การนาระบบเกษตรพนธสัญญา (Contract Farming) มาใชกบเกษตรกรผเู้ลี้ยงไก่ในประเทศไทย นบวา
ปัญหาข้อกฎหมายของระบบเกษตรพนธสัญญา1
มะลด
าว แสงชมภู2
การนาระบบเกษตรพนธสัญญา (Contract Farming) มาใชกบเกษตรกรผเู้ลี้ยงไก่ในประเทศไทย นบวา
เป็ นการสร้างความมน
คงทางรายไดใ้ ห้กบ
เกษตรกรเป็ นอยา่ งยง
และต
เนื่องตลอดท้งั ปี เพราะเน้ือไก่ถือเป็ น
สัตวเ์ ศรษฐกิจเป็ นที่นิยมของผูบ
ริโภคไม่ว่าจะเป็ นเด็กเล็ก คนหนุ่มสาว และเป็ นที่ตอ
งการของตลาดทว
ประเทศ ดง
น้น
ผูป
ระกอบธุรกิจทางการเกษตรจึงไดผ
ลิตเทคโนโลยีท่ีทน
สมย
ที่ใช
˚าหรับการเล้ียงไก่ขาว
พนธุ์เน้ือ โตไวใชเ้ วลาเล้ียงเพียง 45 วน
ก็โตเต็มที่พร้อมใชบ
ริโภคได้ น่ีคือผลผลิตของเกษตรแผนใหม่ดวย
กรรมวิธีการเล้ียงแบบเขมขน
ผลิตไดใ้ นปริมาณที่มากในเวลาอน
ส้ันฟังดูเหมือนตลาดในระบบเกษตรพนธ
สัญญาจะสร้างเสถียรภาพทางการเงินให บ
เกษตรกรผูม
ีความขยน
อดทน แต่แลว
ทา˚ ไมเกษตรกรจึงมีฐานะ
ยกจนลงเรื่อย ๆ ท้ง
ๆ ท่ีทุกส่ิงทุกอยา่ งในระบบเกษตรพน
ธสัญญาจะสร้างความมน
คงเติบโตกบ
บุคคลท้ง
สองฝ่ าย ผศู
ึกษาจึงไดต
้งั ขอ
ส เกตในวงจรของระบบเกษตรพน
ธสัญญาต้งั แต่ข้น
ตอน การคด
เลือก ปรับปรุง
พนธุ์ให้อาหารสังเคราะห์ที่เต็มไปดว
ยสารละลายกระตุน
เพ่ือเร่งการเจริญเติบโต สารเคมีในรูปแบบของยา
เวชภณ
ฑ์ เคมีภณ
ฑ์ ที่ใชไ
ด้ ท้งั ดา้ นการป้องกน
และรักษา ถือเป็ นอุตสาหกรรมอาหารที่ย่ิงใหญ่ผลิตเน้ือไก่
มาให้คนไทยไดบ
ริโภคไม่ขาด แต่เกษตรกรก็ตอ
งมีเงินลงทุนสูง นบ
แต่การเตรียมพ้ืนท่ีส˚าหรับเล้ียงไก่
ค่าอาหารและเวชภณ
ฑต่าง ๆ และอีกท้งั ปัญหามากมายที่ตามมานน
ก็คือ การเจ็บป่ วยลม
ตามไปของลูกไก่ที่
อ่อนแอ การไม่มีความรู้ท่ีจะแก้ปัญหาได้สร้างความทุกข์ก วลให้เกษตกร แม้ลูกไก่ท่ีรอดมาก็มีสภาพ
ร่างกายไม่แข็งแรงทา˚ ให้ไก่ไม่ได
้˚าหน
ตามที่ผูป
ระกอบธุรกิจตอ
งการ คร้ันสอบถามพนักงานที่มาส่ง
เวชภณ
ฑ์ก็ไม่สามารถให้คา˚ ตอบได้ แต่เงื่อนไขในขอ
สัญญาการผลิต เกษตรกรจา˚ ตอ
งอดทนต่อสู้ดว
ยความ
โดดเดี่ยว จึงส่งผลให้เกษตรกรเขา้ ทา˚ สัญญาโดยขาดหลกคุมครองสิทธิเสรภี าพ ประการที่สอง ปัญหาความ
ไม่เท่าเทียมกน
เร่ืองการขาดอา˚ นาจต่อรองในกระบวนการผลิต เช่น เป็ นผูก
า˚ หนดวิธีการผลิต จด
หาพน
ธุ์
เมล็ดพน
ธุ์ ผลิตภณ
ฑ์ทางการเกษต หรือปัจจย
การผลิตให้แก่เกษตรกร” การท่ีบทกฎหมายใช้คา˚ ว่า “ผู
ประกอบธุรกิจทางการเกษตร เป็ นผูก
า˚ หนดวิธีการผลิต จด
หาพน
ธุ์ เมล็ดพน
ธุ์ ผลิตภณ
ฑ์ทางการเกษตร
หรือปัจจย
การผลิตใหแ
ก่เกษตรกร” เนื่องจากเกษตรกรตอ
