PROBLEM RELATING TO THE EMPLOMENT CONTRACT IN PULIC SECTOR : THE CASE STUDY IS AUTONOMOUS UNIVERSITY
ปัญหาเกี่ยวกับสัญญาxxxxบุคลากรภาครัฐ ศึกษากรณี มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ
xxx xxxxxxxxxxxxxx xxxxxxx
วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขากฎหมายเอกชน
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2559
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
ปัญหาเกี่ยวกับสัญญาxxxxบุคลากรภาครัฐ ศึกษากรณี มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ
xxx xxxxxxxxxxxxxx xxxxxxx
วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขากฎหมายเอกชน
xxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxศึกษา 2559 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
PROBLEM RELATING TO THE EMPLOMENT CONTRACT IN PULIC SECTOR : THE CASE STUDY IS AUTONOMOUS UNIVERSITY
BY
MISS XXXXXXXX XXXXXXXXX
A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS FOR THE DEGREE OF MASTER OF LAWS
PRIVATE LAW FACULTY OF LAW
THAMMASAT UNIVERSITY ACADEMIC YEAR 2016
COPYRIGHT OF THAMMASAT UNIVERSITY
Ref. code: 25595601031148HWZ
หัวข้อวิทยานิพนธ์ ปัญหาเกี่ยวกับสัญญาxxxxบุคลากรภาครัฐ ศึกษากรณี มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ
ชื่อผู้เขียน xxxxxxxxxxxxxx xxxxxxx
xxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxx
xxxxxxxx/คณะ/xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
xxxxxxxxxxปรึกษาวิทยานิพนธ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ xx. xxxxxxxx xxxxxxxx ปีการศึกษา 2559
บทคัดย่อ
มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐxxxxxxเป็นองค์การมหาชน ที่มีระบบการบริหารงานเป็นxxxxx xxxอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ระบบราชการทั่วไป โดยเฉพาะบริหารงานบุคคลเป็นไปตามกฎหมายจัดตั้งมหาวิทยาลัย แต่ละแห่ง ทําให้เกิดประเด็นปัญหาทางกฎหมายว่า สัญญาxxxxบุคลากรของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ เป็นสัญญาทางแพ่งหรือสัญญาทางxxxxxx ซึ่งคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาลได้วาง แนววินิจฉัยว่า สัญญาxxxxพนักงานหรือลูกจ้างขององค์การมหาชน เป็นสัญญาทางxxxxxx xxxxxxxxxxxx แนวคําวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาลดังกล่าว ไม่xxxxxxนํามาบ่งชี้ลักษณะทางกฎหมายของสัญญา xxxxบุคลากรของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐได้ เนื่องจากสัญญาxxxxบุคลากรบางประเภทxxxxxxมีลักษณะเป็น สัญญาทางxxxxxx นอกจากนี้ ยังไม่มีบทบัญญัติของกฎหมายใดที่กําหนดให้มหาวิทยาลัยต้องทําสัญญาxxxx บุคลากรโดยจัดทําขึ้นเป็นสัญญาทางxxxxxxเท่านั้น
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มุ่งศึกษาสัญญาxxxxบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเป็น มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ xxxxxxมีการทําสัญญาxxxxบุคลากรในรูปแบบที่หลากหลาย จากการศึกษาพบว่า สัญญาxxxxพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการไม่ว่าจะเป็นสัญญาxxxxอาจารย์ นักวิจัย พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการอื่น และพนักงานสายสนับสนุนวิชาการ เป็นสัญญาทางxxxxxx เนื่องจากวัตถุประสงค์ของสัญญาxxxxเป็นการให้บุคคลเข้าร่วมจัดทําบริการสาธารณะ ส่วนกรณีสัญญาxxxx บุคลากรอื่น xxxx สัญญาxxxxบุคลากรภายนอกมาดํารงตําแหน่งผู้บริหารในมหาวิทยาลัย หากxxxxxxxxxxx เพื่อให้จัดทําภารกิจที่มีความสําคัญและเกี่ยวข้องกับการจัดศึกษาหรืองานสนับสนุนภารกิจหลักของ มหาวิทยาลัย สัญญาดังกล่าวมีลักษณะเป็นสัญญาทางxxxxxx แต่ถ้าxxxxxxxxxxxบุคคลภายนอกมา บริหารงานในส่วนxxxxxxเกี่ยวกับภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย xxxx กรณีสัญญาxxxxผู้จัดการโรงพิมพ์
ผู้จัดการสํานักพิมพ์ ผู้จัดการศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือสัญญาxxxxผู้จัดการสํานักงาน จัดการทรัพย์สินและศูนย์บริการการกีฬา การบริหารงานส่วนนี้ไม่ใช่ภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยและ ไม่เป็นบริการสาธารณะ สัญญาxxxxบุคลากรดังกล่าวจึงไม่เป็นสัญญาทางxxxxxx แต่เป็นสัญญาxxxx แรงงานตามxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ลักษณะทางกฎหมายที่แตกต่างกันของสัญญาxxxxบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทําให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับกฎหมายที่ต้องนํามาบังคับใช้กับxxxxxและหน้าที่xxxxxxxxดังกล่าว เนื่องจากตาม มาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558 xxxxxxxยกเว้นกิจการของมหาวิทยาลัย ไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานและกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ ซึ่งเป็นการ xxxxxxxรองรับตามมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. 2542 ในฐานะที่มหาวิทยาลัย ในกํากับของรัฐเป็นองค์การมหาชน จึงทําให้เกิดปัญหาต่อเนื่องที่ว่ากรณีสัญญาxxxxบุคลากรของ มหาวิทยาลัยที่เป็นสัญญาxxxxแรงงานตามxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ไม่มีxxxxxตามกฎหมายแรงงาน ดังxxxxลูกจ้างxxxxxxxxxxxxแรงงานอื่นๆ หมายความว่าไม่ให้พนักงานหรือลูกจ้างของมหาวิทยาลัยอยู่ภายใต้ กฎหมายสองฉบับดังกล่าว แต่การให้ความคุ้มครองทางกฎหมายเป็นไปตามกฎหมายจัดตั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นกฎหมายเฉพาะกําหนดไว้
การแบ่งแยกประเภทของสัญญาxxxxบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ข้างต้น ทําให้ ทราบเขตอํานาจศาลเหนือคดี รวมทั้งกฎหมายที่นํามาใช้บังคับ กล่าวคือ คดีเกี่ยวกับสัญญาxxxxบุคลากร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่มีสถานะเป็นสัญญาxxxxแรงงาน การเรียกร้องค่าเสียหายเนื่องมาจากการ เลิกxxxxหรือไม่ต่อสัญญาxxxx เป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับxxxxxหรือหน้าที่xxxxxxxxxxxxแรงงาน หรือตาม ข้อตกลงเกี่ยวกับxxxxxxxxxxxตามมาตรา 8 วรรคหนึ่ง (1) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและ วิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 อยู่ในอํานาจพิจารณาพิพากษาของศาลแรงงานซึ่งเป็นศาลยุติธรรม สําหรับสัญญาxxxxบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่มีสถานะเป็นสัญญาทางxxxxxx การฟูxxxxx ขอให้ต่อสัญญาxxxxหรือชดใช้เงินนั้น เป็นการโต้แย้งเกี่ยวกับสัญญา จึงเป็นคดีพิพาทสัญญาทางxxxxxx ตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (4) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาxxxxxx พ.ศ. 2542 ซึ่งอยู่ในอํานาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง
คําสําคัญ : มหาวิทยาลัยในกํากับของของรัฐ, สัญญาxxxxแรงงาน, สัญญาทางxxxxxx
Thesis Title PROBLEM RELATING TO THE EMPLOMENT CONTRACT IN PULIC SECTOR : THE CASE STUDY OF AUTONOMOUS UNIVERSITY
Author Miss Xxxxxxxx Xxxxxxxxx
Degree Master of Law
Department/Faculty/University Private Law Laws
Thammasat University
Thesis Advisor Assistant Professor Xxxxxxx Xxxxxxxxxxx,Ph.D.
Academic Year 2016
ABSTRACT
A national university is a public organization with an autonomous management that is not under the rules of the general bureaucratic system, especially its human resource management that is administrated in accordance with the Statute of each national university. The management of personnel of autonamous university, especially their employment contracts for personnel, causes the legal problem with regard to the legal nature of such employment contract ; whether it is an administrative contract or an contract under the private law. In this regard, the Adjudication Committee for Power and Duty of Court has rendered its decision according to which an employment contract for personnel as concluded by a public organization shall be considered as being an administrative contract. However, the norm created by this decision of the Adjudication Committee for Power and Duty of Court in this case cannot be generally used to apply to all employment contracts concluded by autonamous university because there are some employment contracts entered into by autonamous university that are not an administrative contract. Moreover, there are no dispositions of laws compelling a autonamous university to conclude exclusively an employment contract as being an administrative contract.
This thesis aims to examine the employment contracts for recruiting personnel concluded by Thammasat University, a national university having concluded numerous employment contracts in many different forms. The Author finds that Thammasat University’s employment contract for academic officers and for academic support officers, for example, lecturers, researchers or other academic officers, shall be concluded as being an administrative contract due to the purpose of such employments that is to provide personnel to jointly execute a mission of a public service. For employment contracts for other personnel, for example, an employment contract for executive officer to provide educational services which is significant or services supporting the main mission of the university, it shall be also deemed to be an administrative contract. In other hand, the employment contract for personnel of management who is employed to provide services that is not associated with the main mission of the university, for example, the university’s press manager or printing plant’s manager employment contract, Thammasat University Book Center’s manager employment contract or the Property Management and Sports Office’s manager employment contract, shall not be an administrative contract but it shall be an employment contract under private law in accordance with the provision of the Thai Civil and Commercial Code.
The difference in legal nature of employment contracts concluded by Thammasat University engenders the legal problem regarding to the applicable laws related to rights and obligations under such employment contracts. Since Section 13 of Thammasat University Act of B.E. 2558 (2015), enacted in compliance with the provision of Section 38 of the Public Organization Act B.E. 2542 (1999), provides that the affairs of Thammasat University shall be excluded from the application of the Labor Protection law and Labor Relation Law, Thammasat University’s employees who are employed by the employment contracts under the private law according to the provision of Thai Civil and Code shall not have the same rights provided by the Labor Protect Law as other employees under the private law do. This means that staffs or employees of Thammasat University are not under those two laws but the Statute of Thammasat University, a specific law, shall apply to them.
Such separation of the employment contract for personnel of Thammasat University permits the comprehension regarding the competent jurisdiction who shall be competent to adjudicate the case concerning thereto and the determination of the applicable law ; in the case of the employment contract under the private law, any claim for damage arising the termination or non-renewal of the employment contact shall be a dispute concerning rights and obligations thereunder or to collective agreements in accordance with Section 8, paragraph one (1) of the Act on Establishment of the Labour Court and Labour Dispute Procedure B.E. 2522 (1979). The Labour Court, the special court within the Court of Justice shall be competent to adjudicate the case. Meanwhile, any claim for compensation or for the renewal of the employment contract which is an administrative contract shall be under jurisdiction of the Administrative Court in accordance with Section 9, paragraph one (4), of the Act on Establishment of Administrative Court and Administrative Court Procedure B.E. 2542 (1999).
Keywords : Autonamous University, Employment Contract in private law, Administrative Contract
กิตติกรรมประกาศ
วิทยานิพนธ์เล่มนี้สําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี เนื่องจากได้รับความxxxxxและการxxxxxx xxxเป็นประโยชน์จากคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ทุกท่าน รวมทั้งกําลังใจและความช่วยเหลือจาก ทุกฝุาย ผู้เขียนขอขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ xx.xxxxxxxx xxxxxxxx กรรมการและxxxxxxx xxxปรึกษาวิทยานิพนธ์เป็นอย่างสูง ที่รับเป็นxxxxxxxxxxปรึกษาให้แก่ผู้เขียน ซึ่งท่านอาจารย์ได้xxxxx xxxxxให้คําปรึกษา ข้อเสนอแนะ ในการแก้ไขวิทยานิพนธ์ทุกขั้นตอนแก่ผู้เขียนมาโดยตลอด รวมทั้ง ให้เวลาผู้เขียนได้วิเคราะห์ประเด็นเนื้อหาวิทยานิพนธ์อย่างเต็มที่ อีกทั้งท่านยังให้กําลังใจในยามที่ผู้เขียน รู้สึกท้อถอย ท่านคือxxxxxxxxxxปรึกษาxxxxxที่สุดในชีวิตของผู้เขียน และที่สําคัญยิ่งขอขอบพระคุณ ศาสตราจารย์ xx. xxxxxxx xxxxxxxxx xxxxxxกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ผู้xxxxxxxxxxxxxxx xx. xxxxxxxxx xxxxx และผู้ช่วยศาสตราจารย์ xx. xxxxxxx xxxxxxxxxxxxx กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ทุกท่าน ที่xxxxxให้ คําแนะนําและข้อxxxxxxxxxเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการปรับร่างวิทยานิพนธ์ ตั้งแต่ ชั้นสอบเค้าโครง วิทยานิพนธ์ จนกระทั่งวันสอบปิดเล่ม ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
ขอขอบคุณxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx และxxxxxxxxxxx โล่xxxxxxxx ที่อยู่ด้วยกันมาตลอด ไม่เคยทิ้งกันไปไหน ตั้งแต่วันแรกที่เข้าศึกษาxxxxxxโท คอยช่วยเหลือผู้เขียนในเรื่องต่าง ๆ ที่ผู้เขียน ไม่xxxxxxดําเนินการได้เอง ขอบคุณxxxxxxxxราภรณ์ เรืองศักดิ์ และxxxxxxxxx xxxxxxxxx ที่มีความ xxxxxxxxxต่อผู้เขียนด้วยใจจริง คอยช่วยเหลือดูแลในยามที่ผู้เขียนมีความเครียดจากการจัดทํา วิทยานิพนธ์เล่มนี้ ขอขอบคุณเป็นอย่างมาก
ขอขอบคุณเพื่อนพี่น้องกลุ่มค้นคว้าและเปรียบเทียบคําพิพากษา สํานักอธิบดีศาล xxxxxxกลาง กล่าวคือ คุณxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxx xxxxxxx คุณกษิตาภา xxxxxxx xxx xxนิดตรี ยี่ฉุ้น xxxxxxxxxxxxx xxx xxxxxxxxx xxxxxxxxxxx และคุณxxxxx ครุฑแสน ที่มีความเข้าใจ คอยห่วงใยและให้กําลังใจผู้เขียนเสมอมา รวมทั้งให้ข้อคิดเห็นในการจัดทําวิทยานิพนธ์ และคอย ช่วยเหลือเรื่องงานประจําแก่ผู้เขียน ทําให้ผู้เขียนมีเวลาจัดทําวิทยานิพนธ์เล่มนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คุณกษิตาภา ซึ่งคอยช่วยเหลือผู้เขียนในหลาย ๆ เรื่องมาโดยตลอด ทั้งยังได้ขับรถพาผู้เขียนมาส่ง วิทยานิพนธ์ในช่วงที่ผู้เขียนมีร่างกายอ่อนล้า ผู้เขียนซาบซึ้งใจเป็นอย่างมาก และขอขอบพระคุณ xxxxxศักดิ์ วังxxxxxxx ผู้อํานวยการกลุ่มค้นคว้าฯ ที่xxxxxผู้เขียนในช่วงที่จัดทําวิทยานิพนธ์รวมถึงให้ คําแนะนําแก่ผู้เขียนในช่วงก่อนสอบปิดเล่ม ขอบคุณxxxxxxxxxxx xxxxxxx และxxxxxxxxxx xxxxxใหม่ xxxxxxxxxxxxxผู้เขียนในการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับคําวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาล ขอขอบคุณ ทุกท่านมา ณ โอกาสนี้
เหนือสิ่งอื่นใด ผู้เขียนขอกราบขอบพระคุณบิดามารดา ซึ่งเป็นบุคคลที่สําคัญที่สุดใน ชีวิตผู้เขียนเป็นผู้อยู่เบื้องหลังความสําเร็จของผู้เขียนในทุกเรื่อง คอยให้ความช่วยเหลือและให้กําลังใจ แก่ผู้เขียนมาโดยตลอด ในยามที่ผู้เขียนท้อแท้ หมดกําลังxx xxxxยังxxอยู่เคียงข้างผู้เขียนเสมอมา ขอขอบคุณพี่สาวของผู้เขียนxxxxxxให้กําลังใจ และคอยดูแลบิดามารดาแทนผู้เขียนในระว่างที่ผู้เขียน จัดทําวิทยานิพนธ์เล่มนี้ และสุดท้ายนี้ ขอบคุณคุณxxxxxx ธนxxxxxxxxx xxxคอยให้กําลังใจและอยู่เคียง ข้างผู้เขียนเสมอมา
หากวิทยานิพนธ์เล่มนี้มีข้อบกพร่องหรือผิดพลาดประการใด ผู้เขียนขอน้อมรับไว้แต่
เพียงผู้เดียว
xxxxxxxxxxxxxx xxxxxxx
สารบัญ | ||
บทคัดย่อภาษาไทย | หน้า (1) | |
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ | (3) | |
กิตติกรรมประกาศ | (6) | |
บทที่ 1 บทนํา | 1 | |
1.1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา | 1 | |
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา | 7 | |
1.3 ขอบเขตการศึกษา | 7 | |
1.4 วิธีดําเนินการศึกษา | 8 | |
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ | 8 |
บทที่ 2 แนวคิดพื้นฐานและวิxxxxxเกี่ยวกับบุคลกรภาครัฐในประเทศไทย 9
2.1 แนวคิดพื้นฐานและวิxxxxxเกี่ยวกับบุคลกรภาครัฐในประเทศไทย 9
2.1.1 ความเป็นมาของหน่วยงานของรัฐในระบบกฎหมายไทย 9
2.1.2 ประเภทของหน่วยงานของรัฐ 10
2.1.2.1 ส่วนราชการ 10
2.1.2.2 รัฐวิสาหกิจ 12
2.1.2.3 องค์การมหาชน 13
2.1.2.4 หน่วยงานอื่นของรัฐ 14
(1) องค์กรของรัฐที่เป็นxxxxx 14
(2) องค์กรศาล 15
(3) องค์กรxxxxxx 16
(4) กองทุนที่เป็นนิติบุคคล 16
(5) หน่วยงานxxxxxxรับมอบหมายให้ใช้อํานาจทางxxxxxx หรือดําเนิน 17 กิจการทางxxxxxx
2.2 การบริหารงานบุคลากรภาครัฐในประเทศไทย 17
2.2.1.บุคลากรประเภทข้าราชการ 18
2.2.2.พนักงานหน่วยงานของรัฐ 21
2.2.2.1 พนักงานราชการ 21
2.2.2.2 พนักงานมหาวิทยาลัย 22
2.2.2.3 พนักงานรัฐวิสาหกิจ 23
2.2.2.4 พนักงานขององค์การมหาชน 23
2.2.2.5 พนักงานของรัฐในกระทรวงสาธารณสุข 23
2.2.2.6 พนักงานของหน่วยงานxxxxxxขององค์กรxxxxx 24
2.2.2.7 พนักงานขององค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่น 24
2.2.3 ลูกจ้างหน่วยงานของรัฐ 25
2.2.3.1 ลูกจ้างของส่วนราชการ 25
2.2.3.2 ลูกจ้างของหน่วยงานอื่นที่ไม่ใช่ส่วนราชการ 26
(1) ลูกจ้างของรัฐวิสาหกิจ 26
(2) ลูกจ้างขององค์การมหาชน 26
2.2.4.วัตถุประสงค์และการบริหารงานของบุคลากรภาครัฐในประเทศไทย 26
บทที่ 3 สัญญาxxxxบุคลากรของวิทยาลัยในกํากับของรัฐ 36
3.1 มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศไทย 37
3.1.1 แนวคิดพื้นฐานและวิวัฒนาการมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศไทย 37
3.1.1.1 ยุคการก่อตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นในประเทศไทยเป็นครั้งแรก 37
3.1.1.2 แนวคิดในการนํามหาวิทยาลัยออกนอกระบบ 38
3.1.1.3 การก่อตั้งมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ 39
3.1.2 ความหมายและสถานภาพของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศไทย 41
3.1.2.1 ความหมายของมหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ 41
3.1.2.2 สถานภาพของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ 42
3.1.3 การจัดตั้งและรูปแบบการบริหารงานของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ 44
ในประเทศไทย
3.1.4 การกํากับและตรวจสอบมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศไทย 51
3.2 การบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ : กรณีศึกษามหาวิทยาลัย 52
ธรรมศาสตร์
3.2.1 ความนําเกี่ยวกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 52
3.2.1.1 โครงสร้างของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการแบ่งส่วนงาน 53
ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3.2.1.2 รายได้และทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 62
3.2.1.3 การกํากับดูแลมหาวิทยาลัย 64
3.2.1.4 กิจการของมหาวิทยาลัย 64
(1) กิจการบริการสาธารณะ 64
(2) กิจการประเภทอื่น 65
3.2.2 บุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 68
3.2.2.1 บุคลากรประเภทข้าราชการ 68
3.2.2.2 บุคลากรประเภทผู้บริหาร 68
3.2.2.3 พนักงานมหาวิทยาลัย 71
3.2.2.4 บุคลากรประเภทอื่น 73
3.3. ปัญหาสัญญาxxxxบุคลากรของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศไทย 76
3.3.1 ปัญหาเรื่องสถานะของสัญญาxxxxบุคลากรของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ 77
ในประเทศไทย
3.3.1.1 สัญญาxxxxแรงงาน 77
(1) การเกิดของสัญญาxxxxแรงงาน 78
(2) ขอบเขตของสัญญาxxxxแรงงาน 80
(3) ลักษณะของสัญญาxxxxแรงงาน 81
3.3.1.2 สัญญาทางxxxxxx 83
(1) นิยามของสัญญาทางxxxxxxในระบบกฎหมายไทย 83
(2) องค์ประกอบของสัญญาทางxxxxxx 84
(3) สัญญาทางxxxxxxในระบบกฎหมายฝรั่งเศส 86
(4) สัญญาทางxxxxxxในระบบกฎหมายเยอรมัน 90
3.3.1.3 การแบ่งแยกสัญญาทางแพ่งออกจากสัญญาทางxxxxxx 93
(1) หลักเกณฑ์การแบ่งแยกสัญญาทางแพ่งออกจากสัญญา 94
ทางxxxxxx
(2) การแบ่งแยกสัญญาทางแพ่งออกจากสัญญาทางxxxxxx 94
ของประเทศฝรั่งเศส
(3) การแบ่งแยกสัญญาทางแพ่งออกจากสัญญาทางxxxxxx 96
ของประเทศเยอรมนี
(4) การแบ่งแยกสัญญาทางแพ่งออกจากสัญญาทางxxxxxx 97
ของประเทศไทย
3.3.2 ปัญหาเรื่องเขตอํานาจศาลเกี่ยวกับสัญญาxxxxบุคลากรของมหาวิทยาลัย 98
ในกํากับของรัฐ
3.3.2.1 ศาลแรงงานและศาลปกครองในประเทศไทย 99
3.3.2.2 ศาลแรงงานและศาลปกครองในต่างประเทศ 103
3.3.2.3 แนวคําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ 107
ระหว่างศาลและแนวคําพิพากษาของศาล
3.4. มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในต่างประเทศ 118
3.4.1 มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐของประเทศฝรั่งเศส 118
3.4.1.1 โครงสร้างของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศฝรั่งเศส 118
3.4.1.2 การบริหารงานบุคคลในมหาวิทยาลัยฝรั่งเศส 118
3.4.1.3 สถานภาพมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศฝรั่งเศส 121
3.4.1.4 สถานะบุคลากรของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศฝรั่งเศส 122
3.4.1.5 สถานะของสัญญาxxxxบุคลากรมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐของ 124
ประเทศฝรั่งเศส
3.4.2 มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐของประเทศอังกฤษ 125
3.4.2.1 โครงสร้างของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศอังกฤษ 125
3.4.2.2 สถานภาพมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศอังกฤษ 126
3.4.2.3 สถานะบุคลากรมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐของประเทศอังกฤษ 127
3.4.2.4 สถานะของสัญญาxxxxบุคลากรมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐของ 128
ประเทศอังกฤษ
3.4.3 มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐของประเทศออสเตรเลีย 128
3.4.3.1 โครงสร้างมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐของประเทศออสเตรเลีย 128
3.4.3.2 สถานภาพมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐของประเทศออสเตรเลีย 128
3.4.3.3 สถานะบุคลากรมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐของประเทศออสเตรเลีย 129
3.4.3.4 สถานะของสัญญาxxxxบุคลากรมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐของ 129 ประเทศออสเตรเลีย
บทที่ 4 วิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับสัญญาxxxxบุคลากรของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ 131
4.1 ปัญหาเกี่ยวกับสถานะสัญญาxxxxบุคลากรของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ 132
4.1.1 ปัญหาเกี่ยวกับสถานะของสัญญาxxxxบุคลากรมหาวิทยาลัย 137
ธรรมศาสตร์
4.1.2 สัญญาxxxxบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตามสถานะเดิม 145
4.1.2.1 บุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตามสถานะเดิม 145
4.1.2.2 ความxxxxxxxxระหว่างบุคลากรกับมหาวิทยาลัยตามสถานะเดิม 150
4.1.3 สัญญาxxxxพนักงานมหาวิทยาลัยภายหลังเปลี่ยนสถานะเป็นมหาวิทยาลัย 150
ในกํากับของรัฐ
4.1.3.1 บุคลากรที่มีสถานะเป็นข้าราชการ 152
4.1.3.2 สัญญาxxxxพนักงานมหาวิทยาลัย 152
4.1.4 สัญญาxxxxบุคลากรอื่น 159
4.1.4.1 กรณีบุคลากรภายนอกมาดํารงตําแหน่งผู้บริหารในมหาวิทยาลัย 159
4.1.4.2 สัญญาxxxxบุคลากรของสํานักงานด้านให้บริการหรือจัดหารายได้ 163
4.2 เขตอํานาจศาลที่พิจารณาคดีเกี่ยวกับสัญญาxxxxบุคลากรของมหาวิทยาลัยใน 167
กํากับของรัฐ
4.2.1 ปัญหาเกี่ยวกับเขตอํานาจศาล 167
4.2.2 ปัญหาแนวคําวินิจฉัยของศาลในคดีสัญญาxxxxบุคลากรมหาวิทยาลัย 173
4.3 การเยียวยาบุคลากรของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐกรณีเลิกxxxxหรือ 180
ไม่ต่อสัญญาxxxx
4.3.1 การเลิกxxxxก่อนสิ้นสุดระยะเวลาxxxx 180
4.3.2 การเลิกxxxxเมื่อสิ้นสุดxxxxxxxxxxxxและหน่วยงานไม่ต่อสัญญาxxxx 184
บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ 186
5.1 บทสรุป 186
5.2 ข้อเสนอแนะ 193
บรรณานุกรม 195
ประวัติผู้เขียน 202
บทที่ 1 บทนํา
1.1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา
การบริหารงานบุคคลภาครัฐแนวใหม่ มีวัตถุประสงค์ในการปรับลดขนาดกําลังคนของ หน่วยงานราชการให้เหมาะสมกับภารกิจxxxxxxรับมอบหมายมีความยืดหยุ่นมากขึ้น และเพื่อเป็นการลด ภาระค่าใช้จ่ายของรัฐ จึงมีการxxxxบุคลากรภาครัฐเพื่อxxxxxการแต่งตั้งข้าราชการมากขึ้น ปัจจุบัน บุคลากรภาครัฐในประเทศไทยทั้งของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และหน่วยงานอื่นxxx xxxรับมอบหมายให้ดําเนินการทางxxxxxx มีหลายประเภทxxxxxxxเป็นข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานขององค์การมหาชน พนักงานหรือลูกจ้างหน่วยงานรัฐ ซึ่งพนักงานหรือ ลูกจ้างจะเข้ามาปฏิบัติงานในหน่วยงานรัฐดังกล่าวได้ด้วยการทําสัญญาxxxx โดยต้องผ่านการสอบแข่งขัน หรือสอบสัมภาษณ์ตามxxxxxxxหลักเกณฑ์ที่หน่วยงานนั้น ๆ กําหนด เมื่อสอบแข่งขันผ่านตามหลักเกณฑ์ ที่กําหนดแล้ว หน่วยงานราชการก็จะทําสัญญาxxxxบุคคลเหล่านั้นให้ปฏิบัติงานxxxxxxxx โดยกําหนด ระยะเวลาสิ้นสุดสัญญาxxxxไว้ เมื่อสัญญาxxxxสิ้นสุดแล้วหน่วยงานของxxxxxxพิจารณาต่อสัญญาได้ตาม ความเหมาะสมและความจําเป็นของแต่ละหน่วยงาน โดยทั่วไปก่อนครบกําหนดระยะเวลาการxxxx หน่วยงานรัฐจะประเมินผลการปฏิบัติงานบุคคลเหล่านั้นก่อน หากบุคคลเหล่านั้นไม่ผ่านการประเมินผล การปฏิบัติงานก็ย่อมxxxxxxรับพิจารณาให้ต่อสัญญาxxxx ทําให้เมื่อครบกําหนดระยะเวลาxxxx สัญญาxxxx ย่อมสิ้นสุดลง หรือบางกรณีสัญญาxxxxบุคลากรภาคxxxxxxสิ้นสุดลงก่อนครบกําหนดระยะเวลาการxxxxxxxxx xxxx กรณีพนักงานหรือลูกจ้างกระทําผิดxxxxx หรือไม่ผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทําให้เป็นผู้ไม่ เหมาะสมในการปฏิบัติงานต่อไปxxxxxxxx หรือมีการยุบหรือยกเลิกส่วนงาน หรือความเจ็บปุวยของ พนักงานหรือลูกจ้าง เป็นต้น เป็นเหตุให้หน่วยงานใช้xxxxxบอกเลิกสัญญาxxxxหรือไม่ต่อสัญญาxxxxให้ ทําให้ พนักงานหรือลูกจ้างที่xxxxxxxxกระทบดังกล่าว นําคดีมาฟูองต่อศาลโดยมีคําขอให้เพิกถอนคําสั่งเลิกxxxx และให้พิจารณาต่อสัญญาxxxxให้ หรือขอให้เพิกถอนคําสั่งxxxxxxให้ตนผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน หรือขอให้ชดใช้เงิน เป็นต้น
ดังที่กล่าวมาแล้วว่า พนักงาน ลูกจ้างในหน่วยงานของรัฐมีความหลากหลาย นอกจากนี้ ยังมีพนักงานมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นพนักงานของหน่วยงานรัฐอีกประเภทหนึ่งที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย แต่เดิมมหาวิทยาลัยในประเทศไทยมีทั้งมหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐมาตั้งแต่แรก จัดตั้ง สถาบันราชภัฏ และมหาวิทยาลัยเอกชน โดยมหาวิทยาลัยดังกล่าวจะมีสถานะแตกต่างกัน กล่าวคือ มหาวิทยาลัยของรัฐxxxxxxเป็นส่วนราชการ มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐxxxxxxเป็นองค์การ
มหาชน ส่วนมหาวิทยาลัยเอกชนxxxxxxเป็นเอกชน การบริหารงานต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัยย่อมมีความ แตกต่างกัน โดยมหาวิทยาลัยของรัฐมีการดําเนินการบริหารงานต่าง ๆ ตามxxxxxxx ข้อบังคับ และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง ทั้งเรื่องการบริหารงานภายในมหาวิทยาลัย การบริหารงานบุคคล หรือการงบประมาณซึ่งได้รับ จากสนับสนุนจากรัฐบาล ซึ่งบางครั้งการบริหารงานอาจมีความล่าช้า ไม่มีความเป็นxxxxx ทําให้ไม่xxxxxx ตอบxxxxความต้องการได้ รวมxxxxxxบริหารงานไม่xxxxxxxxxxxวัตถุประสงค์ได้เท่าที่ควร เพื่อให้ มหาวิทยาลัยมีการดําเนินงานที่มีความเป็นxxxxx xxxxxxxx และxxxxxxตอบxxxxความต้องการได้ อย่างเหมาะสม จึงมีการพัฒนามหาวิทยาลัยของรัฐจากเดิม ซึ่งเป็นส่วนราชการไปสู่มหาวิทยาลัยใน กํากับของรัฐ ทําให้การบริหารจัดการในมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐมีความเป็นxxxxxแยกจากระบบ ราชการ (autonomous university) แต่ยังได้รับเงินอุดหนุนทั่วไป (block grant) ที่รัฐจัดสรรให้เป็น รายปีโดยตรง เพื่อใช้จ่ายตามความจําเป็นในการดําเนินการตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และ เพื่อประกันคุณภาพการศึกษา1 โดยมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐxxxxxxเป็นองค์การมหาชน มีการ บริหารงานในด้านต่าง ๆ ที่เป็นxxxxx และมีความxxxxxxxx ทําให้ภารกิจของหน่วยงานxxxxxตาม วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ปัจจุบันประเทศไทยมีมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐทั้งสิ้น 26 แห่ง มหาวิทยาลัยเหล่านี้xxxxxx ขึ้นอยู่กับระบบราชการหรือไม่อยู่ในสายบังคับบัญชาของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา แต่การ จัดตั้งมหาวิทยาลัยนั้นอาศัยกฎหมายจัดตั้งมหาวิทยาลัยในแต่ละฉบับ โดยเฉพาะในเรื่องการบริหารงาน บุคคล มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐจะxxxxxxxxx ข้อบังคับที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของตนเอง ซึ่ง แต่ละแห่งจะมีความแตกต่างกัน และการxxxxบุคลากรเข้ามาปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย ก็มีความแตกต่าง กันไปด้วย โดยบุคลากรที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในปัจจุบัน xxxxxxเป็นพนักงาน มหาวิทยาลัย ซึ่งพนักงานมหาวิทยาลัยมีหลายประเภท xxxx พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ และบุคลากรอื่นที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยในกํากับ ของรัฐ เมื่อxxxxxxx ข้อบังคับ หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการxxxxพนักงานมหาวิทยาลัยมีความแตกต่างกัน และกฎหมายที่ใช้บังคับยังไม่ครอบคลุมทุกเรื่อง จึงทําให้มีปัญหาเกี่ยวกับการทําสัญญาxxxxพนักงาน มหาวิทยาลัย คือ ปัญหาเกี่ยวกับสถานะของสัญญาxxxxพนักงานมหาวิทยาลัย ปัญหาเกี่ยวกับเขต อํานาจศาลที่พิจารณาคดีเกี่ยวกับสัญญาxxxxพนักงานมหาวิทยาลัย และปัญหาเกี่ยวกับการแก้ไข เยียวยาพนักงานมหาวิทยาลัยให้ได้รับความเป็นธรรมจากการเลิกxxxxหรือไม่ต่อสัญญาxxxx
1 xxxx xxxxxxกุล, “มหาวิทยาลัยคืออะไร”, สืบค้นเมื่อxxxxxx 20 มีนาคม 2560, xxxxx://xx.xxxxxxxxx.xxx/
ความสําคัญของปัญหาที่นํามาสู่การนําเสนอประเด็นเกี่ยวกับสัญญาxxxxบุคลากรของ มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ เนื่องจากคดีเกี่ยวกับสัญญาxxxxบุคลากรของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย มีการนําคดีมาฟูองต่อศาลเป็นจํานวนมากขึ้น โดยนําคดีมาฟูองทั้งต่อศาลแรงงานและศาลปกครอง กรณีศาลแรงงานจะวินิจฉัยว่า คดีเกี่ยวกับสัญญาxxxxบุคลากรของรัฐ เป็นสัญญาxxxxแรงงาน เนื่องจาก การเรียกร้องค่าเสียหายเนื่องมาจากการเลิกxxxxหรือไม่ต่อสัญญาxxxxมีลักษณะเป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับ xxxxxหรือหน้าที่xxxxxxxxxxxxแรงงาน หรือตามข้อตกลงเกี่ยวกับxxxxxxxxxxxตามมาตรา 8 วรรคหนึ่ง
(1) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 xxxxxxxในอํานาจพิจารณา พิพากษาของศาลแรงงานงานซึ่งเป็นศาลยุติธรรม ส่วนกรณีศาลปกครองจะวินิจฉัยว่าคดีประเภทนี้เป็น สัญญาทางxxxxxx เนื่องจากสัญญาxxxxบุคลากรของมหาวิทยาลัยxxxxxxxxxxxบุคคลให้เข้ามาดําเนินการ จัดการศึกษาอันเป็นการจัดทําบริการสาธารณะ การฟูองขอให้ต่อสัญญาxxxxหรือชดใช้เงินนั้น เป็นการ โต้แย้งเกี่ยวกับสัญญา จึงเป็นสัญญาทางxxxxxxตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (4) แห่งพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาxxxxxx พ.ศ. 2542 ซึ่งอยู่ในอํานาจพิจารณาพิพากษาของศาล xxxxxx จะเห็นได้ว่ามีการนําคดีประเภทนี้มาฟูองต่อศาลแรงงานและศาลปกครอง และถ้าไม่มีคู่กรณี โต้แย้งเขตอํานาจศาล ทั้งสองศาลก็จะพิจารณาพิพากษาคดีนั้นต่อไป แต่หากมีการโต้แย้งเขตอํานาจ ศาลขึ้น ก็จะมีการนําคดีขึ้นสู่คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาล โดยคณะกรรมการ จะพิจารณาว่าคดีนั้นอยู่ในอํานาจของศาลใดระหว่างศาลแรงงานกับศาลปกครอง ซึ่งคําวินิจฉัยชี้ขาด ของคณะกรรมการมีผลผูกพันเฉพาะคดีนั้น ๆ xxxxxxเป็นการสร้างxxxxxxxxxxxxชัดเจนว่าคดีxxxxxอง เกี่ยวกับการเลิกxxxxหรือไม่ต่อสัญญาxxxxและเรียกค่าเสียหาย เป็นสัญญาxxxxแรงงานหรือสัญญาทาง xxxxxx แต่คณะกรรมการจะพิจารณาข้อเท็จจริงเป็นรายกรณีไป ทําให้ผลของคําวินิจฉัยชี้ขาดมีxxxxxxx เป็นสัญญาxxxxแรงงาน และสัญญาทางxxxxxx xxxทําให้เกิดความสับสนว่าคดีเกี่ยวกับสัญญาxxxx บุคลากรของมหาวิทยาลัยดังกล่าว อยู่ในอํานาจพิจารณาพิพากษาของศาลใด และอาจทําให้ประชาชน เข้าใจคลาดเคลื่อนว่าคดีลักษณะนี้xxxxxxนําฟูองxxxxxxxต่อศาลแรงงานและศาลปกครอง ทําให้xxxxxxx เลือกฟูxxxxxต่อศาล โดยประชาชนจะเลือกฟูxxxxxต่อศาลที่พิจารณาพิพากษาให้ประโยชน์ แก่ตน มากกว่า อันเป็นการดําเนินการไม่ถูกต้อง จึงเป็นปัญหาที่ต้องxxxxxxขึ้นมาวิเคราะห์ว่าคดีเกี่ยวกับ การเลิกxxxxหรือไม่ต่อสัญญาxxxxบุคลากรของมหาวิทยาลัย เป็นสัญญาxxxxแรงงานหรือสัญญาทาง xxxxxx ตามทฤษฎีและหลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
สืบเนื่องจากเคยมีแนวคําวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาลที่ 36/2548 วาง แนวคิดว่า คดีเกี่ยวกับสัญญาxxxxพนักงานหรือลูกจ้างขององค์การมหาชน เป็นสัญญาทางxxxxxx โดยให้เหตุผล 2 ประการ คือ ประการแรก เหตุผลด้านองค์กร โดยเห็นว่าองค์การมหาชนxxxxบุคลากร เพื่อมาทํางานบริการสาธารณะไม่เป็นสัญญาxxxxแรงงาน เพราะองค์การมหาชนเป็นหน่วยงานของรัฐ และเป็นหน่วยงานทางxxxxxx การที่โจทก์ตกลงเข้าทํางานกับจําเลย xxxxxxxxxxxxxxxเกิดขึ้นเพื่อให้
ลูกจ้างดําเนินงานหรือเข้าร่วมจัดทําบริการสาธารณะอันเป็นความxxxxxxxxตามกฎหมายมหาชน โดย โจทก์ไม่มีอํานาจเจรจาต่อรองเกี่ยวกับสภาการxxxx การระงับข้อพิพาทแรงงาน การนัดหยุดxxx xxx ปิดxxx xxxงดxxxx การจัดตั้งสหภาพแรงงาน ความxxxxxxxxระหว่างโจทก์กับจําเลยจึงเป็นความxxxxxxxx ระหว่างหน่วยงานของรัฐ ซึ่งมีอํานาจเหนือลูกจ้างที่เป็นคู่สัญญาอีกฝุายหนึ่ง เพื่อให้เข้าร่วมปฏิบัติ ภารกิจสาธารณะ และประการที่สอง วัตถุประสงค์ของสัญญา โดยเห็นว่าสัญญาxxxxลูกจ้างดังกล่าว เป็นสัญญาทางxxxxxx เนื่องจากจําเลยxxxxโจทก์เพื่อปฏิบัติภารกิจในการพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีให้xxxxxผล จึงเป็นความxxxxxxxxระหว่างหน่วยงานทางxxxxxxกับลูกจ้างในสังกัดที่มีขึ้น เพื่อร่วมกันจัดทําบริการสาธารณะ ข้อตกลงดังกล่าวจึงเป็นสัญญาทางxxxxxx ซึ่งมีการนําหลักเรื่อง สัญญาที่มีวัตถุประสงค์มีความxxxxxxxxใกล้ชิดกับบริการสาธารณะมาพิจารณาเป็นสําคัญ โดยอธิบาย เพิ่มเติมว่า หากสัญญาxxxxบุคลากรมีวัตถุประสงค์ที่มีความxxxxxxxxใกล้ชิดกับบริการสาธารณะ สัญญา ดังกล่าวย่อมเป็นสัญญาทางxxxxxx2 ซึ่งหากมีการพิจารณาตามแนวทางของคําวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจ หน้าที่ระหว่างศาลที่ 36/2548 ข้างต้น ก็อาจทําให้สัญญาxxxxพนักงานมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐเป็น สัญญาทางxxxxxxxxxทั้งสิ้น ซึ่งอาจไม่เป็นxxxxนั้นเสมอไป เพราะสัญญาxxxxบุคลากรบางประเภท ไม่มีลักษณะเป็นสัญญาทางxxxxxx xxxx สัญญาxxxxพนักงานขับรถ หรือสัญญาxxxxพนักงานทําความ สะอาด เป็นต้น ประกอบกับเมื่อพิจารณามาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. 2542 ซึ่ง xxxxxxxยกเว้นให้กิจการขององค์การมหาชนไม่อยู่ภายใต้กฎหมายคุ้มครองแรงงาน 4 ฉบับ ได้แก่ กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ กฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม และกฎหมายว่าด้วยเงินxxxxx xxxน่าสังเกตว่ามาตรา 38 ดังกล่าว มิได้xxxxxxxยกเว้นกฎหมายแรงงาน ตามxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ อันเป็นการเปิดช่องให้สัญญาxxxxพนักงานองค์การมหาชนบาง ประเภทxxxxxxเป็นสัญญาxxxxแรงงานตามxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์xxx xxxเป็นที่มาให้ผู้เขียน xxxxxxปัญหาดังกล่าวมาศึกษา โดยกําหนดขอบเขตการศึกษาของสัญญาxxxxบุคลากรมหาวิทยาลัย ในกํากับของรัฐเป็นหลัก
เนื่องจากมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศไทยมีทั้งสิ้น 26 แห่ง แต่ละแห่งxxxxxxxxx ข้อบังคับ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานบุคคลเป็นของตนเอง ซึ่งมีความหลากหลาย วิทยานิพนธ์เล่มนี้จึงมุ่งศึกษาประเด็นปัญหาเกี่ยวกับสัญญาxxxxบุคลากรมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ โดย ศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นหลัก เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการกําหนดประเภทของสัญญาxxxx บุคลากรมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ เขตอํานาจศาลที่พิจารณาคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาxxxxพนักงาน มหาวิทยาลัยในกํากับของxxx xxxจะตอบปัญหาว่าสัญญาxxxxบุคลากรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็น
2 กัลยxxxxx xxxxxxx, “การคุ้มครองการทํางานบุคลากรมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ”, (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะxxxxxxxxxx มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2556), น.391.
