Contract
1. ความของสัญญา
2. สาระสำคัญของสัญญา
1. ต้องมีบุคคลตั้งแต่ 2 ฝ่ายขึ้นไป
1.1 ลักษณะของคู่สัญญา
คู่สัญญาในทางรูปแบบ คือ คนที่เข้าทำสัญญา
คู่สัญญาในทางเนื้อหา คือ บุคคลที่ต้องรับผิดในสัญญา xxxx ตัวการให้ตัวแทนเข้าทำ สัญญา แม้สัญญาจะกระทำลงโดยตัวแทน แต่คู่สัญญาในทางเนื้อหาคือตัวการ หรือกรณีแดงได้ทำ สัญญาให้ดำเช่าบ้านเป็นเวลา 1 ปี ระหว่างที่สัญญายังไม่ครบกำหนด แดงตาย ขาวxxxxxของแดง ก็ต้องรับหน้าที่และรับความรับผิดของแดงต่อไปจนกว่าจะครบกำหนดxxxxxxxx
1.2 xxxxxxxxxxxเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้ แต่จะต้องมีความxxxxxxใน การทำสัญญาด้วย
2.
คำเสนอ และxxxxxx เป็นนิติกรรม เมื่อxxxxเสนอแล้ว อีกฝ่ายxxxxรับ ก็เกิดxxxxxxxxxxx เรียกว่าสัญญา ก่อให้เกิดหนี้ หรือหน้าที่ความรับผิดต่อกัน
3. ต้องมีวัตถุประสงค์ในการทำสัญญา
xxxxxxxxสัญญาต้องมีวัตถุประสงค์xxxx xxxx สัญญาซื้อขาย มีวัตถุประสงค์ในเรื่อง การโอนกรรมสิทธิ์และการชำระราคา เป็นต้น
วัตถุประสงค์คือ ประโยชน์สุดท้ายที่จะได้จากสัญญา มี 2 ลักษณะ คือ วัตถุประสงค์ ในทางภาวะวิสัย และวัตถุประสงค์ในทางอัตวิสัย
วัตถุประสงค์ในทางภาวะวิสัย คือ ประโยชน์xxxxxxรับจากสัญญาxxxxxxx xxxx สัญญาซื้อ ขาย ก็มีวัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน และการชำระราคา หากxxxxxxซื้อยาเบื่อหนู จากนายดำ วัตถุประสงค์ก็คือ แดงต้องชำระราคายาเบื่อหนูให้ดำ ส่วนดำก็ส่งมอบยาเบื่อหนูให้แก่แดง
วัตถุประสงค์ในทางอัตวิสัย เป็นประโยชน์ที่มาจากตัวxxxxxxxx xxxx แดงซื้อยาเบื่อหนู เพื่อนำไปผสมในอาหารเพื่อให้หนูมากินแล้วตาย xxxxxก็รู้ข้อเท็จจริงนั้นด้วย
สัญญาจึงมีวัตถุประสงค์ที่เป็นทั้งภาวะวิสัยและอัตวิสัย
ตัวอย่าง
1. แดงซื้อมีดจากดำผู้ขาย วัตถุประสงค์ของสัญญาในแง่ภาวะวิสัย คือ โอนกรรมสิทธิ์ ในมีดและส่งมอบมีด และชำระราคาค่ามีด ซึ่งเป็นวัตถุประสงค์ที่คนทั่วไปย่อมทราบ วัตถุประสงค์xxxxนี้ ย่อมชอบด้วยกฎหมาย ไม่เป็นโมฆะ
2. แดงซื้อยาบ้าจากดำ วัตถุประสงค์ของสัญญาในแง่ภาวะวิสัย คือ โอนกรรมสิทธิ์ใน่ ยาบ้าและส่งมอบยาบ้า และชำระราคาค่ายาบ้า ซึ่งเป็นวัตถุประสงค์ที่คนทั่วไปย่อมทราบ วัตถุประสงค์ xxxxนี้ ต้องห้ามตามกฎหมายโดยชัดแจ้ง สัญญานี้เป็นโมฆะ
3. แดงซื้อมีดจากดำผู้ขาย เพื่อนำมีดไปฆ่าขาว โดยดำผู้ขายไม่รู้ วัตถุประสงค์ของ สัญญาในแง่ภาวะวิสัย คือ โอนกรรมสิทธิ์ในมีดและส่งมอบมีด และชำระราคาค่ามีด ซึ่งเป็น วัตถุประสงค์ที่คนทั่วไปย่อมทราบ วัตถุประสงค์xxxxนี้ย่อมชอบด้วยกฎหมาย ไม่เป็นโมฆะ หากพิจารณา วัตถุประสงค์ของสัญญาในแง่อัตวิสัยแล้ว เป็นเพียงมูลเหตุชักจูงใจของแดงฝ่ายเดียวที่จะซื้อมีดไปฆ่า ขาว เมื่อดำไม่รู้ด้วย จึงไม่ใช่วัตถุประสงค์ของสัญญา สัญญาไม่เป็นโมฆะ
4. แดงซื้อมีดจากดำผู้ขาย เพื่อนำมีดไปฆ่าขาว โดยดำผู้ขายรู้มูลเหตุชักจูงใจของแดง วัตถุประสงค์ของสัญญาในแง่ภาวะวิสัย คือ โอนกรรมสิทธิ์ในมีดและส่งมอบมีด และชำระราคาค่ามีด ซึ่งเป็นวัตถุประสงค์ที่คนทั่วไปย่อมทราบ วัตถุประสงค์xxxxนี้ย่อมชอบด้วยกฎหมาย ไม่เป็นโมฆะ หาก พิจารณาวัตถุประสงค์ของสัญญาในแง่อัตวิสัยแล้ว การซื้อขายมีดเพื่อเป็นxxxxxในการฆ่าขาวถือเป็น ประโยชน์สุดท้ายxxxxxxxxxxxxxxxคู่สัญญารู้ด้วยกัน จึงเป็นวัตถุประสงค์ของสัญญา สัญญาเป็นโมฆะ
