DPU
ปญหาและผลบงคับทางกฎหมายของสญญาซอขายสินxxxxxxxลวงหนา :
ศึกษากรณี สัญญาซอขายขาวขาวซงมีวัตถุประสงคในการสงมอบและรับมอบ
xxxxxx xxxxxxxxx* รศ.xxxxx xxxxxxxx**
บทคัดยอ
DPU
พระราชบัญญัติการซอขายสินคาเกษตรลวงหนา พ.ศ. 2542 ซึ่งเปนกฎหมายจัดตั้งตลาด สินคาเกษตรลวงหนาแหงประเทศไทย (ตลาดสินคาเกษตรลวงหนาฯ) มิไดxxxxxxxลักษณะทาง กฎหมายของการซื้อขายลวงหนาไว งานวิจัยนี้จึงมุงหมายที่จะศึกษาลักษณะและผลบังคับทาง กฎหมายของสัญญาซื้อขายสินคาเกษตรลวงหนาที่มีวัตถุประสงคในการสงมอบและรับมอบสินคา โดยศึกษาเฉพาะสินคาขาวขาว 5 เปอรเซ็นต เนื่องจากสินคาขาวเปนสินคาเกษตรหลักของ ประเทศไทย ตลอดทั้งวิเคราะหหาวิธีการทางกฎหมายที่เหมาะสมเพื่อทําใหสินคาขาวขาว 5 เปอรเซ็นตที่ซื้อขายในตลาดสินคาเกษตรลวงหนาฯ กลายเปนทรัพยเฉพาะสิ่ง การกําหนดxxxxxx xxxxxxxเหมาะสมในการโอนไปซึ่งกรรมสิทธิ์และความเสี่ยงภัยในสินคาขาวขาว 5 เปอรเซ็นต ที่ซื้อขาย รวมxxxxxxกําหนดคุณสมบัติของxxxxxxxคาที่จะเขามาเปนxxxxxxxคารับรองในตลาด สินคาเกษตรลวงหนาฯ
จากการวิจัยพบวา ขอตกลงซื้อขายลวงหนามีลักษณะทางกฎหมายเปนสัญญาจะซื้อ จะขายอันกอใหเกิดบุคคลxxxxxxxxxxxใหคูสัญญามีหนาที่ตองมาทําสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาดกัน อีกครั้งหนึ่งเมื่อกําหนดเวลาในxxxxxมาถึง นิติสัมพันธที่เกิดขึ้นจึงมิไดกอใหผูซื้อมีxxxxxเรียกรอง ใหผูขายโอนกรรมสิทธิ์ในสินคาที่ซื้อขาย ขณะเดียวกันก็มิไดกอใหผูขายมีxxxxxเรียกรองใหผูซื้อ ชําระราคาสินคาเชนเดียวกัน สําหรับกรรมสิทธิ์และความเสี่ยงภัยในสินคาที่ซื้อขายนั้นจะโอน เปลี่ยนมือจากผูขายไปยังผูซื้อตอเมื่อสินคาที่ซื้อขายกลายเปนทรัพยเฉพาะสิ่ง ซึ่งสินคาขาวขาว 5 เปอรเซ็นตจะกลายเปนทรัพยเฉพาะสิ่งก็ตอเมื่อผานการตรวจสอบคุณภาพและน้ําหนักขาออก และเมื่อสินคากลายเปนทรัพยเฉพาะสิ่งแลวก็xxxxxxกําหนดเงื่อนไขหรือxxxxxxxxxxมาxxxxxxการ โอนกรรมสิทธิ์และความเสี่ยงภัยในสินคาที่ซื้อขายใหเหมาะสมกับxxxxประเพณีการคาสินคา ขาวได
ปญหาประการสุดทายคือ คุณสมบัติของxxxxxxxคาที่จะเขามาเปนxxxxxxxคารับรอง ในตลาดสินคาเกษตรลวงหนาฯ ที่กําหนดไวเครงครัดเกินไป แตเนื่องจากxxxxxxxคารับรองฯ
* นกศึกษาหลักสูตรนิติศาตรมหาบัณฑิต สาขานิติศาสตร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย
** ที่ปรึกษาxxxxxนิพนธ
ไมไดทําหนาที่เปนเพียงสถานที่จัดเก็บสินคาเพื่อบําเหน็จทางการคาเทานั้น ยังมีหนาที่สงสินคา ขาวขาว 5 เปอรเซ็นตออกไปนอกราชอาณาจักรแทนผูขายดวย ดังนั้น การดึงคุณสมบัติการเปนผู สงออกขาวและการประกอบธุรกิจxxxxxxxคามากําหนดเปนคุณสมบัติของxxxxxxxคารับรองฯ ก็จะ เปนอีกทางหนึ่งที่ชวยลดความเครงครัดเกินจําเปนของคุณสมบัติการเปนxxxxxxxคารับรองฯ ที่ตลาดสินxxxxxxxลวงหนาฯ กําหนดไวเดิม
1. บทนํา
DPU
แมประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม แตจนปจจุบันปญหาราคาxxxxxการเกษตร ตกต่ําก็ยังxxเปนปญหาระดับประเทศ ประกอบกับเกษตรกรสวนใหญจะนําราคาสินคาในอดีตมา วางแผนการxxxxxxxxในxxxxxซึ่งมีโอกาสผิดพลาดสูง แนวทางแกไขปญหาxxxxxและเหมาะสม ที่สุดวิธีหนึ่ง คือ จะตองทําใหเกษตรกรคาดการณราคาสินคาลวงหนาเพื่อxxxxxxวางแผนการ xxxxxxxxได ดวยเหตุนี้จึงนํามาซึ่ง “การซื้อขายลวงหนา”
ในประเทศไทยการซื้อขายสินคาเกษตรลวงหนาเกิดขึ้นอยางเปนทางการโดย พระราชบัญญัติการซื้อขายสินคาเกษตรลวงหนา พ.ศ. 2542 แตเนื่องจากเนื้อหาใน พระราชบัญญัติมุงเนนไปที่การจัดตั้งตลาดสินคาเกษตรลวงหนาแหงประเทศไทยมากกวาจะให รายละเอียดและลักษณะทางกฎหมายของการซื้อขายลวงหนา ดวยเหตุนี้ ผูเขียนจึงไดศึกษา ลักษณะทางกฎหมายของสัญญาซื้อขายสินคาเกษตรลวงหนา เพื่อทายที่สุดแลวหากxxxxxxวิจัย หรือหาคําตอบไดวา นิติสัมพันธที่เกิดขึ้นในตลาดสินคาเกษตรลวงหนาฯ มีลักษณะทางกฎหมาย เปนเชนใด ก็จะxxxxxxนําผลบังคับทางกฎหมายของนิติสัมพันธที่เกิดขึ้นxxxxxxกําหนดไวใน ขอบังคับการซื้อขายฯ หรือ Contract Specification ซึ่งถือเปนสัญญามาตรฐานที่ผูซื้อและผูขาย ตองยอมรับและบังคับตามไดอยางถูกตองตรงตามหลกกฎหมายของนิติสัมพันธที่เกิดขึ้น และเมื่อ ตลาดสินคาเกษตรลวงหนาฯ มีขอบังคับการซื้อขายที่ถูกตองเหมาะสมก็จะชวยดึงดูดนักลงทุน เกษตรกร พอคาคนกลาง เจาของโรงงาน ตลอดจนผูสงออกใหหันมาใชกลไกตลาดลวงหนาใน การบริหารความเสี่ยงจากความxxxxxxของราคาสินคา และเมื่อปริมาณการซื้อขายในตลาดสินคา เกษตรลวงหนาฯ มีมากขึ้นก็ไมเปนการยากที่จะทําใหราคาลวงหนาสินคาเกษตรที่ซื้อขายในตลาด สินxxxxxxxลวงหนาฯ ถูกใชเปนราคาอางอิงในระดับxxxx
