเป็นประกันการชําระหนี้ โดยไม่จําเป็นต้อง
๑๑ ป.พ.พ. มาตรา ๖๙๘ อันผู้ค้ําประกันย่อมหลุดพ้นจากความรับผิดในขณะเมื่อหนี้ของลูกหนี้ระงับสิ้นไปไม่ว่าเพราะเหตุใด ๆ
๑๒ ป.พ.พ.มาตรา ๗๐๑ วรรคสอง ถ้าxxxxxxxxxxxยอมรับชําระหนี้ ผู้ค้ําประกันก็เป็นอันหลุดพ้นจากความรบผิด
ส่งมอบทรัพย์สินนั้นแก่ผู้รับหลักประกัน และผู้ให้หลักประกันจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้๑๓ โดย ผู้ให้ประกันจะตราทรัพย์สินไว้แก่ผู้รับประกันเพื่อเป็นหลักประกันการชําระหนี้ของตน หรืออาจตราทรัพย์สิน ของตนไว้เพื่อประกันการชําระหนี้อันบุคคลอื่นต้องชําระก็ได้ ส่วนผู้รับหลักประกันนั้นต้องเป็นสถาบันการเงิน หรือบุคคลอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง๑๔
xxxxxxxxxxxxxxxxxxนํามาเป็นหลักประกันทางธุรกิจ ตามพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ
พ.ศ. ๒๕๕๘ กําหนดไว้ในมาตรา ๘ มี ๖ ประเภท ได้แก่
๑. กิจการ หมายถึง ทรัพย์สินที่ผู้ให้หลักประกันใช้ในการประกอบธุรกิจและxxxxxต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจxxxxxxxผู้ให้หลักประกันนํามาใช้เป็นประกันการชําระหนี้ ซึ่งผู้ให้หลักประกัน อาจโอนบรรดาทรัพย์สินและxxxxxต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องนั้นให้แก่บุคคลอื่นในลักษณะที่ผู้รับโอนxxxxxxประกอบ ธุรกิจดังกล่าวต่อไปได้ทันที
๒. xxxxxเรียกร้อง หมายถึง xxxxxxxxจะได้รับชําระหนี้และxxxxxอื่น ๆ แต่ไม่หมายความรวมถึงxxxxxxxxมี
ตราสาร
๓. สังหาริมทรัพย์ ได้แก่ xxxxxxxxxxxxxxxxxผู้ให้หลักประกันใช้ในการประกอบธุรกิจ xxxx xxxxxxxxxxx
สินค้าคงคลัง หรือวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตสินค้า
๔. อสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ อสังหาริมทรัพย์ในกรณีที่ผู้ให้หลักประกันประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
โดยตรง
๕. xxxxxxxxxxxxxxxxx (Intellectual Property) หมายถึง ผลงานอันเกิดจากการxxxxxxxx คิดค้น
หรือสร้างสรรค์ของมนุษย์ ซึ่งxxxxxxxผลผลิตของxxxxxxxxและความชํานาญ โดยไม่คํานึงถึงชนิดของการสร้างสรรค์ หรือวิธีในการแสดงออก ทรัพย์สินทางxxxxxxxxแสดงออกในรูปแบบของสิ่งที่จับต้องxxx xxxx สินค้าต่าง ๆ หรือในรูป ของสิ่งที่จับต้องไม่xxx xxxx บริการ แนวคิดในการดําเนินธุรกิจ กรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม เป็นต้น ซึ่งในทาง xxxx ทรัพย์สินทางxxxxxแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ (๑) ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม (Industrial Property) หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่เกี่ยวกับสินค้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ ได้แก่ สิทธิบัตร (Patent) แบบผังภูมิ ของวงจรรวม (Layout – Design of Integrated Circuits) เครื่องหมายการค้า (Trademark) ความลับทางการค้า (Trade Secret) ชื่อทางการค้า (Trade Name) และสิ่งบ่งชี้ทางxxxxxxxxxx (Geographical Indication) และ (๒) ลิขสิทธิ์ (Copyright) หมายถึง xxxxxแต่เพียงผู้เดียวของผู้สร้างสรรค์ที่จะกระทําการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ ได้ทําขึ้นตามประเภทลิขสิทธิ์ที่กฎหมายกําหนด ได้แก่ งานประเภทวรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม xxxxxกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง งานแพร่เสียงแพร่ภาพ หรืองานอื่นใดในประเภทงานวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ๑๕ ผู้สร้างสรรค์งานได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายลิขสิทธิ์ทันทีที่มีการ สร้างสรรค์งานขึ้น โดยมิต้องไปจดทะเบียนการได้มาซึ่งxxxxxในลิขสิทธิ์ นอกจากการได้ลิขสิทธิ์มาด้วยการสร้างสรรค์ ด้วยตนเอง ยังอาจได้มาด้วยการรับโอนลิขสิทธิ์จากผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์โดยทางนิติกรรมหรือทางมรดกได้อีกด้วย
๑๓ พระxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx x.x. ๒๕๕๘ มาตรา ๖
๑๔ เรื่องเดียวกัน มาตรา ๗
๑๕ พระxxxxxxxxxxxxxxxxxx x.x. ๒๕๓๗
๖. ทรัพย์สินอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ตามกฎกระทรวงกําหนดให้ทรัพย์สินอื่นเป็นหลักประกัน พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้กําหนดให้ไม้ยืนต้นเป็น
ทรัพย์สินที่ใช้เป็นหลักประกันได้ เพื่อเป็นการxxxxxxxxให้มีการให้หลักประกันทางธุรกิจxxxxxxxขึ้น อันจะเป็น ประโยชน์แก่การประกอบธุรกิจและเศรษฐกิจของประเทศ๑๖ โดยเฉพาะไม้ยืนต้นที่มีxxxxxxในทางเศรษฐกิจ xxxx ต้นไม้ตามบัญชีท้ายกฎหมายว่าด้วยxxxxxx มี ๕๘ ชนิด ได้แก่ xxxxxx พะยูง ชิงชัน xxx xxxx xxx ตะเคียน สะเดา นางพญาเสือโคร่ง xxx ตะแบกนา ไม้สกุลจําปี จามจุรี xxxxxxxxx ราชพฤกษ์ ฯลฯ ถือเป็นทรัพย์สินที่ใช้เป็น หลักประกันทางธุรกิจได้ด้วย
คู่สัญญาหลักประกันทางธุรกิจ ประกอบด้วยผู้ให้หลักประกันและผู้รับหลักประกัน โดยเฉพาะ
ผู้รับหลักประกันนั้นต้องเป็นสถาบันการเงินหรือบุคคลอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวงเท่านั้น๑๗ สถาบัน การเงินที่สําคัญ ๆ ในประเทศไทย๑๘ ได้แก่ ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารเฉพาะกิจ๑๙ (ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารอาคารสงเคราะห์ เป็นต้น) xxxxxxxxxxxxxxxxx โรงรับจํานํา บริษัทเงินทุน บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ บริษัทหลักทรัพย์ บริษัททรัพย์จัดการกองทุน และสถาบัน คุ้มครองเงินฝาก
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร หรือ ธ.ก.ส. เป็นสถาบันการเงินแรกที่ดําเนิน