สัญญาxxxxแรงงานหรือสัญญาทางxxxxxx ผู้เขียนนําหลักการแบ่งแยกสัญญาทางแพ่งออกจากสัญญา ทางxxxxxxมาใช้พิจารณา กล่าวคือ สัญญาใดจะเป็นสัญญาทางxxxxxxxxxสัญญานั้นต้องมีคู่สัญญา อย่างน้อยฝุายหนึ่งฝุายใดเป็นหน่วยงานทางxxxxxx และหลักเกณฑ์ด้านวัตถุแห่งสัญญา 3 โดย พิจารณาวัตถุแห่งสัญญาเกี่ยวข้องกับการจัดทําบริการสาธารณะหรือไม่ อันเป็นแนวคิดตามระบบ กฎหมายของประเทศฝรั่งเศส โดยเห็นว่าสัญญาxxxxพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสาย สนับสนุนวิชาการไม่ว่าจะเป็นสัญญาxxxxอาจารย์ นักวิจัย พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการอื่น และ พนักงานสายสนับสนุนวิชาการ เป็นสัญญาทางxxxxxx เนื่องจากวัตถุประสงค์ของสัญญาxxxxเป็นการ ให้บุคคลเข้าร่วมจัดทําบริการสาธารณะ ส่วนกรณีสัญญาxxxxบุคลากรอื่น xxxx สัญญาxxxxบุคลากร ภายนอกมาดํารงตําแหน่งผู้บริหารในมหาวิทยาลัย หากxxxxxxxxxxxเพื่อให้จัดทําภารกิจที่มี ความสําคัญและเกี่ยวข้องกับการจัดศึกษาหรืองานสนับสนุนภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย สัญญา ดังกล่าวมีลักษณะเป็นสัญญาทางxxxxxx หากมีข้อพิพาทหรือการโต้แย้งxxxxxในสัญญาเกิดขึ้น ศาล xxxxxxxxxเป็นศาลที่มีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีดังกล่าว แต่ถ้าxxxxxxxxxxxบุคคลภายนอกมา บริหารงานในส่วนxxxxxxเกี่ยวกับภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย xxxx กรณีสัญญาxxxxผู้จัดการโรงพิมพ์ ผู้จัดการสํานักพิมพ์ ผู้จัดการศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือสัญญาxxxxผู้จัดการสํานักงาน จัดการทรัพย์สินและศูนย์บริการการกีฬา xxxxxxxxxxxบุคคลภายนอกมาทําหน้าที่บริหารงานในส่วน งานที่ไม่ใช่ภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยและไม่ใช่งานบริการสาธารณะ จึงไม่เป็นสัญญาทางxxxxxx แต่เป็นสัญญาxxxxแรงงานตามxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เมื่อมีข้อพิพาทเกิดขึ้นศาลแรงงาน เป็นศาลที่มีอํานาจพิจารณาพิพากษา
ลักษณะทางกฎหมายที่แตกต่างกันของสัญญาxxxxบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทํา ให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับกฎหมายที่ต้องนํามาบังคับใช้กับxxxxxและหน้าที่xxxxxxxxดังกล่าว เนื่องจากตาม มาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ xxxxxxxยกเว้นกิจการของมหาวิทยาลัยไม่อยู่ภายใต้ บังคับแห่งกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานและกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ ซึ่งเป็นการxxxxxxx รองรับตามมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. 2542 ในฐานะที่มหาวิทยาลัยใน กํากับของรัฐเป็นองค์การมหาชน จึงทําให้เกิดปัญหาต่อเนื่องที่ว่ากรณีของบุคลากรของมหาวิทยาลัย xxxxxxxxxxxxตามxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ไม่มีxxxxxตามกฎหมายแรงงานเหมือนกับ ลูกจ้างxxxxxxxxxxxxแรงงานอื่นๆ หมายความว่าไม่ให้พนักงานหรือลูกจ้างของมหาวิทยาลัยอยู่ ภายใต้กฎหมายสองฉบับดังกล่าว นอกจากนี้ ในคดีเกี่ยวกับสัญญาxxxxบุคลากรมหาวิทยาลัยที่เป็น สัญญาทางxxxxxxนั้น มักจะมีประเด็นปัญหาเกี่ยวกับเงื่อนไขในการฟูxxxxx โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กรณี
3 พรxxxxxxxx xxxศิริยุทธิ์, “ข้อสัญญาxxxxxxเป็นธรรมในการซื้อขายระหว่างหน่วยงานของรัฐ กับเอกชน”, (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะxxxxxxxxxx มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2557), น.144.
เลิกxxxxหรือไม่ต่อสัญญาxxxx โดยผู้ฟูxxxxxมีคําขอให้ต่อสัญญาxxxxหรือรับผู้ฟูxxxxxกลับเข้าทํางาน ตามเดิม หรือขอให้เพิกถอนคําสั่งเลิกxxxx โดยไม่มีคําขอเรื่องค่าเสียหาย แม้ศาลจะเห็นว่าเป็นคดี พิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางxxxxxx แต่ศาลก็ไม่รับคดีไว้พิจารณาหากการฟูxxxxxดังกล่าวไม่เป็นไปตาม เงื่อนไขการฟูxxxxx ซึ่งทําให้พนักงานหรือลูกจ้างxxxxxxxxทางxxxxxxxxxได้รับความเสียหายจากการ เลิกxxxxxxxไม่เป็นธรรม xxxxxxรับการเยียวยาอย่างเหมาะสม ผู้เขียนจึงมีข้อสังเกตว่า สัญญาxxxxบุคลากร มหาวิทยาลัยในส่วนที่เป็นสัญญาทางxxxxxx ซึ่งอยู่ในเขตอํานาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง แต่ศาลกลับไม่รับไว้พิจารณาเพราะเหตุเงื่อนไขการฟูxxxxxดังกล่าว ย่อมไม่เป็นการเยียวยาผู้ฟูองคxx xxx และเป็นประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งมีความสําคัญควรแก่การนํามาศึกษาเพิ่มเติม
ดังนั้น วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ จึงxxxxxxxxxxxจะศึกษาประเด็นปัญหาดังกล่าว โดยศึกษา กฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงรายละเอียดของสัญญาxxxxบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ ศึกษาแนวคําพิพากษาของศาลปกครองที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้มาซึ่งแนวทางที่เหมาะสมในการแก้ไข ปัญหาดังกล่าวต่อไป
อนึ่ง ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับสัญญาxxxxบุคลากรภาครัฐเคยมีการนําเสนอไว้ในวิทยานิพนธ์ เรื่อง การคุ้มครองการทํางานบุคลากรมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ4 โดยเนื้อหาบางส่วนของวิทยานิพนธ์ เล่มดังกล่าวได้วิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาการระงับข้อพิพาทเกี่ยวด้วยสัญญาxxxxบุคลากรมหาวิทยาลัยใน กํากับของรัฐ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับประเด็นที่ผู้เขียนนําเสนอ แต่เหตุผลในการวิเคราะห์มีลักษณะ แตกต่างกันและไม่กระทบต่อสาระสําคัญในประเด็นที่ผู้เขียนได้นําเสนอ อีกทั้งยังมีวิทยานิพนธ์ เรื่อง ปัญหาการแบ่งแยกสัญญาทางxxxxxxออกจากสัญญาทางแพ่ง ศึกษากรณีสัญญาxxxxบุคลากรภาครัฐ ในประเทศไทย5 ที่ศึกษาเกี่ยวสัญญาxxxxบุคลากรบุคลากรภาครัฐในประเทศไทย และเรื่อง ปัญหาทาง กฎหมายเกี่ยวกับเขตอํานาจศาลในคดีพิพาทxxxxxxxxให้ทุนการศึกษาข้าราชการ สัญญาxxxx พนักงานราชการและลูกจ้างของรัฐ6 โดยมีเนื้อหาบางส่วนที่วิเคราะห์เกี่ยวกับสัญญาxxxxพนักงาน มหาวิทยาลัย แต่เหตุผลที่ใช้วิเคราะห์มีความแตกต่างกับที่ผู้เขียนนําเสนอและไม่กระทบต่อ สาระสําคัญxxxxเดียวกัน
4 กัลยxxxxx xxxxxxx, อ้างแล้ว xxxxxxxxxxx 2
5 xxxxษา xxxxxxอินทร์, “ปัญหาการแบ่งแยกสัญญาทางxxxxxxออกจาสัญญาทางแพ่ง : ศึกษากรณีสัญญาxxxxบุคลากรภาครัฐในประเทศไทย”, (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะxxxxxxxxxx มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2554)
6 xxxxxxxx ช่างสลัก, “ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับเขตอํานาจศาลในคดีพิพาทxxxxxxxx ให้ทุนการศึกษาข้าราชการ สัญญาxxxxพนักงานราชการและลูกจ้างของรัฐ”, (วิทยานิพนธ์นิติศาสตร มหาบัณฑิต คณะxxxxxxxxxx มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2553)
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1. เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ โครงสร้างและการบริหารงานของมหาวิทยาลัยใน กํากับของรัฐในประเทศไทยและต่างประเทศ
2. เพื่ อให้ มี ความรู้ และความเข้ าใจเกี่ ยวกั บโครงสร้ างและการบริ หารงานของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจหลักการ และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับ สัญญาของฝุายxxxxxx และหลักเกณฑ์การแบ่งแยกสัญญาทางแพ่งออกจาสัญญาทางxxxxxx
4. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถานะสัญญาxxxxพนักงานมหาวิทยาลัยในกํากับ
ของรัฐ
5. เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเขตอํานาจศาลที่พิจารณาเกี่ยวกับสัญญาxxxx
บุคลากรมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ
1.3 ขอบเขตการศึกษา
ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับสัญญาxxxxบุคลากรภาครัฐ ศึกษากรณีสัญญาxxxxบุคลากร มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ เนื่องจากบุคลากรภาครัฐในประเทศไทยมีขอบเขตและเนื้อหาการศึกษาที่ กว้างมาก วิทยานิพนธ์เล่มนี้จึงมุ่งศึกษาเฉพาะสัญญาxxxxบุคลกรมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ โดยยก กรณีศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นหลัก โดยศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง การบริหารงานมหาวิทยาลัย ในกํากับของรัฐ โครงสร้างและการบริหารงานของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตลอดจนสัญญาxxxx พนักงานมหาวิทยาลัยประเภทต่างๆ และบุคลกรอื่นที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รวมทั้ง ศึกษาหลักกฎหมายที่เกี่ยวกับสัญญาxxxxแรงงาน สัญญาทางxxxxxx และหลักเกณฑ์การแบ่งแยก สัญญาทางแพ่งออกจากสัญญาทางxxxxxx รวมทั้งแนวคําวินิจฉัยของศาล ความเห็นของ คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาลในเรื่องที่เกี่ยวกับสัญญาxxxxพนักงาน มหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย
1.4 วิธีดําเนินการศึกษา
ผู้เขียนได้ศึกษาค้นคว้าวิจัยจากเอกสาร (Documentary Research) และรวบรวม ข้อมูลจากหนังสือ วิทยานิพนธ์ งานวิจัย บทความ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ และแนวคําวินิจฉัยของศาล ยุติธรรม แนวคําวินิจฉัยของศาลปกครอง และความเห็นของคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่
ระหว่างศาล รวมทั้งกฎหมาย xxxxxxx และข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง แล้วนําข้อมูลดังกล่าวมาเรียบเรียง วิเคราะห์ และสรุปผล เพื่อตอบปัญหาเกี่ยวกับสถานะของสัญญาxxxxบุคลากรมหาวิทยาลัยในกํากับ ของรัฐว่าเป็นสัญญาxxxxแรงงานหรือสัญญาทางxxxxxx ซึ่งจะนําไปสู่การพิจารณาเรื่องเขตอํานาจ ศาลที่พิจารณาคดีดังกล่าว รวมทั้งกฎหมายสารxxxxxxxวิธีสxxxxxxxxxxนํามาใช้ อีกทั้งยังได้เสนอแนะ แนวทางแก้ไขกรณีปัญหาเกี่ยวการเยียวยาทางศาลพนักงานหรือลูกจ้างที่xxxxxxxxกระทําจากการ เลิกxxxxหรือไม่ต่อสัญญาxxxxนั้นด้วย
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ทําให้ทราบถึงโครงสร้างและการบริหารงานของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐใน ประเทศไทยและต่างประเทศ
2. ทําให้ทราบถึงโครงสร้างและการบริหารงานของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3. ทําให้ทราบถึงหลักการ และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับสัญญาของ ฝุายxxxxxx และหลักเกณฑ์การแบ่งแยกสัญญาทางแพ่งออกจาสัญญาทางxxxxxx
4. ทําให้ทราบถึงสถานะสัญญาxxxxพนักงานมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศไทย
5. xxxxxxนําหลักกฎหมายดังกล่าวมาวิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาเขตอํานาจศาลแรงงาน และศาลปกครองในการพิจารณาพิพากษาคดีเกี่ยวกับสัญญาxxxxพนักงานมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ ในประเทศไทย
6. ทําให้ทราบแนวทางในการเยียวยาพนักงานมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐที่xxxxxx xxกระทบจากการเลิกxxxxหรือไม่ต่อสัญญาxxxx ให้ได้รับการวินิจฉัยคดีที่ถูกต้องเป็นไปตามหลัก กฎหมายและได้รับความเป็นธรรมจากศาลที่มีอํานาจวินิจฉัยคดีดังกล่าว
บทที่ 2 แนวคิดพื้นฐานและวิxxxxxเกี่ยวกับบุคลกรภาครัฐในประเทศไทย
บุคลากรภาครัฐในประเทศไทย เป็นบุคคลที่ปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยงานภาครัฐ เป็นเครื่องมือ สําคัญอันเป็นกลไกในการขับเคลื่อนหรือดําเนินการจัดทําบริการสาธารณะให้xxxxxวัตถุประสงค์ ซึ่งบุคลากรภาครัฐในประเทศไทยมีxxxxxxxเป็นข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงาน หน่วยงานอื่นของรัฐ และลูกจ้าง ดังนั้น เพื่อให้เข้าใจในเรื่องบุคลากรบุลากรภาครัฐในประเทศไทย จึงมีความจําเป็นต้องแนวคิดและวิวัฒนาการเกี่ยวกับบุคลากรภาครัฐในประเทศไทย ความเป็นมาของ หน่วยงานของรัฐ รวมทั้งประเภทของหน่วยงานของรัฐเนื่องจากมีความxxxxxxxxเกี่ยวข้องกับบุคลากร ภาครัฐนั้น
2.1 แนวคิดพื้นฐานและวิxxxxxเกี่ยวกับบุคลกรภาครัฐในประเทศไทย
2.1.1 ความเป็นมาของหน่วยงานของรัฐในระบบกฎหมายไทย
ประเทศไทยเป็นประเทศรัฐสมัยใหม่ โดยรัฐมีหน้าที่ต้องจัดทําภารกิจต่าง ๆ ให้ สําเร็จลุล่วงเพื่อตอบxxxxความต้องการของประชาชนภายในประเทศ ซึ่งภารกิจของรัฐ คือ หน้าที่ที่ รัฐต้องกระทําเพื่อคุ้มครองประโยชน์มหาชน หรือสิ่งที่กฎหมายมุ่งคุ้มครองปูองกันไม่ว่าจะเป็นชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สินหรือประโยชน์สาธารณะอย่างอื่นที่รัฐพึงจัดการและให้บริการอย่างทั่วถึง1 ภารกิจ ของรัฐแบ่งได้ 2 ประเภท ได้แก่
(1) ภารกิจพื้นฐานของรัฐ2 (Basic function) เป็นภารกิจที่ทําให้รัฐดํารงอยู่ ได้โดยไม่ถูกทําลายหรือสูญสลายไป เรียกว่า ความมั่นคงของรัฐหรือความปลอดภัยของประเทศ มีการ ดําเนินภารกิจ 2 ด้าน ด้านแรก ภารกิจภายนอก ได้แก่ ภารกิจด้านการทหาร มีกระทรวงกลาโหมและ กองทัพเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบ ภารกิจด้านการต่างประเทศ มีกระทรวงการต่างประเทศเป็น หน่วยงานที่รับผิดชอบ xxxxxxxสอง ภารกิจภายใน คือ การดําเนินงานเพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อย และxxxxxxxxภายในชุมชนต่าง ๆ มีศาล เจ้าหน้าที่ตํารวจ เจ้าหน้าที่ฝุายxxxxxxอยู่ภายใต้ความ รับผิดชอบของกระทรวงยุติธรรม
1 xxxxxxx พัฒนาศิริ, “แนวทางความเป็นxxxxxของมหาวิทยาลัยไทย”, (วิทยานิพนธ์ นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะxxxxxxxxxx มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2538), น.5
2 xxxx xxxxxxxx, หลักกฎหมายมหาชนเบื้องต้น, พิมพ์ครั้งที่ 7 (กรุงเทพมหานคร : วิญญูชน, 2554), น.135.
(2) ภารกิจลําดับรอง3 (Secondary function) เป็นภารกิจที่รัฐจัดทําเพื่อ xxxxxxxxxxxxxxxxxและชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้นหรือได้มาตรฐาน ซึ่งเป็นงานด้านการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม โดยภารกิจลําดับรองแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ประเภทแรก ภารกิจด้าน สังคมและวัฒนธรรม หมายถึง ภารกิจด้านการศึกษา สาธารณสุข ศิลปวัฒนธรรม แรงงานและ สวัสดิการสังคม และประเภทที่สอง ภารกิจด้านเศรษฐกิจ หมายถึง ภารกิจด้านอุตสาหกรรมและ พาณิชยกรรม รวมทั้งการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งภารกิจของรัฐดังกล่าว จะมีหน่วยงานของรัฐเป็น ผู้ดําเนินการให้ภารกิจนั้นxxxxxผล จึงถือได้ว่าหน่วยงานของรัฐเป็นตัวแทนของรัฐในการปฏิบัติภารกิจ เพื่อประโยชน์ส่วนรวม หน่วยงานของรัฐดังกล่าว ได้แก่ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นของรัฐ และหน่วยงานxxxxxxรับมอบหมายให้ใช้อํานาจทางxxxxxxหรือดําเนินกิจการทางxxxxxx
2.1.2 ประเภทของหน่วยงานของรัฐ
ดังที่กล่าวมาแล้วว่ารัฐมีภารกิจสําคัญที่ต้องดําเนินการให้xxxxxวัตถุประสงค์ โดย มีหน่วยงานของรัฐเป็นส่วนสําคัญในการดําเนินภารกิจต่าง ๆ ของรัฐ ซึ่งหน่วยงานของรัฐดังกล่าว ได้แก่ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และหน่วยงานอื่นของรัฐ โดยมีรายละเอียดดังนี้
2.1.2.1 ส่วนราชการ
ราชการ หรือ bureaucracy มีความหมายว่า การใช้อํานาจปฏิบัติงาน ราชการของรัฐ หรือการใช้อํานาจปฏิบัติงานราชการของหน่วยงานของรัฐบาล4 ซึ่งส่วนราชการเป็น หน่วยงานที่รับผิดชอบการให้บริการสาธารณะทางxxxxxx (Administrative Public Service) อัน เป็นภารกิจหลักของรัฐ ได้แก่ การรักษาความสงบเรียบร้อย การปูองกันประเทศ การออกกฎxxxxxxx การอนุมัติ การอนุญาตตามกฎหมาย รวมทั้งงานนโยบายต่าง ๆ xxxx การกําหนดxxxxxxxxxxและ แผนพัฒนาประเทศ โดยให้บริการเป็นการทั่วไปและไม่มุ่งกําไร ในส่วนความxxxxxxxxของรัฐ ประกอบด้วย รัฐจัดตั้ง รัฐxxxxxxบังคับบัญชาโดยใช้งบประมาณของแผ่นดิน และใช้อํานาจฝุายเดียวเป็นหลักใน การดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ส่วนราชการในระบบกฎหมายไทย แบ่งออกเป็น 3 ส่วน5 ได้แก่
(1) ราชการxxxxxxxx จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติxxxxxxxบริหาร ราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและxxxxxx
3 เพิ่งอ้าง, น. 137-139.
4 ผุสสดี สัตยามนะและxxxxxxx xxxxxxx, ระบบบริหารราชการและxxxxxxxวิธีการ ปฏิบัติราชการ, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2523), น.20-21.
5 xxxxษา xxxxxxอินทร์, “ปัญหาการแบ่งแยกสัญญาทางxxxxxxออกจากสัญญาทาง แพ่ง : ศึกษากรณีสัญญาxxxxบุคลากรภาครัฐในประเทศไทย”, (xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx, 2556), น.65.
เป็นกรม และตามมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติxxxxxxxบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 xxxxxxx ให้xxxxxxเป็นนิติบุคคล6 โดยราชการxxxxxxxxมีภารกิจในการจัดทําบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ ส่วนรวมของประชาชนทั่วประเทศ xxxx การรักษาความสงบภายใน การปูองกันประเทศ การxxxxxxxx การศึกษาและการประกอบอาชีพ การปูองกันสาธารณภัย7 เป็นต้น
(2) ราชการส่วนภูมิภาค จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติxxxxxxxบริหาร ราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ได้แก่ จังหวัดและอําเภอ เป็นระบบราชการที่ส่วนราชการมอบอํานาจ วินิจฉัยxxxxxxxบางส่วนให้แก่เจ้าหน้าที่ของตนที่ส่งไปปฏิบัติหน้าที่ตามเขตการxxxxxxต่าง ๆ ของ ประเทศ โดยเจ้าหน้าที่เหล่านั้นเป็นผู้ที่ราชการxxxxxxxxแต่งตั้ง และอยู่ในบังคับบัญชาของราชการ xxxxxxxx ซึ่งตามมาตรา 52 แห่งพระราชบัญญัติxxxxxxxบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 xxxxxxxให้ จังหวัดเท่านั้นxxxxxxxxxเป็นนิติบุคคล8
(3) ราชการส่วนท้องถิ่น จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติxxxxxxxบริหาร ราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล ราชการxxxxxxxxอื่นตามที่ กฎหมายกําหนด ในประเทศไทยแบ่งราชการส่วนท้องถิ่นออกเป็น 2 รูปแบบ กล่าวคือ รูปแบบแรก เป็นแบบทั่วไปที่ใช้แก่xxxxxxxxทั่วประเทศ ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และองค์การบริหาร ส่วนตําบล รูปแบบที่สอง เป็นรูปแบบพิเศษ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ xxxxxxxบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 และเมืองพัทยา จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ xxxxxxxบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 25429 โดยราชการส่วนท้องถิ่นมีภารกิจในการจัดทําบริการ สาธารณะบางอย่างที่รัฐมอบหมายให้องค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่นจัดทําเองเพื่อตอบxxxxความ ต้องการส่วนรวมของประชาชนเฉพาะเขตxxxxxxxxนั้น มีเจ้าหน้าที่ขององค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่นเป็น ผู้ดําเนินการ มีงบประมาณ ทรัพย์สินบางอย่างเป็นของตนเอง มีอํานาจดําเนินการได้โดยxxxxx10 และ อยู่ภายใต้การกํากับดูแลของราชการxxxxxxxx
6 หน่วยงานทางxxxxxxตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดี xxxxxx พ.ศ. 2542, สํานักพัฒนาระบบงานคดีxxxxxx สํานักงานศาลปกครอง (สิงหาคม 2550), น.2.
7 xxxxxx xxxxxxxxxx, คําอธิบายกฎหมายxxxxxx, พิมพ์ครั้งที่ 23, (กรุงเทพมหานคร : วิญญูชน, 2559), น.131.
8 สํานักงานศาลปกครอง, อ้างแล้ว xxxxxxxxxxx 6, น.2.
9 xxxxx เลิศxxxxxxx, กฎหมายการxxxxxxxxxxxxxx, พิมพ์ครั้งที่ 1, (กรุงเทพมหานคร : คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, 2547), น.387.
10 xxxxxx xxxxxxxxxx, อ้างแล้ว xxxxxxxxxxx 7, น.131.
2.1.2.2 รัฐวิสาหกิจ หรือวิสาหกิจมหาชน (State Enterprise)
รัฐวิสาหกิจ หรือวิสาหกิจมหาชน (State Enterprise) เป็นหน่วยงานที่ รับผิดชอบบริการสาธารณะทางด้านอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม (Industrial and Commercial Public Services ซึ่งผลิตและจําหน่ายสินค้าหรือบริการที่มีลักษณะเป็นการให้บริการสาธารณะและ งานสาธารณูปโภคขนาดใหญ่ หรืองานของรัฐบางxxxxxxxมีความxxxxxxxxต่อความมั่นคงและการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศ หรือการดําเนินกิจกรรมที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนที่รัฐ จําเป็นต้องควบคุมและดําเนินการเพียงผู้เดียว หรือเป็นงานที่ภาคเอกชนไม่พร้อมจะลงทุนดําเนินการ หรือเป็นภารกิจที่รัฐจําเป็นต้องแทรกแซงตลาดเพื่อให้xxxxxxxแข่งขันที่เป็นธรรม หรือให้บริการแก่ กลุ่มเปูาหมายเฉพาะ เพื่อให้งานบริการนั้นได้มาตรฐาน
รัฐวิสาหกิจจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการแสวงหารายได้ ต้อง xxxxxxxxxxxxตนเองจากการดําเนินงานเชิงพาณิชย์ แต่ไม่มีวัตถุประสงค์มุ่งกําไรสูงสุด (Maximization of Profit) ดังxxxxเอกชนกระทํากันโดยทั่วไป แต่ถ้าหากมีความจําเป็นต้องรับเงินงบประมาณสนับสนุนเป็น ครั้งคราวหรือบางส่วน รัฐจะจัดสรรงบประมาณให้ในรูปของเงินอุดหนุน ซึ่งควรแยกเก็บจากการเก็บ ค่าบริการตามxxxxของรัฐวิสาหกิจนั้น ๆ ให้ชัดเจน รัฐวิสาหกิจเป็นนิติบุคคลและมีความxxxxxxxxกับรัฐ ประกอบด้วยรัฐจัดตั้งมีทุนเกินครึ่งเป็นของรัฐ ซึ่งรัฐมีอํานาจบริหารจัดการ (ผ่านการแต่งตั้ง คณะกรรมการและผู้บริหารระดับสูงและการให้นโยบาย) การลงทุนต้องขอความเห็นจากรัฐ และ รายได้ต้องส่งคืนรัฐ ส่วนบุคลากรของรัฐวิสาหกิจมีสถานะเป็นพนักงานรัฐวิสาหกิจ นอกจากนั้นแล้ว รัฐวิสาหกิจยังรวมถึงองค์กรของรัฐบาล หรือหน่วยงานธุรกิจที่รัฐบาลเป็นเจ้าของ รวมทั้งบริษัท จํากัด และห้างหุ้นส่วน สําหรับนิติบุคคลที่ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจมีหุ้นส่วนอยู่ด้วยเกินร้อยละ 50 แต่ไม่ รวมถึงองค์การหรือกิจการที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อสงเคราะห์หรือxxxxxxxxการใด ๆ ที่ไม่ใช่ธุรกิจ11
ประเภทของรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายจัดตั้งดังนี้12
(1) รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งโดยพระราชบัญญัติ เป็นรัฐวิสาหกิจที่มี พระราชบัญญัติจัดตั้งโดยเฉพาะ กําหนดวัตถุประสงค์และการมอบอํานาจหน้าที่ในการดําเนินงานของ รัฐวิสาหกิจนั้น13 xxxx การไฟฟูาฝุายผลิต การไฟฟูานครหลวง การประปาส่วนภูมิภาค การประปา นครหลวง การรถไฟแห่งประเทศไทย องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย การเคหะแห่งชาติ การ
11 xxxxxxx xxxxxxxxx, “ความหมายและคุณลักษณะสําคัญของหน่วยงานของรัฐกับการ จัดทําxxxxxxจริยธรรมตามxxxxxxxxxxแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550”, สํานักงานผู้ตรวจการ แผ่นดิน, น.13.
12 xxxxษา xxxxxxอินทร์, อ้างแล้ว xxxxxxxxxxx 5, น.68-69.