2. ที่มา ความหมาย และแนวความคิดพื้นฐานของการซื้อขายสินคาเกษตร ลวงหนา
2.1 ที่มาของตลาดสินคาเกษตรลวงหนา
สําหรับประเทศไทยการซื้อขายลวงหนาเมื่อครั้งอดีตรูจักกันในชื่อ “ตกเขียว” โดย พอคาขาวในกรุงเทพจะเขาไปทําสัญญาซื้อขาวลวงหนาจากชาวนาตั้งแตตนขาวเปนสีเขียวยังไม ออกรวง จากนั้นจะนําขาวที่ตนซื้อลวงหนาไวไปขายตอใหแกพอคาขาวตางประเทศ แตเนื่องจาก
ยังไมมีขาวที่จะสงมอบ พอคาขาวในกรุงเทพจึงตองออกตั๋วขายขาวใหแกพอคาตางประเทศแทน ไปกอน จะเห็นไดวาการซื้อขายลักษณะนี้ไมมีสิ่งใดเปนหลักประกันการปฏิบัติxxxxxxxx ในอดีต จึงมีการบิดพลิ้วสัญญาคอนขางมาก จนใน พ.ศ. 2526 กรมเศรษฐกิจการพาณิชย สังกัด กระทรวงพาณิชย เห็นวาประเทศไทยควรมีศูนยxxxxxxxซื้อขายสินคาเกษตรลวงหนา มีกฎระเบียบการซื้อขายที่xxxxxxxxxนํามาซึ่งการจัดตั้งตลาดสินคาเกษตรลวงหนาแหงประเทศไทย ใน พ.ศ. 2542 ที่มีเปาหมายใหเกษตรกร ผูผลิต ผูสงออกใชกลไลตลาดลวงหนาเปนเครื่องมือ คนพบราคาสินคาในxxxxx และบริหารความเสี่ยงที่เกิดจากความxxxxxxของราคาสินคา ตลอดจนเปนแหลงลงทุนใหแกนักลงทุนที่ประสงคจะสรางผลตอบแทนจากสวนตางของราคาซื้อ ขายตามอัตราการขึ้นลงของราคาสินคาเกษตร
DPU
2.2 ความหมายของสัญญาลวงหนา
(1) สัญญาฟอรเวิรด (Forward) เปนการซื้อขายxxxxxสัญญาทั้งสองฝายตกลงกันวา จะสงมอบรับมอบสินคากันในxxxxx ภายใตขอตกลงที่เกิดจากความไวเนื้อxxxxxxx xxมีหนวยงาน กลางเขามาดูแลการปฏิบัติxxxxxxxx จึงxxxxxxxxxxบิดพลิ้วxxxxxxxxxxxx
(2) สัญญาฟวเจอรส (Futures) เปนการซื้อขายลวงหนาที่มีหนวยงานกลางเขามา ดูแลการซื้อขาย ตลอดจนกําหนดมาตรฐานของสัญญาซื้อขาย การซื้อขายจึงมีความโปรงใสและ เปนธรรม
2.3 การซื้อขายสินคาเกษตรลวงหนา
การซื้อขายในตลาดสินคาเกษตรลวงหนาฯ จะมีสัญญามาตรฐานที่เรียกวา “ขอบังคับ การซื้อขายฯ (Contract Specification)” กําหนดรายละเอียด อาทิ ชนิด มาตรฐานและคุณภาพ ของสินคาเอาไว สําหรับสัญญามาตรฐานของสินคาขาวขาว 5 เปอรเซ็นตที่วิจัยxxxนี้คือ ขอบังคับ คณะกรรมการสินคาเกษตรลวงหนา วาดวยขอบังคับการซื้อขายลวงหนา ขาวขาว 5 เปอรเซ็นต ประเภทการสงมอบและรับมอบสินคาตามเงื่อนไข Free On Board (XXX) พ.ศ. 2554 ลงxxxxxx 17 มีนาคม พ.ศ. 2554 แตเนื่องจากขอบังคับการซื้อขายฯ จะถูกนํามาใชบังคับกับบุคคลผูถูก กํากับดูแล ซึ่งไดแก นายหนาซื้อขายลวงหนา ไมxxxxxxนํามาใชบังคับกับผูซื้อผูขายที่แทจริงได โดยตรง จึงตองนํามาใชโดยทางออมผานสัญญานายหนาซื้อขายลวงหนาเพื่อทําการซื้อขาย ลวงหนาแทนลูกคา (สัญญานายหนา) ซึ่งคณะกรรมการกํากับการซื้อขายสินคาเกษตรลวงหนาได กําหนดใหสัญญานายหนาทุกฉบับจะตองมีสาระสําคัญขอหนึ่งคือ ลูกคา (ผูซื้อหรือผูขายในฐานะ ตัวการ) xxxxxxxxxจะปฏิบัติตามกฎขอบังคับ คําสั่ง และเงื่อนไขใดๆ ที่เกี่ยวของที่คณะกรรมการ ตลาดสินคาเกษตรลวงหนาและตลาดสินคาเกษตรลวงหนาฯ กําหนด ดังนั้น ไมเพียงสัญญา นายหนาจะมีผลบังคับทางกฎหมายเปนสัญญาแตงตั้งตัวแทนแลว แตสัญญานายหนา ยังทําหนาที่ เชื่อมโยงนิติสัมพันธใหผูซื้อและผูขายตองยอมรับและบังคับตามกฎขอบังคับการซื้อขายอีกดวย ทั้งนี้ก็เพื่อผองถาย และxxxxxxความรับผิดอันจะเปนการปองกันการบิดพลิ้ว หรือการไมปฏิบัติ xxxxxxxxของฝายใดหรือทั้งสองฝายนั่นเอง
หลักทวไปของการซอขายลวงหนา
เนื่องจากการซื้อขายลวงหนาจะใชวิธีการประมูลโดยเปดเผยในตลาดสินคาเกษตร ลวงหนาฯ และจะมีกําหนดเวลาสงมอบและรับมอบสินคาที่ซื้อขายลวงหนาในวันขางหนา ดังนั้น การซื้อขายดังกลาวจึงมีลักษณะเฉพาะอนเปนหลกทั่วไปของการซอขายลวงหนา ดังนี้
1) ผูซื้อและผูขายไมตองรูจักกัน ผขายไมตองxxxxxคาในขณะที่สงคําสั่งขาย
2) เมื่อคําสั่งซื้อคําสั่งขายถูกจับคูจนเกิดเปน “สัญญาซื้อขายลวงหนา” แลว ตลาดสินคาเกษตรลวงหนาฯ โดยสํานักหักบัญชีจะเขาเปนคูสัญญาฝายผูขายใหแกผูซื้อ และเปน คูสัญญาฝายผูซื้อใหแกผูขาย
DPU
3) ผูซื้อและผูขายxxxxxxxxxxxxxxxxความxxxxxxxxxxxxxxซื้อขายลวงหนาไดหลายวิธี อาทิ การหักลางฐานะ (Offset) การโอน (Transfer) การชําระเงินแทนการสงมอบ (Cash Settlement) และการรับมอบสงมอบ (Delivery)
การซื้อขายในตลาดสินคาเกษตรลวงหนาแหงประเทศไทย