งเป็ นฝ่ ายลงทุนดว
ยเงินลงของตนเองหรืออาจตอง
กูเ้ งินจากสถาบน
การเงินมาเพื่อธุรกิจทางการเกษตรที่มากเกินไป เพื่อนา˚ ตนเองมาเขา้ ผูกพนกบ
สัญญาใน
ระบบเกษตรพน
ธสัญญา โดยไร้อา˚ นาจต่อรองก
ฝ่ ายผูป
ระกอบธุรกิจทางการเกษตร ซ่ึงเป็ นการแบก
1 บทความน้ีเรียบเรียงจากการคน
ควา้ อิสระ เร่ือง ปัญหาขอ
กฎหมายของระบบเกษตรพน
ธสัญญา โดยมีอาจารย
ที่ปรึกษาคือผูช
่วยศาสตราจารย์ ดร. มณทิชา ภกั ดีคง และคณะกรรมการคุมสอบ คือ รองศาสตราจารย์ ดร.พน
ธเ์ ทพ วิฑิตอนนต
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ดนพร จิตตจ์ รุงเกียรติ
2นก
ศึกษาปริญญาโท หลก
สูตรนิติศาสตรมหาบณ
ฑิต(ส่วนกลาง) คณะนิติศาสตร์ มหาวท
ยาลยั รามคา˚ แหง
รับภาระความเสี่ยงต้งเร่ิมสัญญา มาตราน้ีจึงส่งผลให้เกษตรกรไม่ได้รับความเป็ นธรรม ประการที่สาม
ปัญหาความไม่เท่าเทียมกน
ในการแบ่งปันผลประโยชน์ น่ืองจาก เกษตรกรอยูใ่ นฐานะที่ดอ
ยกวา่ ผูป
ระกอบ
ธุรกิจทางการเกษตรในทุกด้านไม่ว่าจะเป็ นฐานะทางเศรษฐกิจ การแบ่งปันผลประโยชน์ การไร้อา˚ นาจ
ต่อรองเรื่องราคาของผลผลิต สุดทา้ ยเกษตรไดร
ับค่าตอบแทนท่ีต่า˚ กวา่ ตน
ทุนการผลิตแต่ภาระค่าใช้จ่ายใน
ปัจจยั การผลิตกลบ
สูงข้ึนตลอดท้งั ปี โดยไม่อาจปฏิเสธได้ เกษตรกรจึงยากจนลงอยา่ งทว
ถึง การทาสัญญาใน
ระบบพน
ธสัญญาตามสัญชาตญาณของเกษตรกรเป็ นรูปแบบของสัญญาใจซ้ือใจ คือต่างฝ่ ายต่างตอ
งมีความ
ซื่อสัตยต
่อกัน แต่สัญชาตญาณของนักธุรกิจคือความคุม
ค่าเกินความคาดหมาย การที่เกษตรกรจะเขา้ ถึง
ขอมูลและทา˚ ความเขา้ ใจในหลก
เกณฑ์ทางพาณิชย์ แผนการผลิต อีกขอ
มูลอน
จา˚ เป็ นที่ใช้ในกระบวนการ
ผลิต จึงนบ
วา่ เป็ นความเส่ียงที่จะถูกเอารัดเอาเปรียบอยูแลว
ดังน้น
กฎหมายในระบบเกษตรพน
ธสัญญาน้ีจึง
ส่งผลเกิดความไม่เท่าเทียมกนในการแบ่งปันผลประโยชน์ ประการท่ีส่ี ปัญหาในทางเรยี กค่าเสียหายหรือค่า
ทดแทน มาตรา 22 บญ
ญติว่า “ในกรณีสัญญาในระบบเกษตรพน
ธสัญญาท่ีจด
ทา˚ ข้ึนไม่มีรายละเอียดตามท่ี
กา˚ หนดไวใ้ นมาตรา 21 และให้สัญญาน้น
มีผลใชบ
งั คบ
ต่อไปหรือจะบอกเลิกสัญญาน้น
ท้งั น้ี เกษตรกรตอง
ใช้สิ ทธิเลือกภายในสามสิบวน
นับแต่วน
ท่ีท˚าสัญญาหรือก่อนส่งมอบผลิตผลทางการเกษตร แล้วแต่
ระยะเวลาใดจะส้ันกวา่ เม่ือสิ้นสุดระยะเวลาดงั กล่าวให้สัญญาใช
งั คบ
ต่อไปการบอกเลิกสัญญาตามวรรค
หน่ึงไม่ตดสิทธิเกษตรกรในการเรยี กรอ้ งค่าเสียหายหรอื ค่าทดแทนความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการเตรยี มการ
