รองศาสตราจารย์ ดร. ทันตแพทย์หญิง ดุลยพร ตราชูธรรม และคณะ ซึ่งประกอบด้วย อาจารย์ นักวิจัย และนักศึกษา สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล นับเป็นอีกก้าวของความสําเร็จจากการนําเอาทรัพย์สินทางปัญญาของมหาวิทยาลัยมหิดล...
สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยxxxxx จับมือ xxxxxบิก ผลิตและจําหน่ายซอสจากผัก ภายใต้โครงการวิจัย “ซอสซ่อนผัก” นวัตกรรมทางเลือกเพื่อสุขภาพ
สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยxxxxx ร่วมกับ บริษัท xxxxxบิก (เอเซีย) จํากัด ร่วมลงนามสัญญาอนุญาตให้ใช้ xxxxxเพื่อผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์จากงานวิจัย “ซอสซ่อนผัก และ ซอสซ่อนผักสูตรเด็ก” นวัตกรรมคิดค้นและพัฒนาโดย นักวิจัย สถาบันโภชนาการ xxxxไปxxxxxxxอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย xxxx วิตามิน แร่ธาตุ xxxxxคุณค่าทางโภชนาการ และ ใยอาหาร เป็นทางเลือกให้กับผู้ที่มีปัญหาเรื่องการบดเคี้ยว และเด็กๆxxxxxxไม่ชอบรับประทานผักได้มีสารอาหารxxxxxยงพอรวมถึง ยังเป็นทางเลือกสําหรับคนรักสุขภาพอีกด้วย งานวิจัย “ซอสซ่อนผัก” ได้รับการยอมรับโดยได้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการใน ต่างประเทศ จากผลการทดสอบในกลุ่มผู้xxxxบริโภคอาหารปิ้งย่าง เพื่อศึกษาการกําจัดสารก่อมะเร็งออกจากร่างกาย xxxxxxปนมา กับส่วนที่ไหม้เกรียมจาการปิ้งย่าง พบว่าการรับประทานซอสซ่อนผักในปริมาณพอเหมาะ จะxxxxxxช่วยลดความเสี่ยงในการ ได้รับสารก่อมะเร็งได้อีกด้วย
ดร. xxxxxx xxxxxxxxxx ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลมธุรกิจใหม่และโครงสร้างพื้นฐาน บริษัท ปตท. จํากัด
(มหาชน) และประธานกรรมการ บริษัท xxxxxบิก (เอเซีย) จํากัด เปิดเผยว่า xxxxxบิก (เอเซีย) ดําเนินธุรกิจโภชนาการทาง การแพทย์สําหรับผู้ป่วย และโภชนเภสัช โดยมุ่งเน้นการพัฒนาxxxxxxองค์ความรร่วมกับพันธมิตรและผxxxxxxxxx เพื่อxxxxxxxx
ดูแลสุขภาพของผู้บริโภคแต่ละกลม ให้มีโภชนาการxxxxxและป้องกันโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากพฤติกรรมการบรโภคตามวิถีชีวิต
สมัยใหม่ ซึ่งอาจส่งผลเสียต่อร่างกายในxxxxx xxxxxxx เรื่องโภชนาการถือเป็นสาเหตหลักของความมั่นคงทางด้านสุขภาพและ อาหารxxxxxxxxบิกให้ความสําคัญ การร่วมมือกับผู้เชี่ยวชาญที่มีศักยภาพด้านการวิจัยอย่าง สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยxxxxx ครั้งนี้ xxxxxxxxxxxxxนวัตกรรมงานวิจัยxxxxxxรับการยอมรับจากต่างประเทศ สู่การสร้างผลิตภัณฑ์ของคนไทย โดยมีแผนการผลิต ซอสสตรต้นตํารับและสูตรสําหรับเด็กที่เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย นําร่องจําหน่ายผลิตภัณฑ์บรรจุในรูปแบบซอง ตั้งเป้าออกสู่ ตลาดเชิงพาณิชย์ในไตรมาสที่ 3 ปี 2566 เพื่อxxxxxทางเลือกการทานอาหารให้กับคนไทยทุกวัย ให้ได้รับประโยชน์ ถูกปาก และ สะดวกต่อการรับประทาน อีกทั้งวัตถุดิบในการผลิตซอสซ่อนผักนั้น ยังเป็นผลผลิตจากเกษตรกรไทย ถือเป็นการช่วยxxxxxxxxxxx ให้กับอุตสาหกรรมการเกษตรของประเทศไทย