ผูซื้อและผูขายจะตองเปดบัญชีซื้อขายกับนายหนาซื้อขายลวงหนาโดยจะมีสัญญาที่ เรียกวา “สัญญาระหวางนายหนาซื้อขายลวงหนากับลูกคาเพื่อทําการซื้อขายลวงหนาแทนลูกคา” เปนหลักฐาน และจะตองวางเงินประกันการซื้อขายตามอัตราที่กําหนด เมื่อผูซื้อและผูขายตxxxxx ซื้อขายก็จะตองสงคําสั่งซื้อหรือขายเขาสูระบบการซื้อขายของตลาดสินคาเกษตรลวงหนาฯ ผานทางนายหนาซื้อขายลวงหนา ทั้งนี้ เมื่อสิ้นวันทําการคําสั่งใดไมไดรับการจับคู ระบบการซื้อ ขายของตลาดสินคาเกษตรลวงหนาฯ จะลางคําสั่งนั้นออกไปโดยอัตโนมัติ สวนคําสั่งซื้อคําสั่งขาย ใดที่ตองตรงกันจะถูกจับคูเกิดเปน “ขอตกลงซื้อขายลวงหนา หรือสัญญาซื้อขายลวงหนา”
3. กฎหมายที่เกี่ยวกับการซื้อขายลวงหนาของกฎหมายตางประเทศเปรียบเทียบ กับประเทศไทย
ดวยการซื้อขายลวงหนาในตางประเทศเกิดขึ้นมานานและไดรับความxxxxxxxหลาย ประกอบกับประเด็นที่ผูเขียนคนควาวิจัยลวนมีพื้นฐานที่สําคัญมาจากหลักกฎหมายแพง ซึ่งจาก การศึกษากฎหมายของประเทศที่มีวิวัฒนาการทางกฎหมายแพงมาอยางยาวนานทั้งยังเปxxxx ยอมรับและเปนตนแบบใหกับหลายๆ ประเทศ ไดแก ประเทศอังกฤษ ประเทศฝรั่งเศส และ ประเทศเยอรมนีพบวาแตละประเทศมีหลักกฎหมายเกยวกับประเด็นปญหาที่วิจัย ดังนี้
(1) กฎหมายประเทศอังกฤษ
เนื่องจากกรรมสิทธในสินคาที่ซื้อขายลวงหนาจะยังไมโอนไปยังผูซื้อในทันทีที่ตกลงทํา สัญญา แตจะถูกโอนในภายหลังเมื่อกําหนดเวลาในxxxxxมาถึง ดังนี้ สัญญาซื้อขายลวงหนาจึงมี ลักษณะทางกฎหมายเปน “สัญญาจะซื้อจะขาย” ตามมาตรา 2 แหงพระราชบัญญัติการซื้อขาย หรือ Sale of Goods Act 1979โดยสัญญาจะซื้อจะขายดังกลาวจะกลายเปนสัญญาซื้อขายทันทีที่
กรรมสิทธในสินคาที่ซื้อขายไดโอนไปยังผูซื้อ โดยผูจะซื้อและผูจะขายไมตองมาตกลงทําสัญญาซื้อ ขายกนอีกxxxหนึ่ง
นอกจากนี้ ประเทศอังกฤษยังมีหลักเรื่องการโอนกรรมสิทธิ์ในสินคาที่ซื้อขายวา หาก สินคาที่ซื้อขายเปนทรัพยเฉพาะสิ่งxxxแลวในขณะทําสัญญา และคูสัญญาตกลงซื้อขายกันโดย ปราศจากเงื่อนไข xxxxxxxxxxใดๆ มาxxxxxxการโอนกรรมสิทธเชนนี้ กรรมสิทธิ์ในสินคาที่ซื้อขายจะ ถูกโอนไปยังผูซื้อทันที โดยไมตองคํานึงxxxxxxสงมอบหรือการชําระราคาแตอยางใด สําหรับ หลักการโอนความเสี่ยงภัยในสินคาที่ซื้อขาย ประเทศอังกฤษใชหลักความเสี่ยงภัยโอนพรอมกับ กรรมสิทธิ์ ผูขายจึงตองรับความเสี่ยงภัยตลอดเวลาที่ยังเปนเจาของสินคานั้นxxx ไมวาจะไดมีการ สงมอบทรัพยนั้นแลวหรือไม
DPU
(2) กฎหมายประเทศฝรั่งเศส
สําหรับวิธีการที่จะทําใหทรัพยxxxxxใชทรัพยเฉพาะสิ่งกลายเปนทรัพยเฉพาะสิ่งตาม กฎหมายฝรั่งเศสมีความคลายคลึงกับกฎหมายไทยดังที่อาจารยxxxxx xxxxxxxxx ไดอธิบาย กฎหมายแพงฝรั่งเศสวาดวยซื้อขายไวในบทxxxxxxย เลม 28 กลาวคือ จะตองมีการระบุ เฉพาะเจาะจงตัวทรัพยใหแนนอนวาเปนทรัพยชิ้นใด ไมวาดวยวิธีการใดดังตอไปนี้
1. การนับ ชั่ง ตวง วัด คัดเลือกทรัพยสิน เพื่อใหทราบจํานวนหรือปริมาณที่แนนอน
หรือ
2. การกระทําดวยประการใดๆ เพอบงื่ ชี้ หรือระบุตัวทรพยออกมาใหเปนทแนนอนี่ั
ซึ่งโดยหลักเปนหนาที่ของผขายที่จะดําเนินการไดโดยลําพัง
สําหรับการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยxxxxxxซื้อขายตามหลักกฎหมายฝรั่งเศสคือ กรรมสิทธิ์ในสินคาที่ซื้อขายจะโอนไปเมื่อคูสัญญาทําสัญญาเสร็จสิ้น แมจะยังไมมีการสงมอบ สินคาใหแกกัน ดังนั้น หากเกิดความวินาศแกสินคา ผูซื้อก็จะตองแบกรับภัยพิบัติไป ตามหลัก ภาระความเสี่ยงภัยเชื่อมโยงกับความเปนเจาของ
(3) กฎหมายประเทศเยอรมนี
ประเทศเยอรมนีเปนประเทศxxxxxxxxxระบบสองสญญา มีการแยกนิติกรรมทางหนี้ออก จากนิติกรรมทางทรัพย ดังที่อาจารยxxxxxxxxxxx xxxxx ไดอธิบายเรื่องหลักการโอนกรรมสิทธิ์ใน สังหาริมทรัพยและหลักการไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์โดยxxxxxxเปรียบเทียบหลักกฎหมายเยอรมัน อังกฤษและไทย ไวในเอกสารประกอบการศึกษา คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ดวยเหตุนี้คูสัญญาจึงxxxxxxทําสัญญาซื้อขายอันเปนนิติกรรมทางหนี้ไดโดยไมตองคํานึงวา สินคาที่ซื้อขายจะมีxxxในเวลาทําสัญญาหรือไม นอกจากนี้ คูสัญญายังxxxxxxตกลงทําสัญญา เบื้องตนหรือขอตกลงกอนสัญญา (Precontract) อันเปนขอตกลงซึ่งเกิดขึ้นกอนที่จะทําสัญญา อีกฉบับหนึ่งในxxxxx โดยอาศยหลักเสรีภาพในการแสดงxxxxxxxอีกดวย
สําหรับการกลายเปนทรัพยเฉพาะสิ่งนั้นจะตองมีการกระทําทุกประการของผูขาย
เพื่อกําหนดเลือกตัวทรัพย และจะตองพิจารณาประกอบกับหนาที่ของผูขายที่จะตองสงมอบสินคา