4. แบบ หากกฎหมายกำหนดวิธีการแสดงxxxxxเป็นแบบไว้ หากมิได้กระทำตามแบบ สัญญา ก็จะตกเป็นโมฆะ
3. องค์ประกอบเสริมของสัญญา
เป็นสิ่งที่มิใช่สาระสำคัญของการเกิดสัญญา แต่เป็นองค์ประกอบเพิ่มเติมขึ้นมา ได้แก
หลัง
1. เงื่อนไข xxxxxxxxxx
เงื่อนไขคือเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับผลของสัญญา แยกเป็นxxxxxxxxxxxxxxxxxx และเงื่อนไขบังคับ
xxxxxxxxxx แยกเป็นเงื่อนเวลาเริ่มต้น และxxxxxxxxxxxxxxxxxเกี่ยวกับผลของสัญญา
2. มัดจำและเบี้ยปรับ
มัดจำ คือ พยานหลักฐานว่าสัญญานั้นได้ทำกันขึ้นแล้ว และเป็นประกันการที่จะปฏิบัติxxx xxxxxนั้นด้วย
เบี้ยปรับ คือ การที่ลูกหนี้สัญญาแก่เจ้าหนี้ว่าจะใช้เงินจำนวนหนึ่งเป็นเบี้ยปรับเมื่อตนไม่ชำระ หนี้ก็ดี หรือไม่ชำระหนี้ให้ถูกต้องxxxxxxxxx
ประเภทของสัญญา
1. สัญญาต่างตอบแทนและสัญญาไม่ต่างตอบแทน
2. สัญญามีค่าตอบแทนและสัญญาไม่มีค่าตอบแทน
3. สัญญาประธานและสัญญาอุปกรณ์
4. สัญญาเพื่อประโยชน์บุคคลภายนอก
5. สัญญามีชื่อและสัญญาไม่มีชื่อ การเลิกสัญญา
หลัก เมื่อเกิดสัญญาขึ้นแล้ว ย่อมผูกพันคู่สัญญาให้ต้องปฏิบัติxxxxxxxxนั้น และเมื่อมีการ ปฏิบัติxxxxxxxxแล้ว (หรือที่เรียกว่าชำระหนี้xxxxxxxxแล้ว) สัญญาก็ระงับลง แต่หากคู่สัญญา xxxxxxxจะเลิกสัญญา
1. การบอกเลิกสญญาโดยบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
2. การบอกเลิกสญญาโดยข้อสัญญา
1. การบอกเลิกสญญาโดยบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
(1) มาตรา 387 ถ้าคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งไม่ชำระหนี้ อีกฝ่ายหนึ่งจะกำหนดระยะเวลา พอxxxxx แล้วxxxxxxxxให้ฝ่ายนั้นชำระหนี้ภายในระยะเวลานั้นก็ได้ ถ้าและฝ่ายนั้นไม่ชำระหนี้ภายใน ระยะเวลาที่กำหนดให้xxxx อีกฝ่ายหนึ่งจะเลิกสัญญาเสียก็ได้
ตัวอย่าง
(2) มาตรา 388 ถ้าวัตถุที่xxxxxxxแห่งสัญญานั้น ว่าโดยสภาพหรือโดยxxxxxxxx xxxxxxxxxxxแสดงไว้ จะเป็นผลสำเร็จxxxxxแต่ด้วยการชำระหนี้ ณ เวลามีกำหนดก็ดี หรือภายใน ระยะเวลาอันใดอันหนึ่งซึ่งกำหนดไว้ก็ดี และกำหนดเวลาหรือระยะเวลานั้นxxxxxxxxxxไปโดยฝ่ายใดฝ่าย หนึ่งมิได้ชำระหนี้xxxx ท่านว่าอีกฝ่ายหนึ่งจะเลิกสัญญานั้นเสียก็ได้ มิxxxต้องxxxxxxxxดังว่าไว้ในมาตรา ก่อนนั้นเลย
ตัวอย่าง
(3) มาตรา 389 ถ้าการชำระหนี้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วนกลายเป็นxxxxxxxxเพราะเหตุ อย่างใดอย่างหนึ่งอันจะโทษลูกหนี้ได้xxxx เจ้าหนี้จะเลิกสัญญานั้นเสียก็ได้
ตัวอย่าง
2. การบอกเลิกสญญาโดยข้อสัญญา
เป็นกรณีที่มีข้อสัญญากำหนดไว้ล่วงหน้าว่า หากมีเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งมีxxxxxบอกเลิกสัญญาได้
ผลของการเลิกสัญญา
กฎหมายกำหนดผลของเลิกสัญญาไว้ดังนี้
1. คู่สัญญาแต่ละฝ่ายจำต้องให้อีกฝ่ายหนึ่งได้กลับคืนสู่ฐานะดังที่เป็นอยู่เดิม (มาตรา 391 วรรคหนึ่ง)
2. การใช้xxxxxxxxxxxxxxxxxxหากระทบกระทั่งถึงxxxxxเรียกร้องxxxxxxxxxxxxx (มาตรา 391
วรรคสี่)