ĀHÃREPATIKŪLASAÑÑÃ KAMMATTHÃNA: BUDDHIST DIETARY PRINCIPLES
อาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน: หลักการบริโภคอาหารเชิงพุทธ
ĀHÃREPATIKŪLASAÑÑÃ KAMMATTHÃNA: BUDDHIST DIETARY PRINCIPLES
พระครูปลัดxxxx อคฺคจิตฺโต (xxxx)
วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรxxxxxxพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
xxxxxxวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๖๑
อาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน: หลักการบริโภคอาหารเชิงพุทธ
พระครูปลัดxxxx อคฺคจิตฺโต (xxxx)
วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรxxxxxxพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
xxxxxxวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๖๑
(ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย)
Āhãrepatikūlasaññã kammatthãna: Bhuddhis Dietary Principles
Xxxxxxxxxxxxx Weera Aggacitto (Mongkol)
A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of
Master of Arts Buddhist Studies
Graduate School Mahachulalongkornrajavidyalaya University
C.E. 2018
(Copyright by Xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx University)
xxxxxxxxxxxxxxx : อาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน : หลักการบริโภคอาหารเชิงพุทธ
ผู้วิจัย : พระครูปลัดxxxx อคฺคจิตฺโต (xxxx)
xxxxxx : พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พระพุทธศาสนา)
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
: ดร.xxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxx, xx.x. (สื่อสารมวลชน), ศศ.ม. (ไทยศึกษา), พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)
: พระมหาอินทร์วงค์ อิสฺสรxxxx, ดร., ป.ธ. ๔, พธ.บ. (ภาษาอังกฤษ), ศษ.บ. (การสอนภาษาไทย),
กศ.ม. (การบริหารการศึกษา), พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)
วันสําเร็จการศึกษา : ๘ มีนาคม ๒๕๖๒
บทคัดย่อ
วิทยานิพนธ์เรื่อง “อาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน: หลักการบริโภคอาหารเชิงพุทธ” เป็นการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาคือ ๑) เพื่อศึกษา แนวคิดเกี่ยวกับการบริโภคอาหารในพระพุทธศาสนา ๒) เพื่อศึกษาแนวทางการบริโภคอาหารตาม หลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน และ ๓) เพื่อวิเคราะห์แนวทางการบริโภคอาหารตามหลักอาหาเร ปฏิกูลสัญญากรรมฐานในชีวิตประจําวัน
จากการศึกษาพบว่า อาหาร หมายถึง สภาพที่นํามาซึ่งกําลัง เครื่องค ําจุนชีวิต สิ่งxxxxxxx xxx xxร่างกายและจิตใจ ทําให้เกิดกําลังเจริญเติบโต มี ๔ ประเภท ได้แก่ ๑. กวฬิงการาหาร คือ คําข้าว
๒. xxxxxxxx คือ การสัมผัส ๓. xxxxxxxxxxxหาร คือ ความตั งใจ และ ๔. xxxxxณาหาร คือ วิญญาณเป็นปัจจัยให้เกิดนามรูป อาหารนั นมีความสําคัญกับสรรพสัตว์ทั งหลาย โดยเฉพาะกวฬิง การาหาร หากไม่มีอาหารก็ไม่xxxxxxดํารงชีวิตอยู่ได้ การบริโภคอาหารเชิงพุทธxxxxxxศึกษาได้จาก โภชนปฏิบัติของพระพุทธเจ้า ซึ่งมีxxxxเสวยอาหารโดยไม่มียึดติดในรสชาติ ไม่ทรงเสวยมากเกินไป หรือน้อยเกินไป ทรงเสวยเพียงวันละมื อเพื่อเป็นการสร้างความพอดีให้เกิดขึ นแก่ร่างกาย ส่วนในพระ xxxxxนั นมีบทบัญญัติว่าด้วยการบริโภคอาหารในหมวดเสขิยวัตร เรียกว่า โภชนาปฏิสังยุต