โครงการธนาคารต้นไม้ โดยเริ่มโครงการมาตั้งแต่ปี ๒๕๕๓ ปัจจุบันมีสมาชิกกว่า ๑ แสนราย ใน ๖,๘๐๔ ชุมชน มีต้นไม้ในโครงการกว่า ๑๑.๗๙ ล้านต้น ธ.ก.ส. ให้สินเชื่อกับเกษตรกรที่อยู่ในโครงการธนาคารต้นไม้ โดยใช้ ต้นไม้เป็นหลักทรัพย์ค้ําประกัน แต่ต้องปลูกในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์ ส่วนการตีxxxxxxนั้นขึ้นอยู่กับประเภทต้นไม้ และขนาด โดยใช้สูตรที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพัฒนาเป็นมาตรฐานกลาง แต่เดิมการให้กู้โดยมีหลักทรัพย์ คือ ที่ดิน โดย ธ.ก.ส. จะให้สินเชื่อร้อยละ ๕๐ ของหลักทรัพย์ แต่ถ้าที่ดินนั้น ปลูกต้นไม้จะxxxxxเป็นร้อยละ ๘๐ ทําให้ ที่ดิน ๑ ไร่ ราคา “หนึ่งล้านบาท” หากไม่ปลูกต้นไม้ กู้ได้เพียง “ห้า แสนบาท” แต่ถ้าปลูกต้นไม้ตามหลักของธนาคารต้นไม้ ธ.ก.ส. จะให้กู้ “แปดแสนบาท” สําหรับเกณฑ์ใช้ต้นไม้ เป็นหลักประกันจะแบ่งเป็น ๔ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มไม้เนื้ออ่อนxxxxxxxxx กลุ่มไม้เนื้อปานกลาง กลุ่มxxxxxx และกลุ่มไม้เนื้อ แข็ง xxxx ไม้พะยูง ส่วนต้นไม้xxxxxxรับเป็นหลักประกัน ได้แก่ ไม้ยางพารา xxคาลิปตัส พญาคชสาร มะพร้าว และxxxxxxไม่xxxxxxแปรรูปก่อสร้างบ้านเรือนได้๒๐
๑๖ กฎกระทรวงกํา👉นดใ👉้ทรัพย์สินอื่นเป็น👉ลักประกัน พ.ศ. ๒๕๖๑. (๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๑). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๕ ตอนที่ ๘๙ ก, หน้า ๑-๒.
๑๗ พระราชบัญญัติ👉ลักxxxxxxxxxxxxxxx x.x. ๒๕๕๘ มาตรา ๓ “สถาบันการเงิน” หมายความว่า (๑) สถาบันการเงิน ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน (๒) บริษัทxxxxxxรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกันชีวิตตามกฎหมายว่าด้วยการ ประกันชีวิตและบริษัทxxxxxxรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยตามกฎหมายว่าด้วยการประกันวินาศภัย (๓) ธนาคาร หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น
๑๘ สถาบันคุ้มครองเงินฝาก. ความรู้ทางการเงินส้าหรับประชาชน: สถาบันการเงิน. สืบค้นxxxxxx ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ จาก
xxxx://xxx.xxx.xx.xx/xxx_xx_xxxx.xxx?xxxx000&xxxxxxxxxxxxxx
๑๙ ค้าสั่งกระทรวงการคลัง ที่ ๔๓๓/๒๕๕๘ ข้อ ๒ สั่ง ณ xxxxxx ๒ เมษายน ๒๕๕๘ สืบค้นxxxxxx ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ จาก
xxxxx://xxx.xxxx.xx.xx/xx/?xx0000)
๒๐ MoNo ๒๙ News: ข่าวดี! ธ.ก.ส. พร้อมปล่อยสินเชื่อ ใช้ต้นไม้เป็น👉ลักค ้าประกัน. สืบค้นxxxxxx ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ จาก xxxxx://xxxx.xxxxx.xxx/xxxxxxx-xxxx/000000.xxxx