13 เพิ่งอ้าง, น.68-69.
xxxxxxxxxxแห่งประเทศไทย การกีฬาแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ เป็น ต้น นอกจากนี้ ยังมีรัฐวิสาหกิจบางประเภทที่จัดตั้งโดยประกาศคณะxxxxxxxหรือพระราชกําหนดที่มีค่า บังคับดังxxxxพระราชบัญญัติ xxxx การทางพิเศษแห่งประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามประกาศคณะxxxxxxx ฉบับที่ 290 พ.ศ. 2515 บรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน จัดตั้งโดยพระราชกําหนดบรรษัท
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx พ.ศ. 2540
(2) รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งโดยพระราชกฤษฎีกา เป็นรัฐวิสาหกิจที่มีพระราช กฤษฎีกาจัดตั้งโดยเฉพาะ กําหนดวัตถุประสงค์และขอบอํานาจหน้าที่ในการดําเนินงานของ รัฐวิสาหกิจนั้นๆ โดยอาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติจัดตั้งองค์การของรัฐบาล พ.ศ. 2496 xxxx องค์การสวนสัตว์ดุสิต องค์การขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย องค์การคลังสินค้า องค์การจัดการ น้ําเสีย องค์การสวนยาง องค์การอุตสาหกรรมxxxxxx เป็นต้น
(3) รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งตามกฎหมายเอกชน ได้แก่ ประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยบริษัท และกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชน จํากัด กําหนดขอบเขต วัตถุประสงค์ของการดําเนินงานไว้ตามหนังสือบริคณฑ์xxxxและข้อบังคับของบริษัทจํากัด xxxx บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) บริษัท ท่าอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) บริษัท ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษัท ไปรษณีย์ไทย จํากัด และบริษัท ขนส่ง จํากัด เป็นต้น
(4) รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นตามxxxxxxx ข้อบังคับ หรือมติของ คณะรัฐมนตรี ไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล อยู่ภายใต้การควบคุมของกระทรวงที่สังกัด xxxx โรงงานยาสูบ สังกัดกระทรวงการคลัง โรงพิมพ์ตํารวจ สังกัดสํานักงานตํารวจแห่งชาติ เป็นต้น
2.1.2.3 องค์การมหาชน
องค์การมหาชน เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบบริการสาธารณะทางสังคม และวัฒนธรรม (Social and Cultural Public Service) xxxx การศึกษา การวิจัย การฝึกอบรม การ ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม การพัฒนาและการxxxxxxxxการกีฬา การพัฒนาและถ่ายทอดวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี การxxxxxxxxสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ การบริการทางสาธารณสุขและ การแพทย์ การสังคมสงเคราะห์ นันทนาการ สวนสัตว์ การอํานวยบริการแก่ประชาชน หรือการ ดําเนินการอันเป็นประโยชน์สาธารณะอื่นใด ซึ่งไม่เหมาะสมที่จะใช้วิธีการของราชการในการบริหาร ทั้งนี้ บริการสาธารณะขององค์การมหาชนต้องไม่เป็นกิจการที่มีลักษณะเป็นการแข่งขันกับภาคเอกชน ซึ่งเป็นการต้องห้ามตามxxxxxxxxxxแห่งราชอาณาจักรไทย14 ซึ่งองค์การมหาชนเป็นนิติบุคคล ที่มี วัตถุประสงค์ไม่การแสวงหากําไร โดยการจัดตั้งองค์การมหาชนนั้น จะได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐ หรือ
14 xxxxxxx xxxxxxxxx, อ้างแล้ว xxxxxxxxxxx 11, น.13.
xxxxxxxxxxxxตนเองได้ (ยกเว้นมหาวิทยาลัยต้องดําเนินการตามพระราชบัญญัติจัดตั้ง) โดยรัฐมีอํานาจ กํากับดูแลตามที่กฎหมายกําหนด ซึ่งการบริหารงานขององค์การมหาชนมีความเป็นxxxxx xxxxxxxx ไม่ถูก ครอบงําจากระบบบริหารราชการตามxxxx การบริหารการเงิน การบัญชี และงบประมาณมีความ xxxxxxxxกว่าระบบราชการโดยไม่ยึดติดกับกฎ หรือxxxxxxxของทางราชการ15
ประเภทขององค์การมหาชนตามกฎหมายจัดตั้งมีดังนี้
(1) องค์การมหาชนที่จัดตั้งตามพระราชบัญญัติเฉพาะ (หน่วยงานใน กํากับ) เป็นองค์การมหาชนจัดตั้งโดยพระราชบัญญัติเฉพาะ ซึ่งตั้งได้ยากเพราะต้องอาศัยอํานาจของ สภา ไม่มีข้อจํากัดในการจัดตั้ง และมีอํานาจมหาชนที่บังคับกับผู้อื่นxxx xxxx สํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ สถาบันวิจัยระบบ สาธารณสุข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรxxxx มหาวิทยาลัยxxxxxxxxxx สถาบันพระปกเกล้า เป็นต้น
(2) องค์การมหาชนที่จัดตั้งโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความใน พระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. 2542 จัดตั้งขึ้นโดยง่ายเพราะอาศัยอํานาจของฝุายบริหาร มีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีการจัดทําบริการสาธารณะตามที่รัฐบาลมีนโยบายด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรและบุลากรให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เป็นองค์การมหาชนที่จัดตั้งขึ้นเพื่อ ดําเนินกิจการอันเป็นบริการสาธารณะโดยไม่มีวัตถุประสงค์ในการแสวงหากําไร xxxx การศึกษาอบรม การถ่ายทอดและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การxxxxxxxxสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ การบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข เป็นต้น16
2.1.2.4 หน่วยงานอื่นของรัฐ มีดังนี้
(1) องค์กรของรัฐที่เป็นxxxxx (Independent Administrative Organization) xxxxxxxxxxแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 256017 หมวด 12 xxxxxxxให้มีองค์กร xxxxx เป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นให้มีความxxxxxในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามxxxxxxxxxxและ กฎหมาย18 ซึ่งองค์กรที่เป็นxxxxxมีภาระหน้าที่ที่สําคัญ คือ การวางxxxxxxxและควบคุมกิจกรรมxxxxxx มีผลกระทบอย่างสําคัญต่อxxxxxxxxxxหรือเศรษฐกิจของชาติ เป็นส่วนรวม หรือเกี่ยวข้องกับการ
15 xxxxxxxx xxxxxxxxxxxxx, องค์การมหาชน มติใหม่ของหน่วยงานรัฐ : แนวทางการจัดตั้ง และการบริหารงานขององค์การมหาชน, (สํานักงานxxxxxxระบบราชการสํานักงาน ก.พ., 2542), น.45-46.
16 xxxxษา xxxxxxอินทร์, อ้างแล้ว xxxxxxxxxxx 5, น.70.
17 ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134 ตอน 40 ก ประกาศxxxxxx 6 เมษายน 2560
18 มาตรา 215 วรรคหนึ่ง xxxxxxxxxxแห่งราชอาณาจักไทย พุทธศักราช 2560
จัดสรรทรัพยากรสาธารณะ หรืออาจกระทบกระเทือนต่อxxxxxเสรีภาพของราษฎร 19 และเพื่อให้ xxxxxxปฏิบัติหน้าที่ได้โดยxxxxxปราศจากการแทรกแซงจากองค์กรอื่นของรัฐ หรือจากสถาบัน การเมืองอื่น องค์กรของรัฐที่เป็นxxxxxxxxxxxxxxออกกฎxxxxxxx บังคับการให้เป็นไปตามกฎxxxxxxx xxxวางขึ้น แต่การมีอํานาจดังกล่าวxxxxxxxxxxให้กลายเป็นรัฐสภา20
องค์กรxxxxxประกอบด้วย คณะกรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการ แผ่นดิน คณะกรรมการปูองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน และ คณะกรรมการxxxxxมนุษยชนแห่งชาติ การดําเนินงานตามอํานาจหน้าที่ขององค์กรของรัฐที่เป็นxxxxx กระทําโดยคณะกรรมการหรือxxxxxxxx ซึ่งมีxxxxxxxxxxหรือพระราชบัญญัติประกอบxxxxxxxxxx หรือพระราชบัญญัติจัดตั้งองค์กรเหล่านั้นให้ใช้อํานาจในการออกกฎ คําสั่ง หรือมติ ใด ๆ ที่มี ผลกระทบต่อบุคคล คณะกรรมการหรือxxxxxxxxดังกล่าวxxxxxxเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ โดยองค์กร ของรัฐที่เป็นxxxxxจะมีหน่วยxxxxxxxxxมีxxxxxในการบริหารงานบุคคลและการงบประมาณอยู่ภายใต้ บังคับบัญชาหรือการกํากับดูแลขององค์กรเหล่านั้นโดยตรง ทําหน้าที่รับผิดชอบราชการทั่วไปขององค์กร การดําเนินงานกระทําโดยคณะกรรมการหรือxxxxxxxxซึ่งมีxxxxxxxxxxหรือพระราชบัญญัติประกอบ xxxxxxxxxxหรือพระราชบัญญัติจัดตั้งองค์กรเหล่านั้นให้อํานาจ21 หน่วยxxxxxxขององค์กรxxxxx xxxx คณะกรรมการการเลือกตั้ง มีสํานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นหน่วยxxxxxx ผู้ตรวจการ แผ่นดิน มีสํานักงานผู้ตรวจการแผ่นดินเป็นหน่วยxxxxxx คณะกรรมการปูองกันและปราบปรามการ ทุจริตแห่งชาติ มีสํานักงานคณะกรรมการปูองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (สํานักงาน ป.ป.ช.) เป็นหน่วยxxxxxx คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน มีสํานักงานตรวจเงินแผ่นดินเป็นหน่วย xxxxxx และคณะกรรมการxxxxxมนุษยชนแห่งชาติ มีสํานักงานคณะกรรมการxxxxxมนุษยชนแห่งชาติ เป็นหน่วยxxxxxx การดําเนินงานกระทําโดยคณะกรรมการหรือxxxxxxxxซึ่งมีxxxxxxxxxxหรือ พระราชบัญญัติประกอบxxxxxxxxxxหรือพระราชบัญญัติจัดตั้งองค์กรเหล่านั้นให้อํานาจ
(2) องค์กรศาล
1. ศาลยุติธรรม มีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง เว้นแต่คดีที่ xxxxxxxxxxxxxxxxxให้อยู่ในอํานาจของศาลอื่น22 มีสํานักงานศาลยุติธรรมเป็นหน่วยxxxxxxเป็นส่วน
19 xxxxx xxxxxx, xายงานการวิจัยองค์กรของรัฐที่เป็นxxxxx, (กรุงเทพมหานคร : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, พ.ศ. 2538 ) น.6.
20 สํานักงานศาลปกครอง, อ้างแล้ว xxxxxxxxxxx 6, น.51-52.
21 เพิ่งอ้าง, น.53.
22 มาตรา 194 วรรคหนึ่ง xxxxxxxxxxแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
ราชการที่เป็นหน่วยงานxxxxxตามxxxxxxxxxx xxxxxxเป็นกรมตามกฎหมายxxxxxxxงบริหารราชการ แผ่นดิน ตามมาตรา 5 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติxxxxxxxบริหารศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543
2. ศาลปกครอง มีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีxxxxxxอันเนื่องมาจาก การใช้อํานาจทางxxxxxxตามกฎหมาย หรือเนื่องมาจากการดําเนินกิจการทางxxxxxx23 มีสํานักงานศาล xxxxxxเป็นหน่วยxxxxxx ซึ่งเป็นส่วนราชการที่เป็นหน่วยงานxxxxxตามxxxxxxxxxx xxxxxxเป็นนิติ บุคคล ตามมาตรา 76 แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีxxxxxx พ.ศ. 2542
3. ศาลxxxxxxxxxx มีอํานาจหน้าที่หลักในการควบคุมกฎหมายต่าง ๆ ที่ตราขึ้นมิให้ขัดกับxxxxxxxxxx พิจารณาวินิจฉัยประเด็นต่าง ๆ ตามที่xxxxxxxxxxกําหนด ผลการวินิจฉัย ของศาลxxxxxxxxxxxxxxxxเด็ดขาด24 มีสํานักงานศาลxxxxxxxxxxเป็นหน่วยxxxxxxของศาลxxxxxxxxxx เป็นส่วนราชการที่เป็นหน่วยงานxxxxxตามxxxxxxxxxx xxxxxxเป็นกรมตามกฎหมายxxxxxxxงบริหาร ราชการแผ่นดิน ตามมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติสํานักงานศาลxxxxxxxxxx พ.ศ. 2542
4. ศาลทหาร มีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาที่ผู้กระทําผิดเป็น บุคคลซึ่งอยู่ในอํานาจศาลทหาร และคดีอื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายกําหนด25 มีการกระทรวงกลาโหมเป็น ผู้รับผิดชอบในงานxxxxxxของศาลทหาร26
(3) องค์กรxxxxxx ตามพระราชบัญญัติองค์กรxxxxxxและพนักงาน อัยการ พ.ศ. 2553 xxxxxxxว่า องค์กรxxxxxxประกอบด้วย คณะกรรมการข้าราชการxxxxxx xxxxxx สูงสุด และพนักงานอัยการอื่น องค์กรxxxxxxมีสํานักงานxxxxxxสูงสุดเป็นหน่วยxxxxxx xxxxxxเป็นนิติ บุคคล และเป็นส่วนราชการที่เป็นxxxxxในการบริหารงานบุคคล การงบประมาณและการดําเนินการ อื่น บุคลากรขององค์กรxxxxxxแบ่งเป็น พนักงานอัยการตามพระราชบัญญัติองค์กรxxxxxxและ พนักงานอัยการ พ.ศ. 2553 และข้าราชการxxxxxxตามพระราชบัญญัติxxxxxxxข้าราชการฝุายxxxxxx พ.ศ. 2553
(4) กองทุนที่เป็นนิติบุ คคล เป็ นนิ ติ บุ คคลที่ จั ดตั้งขึ้นโดยตรา พระราชบัญญัติ เนื่องจากต้องการอํานาจรัฐในการบังคับฝุายเดียวต่อภาคเอกชนในการสมทบเงินเข้ากองทุน ซึ่งวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุนก็เพื่อเป็นเครื่องมือทางเศรษฐกิจของรัฐในการดําเนินบริการ สาธารณะแก่ประชาชนหรือกลุ่มเปูาหมายโดยเฉพาะ หรือเพื่อแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจเฉพาะด้าน การ
23 มาตรา 197 วรรคหนึ่ง xxxxxxxxxxแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
24 ศาลและองค์กรxxxxxตามxxxxxxxxxxแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550, สืบค้น
เมื่อxxxxxx 23 มีนาคม 2560, xxxxx://xxxxx.xxxxxx.xxx/xxxx/xxxx0000/xx00
25 มาตรา 199 วรรคหนึ่ง xxxxxxxxxxแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
26 มาตรา 5 วรรคสอง พระราชบัญญัติxxxxxxxxxxxxxx พ.ศ. 2498
ดําเนินงานของกองทุนจะได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและเงินสมทบจากกลุ่มเปูาหมายนั้น ๆ การ บริหารงานกองทุนจะดําเนินการในรูปคณะกรรมการ27 โดยมีหน่วยงานxxxxxxรองรับการทําหน้าที่ 3 รูปแบบ กล่าวคือ แบบรัฐวิสาหกิจ xxxx กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน แบบองค์การ มหาชน xxxx กองทุนสนับสนุนการxxxxxxxxxxสุขภาพ แบบส่วนราชการ xxxx สํานักงานประกันสังคม28
(5) หน่วยงานxxxxxxรับมอบหมายให้ใช้อํานาจทางxxxxxx หรือ ดําเนินกิจการทางxxxxxx หมายถึง องค์กรเอกชนหรือหน่วยงานxxxxxxรับมอบหมายจากรัฐให้เป็นผู้ใช้ อํานาจทางxxxxxxหรือดําเนินกิจการทางxxxxxx หรือให้จัดทําบริการสาธารณะบางอย่างแทนรัฐ xxxx เนติบัณฑิตยสภา สภาทนายความ แพทยสภา ทันตแพทยสภา กองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ คณะกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทย คณะกรรมการธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก์ บริษัทวิทยุการ บินไทย สถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2546 ซึ่งเป็น หน่วยงานxxxxxxรับมอบหมายให้ใช้อํานาจทางxxxxxxหรือดําเนินกิจการทางxxxxxxxxxเกี่ยวกับการจัด การศึกษา29 เป็นต้น
2.2 การบริหารงานบุคลากรภาครัฐในประเทศไทย
บุคลากรภาครัฐ เป็นบุคคลที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐดังกล่าวข้างต้น เพื่อให้ ภารกิจของหน่วยงานนั้นxxxxxวัตถุประสงค์ตามที่ตั้งไว้ บุคลากรภาครัฐจึงมีความจําเป็นและสําคัญต่อ หน่วยงานของรัฐเป็นอย่างยิ่ง เพราะหากไม่มีบุคลากรภาคxxx xxxดําเนินภารกิจของหน่วยงานย่อมxxx xxxสําเร็จลงได้ ในประเทศไทยมีบุคลากรภาครัฐหลายประเภท ได้แก่ ข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานของหน่วยงานของรัฐ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และลูกจ้าง ซึ่งมี รายละเอียด ดังนี้
27 xxxxxxx xxxxxxxxx, อ้างแล้ว xxxxxxxxxxx 11, น.14.
28 เพิ่งอ้าง, น.13-15.
29 xxxxxxxxxx นันทะมา, “ระบบกฎหมายเกี่ยวกับพนักงานราชการ”, (วิทยานิพนธ์นิติ ศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552), น.10.
2.2.1 บุคลากรประเภทข้าราชการ
ข้าราชการเป็นผู้ดําเนินงานแทนรัฐในการนํานโยบายของรัฐมาปฏิบัติให้xxxxxผล เป็นxxxxxxxสําคัญของรัฐสมัยใหม่30 เป็นผู้ใช้อํานาจรัฐหรืออํานาจมหาชนตามที่กฎหมายกําหนดไว้ โดยข้าราชการจะสังกัดหน่วยงานของรัฐต่างๆ xxxxxxxเป็นส่วนราชการxxxxxxxx ราชการส่วนภูมิภาค ราชการxxxxxxxx องค์กรxxxxxต่าง ๆ ซึ่งข้าราชการxxxxxxแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่31 ดังนี้
(1) ข้าราชการการเมือง หมายถึง ผู้ดํารงตําแหน่งต่างๆ ตามที่กฎหมายกําหนด ไว้ให้เป็นข้าราชการการเมือง ข้าราชการการเมืองแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ข้าราชการการเมือง ตามพระราชบัญญัติxxxxxxxข้าราชการการเมือง พ.ศ. 2535 xxxx นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวง รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี เลขาธิการนายกรัฐมนตรี โฆษกประจํา สํานักนายกรัฐมนตรี32 เป็นต้น และข้าราชการการเมืองตามพระราชบัญญัติอื่น ได้แก่ พระราชบัญญัติ ข้าราชการฝุายรัฐสภา พ.ศ. 2554 xxxx ที่ปรึกษาประธานxxxxxx xxxปรึกษารองประธานxxxxxx xxxปรึกษา ประธานสภาผู้แทนราษฎร ที่ปรึกษาประธานxxxxxxx xxxปรึกษาผู้นําฝุายค้านในสภาผู้แทนราษฎร33 เป็น ต้น ข้าราชการการเมืองตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 xxxx ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เลขานุการประธานสภากรุงเทพมหานคร เลขานุการรองประธานสภากรุงเทพมหานคร ประธานที่ปรึกษา34 เป็นต้น
(2) ข้าราชการประจํา หมายถึง บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งตามกฎหมายว่าด้วย การบริหารราชการประเภทต่างๆ โดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณแผ่นดิน ข้าราชการประจํา สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ได้แก่ ข้าราชการซึ่งอยู่ในบังคับบัญชาหรือกํากับดูแลของ รัฐบาล และข้าราชการอื่นซึ่งมิได้อยู่ในบังคับบัญชาหรือกํากับดูแลของรัฐบาล มีรายละเอียดดังนี้35
1. ข้าราชการซึ่งอยู่ในบังคับบัญชาหรือกํากับดูแลของรัฐบาล
1.1 ข้าราชการซึ่งอยู่ในบังคับบัญชาของรัฐบาล แบ่งได้ 2 ประเภท ดังนี้
30 สิริเพ็ญ จันทวิเศษ, “สถานะทางกฎหมายของพนักงานรัฐวิสาหกิจ”, (วิทยานิพนธ์ นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2536), น.32.
31 หิรัญ อัศววงศ์เกษม, “เจ้าหน้าที่ของรัฐในระบบกฎหมายไทย”, (วิทยานิพนธ์นิติศาสตร มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548), น. 61.
32 มาตรา 4 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการการเมือง พ.ศ. 2535
33 มาตรา 92 พระราชบัญญัติข้าราชการฝุายรัฐสภา พ.ศ. 2554
34 มาตรา 58 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528
35 หิรัญ อัศววงศ์เกษม, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 31, น.63-70.
1) ข้าราชการทหารแต่งตั้งตามพระราชบัญญัติข้าราชการทหาร พ.ศ. 2521 คือ ทหารประจําการ และข้าราชการกลาโหม พลเรือนที่บรรจุในตําแหน่งอัตราทหาร36
2) ข้าราชการพลเรือน ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ พลเรือน พ.ศ. 2551 คือ บุคคลซึ่งได้รับบรรจุและแต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ ให้รับราชการโดย ได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณในกระทรวง กรมฝุายพลเรือน37 นอกจากนี้ ยังมีข้าราชการพล เรือนอีก ได้แก่
- ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ตามมาตรา 4 แห่ง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547 คือ บุคคลซึ่งได้รับบรรจุ และแต่งตั้งให้รับราชการตามพระราชบัญญัตินี้ โดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณประเภท เงินเดือนในสถาบันอุดมศึกษา
- ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา 4 แห่ง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2551 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 คือ บุคคลซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ ให้รับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณแผ่นดิน งบบุคลากรที่จ่ายในลักษณะเงินเดือนใน กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงวัฒนธรรม หรือกระทรวงอื่นที่ กําหนดในพระราชกฤษฎีกา
- ข้าราชการตํารวจ ตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติตํารวจ แห่งชาติ พ.ศ. 2547 ที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554 คือ บุคคลซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้ง ตามพระราชบัญญัตินี้ โดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณหมวดเงินเดือนในสํานักงานตํารวจ แห่งชาติ และให้หมายความรวมถึงข้าราชการในสํานักงานตํารวจแห่งชาติ ซึ่งสํานักงานตํารวจ แห่งชาติแต่งตั้ง หรือสั่งให้ปฏิบัติหน้าที่ราชการตํารวจโดยได้รับเงินเดือนจากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐด้วย
- ข้าราชการฝุายอัยการ ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ ฝุายอัยการ พ.ศ. 2553 คือ ข้าราชการที่บรรจุและแต่งตั้งให้รับราชการในสํานักงานอัยการสูงสุด (เดิม คือ กรมอัยการ) โดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนในสํานักงานอัยการสูงสุด38
36 มาตรา 4 พระราชบัญญัติข้าราชการทหาร พ.ศ. 2521
37 มาตรา 4 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
38 มาตรา 4 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝุายอัยการ พ.ศ. 2553
มีคณะกรรมการอัยการ (ก.อ.) เป็นคณะกรรมการกลางในการกากับดูแล ข้าราชการฝุายอัยการ ได้แก่ ข้าราชการอัยการ และข้าราชการธุรการในสํานักงานอัการสูงสุด39
1.2 ข้าราชการที่อยู่ในการกํากับดูแลของรัฐบาล คือ ข้าราชการของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นองค์กรกระจายอํานาจที่อยู่ภายใต้การกํากับดูแลของรัฐบาล ได้รับ การบรรจุแต่งตั้งให้ปฏิบัติราชการโดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณ หมวดเงินเดือนขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะนํางบประมาณเหล่านี้มาจัดสรรเป็นเงินเดือน ของข้าราชการและพนักงานส่วนท้องถิ่น เช่น ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด40 ข้าราชการ กรุงเทพมหานคร41
2. ข้าราชการอื่นซึ่งมิได้อยู่ในบังคับบัญชาหรือกํากับดูแลของรัฐบาล แบ่งได้ดังนี้
2.1 ข้าราชการตุลาการ
1) ผู้พิพากษาศาลยุติธรรม เป็นข้าราชการตุลาการตามพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการฝุายศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 มีอํานาจหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี และ ดะโต๊ะยุติธรรม ซึ่งเป็นข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งให้มีอํานาจและหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมาย อิสลาม ซึ่งข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรม อยู่ในบังคับของระเบียบข้าราชการฝุายตุลาการศาล ยุติธรรม พ.ศ. 2543 มีคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม หรือ ก.ต. เป็นองค์กรบริหารงานบุคคล
2) ตุลาการศาลปกครอง เป็นข้าราชการตามพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 โดยมีคณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง หรือ ก. ศป. เป็นองค์กรบริหารงานบุคคล
39 มาตรา 6 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝุายอัยการ พ.ศ. 2553
40 มาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 บัญญัติว่า ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด หมายความว่า ข้าราชการที่ปฏิบัติกิจการขององค์การบริหารส่วน จังหวัดและได้รับเงินเดือน โดยมีอัตราเงินเดือนและตําแหน่งในงบประมาณที่องค์การบริหารส่วนจังหวัด กําหนดขึ้น 41 มาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลกร กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554 บัญญัติว่า “ข้าราชการกรุงเทพมหานคร” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับบรรจุ และแต่งตั้งให้รับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนของกรุงเทพมหานคร หรือจาก เงินงบประมาณหมวดอุดหนุนรัฐบาลที่ให้แก่กรุงเทพมหานคร และกรุงเทพมหานครนํามาจัดสรรเป็น เงินเดือนของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
2.2 ข้าราชการอื่นที่ไม่ใช่ตุลาการ
1) ข้าราชการศาลยุติธรรม อยู่ในบังคับของพระราชบัญญัติระเบียบ บริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 โดยมีคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม หรือ ก.ศ. เป็นองค์กร บริหารงานบุคคล
2) ข้าราชการฝุายศาลปกครอง ได้แก่ พนักงานคดีปกครอง และ ข้าราชการอื่นที่ไม่ใช่พนักงานคดีปกครอง เช่น เลขาธิการและรองเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง เจ้าหน้าที่สํานักงานศาลปกครอง42 ซึ่งข้าราชการฝุายศาลปกครอง อยู่ในบังคับของพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 โดยมีคณะกรรมการข้าราชการฝุายศาล ปกครอง หรือ ก.ขป. เป็นองค์กรกลางบริหารงานบุคคล
3) ข้าราชการศาลรัฐธรรมนูญ ข้าราชการสํานักงานศาลรัฐธรรมนูญ ได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้เป็นข้าราชการตามพระราชบัญญัติสํานักงานศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2542
4) ข้าราชการฝุายรัฐสภา ตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการฝุายรัฐสภา พ.ศ. 2518 คือ บุคคลซึ่งรับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณหมวด เงินเดือนในส่วนราชการสังกัดรัฐสภา
5) ข้าราชการสํานักงานปูองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรียกว่า ข้าราชการสํานักงาน ป.ป.ช. อยู่ในบังคับของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการ ปูองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มีคณะกรรมการ ป.ป.ช.ทําหน้าที่เป็นองค์กรบริหารงาน บุคคล
6) ข้าราชการสํานักงานตรวจเงินแผ่นดิน ข้าราชการสํานักงานการ ตรวจเงินแผ่นดิน อยู่ในบังคับของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2542 มีคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินทําหน้าที่เป็นองค์กรบริหารงานบุคคล
7) ข้าราชการสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
2.2.2 พนักงานของหน่วยงานของรัฐ
2.2.2.1 พนักงานราชการ
คณะรัฐมนตรีเห็นควรกําหนดให้มีการปรับปรุงกระบวนการจ้างงานภาครัฐ ในส่วนของลูกจ้างส่วนราชการให้มีความหลากหลาย เพื่อให้เกิดความเหมาะสมในการใช้กําลังคนภาครัฐ และให้การปฏิบัติราชการมีความคล่องตัว เกิดประสิทธิภาพ โดยสอดคล้องกับแนวทางการบริหารจัดการ ภาครัฐแนวใหม่ จึงกําหนดให้มีการจ้างพนักงานราชการสําหรับการปฏิบัติงานของส่วนราชการขึ้น โดยวาง หลักเกณฑ์ไว้ในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547 ดังนี้
42 นริศษา ละม้ายอินทร์, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 5, น.76.
(1) ความหมายของพนักงานราชการ
พนักงานราชการ หมายถึง บุคคลซึ่งได้รับการจ้างตามสัญญาจ้าง โดยได้รับค่าตอบแทนจากงบประมาณของส่วนราชการเพื่อเป็นพนักงานของรัฐในการปฏิบัติงานให้ ส่วนราชการนั้น
(2) การแบ่งประเภทของพนักงานราชการ สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท ดังนี้ ประเภทแรก พนักงานราชการทั่วไป ได้แก่ พนักงานราชการซึ่ง ปฏิบัติงานในลักษณะงานประจําทั่วไปของส่วนราชการในด้านงานบริการ งานเทคนิค งานบริหารทั่วไป
งานวิชาชีพเฉพาะ หรืองานเชี่ยวชาญเฉพาะ
ประเภทที่สอง พนักงานราชการพิเศษ ได้แก่ พนักงานราชการซึ่ง จะต้องปฏิบัติงานในลักษณะเป็นงานประจําทั่วไปของส่วนราชการที่ต้องใช้ความรู้หรือความเชี่ยวชาญ สูงมากเป็นพิเศษ เพื่อปฏิบัติงานในเรื่องที่มีความสําคัญ และจําเป็นเฉพาะเรื่องของส่วนราชการ หรือ มีความจําเป็นต้องใช้บุคคลในลักษณะดังกล่าว
ในระหว่างสัญญาจ้าง ส่วนราชการต้องจัดให้มีการประเมินผลการ ปฏิบัติงานของพนักงานราชการทั้งที่เป็นการประเมินผลการปฏิบัติงานประจําปี และประเมินผลการ ปฏิบัติงานเพื่อต่อสัญญาจ้าง พนักงานผู้ใดไม่ผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ให้ถือว่าสัญญาจ้าง ของพนักงานผู้นั้นสิ้นสุดลง
2.2.2.2 พนักงานมหาวิทยาลัย
เนื่องจากรัฐมีวัตถุประสงค์ในการปรับลดจํานวนข้าราชการพลเรือนใน มหาวิทยาลัย และเพื่อเตรียมบุคลากรในการรองรับการเปลี่ยนสถานภาพจากมหาวิทยาลัยในส่วน ราชการเป็นมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ ซึ่งมีสถานะเป็นองค์การมหาชน เมื่อมหาวิทยาลัยเปลี่ยน สถานภาพจากส่วนราชการมาเป็นองค์การมหาชนแล้ว บุคลากรของมหาวิทยาลัยจะต้องเปลี่ยน สถานภาพจากข้าราชการเป็นพนักงานของรัฐซึ่งปฏิบัติตามสัญญาจ้าง หรือเรียกว่าพนักงาน มหาวิทยาลัย โดยจะต้องผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นระยะ ๆ เพื่อจะได้รับการต่อสัญญา จ้าง43 ซึ่งพนักงานมหาวิทยาลัยสามารถพิจารณาได้ดังนี้
(1) กรณีมหาวิทยาลัยที่เป็นมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐตั้งแต่ เริ่มแรก ประกอบด้วย พนักงานมหาวิทยาลัย และผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย ซึ่งผู้ปฏิบัติงานใน มหาวิทยาลัย หมายความว่า พนักงานมหาวิทยาลัย ข้าราชการและลูกจ้างของส่วนราชการที่สังกัด มหาวิทยาลัย พนักงานซึ่งจ้างจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย และพนักงานซึ่งจ้างโดยเงินอุดหนุนจาก องค์กรภายนอกมหาวิทยาลัย โดยพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งจะให้อํานาจสภา
43 หิรัญ อัศววงศ์เกษม, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 31, น.71.
มหาวิทยาลัยมีอํานาจหน้าที่ควบคุมดูแลกิจการทั่วไปของมหาวิทยาลัย อํานาจหน้าที่เช่นว่านี้รวมถึง ออกข้อบังคับว่าด้วยการบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัย44 เช่น มาตรา 24(3) แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2550 และมาตรา 24(3) แห่งพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551
(2) กรณีมหาวิทยาลัยที่เป็นส่วนราชการตั้งแต่แรกแล้วเปลี่ยนสภาพ มาเป็นมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในภายหลัง บุคลกรมหาวิทยาลัยเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ประกอบด้วย ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย มีกฎหมายในการบริหารงานบุคคล คือ พระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2507 กําหนดเกี่ยวกับเรื่องอัตราเงินเดือน การบรรจุ แต่งตั้ง การเลื่อนขั้น การ โอน การสอบสวน การรักษาวินัย การออกจากราชการของข้าราชการและลูกจ้างของมหาวิทยาลัยซึ่งเป็น ส่วนราชการในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย45 และยังมีกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ พระราชบัญญัติ เงินเดือนและเงินประจําตําแหน่ง พ.ศ. 2538 พระราชบัญญัติการปฏิบัติราชการของทบวงมหาวิทยาลัย และกฎกระทรวงฉบับต่าง ๆ
2.2.2.3 พนักงานรัฐวิสาหกิจ46 พนักงานรัฐวิสาหกิจมิได้มีฐานะเป็นข้าราชการ แต่มีสถานภาพเป็นพนักงานของรัฐ ปฏิบัติงานในรัฐวิสาหกิจ อยู่ภายใต้บังคับบัญชาของผู้บริหาร รัฐวิสาหกิจ และพนักงานรัฐวิสาหกิจต้องมีคุณสมบัติตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสําหรับกรรมการ และพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 เช่น ต้องมีอายุไม่เกิน 60 ปีบริบูรณ์ สามารถทํางานให้แก่ รัฐวิสาหกิจนั้นได้เต็มเวลา ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตําแหน่งหรือเงินเดือนประจํา เป็นต้น
2.2.2.4 พนักงานขององค์การมหาชน มิได้เป็นข้าราชการ แต่มีสถานภาพเป็น พนักงานของรัฐที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับพนักงานของรัฐวิสาหกิจ โดยมีคุณสมบัติ ลักษณะต้องห้าม วิธีการคัดเลือกและแต่งตั้งตามที่กําหนดไว้ในพระราชบัญญัติจัดตั้งองค์การมหาชนนั้น ๆ
2.2.2.5 พนักงานของรัฐในกระทรวงสาธารณสุข หมายถึง บุคคลซึ่งทําสัญญา เข้าปฏิบัติงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในตําแหน่ง หน้าที่ และตามเงื่อนไขที่กระทรวงสาธารณสุข สํานักงบประมาณ และสํานักงาน ก.พ. กําหนด โดยใช้หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการปฏิบัติงานเช่นเดียวกับ ข้าราชการพลเรือนในตําแหน่งเดียวกันโดยอนุโลม เว้นแต่ การมีกองทุนสํารองเลี้ยงชีพแทนกองทุน บําเหน็จบํานาญข้าราชการ
44 ประภาศรี ศุภอักษร, “เสรีภาพในการจัดตั้งสหภาพแรงงานในมหาวิทยาลัยในกํากับ ของรัฐในประเทศไทย”, (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552), น.87.
45 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2507
46 ชาญชัย แสวงศักดิ์, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 7, น.242-244.
2.2.2.6 พนักงานของหน่วยงานธุรการขององค์กรอิสระ ได้แก่
(1) บุคลากรของสํานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง มิได้มีฐานะเป็น ข้าราชการ แต่เป็นพนักงานและลูกจ้าง ซึ่งพนักงาน ได้แก่ ผู้ที่สํานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งได้ ตกลงจ้างไว้เป็นพนักงานตามระเบียบคณะกรรมการการเลือกตั้งว่าด้วยการบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2542
(2) บุคลากรของสํานักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน สํานักงานผู้ตรวจการ แผ่นดิน เป็นหน่วยงานของรัฐที่เป็นอิสระ มีฐานะเป็นนิติบุคคล ซึ่งบุคลากรของสํานักงานผู้ตรวจการ แผ่นดินมิได้เป็นข้าราชการ แต่เป็นพนักงาน อยู่ในบังคับของพระราชบัญญัติสํานักงานผู้ตรวจการ แผ่นดิน พ.ศ. 2552 โดยมีคณะผู้ตรวจการแผ่นดินทําหน้าที่เป็นองค์กรบริหารงานบุคคล
2.2.2.7 พนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(1) พนักงานเทศบาล นอกจากจะมีสมาชิกสภาเทศบาล ประธานสภา เทศบาล และนายกเทศมนตรีซึ่งเป็นบุคลากรฝุายการเมืองแล้ว47 ยังมีบุคลากรที่เป็นฝุายประจํา คือ “พนักงานเทศบาล” ตามพระราชกฤษฎีการะเบียบพนักงานเทศบาล พ.ศ. 251948 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2521 มาตรา 4 บัญญัติว่า พนักงานเทศบาล ได้แก่ พนักงานซึ่งปฏิบัติหน้าที่ใน เทศบาลโดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนที่ตั้งทางเทศบาล พนักงานเทศบาลซึ่งเป็น บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้ทําการงานของเทศบาล
(2) พนักงานส่วนตําบล นอกจากจะมีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วน ตําบล ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตําบล และนายกองค์การบริหารส่วนตําบลซึ่งเป็นบุคลากร ฝุายการเมืองแล้ว ยังมีบุคลากรที่เป็นฝุายประจํา คือ “พนักงานส่วนตําบล” ตามพระราชกฤษฎีกา ระเบียบพนักงานส่วนตําบล พ.ศ. 253949 มาตรา 3 บัญญัติว่า พนักงานส่วนตําบล หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งตามพระราชกฤษฎีกานี้ให้ปฏิบัติหน้าที่ในองค์การบริหารส่วน ตําบลโดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนขององค์การบริหารส่วนตําบล
(3) พนักงานกรุงเทพมหานคร คือ บุคคลซึ่งได้รับการจ้างตามสัญญาจ้าง โดยได้รับค่าตอบแทนจากงบประมาณหมวดค่าตอบแทนของกรุงเทพมหานคร
47 บุคลากรของรัฐฝุายการเมือง หมายถึง ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมืองในฝุายบริหาร มีทั้ง ข้าราชการการเมืองที่มิได้เป็นข้าราชการ
48 ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 93 ตอนที่ 109 ฉบับพิเศษ หน้า 7 วันที่ 8 กันยายน 2519
49 ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 113 ตอนที่ 9ก หน้า 4 วันที่ 9 เมษายน 2539
(4) พนักงานเมืองพัทยา เป็นพนักงานส่วนท้องถิ่นตามระเบียบบริหารงาน บุคคลส่วนท้องถิ่น ซึ่งได้รับการบรรจุแต่งตั้งให้ปฎิบัติราชการ โดยได้รับเงินเดือนงบประมาณหมวดเงิน อุดหนุนของรัฐบาลที่ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนํามาจัดสรร50
2.2.3 ลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ
2.2.3.1 ลูกจ้างของส่วนราชการ
ลูกจ้างของส่วนราชการ หมายถึง บุคคลที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่ในส่วนราชการ เช่นเดียวกับข้าราชการประเภทต่าง ๆ แต่มิได้เป็นข้าราชการ ลูกจ้างของส่วนราชการนี้ จะปฏิบัติงานที่มี ลักษณะเฉพาะแตกต่างไปจากข้าราชการ เช่น งานที่ใช้แรงงาน งานที่ใช้ฝีมือหรือความชํานาญที่ไม่ต้องใช้ บุคคลที่มีคุณวุฒิหรือความรู้เช่นเดียวกับข้าราชการ หรืองานชั่วคราว เป็นต้น ลูกจ้างของส่วนราชการ ได้รับค่าตอบแทนหรือค่าจ้างจากเงินงบประมาณของส่วนราชการนั้น แต่ไม่รวมพนักงานรัฐวิสาหกิจ และลูกจ้างซึ่งส่วนราชการจ้างโดยเงินซึ่งไม่ใช่งบประมาณของส่วนราชการ51 ลูกจ้างของส่วนราชการ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท52 ดังนี้
(1) ลูกจ้างประจํา หมายถึง ลูกจ้างที่ได้รับการบรรจุให้ปฏิบัติงานใน หน่วยงานของรัฐที่มีลักษณะเป็นการปฏิบัติงานประจําและต่อเนื่อง มีกําหนดเงินเดือน การเลื่อนขั้น การลงโทษทางวินัย เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดโดยกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับ เช่น กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการประเภทต่าง ๆ หรือกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์การรัฐวิสาหกิจ เป็นต้น ซึ่งลูกจ้างประจํานั้น มีทั้งลูกจ้างประจําที่ปฏิบัติงานที่มีลักษณะเหมือนข้าราชการ เช่น พนักงานพัสดุ พนักงานธุรการ เป็นต้น และลูกจ้างประจําที่ปฏิบัติงานที่มีลักษณะแตกต่างไปจาก ข้าราชการ และลูกจ้างที่ต้องใช้เทคนิคขั้นสูงหรือต้องใช้ความชํานาญพิเศษ เช่น นักการภารโรง ลูกมือช่าง พนักงานขับรถ ช่างตีเหรียญกษาปณ์ เป็นต้น
(2) ลูกจ้างชั่วคราว หมายถึง ลูกจ้างที่หน่วยงานของรัฐได้ว่าจ้างให้ ปฏิบัติงานเป็นครั้งคราวเฉพาะงาน อาจจ้างรายเดือน รายวัน รายชั่วโมง หรือมีกําหนดเวลาจ้าง แต่ ระยะเวลาจ้างต้องไม่เกินปีงบประมาณ สามารถจ้างจากงบประมาณรายจ่ายหรือนอกงบประมาณ รายจ่ายของส่วนราชการ
50 มาตรา 3 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
51 ศักรินทร์ สุวรรณโรจน์, เอกสารการสอนชุดวิชาการบริหารงานบุคคลภาครัฐ หน่วยที่ 13 : การบริหารงานบุคคลของลูกจ้างส่วนราชการ, พิมพ์ครั้งที่ 3 (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2532), น. 873. 52 ประภาศรี ศุภอักษร, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 44, น.86.