หรือการดา˚ เนินการตามสัญญาโดยสุจริต” แมม
ีหน่วยงานไกล่เกลี่ยขอ
พิพาทโดยอนุญาโตตุลาการก็ตามก็ยง
บางกรณี ที่คู่ความไดใ้ ชส
ิทธิทางศาลเพื่อเรียกค่าเสียหาย จึงส่งผลถึงการคน
หาจุดของความ เป็ นธรรม ซ่ึง
ตองพ่ึงอา˚ นาจศาลเป็ นผูป
รับลดสภาพบงั คบ
ให้ ซ่ึงค่าความเสียหายที่ฝ่ ายผูเ้ สียหายสมควรจะไดร
ับบางคร้ัง
ไดร้ ับค่าทดแทนไม่คุมเงินท่ีลงทุนไป
พระราชบญ
ญติส่งเสริมและพฒ
นาระบบเกษตรพน
ธสัญญาพ.ศ. 2560 ซ่ึงมีเจตนารมณ์ที่จะลด
ความเหล่ือมล้า˚ ทางสังคม มุ่งให้เกษตรกรไดร
ับความคุม
ครองจากกฎหมายฉบบ
น้ เนื่องจากระบบเกษตร
พนธสัญญาไดน
า˚ เทคโนโลย
่ีทน
สมย
มาใชใ้ นกระบวนการผลิต เพ่ือเพิ่มปริมาณอาหารจากไก่ให้เพียงพอ
ต่อความตอ
งการของผูบ
ริโภค ตลอดจนรองรับการขยายตว
ของตลาดโลก อน
แสดงถึงศก
ยภาพในธุรกิจ
อุตสาหกรรมอาหารไทยที่ได้รับการขนานนามว่าเป็ นครัวของโลก แต่ด้วยขอ
จา˚ ก
และขอบเขตในข้อ
สัญญาทางกฎหมายที่ไม่เป็ นธรรมเป็ นอุปสรรคต่อการใช้กฎหมายในระบบเกษตรพน
ธสัญญาซ่ึงผูศ
ึกษา
พบวา อตุ หกรรมการผลิตพืชผลทางการเกษตรมีกระบวนการทา˚ สัญญาเช่นเดียวอตุ สาหกรรมการเลี้ยงไก่ใน
ระบบเกษตรพน
ธสัญญา น่ันคือใช้รูปแบบของสัญญาส˚าเร็จรูปมาให้กบ
เกษตรกร ซ่ึงมีผูป
ระกอบธุรกิจ
ทางการเกษตรเป็ นผูร้ ่างสัญญา โดยมีขอ
กา˚ หนดในสัญญาต้งั แต่การจด
หาพน
ธุ์ อาหาร ยา ปัจจย
การผลิตมา
ใหเ้ กษตรกร พร้อมเง่ือนไขใหเ้ กษตรกรมีเสรีภาพที่จะเลือกทา˚ สัญญาไดหากพอใจ แต่ไม่มีอสิ ระท่ีจะต่อรอง
ในข้อสัญญา หากไม่พอใจก็ไม่ต้องผูกพันเข้าร่วมสัญญา หากเข้าผูกพันในสัญญาก็ต้องปฏิบัติตาม
ขอกา˚ หนด เง่ือนไข ท่ีผูป
ระกอบการย่ืนขอ
เสนอน้ัน ปัญหาเก่ียวกบ
การขาดหลก
ความคุม
ครองสิทธิและ
เสรีภาพของเกษตรกร มาตรา 4 วรรคแรก “ระบบเกษตรพน
ธสัญญา” หมายความวา
ระบบการผลิตผลิตผล
หรือบริการทางเกษตรที่เกิดข้ึนจากสัญญาการผลิตผลิตผลหรือบริการทางการเกษตรประเภทเดียวกัน
ระหว่างผูป
ระกอบธุรกิจทางการเกษตรฝ่ ายหน่ึงกบ
บุคคลธรรมดาซ่ึงประกอบอาชีพเกษตรกรรมต้งั แต่สิบ
รายข้ึนไป หรือกับสหกรณ์การเกษตรหรือกลุ่มเกษตรกรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ หรือกบวิสาหกิจ
ชุมชนหรือเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนซ่ึงประกอบอาชีพ เกษตรกรรมอีกฝ่ ายหน่ึงท่ีมีเงื่อนไขในการผลิต จา˚ หน่าย หรือจา้ งผลิตผลิตผลหรือบริการทางการเกษตร อยา่ งหน่ึงอยา่ งใด โดยเกษตรกรตกลงที่จะผลิต จา˚ หน่าย หรือรับจา้ งผลิตผลิตผลทางการเกษตรตามจา˚ นวน