xxxxxหน้าที่ของผู้ให้หลักประกัน ผู้ให้หลักประกันมีสิทธิครอบครอง ใช้สอย แลกเปลี่ยน จําหน่าย จ่ายโอน แต่ไม่มีxxxxxนําทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันไปจํานําเพื่อเป็นประกันการชําระหนี้ต่อไป เพราะจะทําให้ การจํานําตกเป็นโมฆะ (มาตรา ๒๒) มีxxxxxตรวจสอบจํานวนหนี้ที่ยังมิได้ชําระ (มาตรา ๒๖) มีxxxxxในการไถ่ถอน ทรัพย์สินที่เป็นหลักประกัน (มาตรา ๒๗) และมีหน้าที่แจ้งให้ผู้รับหลักประกันทราบหากรายละเอียดของ ทรัพย์สินที่เป็นประกันเปลี่ยนแปลงไปจากที่จดทะเบียนตามที่คู่สัญญาตกลงกันไว้ (มาตรา ๒๐ วรรคสอง) ตลอดจน ดําเนินการขอยกเลิกการจดทะเบียนเมื่อหนี้ที่ประกันระงับสิ้นไปด้วยเหตุอื่นใดอันมิใช่เหตุอายุความ หรือเมื่อคู่สัญญาตกลงกันเป็นหนังสือให้ยกเลิกสัญญาหลักประกันทางธุรกิจ หรือเมื่อมีการไถ่ถอนทรัพย์สินที่ เป็นหลักประกัน (มาตรา ๒๑ วรรคหนึ่ง) รวมถึงต้องใช้ความระมัดระวัง ดูแล และxxxxxxxxxทรัพย์สินที่เป็น หลักประกัน (มาตรา ๒๓) ต้องจัดทําบัญชีทรัพย์สินที่เป็นหลักประกัน (มาตรา ๒๔) และต้องยอมให้ผู้รับ หลักประกันเข้าตรวจดูทรัพย์สินที่เป็นหลักประกัน (มาตรา ๒๕)
xxxxxหน้าที่ของผู้รับประกัน ผู้รับประกับมีxxxxxxxxรับค่าเสียหายในกรณีที่ทรัพย์สินที่เป็น
หลักประกันสูญหาย หรือเสื่อมราคาลงอันเนื่องมาจากเหตุที่ผู้ให้หลักประกันต้องรับผิดชอบ (มาตรา ๒๓) xxxxxเข้าตรวจดูทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันและบัญชีทรัพย์สินเป็นครั้งคราว (มาตรา ๒๕) xxxxxxxxรับชําระหนี้ จากทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันก่อนเจ้าหนี้สามัญไม่ว่าxxxxxในทรัพย์สินจะโอนไปยังบุคคลภายนอกแล้วหรือไม่ (มาตรา ๒๙) และมีหน้าที่ดําเนินการขอแก้ไขรายการจดทะเบียนในกรณีคู่สัญญาตกลงแก้ไขรายการจดทะเบียน เป็นประการอื่น หรือในกรณีที่รายละเอียดของทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันเปลี่ยนแปลงไปจากที่จดทะเบียน ตามที่คู่สัญญาตกลงกันไว้ (มาตรา ๒๐ วรรคหนึ่งและวรรคสอง) รวมถึงดําเนินการขอยกเลิกการจดทะเบียน เมื่อมีการจําหน่ายทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันในการบังคับหลักประกันหรือเมื่อทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันหลุด เป็นxxxxxแก่ผู้รับหลักประกัน (มาตรา ๒๖) และออกหนังสือยินยอมให้ยกเลิกการจดทะเบียนแก่ผู้ให้หลักประกัน เมื่อหนี้ที่ประกันระงับสิ้นไปด้วยเหตุอื่นใดอันมิใช่เหตุอายุความ หรือเมื่อคู่สัญญาตกลงกันเป็นหนังสือให้ยกเลิก สัญญาหลักประกันทางธุรกิจ หรือเมื่อมีการไถ่ถอนทรัพย์สินที่เป็นหลักประกัน มิxxxxนั้นหากเกิดความเสียหายผู้รับ หลักประกันต้องชดใช้ค่าเสียหายแก่ผู้ให้ประกัน (มาตรา ๒๘)
ความระงับสิ้นไปแห่งสัญญาหลักประกันทางธุรกิจมี ๔ กรณี (๑) หนี้ที่ประกันระงับสิ้นไป
ด้วยเหตุประการอื่นใดอันมิใช่เหตุอายุความ (๒) ผู้รับหลักประกันและผู้ให้ประกันตกลงกันเป็นหนังสือให้ยกเลิก สัญญาหลักประกันทางธุรกิจ (๓) มีการไถ่ถอนทรัพย์สินหลักประกัน (๔) มีการจําหน่ายทรัพย์สินที่เป็น หลักประกันการบังคับหลักประกันหรือเมื่อทรัพย์สินที่เป็นประกันหลุดเป็นxxxxxแก่ผู้รับหลักประกัน (มาตรา ๘๐) ผู้รับหลักประกันจะบังคับหลักประกันแม้เมื่อหนี้ที่ประกันนั้นขาดอายุความแล้วก็ได้ แต่จะบังคับเอาดอกเบี้ย ที่ค้างชําระxxxxxxxxหลักประกันทางธุรกิจเกินกว่าห้าปีxxxxxx (มาตรา ๘๑)