ลูกจ้างที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐนั้น หมายรวมทั้งลูกจ้างประจําและลูกจ้าง ชั่วคราว แต่มิได้หมายความว่า เมื่อเป็นลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐแล้วจะเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐเสมอไป ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ระหว่างลูกจ้างกับหน่วยงานของรัฐว่าเป็นไปในลักษณะใด หากความสัมพันธ์ ระหว่างลูกจ้างกับหน่วยงานของรัฐเป็นไปในลักษณะของสัญญาจ้างแรงงานตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ ลูกจ้างในลักษณะดังกล่าว ย่อมไม่ถือว่าเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งจะส่งผลให้มีความแตกต่างไป จากลูกจ้างที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ53
นอกจากนี้ ยังมีลูกจ้างของกรุงเทพมหานคร ซึ่งเรียกว่า ลูกจ้าง กรุงเทพมหานคร หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติงานของกรุงเทพมหานครโดยได้รับ ค่าจ้างจากเงินงบประมาณหมวดเงินเดือนของกรุงเทพมหานคร หรือจากเงินงบประมาณหมวด อุดหนุนรัฐบาลที่ให้แก่กรุงเทพมหานคร และกรุงเทพมหานครนํามาจัดสรรเป็นค่าจ้างของลูกจ้าง กรุงเทพมหานคร
2.2.3.2 ลูกจ้างของหน่วยงานอื่นที่ไม่ใช่ส่วนราชการ
(1) ลูกจ้างของรัฐวิสาหกิจ ตามพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานของ กรรมการรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 ซึ่งมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว กําหนดให้พนักงาน หมายความรวมถึงลูกจ้างของรัฐวิสาหกิจด้วย54
(2) ลูกจ้างขององค์การมหาชน สถานะของลูกจ้างในองค์การมหาชน เป็นไปตามกฎหมายจัดตั้งองค์การมหาชนนั้น ๆ55
2.2.4 วัตถุประสงค์และการบริหารงานของบุคลากรภาครัฐในประเทศไทย กรณีข้าราชการ
(1) วัตถุประสงค์และการบริหารงานของข้าราชการ ข้าราชการเป็นบุคลากรภาครัฐประเภทหนึ่ง มีขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการ
บริหารงานของหน่วยงานของรัฐหรือระบบราชการให้สําเร็จลุล่วง มีลักษณะงานในฐานะเป็นผู้ปฏิบัติงาน ตามนโยบายที่วางไว้ให้บรรลุตามเปูาหมาย เป็นผู้ใช้อํานาจรัฐหรืออํานาจมหาชนตามที่กฎหมายกําหนด ไว้ การพิจารณาความเป็นบุคลากรประเภทข้าราชการจะต้องพิจารณาจากการใช้อํานาจในการปฏิบัติ หน้าที่ โดยต้องอาศัยอํานาจรัฐ อํานาจมหาชนบังคับกับราษฎร ซึ่งต้องมีกฎหมายให้อํานาจไว้56
53 หิรัญ อัศววงศ์เกษม, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 31, น.73 - 74.
54 นริศษา ละม้ายอินทร์, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 5 น.80.
55 ชาญชัย แสวงศักดิ์, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 7, น.244.
56 นริศษา ละม้ายอินทร์, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 5, น.80.
(2) กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับข้าราชการ กฎหมายหลักที่มีความสําคัญที่เกี่ยวข้องกับข้าราชการในเรื่องต่างๆ เช่น การ
บรรจุและแต่งตั้ง การพ้นจากตําแหน่ง การเลื่อนขั้นเงินเดือน ค่าตอบแทน สิทธิประโยชน์ การเพิ่มพูน ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ การลงโทษทางวินัย การอุทธรณ์ การร้องทุกข์ การคุ้มครองระบบ คุณธรรม คือ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 นอกจากนี้ ยังมีกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับข้าราชการประเภทอื่นที่สําคัญ ได้แก่ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากร ทางปการศึกษา พ.ศ. 2547 พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547 เป็นต้น ทั้งนี้ ในส่วนของข้าราชการจะไม่นํากฎหมายคุ้มครองแรงงาน กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ กฎหมายเงิน ทดแทน และกฎหมายประกันสังคมมาใช้บังคับกับข้าราชการ แต่จะใช้กฎหมายที่วางระเบียบทั่วไป เกี่ยวกับข้าราชการ คือ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ดังกล่าวข้างต้น
(3) นิติสัมพันธ์ระหว่างข้าราชการกับหน่วยงานต้นสังกัด การพิจารณารูปแบบความสัมพันธ์ของหน่วยงานของรัฐกับคุลากรประเภท
ต่าง ๆ นําไปสู่การบังคับใช้กฎหมายและเขตอํานาจศาลในการพิจารณาคดีเมื่อเกิดกรณีพิพาทเกี่ยวกับ สิทธิและหน้าที่ของบุคคล ซึ่งรูปแบบนิติสัมพันธ์ระหว่างข้าราชการกับหน่วยงานต้นสังกัด เป็น ความสัมพันธ์ตามกฎหมาย ได้แก่ คําสั่งบรรจุแต่งตั้งข้าราชการ หมายถึง การสั่งให้ข้าราชการมีอํานาจ หน้าที่ตามตําแหน่งที่ได้รับแต่งตั้ง โดยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการบรรจุและแต่งตั้ง ข้าราชการเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่กําหนดขึ้นโดยอาศัยอํานาจนิติบัญญัติ อันเป็น การกระทําฝุายเดียวข้องรัฐ ดังนั้น ความสัมพันธ์ระหว่างข้าราชการกับหน่วยงานต้นสังกัดจึงเป็น ความสัมพันธ์ในเชิงคําสั่งในลักษณะของการบังคับบัญชาในสายงานตามลําดับชั้น ข้าราชการจึงเป็นผู้ใช้ อํานาจมหาชนแทนรัฐในการปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์ของรัฐ และเมื่อรัฐได้มอบหมายให้ ข้าราชการใช้อํานาจมหาชนฝุายเดียวบังคับแก่ประชาชน ย่อมมีความจําเป็นที่จะต้องควบคุมการใช้ อํานาจของข้าราชการ เพื่อคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน57 จะเห็นได้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่าง ข้าราชการกับหน่วยงานต้นสังกัด เป็นความสัมพันธ์ฝุายเดียวที่เกิดจากการกําหนดของรัฐ และเ ป็น ความสัมพันธ์ในเชิงกฎหมายมหาชน58
57 นริศษา ละม้ายอินทร์, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 5, น. 81-82.
58 วศิน แดงประดับ,“เสรีภาพในการรวมกันเป็นสหภาพแรงงานของข้าราชการ”, (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553), น.72.
(4) การรักษาระเบียบวินัยของข้าราชการ การรักษาระเบียบวินัยของข้าราชการ พิจารณาได้พระราชบัญญัติระเบียบ
ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ซึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้บังคับกับข้าราชการประเภทพลเรือน59 โดย มาตรา 80 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว บัญญัติให้ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องรักษาวินัยโดยกระทํา การหรือไม่กระทําการตามที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้โดยเคร่งครัดอยู่เสมอ หากข้าราชการพลเรือนสามัญ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามข้อปฏิบัติตามมาตรา 81 และมาตรา 82 หรือฝุาฝืนข้อห้ามตามมาตรา 83 ถือว่า ข้าราชการผู้นั้นเป็นผู้กระทําผิดวินัย60 ซึ่งอาจมีได้ทั้งวินัยร้ายแรงและไม่ร้ายแรง ดังนี้
กรณีที่เป็นการกระทําผิดวินัยร้ายแรง61 เช่น ข้าราชการผู้นั้นปฏิบัติหรือละเว้น การปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบเพื่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติหรือ ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยทุจริต หรือละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร เป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง หรือละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกัน เป็นเวลา เกินสิบห้าวันโดยไม่มีเหตุอันสมควร หรือโดยมีพฤติการณ์อันแสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบ ของทางราชการ หรือข้าราชการผู้นั้นกระทําการอันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ ข่มเหง หรือทําร้ายประชาชนผู้ติดต่อราชการอย่างร้ายแรง หรือกระทําความผิด อาญาจนได้รับโทษจําคุกหรือโทษที่หนักกว่าโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุกหรือให้รับโทษที่ หนักกว่าโทษจําคุก เว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิดที่ได้กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ เป็นต้น กรณีที่ทําผิดวินัยไม่ร้ายแรง62 คือ การกระทําที่เป็นการฝุาฝืนข้อปฏิบัติต่าง ๆ
เช่น ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้นั้นไม่สนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตย หรือปฏิบัติหน้าที่ ราชการด้วยความไม่ซื่อสัตย์ สุจริต และเที่ยงธรรม หรือปฏิบัติหน้าที่ราชการไม่เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบของแบบแผนของทางราชการ หรือไม่รักษาความลับของราชการ วางตนไม่เป็นกลางทางการ เมือง รายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา เป็นต้น ซึ่งข้าราชการที่ถูกคําสั่งลงโทษทางวินัยมีสิทธิอุทธรณ์คําสั่ง ได้ตามมาตรา 114 และมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 และ ในกรณีที่ไม่เห็นด้วยกับคําวินิจฉัยอุทธรณ์สามารถนําคดีมาฟูองต่อศาลปกครองได้
59 นริศษา ละม้ายอินทร์, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 5, น. 85
60 มาตรา 84 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
61 มาตรา 85 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
62 มาตรา 81 ถึงมาตรา 84 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
กรณีพนักงานราชการ
(1) วัตถุประสงค์และการบริหารงานของพนักงานราชการ
พนักงานราชการ เป็นบุคลากรของรัฐประเภทใหม่ เนื่องจากหน่วยงานของ รัฐจัดทําภารกิจในการบริการสาธารณะมากขึ้น และเนื่องจากการทํางานของบุคลากรของรัฐที่มีอยู่ เดิมไม่สามารถตอบสนองภารกิจของรัฐได้อย่างเหมาะสม ทําให้มีการจัดตั้งหน่วยงานของรัฐและ พนักงานของหน่วยงานของรัฐในรูปแบบต่าง ๆ โดยมีลักษณะงานแตกต่างกันออกไป กรณีพนักงาน ราชการ มีวัตถุประสงค์ในการทดแทนลูกจ้างประจําและลูกจ้างชั่วคราวของส่วนราชการ การจ้าง พนักงานราชการเป็นการจ้างที่มีช่วงเวลา มีการประเมินผลการปฏิบัติงานทุกปี มีหลักเกณฑ์การเลื่อนขั้น เงินเดือน การให้ค่าจ้างที่สูงขึ้น โดยได้รับค่าตอบแทนจากงบประมาณส่วนราชการ เพื่อปฏิบัติงานตาม ภารกิจของส่วนราชการนั้น ๆ63
(2) กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพนักงานราชการ กฎหมายที่เกี่ยวกับพนักงานราชการ เช่น ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย
พนักงานราชการ พ.ศ. 2547 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 11(8) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 กําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับหน้าที่ การลงโทษทางวินัย และสิทธิประโยชน์ของ พนักงานราชการ นอกจากนี้ ยังมีประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง แนวทางการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการสรรหา การเลือกสรรพนักงานราชการ และแบบของสัญญาจ้าง พนักงานราชการ64 เป็นต้น
(3) นิติสัมพันธ์ระหว่างพนักงานราชการกับหน่วยงานต้นสังกัด เป็นความสัมพันธ์ในรูปแบบของสัญญาจ้าง สิทธิหน้าที่ในความสัมพันธ์เชิง
สัญญาระหว่างพนักงานราชการกับหน่วยงานต้นสังกัด อยู่ภายใต้เงื่อนไขและข้อบังคับที่กําหนดขึ้น
(4) การรักษาระเบียบวินัยของพนักงานราชการ พนักงานราชการต้องรักษาระเบียบวินัยตามที่กําหนดไว้ในระเบียบสํานัก
นายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547 และตามเงื่อนไขที่กําหนดไว้ในสัญญาจ้าง และมี หน้าที่ต้องปฏิบัติตามคําสั่งของผู้บังคับบัญชาซึ่งสั่งในหน้าที่ราชการโดยชอบด้วยกฎหมายและ ระเบียบของทางราชการ65 กรณีที่เป็นการทําผิดวินัยไม่ร้ายแรง คือ พนักงานราชการฝุาฝืนข้อห้ามที่
63 นริศษา ละม้ายอินทร์, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 5, น.80-81.
64 เพิ่งอ้าง, น.84.
65 ข้อ 22 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
ส่วนราชการกําหนด66 ส่วนกรณีที่เป็นความผิดวินัยร้ายแรง เช่น พนักราชการผู้นั้นทุจริตต่อหน้าที่ ราชการ จงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือเงื่อนไขที่ทางราชการกําหนดให้ ปฏิบัติจนเป็นเหตุให้ทางราชการได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง หรือปฏิบัติหน้าที่โดยประมาท เลินเล่อจนเป็นเหตุให้ทางราชการได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง หรือไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนด ในสัญญา หรือขัดคําสั่งหรือหลีกเลี่ยงไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของผู้บังคับบัญชาจนเป็นเหตุให้ทางราชการ ได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง67 เป็นต้น
(5) การสิ้นสุดการเป็นพนักงานราชการ พนักงานราชการมีนิติสัมพันธ์กับหน่วยงานต้นสังกัด ดังนั้น สถานะของ
พนักงานราชการย่อมสิ้นสุดลงตามสัญญา คือ สัญญาจ้างสิ้นสุดลงเมื่อครบกําหนดตามสัญญาจ้าง หรือพนักงานราชการขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามระเบียบนี้หรือตามที่ส่วนราชการ กําหนด หรือพนักงานราชการตาย หรือไม่ผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน หรือพนักงานราชการถูก ให้ออก เพราะกระทําความผิดวินัยอย่างร้ายแรง68 เป็นต้น และในระหว่างสัญญาจ้างพนักงานราชการ สามารถลาออกจากราชการได้69 นอกจากนี้ ส่วนราชการอาจบอกเลิกสัญญาจ้างกับพนักงานราชการ ก่อนครบกําหนดตามสัญญาจ้างได้ โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า และไม่เป็นเหตุที่พนักงานราชการ จะเรียกร้องค่าตอบแทนการเลิกสัญญาจ้างได้ เว้นแต่ส่วนราชการจะกําหนดให้ในกรณีใดได้รับ ค่าตอบแทนการออกจากงานโดยไม่มีความผิดไว้70
กรณีพนักงานมหาวิทยาลัย
(1) วัตถุประสงค์และการบริหารงานของพนักงานมหาวิทยาลัย สืบเนื่องมาจากการที่รัฐจัดทําภารกิจในการบริการสาธารณะมากขึ้น ซึ่งการ
ทํางานของบุคลากรของรัฐที่มีอยู่เดิมไม่สามารถตอบสนองภารกิจของรัฐได้อย่างเหมาะสม และเพื่อเป็น การปรับลดจํานวนข้าราชการในมหาวิทยาลัย จึงมีการจ้างพนักงานมหาวิทยาลัยมาดําเนินภารกิจของรัฐ ให้บรรลุวัตถุประสงค์
(2) กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพนักงานมหาวิทยาลัย
กฎหมายเกี่ยวกับพนักงานมหาวิทยาลัยถูกจัดตั้งขึ้นตามนโยบายของ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ โดยออกเป็นข้อบังคับมหาวิทยาลัยเพื่อกําหนดหลักเกณฑ์ต่าง ๆ เกี่ยวกับ
66 ข้อ 23 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
67 ข้อ 24 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
68 ข้อ 28 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
69 ข้อ 29 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
70 ข้อ 30 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
พนักงานมหาวิทยาลัยในสังกัดของตน เช่น พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558 ข้อบังคับของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลสําหรับ พนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2550 เป็นต้น
(3) นิติสัมพันธ์ระหว่างพนักงานมหาวิทยาลัยกับหน่วยงานต้นสังกัด
นิติสัมพันธ์ระหว่างพนักงานมหาวิทยาลัยกับหน่วยงานต้นสังกัด เป็น ความสัมพันธ์ในรูปแบบของสัญญาจ้าง สิทธิหน้าที่ในความสัมพันธ์เชิงสัญญาระหว่างพนักงาน มหาวิทยาลัยกับหน่วยงานต้นสังกัด อยู่ภายใต้เงื่อนไขและข้อบังคับที่กําหนดขึ้นตามกฎหมายของ มหาวิทยาลัยแต่ละแห่ง
(4) การรักษาระเบียบวินัยพนักงานมหาวิทยาลัย การรักษาระเบียบวินัยพนักงานมหาวิทยาลัย เป็นไปตามข้อบังคับของ
หน่วยงานนั้นๆ เช่น ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลพนักงาน มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2559 กําหนดโทษวินัยทางวินัย และการดําเนินการทางวินัยของพนักงาน มหาวิทยาลัย ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัย เป็นต้น
(5) การสิ้นสุดการเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย การสิ้นสุดการเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของ
มหาวิทยาลัยแต่ละแห่ง เช่น กรณีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข้อ 53 ของข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลพนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2559 กําหนดเกี่ยวกับการออกจากการเป็น พนักงานมหาวิทยาลัย เช่น พนักงานมหาวิทยาลัยตาย ลาออก ถูกสั่งลงโทษทางวินัยอย่างร้ายแรง หรือ ถูกสั่งให้ออกเพราะขาดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน หรือสิ้นสุดสัญญาการปฏิบัติงาน หรือสัญญา จ้างและไม่ได้รับการต่อสัญญา หรือครบเกษียณอายุงาน เป็นต้น นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยสามารถให้ออก จากการเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยในกรณีพิเศษได้ เช่น เจ็บปุวยจนไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ของตนได้โดย สม่ําเสมอ หรือบกพร่องในหน้าที่ หรือประพฤติตนไม่เหมาะสมกับตําแหน่งหน้าที่ หรือมีการเลิกหรือยุบ เลิกส่วนงานหรือตําแหน่งที่พนักงานมหาวิทยาลัยผู้นั้นปฏิบัติหน้าที่หรือดํารงอยู่71 เป็นต้น
กรณีลูกจ้างของส่วนราชการ
(1) วัตถุประสงค์และการบริหารงานของลูกจ้างของส่วนราชการ เดิมการจ้างลูกจ้างของส่วนราชการเป็นการจ้างลูกจ้างประจําและลูกจ้าง
ชั่วคราว มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการจ้างบุคคลมาทํางานก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่จํานวนมาก เพื่อให้ประเทศมีความเจริญดั่งชาติตะวันตก แต่รัฐต้องการจํากัดจํานวนข้าราชการไว้ รัฐบาลสมัยนั้น
71 ข้อ 55 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลพนักงาน มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2559
จึงกําหนดให้มีตําแหน่งลูกจ้างประจําและลูกจ้างชั่วคราว เมื่อส่วนราชการเห็นว่าการขอตําแหน่ง ข้าราชการพลเรือนสามัญเป็นเรื่องยาก จึงได้มีการขอตําแหน่งลูกจ้างแทน ส่งผลให้ตําแหน่งลูกจ้างมี จํานวนมากขึ้นจนถึงปัจจุบัน72 การจ้างลูกจ้างประจําและลูกจ้างชั่วคราวของส่วนราชการ มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้งานของหน่วยงานต้นสังกัดบรรลุเปูาหมาย โดยลูกจ้างประจําของส่วนราชการมีวัตถุประสงค์ใน การจ้างที่แตกต่างไปจากข้าราชการ เช่น งานที่ใช้แรงงาน งานที่ใช้ฝีมือ งานที่มีความชํานาญโดยไม่ต้อง ใช้บุคคลที่มีวุฒิหรือความรู้เช่นเดียวกับข้าราชการ งานที่ใช้บุคคลซึ่งไม่มีคุณสมบัติที่จะบรรจุให้เป็น ข้าราชการได้ หรืองานที่มีลักษณะเป็นการชั่วคราว73 เป็นต้น
(2) กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับลูกจ้างของส่วนราชการ74 แบ่งออกเป็น 2 กรณี ดังนี้ กรณีลูกจ้างประจําของส่วนราชการ มีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่สําคัญ
ได้แก่ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยลูกจ้างประจําของส่วนราชการ พ.ศ. 2537 กําหนดหลักเกณฑ์ เกี่ยวกับการบรรจุแต่งตั้ง การดําเนินการทางวินัย วันหยุด วันลา สิทธิและหน้าที่ต่าง ๆ ไว้ เป็นต้น ระเบียบว่าด้วยการจ่ายค่าจ้างของส่วนราชการ พ.ศ. 2526 กําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจ่ายค่าจ้าง ให้กับลูกจ้างประจําของส่วนราชการ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยบําเหน็จลูกจ้าง พ.ศ. 2519 กําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจ่ายบําเหน็จให้แก่ลูกจ้างประจําและลูกจ้างชั่วคราวของกระทรวง ทบวง กรม หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0415/ว ลงวันที่ 2 สิงหาคม 2550 เรื่อง อัตราค่าจ้าง ขั้นต่ํา-ขั้นสูงของลูกจ้างประจําส่วนราชการ โดยกําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับอัตราค่าจ้างขั้นต่ําและขั้น สูงไว้ เป็นต้น
กรณีลูกจ้างชั่วคราวของส่วนราชการ มีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่สําคัญ ได้แก่ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยบําเหน็จลูกจ้าง พ.ศ. 2519 กําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจ่าย บําเหน็จให้แก่ลูกจ้างประจําและลูกจ้างชั่วคราวของกระทรวง ทบวง กรม หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0527.6/ว 31 ลงวันที่ 26 เมษายน 2542 เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการบริหารงาน บุคคลลูกจ้างชั่วคราว ซึ่งกําหนดกรอบในการกําหนดตําแหน่ง คุณสมบัติ อัตราค่าจ้างขั้นต่ําของลูกจ้าง ชั่วคราวไว้
(3) นิติสัมพันธ์ระหว่างลูกจ้างของส่วนราชการกับหน่วยงานต้นสังกัด นิติสัมพันธ์ระหว่างลูกจ้างของส่วนราชการกับหน่วยงานต้นสังกัด เป็น
ความสัมพันธ์ในรูปแบบของสัญญาจ้าง ซึ่งมีทั้งสัญญาทางปกครองและสัญญาจ้างแรงงาน สิทธิหน้าที่
72 หิรัญ อัศววงศ์เกษม, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 31, น.23.
73 เพิ่งอ้าง, น.32.
74 นริศษา ละม้ายอินทร์, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 5, น.84-85.
ในความสัมพันธ์เชิงสัญญาระหว่างลูกจ้างของส่วนราชการกับหน่วยงานต้นสังกัด อยู่ภายใต้เงื่อนไข และข้อบังคับที่กําหนดขึ้น
(4) การรักษาระเบียบวินัยของลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ การรักษาวินัยและการลงโทษทางวินัยของลูกจ้างประจําส่วนราชการ กําหนด
ไว้ในหมวด 4 ของระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยลูกจ้างประจําส่วนราชการ พ.ศ. 2537 หากลูกจ้าง กระทําผิดวินัย มีโทษ 5 สถาน75 ได้แก่ ภาคทัณฑ์ ตัดค่าจ้าง ลดขั้นค่าจ้าง ปลดออก และไล่ออก ซึ่งลูกจ้าง ที่ได้ถูกคําสั่งลงโทษมีสิทธิอุทธรณ์ได้ภายในสามสิบวันนับแต่วันทราบคําสั่งการอุทธรณ์และการพิจารณา อุทธรณ์ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงการคลังกําหนด76 นอกจากนี้ ยังมีหนังสือ กระทรวงการคลัง ที่ กค 0527.6/ว51 ลงวันที่ 26 พฤษภาคม 2541 เรื่อง หลักเกณฑ์การร้องทุกข์ และการ พิจารณาเรื่องร้องทุกข์ของลูกจ้างประจําของส่วนราชการ สําหรับลูกจ้างชั่วคราวของส่วนราชการ พิจารณา หลักเกณฑ์จากหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0527.6/ว 31 ลงวันที่ 26 เมษายน 2542 เรื่อง หลักเกณฑ์ และวิธีปฏิบัติเรื่องการบริหารงานบุคคลลูกจ้างชั่วคราว ข้อ 6 ของหนังสือกระทรวงการคลังดังกล่าว กําหนดให้การเลิกจ้าง การรักษาวินัยและการดําเนินการทางวินัยอยู่ในดุลพินิจของส่วนราชการในการ พิจารณาตามความเหมาะสมและเป็นธรรม77
กรณีพนักงานรัฐวิสาหกิจ
(1) วัตถุประสงค์และการบริหารงานของพนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานรัฐวิสาหกิจเป็นพนักงานของหน่วยงานรัฐประเภทหนึ่ง วัตถุประสงค์
เนื่องจากรัฐมีการดําเนินการจัดทําบริการสาธารณะมากขึ้น ทําให้การทํางานของบุคลากรภาครัฐ ตามที่มีอยู่เดิมไม่สามารถตอบสนองภารกิจของรัฐได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงที ส่งผลให้มีการจัดตั้ง หน่วยงานของรัฐในรูปแบบต่าง ๆ รวมทั้งรูปแบบที่เป็นรัฐวิสาหกิจเพื่อให้การดําเนินงานของรัฐ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กําหนดไว้ได้
(2) กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพนักงานรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจแต่ละแห่งจะมีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับเกี่ยวกับการบริหาร
พนักงานเป็นของตนเอง เช่น พระราชบัญญัติการไฟฟูาฝุายผลิตแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2551 นอกจากนี้ บรรดาระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับต่าง ๆ ต้องสอดคล้องหรือไม่ขัดแย้งกฎหมายซึ่งเป็น หลักเกณฑ์กลาง อันเป็นมาตรฐานเกี่ยวกับการบริหารพนักงานตามที่มีกฎหมายบัญญัติไว้ ได้แก่ พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสําหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518
75 ข้อ 48 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยลูกจ้างประจําส่วนราชการ พ.ศ. 2537
76 ข้อ 64 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยลูกจ้างประจําส่วนราชการ พ.ศ. 2537
77 นริศษา ละม้ายอินทร์, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 5, น.89.
พระราชบัญญัติพนักงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2534 พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 และระเบียบคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ เรื่อง มาตรฐานของสิทธิประโยชน์ของ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2534 เป็นต้น78
(3) นิติสัมพันธ์ระหว่างพนักงานรัฐวิสาหกิจกับหน่วยงานต้นสังกัด เดิมความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานรัฐวิสาหกิจกับหน่วยงานต้นสังกัดเป็นไป
ในลักษณะของสัญญาจ้างแรงงาน ดังเช่น คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1464-1475/2530 เป็นคดีเกี่ยวกับ ลูกจ้างประจําของโรงงานน้ําตาล ฟูองเรียกค่าชดเชยตามสัญญาจ้างจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจาก เลิกจ้างโจทก์เพราะเหตุเกษียณอายุและไม่จ่ายค่าชดเชยให้ตามกฎหมาย เป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาจ้าง แรงงาน แต่ต่อมาเมื่อมีการจัดตั้งศาลปกครองขึ้นเป็นระบบศาลคู่ ศาลปกครองเคยมีคําวินิจฉัยเกี่ยวกับ สัญญาจ้างพนักงานรัฐวิสาหกิจไปในทางที่ว่า สัญญาจ้างพนักงานหรือลูกจ้างรัฐวิสาหกิจ เป็นสัญญาจ้าง แรงงาน แต่ประเด็นคําสั่งลงโทษทางวินัยพนักงานหรือลูกจ้างรัฐวิสาหกิจเป็นคําสั่งทางปกครองที่อยู่ใน อํานาจพิจารณาพิพากษาของศาลแรงงาน ตามมาตรา 9 วรรคสอง (3) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาล
ปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 254279
(4) การรักษาระเบียบวินัยพนักงานรัฐวิสาหกิจ การรักษาระเบียบวินัยและการลงโทษทางวินัยของพนักงานรัฐวิสาหกิจ
เป็นไปตามระเบียบหรือข้อบังคับของรัฐวิสาหกิจนั้น ๆ80 เช่น ข้อบังคับการไฟฟูานครหลวงว่าด้วยวินัย และการลงโทษพนักงาน พ.ศ. 2536 เป็นต้น
กรณีพนักงานขององค์การมหาชน
(1) วัตถุประสงค์และการบริหารงานของพนักงานองค์การมหาชน องค์การมหาชนเป็นหน่วยงานของรัฐและเป็นนิติบุคคล ตามมาตรา 6 แห่ง
พระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. 2542 มีบุคลากรที่ปฏิบัติงานในองค์การมหาชน ได้แก่ เจ้าหน้าที่ขององค์การมหาชน ตามมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. 2542 ลูกจ้าง ขององค์การมหาชน ซึ่งอาจเป็นลูกจ้างประจําหรือลูกจ้างชั่วคราว เช่นเดียวกับลูกจ้างที่ปฏิบัติงานอยู่ ตามกระทรวง ทบวง กรม ต่าง ๆ โดยทั่วไป81
78 นริศษา ละม้ายอินทร์, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 5, น. 83.
79 คําสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 618/2552, ที่ 216/2547, และที่ 82/2544
80 นริศษา ละม้ายอินทร์, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 5, น. 87.
81 สุรพล นิติไกรพจน์ และเอกศักดิ์ คงตระกูล, มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐภายใต้ความ รับผิดชอบต่อสังคม ผู้รับบริการและประโยชน์สาธารณะ : การประเมินบุคลากรของมหาวิทยาลัยใน
(2) กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพนักงานองค์การมหาชน กฎหมายที่เกี่ยวกับพนักงานองค์การมหาชน มีลักษณะเช่นเดียวกับกรณี
พนักงานรัฐวิสาหกิจ กล่าวคือ องค์การมหาชนแต่ละแห่งจะมีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับเกี่ยวกับการ บริหารพนักงานเป็นของตนเอง เช่น แห่งพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. 2542 พระราชกฤษฎีกา จัดตั้งสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน พ.ศ. 2543 นอกจากนี้ นอกจากนี้ ยังมีกฎหมายเกี่ยวกับผู้บริหารของ องค์การมหาชนกําหนดตามระเบียบหรือข้อบังคับคณะกรรมการองค์การมหาชน เช่น มาตรา 32 (1) แห่ง พระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. 2542 เป็นต้น82
(3) นิติสัมพันธ์ระหว่างพนักงานองค์การมหาชนกับหน่วยงานต้นสังกัด นิติสัมพันธ์ระหว่างพนักงานองค์การมหาชนกับหน่วยงานต้นสังกัด เป็น
ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นตามสัญญา เดิมเป็นไปในลักษณะของสัญญาจ้างแรงงาน แต่ต่อมามีคําวินิจฉัย ของคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาล ที่ 36/2548 ว่าความสัมพันธ์ระหว่าง จําเลยซึ่งมีฐานะเป็นองค์การมหาชนมีขึ้นเพื่อให้ลูกจ้างเข้าดําเนินงานบริการสาธารณะอันเป็นไปตาม ความสัมพันธ์ตามกฎหมายมหาชน โดยที่โจทก์ไม่มีอํานาจเจรจาต่อรองเกี่ยวกับสภาพการจ้าง การนัด หยุดงาน การปิดงาน การงดจ้าง และการตั้งสหภาพแรงงาน ความสัมพันธ์ระหว่างโจทก์กับจําเลย จึงเป็นความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานของรัฐซึ่งมีอํานาจเหนือลูกจ้างที่เป็นคู่สัญญาอีกฝุายหนึ่ง เพื่อให้เข้าร่วมจัดทําบริการสาธารณะซึ่งเป็นความสัมพันธ์ตามกฎหมายมหาชน ไม่ใช่ความสัมพันธ์ใน ฐานะลูกจ้างกับนายจ้างตามสัญญาจ้างแรงงานในระบบกฎหมายแพ่งทั่วไป ข้อตกลงการทํางานไม่เป็น สัญญาจ้างแรงงาน แต่เป็นความสัมพันธ์เพื่อร่วมจัดทําบริการสาธารณะอันเป็นสัญญาทางปกครอง83
(4) การรักษาระเบียบวินัยพนักงานองค์การมหาชนและการลงโทษทางวินัยของ พนักงานองค์การมหาชน
การรักษาระเบียบวินัยและการลงโทษทางวินัยของพนักงานองค์การมหาชน เป็นไปตามระเบียบหรือข้อบังคับของรัฐวิสาหกิจนั้น ๆ84 เช่น ระเบียบสํานักงานปฏิรูปการศึกษาว่า ด้วยการบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2543 เป็นต้น
กํากับของรัฐและเงื่อนไขการต่อสัญญาจ้าง, (สํานักปลัดทบวงมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร, 2546), น.118-119.
82 นริศษา ละม้ายอินทร์, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 5, น.83.
83 คําวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาลที่ 36/2548
84 นริศษา ละม้ายอินทร์, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 5, น.87.