xxxxxxxxxxxxxx xx. xxxx xxxxxxxxxxxx ผู้อํานวยการสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยxxxxx กล่าวว่า
ผลงานวิจัย “ซอสซ่อนผัก” โดยรองศาสตราจารย์ ดร.ทพญ. xxxxพร ตราชูธรรม อาจารย์ประจําสถาบันโภชนาการ ภายใต้การ สนับสนุนทุนวิจัยจากมหาxxxxxลยมหิดล เกิดจากโจทย์วิจัยว่า ปัจจุบันคนxxxxxพฤติกรรมส่วนใหญ่กินผักผลxxxxxxเพียงพอ คือ กินผักผลxxxxxxถึง 5 ส่วนต่อวันหรือไม่ถึง 400 กรัมต่อวัน ตามที่องค์การอนามัยโลกแนะนํา จากผลสํารวจพบว่ามีคนไทยเพียง ประมาณ 4 ใน 10 คน ที่กินผักผลxxxxxxxxxxตามเกณฑ์แนะนําในแต่ละวัน ขณะที่เด็กวัยเรยนเพียง 2-3 คน จาก 10 คนเท่านั้น ที่กินผักและผลxxxxxxxxxx ซึ่งการจะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้หันมากินผักผลไม้มากขึ้นเป็นเรื่องไม่ง่ายนัก การนําผลิตภัณฑ์ อาหารที่คนxxxxรับประทานอยู่แล้วมาพัฒนาxxxxxx xxxxxคุณค่าทางโภชนาการ ดังxxxx ในรูปของซอสที่xxxxxxรับประทานได้กับ อาหารประเภทต่างๆได้หลากหลาย จึงเป็นทางเลือกหนึ่งสาหรับคนไม่ชอบกินผัก โดยเฉพาะเด็กเล็ก หรือผู้สูงxxxxxxมีปัญหาการบด เคี้ยว ซึ่งความร่วมมือในครั้งนี้ เป็นตัวอย่างความร่วมมือของสถาบันโภชนาการกับภาคเอกชน เพื่อทําให้ผลxxxxxxวิจัยด้าน อาหารและโภชนาการxxxxxxขยายผลสู่วงกว้าง เข้าถึงประชาชนคนไทยได้ง่ายขึ้น
สถาบันโภชนาการ xxxxxxxxxว่าความสําเร็จในการผลตและการตลาดของผลิตxxฑ์ทั้งสองในวันข้างหน้า ซึ่งเริ่มต้นจาก
พิธีในxxxxxx จะเป็นก้าวแรกของการทํางานร่วมกัน ผสานจุดแข็งของทั้งสองฝ่าย นําผลงานวิจัยของสถาบันโภชนาการ ไปสู่ ประชาชนอย่างต่อเนื่องต่อไปในxxxxx สรางทางเลือกให้กับผู้บริโภค
xxxxxxxxxxxxxx xx.xxxxxx xxxxxxxxxxx ผู้อํานวยการบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม กล่าวว่า การลง
นามอนุญาตให้ใช้xxxxxเพื่อการผลตและจําหน่ายผลตxxฑ์ซอสซ่อนผักและซอสซ่อนผักสูตรเด็ก อันเป็นผลงานวิจัยของ
xxxxxxxxxxxxxx xx. ทันตแพทย์หญิง xxxxพร ตราชูธรรม และคณะ ซึ่งประกอบด้วย อาจารย์ นักวิจัย และนักศึกษา สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยxxxxx นับเป็นอีกก้าวของความสําเร็จจากการนําเอาทรัพย์สินทางxxxxxของมหาวิทยาลัยxxxxx ไปสร้างสรรค์นวัตกรรมสู่การใช้ประโยชน์ได้จริงในระดับอุตสาหกรรม โดยการอนุญาตให้ใช้xxxxx หรือ Licensing ทรัพย์สินทาง xxxxxดังกล่าวแก่ บริษัท xxxxxบิก นูทริชั่น จํากัด ซึ่งเป็นผู้นําและคราหวอดในแวดวงธุรกิจโภชนเภสัช (Nutraceutical) ด้าน โภชนาการอาหารเสริมเพื่อสุขภาพ
ในนามของสถาบันบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม หรือ iNT (อิ๊นท์) มหาวิทยาลัยxxxxx ในฐานะหน่วยงานที่มี บทบาทด้านการบรหารจัดการทรัพย์สินทางxxxxx xxความมุ่งมั่น ตั้งใจในการxxxxxxxxการสร้างความร่วมมือ และผลักดัน ผลงานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยxxxxxให้xxxxxxนําไปใช้ประโยชน์ได้จริงทั้งในเชิงพาณิชย์และในเชิง สาธารณประโยชน์ พร้อมทั้งพัฒนาและxxxxxxxxxxคุณภาพชีวิตxxxxxให้กับประชาชนต่อไป
………………………………