Contract
1
“กรณีใดเมื่อคําเสนอและคําxxxxตรงxx
xxxxxxxว่าสัญญายังxxxxxx ”
โดย นางสาวปัทรินทร์ นีระพล นิติกรปฏิบัติการ กรณีใดเมื่อคําเสนอและคําxxxxตรงกันแต่xxxxxว่าสัญญายังไม่เกิด?
หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ตามxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์โดยหลักแล้วการเกิดสัญญาต้องมีคําเสนอและคําxxxxตรงกัน
คําเสนอ
คําเสนอ หมายxxx xxxแสดงxxxxxxxต่อบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อขอทําสัญญามีหลักการ 5 ประการ คือ
1.1 คําเสนอเป็นนิติกรรมฝ่ายเดียวที่ต้องมีผู้รับการแสดงxxxxx กล่าวคือ เมื่อแสดงxxxxx ออกไปแล้ว คู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งจะต้องรับรู้ ดังนั้นหากอีกฝ่ายหนึ่งยังไม่รับรู้ xxxx ไม่ได้ยิน ยังไม่ทราบ ยังไม่รับรู้ xxxxนี้ยังไม่เป็นคําเสนอ
1.2 ต้องเป็นการแสดงxxxxxโดยชัดแจ้งเท่านั้น เพราะคําเสนอเป็นการขอให้ทําสัญญา จะใช วิธีการแสดงxxxxx โดยปริยาย หรือโดยการนิ่งxxxxxx
1.3 คําเสนออาจจะแสดงxxxxxโดยเจาะจง หรือต่อ สาธารณชนก็ได้
1.4 เมื่อได้มีคําเสนอไปแล้ว ผู้เสนอไม่มีxxxxxxxxจะปฏิเสธหรือเหลือปฏิบัติต่อผู้ที่จะเข้าทํา สัญญาด้วย xxxx โรงภาพยนตร์เมื่อได้เสนอขายตั๋ว โดยระบุรอบฉายไว้แล้ว ไม่ว่าประชาชนผู้ใดจะเป็นผู้ซื้อ โรงภาพยนตร์ไม่มีxxxxxปฏิเสธ
1.5 คําเสนอต้องมีข้อความชัดเจนแน่นอน กล่าวคือ เมื่อมีคําxxxxตามคําเสนอ สัญญา
จะต้องเกิดขึ้น
คําxxxx
คําxxxx คือ การแสดงxxxxxของผู้xxxxรับต่อผู้เสนอตกลงรับทําสัญญา ตามคําเสนอ หรืออาจสรุป สั้นๆว่า คําxxxx คือ คําตอบรับทําสัญญา ตามคําเสนอ
คําxxxx (ม.361-364)
คําxxxx หมายxxx xxxที่ผู้รับคําเสนอ แสดงxxxxx ตอบรับทําสัญญา ตามคําเสนอ โดยคําxxxxนั้น
1. หากเป็นการตอบรับถูกต้อง ตามคําเสนอทุกประการและไม่ล่วงเวลา สัญญาย่อมเกิดขึ้นทันที
2. หากเป็นการตอบรับถูกต้องตรงกัน ตามคําเสนอทุกประการ แต่คําxxxxxxxxxxถึงล่วงเวลา และ เป็นการส่งโดยทางการซึ่งตามxxxxควรจะมาถึงภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้ หากผู้เสนอมิได้xxxxxxxx การ ล่วงเวลานั้นไปถึงผู้xxxx ย่อมxxxxxx คําxxxxนั้น มิได้มาถึงล่วงเวลา และสัญญาย่อมเกิดขึ้น (มาตรา 358)
3. หากเป็นคําxxxxxxxระบุข้อความเพิ่มเติม xxxxxข้อจํากัด หรือมีเงื่อนไข ข้อตกลง คําxxxxนั้นย่อม กลายเป็นคําเสนอใหม่ สัญญายังไม่เกิดขึ้น (มาตรา 359 วรรค 2 )
2
กรณีที่เมื่อคําเสนอและคําxxxxตรงกันแต่ปรากฏว่าสัญญายังไม่เกิด
xxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา 366 ข้อความใดใด แห่งสัญญา อันคู่สัญญาแม้เพียงฝ่ายเดียว ได้แสดงไว้ว่าเป็น สาระสําคัญ อันจะต้องตกลงกันหมดทุกข้อนั้น หากคู่สัญญา ยังไม่ตกลงกันได้หมด ทุกข้ออยู่ตราบใด เมื่อกรณี เป็นที่สงสัย ท่านนับว่า ยังมิได้มีสัญญาต่อกัน การxxxxxxทําความเข้าใจกันไว้เฉพาะบางสิ่งบางอย่าง ถึงแม้ว่า จะ ได้จดลงไว้ก็หาเป็นการxxxxxxxxx
ม. 366 วรรค 2 ถ้าได้ตกลงกันว่า สัญญาอันมุ่งจะทํานั้น จะต้องทําเป็นหนังสือxxxx เมื่อกรณี เป็นที่สงสัย ท่านนับว่ายังมิได้มีสัญญาต่อกันจนกว่าจะได้ทําเป็นหนังสือ
หลักการใช้ มาตรา 366
โดยxxxxแม้สัญญาจะเกิดขึ้นเมื่อคําเสนอถูกต้องตรงกับคําxxxxเเต่หากเมื่อใด สัญญาได้กําหนด กันไว้เป็นข้อๆ และแต่ละข้อล้วนเป็นสาระสําคัญ คู่สัญญาต้องตกลงให้ตรงกันทุกข้อก่อน สัญญาจึงเกิดขึ้น ซึ่งในทางปฏิบัติ ข้อความ ที่ถือเป็นสาระสําคัญ ของสัญญาแบ่งได้เป็น 2 กรณี คือ
- ข้อตกลงที่เป็นสาระสําคัญโดยสภาพของสัญญา หมายถึง ข้อสัญญา ที่โดยสภาพ จะขาดข้อนี้ไม่xxx xxxx สัญญาxxxxว่าความ ข้อตกลงเรื่องค่าxxxx xxxจะต้องชําระให้แก่ทนาย ถือเป็นสาระสําคัญ ถ้ายังมิได้ตกลงกัน ในส่วนค่าxxxxสัญญาย่อมไม่เกิด
- ข้อตกลงที่เป็นสาระสําคัญตามxxxxxของคู่สัญญา หมายถึง ข้อตกลงที่เกิดจากการกําหนดของ คู่สัญญาว่าเป็นสาระสําคัญ หากมิได้ตกลงกัน ในข้อสัญญาxxxxว่านั้น สัญญาจะไม่เกิด