บทสรุปและข้อเสนอแนะ
หลักประกันxxxxxxxxทางแพ่งที่เป็นหลักประกันด้วยทรัพย์สินหรือหลักประกันด้วยบุคคลใน รูปแบบจํานําต่างกับจํานองตรงที่จํานําต้องส่งมอบทรัพย์สินแก่ผู้รับจํานํา ส่วนจํานองไม่ต้องส่งมอบทรัพย์สิน ให้แก่ผู้รับจํานองแต่นําทะเบียนทรัพย์สินไปให้เจ้าหน้าที่จดแจ้งการจํานองให้ปรากฏตราไว้เป็นประกันการ ชําระหนี้ ซึ่งตราบใดที่ทรัพย์สินยังอยู่ในการยึดถือไว้ของเจ้าหนี้ เจ้าหนี้ก็ยังxxxxxxใช้xxxxxบังคับชําระหนี้ จาก ทรัพย์สินที่จํานอง จํานํา หรือxxxxxxxxxไว้ได้แม้ว่าxxxxxเรียกร้องส่วนที่เป็นประธานจะขาดอายุความแล้วก็ ตาม
ดังนั้น ในการทําสัญญาในรูปแบบของจํานํา จํานองและค้ําประกัน คู่สัญญาควรตระหนักรู้และเข้าใจหลัก กฎหมายที่เกี่ยวข้องในการทําสัญญาอันเป็นหลักประกันทางแพ่งเพื่อxxxxxประโยชน์ของตนโดยชอบด้วย กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และนอกจากนี้ยังมีกฎหมายเฉพาะอื่น ๆ ด้วย อาทิ พระราชบัญญัติxxxxxxxxxxxxx xxxxxx x.x. ๒๕๕๘ ซึ่งกําหนดให้ผู้รับหลักประกันจะต้องเป็นสถาบันการเงินหรือบุคคลอื่นตามที่กําหนดใน กฎกระทรวงเท่านั้น ส่วนผู้ให้หลักประกันจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้ โดยทรัพย์สินที่ใช้เป็น หลักประกันทางธุรกิจxxx xxxx กิจการ xxxxxเรียกร้อง xxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxx xxxถึงทรัพย์สินอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ทั้งนี้ กฎหมายเฉพาะนี้มุ่งหมายเพื่อให้มีการนําทรัพย์สินที่มี xxxxxxทางเศรษฐกิจxxxxxxxxxxxxจํานองหรือจํานําได้ มาใช้เป็นประกันการชําระหนี้ในลักษณะที่ผู้ให้หลักประกัน ไม่ต้องส่งมอบการครอบครองทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันให้แก่ผู้รับประกัน เป็นการxxxxxxxxให้มีการให้ หลักประกันทางธุรกิจxxxxxxxขึ้นอันจะเป็นประโยชน์แก่การประกอบธุรกิจและเศรษฐกิจของประเทศ
ข้อเสนอแนะ
กรณีไม้ยืนต้นเป็นทรัพย์สินอื่นที่ใช้เป็นหลักประกันทางธุรกิจได้ตามกฎกระทรวงนั้น เนื่องจากมาตรา
๗ พระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช ๒๔๘๔ และแก้ไขเพิ่มเติมจากประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับ ที่ ๑๐๖/๒๕๕๗ได้กําหนดให้ชนิดไม้ ๑๘ ชนิด เป็น “xxxxxxxxxxประเภท ก.” ได้แก่ xxxxxx ไม้ยาง ไม้พะยูง เป็น ต้น ไม่ว่าจะขึ้นอยู่ที่ใดในราชอาณาจักร ซึ่งต้องมีการขออนุญาตก่อนตัดโค่น หากมีการใช้ในที่ดินของตนเองโดย xxxxxxรับการอนุญาต จะต้องรับโทษ ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือปรับตั้งแต่ห้าหมื่นบาทถึงสองล้านบาท ประชาชนทั่วไป ได้สะท้อนว่าบทบัญญัตินี้มีขั้นตอนการขออนุญาตที่มีความxxxxxxx โดยที่ทางการขาดการให้ความรู้แก่ประชาชน