บทที่ 3 สัญญาจ้างบุคลากรของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ
มหาวิทยาลัยภายใต้ระบบราชการจะต้องดําเนินการทุกอย่างภายใต้กฎเกณฑ์ของ ราชการที่เป็นบรรทัดฐานเดียวกัน มีระบบการควบคุมตรวจสอบที่ชัดเจนและตายตัว มีระบบการ จัดสรรและบริหารงบประมาณที่กําหนดไว้สําหรับการจ่ายเงินของราชการ และมีระบบการบริหาร บุคคลที่เป็นระบบเดียวกันทั้งประเทศ แต่มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ มีการดําเนินการที่ต่างออกไป โดยมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐมีความเป็นอิสระมากขึ้น การควบคุมและการกํากับของรัฐบาลลดลง หรือมีน้อยที่สุด โดยรัฐบาลจะกํากับเพียงด้านนโยบาย การจัดสรรงบประมาณและคุณภาพเป็นหลัก ซึ่งจะเน้นการติดตาม การประเมินผลการดําเนินงานเพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการดําเนินงาน1 มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ จึงถือเป็นรูปแบบใหม่ของการจัดการโครงสร้างบริหารการศึกษาใน ระดับอุดมศึกษาของรัฐ โดยมีแนวคิดพื้นฐานมาจากความเป็นอิสระขององค์การมหาชน2 โดยบุคลากร ที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐเข้ามาด้วยวิธีการทําสัญญาจ้างเป็นส่วนใหญ่ ทั้งนี้ สัญญา จ้างบุคลากรมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐอาจเป็นได้ทั้งสัญญาจ้างแรงงานซึ่งเป็นทางแพ่ง และสัญญา ทางปกครอง
สําหรับบทที่ 3 ผู้เขียนได้ศึกษาแนวคิดพื้นฐานและวิวัฒนาการของมหาวิทยาลัยใน กํากับของรัฐ ความหมายและสถานภาพของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศไทย การจัดตั้ง และรูปแบบการบริหารงานของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศไทย การบริหารงานบุคคลของ มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ โดยยกกรณีของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มาศึกษา รวมทั้งได้ศึกษา มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในต่างประเทศ เพื่อให้เกิดความเข้าใจและสามารถนํามาวิเคราะห์ เปรียบเทียบกับมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศไทยได้ ทั้งได้ยังศึกษาเกี่ยวกับสัญญาจ้าง แรงงานและสัญญาทางปกครอง ซึ่งมีความสําคัญและเกี่ยวข้องโดยตรงกับปัญหาสัญญาจ้างบุคลากร มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐที่ผู้เขียนได้นําเสนอ โดยได้รวบรวมและวิเคราะห์แนวคําวินิจฉัยของ
1 พรทิพย์ พุ่มศิริ, รายงานวิจัย เรื่อง การบริหารงานบุคคลในมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ ตามความคิดเห็นของข้าราชการ สาย ข. ค. ของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2548, น.12.
2 สุรพล นิติไกรพจน์ และเอกศักดิ์ คงตระกูล, มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐภายใต้ความ รับผิดชอบต่อสังคม ผู้รับบริการและประโยชน์สาธารณะ : การประเมินบุคลากรของมหาวิทยาลัยในกํากับของ รัฐและเงื่อนไขการต่อสัญญาจ้าง, (สํานักปลัดทบวงมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร 2546), น.116.
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาล และแนวคําพิพากษาของศาลในเรื่องที่เกี่ยวกับ สัญญาจ้างบุคลากรมหาวิทยาลัยของรัฐด้วย มีรายละเอียดตามลําดับดังนี้
3.1 มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศไทย
3.1.1 แนวคิดพื้นฐานและวิวัฒนาการมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศไทย
3.1.1.1 ยุคการก่อตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นในประเทศไทยเป็นครั้งแรก
ปี พ.ศ. 2442 มีการก่อตั้งสํานักฝึกวิชาข้าราชการพลเรือนขึ้น และได้รับ การยกฐานะเป็นโรงเรียนมหาดเล็กขึ้นในปี พ.ศ. 2445 ผู้ที่สําเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนี้มุ่งที่จะเข้า ทํางานที่กระทรวงมหาดไทย ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้มีพระบรมราชโองการ ประกาศตั้งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะให้มีการสอนในวิชาต่าง ๆ เพื่อที่จะ ไปรับราชการที่กระทรวงอื่น ๆ นอกจากกระทรวงมหาดไทย ในปี พ.ศ. 2457 ได้มีพระบรมราช โองการสถาปนาโรงเรียนข้าราชการนี้ขึ้นเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2459 โดยแบ่งออกเป็น 4 คณะ ได้แก่ คณะแพทยศาสตร์ คณะรัฐประศาสนศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ โดยทรงมีพระราชดําริเห็นสมควรขยายการศึกษาในโรงเรียนนี้ให้ กว้างขึ้น โดยให้สถานะของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขึ้นกับกระทรวงธรรมการ มีอธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชา และได้เปลี่ยนเป็นอธิการบดีเมื่อปี พ.ศ. 2478
ช่วงปี พ.ศ. 2476 ได้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการ เมืองขึ้น โดยมหาวิทยาลัยมีความเป็นอิสระไม่ขึ้นกับหน่วยงานราชการใด ๆ ต่อมา ได้เปลี่ยนฐานะ เป็นหน่วยราชการเหมือนมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ที่ก่อตั้งขึ้นภายหลัง ดังนั้น ระบบบริหารงานบุคคล การ บริหารงบประมาณ การเงิน การคลัง และการพัสดุ จะมีการควบคุมและกํากับดูแลดําเนินการต่าง ๆ ที่ ต้องยึดถือกฎเกณฑ์ระเบียบต่าง ๆ โดยเคร่งครัด ซึ่งมีหลายกรณีที่ขัดต่อลักษณะการบริหารงานของ มหาวิทยาลัย หรือสถาบันอุดมศึกษาที่ต้องการความยืดหยุ่น คล่องตัว และความรวดเร็วในการ ดําเนินการเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่จะตอบสนองความก้าวหน้าทางวิชาการ ซึ่งถือเป็นบทบาทหน้าที่
ของมหาวิทยาลัย3 รวมทั้งการบริหารงานดังกล่าวขัดต่อหลักความเป็นอิสระในการดําเนินการ และ เสรีภาพทางวิชาการของมหาวิทยาลัย4
3.1.1.2 แนวคิดในการนํามหาวิทยาลัยออกนอกระบบ
ปี พ.ศ. 2507 โดยผู้บริหารและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยได้ยื่นหลักการ ต่อจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีแต่ไม่ได้รับการเห็นชอบ เพียงแต่ได้มีการจัดตั้ง "ทบวงมหาวิทยาลัย" ขึ้น เพื่อดูแลมหาวิทยาลัยต่าง ๆ แทน "สํานักนายกรัฐมนตรี" ดังนั้น ในยุคนี้ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ได้ย้ายไปสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย จากเดิมที่สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี อย่างไรก็ตาม มหาวิทยาลัยก็ยังคงอยู่ภายใต้กฎหมายระเบียบของราชการเช่นเดิม ซึ่งทําให้ขาดความคล่องตัวในการ ดําเนินงาน5
ปี พ.ศ. 2520 มีการปรับฐานะของทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐใหม่ เป็น ทบวงอิสระแยกจากสํานักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่ความรับผิดชอบในการกํากับดูแลมหาวิทยาลัยของรัฐ และสถาบันอุดมศึกษาเอกชน เพิ่มอํานาจของทบวงมหาวิทยาลัยมากขึ้น สอดคล้องกับแนวความคิด เรื่อง มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐบาลที่มีองค์กรกลางจัดเงินอุดหนุนแก่มหาวิทยาลัย6 แต่ในช่วงปี พ.ศ. 2517 แนวความคิดเรื่องมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐได้มีการรื้อฟื้นขึ้นมาอีกครั้ง เมื่อมีการตั้งคณะกรรมการ วางรากฐานเพื่อปฏิรูปการศึกษาในปี พ.ศ. 2517 แต่คณะกรรมการคิดว่าต้องการเวลาสร้างความพร้อมทั้ง ทางด้านรัฐบาลและมหาวิทยาลัยจึงมุ่งสร้างระบบอุดมศึกษาที่เป็นส่วนของระบบราชการ แต่ให้มีเอกภาพ ในการบริหาร มีความเป็นอิสระในการดําเนินงานและมีการประสานงานระหว่างสถาบันอุดมศึกษาให้ดีขึ้น หลังจากนั้นก็มิได้มีความพยายามใด ๆ ที่เป็นรูปธรรมอีก นอกจากมีการประชุมสัมมนาในหลาย ๆ ครั้ง ซึ่ง แต่ละครั้งได้หยิบยกเรื่องความเป็นอิสระของมหาวิทยาลัยขึ้นมาวิพากษ์วิจารณ์ ซึ่งส่งผลให้มีการแก้ไข
3 จรรยา คัดธนะเงิน, “สถาบันราชภัฎเป็นสถาบันอุดมศึกษาในกํากับของรัฐ : ศึกษากรณี สถาบันราชภัฎจันทร์เกษม”,(วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2543) อ้างในอุทุมพร จามรมาน และสุบิน ยุระรัช, “รายงานการสังเคราะห์เอกสาร เรื่อง มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐกับสัมฤทธิ์ผล การศึกษาไทยตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ,” 2545, น.1.
4 กัลยณัฏฐ์ พรหมนอก, “การคุ้มครองการทํางานบุคลากรมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ”, (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2556), น.77.
5 เกษม สุวรรณกุล, “มหาวิทยาลัยนอกระบบคืออะไร”, สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2560, xxxxx://xx.xxxxxxxxx.xxx
6 กัลยณัฏฐ์ พรหมนอก, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 4, น.77.
ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ และหลักเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อให้มหาวิทยาลัยมีความเป็นอิสระและคล่องตัว ในการบริหารงานภายในมากกว่าราชการส่วนอื่น7
ปี พ.ศ. 2533 รัฐบาลได้ส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยที่ไม่เป็นส่วนราชการ อย่างสมบูรณ์ กล่าวคือ มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา ปี พ.ศ. 2535 มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ขึ้นในจังหวัดนครศรีธรรมราช และมีมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งหนึ่ง คือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เตรียมออกนอกระบบราชการ และได้ออกนอกระบบได้ สําเร็จเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2541 โดยได้เปลี่ยนชื่อเป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ซึ่ง ถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกที่ปรับเปลี่ยนฐานะเป็นมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐออกนอก ระบบราชการ และมีการบริหารงานโดยเฉพาะการบริหารงานเงินเป็นสองระบบ คือ ระบบราชการและ ระบบที่ไม่ใช่ราชการ โดยใช้อํานาจของสภามหาวิทยาลัย มีการจ้างบุคลากรที่ไม่ใช่ข้าราชการ บุคลากร ที่เป็นข้าราชการมีรายได้เพิ่ม ซึ่งได้จากโครงการบริการทางวิชาการพิเศษต่าง ๆ 8
ช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ เมื่อปี พ.ศ. 2541 นโยบายการออกนอกระบบ เป็นข้อตกลงหนึ่งที่ผูกพันกับสัญญาการกู้ยืมเงินกับธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank: ADB) โดยมุ่งหมายของรัฐบาลเพื่อลดงบประมาณในส่วนราชการที่สามารถเลี้ยงตนเองและ บริหารงบประมาณเองได้ ในช่วงปี พ.ศ. 2542 เริ่มมีการเสนอให้มหาวิทยาลัย หรือคณะที่ตั้งขึ้นใหม่ "ออกนอกระบบ" ราชการ และมีการหยุดรับข้าราชการพลเรือนเข้ามาในมหาวิทยาลัยรัฐเดิมทั้งหมด ตําแหน่งที่บรรจุเข้ามาใหม่ เรียกว่า "พนักงานมหาวิทยาลัย" ซึ่งมีกรอบเงินเดือนและสวัสดิการ แตกต่างจากข้าราชการพลเรือนเดิม และหากผู้ที่เกษียณราชการไปให้ตําแหน่งและเงินเดือนนั้น เปลี่ยนเป็นตําแหน่งพนักงานมหาวิทยาลัยในตําแหน่งเริ่มบรรจุใหม่เท่านั้น
3.1.1.3 การก่อตั้งมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ
การที่มหาวิทยาลัยเป็นส่วนหนึ่งของระบบราชการซึ่งต้องมีระบบการ ตรวจสอบและควบคุมอย่างกวดขัน การวางรูปงาน ระบบ กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับ วิธีการปฏิบัติ จะทํา
7 “ความเป็นมาของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ : อดีตถึงปัจจุบัน”, (สํานักงานคณะกรรมการ อุดมศึกษา), น.2.
8 รายงานการประชุมทางวิชาการประจําปี 2545 เรื่อง มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ : เส้นทาง สู่ World University ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย วันที่ 1-2 มิถุนายน 2545 ณ โรงแรมรอยัลคลิฟ รีสอร์ท พัทยา จังหวัดชลบุรี, น.68-69 อ้างในกัลยณัฏฐ์ พรหมนอก, “การคุ้มครองการทํางานบุคลากร มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ”, (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2556), น.77-78.
ให้มหาวิทยาลัยขาดความอิสระในการบริหารงานหลายด้าน เนื่องจากการยึดโยงกับระบบราชการ9 ระบบ สายบังคับบัญชาและระเบียบกฎเกณฑ์ที่เป็นทางการ ทําให้ระบบบริหารงานของมหาวิทยาลัยมีความ ล่าช้า ไม่มีความคล่องตัว ขาดประสิทธิภาพ10 ไม่สามารถปรับตัวให้สอดคล้องกับสภาพสังคมที่ เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว จึงมีความพยายามที่จะให้มหาวิทยาลัยมีความเป็นอิสระมากขึ้น ซึ่งจะเห็นได้ จากการพยายามนํามหาวิทยาลัยออกนอกระบบดังกล่าวข้างต้น
ปัจจุบันประเทศไทยมีมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐทั้งสิ้น 26 แห่ง มหาวิทยาลัยเหล่านี้ไม่ได้ขึ้นอยู่กับระบบราชการหรือไม่อยู่ในสายบังคับบัญชาของสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา แต่การจัดตั้งมหาวิทยาลัยนั้นอาศัยกฎหมายจัดตั้งมหาวิทยาลัยในแต่ละ ฉบับ ได้แก่
2533)
(1) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี พ.ศ.
(2) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พ.ศ. 2535)
(3) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย พ.ศ. 2540)
(4) มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฎราช วิทยาลัย พ.ศ. 2540)
(5) มหาวิทยาลัยแม่ฟูาหลวง (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยแม่ฟูาหลวง พ.ศ. 2541)
(6) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ. 2541)
(7) มหาวิทยาลัยมหิดล (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2550)
(8) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ. 2550)
(9) มหาวิทยาลัยบูรพา (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2550)
(10) มหาวิทยาลัยทักษิณ (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยทักษิณ พ.ศ. 2551)
(11) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551)
(12) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2551)
(13) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง (พระราชบัญญัติสถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบังพ.ศ. 2551)
9 กัลยณัฏฐ์ พรหมนอก, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 4, น.69.
10 สุรพล นิติไกรพจน์ และเอกศักดิ์ คงตระกูล, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 2, น.116.
2555)
(14) มหาวิทยาลัยพะเยา (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยพะเยา พ.ศ. 2553)
(15) สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา (พระราชบัญญัติสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา พ.ศ.
(16) มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช พ.ศ.
2556 เดิมชื่อมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร)
(17) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ.
2558)
พ.ศ. 2559)
2559)
(18) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2558)
(19) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558)
(20) มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. 2558)
(21) ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ (พระราชบัญญัติราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ พ.ศ. 2559)
(22) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
(23) มหาวิทยาลัยศิลปากร (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2559)
(24) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ.
(25) มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยแม่โจ้ พ.ศ. 2560)
(26) สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย (พระราชบัญญัติสถาบันการ
พยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย พ.ศ. 2559)
3.1.2 ความหมายและสถานภาพของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศไทย
3.1.2.1 ความหมายของมหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความหมายของ มหาวิทยาลัยไว้ว่า “มหาวิทยาลัย” หมายถึง สถาบันอุดมศึกษาที่มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาในด้าน วิชาการและวิชาชีพชั้นสูงหลายสาขาวิชา หรือหลายกลุ่มสาขาวิชา เพื่อให้ประกาศนียบัตร อนุปริญญา ปริญญา และประกาศนียบัตรบัณฑิตแก่ผู้สําเร็จการศึกษา รวมทั้งดําเนินการวิจัยและให้บริการทาง วิชาการแก่สังคม และทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ.นอกจากนั้น คําว่า “มหาวิทยาลัย” (University) มาจากรากศัพท์ดั้งเดิมของคําว่า Universal หรือวามเป็นสากล11 ในยุคกรีก Plato ตั้ง
11 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับมหาวิทยาลัยพิจารณาได้จากตําราด้านนี้ เช่น James A.Perkins(ed),Higher Education : From Autonmy to system,(Washington D.C:USIA 1973). James A.Perkins, University in Transition. (Princeton,N.J.: Princeton University Press, 1966). W.R.Neblit (ed), Higher Education :
Academy และ Aristotle ตั้ง Lyceum เป็นสํานักความคิดทางปรัชญา และเกิดการถ่ายทอดค้นคว้า เพิ่มเติมจนเป็นปรัชญาที่สอดคล้องกัน
“มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ” เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “มหาวิทยาลัย นอกระบบ” เป็นรูปแบบใหม่ของการจัดการครงสร้างบริหารการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของรัฐ โดย มีแนวคิดพื้นฐานมาจากความเป็นอิสระขององค์การมหาชน ซึ่งประกอบด้วยหลักเกณฑ์ 4 ประการ คือ ประการแรก มีความเป็นอิสระในการจัดการองค์กรบริหารภายในมหาวิทยาลัย ประการที่สอง มีความ เป็นอิสระในการบริหารงาน ประการที่สาม มีความเป็นอิสระทางด้านการเงิน และประการที่สี่ มีความเป็น อิสระทางด้านวิชาการ12 หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ หมายถึง สถาบันอุดมศึกษา ในกํากับของรัฐ (National university) ที่มีการบริหารการจัดการอิสระแยกจากระบบราชการ (autonomous university) แต่ยังได้รับเงินอุดหนุนทั่วไป (block grant) ที่รัฐจัดสรรให้เป็นรายปี โดยตรง เพื่อใช้จ่ายตามความจําเป็นในการดําเนินการตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และเพื่อ ประกันคุณภาพการศึกษา13
3.1.2.2 สถานภาพของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ
มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐยังคงมีสถานภาพเป็นหน่วยงานของรัฐ ไม่ เป็นส่วนราชการ และไม่เป็นรัฐวิสาหกิจ แต่เป็นนิติบุคคลอยู่ภายใต้การกํากับของรัฐบาล และเป็น หน่วยงานของรัฐที่ยังคงได้รับการจัดสรรงบประมาณจากงบประมาณแผ่นดินให้อย่างเพียงพอที่จะ ประกันคุณภาพการศึกษาไว้ได้ การบริหารงานต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐจะสิ้นสุดที่ สภามหาวิทยาลัยเป็นส่วนใหญ่14 ซึ่งมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ ถือเป็นรูปแบบใหม่ของการจัดการ โครงสร้างบริหารการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของรัฐ โดยมีแนวคิดพื้นฐานมาจากความเป็นอิสระของ องค์การมหาชน15 กล่าวคือ องค์การมหาชนที่จัดตั้งขึ้นไม่ว่าโดยพระราชกฤษฎีกาหรือพระราชบัญญัติ มีฐานะเป็นหน่วยงานของรัฐและเป็นนิติบุคคล
Demand and Response. (San France : Jossey Bass,1970). อ้างในกัลยณัฏฐ์ พรหมนอก, “การคุ้มครอง การทํางานบุคลากรมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ”, (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2556), น.61.
12 สุรพล นิติไกรพจน์ และเอกศักดิ์ คงตระกูล, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 2, น.116
13 เกษม สุวรรณกุล, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 5
14“หลักการและแนวปฏิบัติมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐบาล”, (สํานักงานปลัด ทบวงมหาวิทยาลัยทบวงมหาวิทยาลัย กันยายน 2541)
15 สุรพล นิติไกรพจน์ และเอกศักดิ์ คงตระกูล, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 2, น.116
มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ ได้รับ งบประมาณจากรัฐเป็นค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานตามภารกิจของมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นหลักเดียวกัน กับองค์การมหาชน และในฐานะที่มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐได้รับงบประมาณจากรัฐ มหาวิทยาลัยจึง ต้องดําเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล และปฏิบัติภารกิจตามที่รัฐมอบหมายนอกจากภารกิจที่กําหนดไว้ ในพระราชบัญญัติจัดตั้งมหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยต้องอยู่ภายใต้ระบบการควบคุมตรวจสอบและ ประเมินประสิทธิภาพการบริหารจัดการรัฐ16 ดังนั้น จึงสามารถแยกองค์ประกอบทางกฎหมายที่สําคัญของ มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐได้ 5 ประการ ดังนี้17
ประการแรก มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งโดย พระราชบัญญัติเฉพาะ มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐจึงสามารถอาศัยบทบัญญัติของกฎหมายจัดตั้ง มหาวิทยาลัยของตนโดยเฉพาะเพื่อดําเนินภารกิจของตนได้โดยสมบูรณ์โดยไม่ต้องพึงพาบทบัญญัติใน กฎหมายอื่น
ประการที่สอง มีสถานะเป็นองค์การมหาชน กล่าวคือ มหาวิทยาลัยใน กํากับของรัฐมีลักษณะใกล้เคียงกับองค์การมหาชนมากที่สุด เนื่องจากเป็นนิติบุคคลมหาชนจัดตั้งขึ้น ตามกฎหมายระดับพระราชบัญญัติโดยไม่ได้มีการจดทะเบียนจัดตั้ง อันเป็นลักษณะของนิติบุคคล มหาชน และมีหน้าที่ในกาจัดทําบริการสาธารณะ ซึ่งไม่ได้มีลักษณะในทางอุตสาหกรรมและการค้า18
ประการที่สาม ได้รับงบประมาณจากรัฐในรูปแบบเงินอุดหนุนทั่วไปที่รัฐ จัดสรรให้เป็นรายปี แต่มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐอาจมีรายได้จากการดําเนินการอื่น ๆ ได้19
ประการที่สี่ มีความสัมพันธ์กับรัฐในลักษณะกํากับดูแล ซึ่งกฎหมาย จัดตั้งมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐทุกฉบับกําหนดให้รัฐมนตรีมีอํานาจนาจและหน้าที่กํากับดูแลทั่วไป ซึ่งกิจการของมหาวิทยาลัยให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และสอดคล้องกับนโยบายของรัฐ20
ประการสุดท้าย สภามหาวิทยาลัยเป็นองค์กรสูงสุดและมีอํานาจ เบ็ดเสร็จในการบริหารกิจการ กล่าวคือ เรื่องที่เกี่ยวข้องกับกิจการของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ
16 เพิ่งอ้าง, น.118
17 สุรพล นิติไกรพจน์, มหาวิทยาลัยไทย, พิมพ์ครั้งที่ 1, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2559), น.166-187.
18 เพิ่งอ้าง , น.175-176.
19 เพิ่งอ้าง, น.183.
20 เพิ่งอ้าง, น.183-186.
เกือบทุกเรื่องสามารถสิ้นสุดที่สภามหาวิทยาลัยในฐานะองค์กรตัดสินใจสูงสุดในมหาวิทยาลัย มีเพียง ส่วนน้อยที่มหาวิทยาลัยจะต้องเสนอเรื่องต่อรัฐมนตรีที่มีอํานาจกํากับดูแลหรือคณะรัฐมนตรี21
สําหรับความเป็นอิสระของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐจะปรากฏอยู่ใน พระราชบัญญัติของแต่ละมหาวิทยาลัย ซึ่งสภามหาวิทยาลัยสามารถกําหนดระเบียบข้อบังคับในการ บริหารจัดการเรื่องต่าง ๆ ได้โดยอิสระภายใต้กรอบแห่งพระราชบัญญัติของสภามหาวิทยาลัยนั้น การ บริหารจัดการจะสิ้นสุดที่สภามหาวิทยาลัยเป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นเรื่องที่จะเสนอคณะรัฐมนตรี ที่จะต้อง เสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาให้ความเห็นชอบและนําเสนอคณะรัฐมนตรีต่อไป22 สําหรับความ เชื่อมโยงกับนโยบายของรัฐบาลนั้น โดยการดําเนินงานของมหาวิทยาลัย ทั้งการผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปและวัฒนธรรม ต้องเป็นไปอย่างมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับความต้องการของสังคม เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาลและแผนการพัฒนาประเทศ ซึ่งการผลิตบัณฑิต ควรให้โอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชนโดยไม่เลือกปฏิบัติ จัดการศึกษาหลากหลาย รูปแบบ ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมทั้งมีความคล่องตัวและยืดหนุ่นในการปรับตัวไปตาม สถานการณ์ และกลไกการจัดสรรงบประมาณ หรือกลไกลการกํากับดูแล โดยองค์กรที่รัฐจัดตั้งขึ้น เพื่อความเชื่อมโยงกับการดําเนินงานของมหาวิทยาลัย23
3.1.3 การจัดตั้งและรูปแบบการบริหารงานของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐใน
ประเทศไทย
มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ และมหาวิทยาลัยที่เปลี่ยนสภาพจากส่วนราชการ
มาสู่มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐมีลักษณะคล้ายกัน โดยมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐจัดตั้งโดย พระราชบัญญัติเฉพาะ สําหรับโครงสร้างของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ ประกอบด้วยสภามหาวิทยาลัย เป็นองค์กรสูงสุดของมหาวิทยาลัย24 รวมทั้งมีรูปแบบการบริหารงาน ดังนี้
(1) การบริหารจัดการทั่วไป
มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐมีสภามหาวิทยาลัยเป็นองค์กรสูงสุด ทําหน้าที่ บริหารตามที่กําหนดนโยบายและภารกิจ โดยใช้หลักบริหารจัดการที่ดี (Good Governance) โดย
21 สุรพล นิติไกรพจน์, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 17, น.206-207.
22 พรทิพย์ พุ่มศิริ, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 1, น.12.
23 “หลักการและสาระสําคัญของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ”, สืบค้นเมื่อวันที่ 23 มีนาคม
2560, xxxxx://xxx.xxxxxxx.xx.xx/xx/xxxxxxxx/xxxx.xxx
24 ประภาศรี ศุภอักษร, “เสรีภาพในการจัดตั้งสหภาพแรงงานในมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ ในประเทศไทย”, (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552), น.80.
อาจออกข้อบังคับหรือหลักเกณฑ์ว่าด้วยการบริหารจัดการที่ดี เพื่อเป็นแนวทางในการออกระเบียบ ข้อบังคับ และแนวทางในการดําเนินกิจกรรมทั่วไปของมหาวิทยาลัย25
(2) การบริหารจัดการด้านองค์กรของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ
กฎหมายจัดตั้งมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐแต่ละฉบับกําหนดให้มหาวิทยาลัย ในกํากับของรัฐแต่ละแห่งมี “สภามหาวิทยาลัย” หรือบางมหาวิทยาลัยเรียกว่า “สภาสถาบัน” โดยสภา มหาวิทยาลัยสามารถกําหนดระเบียบข้อบังคับในการบริหารจัดการในเรื่องการบริหารงานบุคคล ระบบ การบริหารวิชาการ ระบบการบริหารการเงินและงบประมาณ ระบบกํากับและติตามผลการดําเนิน กิจการของมหาวิทยาลัย ระเบียบและข้อบังคับอื่นได้อย่างอิสระภายใต้กรอบของกฎหมายจัดตั้ง มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐกําหนด
สภามหาวิทยาลัยมีบทบาทในการบริหารจัดการและรับผิดชอบการดําเนินงาน ของมหาวิทยาลัย มีหน้าที่กําหนดนโยบายและแผนในการปฏิบัติภารกิจให้สอดคล้องและตอบสนอง นโยบายของรัฐ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา รวมทั้ง ความต้องการทางสังคม กําหนดระบบติดตามการดําเนินการและรายงานผลการดําเนินการชัดเจน โปร่งใส พร้อมให้สามารถตรวจสอบได้ ทั้งยังได้กํากับวิธีติดตามผลการดําเนินการให้เป็นไปตามนโยบาย26 แต่ การบริหารงานด้านวิชาการตามกฎหมายจัดตั้งมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐบางฉบับ กําหนดให้ “สภา วิชาการ” หรือ “สภาคณาจารย์” เป็นผู้ดําเนินงานเกี่ยวกับด้านวิชาการโดยเฉพาะ เช่น พระราชบัญญัติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551 มาตรา 2527 และพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2551
25“หลักการและสาระสําคัญของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ”, สืบค้นเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2560, xxxxx://xxx.xxxxxxx.xx.xx/xx/xxxxxxxx/xxxx.xxx
26 นภัสวรรณ โตตระกูล, “ความเห็นเกี่ยวกับการทํางานภายใต้การเป็นมหาวิทยาลัยในกํากับ ของรัฐ : ศึกษากรณีบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา”, รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2542), น.6 น.13 น.14. อ้างใน กัลยณัฏฐ์ พรหมนอก, “การ คุ้มครองการทํางานบุคลากรมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ”, (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2556), น.73.
27 พระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551 มาตรา 25 บัญญัติว่า ให้มี คณะกรรมการนโยบายวิชาการซึ่งสภามหาวิทยาลัยแต่งตั้ง ประกอบด้วยประธานและกรรมการ มีอํานาจ และหน้าที่ ดังนี้
(1) เสนอแนะเปูาหมาย นโยบาย แนวทางในการพัฒนา และแผนพัฒนาวิชาการของ มหาวิทยาลัยต่ออธิการบดี
มาตรา 2828 โดยมีอธิการบดีในฐานะผู้บริหารสูงสุดดําเนินการบริหารมหาวิทยาลัยภายใต้นโยบายที่สภา มหาวิทยาลัยกําหนด สภามหาวิทยาลัยมีหน้าที่กํากับดูแลอธิการบดีโดยตรง มีกระบวนการกํากับดูแลที่ โปร่งใส และการบริหารจัดการสิ้นสุดที่สภามหาวิทยาลัยเป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นเรื่องที่เสนอคณะรัฐมนตรีที่
(2) เสนอแนะต่อสภามหาวิทยาลัยในการอนุมัติหลักสูตรการศึกษาและการเปิดสอน รวมทั้งการปรับปรุง การยุบรวม และการยกเลิกหลักสูตรการศึกษา
(3) เสนอแนะต่อสภามหาวิทยาลัยในการอนุมัติการรับเข้าสมทบ การจัดการศึกษาร่วม หรือการยกเลิกการสมทบ การยกเลิกการจัดการศึกษาร่วมของสถานศึกษาชั้นสูงหรือสถาบันวิจัยอื่น
28 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2551 มาตรา 28 บัญญัติว่า สภาวิชาการมี อํานาจและหน้าที่ ดังนี้
(1) กลั่นกรองและเสนอแนะต่อสภามหาวิทยาลัยในการอนุมัติการเปิดสอนและหลักสูตร การศึกษา รวมทั้งการยุบ รวม เปลี่ยนแปลง และยกเลิกหลักสูตร
(2) เสนอแนะต่อสภามหาวิทยาลัยในการรับเข้าสมทบ การจัดการศึกษาร่วม หรือการ ยกเลิกการสมทบ การจัดการศึกษาร่วมของสถาบันการศึกษาชั้นสูง และสถาบันวิจัยอื่น
(3) เสนอการให้ปริญญา ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ประกาศนียบัตรบัณฑิต อนุปริญญาและประกาศนียบัตร
(4) พิจารณาให้ความเห็นแก่สภามหาวิทยาลัยในเรื่องเกี่ยวกับวิชาการของมหาวิทยาลัย
(5) พิจารณาให้ความเห็นเกี่ยวกับการแต่งตั้งและถอดถอนศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ เกียรติคุณศาสตราจารย์พิเศษ รองศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์พิเศษ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผู้ช่วย ศาสตราจารย์พิเศษ และตําแหน่งทางวิชาการที่เรียกชื่ออย่างอื่นต่อสภามหาวิทยาลัย
(6) เสนอแนะวิธีการอันจะทําให้การศึกษา การวิจัย การให้การศึกษาแก่ประชาชนการ ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และทะนุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมให้เจริญยิ่งขึ้นต่อสภา มหาวิทยาลัย
(7) แต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งเพื่อกระทําการใด ๆ อันอยู่ในอํานาจและหน้าที่ของสภาวิชาการ รวมทั้งมอบอํานาจให้คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการหรือบุคคล ดังกล่าวทําการแทน แล้วรายงานให้สภาวิชาการทราบ
(8) รายงานการดําเนินงานต่อสภามหาวิทยาลัยไม่น้อยกว่าปีละสองครั้ง
(9) เสนอแนะและให้คําปรึกษาแก่อธิการบดี และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่สภา มหาวิทยาลัยมอบหมาย
จะต้องเสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการให้ความเห็นชอบและนําเสนอคณะรัฐมนตรีต่อไป29 เพื่อให้การดําเนินงานของมหาวิทยาลัยเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งมหาวิทยาลัย
กฎหมายจัดตั้งมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐแต่ละฉบับ กําหนดให้มีการแบ่งส่วน งานภายในและภาระหน้าที่ให้กับมหาวิทยาลัยแตกต่างกันไป เช่น กรณีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีการแบ่งส่วนงานออกเป็น 6 ส่วน30 ดังนี้ (1) สํานักงานสภามหาวิทยาลัย มีหน้าที่สนับสนุนการ ดําเนินงานของสภามหาวิทยาลัย (2) สํานักงาน มีหน้าที่สนับสนุนการบริหารงานของมหาวิทยาลัย
(3) คณะและวิทยาลัยมีหน้าที่จัดการศึกษา ทําวิจัย นําผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ และให้บริการทาง วิชาการ (4) สถาบัน มีหน้าที่ทําวิจัย ให้บริการทางวิชาการ หรือจัดการศึกษา (5) สํานัก มีหน้าที่สนับสนุน การบริหารจัดการทางวิชาการ (6) ส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น มีหน้าที่ตามที่กําหนด ตามข้อบังคับของ มหาวิทยาลัย มาตรา 9 วรรคสาม และตามมาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558 บัญญัติให้มหาวิทยาลัยมีอํานาจหน้าที่กระทําการต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตาม มาตรา 7 อํานาจเช่นว่านี้ให้รวมถึง
1. ซื้อ ขาย จ้าง รับจ้าง สร้าง จัดหา โอน รับโอน เช่า ให้เช่า เช่าซื้อ ให้เช่าซื้อ แลกเปลี่ยน และจําหน่าย หรือทํานิติกรรมใด ๆ เพื่อประโยชน์แก่กิจการของมหาวิทยาลัย ตลอดจนถือ กรรมสิทธิ์มีสิทธิครอบครอง หรือมีทรัพยสิทธิต่าง ๆ ในทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย หรือมีสิทธิในหรือ หาประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา และจําหน่ายทรัพย์สินทั้งภายในและภายนอกราชอาณาจักร ตลอดจนรับเงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้อุดหนุนหรืออุทิศให้การจําหน่ายหรือแลกเปลี่ยนอสังหาริมทรัพย์ ของมหาวิทยาลัย ให้กระทําได้เฉพาะอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาตามมาตรา 17
2. ดําเนินกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ กิจการโทรคมนาคม หรือ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการให้การศึกษาและบริการทางวิชาการ
3. รับค่าธรรมเนียม ค่าบํารุง ค่าตอบแทน เบี้ยปรับ และค่าบริการในการให้บริการ ภายในอํานาจหน้าที่ของมหาวิทยาลัย รวมทั้งทําความตกลงหรือกําหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับการนั้น
4. ร่วมมือกับหน่วยงานอื่นทั้งของรัฐหรือของเอกชน หรือกับองค์การหรือหน่วยงาน ต่างประเทศหรือระหว่างประเทศ ในกิจการที่เกี่ยวกับการดําเนินการตามวัตถุประสงค์ตามมาตรา 7
5. กู้ยืมเงินและให้กู้ยืมเงินโดยมีหลักประกันด้วยบุคคลหรือทรัพย์สิน ถือหุ้นเข้าเป็น หุ้นส่วนและลงทุนหรือร่วมลงทุน ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์แก่กิจการของมหาวิทยาลัย
29 นภัสวรรณ โตตระกูล, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 26, น.12.