อาหาเรปฏิกูลสัญญาเป็นหนึ่งในxxxกรรมฐาน ๔๐ ซึ่งเป็นอุบายวิธีฝึกจิตให้สงบ จนxxxxx x xxxxอยู่ในxxxxxxเดียว เรียกว่า เอกัคคตา คําว่า อาหาเรปฏิกูลสัญญา หมายถึง ความกําหนด หมายความเป็นปฏิกูลในอาหาร โดยกําหนดในอาการต่างๆ ๑๐ ประการ คือ โดยการไป โดยการ แสวงหา โดยการบริโภค โดยที่อยู่ โดยหมักหมม โดยยังไม่ย่อย โดยย่อยแล้ว โดยผล โดยหลั่งไหลออก และโดยเปื้อน นอกจากนี ยังพิจารณาความน่าเกลียดของอาหารที่รับประทานไปในหลายๆ วิธี โดยกล่าวซ ําๆ ว่า “ปฏิกูลัง” เมื่อทําxxxxนี สัญญาคือการกําหนดรู้ถึงความน่าเกลียดเกี่ยวกับอาหาร คือ คําข้าวก็จะปรากฏชัดขึ นเป็นxxxxxxของกัมมัฏฐาน
อานิสงส์ของการเจริญอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน เบื องต้นนั นทําให้เกิดความxxxxxใน ร่างกาย ไม่ให้เกิดโรคที่จะเกิดจากการกินอาหาร ในระดับที่สูงขึ นไปนั นทําให้รู้แจ้งในxxxxxxxx xxxxxx
ตัดตัณหาในรส ไม่มีความxxxxxยินร้ายในเพราะอาหาร ไม่มีความอยากในรสที่พึงxxxx ทําให้จิตใจสงบ ระงับ xxxxxxxxxxxxxx จิตxxxxxxxxเป็นสุข และพัฒนาจิตให้เข้าถึงพระนิพพาน
การประยุกต์หลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐานในชีวิตประจําวันเพื่อการบริโภคอาหาร อย่างxxxxมี ๓ หลักการ คือ ๑. หลักโภชนจํากัด เป็นxxxxxxxxxxประยุกต์มาจากคําxxxxxxxxx โภชนมัตตัญญุตาและหลักของอาหาเรปฏิกูลสัญญา มีแนวทางปฏิบัติคือ การพิจารณาอาหารก่อนที่ จะบริโภค การหยุดพฤติกรรมการกินอาหารระหว่างวัน การไม่รับประทานอาหารด้วยความมัวเมา หลงในรสชาติ การไม่รับประทานอาหารด้วยxxxxว่าเป็นเครื่องประดับประดา การไม่รับประทาน อาหารด้วยxxxxว่าจะตกแต่งร่างกาย แต่ให้รับประทานเพื่อกําจัดความเบียดเบียน และเพื่อxxxxxxxx สุขภาพของตนเองให้มีเรี่ยวแรงในการดําเนินกิจการต่างๆ ได้ ๒. หลักโภชนปฏิบัติ ประยุกต์มาจากคํา xxxxxxxxxพุทธวิธีในการบริโภคและบทโภชนปฏิสังยุต มีแนวทางปฏิบัติคือ ควรกินข้าวที่มีขนาดคํา พอดี ควรเคี ยวข้าวให้ละเอียดทุกคําข้าวก่อนกลืนxxxx xxxควรกินอย่างมุมมาม หรือรีบกิน ควร กําหนดรสชาติของอาหารxxxxxxx ไม่ควรกินข้าวในเวลากลางคืน และควรมีxxxxxxในการรับประทาน อาหาร คือมีความเคารพในอาหาร ในข้าว ในคนปรุงอาหาร เป็นต้น และ ๓. หลักโภชนเภสัช ประยุกต์มาจากหลักการกินอย่างมีสติและการกินเพื่อสุขภาพ มีแนวทางปฏิบัติคือ เข้าใจ : ในลักษณะ อาหารและวิธีการกินอาหารตลอดจนเข้าใจในคุณค่าแท้ คุณค่าเทียมของอาหาร และเลือกบริโภค อย่างถูกต้อง เข้าถึง : อาหารที่สะอาดและถูกหลักอนามัย และ พัฒนา : คุณภาพจิตใจของตนเองให้ xxxxxxxอยู่ตลอดเวลาด้วยวิปัสสนากัมมัฏฐาน และการฝึกจิตตามหลักการของอาหาเรปฏิกูลสัญญา จะทําให้เกิดความเข้าใจในการรับประทานอาหารอย่างแท้จริง
Thesis Title : Āhãrepatikūlasaññã kammatthãna: Xxxxxxx Xxxxxxx
Principles
Researcher : Xxxxxxxxxxxxx Weera Aggacitto (Mongkol)
Degree : Master of Arts (Buddhist Studies)
Thesis Supervisory Committee
: Dr. Xxxxxxxx Xxxxxxxxxxxxxxxx, B.A. (Public Communication), M.A. (Thai Studies),
Ph.D. (Buddhist Studies)
: Xxxxxxxx Xxxxxxxxx Xxxxxxxxxxx, Dr., Xxxx XX,
B.A. (English), M.A. (Thai Teaching), M.Ed. (Educational Administration), Ph.D. (Buddhist Studies)
Date of Graduation : March 8, 2019
Abstract
This thesis entitled “Āhãrepatikūlasaññã kammatthãna: Buddhis Dietary Principles”. This study is documentary research and the objectives of this study as follows: 1) to study the concept of food consumption in Buddhism, 2) to study the way of food consumption according to Āhãrepatikūlasaññã kammatthãna, and 3) to analyze the way of food consumption according to Āhãrepatikūlasaññãkammatthãna in daily life.