คุณภาพ ราคา หรือระยะเวลาที่กา˚ หนดไว้ และผูประกอบธุรกิจทางการเกษตรตกลงที่จะซื้อผลิตผลดงั กล่าว
หรือจ่ายค่าตอบแทนตามที่ก˚าหนดไวต
ามสัญญา โดยผูป
ระกอบธุรกิจทางการเกษตรเข้าไปมีส่วนใน
กระบวนการผลิต เช่น เป็ นผูก
า˚ หนดวิธีการผลิต จด
หาพน
ธุ์ เมล็ดพน
ธุ์ ผลิตภณ
ฑ์ทางการเกษตร หรือปัจจย
การผลิตให้แก่เกษตรกร การที่บทกฎหมายใช
า˚ ว่า “ผูป
ระกอบธุรกิจทางการเกษตร เป็ นผูก
า˚ หนดวิธีการ
ผลิต จดหาพนธุ์ เมล็ดพน
ธุ์ ผลิตภณ
ฑทางการเกษตร หรือปัจจย
การผลิตใหแ
ก่เกษตรกร” ถือไดว
า่ ผูประกอบ
ธุรกิจทางการเกษตร เป็ นผูมีอา˚ นาจสิทธิขาดในการทา˚ ธุรกิจการคา้ เพื่อผลหวงั กา˚ ไรฝ่ ายเดยี ว เช่น เป็ นผูจดหา
และจา˚ หน่ายเครื่องมือในการผลิต จด
หาพน
ธุ์ พน
ธุ์เมล็ด ผลิตภณ
ฑ์ทางการเกษตร และปัจจย
ต่างๆ ในการ
ผลิต โดยไม่ปรากฏว่าให้ผูป
ระกอบธุรกิจทางเกษตรจด
ให้มีผูเ้ ชี่ยวชาญ สัตวบาล วิศวกรในสายงานผลิต
ทางการเกษตรมาให้เกษตรกรได
ีที่ปรึกษาปัญหา อีกท้ง
ไม่ปรากฏว่าปัจจย
การผลิตเป็ นตน
ว่า เวชภณฑ
เคมีภณ
ฑ์ ผลิตภณ
ฑ์ที่ใชใ้ นการผลิตที่ไดม
าตรฐานความปลอดภย
ต่อคนและสิ่งแวดลอ
มแต่ประการ ดงั น้น
กฎหมายมาตราน้ีจึงขาดหลก
คุม
ครองสิทธิและเสรีภาพของเกษตรกร ปัญหาความไม่เท่าเทียมกน
เรื่องการ
เจรจาต่อรอง การที่บทกฎหมายใชค
า˚ วา่ “ผูป
ระกอบธุรกิจทางการเกษตร เป็ นผกู
า˚ หนดวธ
ีการผลิต จด
หาพน
ธุ์
เมล็ดพน
ธุ์ ผลิตภณ
ฑ์ทางการเกษตร หรือปัจจย
การผลิตให้แก่เกษตรกร” เนื่องจากเกษตรกรตอ
งเป็ นฝ่ าย
ลงทุนดว
ยเงินลงของตนเองหรืออาจตอ
งกูเ้ งินจากสถาบน
การเงินก่อนที่จะเขา้ ทา˚ สญั ญาธุรกิจทางการเกษตร
ท่ีมากเกินไป ซ่ึงเป็ นการแบกรับภาระความเส่ียงต้ง
แรกเริ่ม แต่กลบ
ไม่พบว่าเกษตรกรได้มีโอกาสเจรจา
ต่อรองกบ
ฝ่ ายผูป
ระกอบการธุรกิจทางการเกษตร มาตราน้ีจึงส่งผลให้เกษตรกรขาดหลก
ความยุติธรรม
ปัญหาความไม่เท่าเทียมกนในการแบ่งปันผลประโยชน์
เน่ืองจาก เกษตรกรอยใู่ นฐานะที่ดอ
ยกวา่ ผูป
ระกอบธุรกิจทางการเกษตรในทุกดา้ น ไม่วา
จะเป็ นฐานะทางเศรษฐกิจ การแบ่งปันผลประโยชน์ การไร้อา˚ นาจต่อรอง เน่ืองจากเกษตรไดร้ ับค่าตอบแทน
ท่ีต่า˚ กวา่ ตน
ทุนการผลิต และค่าใชจ
่ายในปัจจย
การก็เพ่ิมสูงข้ึนตลอดท้งั ปี ไม่วา่ จะเป็ นค่าป๋ ุย ค่าเวชภณ
ฑ์ ค่า
เคมีภณ
ฑ์ ค่าอาหารของสัตว์ ค่าสาธารณูปโภคที่จา˚ เป็ นตอ
งใชใ้ นการประกอบอาชีพ ซ่ึงมีราคาแพงมากข้ึน
เรื่อย ๆ แต่รายรับของเกษตรกรกลบ
ตามไม่ทน
รายไดท
่ีไดม
าจากการแบ่งปันของผูป
ระกอบธุรกิจทางการ
เกษตร การทาสัญญาในระบบพนธสัญญาตามสัญชาตญาณของเกษตรกรเป็ นรูปแบบของสัญญาใจซ้ือใจ คือ