ตามเงื่อนไขการสงมอบอันไดแก หนี้รับไป หนี้สงไป และหนี้นําไป ที่ระบุไวในสัญญาดวย สวนการโอนไปซึ่งกรรมสิทธิ์ในสินคาที่ซื้อขายจะตองประกอบดวยลักษณะดังตอไปนี้ (1) ตองมี การสงมอบการครอบครองทางกายภาพ และ (2) ตองมีการแสดงxxxxxตกลงใหกรรมสิทธิ์ใน สินคาที่สงมอบโอนไปยังผูรับโอน ลักษณะดังกลาวตางกับความเสี่ยงภัยที่จะโอนจากผูขายไปยัง ผูซื้อในเวลาที่สงมอบ ซึ่งพิจารณาการสงมอบทางxxxภายเทาxxxx xxxเปนเชนนี้เพราะเมื่อผูซื้อได ครอบครองทรัพยสินแลว ผูซื้อยอมมีอํานาจควบคุมทรัพยสิน และxxxxxxใชความระมัดระวังใน การรักษาทรัพยสิ้นนั้นได ดังนั้น ภาระและประโยชนจึงควรจะตกไปยังผูซื้อ ไมเชนนั้นแลวผูซื้อจะ ใชความระมัดระวังนอยมากในการรักษาทรัพยxxxxxxตนครอบครองxxxเพราะวา ขณะนั้นทรัพยสิน ดังกลาวยังไมใชกรรมสิทธิ์ของตน
DPU
(4) กฎหมายไทย
แมประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยจะxxxxxxxถึงสัญญาจะซื้อจะขายเฉพาะเรื่อง หลักฐานในการฟองรองกรณีจะซื้อจะขายอสังหาริมทรัพยและสังหาริมทรัพยพิเศษก็ตาม แตนัก กฎหมายxxxxxความเห็นในเรื่องดังกลาววา สัญญาจะซื้อจะขายเปนสัญญาที่ตองมาทําสัญญาซื้อ ขายกนอีกครั้งหนึ่ง ดงนั้น วัตถุแหงสญญาจะซื้อจะขายจะเปนสิ่งใดก็ได หากxxxxxxซื้อขายได ซึ่ง ผูเขียนเห็นดวยกับแนวความคิดดังกลาว ทั้งนี้โดยอาศัยหลักเสรีภาพในการแสดงxxxxxซึ่งถือเปน หวxxxxxxของประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
นอกจากนี้ การจะพิจารณาวาสัญญาใดเปนสัญญาจะซื้อจะขาย ควรมุงพิจารณาไปที่ xxxxxรมณของคูสัญญาเปนสําคัญมากกวาพิจารณาวากรรมสิทธิ์ในสินคาที่ซื้อขายโอนจากผูขาย ไปยังผูซื้อแลวหรือไม ดังนั้น หากสัญญาที่ทํานั้นคูสัญญามิไดxxxxxxxที่จะมาทําอะไรกันอีก นอกจากรอใหเหตุการณในxxxxxxxxไมแนนอนเกิดขึ้น หรือรอใหถึงเวลาที่กําหนด สัญญานั้นเปน สัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาดที่มีเงื่อนไขบงคับกอนหรือxxxxxxxxxxเริ่มตนมาxxxxxxการโอนกรรมสิทธิ์ แตหากคูสัญญาxxxxxxxที่จะมาทําสัญญาซื้อขายกันอีกครั้งหนึ่งสัญญานั้นก็เปนเพียงสัญญาจะซื้อ จะขาย
สําหรับกรรมสิทธิ์ในทรัพยxxxxxxซื้อขายจะถูกโอนไปยังผูซื้อทันทีที่ตกลงทําสัญญา ซื้อขายเสร็จสิ้น โดยไมตองคํานึงวาไดสงมอบหรือชําระราคาสินคากันแลวหรือไม สวนประเด็น เรื่องความเสี่ยงภัย ผเปนเจาของทรัพยสินยอมตองรับผิดชอบในการสูญหรือxxxxxxxxxxเกิดขึ้น
4. ปญหาและวิเคราะหปญหาลักษณะทางกฎหมายของสัญญาซื้อขายสินคาเกษตร ลวงหนาในตลาดสินคาเกษตรลวงหนาแหงประเทศไทยที่มีวัตถุประสงคในการสง มอบและรับมอบสินคา
4.1 ปญหาการปรับบทกฎหมายเพื่อใชบังคับกบสัญญาซื้อขายสินคาเกษตรลวงหนา
เนื่องจากประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยไมไดนิยามความหมายของคําวา “การซื้อ ขายลวงหนา” เอาไว และนิยามศัพทที่ปรากฏในมาตรา 3 แหงพระราชบัญญัติการซื้อขายสินคา
เกษตรลวงหนา พ.ศ. 2542 ที่วา “การซื้อขายลวงหนา หมายความวา การซื้อขายสินคาเกษตร โดยวิธีการประมูลโดยเปดเผยในตลาดเพื่อรับมอบหรือสงมอบสินคาเกษตรนั้นในวันขางหนา ตามปริมาณและราคาที่ตกลงกัน ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการตลาด กําหนด” นั้น ก็ยังไมxxxxxxxxxxจะอธิบายลกษณะทางกฎหมายของการซื้อขายลวงหนาได ประกอบ กับการซื้อขายลวงหนาเปนเรื่องใหมสําหรับประเทศไทยทําใหยังไมมีขอพิพาทขึ้นสูศาล จึงไมมี แนวคําพิพากษาศาลฏีกาที่วินิจฉัยลักษณะทางกฎหมายและผลบังคับทางกฎหมายของสัญญาซื้อ ขายขาวขาว 5 เปอรเซ็นตลวงหนาที่มีวตถุประสงคในการสงมอบและรับมอบสินคาไว
4.2 ปญหาทางกฎหมายของการระบุทรัพยเฉพาะสงในสินคาที่ซื้อขายลวงหนา
DPU
ดวยการรับมอบสงมอบสินคาขาวขาว 5 เปอรเซ็นตที่ซื้อขายลวงหนาจะเกิดขึ้นในวัน ขางหนา วัตถุแหงสัญญาสวนใหญจะเปนทรัพยในxxxxxxxxผูขายจะตองทําขึ้นหรือปลูกขึ้น หรือ เปนทรัพยที่กําหนดไวเพียงชนิดประเภท ยังไมไดนับ ชั่ง ตวง เพื่อบงตัวทรัพย หรือยังไมใชทรัพย เฉพาะสิ่ง ดังนี้ จึงจําเปxxxxจะตองทราบวา ตอเมื่อมีการกระทําเชนใดแลวจึงจะถือวาทรัพยxxxxxxซื้อ ขายกลายเปนทรัพยเฉพาะสิ่ง เนื่องจากจะมีผลตอการพิจารณาการโอนไปซึ่งกรรมสิทธิ์และความ เสี่ยงภัยในลําดับตอไป
4.3 ปญหาการโอนกรรมสิทธิ์และความเสี่ยงภยในทรัพยxxxxxxซื้อขายลวงหนา
เนื่องจากขอบังคับการซื้อขายสินคาขาวขาว 5 เปอรเซ็นตฯ ซึ่งถือเปนขอสัญญา มาตรฐานของการซื้อขายลวงหนากําหนดไวเฉพาะการโอนไปซึ่งภาระและความเสี่ยงภัยของสินคา ไมไดกลาวxxxxxxโอนกรรมสิทธิ์เอาไว ประกอบกบตามหลักกฎหมายไทยเปดโอกาสใหคูสัญญาใช หลักเสรีภาพในการแสดงxxxxx ตกลงกําหนดเงื่อนไขหรือxxxxxxxxxxมาxxxxxxการโอนกรรมสิทธิ์ และความเสี่ยงภัยได ดังนั้น ผูเขียนจึงทําการวิจัยหาเงื่อนไขและxxxxxxxxxxxxxเหมาะสมเพื่อนํามา xxxxxxการโอนกรรมสิทธิ์และความเสี่ยงภัยใหเหมาะกับxxxxประเพณีการซื้อขายสินคาขาวขาว 5 เปอรเซ็นต