จึงทําให้ประชาชนจํานวนมากไม่ทราบว่าต้องมีการขออนุญาตในการทําxxxxxxxxxxประเภท ก. ตามชนิดไม้ ดังกล่าว จึงสร้างความหวาดกลัวกับประชาชนว่าหากทําไม้จะถูกจับ มาตราดังกล่าวจึงไม่xxxxxxxxแรงจูงใจให้ เกษตรกรและอุตสาหกรรมxxxxxxอย่างแท้จริง การยกเลิกมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ฯ ก็เพื่อที่จะทําให้ ไม่มีการกําหนดไม้ในประเภทดังกล่าวถูกตีความว่า เป็นxxxxxxxxxxในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครอง ของประชาชนอีกต่อไป อย่างไรก็ตาม การแก้ไขให้ไม้ทุกชนิดในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองตาม ประมวลกฎหมายที่ดินไม่เป็นxxxxxxxxxxนั้น ก็อาจก่อให้เกิดปัญหาในการลักลอบตัดไม้ในเขตที่ดินของรัฐแล้ว นํามาสวมเป็นไม้ในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ดินได้ ดังนั้นจึงเป็นเรื่อง สําคัญที่ภาครัฐควรมีมาตรการที่เกี่ยวข้องกับไม้ยืนต้นให้เกิดความชัดเจนและเหมาะสม
บรรณานุกรม
หนังสือและบทความในหนังสือ
กระทรวงยุติธรรม, กรมบังคับคดี. (๒๕๕๙). คู่มือ👉ลักประกันเพื่อการประกอบธุรกิจ การประกันการชําระ👉นี้ ด้วยบุคคล. (พิมพ์ครั้งที่ ๑, พฤษภาคม ๒๕๕๙) กรุงเทพฯ.
กฎกระทรวงกํา👉นดใ👉้ทรัพย์สินอื่นเป็น👉ลักประกัน พ.ศ. ๒๕๖๑. (๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๑). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๕ ตอนที่ ๘๙ ก.
พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมxxxxxxกฎ👉มายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ๒๐) พ.ศ. ๒๕๕๗. (๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๑ ตอนที่ ๗๗ ก.
พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมxxxxxxกฎ👉มายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๕๘. (๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๘). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๖๓ ก.
พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมxxxxxxกฎ👉มายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๕๘. (๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๑๐๔ ก.
พระราชบัญญัติ👉ลักxxxxxxxxxxxxxxx x.x. ๒๕๕๘. (๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๑๐๔ ก.
xxxx xxxxxxxx. (๒๕๔๘). 👉ลักกฎ👉มายแพ่งตามแนวคิด xxxxxxxxxxx xxxxxxxx. xxxxxxxxxx: กรุงเทพฯ. สํานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, สํานักกฎหมาย. (๒๕๖๑). คู่มือการเขียนบทความวิชาการด้านกฎหมาย.
สํานักการพิมพ์: กรุงเทพฯ.
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
MoNo 29 News: ข่าวดี! ธ.ก.ส. พร้อมปล่อยสินเชื่อ ใช้ต้นไม้เป็น👉ลักค้ําประกัน. สืบค้นxxxxxx ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ จาก xxxxx://xxxx.xxxxx.xxx/xxxxxxx-xxxx/000000.xxxx