ต่างฝ่ ายต่างตอ
งมีความซ่ือสัตยต
่อกน
แต่สัญชาตญาณของนก
ธุรกิจคือความคุม
ค่าเกินความคาดหมาย การที่
เกษตรกรจะเขา้ ถึงขอ
มูลและทา˚ ความเขาใจในหลก
เกณฑ์ทางพาณิชย์ แผนการผลิต อีกขอ
มูลอน
จา˚ เป็ นที่ใช
ในกระบวนการผลิต จึงนบ
วา่ เป็ นเรื่องยากมากที่เกษตรกรจะมีความสันทด
เจนจด
เจนในเรื่องเหล่าน้
อีกท้ง
ความรู้เท่าทน
ในเร่ืองภาษากฎหมายก็ย่ิงนบ
วา่ ดอ
ยข้ึนไปอีก นบ
เป็ นความเส่ียงและภาระหนก
ที่เกษตรกร
ตองแบกรับไวโ้ อกาสที่จะถูกเอารัดเอาเปรียบสูง ดังน้น
กฎหมายในระบบเกษตรพน
ธสัญญาน้ีจึงส่งผลให
เกษตรกรยากจนลง รายไดท
่ีไดร
ับต่า˚ กวา่ ค่าใช้จ่ายที่เกิดข้ึน ปัญหาการเรียกค่าเสียหายหรือค่าทดแทนหาก
เกิดกรณีพิพาทเกินอา˚ นาจของอนุญาโตตุลาการเพื่อจะนา˚ ไปใช้สิทธิทางศาลต่อก็เรื่องยุ่งยาก เพราะไม่รู้
ข้น
ตอนวิธีการทางศาล ประกอบกบั ขาดปัจจย
เช่นค่าใช้จ่าย ไม่มีเวลาที่เดินทางไปศาล ขาดเอกสาร
หลก
ฐานรวมถึงความรู้จะสื่อให้ศาลไดเ้ ขา้ ใจถึงความเสียหายที่ตนไดร
ับอย่างไร และกฎหมายก็ไม่ไดให
อา˚ นาจศาลท่ีจะกา้ วล่วงไปเปล่ียนแปลงอะไรไดมากกวา่ การปรับลดพอให้เกิดความเป็ นธรรมตามสมควร
เท่าน้ัน เน่ืองจากเห็นว่าสัญญาเหล่าน้ันยงคงสมบูรณ์ตามกฎหมายแล้ว เพียงแต่อาจจะบงั คับได้เท่าท่ี
พอสมควรแก่กรณีเท่าน้น
เท่ากบ
วา่ กฎหมายน้ีผลก
ภาระใหศ
าลเป็ นผวู้ น
ิจฉย
โดยใชด
ุลพินิจเอาเองวา่ คู่ความ
ฝ่ ายใดเสียหายเพียงใด ควรกา˚ หนดค่าทดแทนเท่าใดเสียหายมากน้อยเพียงใด ควรได้รับค่าทดแทนความ เสียหายเท่าใด ที่จะเรี ยกว่าความยุติธรรม เพราะในข้อเท็จจริงเดียวกันศาลแต่ละคนอาจตัดสินหรือ
กา˚ หนดค่าความเสียหายแตกต่างกนั ไปในลักษณะอตวิสัย (Subjective) ของศาลแต่ละคนและภาระการ
พิสูจน
ามพระราชบญ
ญติวา่ ดว
ยขอ
สัญญาที่ไม่เป็ นธรรม พ.ศ. 2540 ไม่ไดก
า˚ หนดไว้ เมื่อเลิกกิจการไปก็ไม
อาจขายให้ไดท
ุนคืน การไม่มีหลก
ประกน
ความมน
คงในอาชีพในภายในกา˚ หนดสัญญาระยะยาว และรายได
จึงไม่คุมกบ
เงินทุนที่ใช้ไป ถึงจะใชส
ิทธิฟ้องร้องบงั คบ
ก็ไดไ
ม่เต็มตามจา˚ นวน จึงขอ
สัญญาที่ไม่ชด
เจนไม
เป็ นไปมาตรฐานการผลิตภายในระบบเกษตรพน
ธสัญญา ซ่ึงอยภู
ายใตก
ารกา˚ กบ
ดูแลขององคก
ารอาหารและ
การเกษตรแห่งสหประชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations หรือ FAO) แมจะ
นา˚ ขอ
สัญญาท่ีไม่เป็ นธรรม พ.ศ. 2540 มาปรับใช้กบ
ระบบเกษตรพน
ธสัญญาน้นั ยงั ไม่เป็ นที่สนองความ