4.4 ปญหาขอกฎหมายเกี่ยวกับคุณสมบัติของxxxxxxxคาที่จะมาเปนxxxxxxxคารับรอง
ในตลาดสินคาเกษตรลวงหนาแหงประเทศไทย
ดวยการสงมอบรับมอบสินคาขาวขาว 5 เปอรเซ็นตระหวางผูซื้อและผูขายจะตอง กระทําผานxxxxxxxคารับรองซึ่งทําหนาที่เปนคนกลางในการจัดเก็บสินคา รักษาคุณภาพสินคาใน ระหวางจัดเก็บ และบรรจุภัณฑสินคาใหเปนไปตามเงื่อนไขการสงมอบรับมอบสินคาที่กําหนดไว ในขอบังคับการซื้อขายฯ xxxxxxx xxxxxxxคาที่ขึ้นทะเบียนเปนxxxxxxxคารับรองกับตลาดสินคาเกษตร ลวงหนาฯ จะไดรับคาตอบแทนเปนคาบริการxxxxxxxคา ในอัตราปจจุบันคือ 1,180 บาท ตอเมตริกตัน โดยคาใชจายดังกลาวจะถูกบวกเขากับราคาสินคาที่ซื้อขาย จึงปฏิเสธไมไดวาผูที่ กําหนดคาใชจายดังกลาวคือxxxxxxxคารับรองนั่นเอง ดังนั้น หากxxxxxxxคารับรองกําหนด คาใชจายไวสูง ผลคือราคาซื้อขายในตลาดสินคาเกษตรลวงหนาฯ ก็จะสูงตามขึ้นไปดวย ซึ่งราคาที่ ซื้อขายถือเปนปจจัยสําคัญที่ดึงดูดใหนักลงทุนหรือผูประกอบกิจการใหเขามาซื้อขายในตลาด
สินคาเกษตรลวงหนาฯ อนึ่ง เมื่อพิจารณาตามกลไกตลาดแลว หากมีผูประกอบกิจการทํานอง เดียวกันหลายรายยอมกอใหxxxxxxxแขงขนดานราคาอนจะเปนผลดีตอผบริโภค และดวยxxxxxxx xxxxxxหากตลาดสินคาเกษตรลวงหนาฯ ผอนคลายความเครงครัดเรื่องคุณสมบัติของxxxxxxxคา รบรองเพอเปดxxxxxใหมีxxxxxxxคารบxxxxxxรายขนก็จะมีการแขงขันดานราคาคาใชจายมากขึ้น และเมอคาบริการคลงสินคาลดลง ราคาซื้อขายในตลาดสินคาเกษตรลวงหนาฯ ก็จะลดลงตามไปดวย
DPU
แตอยางไรก็ดี มิใชจะเปนการงายที่จะเปดโอกาสใหผูประกอบการคลังสินคาทุกราย เขาเปนxxxxxxxคารับรอง ทั้งนี้เพราะxxxxxxxคารับรองไมไดเปนเพียงสถานที่จัดเก็บสินคาเทานั้น แตยังทําหนาที่สงสินคาขาวขาว 5 เปอรเซ็นตออกไปนอกราชอาณาจักรแทนผูขายดวย ดวยเหตุนี้ จึงจําเปนตองพิจารณาคุณสมบัติการเปนxxxxxxxคารับรอง อยางรอบดาน
5. บทสรุปและขอเสนอแนะ
5.1 บทสรุป
การที่เกษตรกรสวนใหญยังxxนําราคาสินคาในอดีตมาใชวางแผนการxxxxxxxxใน xxxxxซึ่งมีโอกาสผิดพลาดสูง อันนํามาซึ่งภาวะผลผลิตลนตลาดจนเกิดเปนปญหาราคาxxxxx การเกษตรตกต่ํานั้น ทางหนึ่งที่จะชวยแกปญหาดังกลาวคือ การทําใหผูเกี่ยวของหันมาซื้อขาย ลวงหนาในตลาดสินคาเกษตรลวงหนาฯ และใชประโยชนจากกลไลตลาดลวงหนา โดยนําราคา ลวงหนาซึ่งเปนตัวสะทอนปริมาณอุปสงคอุปทานในxxxxxมาวางแผนการผลิต การxxxxxxxxอัน จะชวยลดปญหาราคาผลผลิตตกต่ําได ดังนี้ จึงจําเปนอยางยิ่งที่ตลาดสินคาเกษตรลวงหนาฯ จะตองมีกฎขอบังคับการซื้อขายที่มีความชัดเจน มีผลบังคับตามหลักกฎหมายที่ถูกตองเปxxxx นาเชื่อถือเพอรองรับการซื้อขายดังกลาว
5.2 ขอเสนอแนะ
5.2.1 การปรับบทกฎหมายเพื่อใชบังคับกับสัญญาซื้อขายสินคาเกษตรลวงหนา
เมื่อเขาสูเดือนสงมอบรับมอบสินคา ขอบังคับการซื้อขายฯ ซึ่งถือเปนขอสัญญา มาตรฐานของสัญญาซื้อขายลวงหนาไดกําหนดใหผูซื้อมีหนาxxxxxxจะตองสงคําบอกลาวรายละเอียด ของการสงมอบไปยังผูขาย และหากผูซื้อไมดําเนินการภายในระยะเวลาที่กําหนด ขอบังคับการ ซื้อขายฯ ระบุใหถือวา ผูซื้อตกเปน “ผูไมปฏิบัติหนาที่ใหถูกตอง” และจะตองชําระคาเสียหาย ใหแกผูขายและชําระคาปรับใหแกตลาดสินคาเกษตรลวงหนาฯ จากนั้นจะใหถือวา ความxxxxxxxxxx ปวงตามขอตกลงซื้อขายลวงหนาเปนอันยุติลง ซึ่งแสดงใหเห็นวา หลังจากขอตกลงหรือสัญญาซื้อ ขายลวงหนาเกิดขึ้นแลว ผูซื้อมีหนาxxxxxxจะตองสงคําบอกกลาวรายละเอียดของการสงมอบไปยัง ผูขาย หนาที่ของผูซื้อหาใชการชําระราคาสินคาไม ดังนี้ คําบอกลาวรายละเอียดของการสงมอบจึง เปนคําเสนอขอเขาทําสัญญาซื้อขายอันเปนหนาที่ของผูถือครองขอตกลงซื้อขายลวงหนาฝงผูซื้อที่ จะตองปฏิบัติการชําระหนี้ตามขอตกลงซื้อขายลวงหนา ดังนั้น ขอตกลงซื้อขายลวงหนาจึงมี ลักษณะทางกฎหมายเปนสัญญาจะซื้อจะขายผูกพันใหคูสญญามีหนาxxxxxxจะตองมาทําสัญญาซื้อขาย
เสร็จเด็ดขาดสินคาขาวขาว 5 เปอรเซ็นตกันอีกครั้งหนึ่งเมื่อกําหนดเวลาในxxxxxมาถึง ทั้งนี้ หากผูซื้อไมชําระหนี้ดังกลาว ผูซื้อก็จะตกเปนผูผิดสัญญาจะซื้อจะขายและผูขายมีxxxxxเรียกรอง คาเสียหายจากผูซื้อแตไมอาจเรียกรองใหผูซื้อสงมอบสินคาขาวขาว 5 เปอรเซ็นตใหแกตนได ทั้งนี้ เพราะสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาดยังไมเกิดขึ้น
ในทางกลับกัน หากผูซื้อชําระหนี้xxxxxxxxจะซื้อจะขายแลว ผูขายก็มีหนาxxxxxxจะตอง ชําระหนี้เปนการตอบแทนดวยการxxxxรับคําเสนอของผูซื้อ ซึ่งการxxxxของผูขายนี้ไมจําเปน จะตองทําเปนคําบอกกลาวxxxxไปยังผูซื้อ แตอาจใชพฤติการณการสงมอบสินคาซึ่งตามxxxx ประเพณีการซื้อขายขาวขาว 5 เปอรเซ็นตถือเปนการอันใดอันหนึ่งอันพึงสันนิษฐานไดวาเปนการ แสดงxxxxxxxxxรับ ก็ได
DPU
เมื่อขอตกลงหรือสัญญาซื้อขายลวงหนามีลักษณะทางกฎหมายเปนสัญญาจะซื้อจะขาย เชนนี้แลว การพิจารณาxxxxxหนาที่ของคูสัญญาตลอดจนผลบังคับทางกฎหมายที่เกิดขึ้นจาก ขอตกลงการซื้อขายลวงหนานั้น ผูเขียนมีขอเสนอแนะวาจะตองบังคับเปนลําดับกอนหลังดังนี้
(1) หากเรื่องใดขอบังคับการซื้อขายฯ กําหนดไวเปนการเฉพาะเจาะจง ก็ตองบังคับ ไปตามนั้น อยางไรก็ดี หากขอบังคับการซื้อขายฯ กําหนดไวเปนการแตกตางจากบทบัญญัติใน ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และเรื่องที่ตางนั้นเปนเรื่องเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยหรือ ศีลธรรมxxxxxของประชาชนเชนนี้แลว ขอบังคับการซื้อขายฯ ดังกลาวจะไมมีผลบังคับ
(2) หากเรื่องใดขอบังคับการซื้อขายฯ ไมไดกําหนดไวเปนการเฉพาะเจาะจง ก็ตองนํา บทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาใชบังคับ
อนึ่ง ดวยสัญญาซื้อขายลวงหนาเปนขอสัญญามาตรฐาน ดังนั้น หากคูสัญญาฝายหนึ่ง เปนผูประกอบธุรกิจและอีกฝายหนึ่งเปนผูบริโภคสัญญาดังกลาวจะมีลักษณะเปนสัญญาสําเร็จรูป ที่จะตองxxxภายใตบังคับของกฎหมายวาดวยขอสัญญาxxxxxเปนธรรมอีกฉบับหนึ่งดวย
5.2.2 การระบุทรัพยเฉพาะสิ่งในสินคาที่ซื้อขายลวงหนา
เนื่องจากคุณภาพและน้ําหนักของสินคาขาวขาว 5 เปอรเซ็นตที่ซื้อขายในตลาดสินคา เกษตรลวงหนาฯ เปนเรื่องสําคัญ ดังนั้น วิธีกําหนดเลือกตัวสินคาอันเปนขั้นตอนหนึ่งของการทํา ใหสินคากลายเปนทรัพยเฉพาะสิ่ง นอกจากจะตองมีการนับ ชั่ง ตวง วัด เพื่อใหไดสินคาที่มี น้ําหนักตามกําหนดแลว ยังจะตองมีการตรวจสอบคุณภาพสินคาโดยผูตรวจสอบคุณภาพและ น้ําหนักสินคาอีกดวย โดยขอบังคับการซื้อขายฯ กําหนดใหมีการตรวจสอบคุณภาพสินคาและ น้ําหนักสินคา 2 ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่หนึ่ง (ตรวจสอบคุณภาพขาเขา) เมื่อผูขายนําสินคามาสงมอบ ณ xxxxxxxคา
กอนนําเขาจดเก็บในxxxxxxxคา และ
ครั้งที่สอง (ตรวจสอบคุณภาพขาออก) เมื่อนําสินคาออกจากxxxxxxxคาเพื่อบรรจุลง บรรจุภัณฑและเตรียมสงมอบใหแกผูซื้อ
ดังนี้ ตอเมื่อสินคาผานการตรวจสอบคุณภาพขาออกและผูขายไดรับใบรับรองคุณภาพ และนาหนักสินคาขาออกแลวเทานั้น สินxxxxxขาว 5 เปอรเซ็นตจึงจะกลายเปนทรพยเฉพาะสิ่ง
5.2.3 การโอนกรรมสิทธและความเสี่ยงภยในสินคาxxxxxขาย
DPU
เนื่องจากขอบังคับการซื้อขายฯ กลาวถึงเฉพาะเงื่อนไขในการโอนไปซึ่งความเสี่ยงภัย แตไมไดกลาวถึงเงื่อนไข หรือxxxxxxxxxxการโอนไปซึ่งกรรมสิทธิ์ในสินคาขาวขาว 5 เปอรเซ็นตที่ ซื้อขายเอาไว ซึ่งจากการศึกษาหลกกฎหมายเรองการโอนกรรมสิทธิ์และความเสี่ยงภัยของประเทศ ไทยที่ใชหลักความเสี่ยงภัยโอนพรอมกรรมสิทธิ์ ดังนี้ เพื่อใหขอกําหนดการซื้อขายขาวขาว 5 เปอรเซ็นต มีความxxxxxxxxบูรณยิ่งขึ้น ผูเขียนจึงเห็นวาควรจะอาศัยหลักเสรีภาพมาใชในการ กําหนดเงื่อนไขเพื่อxxxxxxการโอนกรรมสิทธิ์ซึ่งเงื่อนไขที่เหมาะสมนาจะเทียบเคียงกับกฎหมาย ของประเทศเยอรมนีที่มีแนวความคิดเบื้องหลังวา “ความเสี่ยงภัยในทรัพยxxxxxxซื้อขายจะโอนจาก ผูขายไปยังผูซื้อในเวลาที่สงมอบ” เพราะเมื่อผูซื้อไดครอบครองทรัพยสินนั้นแลว ผูซื้อยอมมี อํานาจควบคุมทรัพยสินและxxxxxxใชความระมัดระวังในการรักษาทรัพยสิ้นนั้นได ดังนั้น ภาระ และประโยชนจึงควรจะตกไปยังผูซื้อ ดวยเหตุนี้ ผูเขียนจึงเสนอแนะใหปรับปรุงแกไขขอบังคับ คณะกรรมการสินคาเกษตรลวงหนา วาดวยขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา ขาวขาว 5 เปอรเซ็นต ประเภทการสงมอบและรับมอบสินคาตามเงื่อนไข FREE ON BOARD (XXX) พ.ศ. 2554 ขอ 28 เสียใหม ดวยการกําหนดให “การรับมอบของผูซื้อ” เปนเงื่อนไขแหงการโอนไปซึ่ง กรรมสิทธิ์และความเสี่ยงภัย เปนดังนี้
ขอ 28 กรรมสิทธิ์และความเสี่ยงภัยของสินคา
28.1 ใหกรรมสิทธิ์และความเสี่ยงภัยตอการสูญหายหรือเสียหายของสินคาตกเปน ของผูซื้อทันที
เงื่อนไข XXX
28.1.1 สินคาขามพนกราบเรือ ในกรณีของการสงมอบและรับมอบสินคาตาม
28.1.2 xxxxxxxคาไดนําสินคาxxxxxมาตรฐานตามขอบังคับนี้ สงมอบในรถบรรทุก
ที่ผูซื้อจัดเตรียมมาเพื่อรับมอบสินคา ณ xxxxxxxคาที่ผูซื้อกําหนดในคําบอกกลาวรายxxxxxxxxxx สงมอบเรียบรอยแลว ในกรณีของการสงมอบและรับมอบสินคา ณ xxxxxxxคาที่ผูซื้อกําหนด