30 มาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
(3) การบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ มีแนวทางดังนี้ สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา ได้เผยแพร่แนวปฏิบัติในการบริหารงาน
บุคคลมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ ซึ่งหลักการบริหารงานบุคคลมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ ในส่วน บุคลากรของมหาวิทยาลัยที่ได้รับการบรรจุภายหลังจากพระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ มีสถานภาพเป็น “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” โดยอาจเรียกชื่อว่า “ข้าราชการมหาวิทยาลัย” หรือ “พนักงานมหาวิทยาลัย” หรือ ชื่ออื่น ๆ ซึ่งจะได้รับสิทธิและสวัสดิการต่าง ๆ ไม่น้อยกว่าข้าราชการ การได้รับเงินเดือนและผลประโยชน์ ตอบแทนเป็นไปตามที่สภามหาวิทยาลัยกําหนด ให้สอดคล้องกับศักยภาพ และผลิตภาพทางวิชาการที่ เกิดขึ้น
ระบบบริหารงานบุคคลให้ตราเป็นข้อบังคับ โดยให้มีองค์กรบริหารบุคคลที่ บุคลากรมีส่วนร่วม ยึดหลักการบริหารในระบบคุณธรรม (Merit System) มีระบบการประเมินผลการ ทํางานของบุคลากรที่โปร่งใส เป็นระบบให้คุณสําหรับผู้ทําดีมีคุณประโยชน์ที่ชัดเจน ขณะเดียวกันต้อง จัดให้มีกลไกให้ความเป็นธรรมต่าง ๆ ได้แก่ ระบบการอุทธรณ์ร้องทุกข์ที่ขึ้นตรงต่อสภามหาวิทยาลัย31 จะเห็นได้ว่า บุคลากรของมหาวิทยาลัยมีสถานภาพเป็นพนักงานของ
มหาวิทยาลัย และอยู่ภายใต้ระเบียบว่าด้วยการบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัย ซึ่งช่วงการปรับเปลี่ยน และโอนถ่ายระบบจะมีการประเมินศักยภาพบุคคลเพื่อบรรจุเข้าเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย โดย มหาวิทยาลัยแต่ละแห่งสามารถกําหนดหลักเกณฑ์และแนวทางขึ้นเองได้ สําหรับข้าราชการและ ลูกจ้างประจําเดิมของมหาวิทยาลัย สามารถเลือกสถานภาพ โดยขอเข้าสู่บุคลากรระบบใหม่ได้ตาม ความสมัครใจ ในส่วนของข้าราชการ เมื่อเปลี่ยนแปลงสถานภาพแล้ว ให้คงสิทธิการเป็นสมาชิก กองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ และสิทธิประโยชน์อื่นตามที่รัฐกําหนด ทั้งนี้ พนักงาน มหาวิทยาลัยจะได้รับเงินเดือนและผลประโยชน์ตอบแทนตามหลักเกณฑ์การประเมินตามบัญชี เงินเดือนที่สภามหาวิทยาลัยกําหนด โดยสภามหาวิทยาลัยจะเป็นผู้ออกระเบียบ ข้อบังคับ ว่าการ บริหารงานบุคคลของแต่ละมหาวิทยาลัย ซึ่งแต่ละมหาวิทยาลัยจะมีวิธีการที่แตกต่างกัน ส่วน สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ จะเป็นไปตามที่สภามหาวิทยาลัยแต่ละแห่งกําหนด32
การบริหารงานบุคคลมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐได้ดําเนินการตามหลักเกณฑ์ ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (เดิมคือสํานักปลัดทบวงมหาวิทยาลัย) โดยกฎหมายจัดตั้ง มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ สภามหาวิทยาลัยหรือสภาสถาบันในแต่ละมหาวิทยาลัยเป็นผู้ออก ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการบริหารงานบุคคล สวัสดิการและสิทธิต่างๆ ส่วนใหญ่จะมีอธิการบดี มีอํานาจหน้าที่ในการบริหารงานของมหาวิทยาลัยให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
31 “มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ”, 23 มีนาคม 2560, xxxxx://xxx.xxxxxxx.xx.xx/xx/xxxxxxxx/
32 พรทิพย์ พุ่มศิริ, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 1, น.13.
และข้อกําหนด แต่มีบางมหาวิทยาลัยมิได้ให้อธิการบดีมีหน้าที่บริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัย เช่น สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา ตามพระราชบัญญัติสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา พ.ศ. 2555 มาตรา 20(5) บัญญัติให้คณะกรรมการบริหารสถาบันพิจารณาให้ความเห็นและดําเนินการเกี่ยวกับ การบริหารงานบุคคล33
สําหรับการดําเนินงานบริหารงานบุคคล มหาวิทยาลัยจะแต่งตั้งคณะกรรมการ บริหารงานบุคคลขึ้นมาดําเนินการ ซึ่งอาจมีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไป เช่น คณะกรรมการบริหารงาน บุคคล คณะกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคล คณะกรรมการบริหารบุคคลพนักงาน หรือคณะกรรมการ บริหารทรัพยากรบุคคลประจํามหาวิทยาลัย แต่บางมหาวิทยาลัยไม่ได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารงาน บุคคลขึ้นมาเพื่อบริหารงานบุคคลเท่านั้น แต่ยังแต่งตั้งคณะกรรมการนโยบายเพื่อมาเสนอนโยบาย เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล และกําหนดกรอบอัตรากําลังอีกด้วย ส่วนคณะกรรมการนโยบายและ คณะกรรมการบริหารงานบุคคลมีอํานาจหน้าที่เป็นไปตามที่กฎหมายจัดตั้งมหาวิทยาลัยและข้อบังคับ มหาวิทยาลัยในแต่ละมหาวิทยาลัยกําหนด34
(4) การงบประมาณและทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ เป็นดังนี้35
1. การเงินและงบประมาณ รัฐจะเป็นผู้จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปให้แก่ มหาวิทยาลัย เงินอุดหนุนดังกล่าวถือเป็นรายได้ของมหาวิทยาลัย ซึ่งมหาวิทยาลัยจะต้องกําหนดระบบ บริหารงบประมาณ การเงินและทรัพย์สินของตนเอง โดยมีสํานักงานตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้ตรวจสอบ บัญชีของมหาวิทยาลัยในลักษณะการตรวจสอบภายหลัง รวมทั้งระบบการติดตามการใช้งบประมาณอื่น ๆ สําหรับรายได้ของมหาวิทยาลัยนั้น ไม่ต้องนําส่งกระทรวงการคลังตามกฎหมาย ว่าด้วยเงินคงคลังและกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ กรณีที่รายได้ไม่พอสําหรับค่าใช้จ่ายในการ ดําเนินงานของมหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยไม่สามารถหาเงินจากแหล่งอื่นได้ รัฐพึงจัดสรรงบประมาณ
แผ่นดินให้แก่มหาวิทยาลัยเท่าที่จําเป็น
นอกจากนั้น มหาวิทยาลัยสามารถถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินและทรัพย์สินได้ และมี อํานาจปกครองดูแล บํารุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์จากที่ราชพัสดุได้ รายได้ที่ดําเนินงานถือเป็น รายได้ของมหาวิทยาลัย ส่วนทรัพย์สินที่มีผู้ยกให้ หรือได้มาโดยการซื้อจากเงินรายได้ให้เป็นกรรมสิทธ์ของ มหาวิทยาลัย ซึ่งสามารถใช้สอย ควบคุมดูแล ใช้ประโยชน์ จําหน่าย หรือแลกเปลี่ยนเพื่อประโยชน์ทาง
33 กัลยณัฏฐ์ พรหมนอก, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 4, น.77.
34 เพิ่งอ้าง, น.77.
35 พรทิพย์ พุ่มศิริ, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 1, น.13-15.
การศึกษา จะเห็นว่า รายได้แหล่งต่าง ๆ ที่มหาวิทยาลัยหามาได้ จะเป็นส่วนสร้างเสริมความแข็งแกร่งของ มหาวิทยาลัยเพิ่มเติมจากงบประมาณที่ได้จากรัฐ36
2. การจัดสรรงบประมาณ ในการจัดสรรงบประมาณให้กับมหาวิทยาลัยใน ลักษณะเงินอุดหนุนทั่วไปมี 2 ประเภท ดังนี้
ประเภทแรก การสนับสนุนงบประมาณรายจ่ายประจําปีให้แต่ละ มหาวิทยาลัย จําแนกงบประมาณออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 1) ค่าใช้จ่ายประจํา หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่ เกี่ยวข้องกับภารกิจด้านการจัดการศึกษา โดยรัฐอุดหนุนในลักษณะค่าใช้จ่ายต่อหัวนักเรียน (Cost per head) เพื่อให้สามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีมาตรฐานอย่างน้อยขั้นต่ํา และเพียงพอต่อการประกัน คุณภาพ โดยพิจารณาจัดสรรจากงบประมาณแผ่นดิน ส่วนรายได้ของมหาวิทยาลัยจะนํามารวมสมทบ เป็นงบประมาณรายจ่ายของมหาวิทยาลัยในสัดส่วนที่เหมาะสม สําหรับค่าใช้จ่ายในภารกิจหลักอื่น ๆ ให้รัฐอุดหนุนตามโครงการหรือกิจกรรม 2) ค่าใช้จ่ายลงทุน หมายถึง ให้รัฐจัดสรรตามโครงการและ ความจําเป็นตามสภาพของมหาวิทยาลัยและกําลังงบประมาณของประเทศ
ประเภทที่สอง การจัดตั้งกองทุนยอดเงินต้น (endowment fund) โดย หลักการ จะให้มหาวิทยาลัยแต่ละแห่งจัดตั้งกองทุนยอดเงินต้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนํา ผลประโยชน์ที่ได้จากกองทุนไปใช้ในกิจการของมหาวิทยาลัยที่จําเป็นและเสริมกับงบประมาณแผ่นดิน ที่ได้รับในกรณีที่งบประมาณแผ่นดินไม่พอ และเพื่อสร้างความเป็นเลิศทางวิชาการ ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยจะ เป็นผู้จัดหาเงินสมทบกองทุนเป็นปี ๆ และรัฐอาจจัดสรรงบประมาณสนับสนุนตามกําลังงบประมาณ แผ่นดินเป็นปี ๆ ไป
3. การบริหารงบประมาณ มหาวิทยาลัยต้องยึดหลักของความโปร่งใสและ ประโยชน์ที่จะได้รับเป็นสําคัญ ซึ่งการบริหารงบประมาณจะอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของสภา มหาวิทยาลัยแต่ละแห่ง โดยงบประมาณแผ่นดินที่ได้รับจัดสรรในลักษณะเงินอุดหนุนทั่วไปและถือเป็น เงินรายได้ และเป็นอํานาจของสภามหาวิทยาลัยที่จะพิจารณาจัดสรรงบประมาณที่ได้รับตามแผนงาน โครงการที่มหาวิทยาลัยเสนอ โดยอาจนํารายได้อื่นมารวมจัดสรรเป็นงบประมาณประจําปีของ มหาวิทยาลัย ทั้งนี้ สํานักงานตรวจเงินแผ่นดินจะเป็นผู้ตรวจสอบการใช้เงินของมหาวิทยาลัยตามที่ สภามหาวิทยาลัยกําหนด
4. การบริหารทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย มีหลักการสําคัญ คือ ให้มหาวิทยาลัย ถือกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ เพื่อให้สามารถจัดหาผลประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์และนํารายได้มา จ่ายให้กับกิจการได้ โดยแยกอสังหาริมทรัพย์เป็นสองประเภท ได้แก่ ประเภทแรก อสังหาริมทรัพย์ที่เป็นที่ ราชพัสดุ ที่สาธารณประโยชน์ ที่ปุาสงวน และที่มหาวิทยาลัยได้รับมอบหมายให้ใช้ประโยชน์ ให้
36 เพิ่งอ้าง, น.13-15.
มหาวิทยาลัยมีอิสระในการควบคุม ดูแล ใช้สอย หาประโยชน์ตามที่เห็นสมควร เพื่อประโยชน์ทาง การศึกษา และประเภทที่สอง อสังหาริมทรัพย์ที่ได้รับการบริจาคหรือซื้อจากเงินรายได้ ให้เป็นกรรมสิทธิ์ ของมหาวิทยาลัยสามารถนําไปใช้สอย ควบคุม ดูแลประโยชน์ทางการศึกษา และสามารถจําหน่าย หรือแลกเปลี่ยนได้
3.1.4 การกํากับและตรวจสอบมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศไทย
มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐมีการกํากับและตรวจสอบโดยระบบการควบคุม แบบกํากับดูแล ซึ่งมีความแตกต่างจากการบังคับบัญชา กล่าวคือ “การบังคับบัญชา” เป็นอํานาจที่ หัวหน้าหน่วยงานใช้ปกครองผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา เช่น รัฐมนตรีใช้อํานาจบังคับบัญชาเหนือเจ้าหน้าที่ ทั้งหลายในกระทรวง อํานาจบังคับบัญชาเป็นอํานาจที่ผู้บังคับบัญชาสามารถสั่งการใด ๆ ก็ได้ตามที่ ตนเห็นว่าเหมาะสม สามารถกลับ แก้ ยกเลิก เพิกถอนคําสั่ง หรือการกระทําของผู้ใต้บังคับบัญชาได้ เสมอ เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นประการอื่นโดยเฉพาะ อย่างไรก็ตาม การใช้อํานาจบังคับ บัญชานี้ต้องชอบด้วยกฎหมาย ส่วนอํานาจ “กํากับดูแล” เป็นการควบคุมที่ไม่ใช่เรื่องความสัมพันธ์ ระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา แต่เป็นความสัมพันธ์ในลักษณะของผู้ควบคุมกํากับและ ผู้ถูกควบคุมกํากับ จึงเป็นอํานาจที่มีเงื่อนไข จะใช้ได้ต่อเมื่อกฎหมายให้อํานาจไว้และต้องเป็นไปตาม รูปแบบที่กฎหมายกําหนด ดังนั้น อํานาจกํากับดูแลจึงเป็นอํานาจที่ไม่สามารถออกคําสั่งได้หากไม่มี กฎหมายให้อํานาจไว้ ส่วนการควบคุม เพียงแต่ควบคุมว่ามีการปฏิบัติตามกฎหมายหรือไม่ แต่ไม่มี อํานาจออกคําสั่งเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่กฎหมายบัญญัติไว้37
สําหรับการกํากับตรวจสอบมหาวิทยาลัย มีทั้งการตรวจสอบภายในและภายนอก มหาวิทยาลัย การกํากับตรวจสอบภายในมหาวิทยาลัย มีการพัฒนาระบบการติดตาม ตรวจสอบเพื่อ ประโยชน์ในการบริหารภายในของสถาบัน โดยสภามหาวิทยาลัยเป็นผู้รับผิดชอบผลการดําเนินงานของ มหาวิทยาลัยต่อรัฐบาล การกํากับตรวจสอบจากหน่วยงานภายนอก เป็นส่วนหนึ่งของระบบการกํากับ ของรัฐ ซึ่งเป็นการกํากับที่เป็นระบบจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สํานักงานตรวจเงินแผ่นดิน สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา สํานักงบประมาณ นอกจากนี้ อาจกํากับด้วยกลไกงบประมาณ โดยใช้ผลการปฏิบัติงานเป็นเกณฑ์ในการจัดสรร ทั้งยังมีการกํากับด้วยระบบประกันคุณภาพ การศึกษา โดยสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยทุกแห่ง สร้างระบบการ ประกันคุณภาพของตนเองให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด ดังนั้น ผลจากการดําเนินงานในระบบ
37 ปริณดา แสงอุไร, “ผลกระทบของการเป็นมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ”, (สาร นิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2549), น. 52-53.
ประกันคุณภาพการศึกษาจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อการบริหารมหาวิทยาลัยที่อาจต้องปรับปรุง เพื่อให้เกิดผลผลิตที่ได้คุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนด38
3.2 การบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นนิติบุคคล มีฐานะเป็นหน่วยงานในกํากับของรัฐ ซึ่งไม่เป็น ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหาร ราชการกระทรวงศึกษาธิการและกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และไม่เป็น รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายอื่น39 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึงมีสถานะเป็นองค์การมหาชน มีการบริหารงานภายในที่มีความเป็นอิสระ และมีความคล่องตัว ทั้งทางด้านการจัดการองค์กร การบริหารงานบุคคล การงบประมาณ ภายใต้กฎหมายจัดตั้ง มหาวิทยาลัย เพื่อให้เข้าใจระบบการบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มากขึ้น จึงมี ความจําเป็นต้องศึกษาอํานาจหน้าที่และโครงสร้างของมหาวิทยาลัยด้วย ซึ่งมีรายละเอียดดังจะกล่าว ต่อไปนี้
3.2.1 ความนําเกี่ยวกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นสถานศึกษาทางวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง มีวัตถุประสงค์ในการสร้าง พัฒนา ประมวล และประยุกต์องค์ความรู้ทั้งมวล ดําเนินการให้มีการ เรียนรู้ในองค์ความรู้จัดการศึกษาเผยแพร่ความรู้ ส่งเสริมและพัฒนาวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทําการ วิจัย ให้บริการทางวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม รวมถึงการส่งเสริม และพัฒนาวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง การบริหารจัดการ ศาสนา ศีลธรรม ภูมิปัญญา วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพเทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยมีปณิธานมุ่งสู่ความเป็น เลิศทางวิชาการ เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนํา ร่วมนําสังคมไปในแนวทางที่ถูกต้องดีงามและพึงปรารถนา เสริมสร้างให้เกิดความเป็นธรรมในสังคม ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ มีความสามารถในการทํางาน และ ดํารงชีวิตอย่างมีคุณค่า มีคุณธรรม มีจิตใจเสียสละ ใฝุรู้และมีสํานึกรับผิดชอบต่อสังคมและ ประเทศชาติ40 โดยการดําเนินงานของมหาวิทยาลัยจะยึดหลัก (1) เสรีภาพทางวิชาการ (2) ความ เสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา (3) ความเป็นเลิศทางวิชาการ มีมาตรฐานและคุณภาพทางวิชาการ อันเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ (4) ความมีคุณธรรมและจริยธรรม (5) การนําความรู้สู่สังคม (6)
38 เพิ่งอ้าง, น. 13.
39 มาตรา 5 พระราชบัญญัติมหาวทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
ความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และประเทศชาติ (7) ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (8) การ บริหารงานที่มีธรรมาภิบาล (9) การมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยและนักศึกษา41
โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการและหน่วยงานของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตาม แผนภูมิรูปภาพ มีสภามหาวิทยาลัยบริหารงานสูงสุด ดังนี้
3.2.1.1 โครงสร้างของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และการแบ่งส่วนงานของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558 ประกอบข้อบังคับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยโครงสร้างและการบริหารงานภายในส่วนงาน พ.ศ. 2559 แก้ไขเพิ่มเติม ถึงปัจจุบัน (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2559 กําหนดให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อาจแบ่งส่วนงานออกเป็น 6
ส่วนงาน ดังนี้ (1) สํานักงานสภามหาวิทยาลัย (2) สํานักงาน (3) คณะ (4) วิทยาลัย (5) สถาบัน (6) สํานัก โดยมหาวิทยาลัยอาจให้มีส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าสํานักงาน คณะ วิทยาลัย สถาบัน หรือสํานัก เพื่อดําเนินการตามวัตถุประสงค์อีกได้42 ซึ่งแต่ละส่วนงานจะมีอํานาจหน้าที่แตกต่างกัน ออกไป กล่าวคือ43
41 มาตรา 8 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
42 มาตรา 9 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
43 มาตรา 10 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
มหาวิทยาลัย
(1) สํานักงานสภามหาวิทยาลัย มีหน้าที่สนับสนุนการดําเนินงานของสภา
(2) สํานักงาน มีหน้าที่สนับสนุนการบริหารมหาวิทยาลัย
ทั้งนี้ ในสํานักงานสภามหาวิทยาลัยและสํานักงาน ให้มีผู้อํานวยการเป็น
ผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของสํานักงานสภามหาวิทยาลัยและสํานักงานตามมาตรา 51 วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
(3) คณะและวิทยาลัย หมายความรวมถึง สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร และส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะหรือวิทยาลัย44 มีหน้าที่จัดการศึกษา ทําการ วิจัย นําผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์และให้บริการทางวิชาการ โดยคณะและวิทยาลัยมีคณบดีเป็น ผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของคณะและวิทยาลัย และจะมีรองคณบดีตามจํานวนที่คณะ กรรมการบริหารมหาวิทยาลัยกําหนด45 ทําหน้าที่รับผิดชอบตามที่คณบดีมอบหมายก็ได้46
(4) สถาบัน มีหน้าที่ทําการวิจัย ให้บริการทางวิชาการ หรือจัดการศึกษา
(5) สํานัก มีหน้าที่สนับสนุนการบริหารจัดการทางวิชาการ
(6) ส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น มีหน้าที่ตามที่กําหนดในข้อบังคับของ มหาวิทยาลัยตามมาตรา 9 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558 นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ยังมีอํานาจหน้าที่กระทําการต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามมาตรา 7 อํานาจหน้าที่เช่นว่านี้ให้รวมถึง47
44 ข้อ 3 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยโครงสร้างและการบริหารงานภายใน
ส่วนงาน พ.ศ. 2559 แก้ไขเพิ่มเติมถึงปัจจุบัน (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2559
45 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558 มาตรา 26 และมาตรา 27 บัญญติให้ คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย ประกอบด้วย อธิการบดีเป็นประธาน รองอธิการบดี คณบดี ผู้อํานวยการ สถาบัน ผู้อํานวยการสํานัก หัวหน้าส่วนงานที่มีฐานะเทียบเท่าคณะวิทยาลัย สถาบัน หรือสํานัก ประธานสภาอาจารย์ และประธานสภาพนักงานมหาวิทยาลัย เป็นกรรมการ มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการเสนอ แผนพัฒนามหาวิทยาลัย พิจารณากลั่นกรองข้อบังคับ ระเบียบ และประกาศของมหาวิทยาลัยพิจารณา เกี่ยวกับการจัดตั้ง การรวม การเปลี่ยนแปลง การยุบเลิกส่วนงาน และการแบ่งหน่วยงานภายในส่วนงาน ดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล การเงิน และทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย ให้คําปรึกษาและ ข้อแนะนําแก่อธิการบดี
46 มาตรา 41 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
47 มาตรา 14 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
1. ซื้อ ขาย จ้าง รับจ้าง สร้าง จัดหา โอน รับโอน เช่า ให้เช่า เช่าซื้อ ให้เช่าซื้อ แลกเปลี่ยนและจําหน่าย หรือทํานิติกรรมใด ๆ เพื่อประโยชน์แก่กิจการของมหาวิทยาลัย ตลอดจนถือ กรรมสิทธิ์มีสิทธิครอบครอง หรือมีทรัพยสิทธิต่าง ๆ ในทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย หรือมีสิทธิในหรือ หาประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา และจําหน่ายทรัพย์สินทั้งภายในและภายนอกราชอาณาจักร ตลอดจนรับเงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้อุดหนุนหรืออุทิศให้ การจําหน่ายหรือแลกเปลี่ยนอสังหาริมทรัพย์ ของมหาวิทยาลัย ให้กระทําได้เฉพาะอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาตามมาตรา 17
2. ดําเนินกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ กิจการโทรคมนาคม หรือ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการให้การศึกษาและบริการทางวิชาการ
3. รับค่าธรรมเนียม ค่าบํารุง ค่าตอบแทน เบี้ยปรับ และค่าบริการในการ ให้บริการภายในอํานาจหน้าที่ของมหาวิทยาลัย รวมทั้งทําความตกลงหรือกําหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับการนั้น
4. ร่วมมือกับหน่วยงานอื่นทั้งของรัฐหรือของเอกชน หรือกับองค์การหรือ หน่วยงานต่างประเทศหรือระหว่างประเทศ ในกิจการที่เกี่ยวกับการดําเนินการตามวัตถุประสงค์ตาม มาตรา 7
5. กู้ยืมเงินและให้กู้ยืมเงินโดยมีหลักประกันด้วยบุคคลหรือทรัพย์สิน ถือหุ้น เข้าเป็นหุ้นส่วนและลงทุนหรือร่วมลงทุน ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์แก่กิจการของมหาวิทยาลัย
การกู้ยืมเงิน การให้กู้ยืมเงิน การถือหุ้น การเข้าเป็นหุ้นส่วน การลงทุนหรือ การร่วมลงทุนถ้าเป็นจํานวนเงินเกินวงเงินที่รัฐมนตรีกําหนดต้องได้รับความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ก่อน
คณะรัฐมนตรี
6. ออกพันธบัตรหรือตราสารอื่นใดเพื่อการลงทุน โดยความเห็นชอบของ
7. กําหนดค่าตอบแทนหรือค่าตอบแทนพิเศษ รวมทั้งสวัสดิการ สิทธิประโยชน์
และประโยชน์อย่างอื่นให้แก่ผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ กําหนดในข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
8. จัดให้มีการพัฒนาทางวิชาการและการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง รวมทั้ง การนําผลงานทางวิชาการ ผลการวิจัย และทรัพย์สินทางปัญญาออกเผยแพร่และไปใช้ให้เป็นประโยชน์
9. จัดให้มีกองทุนนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ กองทุนเพื่อการจัดการศึกษา ในสาขาวิชาที่ไม่สามารถพึ่งพาตนเองในทางการเงินได้ กองทุนเพื่อกิจการต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์ของ มหาวิทยาลัยรวมทั้งจัดให้มีทุนเพื่อการศึกษาและทุนเพื่อการวิจัย
10. ปกครอง ดูแล บํารุงรักษา จัดการ ใช้ และจัดหาประโยชน์จากทรัพย์สิน ของมหาวิทยาลัยและที่ราชพัสดุตามกฎหมายว่าด้วยที่ราชพัสดุ
11. จัดตั้งหรือร่วมกับบุคคลอื่นในการจัดตั้งองค์กรที่เป็นนิติบุคคล รวมตลอด ถึงลงทุนหรือร่วมลงทุนกับบุคคลหรือนิติบุคคลใด เพื่อดําเนินกิจการที่เกี่ยวกับหรือต่อเนื่องกับกิจการ ของมหาวิทยาลัยหรือนําผลการค้นคว้าวิจัยไปเผยแพร่หรือหาประโยชน์เพื่อเป็นรายได้ของมหาวิทยาลัย
นอกจากนี้ ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการจัดตั้งและการแบ่ง ส่วนงานของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์พ.ศ. 2559 แก้ไขเพิ่มเติมถึงปีปัจจุบัน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 ข้อ 4กําหนดให้จัดตั้งสํานักงานและส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าสํานักงาน ดังต่อไปนี้
(1) สํานักงานสภามหาวิทยาลัย เนื่องด้วยสภามหาวิทยาลัยในการประชุม ครั้งที่ 7/2559 เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2559 ได้อนุมัติให้จัดตั้งสํานักงานสภามหาวิทยาลัย เพื่อรองรับการ ดําเนินงานของสภามหาวิทยาลัยให้เกิดความคล่องตัว มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น48 องค์ประกอบและอํานาจหน้าที่ของสภามหาวิทยาลัยเป็นไปตามมาตรา23 แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. พ.ศ. 2558
(2) สํานักงานตรวจสอบภายใน เป็นหน่วยงานสนับสนุนในการบริหารงานของ มหาวิทยาลัย เพื่อสร้างความมั่นใจในการบริหารงานของมหาวิทยาลัยให้มีการสร้างระบบการบริหารงานที่ โปร่งใส และส่งเสริมให้หน่วยรับตรวจ ปรับปรุงการดําเนินงานให้มีระบบการบริหารจัดการที่ดี เพื่อเพิ่มพูน คุณค่าให้กับหน่วยรับตรวจ และมหาวิทยาลัย49
(3) สํานักงานที่มีหน้าที่หลักด้านการให้บริการและสนับสนุนการบริหาร
มหาวิทยาลัย มีดังต่อไปนี้
1. สํานักงานยุทธศาสตร์และการคลัง ประกอบด้วยส่วนงาน ดังต่อไปนี้50
1.1 กองแผนงาน มีโครงสร้างหน้าที่รับผิดชอบและการแบ่งส่วนงาน
ภายใน คือ งานยุทธศาสตร์ สารสนเทศ และการประเมินผล งานวิเคราะห์และจัดทํางบประมาณ งาน พัฒนากายภาพ งานสื่อสารองค์กร และหน่วยเลขานุการกอง
1.2 กองคลัง แบ่งเป็น 6 งาน คือ งานการเงิน งานงบประมาณ งาน พัสดุ งานบัญชี งานรายได้ และงานตรวจก่อนจ่าย บุคลากรที่ปฏิบัติงานในกองคลังมี แบ่งออกเป็น
48 “สภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์”, สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2560, xxxx://xxx.xx.xx.xx/xx
49 “สํานักตรวจสอบภายใน Office of Internal Audit”, สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มนาคม 2560, xxxx://xxx.xxx.xx.xx.xx/xxxxx/
50 ข้อ 6 ข้อบังคบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการจัดตั้งและการแบ่งส่วนงานของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2559 แก้ไขเพิ่มเติมถึงปีปัจจุบัน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559
ข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานเงินรายได้ ประเภทชั่วคราว และลูกจ้างประจํา (นักการ ภารโรง)51
1.3 กองบริหารการคลังกลุ่มภารกิจ
1.4 กองวิเทศสัมพันธ์ ดําเนินงานเกี่ยวกับการจัดโครงการนักศึกษา แลกเปลี่ยน การศึกษาดูงานของต่างประเทศ การแนะแนวการศึกษาต่อต่างประเทศ เป็นต้น
2. สํานักงานบริหารวิชาการและพัฒนานักศึกษา ประกอบด้วยส่วนงาน
ดังต่อไปนี้52
2.1 กองบริการวิชาการ มีหน้าที่เกี่ยวกับการดําเนินงานด้านการ
พัฒนาหลักสูตรและบริหารการศึกษา งานบริหารวิชาการศึกษาทั่วไป งานส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์53
2.2 กองบริหารการวิจัย มีหน้าที่สนับสนุนการบริหารจัดการ ด้าน การวิจัย จากข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการจัดตั้งและบริหารส่วนงานที่มีหน้าที่ สนับสนุนการดําเนินงานสภามหาวิทยาลัยและการบริหารมหาวิทยาลัย พ.ศ.2556 ได้มีการปรับปรุง โครงสร้างส่วนงานที่ทําหน้าที่สนับสนุนการบริหารมหาวิทยาลัย เพื่อพัฒนาและบูรณาการงานด้าน การบริหารจัดการมหาวิทยาลัยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและเพื่อรองรับการเข้าสู่การเป็นมหาวิทยาลัยใน กํากับของรัฐ กําหนดให้สํานักงานบริหารการวิจัย เป็นกองบริหารการวิจัยที่มีฐานะเทียบเท่ากองตาม ประกาศทบวงมหาวิทยาลัย ที่ว่าด้วยการแบ่งส่วนราชการภายในมหาวิทยาลัย และเป็นส่วนหนึ่งของ สํานักงานบริหารวิชาการและพัฒนานักศึกษา54
2.3 กองกิจการนักศึกษา ก่อตั้งขึ้นตามโครงสร้างหน่วยงาน ในสํานักงาน อธิการบดี ปัจจุบันกองกิจการนักศึกษามีหน่วยงานที่สังกัด ได้แก่ งานบริการและให้คําปรึกษา งาน กิจกรรมนักศึกษา งานเรียนรู้และบริการสังคม และงานฝุายการนักศึกษา55
สําหรับบุคลากรที่ปฏิบัติงานในกองกิจการนักศึกษา ได้แก่ ผู้บริหาร ฝุายการนักศึกษา บุคลากรงานบริการและสวัสดิการนักศึกษา บุคลากรงานกิจกรรมนักศึกษา
51 “กองคลัง”, สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2560, xxxx://xxxxxxx.xx.xx.xx/xxxxx.xxx/xxxxxx
52 ข้อ 7 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการจัดตั้งและการแบ่งส่วนงานของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2559 แก้ไขเพิ่มเติมถึงปีปัจจุบัน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559
53 “กองบริการวิชาการ”, สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2560, xxxx://xxxx.xx.xx.xx/xxxxxx.xxxx
54 “กองบริหารการวิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์” Research Adiministration Divistion, สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2560, xxxx://xxxxxxxx.xx.xx.xx/xxxxxxx.xxxx
55 “สํานักงานอธิการบดี”,สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม2560, xxxx://xxx.xx.xx.xx/xxxxx.xxx/xx/000-xx- th/teach/281-fact-2#
บุคลากรงานอนามัย บุคลากรงานแนะแนวการศึกษาและอาชีพ บุคลากรงานวินัยและพัฒนานักศึกษา บุคลากรศูนย์บริการนักศึกษาพิการ บุคลากรศูนย์อาสาสมัครมหาวิทยาลัย และบุคลากรหน่วย ธุรการ56
ส่วนงาน ดังต่อไปนี้57
3. สํานักงานบริหารทรัพยากรมนุษย์และกฎหมาย ประกอบด้วย
3.1 กองทรัพยากรมนุษย์ มีหน้าที่ในการดําเนินงานด้านบริหาร
บุคลากรภายในมหาวิทยาลัย ตั้งแต่กระบวนการสรรหา บรรจุ แต่งตั้ง การทําสัญญา การประเมินผล การปฏิบัติงาน การทําบัตร การลา และสิทธิและสวัสดิการของพนักงาน ตลอดจนรับผิดชอบด้าน การศึกษา ฝึกอบรมและปฏิบัติการด้านวิจัยของบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย58 เป็นต้น
3.2 กองนิติการ มีหน้าที่รับผิดชอบปฏิบัติภาระงานด้านกฎหมาย ของ มหาวิทยาลัย ได้แก่ การจัดทํานิติกรรมสัญญาเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง การจัดหาประโยชน์ ในที่ ราชพัสดุ หรือนิติกรรมสัญญาอื่นที่มีผลผูกพันมหาวิทยาลัย งานให้คําปรึกษาเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย งานติดตามหนี้ งานคดีความต่าง ๆ งานบังคับคดี งานร่าง และแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ ของมหาวิทยาลัย งานสอบสวนและดําเนินการทางวินัย การอุทธรณ์ร้องทุกข์ งานสอบสวนและดําเนินการตามกฎหมาย วาด้วยความรับผิดทางละเมิด งาน สอบสวนหาข้อเท็จจริงเพื่อประกอบการวินิจฉัยสั่งการ ของมหาวิทยาลัยและปฏิบัติงานอื่นตามที่ อธิการบดีมอบหมาย59
ดังต่อไปนี้60
4. สํานักงานบริหารกายภาพและบริการกลาง ประกอบด้วยส่วนงาน
4.1 กองบริหารศูนย์ท่าพระจันทร์ เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่หลักใน
การให้บริการที่ท่าพระจันทร์ในด้านอาคารสถานที่ ระบบสาธารณูปโภค ระบบเอกสาร ระบบความ
56“สํานักงานอธิการบดี”, สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2560, xxxx://xxx.xx.xx.xx/xxxxx.xxx/xx/000-xx- th/teach/281-fact-2#
57 ข้อ 8 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการจัดตั้งและการแบ่งส่วนงานของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2559 แก้ไขเพิ่มเติมถึงปีปัจจุบัน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559
58 “กองทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Division”, สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2560, xxxx://xxxx.xxxxxx.xx.xx.xx/xxxxxxx/xxxxx.xxx?xxxxxxxxxxxxx
59 “กองนิติการ Office of Legal Affairs”, สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2560, xxxx://xxxxx.xx.xx.xx/
60 ข้อ 9 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการจัดตั้งและการแบ่งส่วนงานของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2559 แก้ไขเพิ่มเติมถึงปีปัจจุบัน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559
ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาคมธรรมศาสตร์ที่ท่าพระจันทร์ และประชาชนผู้มาติดต่อ ให้ได้รับความสะดวก ปลอดภัย ตลอดจนได้รับการบริการที่ดี รวมถึงดําเนินภารกิจต่าง ๆ ให้กับทุก ศูนย์ของมหาวิทยาลัยตามที่ผู้บริหารได้มอบหมาย61
4.2 กองบริหารศูนย์รังสิต เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่หลักในการ ให้บริการด้านอาคารสถานที่ ด้านยานพาหนะและการขนส่ง ด้านบริหารสํานักงานและสวัสดิการ ด้าน สาธารณูปโภคและสิ่งแวดล้อม ด้านความปลอดภัยและการจราจรภายตลอดจนรักษาความสงบ เรียบร้อยภายในมหาวิทยาลัยและประชาชนผู้มาติดต่อให้ได้รับความสะดวก ปลอดภัย ตลอดจนได้รับการ บริการที่ดี62
4.3 กองบริหารศูนย์ลําปาง แบ่งหน่วยงานภายใน เป็น 4 งาน ดังนี้63 งานบริหารสํานักงานศูนย์ลําปาง งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษาศูนย์ลําปาง งานคลังและ พัสดุศูนย์ลําปาง และงานอาคารสถานที่และยานพาหนะศูนย์ลําปาง
(4) สํานักงานและส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าสํานักงาน ที่มีหน้าที่หลักด้านการให้บริการและสนับสนุนการศึกษา มีดังต่อไปนี้
1. โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ เป็นหน่วยงานที่มีฐานะ เทียบเท่าสํานัก และดําเนินงานในรูปแบบที่เป็นอิสระในสังกัดมหาวิทยาลัย มีวัตถุประสงค์ในการ ให้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขแก่ประชาชน และให้บริการด้านการศึกษาแก่คณะต่าง ๆ ใน มหาวิทยาลัย64
2. สํานักงานทะเบียนนักศึกษา
3. หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
4. สํานักงานศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
61 “กองบริหารศูนย์ท่าพระจันทร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์”, สืบค้นเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2560, xxxx://xxx.xxxxxxx.xx.xx.xx/xxxxx0.xxxx
62 “กองงานศูนย์รังสิต”, สืบค้นเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2560, xxxx://xxx.xxxxxxxxxxxxx.xx.xx.xx/
63 “กองบริหารศูนย์ลําปาง”สืบค้นเมื่อวันที่20 มีนาคม 2560, xxxx://xxx.xxxxxxx.xx.xx.xx/
64 ข้อ 6 ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการบริหารงานโรงพยาบาล ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2550
5. สํานักงานศูนย์วิจัยและให้คําปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็น หน่วยงานหลักในการให้บริการด้านการบริหารงานวิจัย ให้คําปรึกษา อบรมสัมมนา และดําเนินการวิจัยใน นามมหาวิทยาลัย โดยมีการบริหารงานที่คล่องตัวนอกระบบราชการ65
6. สํานักงานศูนย์ทดสอบ
7. โรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
(5) สํานักงานที่มีหน้าที่สนับสนุนมหาวิทยาลัยเพื่อความเป็นเลิศ มีดังต่อไปนี้
1. สํานักงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง ประกอบด้วยส่วนงาน ดังต่อไปนี้66 สํานักงานเลขานุการ ศูนย์วิจัยค้นคว้าและพัฒนายา ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์เพื่อการ วิจัยขั้นสูง ศูนย์สัตว์ทดลอง ศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญาและบ่มเพาะวิสาหกิจ
2.สํานักงานสัญญาธรรมศักดิ์เพื่อประชาธิปไตย ประกอบด้วยส่วนงาน ดังต่อไปนี้67 สํานักงานเลขานุการ ศูนย์ประชาธิปไตยและพลเมือง ศูนย์ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
(6) สํานักงานและส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าสํานักงาน ที่มีหน้าที่หลักด้านการให้บริการหรือจัดหารายได้ซึ่งมีการบริหารงานแบบวิสาหกิจ มีดังต่อไปนี้
1. สํานักงานบริหารทรัพย์สินและกีฬา เป็นหน่วยงานในกํากับของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ซึ่งมิใช่หน่วยงานราชการทําหน้าที่บริหารทรัพย์สินที่ได้รับจากการแข่งขัน กีฬา Asian Games ครั้งที่ 13 และได้รับมอบหมายให้ทําหน้าที่บริหารดูแลอาคารหอพักของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิตทุกแห่ง รายได้หลักของสํานักงานมาจากค่าเช่าอาคารหอพัก68
2. สํานักงานพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหน่วยงานที่มีการ บริหารงานที่เป็นอิสระมีประสิทธิภาพ มุ่งพึ่งพาตนเองได้ในทางเศรษฐกิจ ดําเนินกิจการภายใต้
65“สถบันวิจัยและให้คําปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์”, สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2560, xxxx://xxxxx.xx.xx.xx/xxx0000/xxxxx.xxx/xx/00-0000-00-00-00-00-00/00-
2013-03-26-08-06-13
66 ข้อ 11 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการจัดตั้งและการแบ่งส่วนงานของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2559 แก้ไขเพิ่มเติมถึงปีปัจจุบัน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559
67 ข้อ 12 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการจัดตั้งและการแบ่งส่วนงานของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2559 แก้ไขเพิ่มเติมถึงปีปัจจุบัน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559
68“สํานักงานบริหารทรัพย์สินเเละกีฬา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์”, สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2560, xxxx://xxx.xxx.xx.xx.xx/xxxx.xxx?xxxx_xxxxxxxxxx.x00
หลักการให้ความร่วมมือและสนับสนุนซึ่งกันและกัน อยู่ภายใต้การกํากับดูแลของอธิการบดี69 มีหน้าที่ ดําเนินงานส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการแต่ง แปล เรียบเรียงตํารา คําสอน ผลงานวิจัย เอกสาร ประกอบการศึกษา และหนังสือต่าง ๆ รวมถึงการจัดพิมพ์เอกสารดังกล่าว และจัดทําสื่อสารสนเทศที่ เป็นประโยชน์ต่อวิชาการหรือสังคม70
3. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหน่วยงานที่มีการบริหารงาน ที่เป็นอิสระ มีประสิทธิภาพ มุ่งพึ่งพาตนเองได้ในทางเศรษฐกิจ ดําเนินกิจการภายใต้หลักการให้ความ ร่วมมือและสนับสนุนซึ่งกันและกัน อยู่ภายใต้การกํากับดูแลของอธิการบดี71 ซึ่งหน้าที่หลักของโรง พิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คือ ดําเนินงานพิมพ์ตํารา คําสอน คําบรรยาย คู่มือการศึกษา เอกสาร หรือสิ่งพิมพ์ หรือผลิตสื่อสารสนเทศอื่น ตามความต้องการของมหาวิทยาลัยเป็นหลัก และอาจ ให้บริการแก่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานหรือองค์กรอื่นของรัฐ หน่วยงานหรือองค์กรเอกชน หรือบุคคลทั่วไป และดําเนินการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกัลการพิมพ์และผลิตสื่อสารสนเทศ72
4. ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหน่วยงานที่มีการบริหารงาน ที่เป็นอิสระมีประสิทธิภาพ มุ่งพึ่งพาตนเองได้ในทางเศรษฐกิจ ดําเนินกิจการภายใต้หลักการให้ความ ร่วมมือและสนับสนุนซึ่งกันและกัน อยู่ภายใต้การกํากับดูแลของอธิการบดี73 มีหน้าที่ดําเนินงานจําหน่าย ตํารา คําสอน คําบรรยาย หนังสือ สิ่งพิมพ์ และสื่อสารสนเทศ อันเป็นปกติธุรของสถานที่จําหน่ายหนังสือ ทั่วไป รวมถึงอุปกรณ์การเรียนการสอน เครื่องเขียน และสินค้าที่ระลึก และว่าจ้างผลิต จําหน่ายสินค้าที่มี ชื่อ ตราสัญลักษณ์ และรูปที่แสดงเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัย และเป็นตัวแทนจําหน่ายสินค้าอื่นที่
69 ข้อ 5 วรรสอง ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการจัดตั้งและบริหารสํานักพิมพ์ โรงพิมพ์ และศูนย์หนังสือ พ.ศ. 2551
70 ข้อ 7 ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการจัดตั้งและบริหารสํานักพิมพ์ โรงพิมพ์ และศูนย์หนังสือ พ.ศ. 2551
71 ข้อ 5 วรรสอง ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการจัดตั้งและบริหารสํานักพิมพ์ โรงพิมพ์ และศูนย์หนังสือ พ.ศ. 2551
72 ข้อ 8 ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการจัดตั้งและบริหารสํานักพิมพ์ โรงพิมพ์
และศูนย์หนังสือ พ.ศ. 2551
73 ข้อ 5 วรรสอง ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการจัดตั้งและบริหารสํานักพิมพ์ โรงพิมพ์ และศูนย์หนังสือ พ.ศ. 2551
คณะกรรมการบริหารหน่วยงานเห็นสมควร ตลอดจนเป็นศูนย์กลางการซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้เช่า ตํารา คําสอน คําบรรยาย หนังสือ สิ่งพิมพ์ และสื่อสารสนเทศและอุปกรณ์ทางการศึกษาที่ใช้แล้ว74