ยุติธรรมได้อย่างแท้จริง เน่ืองจากสัญญาส˚าเร็จรูปเป็ นสัญญาที่ขาดความสมดุล มีช่องว่างให้เกิดความ
เหล่ือมล้า˚ ในสังคมข้ึนมากมาย พระราชบญ
ญติวา่ ดว
ยขอ
สัญญาอน
ไม่เป็ นธรรม พ.ศ. 2540 เป็ นกฎหมายที่
ตราข้ึนเพื่อให้ความคุ้มครองต่อผูบ
ริโภคเมื่อเกิดกรณีผูบ
ริโภคเห็นว่าตน ได้รับความเสียหาย สามารถ
ฟ้องร้องต่อศาลได้ การน˚าขอ
สัญญาท่ีไม่เป็ นธรรมมาปรับใช้ก
ระบบเกษตรพน
ธสัญญาจึงไม่ตรงตาม
เจตนารมรณ์ของกฎหมายท่ีมุ่งส่งเสริมและพฒ
นาระบบเกษตรพน
ธสัญญา ในทางปฏิบัติจึงไม่บรรลุ
วตถุประสงค์ และทางส
ญาก็ไม่เกิดความเป็ นธรรมที่แทจริงแก่คู่ความไดท
้งั สองฝ่ าย
สา˚ หรับกฎหมายในระบบเกษตรพนธสัญญาของต่างประเทศ จากการศึกษาและวิเคราะห์ไดวา
เหตุแห่งการก˚าหนดกฎหมายว่าด้วยส่งเสริมและพ นาระบบเกษตรพันธสัญญาเป็ นการเฉพาะน้ันก
เนื่องมาจากทุกประเทศประสบปัญหาเดียวกน
กล่าวคือ เกษตรกรมีอา˚ นาจต่อรองต่า˚ กว่าผูป
ระกอบธุรกิจ
ทางการเกษตร ซ่ึงปัจจย
สา˚ คญ
มิใช่การท่ีประเทศน้น
ๆ มีระบบกฎหมายหรือการอา˚ นวยยต
ิธรรมที่ลา้ หลงั แต่
เกิดจากสภาพของตลาด เช่น การมีผูข
ายมากว่าผูซ
้ือทา˚ ให้เกษตรกรไม่มีทางเลือก เป็ นตน
ท้งั น้ีในการออก
กฎหมายดงั กล่าวทุกประเทศคา˚ นึงถึงการทา˚ ใหเ้ กิดความเท่าเทียมและความเป็ นธรรม โดยที่มิไดท ฝ่ ายหน่ึงเกิดภาระหรือความเสียเปรียบจนเกินไปเช่นเดียวกนั
า˚ ใหฝ้ ่ ายใด
กรณีของประเทศอินเดียมีการจด
ต้งั หน่วยงานข้ึนมากา˚ กบ
ดูแลในเรื่องการทา˚ เกษตรพน
ธสัญญา
เป็ นการเฉพาะ และยงั มีการกา˚ หนดปัจจย
อื่น ๆ หลายอย่างที่คลา้ ยกบ
ของประเทศไทย เช่น การลงทะเบียน
การจด
เก็บสัญญา การระงบ
ขอพิพาทในทอ
งถ่ินก่อนถึงส่วนกล่าง เป็ นตน
แต่ก็มีจุดเด่นท่ีน่าสนใจแตกต่าง
จากของประเทศอ่ืน ๆ กล่าวคือ อา˚ นาจอน
เด็ดขาดของหน่วยงานที่กา˚ กบ
ดูแลท้ง
ในบทบาทของผูบ
ริหาร
(Executive) และตุลาการ (Judicial) ในตว
เอง ซ่ึงทา˚ ให้มีขอ
ดีคือความสะดวกและรวดเร็วในการใชก
ฎหมาย
และไม่ทบซ้อนกับอา˚ นาจของศาล ท่ีถูกห้ามไม่ให้มีอา˚ นาจในการพิจารณาเรื่องใด ๆ ท่ีกฎหมายฉบบน้
กา˚ หนดให้เป็ นอา˚ นาจหน้าท่ีของหน่วยงานดงกล่าว นอกจากน้ียงั มีจุดเด่นในเรื่องการส่งเสริมให้เกิดการ
บริหารความเส่ียงของผลผลิตที่อาจมีคุณภาพต่า˚ กวา่ มาตรฐานปกติ ท้งั โดยวิธีการกา˚ หนดบงั คบ
ให้ตอ
งมีการ
ประกันภย
และวิธีการกา˚ หนดให้อนุญาตให้บริษัทประกันภัยหรือสถาบ
การเงินให้บริการสินเชื่อผูท
สนบ
สนุนปัจจย
การผลิตตลาดจนบุคคลที่สามท่ีประสงค
ะซ้ือผลิตภณ
ฑ์ท่ีมีคุณภาพต่า˚ กวา่ มาตรฐานปกติ
สามารถเขา้ ร่วมเป็ นคู่ส ญาในสัญญาได