28.2 ในกรณีที่สินคาเกิดสูญหายหรือเสียหายในระหวางที่xxxในความดูแลของ xxxxxxxคากอนการสงมอบตามที่ผูซื้อระบุในคําบอกกลาวรายxxxxxxxxxxสงมอบ กรณีเงื่อนไข XXX หรือ สงมอบในรถบรรทุกแบบยกเทที่ผูซื้อจัดเตรียมมารับสินคา ณ xxxxxxxคาที่ผูซื้อระบุใน คําบอกกลาวรายxxxxxxxxxxสงมอบ แลวเสร็จ ใหผูขายเปนผูที่มีxxxxxxxรับการชดใชในความสูญ หายหรือเสียหายดังกลาว
5.2.4 การกําหนดคุณสมบัติของxxxxxxxคาที่จะมาเปนxxxxxxxคารับรองในตลาด
สินคาเกษตรลวงหนาแหงประเทศไทย
ดวยหนาที่อันเปนลักษณะเฉพาะของxxxxxxxคารับรองของตลาดสินคาเกษตรลวง หนาฯ ดังที่กลาวมาขางตน ทําใหxxxxxxxคาที่จะมาขึ้นทะเบียนเปนxxxxxxxคารับรองของตลาด สินคาเกษตรลวงหนาฯ จะตองxxxใตบังคับของประกาศของคณะxxxxxxx ฉบับที่ 58 และ พระราชบัญญัติมาตรฐานสินคาขาออก พ.ศ. 2503 ผูเขียนจึงเห็นวา นาจะนําหลักเกณฑตาม กฎหมายทั้งสองฉบับดังกลาวมากําหนดเปนคุณสมบัติxxxxxxxคารับรอง แทนคุณสมบัติที่กําหนด ไวเดิมในขอ 2 ของประกาศตลาดสินคาเกษตรลวงหนา เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขใน การขึ้นทะเบียนxxxxxxxคาเปนxxxxxxxคารับรองของตลาดสินคาเกษตรลวงหนาแหงประเทศไทย ฉบับลงxxxxxx 31 มีนาคม 2554 ซึ่งคอนขางเครงครัด และกําหนดใหมเปนดังนี้
“ขอ 2 คุณสมบัติของนิติบุคคลทจะขอขึ้นทะเบียนเปนคลงสินคารบรอง
DPU
2.1 เปนนิติบุคคลที่มีทุนจดทะเบียนไมนอยกวา 5,000,000 บาท และตองมีทุน จดทะเบียนสวนที่ชําระแลวไมนอยกวา 1,000,000 บาท และมีวัตถุประสงคในการประกอบ กิจการคาขาวทงในและนอกราชอาณาจักร
2.2 ขึ้นทะเบียนเปนผูคาสินคามาตรฐาน (ประเภทสินคาขาว) ตามพระราชบัญญัติ มาตรฐานสินคาขาออก พ.ศ. 2503
2.3 ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการxxxxxxxคา ตามประกาศของคณะxxxxxxx
ฉบับที่ 58
2.4 เปนผูมีประวตั ิในการสงออกขาวไปจาหนายนอกราชอาณาจัํ กรซึ่งไดรับการ
รับรองจากสมาคมผูสงออกขาวไทยวามีปริมาณการสงออกขาวดังกลาวตองเปนหนึ่งในสิบหา อันดับแรกของประเทศไทยตอเนองกนเปนระยะเวลาไมนอยกวาหาปจนถึงxxxxxxไดยื่นคํารองขอขึ้น ทะเบียนตามประกาศนี้ ทั้งนี้ เวนแตจะไดรับยกเวนจากตลาดเปนรายกรณีไป
2.5 ไมxxxระหวางการถูกดําเนินคดีจากทางราชการอันเกี่ยวของกับการประกอบ กิจการxxxxxxxคาหรือการสงออกสินคาของผูขออนุญาตทั้งในและนอกราชอาณาจักรหรือ ถูกฟองรองเปนคดีลมละลายในระหวางระยะเวลาxxxxxรองขอขึ้นทะเบียนตามประกาศนี้
ขอ 2.1 ถึง 2.4 ไมใหใชบังคับกับองคการคลังสินคาและสหกรณที่ประกอบกิจการ
xxxxxxxคา”
ดังนี้ เมื่อทราบลักษณะและผลบังคับทางกฎหมายของการซื้อขายลวงหนาขาวขาว
5 เปอรเซ็นต ตลอดจนวิธีการที่จะทําใหสินคาดังกลาวกลายเปนทรัพยเฉพาะสิ่ง การกําหนดxxxxxx xxxxในการโอนกรรมสิทธิ์และความเสี่ยงภัยในสินคาที่ซื้อขายลงในขอบังคับการซื้อขายฯ ให เหมาะสมกับxxxxประเพณีการซื้อขายขาวลวงหนา รวมทั้งการกําหนดคุณสมบัติxxxxxxxคารับรอง เสียใหม ดังxxxxxxxxในงานวิจัยฉบับนี้ ความชัดเจนดังกลาวจะชวยดึงดูดนักลงทุน และบุคคล ที่เกี่ยของใหหันมาใชกลไกตลาดลวงหนาในการบริหารความเสี่ยงจากความxxxxxxของราคา สินคา และเมื่อปริมาณการซื้อขายในตลาดสินคาเกษตรลวงหนาฯ มีมากขึ้นก็ไมเปนการยากที่จะ
DPU
ทําใหตลาดสินคาเกษตรลวงหนาฯ เปนผูนําดานราคาสินคาเกษตรลวงหนา และราคาดังกลาว ถูกนําไปใชอางอิงในระดับxxxxตอไป
ภาษาไทย
กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย
บรรณานุกรม
หนงสือ
(2542). พระราชบญxxxxการซอขายสินxxxxxxx
ลวงหนา พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: ผแตง.
จําป โสตถิพนธ (2543). คาอธํ ิบายกฎหมายลักษณะซอขาย แลกเปลี่ยน ให (พมพิ ครงทั้ ี่ 2
แกไขเพมเติม). กรุงเทพฯ: วิญูชน.
DPU
. (2548). คําอธิบายกฎหมายลักษณะ ซอขาย แลกเปลี่ยน ให พรอมคําอธิบายใน สวนของพระราชบัญญัติวาดวยขอสัญญาไมเปนธรรม พ.ศ. 2540 และกฎหมายใหม ที่เกี่ยวของ. กรุงเทพฯ: วิญูชน.
ชัยพัฒน xxxxxxx. (2547). เปดประตูสตลาดซอขายลวงหนา. กรุงเทพฯ: อมxxxxxพริ้นติ้ง xxxดพบลิชชิ่ง.
เดือน xxxxxx. (2510). คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวย เอกเทศสัญญา
(ซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให เชาทรัพย เชาซื้อ). กรุงเทพฯ: xxxxxxxพิมพ.
ตลาดสินxxxxxxxลวงหนาแหงประเทศไทย. (2547). วนแรกกาว AFET at First Step พิธีเปด ตลาดสินคาเกษตรลวงหนาแหงประเทศไทย 28 พฤษภาคม 2547.