5. สํานักงานธรรมศาสตร์สัมพันธ์ เดิมชื่อสํานักงานศิษย์เก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เรียกโดยย่อว่า “ศก. มธ.” มีฐานะเป็นหน่วยงานหนึ่งของมหาวิทยาลัยที่ ไม่ใช่ส่วนราชการ ทําหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการติดต่อประสานงานกับสมาคม ชมรม กลุ่ม และ องค์กรของศิษย์เก่า และเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยและศิษย์เก่ารวมถึงรณรงค์ ระดมทุนเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และจัดกิจกรรมและบริการ ด้านต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ของมหาวิทยาลัยและศิษย์เก่า โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหารายได้สนับสนุนการ ดําเนินงานของมหาวิทยาลัยและสํานักงาน75 นอกจากนี้ ยังมีหน่วยงานอื่นอีก อาทิ ศูนย์อินเดีย การศึกษา และศูนย์อาเซียนการศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สําหรับการจัดตั้งและการแบ่งส่วนงานของคณะหรือวิทยาลัยตามข้อ 14 ของข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการจัดตั้งและการแบ่งส่วนงานของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2559 แก้ไขเพิ่มเติมถึงปีปัจจุบัน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 และการจัดตั้งและการแบ่งส่วนงานของ สถาบัน ข้อ 15 ของข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการจัดตั้งและการแบ่งส่วนงานของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2559 แก้ไขเพิ่มเติมถึงปีปัจจุบัน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 ให้จัดตั้งสถาบัน
ดังต่อไปนี้ 1) สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร 2) สถาบันภาษา 3) สถาบันไทยคดีศึกษา 4) สถาบันเสริม
ศึกษาและทรัพยากรมนุษย์ 5) สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา 6) สถาบันอาณาบริเวณศึกษา
3.2.1.2. รายได้และทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
(1) รายได้ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีดังต่อไปนี้76
1. เงินอุดหนุนทั่วไปที่รัฐบาลจัดสรรให้เป็นรายปี
2. เงินและทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้แก่มหาวิทยาลัย
3. เงินกองทุนที่รัฐบาลหรือมหาวิทยาลัยจัดตั้งขึ้น และรายได้หรือ
ผลประโยชน์จากกองทุนดังกล่าว
74 ข้อ 9 ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการจัดตั้งและบริหารสํานักพิมพ์ โรงพิมพ์ และศูนย์หนังสือ พ.ศ. 2551
75 “สํานักงานธรรมศาสตร์สัมพันธ์”, สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2560, xxxx://xxx.xxxxxxxxx.xx.xx.xx/xxxxxx-xxxxxx/
76 มาตรา 15 วรรคหนึ่ง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
4. ค่าธรรมเนียม ค่าบํารุง ค่าตอบแทน เบี้ยปรับ ค่าบริการต่าง ๆ และ เงินหรือทรัพย์สินอื่นที่มหาวิทยาลัยเรียกเก็บตามอํานาจหน้าที่ หรือที่ได้จากสัญญาต่าง ๆ ของ มหาวิทยาลัย
จากทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย
5. รายได้หรือผลประโยชน์ที่ได้จากการลงทุนหรือการร่วมลงทุนและ
6. รายได้หรือผลประโยชน์ที่ได้จากการใช้ที่ราชพัสดุหรือจัดหา
ประโยชน์ในที่ราชพัสดุซึ่งมหาวิทยาลัยปกครอง ดูแล ใช้ หรือจัดหาประโยชน์ รวมถึงที่ดินที่เป็นกรรมสิทธิ์ ของมหาวิทยาลัยที่อยู่ในความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัย เพื่อให้สามารถพัฒนาคุณภาพของการศึกษาให้ เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนําระดับนานาชาติได้
7. รายได้หรือผลประโยชน์อื่น กรณีเงินอุดหนุนทั่วไปรัฐบาลจัดสรรให้เป็นรายปีนั้น รัฐบาลพึง
จัดสรรให้แก่มหาวิทยาลัยโดยตรงเป็นจํานวนที่เพียงพอสําหรับค่าใช้จ่ายที่จําเป็นในการดําเนินการ ตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และในการพัฒนาการอุดมศึกษา77 ในกรณีที่รัฐบาลได้ปรับเงินเดือน เงินประจําตําแหน่ง ค่าตอบแทน หรือสิทธิประโยชน์อื่นใดให้แก่ข้าราชการ ให้รัฐบาลจัดสรรงบประมาณ ในลักษณะเงินอุดหนุนทั่วไปเพิ่มเติมให้แก่มหาวิทยาลัยในสัดส่วนเดียวกันเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายดังกล่าวให้แก่ พนักงานมหาวิทยาลัยด้วย78 โดยรายได้ของมหาวิทยาลัยไม่เป็นรายได้ที่ต้องนําส่งคลังเป็นรายได้ แผ่นดินตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ หรือกฎหมายอื่น79 ในกรณี ที่รายได้ตามมาตรา 15 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558 มีจํานวนไม่ เพียงพอสําหรับค่าใช้จ่ายในการดําเนินการของมหาวิทยาลัยและค่าภาระต่าง ๆ ที่เหมาะสม และ มหาวิทยาลัยไม่สามารถหาเงินจากแหล่งอื่นได้ รัฐบาลพึงจัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเพิ่มเติมให้แก่ มหาวิทยาลัยตามความจําเป็นของมหาวิทยาลัย80
(2) ทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อสังหาริมทรัพย์ที่ มหาวิทยาลัยได้มาโดยมีผู้อุทิศให้ หรือได้มาโดยการซื้อด้วยเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย หรือ แลกเปลี่ยนกับทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย หรือได้มาด้วยวิธีอื่นไม่ถือเป็นที่ราชพัสดุ และให้เป็น กรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัย81 โดยทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ใช้เพื่อประโยชน์เกี่ยวกับ
77 มาตรา 15 วรรคสอง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
78 มาตรา 15 วรรคสาม พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
79 มาตรา 15 วรรคสี่ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
80 มาตรา 15 วรรคห้า พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
81 มาตรา 17 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
การศึกษา การวิจัย การบริการทางวิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ไม่อยู่ในความรับผิด แห่งการบังคับคดีและการบังคับทางปกครอง และบุคคลใดจะยกอายุความหรือระยะเวลาในการ ครอบครองขึ้นต่อสู้กับมหาวิทยาลัยในเรื่องทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยมิได้82
จะเห็นได้ว่า บรรดารายได้และทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยจะต้องจัดการ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัยตามมาตรา 7 สําหรับเงินและทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้แก่ มหาวิทยาลัยต้องจัดการตามเงื่อนไขที่ผู้อุทิศให้กําหนดไว้ แต่ถ้ามีความจําเป็นต้องเปลี่ยนแปลง เงื่อนไขดังกล่าว ต้องได้รับความยินยอมจากผู้อุทิศให้หรือทายาทหากไม่มีทายาทหรือทายาทไม่ ปรากฏต้องได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัย83
3.2.1.3 การกํากับดูแลมหาวิทยาลัย
ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มาตรา 67 บัญญัติให้ รัฐมนตรีมีอํานาจหน้าที่กํากับและดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการของมหาวิทยาลัยให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ตามมาตรา 7 และให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลหรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวกับมหาวิทยาลัย เป็นการเฉพาะในกรณีที่มีปัญหาข้อขัดแย้งในการดําเนินกิจการของมหาวิทยาลัยซึ่งอาจเกิดความ เสียหายต่อส่วนรวม ให้รัฐมนตรีเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา เมื่อคณะรัฐมนตรีวินิจฉัยเป็นประการใด แล้ว ให้ผู้เกี่ยวข้องมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของคณะรัฐมนตรี
3.2.1.4 กิจการของมหาวิทยาลัย
กิจการของมหาวิทยาลัยไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายว่าด้วยการ คุ้มครองแรงงานและกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์84 ซึ่งกิจการของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สามารถแยกออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ กิจการบริการสาธารณะและกิจการประเภทอื่น
(1) กิจการบริการสาธารณะ
กิจการที่เกี่ยวกับบริการสาธารณะ เป็นกิจการที่ดําเนินงานภายใต้ วัตถุประสงค์หลักของมหาวิทยาลัย ได้แก่ กิจการที่เกี่ยวกับการศึกษาและการทําวิจัย เช่น กิจการของกอง บริการการศึกษา เป็นการจัดการเรียนการสอนหรือจัดการศึกษา โดยเป็นหน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญใน การบริหารวิชาการ ช่วยผลักดันให้นโยบายทางวิชาการต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยทั้งด้านการผลิตบัณฑิต มาตรฐานการศึกษา และหลักสูตรในทุกระดับ เป็นหน่วยงานกํากับดูแล บริหารและประสานงานการ จัดการศึกษา ช่วยส่งเสริมและพัฒนาวิชาการ ตลอดจนการส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนต่างๆ
82 มาตรา 18 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
83 มาตรา 19 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
84 มาตรา 13 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายอธิการบดีหรือรองอธิการบดีมอบหมาย85 ซึ่งกองบริการการศึกษา ประกอบด้วย งานบริหารวิชาศึกษาทั่วไป งานพัฒนาหลักสูตรและบริหารการศึกษา งานส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ และ งานพิจารณาตําแหน่งทางวิชาการ เป็นต้น หรือกองบริหารการวิจัย มีหน้าที่สนับสนุนการบริหารจัดการ ด้านการวิจัย ภายใต้การบังคับบัญชาของรองอธิการบดีและผู้ช่วยอธิการบดีที่ได้รับมอบหมายจาก อธิการบดีให้กํากับดูแลงานด้านการวิจัย86
จะเห็นได้ว่ากิจการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา การเรียน การสอน หลักสูตรต่าง ๆ หรืองานวิจัย เป็นการจัดทําบริการสาธารณะ และเป็นหน้าที่หรือภารกิจหลักของ มหาวิทยาลัยในการดําเนินงานตามวัตถุประสงค์
(2) กิจการประเภทอื่น
1. กิจการที่ให้บริการและสนับสนุนงานการศึกษา
กิจการที่ให้บริการและสนับสนุนการศึกษา ได้แก่ งานที่เกี่ยวกับ การให้บริการและให้คําปรึกษา งานกิจกรรมนักศึกษา งานเรียนรู้และบริการสังคม และงานฝุายการ นักศึกษา หรืองานด้านยุทธศาสตร์ การสารสนเทศ และการประเมินผล งานวิเคราะห์และจัดทํา งบประมาณ งานพัฒนากายภาพ งานสื่อสารองค์กร หรืองานส่งเสริมมาตรฐานและประกันคุณภาพ งานพัฒนาระบบคุณภาพ งานประกันคุณภาพ เป็นต้น ซึ่งงานหรือกิจการดังกล่าวมีความสําคัญในการ สนับสนุนงานด้านการเรียนการสอนและการทําวิจัยของมหาวิทยาลัย
2. กิจการที่ให้บริการและสนับสนุนงานการศึกษาในลักษณะเป็น การจัดหารายได้ของมหาวิทยาลัยภายในกรอบวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัยที่เรียกว่า “โครงการ พิเศษ”
โครงการพิเศษเป็นการจัดหลักสูตรเพิ่มเติมขึ้นจากหลักสูตรการ เรียนการสอนโดยปกติที่มหาวิทยาลัยดําเนินการตามแผนการจัดการศึกษา โดยโครงการพิเศษจะแบก รับค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการเปิดโครงการขึ้นเอง ซึ่งการบริหารจัดการสําหรับกิจกรรมการเรียนการสอน ที่มีลักษณะเป็นการหารายได้ดังกล่าว แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ87
85 “กองบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์”, สืบค้นวันที่ 20 มีนาคม 2560, xxxx://xxxx.xx.xx.xx/xxxxxx.xxxx
86 “กองบริหารการวิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์”, สืบค้นวันที่ 20 มีนาคม 2560, xxxx://xxxxxxxx.xx.xx.xx/xxxxxxx.xxxx
87 สุรพล นิติไกรพจน์, “การจัดองค์กรเพื่อหารายได้มหาวิทยาลัย : ศึกษากรณี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์”, วารสารนิติศาสตร์, เล่มที่ 4, ปีที่ 27, น.1087 (ธันวาคม 2540).
รูปแบบแรก การจัดการสอนโดยใช้ทรัพยากรเดิมของหน่วยงาน ซึ่งการจัดการทั้งทางธุรการและการเรียนการสอนภายใต้โครงการบริหารงานของหน่วยงานเดิม ใช้ บุคลากรที่เป็นอาจารย์ ข้าราชการของคณะนั้น ๆ เป็นผู้รับผิดชอบปฏิบัติงานพิเศษเพิ่มเติมทั้งในและ นอกเวลาราชการ โดยคณะหรทอหน่วยงานที่รับผิดชอบจะจ่ายค่าตอบแทนเพิ่มเติมพิเศษให้บุคลากร ดังกล่าว นอกจากนั้น คณะในมหาวิทยาลัยได้จัดสรรเงินรายได้ที่ได้รับจากโครงการพิเศษเหล่านี้ไป จ้างลูกจ้างของมหาวิทยาลัยเพื่อรับผิดชอบงานเต็มเวลา และบางคณะมีการจ้างอาจารย์พิเศษเพื่อ ปฏิบัติงานสอน ค้นคว้าวิจัย และให้คําปรึกษาทางวิชาการในโครงการเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะ
รูปแบบที่สอง การบริหารโครงการพิเศษโดยจัดตั้งหน่วยงานนอก ระบบราชการ เป็นการจัดตั้งหน่วยงานใหม่ที่ไม่ได้อยู่ในระบบราชการ และมิได้ใช้บุคลากรที่เป็น ข้าราชการและไม่ได้ใช้งบประมาณแผ่นดินในการดําเนินโครงการนี้เลย ได้แก่ สถาบันเทคโนโลยี นานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Sirindhorn International Institute of Technology, Thammasat University) จัดตั้งขึ้นตามระเบียบว่าด้วยการจัดตั้งและดําเนินงานสถาบันเทคโนโลยี นานาชาติสิรินธร พ.ศ. 2540 เป็นหน่วยงานหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่ไม่มีฐานะเป็นส่วนราชการ ไม่ได้เริ่มต้น จากการเป็นโครงการของคณะที่มีอยู่เดิมในมหาวิทยาลัย แต่เริ่มต้นจากการจ้างบุคลากรทั้งหมดในสาย ผู้สอนและสายปฏิบัติงานธุรการจากบุคคลภายนอกที่ไม่ใช่อาจารย์หรือข้าราชการของมหาวิทยาลัยมาเป็น ผู้รับผิดชอบปฏิบัติงานภายใต้ระบบสัญญาจ้างที่มีกําหนดเวลาจ้างไว้และต้องมีการพิจารณาประเมินผล การปฏิบัติงานทุก ๆ 2 หรือ 4 ปี ภายใต้การกํากับนโยบายและควบคุมการบริหารงานโดยคณะกรรมการ อํานวยการสถาบันที่สภามหาวิทยาลัยเห็นชอบให้แต่งตั้ง โดยมีอธิการบดีเป็นประธาน
โครงการพิเศษในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ โครงการ หลักสูตรนิติศาสตร์ภาคบัณฑิต โครงการประกาศนียบัตรบัณฑิตสาขากฎหมายธุรกิจ โครงการ ประกาศนียบัตรบัณฑิตสาขากฎหมายมหาชนของคณะนิติศาสตร์ โครงการ Executive MBA. โครงการ MIM. ของคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี โครงการปริญญาโททางด้านบริหารรัฐกิจของ คณะรัฐศาสตร์88 โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ และโครงการหลักสูตรตรี ควบปริญญาโทสาขาวิชาคณิตศาสตร์การจัดการภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติคณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีและภาควิชาเทคโนโลยีการจัดการสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร89 เป็นต้น
3. กิจการที่ให้บริการหรือจัดหารายได้
เนื่องจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นมหาวิทยาลัยในกํากับ ของรัฐ โดยมีฐานะเป็นองค์การมหาชน มหาวิทยาลัยจึงสามารถดําเนินกิจการที่เกี่ยวกับการจัดหา
88 สุรพล นิติไกรพจน์, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 87
89 “เรียนอะไรดีที่ธรรมศาสตร์”, สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2560, xxxx://xxx.xxxxxxx.xxx
รายได้นอกเหนือจากการจัดทําบริการสาธารณะได้ ซึ่งกิจการที่เกี่ยวกับการจัดหารายได้ของมหาวิทยาลัย เช่น โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ สํานักงานบริหารทรัพย์สินและกีฬา สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (สอมธ.)90 ศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย
กรณีการดําเนินงานของสํานักพิมพ์ โรงพิมพ์ และศูนย์หนังสือ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นการดําเนินงานในรูปแบบวิสาหกิจ มีภารกิจในการสนับสนุนและเสริมสร้าง ตํารา เอกสารงานวิจัย และหนังสือประกอบการเรียนการสอน การจัดพิมพ์ตํารา หนังสือ และสิ่งพิมพ์ ต่าง ๆ ที่มหาวิทยาลัยจัดทําต่อเนื่องมาเพื่ออํานวยความสะดวกและส่งเสริมการเรียนการสอนของ มหาวิทยาลัยและเพื่อให้บริการแก่สังคมและประชาชนด้วย ซึ่งการบริหารจัดการ หน่วยงานดังกล่าว เป็นหน่วยงานของมหาวิทยาลัยที่มีระบบบริหารงานเป็นอิสระแยกจากระบบราชการ แต่ละหน่วยงาน มีคณะกรรมการบริหารและผู้จัดการที่คณะกรรมการบริหารเสนอให้อธิการบดีทําสัญญาจ้างขึ้นมา รับผิดชอบกิจการต่าง ๆ ของหน่วยงาน91
กรณีสํานักงานบริหารทรัพย์สินและกีฬา เป็นหน่วยงานในกํากับ ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ซึ่งมิใช่หน่วยงานราชการ ทําหน้าที่บริหารทรัพย์สินที่ได้รับจากการแข่งขัน กีฬา Asian Games ครั้งที่ 13 ประกอบด้วยอาคารหอพักจํานวน 25 อาคาร อาคาร International Zone และอาคาร Gymnasium 1 เป็นต้น และสํานักงานยังได้รับมอบหมายให้ทําหน้าที่บริหารดูแลอาคาร หอพักของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิตทุกแห่ง รายได้หลักของสํานักงานฯ มาจากค่าเช่า อาคารหอพัก92
นอกจากนี้ ยังดําเนินกิจการอื่น ๆ เช่น ดําเนินการให้เช่าพื้นที่ เปิดตลาดนัด จัดทํากิจการร้านค้าและบริการต่างๆ เช่น ศูนย์อาหาร ร้านซัก อบ รีด บริการตู้ เครื่องดื่มหยอดเหรียญ และสนามกีฬา และจัดทําน้ําดื่มโดม เป็นต้น
กรณีศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย จัดตั้งขึ้นอยู่ภายใต้การบริหารงาน ของคณะพยาบาลศาสตร์ โดยมีคณะกรรมการบริหาร และมีคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ เป็นประธาน คณะกรรมการบริหาร93 ซึ่งกิจการดังกล่าวของมหาวิทยาลัยดําเนินการในรูปแบบวิสาหกิจที่ให้บริการ
90 “สอ มธ.”, สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2560, xxxx://xxxxxxx.xx.xx.xx/xxxxx/xxxxxxxxxx.xxx
91 สุรพล นิติไกรพจน์, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 87, น.1097-1098.
92 สํ านั กงานบริหารทรัพย์สินและกีฬา”, สื บค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2560, xxxx://xxx.xxx.xx.xx.xx/
93“ศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย”, สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2560, xxxx://xxx.xxxxx.xx.xx.xx/xx/x
หรืออํานวยความสะดวกแก่บุคลากร นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และให้บริการแก่สังคม ซึ่ง เป็นกิจการที่มีค่าตอบแทนการใช้บริการ อันเป็นรายได้ของมหาวิทยาลัย
ทั้งนี้ สภามหาวิทยาลัยมีอํานาจควบคุมดูแลกิจการทั่วไปของ มหาวิทยาลัยตามมาตรา 23 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
3.2.2 บุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3.2.2.1 บุคลากรของมหาวิทยาลัยประเภทข้าราชการ
บุคลากรของมหาวิทยาลัยประเภทข้าราชการ เป็นข้าราชการพลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษา หมายถึง บุคคลซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้รับราชการตามพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 254794 ส่วนใหญ่จะเป็นคณาจารย์ประจําของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งมีตําแหน่งทางวิชาการ ดังต่อไปนี้ 1) ศาสตราจารย์ 2) รองศาสตราจารย์
3) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 4) อาจารย์ โดยศาสตราจารย์นั้น จะได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งโดย คําแนะนําของสภามหาวิทยาลัย
นอกจากนี้ สภามหาวิทยาลัยอาจกําหนดให้มีตําแหน่งทางวิชาการที่ เรียกชื่ออย่างอื่นอีกได้โดยทําเป็นข้อบังคับของมหาวิทยาลัยและประกาศในราชกิจจานุเบกษา คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการแต่งตั้งและถอดถอนผู้ดํารงตําแหน่งทางวิชาการของมหาวิทยาลัยให้ เป็นไปตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัย95 สําหรับตําแหน่งศาสตราจารย์พิเศษ โดยศาสตราจารย์พิเศษ จะได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งจากผู้ซึ่งดํารงตําแหน่งหรือเคยดํารงตําแหน่งอาจารย์พิเศษ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิเศษ หรือรองศาสตราจารย์พิเศษ ซึ่งมีความรู้ความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษ โดย คําแนะนําของสภามหาวิทยาลัย96 อีกทั้งสภามหาวิทยาลัยอาจแต่งตั้งผู้มีคุณสมบัติเหมาะสมและมิได้ เป็นคณาจารย์ประจําของมหาวิทยาลัยเป็นรองศาสตราจารย์พิเศษหรือผู้ช่วยศาสตราจารย์พิเศษ และ อธิการบดีอาจแต่งตั้งผู้มีคุณสมบัติเหมาะสมและมิได้เป็นคณาจารย์ประจําของมหาวิทยาลัยเป็น อาจารย์พิเศษได้โดยคําแนะนําของคณบดีได้97
3.2.2.2 บุคลากรประเภทผู้บริหาร
สําหรับบุคลากรของมหาวิทยาลัยในส่วนผู้บริหารนั้น สามารถ
พิจารณาได้ดังนี้
94 มาตรา 4 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547
95 มาตรา 70 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
96 มาตรา 72 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
97 มาตรา 73 วรรคหนึ่งและวรรคสอง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
(1) อธิการบดี เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด และรับผิดชอบการ บริหารงานของมหาวิทยาลัย98 โดยอธิการบดีจะได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งจากผู้มี คุณสมบัติตามมาตรา 37 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรื พ.ศ. 2558 โดยคําแนะนํา ของสภามหาวิทยาลัย และให้มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสามปีและจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งใหม่อีกได้ แต่จะดํารงตําแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระมิได้99 ซึ่งอธิการบดีอธิการบดีถือว่าเป็นผู้แทน ของมหาวิทยาลัยในกิจการทั้งปวง และโดยเฉพาะให้มี อํานาจหน้าที่ในการบริหารกิจการของมหาวิทยาลัย ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ และประกาศของมหาวิทยาลัย รวมทั้งวัตถุประสงค์และ นโยบายของมหาวิทยาลัย ในการนี้ ให้มีอํานาจออกระเบียบคําสั่ง และประกาศได้ นอกจากนี้ ยังมี อํานาจ บริหารบุคลากร การเงิน การคลัง การพัสดุ สถานที่ และทรัพย์สินอื่นของมหาวิทยาลัยให้ เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ และประกาศของมหาวิทยาลัย และมีอํานาจ จัดหารายได้และ ทรัพยากรอื่นจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการดําเนินภารกิจให้บรรลุวัตถุประสงค์และปณิธานของ มหาวิทยาลัย และจัดทํางบประมาณรายรับและงบประมาณรายจ่ายเพื่อเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย รวมถึงมีอํานาจแต่งตั้งและถอดถอนรองคณบดีและอาจารย์พิเศษโดยคําแนะนําของคณบดี แต่งตั้ง และถอดถอนหัวหน้าภาควิชา หัวหน้าหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่า ภาควิชา รอง ผู้อํานวยการ และรองหัวหน้าส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าสถาบันหรือสํานัก100 โดย อธิการบดีมีคุณสมบัติตามมาตรา 37 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558101
(2) รองอธิการบดี เป็นผู้รักษาการแทนอธิการบดี ในกรณีที่อธิการบดี ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ถ้ามีรองอธิการบดีหลายคน ให้รองอธิการบดีซึ่งอธิการบดีมอบหมายเป็นผู้รักษา การแทน ถ้าอธิการบดี มิได้มอบหมายให้รองอธิการบดีผู้ใดรักษาการแทน ให้รองอธิการบดีที่มีอาวุโส
98 มาตรา 35 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
99 มาตรา 36 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
100 มาตรา 39 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
101 มาตรา 37 อธิการบดีต้องมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
(1) สําเร็จการศึกษาไม่ต่ํากว่าชั้นปริญญาเอกหรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือ สถานศึกษาชั้นสูงอื่นที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง และได้ทําการสอนในมหาวิทยาลัยหรือสถานศึกษาชั้นสูงอื่น ที่สภามหาวิทยาลัยรับรองมาแล้วไม่น้อยกว่าสามปี
(2) สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่งหรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัย หรือสถานศึกษาชั้นสูงอื่นที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง และได้ทําการสอนในมหาวิทยาลัยหรือสถานศึกษาชั้นสูง อื่นที่สภามหาวิทยาลัยรับรองมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี หรือเคยดํารงตําแหน่งกรรมการสภามหาวิทยาลัย มาแล้วรวมเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสองปี
สูงสุดเป็นผู้รักษาการแทน102รองอธิการบดี มีคุณสมบัติตามมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558103
(3) ผู้ช่วยอธิการบดี ต้องเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาชั้นใด ชั้นหนึ่งหรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือสถานศึกษาชั้นสูงอื่นที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง ตาม มาตรา 38 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
(4) คณบดี เป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของคณะและ วิทยาลัย มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสามปี และอาจได้รับแต่งตั้งใหม่อีกได้แต่จะดํารงตําแหน่ง ติดต่อกันเกินสองวาระมิได้ โดยสภามหาวิทยาลัยจะเป็นผู้แต่งตั้งคณบดีจากผู้มีคุณสมบัติตามมาตรา 42104
(5) รองคณบดี โดยอธิการบดีจะเป็นผู้แต่งตั้งรองคณบดี โดย คําแนะนําของคณบดีจากผู้มีคุณสมบัติตามมาตรา 43105 ทําหน้าที่รับผิดชอบตามที่คณบดี มอบหมาย106
(6) ผู้อํานวยการสถาบัน และผู้อํานวยการสํานักในสถาบัน สํานัก และส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่า ให้มีผู้อํานวยการหรือหัวหน้าส่วนงานที่เรียกชื่อ อย่างอื่นเป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของสถาบัน สํานักหรือส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มี ฐานะเทียบเท่า และจะให้มีรองผู้อํานวยการหรือรองหัวหน้าส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามจํานวนที่ คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยกําหนด เพื่อทําหน้าที่และรับผิดชอบตามที่ผู้อํานวยการหรือ
102 มาตรา 40 วรรคหนึ่ง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
103 มาตรา 38 วรรคหนึ่ง รองอธิการบดีต้องมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
(1) มีคุณสมบัติเช่นเดียวกับอธิการบดี
(2) สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่งหรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือ สถานศึกษาชั้นสูงอื่นที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง และมีประสบการณ์ทางการบริหารมาแล้วไม่น้อยกว่า ห้าปี
(3) เป็นพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการซึ่งสําเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรีหรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษาอื่นที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง และเคย ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยมาแล้วไม่น้อยกว่าสิบปี
(4) คุณสมบัติอื่นตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
104 มาตรา 41 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
105 มาตรา 41 วรรคหนึ่ง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
106 ข้อ 17 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยโครงสร้างการบริหารงานภายใน ส่วนงาน พ.ศ. 2559 แก้ไขเพิ่มเติมถึงปีปัจจุบัน (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2559
หัวหน้าส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นมอบหมายก็ได้107 ซึ่งในสํานักงานสภามหาวิทยาลัยและสํานักงาน ให้มีผู้อํานวยการเป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของสํานักงานสภ ามหาวิทยาลัยและ สํานักงาน108
(7) หัวหน้าส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น
สําหรับผู้ดํารงตําแหน่งอธิการบดี รองอธิการบดี คณบดี ผู้อํานวยการสถาบันผู้อํานวยการสํานัก และหัวหน้าส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น ต้องสามารถปฏิบัติ หน้าที่ได้เต็มเวลาและจะดํารงตําแหน่งดังกล่าวเกินหนึ่งตําแหน่งในขณะเดียวกันมิได้109
นอกจากนั้น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จะมีสภามหาวิทยาลัย มี อํานาจหน้าที่ควบคุมดูแลกิจการทั่วไปของมหาวิทยาลัย อํานาจหน้าที่เช่นว่านี้ให้รวมถึง กําหนด เปูาหมาย วางนโยบาย และแนวทางในการพัฒนาของมหาวิทยาลัยเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของ มหาวิทยาลัย รวมทั้งออกข้อบังคับ ระเบียบ และประกาศต่างๆ ของมหาวิทยาลัย เพื่อประโยชน์ใน การปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัย และอาจมอบหมายให้ส่วนงานใดในมหาวิทยาลัยเป็นผู้ออกข้อบังคับ ระเบียบและประกาศสําหรับส่วนงานนั้นเป็นเรื่อง ๆ ไปก็ได้110
3.2.2.3 พนักงานมหาวิทยาลัย
พนักงานมหาวิทยาลัย หมายความว่า พนักงานมหาวิทยาลัยทั้งที่ จ้างด้วยงบประมาณแผ่นดิน และเงินรายได้ของมหาวิทยาลัยหรือส่วนงาน สังกัดมหาวิทยาลัย111 พนักงานในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จะมีสองประเภทหลัก ได้แก่ พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ และพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนสายวิชาการ112
(1) พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ ประกอบด้วย
1. คณาจารย์ประจํา ซึ่งมีตําแหน่งทางวิชาการ ดังนี้ ตําแหน่ง ศาสตราจารย์ ตําแหน่งรองศาสตราจารย์ ตําแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ตําแหน่งอาจารย์ มีภาระงานที่ รับผิดชอบ คือ งานสอน งานวิจัย งานบริการวิชาการ งานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม งานพัฒนานักศึกษา
107 มาตรา 47 วรรคหนึ่ง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
108 มาตรา 51 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
109 มาตรา 49 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
110 มาตรา 23 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
111 ข้อ 3 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลพนักงาน มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2559
112 ข้อ 18 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลพนักงาน มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2559
รวมตลอดถึงภาระงานอื่น ๆ ที่อธิการบดีโดยข้อเสนอของคณะกรรมการบริหารบุคคลกําหนดโดยออกเป็น ประกาศมหาวิทยาลัย113
2. นักวิจัย
3. พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาอื่นๆ มีภาระงาน มาตรฐาน ภาระงาน และภาระงานขั้นต่ําตามที่อธิการบดีโดยข้อเสนอของคณะกรรมการบริหารบุคคลกําหนด โดยออกเป็นประกาศมหาวิทยาลัย114 ซึ่งการแต่งตั้งพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการใช้วิธีการ สอบแข่งขันหรือการคัดเลือกโดยพิจารณาจากคุณวุฒิ ผลการศึกษา ความรู้ความสามารถ ผลงานทาง วิชาการ หรือประสบการณ์การทํางาน115 ซึ่งอธิการบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหาร มหาวิทยาลัยจะเป็นผู้แต่งตั้งพนักงานมหาวิทยาลัย116
(2) พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ พนักงาน มหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ มี 4 ประเภท ดังนี้
1. ประเภทอํานวยการ 2.ประเภทวิชาชีพเฉพาะ
3. ประเภทบริการวิชาการและสนับสนุนการบริหาร
4. ประเภทอื่นที่คณะกรรมการบริหารบุคคลกําหนด117 ซึ่งมีภาระ งานเกี่ยวกับการสนับสนุนงานสอน งานวิจัย งานบริการทางวิชาการ งานบริการสังคม งานทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม และงานพัฒนานักศึกษารวมตลอดจนงานบริหารงานทั่วไปและงานธุรการ118
113 ข้อ 15 และ ข้อ 16 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการบริหารงานบุคคล พนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2559
114 ข้อ 17 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลพนักงาน มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2559
115 ข้อ 22 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลพนักงาน มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2559
116 ข้อ 25 วรรคหนึ่ง ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการบริหารงานบุคคล พนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2559
117 ข้อ 18 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลพนักงาน มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2559
118 ข้อ 19 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลพนักงาน มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2559
สําหรับการบรรจุแต่งตั้งพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน วิชาการให้บรรจุและแต่งตั้งจากผู้ที่สอบแข่งขันได้หรือผู้ผ่านการคัดเลือก เว้นแต่กรณีที่มีเหตุผลความ จําเป็นเพื่อประโยชน์แก่มหาวิทยาลัยอาจคัดเลือกโดยพิจารณาจากคุณ วุฒิผลการศึกษา ความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์การทํางานก็ได้119 ซึ่งอธิการบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ บริหารมหาวิทยาลัยจะเป็นผู้แต่งตั้งพนักงานมหาวิทยาลัยดังกล่าว120 พนักงานมหาวิทยาลัยทั้งสอง สาย มหาวิทยาลัยได้รับการจัดสรรงบประมาณจากสํานักงบประมาณในลักษณะเงินอุดหนุนทั่วไป (Block Grant)121
3.2.2.4 บุคลากรประเภทอื่น
นอกจากพนักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอาจให้มีลูกจ้างเพื่อ ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยอีกได้122 ซึ่งบุคลากรอื่นประเภทอื่นของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีดังนี้
(1) พนักงานเงินรายได้ หมายถึง บุคคลที่ได้รับการจ้างและแต่งตั้ง ให้เข้าปฏิบัติงานในหน่วยงานหลัก และปฏิบัติงานในโครงการพิเศษต่าง ๆ โดยได้รับค่าจ้างหรือค่าอื่นใด เป็นรายเดือนจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัยรวมถึงรายได้ของโครงการบริการวิชาการและสังคม123 ซึ่งพนักงานเงินรายได้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท124 ได้แก่
ประเภทแรก พนักงานเงินรายได้ประเภทประจํา คือ พนักงานเงิน รายได้ที่มีลักษณะการจ่ายค่าจ้างเป็นรายเดือน ซึ่งมีระยะเวลาการทํางานตามสัญญาการเป็นพนักงานเงิน รายได้ที่มีสัญญาจ้างตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป และปฏิบัติงานในตําแหน่งภาระงานหลักที่จําเป็นของหน่วยงาน125
119 ข้อ 23 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลพนักงาน มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2559
120 ข้อ 25 วรรคหนึ่ง ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการบริหารงานบุคคล
พนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2559
121 “คู่มือพนักงานมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจําปี 2559”, น. 5, สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2560, xxxx://xxxx.xxxxxx.xx.xx.xx/xxxxxxx/xxxxxxx/xx_xxx/xx_xxx_00_00_0000_00_00_00.xxx
122 มาตรา 75 วรรคสอง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2558
123 ข้อ 4 วรรคเก้า ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลสําหรับ พนักงานเงินรายได้ พ.ศ. 2552
124 ข้อ 7 ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลสําหรับพนักงาน
เงินรายได้ พ.ศ. 2552
125 ข้อ 4 วรรคสิบ ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลสําหรับ
พนักงานเงินรายได้ พ.ศ. 2552
โดยพนักงานเงินรายได้ประเภทประจํามี 2 สายงาน ได้แก่ สายงานวิชาการ มีภารกิจหลัก คือ การสอน การวิจัย บริการทางวิชาการ และการนําทุบํารุงศิลปวัฒนธรรม โดยพนักงานเงินรายได้ประเภทประจํา สายวิชาการ อาจมีตําแหน่งทางวิชาการ ดังนี้126 1) ศาสตราจารย์ 2) รองศาสตราจารย์ 3) ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ 4) อาจารย์ และสายสนับสนุนวิชาการ อาจมีตําแหน่งที่แสดงความชํานาญ ดังนี้127
1) ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ 2) ผู้เชี่ยวชาญ 3) ผู้ชํานาญการ
ประเภทที่สอง พนักงานเงินรายได้ประเภทชั่วคราว คือ พนักงานเงิน รายได้ที่มีลักษณะการจ่ายค่าจ้างเป็นรายเดือนหรือจ่ายค่าจ้างในลักษณะอื่น ซึ่งมีระยะเวลาการ ทํางานตามสัญญาการเป็นพนักงานเงินรายได้ที่มีสัญญาจ้างครั้งละไม่เกิน 2 ปี หรือตามรระยะเวลา สิ้นสุดโครงการ โดยเป็นโครงการระยะสั้นที่มีกําหนดเวลาสิ้นสุดที่แน่นอน หรือปฏิบัติงานตําแหน่งที่มี ลักษณะสนับสนุนที่หน่วยงานไม่จําเป็นต้องจ้างเป็นพนักงานประจํา128 พนักงานเงินได้ประเภท ชั่วคราวมีได้ทั้งสองสายงาน ได้แก่ สายงานวิชาการ มีภารกิจหลักคือ การสอน การวิจัย บริการทาง วิชาการ และการนําทุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และสายสนับสนุนวิชาการ ซึ่งมีภารกิจหลักคือ การ ดําเนินงานสนับสนุนทางวิชาการ งานบริการวิชาการ งานบริหารและงานธุรการ129
(2) ลูกจ้าง หมายถึง บุคคลที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่ในมหาวิทยาลัย เช่นเดียวกับข้าราชการประเภทต่างๆ แต่มิได้เป็นข้าราชการ ลูกจ้างของส่วนราชการนี้ จะปฏิบัติงาน ที่มีลักษณะเฉพาะแตกต่างไปจากข้าราชการ เช่น งานที่ใช้แรงงาน งานที่ใช้ฝีมือหรือความชํานาญ ที่ไม่ต้องใช้บุคคลที่มีคุณวุฒิหรือความรู้เช่นเดียวกับข้าราชการ หรืองานชั่วคราว เป็นต้น ลูกจ้างของ ส่วนราชการได้รับค่าตอบแทนหรือค่าจ้างจากเงินงบประมาณของส่วนราชการนั้น แต่ไม่รวมพนักงาน
126ข้อ 22 ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลสําหรับพนักงาน
เงินรายได้ พ.ศ. 2552
127ข้อ 23 ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลสําหรับพนักงาน
เงินรายได้ พ.ศ. 2552
128ข้อ 4 ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลสําหรับพนักงาน
เงินรายได้ พ.ศ. 2552
129ข้อ 7 ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลสําหรับพนักงาน
เงินรายได้ พ.ศ. 2552
รัฐวิสาหกิจและลูกจ้างซึ่งส่วนราชการจ้างโดยเงินซึ่งไม่ใช้งบประมาณของส่วนราชการ130 ซึ่งลูกจ้าง ของส่วนราชการมี 2 ประเภท131 ดังนี้
ประเภทแรก ลูกจ้างประจํา หมายถึง ลูกจ้างที่ได้รับการบรรจุให้ ปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐที่มีลักษณะเป็นการปฏิบัติงานประจําและต่อเนื่อง มีกําหนดเงินเดือน การเลื่อนขั้น การลงโทษทางวินัย เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดโดยกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือ ข้อบังคับ เช่น กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการประเภทต่างๆ หรือกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้ง องค์การรัฐวิสาหกิจ เป็นต้น ซึ่งลูกจ้างประจํานั้น มีทั้งลูกจ้างประจําที่ปฏิบัติงานที่มีลักษณะเหมือน ข้าราชการ เช่น พนักงานพัสดุ พนักงานธุรการ เป็นต้น และลูกจ้างประจําที่ปฏิบัติงานที่มีลักษณะ แตกต่างไปจากข้าราชการและลูกจ้างที่ต้องใช้เทคนิคขั้นสูงหรือต้องใช้ความชํานาญพิเศษ เช่น นักการ ภารโรง ลูกมือช่าง พนักงานขับรถ เป็นต้น
ประเภทที่สอง ลูกจ้างชั่วคราว หมายถึง ลูกจ้างที่หน่วยงานของรัฐ ได้ว่าจ้างให้ปฏิบัติงานเป็นครั้งคราวเฉพาะงาน
(3) พนักงานมหาวิทยาลัยชั่วคราว คือ บุคคลที่มีประสบการชํานาญ งานเฉพาะ ซึ่งได้รับการจ้างเป็นการชั่วคราวตามสัญญาจ้าง โดยได้รับค่าตอบแทนจากงบประมาณแผ่นดิน หมวดเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป รายการเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายบุคลากร132 ซึ่งพนักงานมหาวิทยาลัย ชั่วคราว มี 2 ประเภท ดังนี้
ประเภทแรก พนักงานมหาวิทยาลัยชั่วคราวทั่วไป ซึ่งปฏิบัติงานใน ลักษณะงานประจําทั่วไปของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ด้านการบริการ งานเทคนิค งานบริหารทั่วไป งานวิชาชีพเฉพาะ หรืองานเชี่ยวชาญเฉพาะ
ประเภทที่สอง พนักงานมหาวิทยาลัยชั่วคราวพิเศษ ปฏิบัติงานใน ลักษณะที่ต้องใช้ความรู้หรือความเชี่ยวชาญสูงมากเป็นพิเศษ เพื่อปฏิบัติงานในเรื่องที่มีความสําคัญ และจําเป็นเฉพาะเรื่อง หรือมีความจําเป็นต้องใช้บุคคลในลักษณะดังกล่าว133 การกําหนดตําแหน่ง พนักงานมหาวิทยาลัยชั่วคราว แยกตามกลุ่มงานที่มีลักษณะงานดังนี้ กลุ่มงานบริการ กลุ่มงานเทคนิค
130 ศักรินทร์ สุวรรณโรจน์, เอกสารการสอนชุดวิชาการบริหารงานบุคคลภาครัฐ หน่วยที่ 13 : การบริหารงานบุคคลของลูกจ้างส่วนราชการ, พิมพ์ครั้งที่ 3 (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2532), น.873.