กรณีประเทศเยอรมนี ได้ใช้หลก
ประมวลกฎหมายแพ่งมาปรับใช้กบ
กฎหมายเกี่ยวกบ
การเกษตร
โดยให้ความส˚าคญ
ในเน้ือหาขอ
สัญญาท่ีมีลก
ษณะท่ีไม่เป็ นธรรมและผลของสัญญาน้
ก็จะตกเป็ นโมฆะ
ตามคาวน
ิจฉยของศาลกฎหมายเลขที่ 78-23
กรณีประเทศสหรัฐอเมริกาซ่ึงข้ึนช่ือวา่ เป็ นประเทศที่มีชื่อเสียงในเร่ืองความเท่าเทียมกน
ทางสิทธิ
มากกวา่ ประเทศอ่ืน จะมีจุดเด่นในเรื่องการกา˚ หนดแนวทางเก่ียวกบการทา˚ สัญญาและเง่ือนไขในสัญญาบาง
ประการเพ่ือช่วยเหลือเกษตรกรที่รัฐมองวา่ เป็ นฝ่ ายท่ีมีอา˚ นาจต่อรองต่า˚ กว่า ให้ข้ึนมามีสิทธิเท่าเทียมกบผู
ประกอบธุรกิจทางการเกษตร แต่ท้ง
น้ีมิได
ีการกา˚ หนดหน่วยงานหรือกลไกลข้ึนมาใหม่เพื่อจด
การเรื่อง
เกษตรพน
ธสัญญาเป็ นการเฉพาะดงั เช่นประเทศไทยและประเทศอินเดียโดยสาเหตุหลก
มาจากสองประการ
คือ (1) สหรัฐอเมริกามองว่าเร่ืองเกษตรพน
ธสัญญาเป็ นเรื่องทว
ไปที่มีหน่วยงานกา˚ กับดูแลท้งั ในระดับ
นโยบายการกา˚ กบ
และระดบ
การดา˚ เนินงานและมีกลไกทางกฎหมายอื่น ๆ เช่น กลไกทางศาลตามปกติ
รองรับหนา้ ที่แลว
และ (2) สหรัฐอเมริกามองวา่ เร่ืองการเกษตรมิใช่อุตสาหกรรมที่ทา˚ เงินใหกบ
ประเทศเป็ น
หลก
ดงั น้น
หากมีการต้งั หน่วยงานข้ึนมากา˚ กบ
ดูแลเรื่องน้ีเป็ นการเฉพาะอีกอาจเป็ นการสิ้นเปลืองทรัพยากร
บุคคลและงบประมาณของประเทศหซ่ึงต่างจากประเทศไทยและประเทศอินเดียที่ภาคการเกษตรมี
ความส˚าคญต่อประเทศเป็ นอยา่ งมาก นอกจากน้ีสหรัฐอเมริการเป็ นประเทศท่ีมีความศรัทธาในการแบ่งแยก
อา˚ นาจ (Separation of Powers-check and balance) ซ่ึงเป็ นหัวใจส˚าคญของการปกครองประเทศเป็ นอย่าง
มาก จึงไม่มีการให้อา˚ นาจหน่วยงานใดในการเป็ นท้งฝ่ ายบริหาร (Executive) และตุลาการ (Judicial) ใน
หน่วยงานเดียวกนอยา่ งของประเทศอนเดยีิ
กรณีประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส แมไ
ม่ไดม
ีการออกกฎหมายที่เก่ียวกบ
ขอสัญญาท่ีไม่เป็ นธรรม
ไวเ้ ป็ นการเฉพาะ แต่ก็ได้ให้ความส˚าคัญในระบบเกษตรโดยน˚ากฎหมายชนบท (Rural Code)หมวด กฎหมายชนบทและการประมง(Code rural et de la pêche maritime:Rural Code) ซ่ึงเป็ นกฎหมายพิเศษหรือ
กฎหมายเฉพาะมาปรับใชกบ
ระบบเกษตรพน
ธสัญญาในประเทศใหเ้ ป็ นไปตามกฎเกณฑ์ของ สหภาพยโรป
ท่ีกา˚ หนดให
ารทา˚ เกษตรพนธส
ญาใดๆ ตอ
งใชส
ัญญามาตรฐานเดียวกน
เรียกวา
“แบบสัญญาบูรณาการ”
(Integration Contract) เพื่อสร้างสมดุลในกระบวนการต่อรองระหวา่ งเกษตรกร กบ
ผูป
ระกอบธุรกิจทางการ