. (2552). ลงทุนอยางไร...ใน AFET เพอบริหารความเสี่ยงและเพอการลงทุน
(พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ตลาดสินxxxxxxxลวงหนาแหงประเทศไทย. กรุงเทพฯ. ประพันธ xxxxxxx และไพจิตร ปุญญพันธ. (2549). คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชยลักษณะซื้อขาย (พิมพครั้งที่ 14). กรุงเทพฯ: นิติบรรณการ. xxxxxxxxxxxxxxxxx. (2454). ทรพยศาสตร. กรุงเทพมฯ: พิฆเณศ.
ไพโรจน อาจรกษา. (2543). ครบเครื่องเรื่องคุมครองผูบริโภค (พิมพครั้งที่ 2 แกไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ.
xxxxx xxxxxxxx. (2542). คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ซื้อขาย แลกเปลี่ยน
ให (พิมพครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: นิติบรรณาการ.
. (2549). หลักกฎหมายแพงลักษณะหนี้ (พิมพครั้งที่ 16). กรุงเทพฯ: เดือนตุลา. สํานักงานคณะกรรมการกํากับการซื้อขายสินคาเกษตรลวงหนา. (2552). สัญญาซอขายลวงหนา
สินคาเกษตร. กรุงเทพฯ.
xxxxx xxxxxxxxxxxxxx. (2549). ระบบนิติสัมพันธในการซื้อขายลวงหนาและการซื้อขาย ลวงหนาxxxxxเปนธรรม. กรุงเทพฯ.
อํานาจ ธีระวนิช. (2522). ตลาดซอขายสินคาลวงหนา. กรุงเทพฯ: xxxxxxxxการพิมพ.
บทความ
xxxxxx xxxxxx. (พฤษภาคม 2529). “การโอนกรรมสิทธในสญญาซอขาย.” วารสารกฎหมาย, 2 (2).
xxxxxxxxxx xxxxxxxx. (2523). “การโอนกรรมสิทธโดยผลแหงสญญา.” บทxxxxxxย, เลม 27 (2).
xxxxxx ปุญญพันธ. (2508, xxxxxx). “ทรพยเฉพาะสิ่ง.” บทxxxxxxย
เลมที่ 23 (4).
DPU
xxxxxx ปุญญพนธุ. (2544, พฤษภาคม-สิงหาคม). “ซื้อขาย แลกเปลยน ให ทรัพยสินในxxxxx หรือยังไมมีกรรมสิทธิ์ซึ่งเปนสัญญาทใชบงคบกันได: วัตถุประสงคกับการชําระหนี้.” ดุลพาห, 48 (2).
xxxxx กุมาลยวิสัย. (2504). “สัญญาจะซอจะขายกบเสรีภาพในการทําสญญา.” ดุลพาห 8 เลม 5.
xxxxx xxxxxxxxxxxxx. (2549). “ระบบxxxxxxพนธในการซื้อขายลวงหนาและการซื้อขายลวงหนา xxxxxเปนธรรม.”
หยุด xxxxxxxx. (กันยายน 2528). “ปญหาการแยกสัญญาทางหนี้และสัญญาทางทรัพยในสัญญา ซื้อขายเยอรมัน.” วารสารนิติศาสตร.
xxxxx xxxxxxxxx. (2514). “กฎหมายแพงฝรั่งเศสวาดวยซื้อขาย.” บทxxxxxxย, เลม 28.
เอกสารอื่น ๆ
xxxxxxxxxxx xxxxx. (2543). “หลักการโอนกรรมสิทธิ์ในสังหาริมทรพยและหลักการไดมาซึ่ง กรรมสิทธิ์โดยxxxxxxxxxxบเทียบหลักกฎหมายเยอรมัน อังกฤษและไทย.” เอกสารประกอบการศึกษาวิชากฎหมายลักษณะทรัพยสินและที่ดิน วิชาความรูเบื้องตน เกยวกับกฎหมายเยอรมัน วิชา รากฐานกฎหมายแพง. คณะนิติศาสตร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
กฎหมาย
ขอบังคับคณะกรรมการตลาดสินxxxxxxxลวงหนาวาดวยขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา
ขาวขาว 5 เปอรเซ็นต ประเภทการสงมอบและรบมอบสินคาตามเงื่อนไข Free On Board (XXX) พ.ศ. 2554 ลงxxxxxx 17 มีนาคม 2554.
ประกาศกระทรวงพาณิชย เรื่อง การกําหนดเงื่อนไขควบคุมกิจการxxxxxxxคา พ.ศ. 2535
ฉบับลงxxxxxx 5 มีนาคม 2535.
ประกาศกระทรวงพาณิชย เรอง มาตรฐานสินxxxxx พ.ศ. 2540 ฉบับลงวนที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2540.
ประกาศของคณะxxxxxxx xxxที่ 58 ลงxxxxxx 26 xxxxxx 2515.
ประกาศคณะกรรมการกํากับการซื้อขายสินxxxxxxxลวงหนา ที่ กน 3/2546 xxxxxx xxxละเอียด อนเปนสาระสําคัญแหงสญญาระหวางนายหนาซอขายลวงหนากบลูกคาเพื่อทําการ ซื้อขายลวงหนาแทนลูกคา .
ประกาศคณะกรรมการกํากับการซื้อขายสินคาเกษตรลวงหนาที่ กน 3/2546 xxxxxx xxxละเอียด อันเปนสาระสําคัญแหงสัญญาระหวางนายหนาซื้อขายลวงหนากับลูกคาเพื่อทําการ
ซื้อขายลวงหนาแทนลูกคา ลงxxxxxx 16 กรกฎาคม 2546.
DPU
ประกาศตลาดสินคาเกษตรลวงหนาแหงประเทศไทย เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการ ขึ้นทะเบียนxxxxxxxคาเปนxxxxxxxคารับรองของตลาดสินคาเกษตรลวงหนาแหงประเทศ ไทย ฉบับลงxxxxxx 31 มีนาคม 2554.
ประกาศตลาดสินคาเกษตรลวงหนาแหงประเทศไทย เรอง หลักเกณฑและวิธีการในการตรวจสอบ คุณภาพสินxxxxxขาว 5 เปอรเซ็นต ประเภทการสงมอบและรับมอบตามเงื่อนไข Free On Board (XXX) ลงxxxxxx 19 พฤษภาคม 2554.
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย.
พระราชบัญญติการซื้อขายสนคิ าเกษตรลวงหนา พ.ศ. 2542.
พระราชบัญญัติมาตรฐานสินคาขาออก พ.ศ. 2503.
ภาษาตางประเทศ
BOOKS
CFTC. (1998). Commodity Futures Trading Commission Announces Participation in COSRA [The Council of Securities Regulators of the America] Investor Education Week. Release 4112-98.
ELECTRONIC SOuRCES
กรมการคาภายใน. (ม.ป.ป.). ตลาดซอขายสินxxxxxxxลวงหนา. สืบคนเมื่อ 28 xxxxxx 2556, จาก xxxx://xxx.xxx.xx.xx/XxxxXxxxxxxx/xxxxxxxxxx.xxx? deptid=84&id=8997
xxxxx xxxxxxxxxxx. (ม.ป.ป.). ความรเกี่ยวกับตลาดสินคาเกษตรลวงหนา (1) ความเปนมาของ ตลาดสินxxxxxxxลวงหนา. สืบคนเมื่อ 21 เมษายน 2554, จาก xxxx://xxx.xxxx.xx.xx/x000/xxxx/xxxxxxxx/xxxxxxxXxxx.xxx?xxx0.
xxxxx xxxxxxxxxxx. (ม.ป.ป.). ประโยชนของราคาลวงหนาใน AFET. สืบคนเมื่อ 28 xxxxxx
DPU
2556, จาก xxxx://xxx.xxxx.xx.xx/x000/xxxx/xxxxxxxx/xxxxxxxXxxx.xxx?xxx00