131 ประภาศรี ศุภอักษร, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 24, น.86.
132 ข้อ 3 ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการจ้างพนักงานมหาวิทยาลัยชั่วคราว พ.ศ. 2549
133 ข้อ 4 ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการจ้างพนักงานมหาวิทยาลัยชั่วคราว พ.ศ. 2549
กลุ่มงานบริหารทั่วไป กลุ่มงานวิชาชีพเฉพาะ กลุ่มงานเชี่ยวชาญเฉพาะ และกลุ่มงานเชี่ยวชาญ พิเศษ134
(4) บุคลากรภายนอกที่ดํารงตําแหน่งผู้บริหารในมหาวิทยาลัย คือ การจ้างบุคคลภายนอกเข้ามาดําเนินงานบริหารงานมหาวิทยาลัยที่ไม่ใช่งานสอน หรือจัด การศึกษาโดยตรง เช่น การการทําสัญญาบุคคลภายนอกมาดํารงตําแหน่งอธิการบดี รองอธิการบดี หรือคณบดี หรือตําแหน่งผู้บริหารอื่นภายในมหาวิทยาลัย ซึ่งการจ้างบุคลากรดังกล่าวเข้ามา ดําเนินงานที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานวิชาการ หรือการจัดการศึกษา แต่เป็นการจ้างบุคลากรเหล่านั้นมาทํา หน้าที่บริหารงานภายในมหาวิทยาลัยให้สามารถดําเนินการไปตามวัตถุประสงค์ได้
3.3. ปัญหาสัญญาจ้างบุคลากรของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศไทย
การทําสัญญาระหว่างเอกชนกับเอกชนตั้งอยู่บนพื้นฐานที่คู่สัญญาทั้งสองฝุายมีความ เสมอภาคกัน กล่าวคือ มีความเสมอภาคในการกําหนดข้อสัญญา การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา รวมทั้งการปฏิบัติตามสัญญา135 แต่กรณีคู่สัญญาฝุายหนึ่งเป็นหน่วยงานทางปกครอง และอีกฝุายหนึ่ง เป็นเอกชนทําสัญญาอยู่บนพื้นฐานของความไม่เท่าเทียมกันเพื่อประโยชน์สาธารณะ ถือว่าเป็นสัญญาทาง ปกครอง กรณีสัญญาของฝุายปกครองที่ทําขึ้นไม่จําเป็นต้องเป็นสัญญาทางปกครอง ( contrat adiministratif) เสมอไป มีสัญญาของฝุายปกครองหลายประเภทที่อยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายแพ่ง สัญญาเหล่านั้นเป็นสัญญาของฝุายปกครอง (contrat de I’administration) ที่เรียกว่าสัญญาของ ฝุายปกครองที่เป็นไปตามกฎหมายเอกชน (contrat de droit privé de I’administration) เกิดจาก การที่ฝุายปกครองได้แสดงเจตนาในการทําสัญญาว่าประสงค์ที่จะทําสัญญาภายใต้ระบบกฎหมาย แพ่ง136 ซึ่งลักษณะสัญญาของฝุายปกครอง สามารถแยกได้สองลักษณะสําคัญ ดังนี้137
(1) สัญญาของฝุายปกครองที่มีหลักการพื้นฐานในทางกฎหมายแพ่ง แม้ว่าฝุายปกครอง จะมีอํานาจเหนือในการใช้คําสั่งทางปกครองเพื่อประโยชน์สาธารณะก็ตาม แต่ในหลาย ๆ กรณีที่รัฐ
134 ข้อ 6 ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการจ้างพนักงานมหาวิทยาลัยชั่วคราว พ.ศ. 2549
135 นันทวัฒน์ บรมานันท์, สัญญาทางปกครอง, พิมพ์ครั้งที่ 5 (กรุงเทพมหานคร:วิญญูชน,
2556), น.372.
136 เพิ่งอ้าง, น.378.
137 ชวลิต เศวตสุด, “สัญญาของฝุายปกครองในระบบกฎหมายคอมมอนลอว์ : ศึกษากรณี
ระบบกฎหมายสหรัฐอเมริกาและอังกฤษเปรียบเทียบกับระบบกฎหมายไทย”, (วิทยานิพนธ์นิติศาสตร มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2547), น.26-27.
ไม่จําเป็นที่จะต้องใช้อํานาจที่เหนือกว่าต่อปัจเจกชน ฝุายปกครองก็อาจจะใช้สัญญาที่มีหลักพื้นฐาน ในทางกฎหมายแพ่งเป็นเครื่องมือของรัฐในการก่อตั้ง สงวน ระงับสิทธิกับปัจเจกชนหรือเอกชนคู่สัญญา ได้เช่นกัน
(2) สัญญาของฝุายปกครองที่มีหลักการพื้นฐานในทางกฎหมายมหาชน ในหลายกรณีที่ ฝุายปกครองมีความจําเป็นที่จะต้องใช้อํานาจในทางปกครองหรือสงวนไว้ซึ่งสิทธิที่จะใช้อํานาจทาง ปกครอง หรืออํานาจพิเศษของฝุายปกครอง เพื่อให้การบริการสาธารณะหรือการคุ้มครองการ ให้บริการสาธารณะแก่ประชาชนทั่วไป ฝุายปกครองก็อาจนําหลักกฎหมายว่าด้วยสัญญาทางปกครอง มาปรับใช้กับสัญญาที่ตนประสงค์ที่จะก่อตั้ง สงวน หรือระงับนิติสัมพันธ์กับเอกชนคู่สัญญา ในกรณี เช่นนี้ เอกชนคู่สัญญาที่ประสงค์จะเข้าเป็นคู่สัญญากับฝุายปกครองย่อมต้องรับอภิสิทธิ์ของฝุาย ปกครองเช่นว่านั้น เช่น หลักความต่อเนื่องของบริการสาธารณะที่จะต้องให้บริการนั้น ๆ แก่ ประชาชนทั่วไป สิทธิในการบอกเลิกสัญญาได้ฝุายเดียว โดยเอกชนคู่สัญญาไม่จําต้องเป็นฝุายผิดสัญญาแต่ อย่างใด138
สัญญาจ้างบุคลากรมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐในประเทศไทย เป็นสัญญาทางแพ่ง หรือสัญญาทางปกครองนั้น ยังคงเป็นปัญหาเพราะบุคลากรของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐมีความ หลากหลาย ทั้งตําแหน่ง ภารกิจงานที่รับผิดชอบก็มีลักษณะแตกต่างกัน ทําให้ยากแก่การพิจารณา ซึ่งจะได้ศึกษาในรายละเอียดต่อไป
3.3.1 ปัญหาเรื่องสถานะของสัญญาจ้างบุคลากรของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ ในประเทศไทย
มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐมีฐานะเป็นองค์การมหาชน เป็นหน่วยงานทางทาง ปกครองในการดําเนินจัดทําบริการสาธารณะด้านการศึกษา มีความเป็นอิสระในการบริหารงานด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะด้านการบริหารงานบุคคล ความหลาหลายของส่วนงานภายในมหาวิทยาลัย ภารกิจ ตลอดจน ประเภทของบุคลากรภายใมหาวิทยาลัย ทําให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับเรื่องสัญญาจ้างว่ามีสถานะเป็นสัญญา จ้างแรงงาน หรือสัญญาทางปกครอง ซึ่งจะมีผลต่อการพิจารณาเรื่องเขตอํานาจศาล ดังนั้น เบื้องต้นจึงต้อง ศึกษาลักษณะของสัญญาจ้างแรงงาน และสัญญาทางปกครอง ดังนี้
3.3.1.1 สัญญาจ้างแรงงาน
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายของมคําว่า แรงงาน หมายถึง ผู้ใช้แรงงานในการทํางาน เช่น การพัฒนาชนบทต้องอาศัยแรงงานจากท้องถิ่น งาน ก่อสร้างต้องอาศัยแรงงานเพิ่ม ประชากรในวัยแรงงานไม่รวมถึงคนพิการ คนวิกลจริต นักเรียน
138 ชวลิต เศวตสุด, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 137, น.26-27.
นักศึกษา แม่บ้าน นักบวช ทหาร ผู้ต้องขัง และผู้ประกอบกิจการเพื่อหากําไร และความสามารถใน
การทํางานเพอ
ประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ กิจการที่คนงานทําในการผลิตเศรษฐทรัพย์
ศาสตราจารย์ ดร.จี๊ด เศรษฐบุตร ได้ให้ความหมายของคําว่าแรงงาน
ไว้ว่า “งานบุคคลหรือเรียกกันว่างานหรือแรงงานนั้น ทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง การกระทําของ มนุษย์ที่ตั้งในทําขึ้นโดยมุ่งหวังว่าการกระทํานั้นจะทําให้ตนได้รับสิ่งซึ่งบําบัดความต้องการของตน ได้”139
สัญญาจ้างแรงงาน เป็นเอกเทศสัญญาประเภทหนึ่ง ตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์เกิดจากการที่บุคคลหนึ่งเรียกว่าลูกจ้าง ตกลงจะทํางานให้แก่บุคคลอีกคน หนึ่ง เรียกว่านายจ้าง และนายจ้างตกลงจะให้สินจ้างตลอดเวลาที่ทํางานให้ ตามมาตรา 575 แห่ง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ดังนั้น เมื่อบุคคลใดเข้าทํางานเป็นพนักงานหรือลูกจ้าง ย่อมต้อง ผูกพันกับนายจ้างซึ่งเป็นเจ้าของสถานประกอบกิจการนั้นตามสัญญาจ้างแรงงานซึ่งเป็นสัญญาทาง แพ่งอย่างหนึ่ง โดยถือว่านายจ้างและลูกจ้างยินยอมพร้อมใจที่จะปฏิบัติต่อกันตามที่ตกลงไว้ตามที่ กฎหมายกําหนด เนื่องจากมีการแสดงเจตนาโดยคําเสนอและคําสนองต้องตรงกันที่จะผูกนิติสัมพันธ์ ต่อกัน140ตามมาตรา 149141 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งคําว่า ทํางาน ไม่ได้มี ความหมายเพียงผู้ทํางานโดยใช้แรงงานเท่านั้น แต่ยังหมายถึงผู้ที่ทํางานโดยใช้สมองด้วย เช่น นัก ประพันธ์142 เป็นต้น
(1) การเกิดของสัญญาจ้างแรงงาน
เมื่อผู้ประกอบกิจการหรือดําเนินธุรกิจ ย่อมต้องสรรหาบุคคลที่มี ความเหมาะสมเข้ามาดําเนินงาน ซึ่งการคัดเลือกบุคคลมักจะกระทําด้วยการทดสอบความรู้
139 จี๊ด เศรษฐบุตร. คําสอนเศรษฐศาสตร์พิศดาร (งานบุคคล), (พระนคร : ม.ป.ท 2547), น. 4. 140 วิจิตรา (ฟุูงลัดดา) วิเชียรชม, สัญญาจ้างแรงงาน, พิมพ์ครั้งที่ 2 (กรุงเทพมหานคร : วิญญูชน 2543), น.17.
141 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 149 บัญญัติว่า นิติกรรม หมายความว่า การ ใดๆ อันทําลงโดยชอบด้วยกฎหมาย และด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อ จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
142 วินัย ลู่วิโรจน์ “สัญญาจ้างแรงงาน”, วารสารแรงงานสัมพันธ์, ปีที่ 29, น 57 – 58. (มีนาคม – เมษายน 2530)
ความสามารถโดยวิธีสอบข้อเขียนและสัมภาษณ์หรือสอบสัมภาษณ์อย่างเดียวก็ได้143 ซึ่งการคัดเลือก ทําด้วยความเสมอภาคและเท่าเทียมกัน เมื่อได้บุคคลที่ผ่านการคัดเลือกแล้วก็จะเข้ามาเป็นลูกจ้างโดย ต้องผูกพันกับนายจ้างหรือผู้ประกอบการตามสัญญาจ้างแรงงานอันเกิดจากการยินยอมพร้อมใจที่จะ ปฏิบัติต่อกันตามที่ตกลงกันไว้และตามที่กฎหมายกําหนด144 ซึ่งการเกิดของสัญญาจ้างแรงงาน สามารถพิจารณาได้ดังนี้
1. สัญญาจ้างแรงงานอาจเกิดขึ้นโดยชัดแจ้ง ต้องอาศัยหลักทั่วไป แห่งกฎหมายเกี่ยวกับนิติกรรมสัญญา กล่าวคือ ต้องมีคําเสนอและคําสนองที่ต้องตรงกัน มุ่งโดยตรง ต่อการผูกนิติสัมพันธ์ต่อกัน145 ทําให้เกิดสัญญาจ้างแรงงานจากการแสดงเจตนาโดยชัดแจ้งแล้ว146
2. สัญญาจ้างแรงงานอาจเกิดขึ้นโดยปริยาย กล่าวคือ เมื่อลูกจ้าง ทํางานให้นายจ้าง ถ้าพฤติการณ์ไม่อาจคาดหมายได้ว่าเป็นงานที่ทําให้เปล่า ต้องถือว่านายจ้างมีคํามั่นจะ ให้สินจ้างตามมาตรา 576 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ จึงเกิดเป็นสัญญาจ้างแรงงานโดย ปริยาย147
3. สัญญาจ้างแรงงานเกิดขึ้นโดยผลของกฎหมาย กล่าวคือ ถ้า ระยะเวลาที่ได้ตกลงว่าจ้างกันนั้นสุดสิ้นลงแล้วลูกจ้างยังคงทํางานอยู่ต่อไปอีก และนายจ้างรู้แต่ไม่ ทักท้วง กฎหมายให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าคู่สัญญาได้ทําสัญญาจ้างกันใหม่โดยความอย่างเดียวกันกับ สัญญาเดิม แต่ไม่มีกําหนดเวลากจ้างแน่นอน148 ตามมาตรา 581 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์
อย่างไรก็ตาม แม้จะไม่มีกฎหมายกําหนดแบบของสัญญาจ้าง แรงงาน แต่สัญญาจ้างแรงงานที่เกิดขึ้นจะต้องมีสาระสําคัญที่แสดงให้เห็นว่าเป็นสัญญาจ้างแรงงาน ด้วย149 อีกทั้งสัญญาจ้างแรงงานต้องมีสาระสําคัญที่แสดงให้เห็นว่าเป็นสัญญาจ้างแรงงานด้วย กล่าวคือ การกําหนดตําแหน่งหน้าที่การงาน โดยลูกจ้างตกลงที่จะทํางานให้นายจ้าง และมีการ
143 วิจิตรา (ฟุูงลัดดา) วิเชียรชม, “คําอธิบายกฎหมายแรงงาน”, (โครงการตําราและเอกสาร ประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2556), น. 42.
144 เพิ่งอ้าง, น.42.
145 วิจิตรา (ฟุูงลัดดา) วิเชียรชม, กฎหมายรงงาน, พิมพ์ครั้งที่ 4 (กรุงเทพมหานคร : วิญญูชน 2559), น.65.
146 เพิ่งอ้าง, น.45.
147 เพิ่งอ้าง น.65.
148 เพิ่งอ้าง, น.65
149 วิจิตรา (ฟุูงลัดดา) วิเชียรชม, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 140, น.17-19.
กําหนดสินจ้างหรือเงินเดือนของลูกจ้าง หากเป็นการทํางานโดยไม่มีสินจ้างหรือค่าจ้าง ก็ไม่ใช่สัญญา จ้างแรงาน150 จะเห็นได้ว่า บุคคลผู้ถูกผูกพันตามสัญญาจ้างแรงงานมี 2 ฝุาย คือ ฝุายนายจ้าง ซึ่งอาจ ใช้สิทธิหรืออํานาจความเป็นนายจ้างผ่านตัวแทน หรือมอบอํานาจให้ผู้บริหารเป็นผู้ ใช้อํานาจแทน และอีกฝุายหนึ่ง คือ ฝุายลูกจ้าง
(2) ขอบเขตของสัญญาจ้างแรงงาน
สัญญาจ้างแรงงานต้องอยู่ภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย 5 ประการ151
1. ไม่ขัดต่อหลักความสุจริตตามมาตรา 5152 แห่งประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ หรือที่เรียกในภาษาลาตินว่าหลัก Bona Fide
2. วัตถุประสงค์ของสัญญาไม่เป็นการต้องห้ามโดยชัดแจ้งโดย กฎหมาย ไม่เป็นการพ้นวิสัยที่จะปฏิบัติ ไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ตามมาตรา 150153 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เช่น ข้อตกลงให้นายจ้างจ่ายค่าตอบแทน พิเศษจากความสามารถระดมเงินฝากของลูกจ้าง เป็นข้อตกลงที่มีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งตาม พระราชบัญญัติการประกอบกิจการเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ พ.ศ. 2522 มาตรา 20 (9) ซึ่งเป็นกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน ตกเป็นโมฆะตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 150 (คําพิพากษาฎีกาที่ 4413/2542)
3. ต้องไม่เป็นสัญญาที่เกิดจากการสําคัญผิดในสาระสําคัญของ สัญญา ตามมาตรา 156 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์154
150 วิจิตรา (ฟุูงลัดดา) วิเชียรชม, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 145, น.66.
151 วิจิตรา (ฟุูงลัดดา) วิเชียรชม, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 140, น.20.
152 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 5 บัญญัติว่า ในการใช้สิทธิแห่งตนก็ดี ในการ ชําระหนี้ก็ดี บุคคลทุกคนต้องกระทําโดยสุจริต
153 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 150 บัญญัติว่า การใดมีวัตถุประสงค์เป็น การต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายเป็นการพ้นวิสัยหรือเป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี ของประชาชน การนั้นเป็นโมฆะ
154 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 156 บัญญัติว่า การแสดงเจตนาโดยสําคัญ ผิดในสิ่งซึ่งเป็นสาระสําคัญแห่งนิติกรรมเป็นโมฆะ
ความสําคัญผิดในสิ่งซึ่งเป็นสาระสําคัญแห่งนิติกรรมตามวรรคหนึ่ง ได้แก่ ความสําคัญผิดใน ลักษณะของนิติกรรมความสําคัญผิดในตัวบุคคลซึ่งเป็นคู่กรณีแห่งนิติกรรมและความสําคัญผิดใน ทรัพย์สินซึ่งเป็นวัตถุแห่งนิติกรรม เป็นต้น
4. ต้องไม่ขัดต่อกฎหมายคุ้มครองแรงงาน เนื่องจากเป็นกฎหมาย เคร่งครัด (Lex strictum) เพราะเป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชนและ มีเจตนารมณ์เพื่อคุ้มครองสิทธิของลูกจ้าง เช่น ลูกจ้างทําสัญญาไว้กับนายจ้างว่าจะไม่เรียกร้องค่าชดเชย อันแตกต่างไปจากกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ตกเป็นโมฆะ (คําพิพากษาฎีกาที่ 3129/2525)
5. ต้องไม่ขัดแย้งกับข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างซึ่งมีผลใช้บังคับ อยู่ เว้นแต่จะเป็นคุณแก่ลูกจ้างยิ่งกว่า ตามมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518และตามหลักสัญญาต้องเป็นสัญญา (Pacta Sunt Servanda)
(3) ลักษณะของสัญญาจ้างแรงงาน
สัญญาจ้างแรงงานของประเทศไทยมีสถานะเป็นสัญญาทางแพ่ง เป็น สัญญาที่กําหนดสิทธิและหน้าที่ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ซึ่งมีความสัมพันธ์ในเชิงสัญญา คู่สัญญามีนิติ สัมพันธ์ต่อกันตามสัญญาที่ได้ตกลงกันและตามที่กฎหมายกําหนด นอกจากสัญญาจ้างแรงงานจะเกี่ยวข้อง กับกฎหมายเอกชนแล้ว ยังมีความเกี่ยวข้องกับกฎหมายคุ้มครองแรงงาน และกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ซึ่ง เป็นกฎหมายมหาชน โดยให้ความคุ้มครองแก่ลูกจ้างเป็นพิเศษนอกเหนือไปจากคู่สัญญาในทางแพ่ง ทั่วไปอีกด้วย เพราะลูกจ้างเป็นคู่สัญญาที่มีฐานะเสียเปรียบในทางเศรษฐกิจ มิได้มีฐานะเสมอภาคกับ นายจ้างในการเข้าทําสัญญา รัฐจึงจําเป็นต้องเข้ามาคุ้มครอง155 ซึ่งสัญญาจ้างแรงงานมีลักษณะ เฉพาะที่สําคัญ ดังนี้
1. เป็นสัญญาต่างตอบแทน156 (Reciprocal contract) เป็นสัญญา ที่ก่อหนี้ให้แก่คู่สัญญาทั้งสองฝุายที่จะต้องปฏิบัติการชําระหนี้ตอบแทนซึ่งกันและกัน ลูกจ้างมีหนี้ที่ จะต้องทํางานให้แก่นายจ้าง ขณะเดียวกันนายจ้างก็มีหนี้ที่จะต้องจ่ายค่าจ้างหรือสินจ้างตอบแทนการ ทํางานให้ หากฝุายหนึ่งไม่เสนอขอปฏิบัติการชําระหนี้ เช่น ลูกจ้างไม่ยอมทํางาน อีกฝุายหนึ่งคือ นายจ้างย่อมมีสิทธิที่จะยังไม่ปฏิบัติการชําระหนี้ในส่วนของตน คือ ยังไม่จ่ายค่าจ้างให้ ในทํานอง เดียวกัน หากลูกจ้างทํางานแล้ว นายจ้างผิดนัดไม่ยอมจ่ายค่าจ้างหลายงวด ลูกจ้างมีสิทธิไม่ทํางาน ให้แก่นายจ้างได้ ไม่ถือว่าลูกจ้างผิดสัญญาจ้างหรือจงใจทําให้นายจ้างได้รับความเสียหาย
155 วิจิตรา (ฟุูงลัดดา) วิเชียรชม, “ย่อหลักกฎหมายแรงงานตาม พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.
2541 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2551 และ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2553 พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวงและประกาศที่เกี่ยวข้อง”, พิมพ์ครั้งที่ 24 (กรุงเทพมหานคร : นิติธรรม, 2556) , น.3.
156 เกษมสันต์ วิลาวรรณ, คําอธิบายกฎหมายแรงงาน, พิมพ์ครั้งที่ 23, (กรุงเทพมหานคร : วิญญูชน, 2559), น. 95.
2. เป็นสัญญาไม่มีแบบ กฎหมายมิได้กําหนดแบบของสัญญาจ้าง แรงงานไว้ จึงไม่จําต้องทําเป็นหนังสือหรือจดทะเบียนจดต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เว้นแต่เข้ามาตรา 366 วรรคสอง แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งบัญญัติว่า ถ้าได้ตกลงกันว่าสัญญาอันมุ่งจะทํา นั้นจะต้องทําเป็นหนังสือไซร้ เมื่อกรณีเป็นที่สงสัย ท่านนับว่ายังมิได้มีสัญญาต่อกันจนกว่าจะได้ทําขึ้น เป็นหนังสือ
แม้กฎหมายมิได้กําหนดแบบของสัญญาจ้างแรงงานไว้ สัญญาจ้าง แรงงานถือเป็นสัญญาทางแพ่งอย่างหนึ่ง ซึ่งนิติสัมพันธ์เกิดขึ้นจากเจตนารมณ์ของผู้ทําคําเสนอและ ผู้สนองตรงกัน หากเจตนารมณ์ของผู้ทําสัญญานั้นกําหนดว่าสัญญาจ้างแรงงานจะต้องทําเป็นหนังสือ แล้วย่อมต้องเป็นไปตามเจตนารมณ์ที่คู่สัญญากําหนด157
3. คู่สัญญาตามสัญญาจ้างแรงงานเรียกคู่สัญญาว่า “นายจ้าง” (Employer) กับ “ลูกจ้าง” ซึ่งบุคคลที่จะเป็นคู่สัญญาจ้างแรงงาน ได้แก่ บุคคลตามกฎหมายแพ่ง คือ บุคคลธรรมดา (Natual person) และนิติบุคคล (Juristic person) กรณีนายจ้างอาจเป็นได้ทั้งบุคคล ธรรมดาและนิติบุคคล สําหรับสัญญาจ้างแรงงานของประเทศไทยมีลักษณะเฉพาะโดยกฎหมายบัญญัติให้ นายจ้างต้องใช้สิทธิความเป็นนายจ้างด้วยตนเอง ถ้าจะโอนความเป็นนายจ้างไปยังบุคคลภายนอกจะต้อง ได้รับความยินยอมจากลูกจ้าง ส่วนลูกจ้างก็ต้องทํางานด้วยตนเอง ถ้าจะให้บุคคลภายนอกทํางานแทน ตนจะต้องได้รับความยินยอมจากนายจ้างเช่นกัน158
4. วัตถุแห่งสัญญาจ้างแรงงาน คือ นายจ้างมีความต้องการที่จะใช้ แรงงานของลูกจ้างเป็นสําคัญ โดยมิได้มุ่งหวังความสําเร็จของงาน ดังนั้น เมื่อลูกจ้างทํางานตาม กําหนดระยะเวลาแล้ว งานจะสําเร็จหรือไม่นายจ้างก็ต้องจ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้าง
5. ลูกจ้างตกลงทํางานให้แก่นายจ้างและนายจ้างตกลงจ่ายสินจ้าง หรือค่าตอบแทนการทํางานให้ กรณีลูกจ้างตกลงทํางานให้แก่นายจ้าง อาจเป็นการตกลงทํางานที่ใช้ กําลังแรงงานในการยก แบก หาบ หาม หรือเป็นงานที่ใช้ความคิด มันสมอง หรือสติปัญญา เช่น งาน บริหารงานบุคคล งานบัญชี งานกฎหมาย เป็นต้น ส่วนที่ว่านายจ้างตกลงให้สินจ้างหรือค่าตอบแทน การทํางานนั้น สินจ้างและค่าจ้างตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ไม่ได้กําหนดไว้ว่าจะต้องเป็น เงินตราเท่านั้น แต่ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 5 บัญญัติคํานิยามว่า “เงินที่นายจ้างและลูกจ้างตกลงจ่ายเป็นค่าตอบแทนการทํางานตามสัญญาจ้าง...” ดังนั้น ค่าจ้างตาม กฎหมายคุ้มครองแรงงานจะต้องเป็นเงินเท่านั้น หากนายจ้างจ่ายค่าตอบแทนการทํางานเป็นสิ่งของ
157 วิลาสินี ปานใจ, “ลักษณะของสัญญาจ้างแรงงาน”, (วิทยานิพนธ์นิติศาสตร มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2549), น.18.
158 วิจิตรา (ฟุูงลัดดา) วิเชียรชม, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 140, น.27.