เกษตร และผู้จัดหาปั จจัยการผลิต(Article L326-1) ต้องมีการระบุวิธีการค˚านวณราคาของผลผลิต
และค่าบริการของเกษตรกรผูผ
ลิตและผูใ้ ห้บริการให้ชัดเจนลงในสัญญา(Article L326-3) พร้อมท้ง
ระบุ
รายละเอียดเก่ียวกบ
ความเสี่ยงในการผลิต เช่น เหตุปัจจย
ที่ทา˚ ใหผ
ลผลิตเสื่อมคุณภาพเหตุปัจจย
ที่ทาใหร
าคา
ของผลผลิตเกิดการเปล่ียนแปลง(Article L326- 6) รวมถึงกา˚ หนดใหม
ีการระบุรายละเอียดของปัจจย
การผลิต
ใหช
ดเจน (Article R326-1(2)) ไวอ
ยา่ งชด
เจนและสมดุล
เมื่อวิเคราะห์จากปัญหากฎหมายเกี่ยวกบ
ระบบเกษตรพน
ธสัญญาของประเทศไทยและของ
ต่างประเทศแลว
จึงขอเสนอให้มีการปรับปรุงขอ
กฎหมายและขอ
สัญญาที่ไม่เป็ นธรรม โดยมีการ แกไข
เพิ่มเติม เพื่อให สังคมต่อไป
ารใชก
ฎหมายเกี่ยวกบ
ระบบเกษตรพน
ธสัญญามีความชด
เจน และลดความเหลื่อมล้า˚ ของ
ควรให้การคุม
ครองสิทธิและเสรีภาพเกษตรกรในดา้ นสัญญาอยา่ งเต็มที่ โดยเพิ่มเติมขอ
ความ
ในแบบของสัญญาให้มีขอ
ความ “วา่ ให้ผูป
ระกอบธุรกิจทางเกษตรจด
ให้มีผูเ้ ชี่ยวชาญ สัตวบาล วิศวกรใน
สายงานผลิตทางการเกษตรมาให้เกษตรกรได้มีท่ีปรึกษาปัญหา อีกท้ง
ปัจจย
การผลิตเป็ นตน
ว่า เวชภณฑ
เคมีภณฑ์ ผลิตภณฑท
ี่ใชในการผลิตตอ
งไดมาตรฐานความปลอดภยั ต่อคนและส่ิงแวดลอม”
ความเหล่ือมล้า˚ ในการทา˚ สัญญายอมเกิดขึ้นได้ เมื่อการทา˚ สัญญา แต่คู่สัญญาอีกฝ่ ายไม่มีอา˚ นาจ
เจรจาต่อรอง กฎหมายจึงขาดความยุติธรรม ด
น้ันเพื่อแก้ไขปัญหาในเรื่องน้
เห็นควรเพิ่มช่องทางให
คู่สัญญาฝ่ ายท่ีมีอา˚ นาจต่อรองต่า˚ กวา่ ไดม ในแบบของสัญญา
ีโอกาสเจรจาต่อรองก่อนการเขา้ ทา˚ สัญญาโดยให้มีสภาพบงั คบไว
ควรมีขอ
กา˚ หนดที่เป็ นแนวทางให้คู่สัญญาตอ
งกา˚ หนดราคาที่ตายตว
ต้งั แต่ตอนที่เขา้ ทา˚ สัญญา
การผลิตสินคา้ เกษตรพธ
สัญญา และให้แนวทางในการกา˚ หนดการพิจารณาราคาซ้ือขายกน
จริง ในกรณีท่ี
ราคาตลาดมีการปรับข้ึนลงอยา่ งรุนแรงท้งั สองฝ่ ายใชห
ลกแนวคิดร่วมกน
อนเป็ นการผสานผลประโยชน์
เพ่ือบรรเทาความเดือดร้อนให้กบเกษตรกร ควรกา˚ หนดให้มีทนายความอาสา หรือ ทนายของ
แรง โดยให้มีการข้ึนทะเบียนไวท
ี่ส˚านก
งานเกษตรอา˚ เภอทุกอา˚ เภอ เพื่อเกษตรกรไดป
รึกษาหารือเป็ น
กรณีพิเศษเฉพาะเรื่องการทา˚ สัญญาในระบบเกษตรพนธสัญญา เพื่ออ่านและอธิบายคา˚ ชี้ชวนให้เกษตรกร
ไดเ้ ขา้ ใจก่อนจะตด
สินใจทา˚ สัญญา โดยไม่เสียค่าใชจ
่าย จะทา˚ ให้สะดวกและเป็ นธรรมข้ึน
เอกสารอ้างอง
จรัญ ภกดีธนากุล,สรุปสาระส˚าค
พระราชบ
ญติว่าด้วยข้อสัญญาทไม่เป็ นธรรม พ.ศ. 2540.
ดุลพาห มกราคม-มิถุนายน 2541 .เล่ม 1 ปี ที่ 45.