It was found that food refers to the conditions that bring power, life support things that nourish the body and mind and the cause of power and growth there are 4 types, namely 1. Kavaļińkãrãhãra means physical nutriment, 2. Phassãhãra means contact, 3. Manosañcetanãhãra means intention, and 4. Viññãņãhãra means the spirit that is the factor of causing abstraction. That food is important to all creatures, especially, Kavaļińkãrãhãra if there is no food, it cannot live. Buddhist food consumption can be studied from the practice of the Buddha. Which normally consume some food without sticking in taste, did not sonsume too much or too little, consumed only one meal a day to create a fit for the body. For the discipline, there is a provision on food consumption in Sekhiyavattara category called Bhojanãpatisamyuta.
Āhãrepatikūlasaññã is one of concentrating meditation (Xxxxxxx Meditation) which is a trick how to calm the mind until the mind firmly in one mood called Ekaggatã. Āhãrepatikūlasaññã means the determination of sewage in food by determining 10 behaviors, namely going, seeking, consumption, addressing, piling up, not digesting, digesting, resulting, flowing out and staining. In addition, it still considers the ugliness of food that has been eaten in many ways. That repeatedly said “Patikūlam” When did this, Saññã means the determination of ugliness about food, including physical nutriment will be more evident in the mood of meditation.
The virtue of determination of Āhãrepatikūlasaññãkammatthãna, initially, it will caused the well – being of the body, no disease caused by eating food at the
higher level and causing enlightenment in Rūpkhan (Corporeality). That can cut the lust in taste, don’t have delight in food, no desire for a satisfying taste, calm the mind, suspension of non-anxiety, the mind is happy and developing the mind to reach Nirvana.
The application of the principle of Āhãrepatikūlasaññã–kammatthãna in daily life for smart food consumption into 3 principles, namely 1. The limited nutrition is the applied principle from the teaching of Bhojanamattaññutã and the principle of Āhãrepatikūlasaññã there are guidelines for considering before consuming, stopping eating habits during the day, not eating food with obsession in taste, not eating food with hoping that it is a decoration, not eating food for hoping to decorate the body, but eating to get rid of encroachment and in order to promote own health to have strength in various works. 2. The nutrition practice applies from the teaching of Buddhist ways in consumption and a part of Bhojanapatisamyuta there are guidelines, including eating rice moderately, chewing rice thoroughly before swallowing, don’t eat rice gluttonously or hurry to eat, determining the taste of food perfectly, don’t eat at night, having manner for eating means paying respect to food, rice, cooker etc. 3. The nutraceutical applies from eating principle consciously and eating for healthy there are guidelines, including the understanding: food characteristics and how to eat, as well as the understanding of the true value, the artificial value of food and choose to consume correctly. The accession: clean and hygienic food. And the development: self-mental quality to complete all the time by Vipassanã-kammatthãna and mental training according to Āhãrepatikūlasaññã will cause understanding of eating truly.
กิตติกรรมประกาศ
วิทยานิพนธ์เล่มนี้สําเร็จลงด้วยดี เพราะได้รับความxxxxxนุเคราะห์จากบุคคลหลายฝ่าย ดังต่อไปนี้ ขออนุโมทนาขอบคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.xxxxxx xxxxxxxxx ประธานคณะกรรมการสอบ วิทยานิพนธ์ ตลอดทั้ง xxxxxxxxxxxxxxนุยุต ผศ.ดร. ผู้อํานวยการวิทยาลัยสงฆ์ลําพูน ดร.xxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxx และพระมหาอินทร์วงค์ อิสฺสรxxxx, ดร. ตลอดทั้ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ xx.xxxxxx xxxxxxฟอง และ xx.xxxxxxxx x วันxx xxxxxxให้คําปรึกษา เสนอแนะข้อคิดเห็น และตรวจสอบแก้ไข ข้อบกพร่องของวิทยานิพนธ์เล่มนี้จนxxxxxxx
ขอขอบคุณเพื่อนๆ นิสิตxxxxxxโท รุ่น ๓ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ลําพูนทุกรูป ทุกท่าน ที่ให้กําลังxxxxxมาตลอด คอยแนะนําช่วยเหลือ ให้คําปรึกษา และ ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้มาอย่างเป็นกัลยาณมิตร ขอขอบพระคุณเจ้าหน้าที่ของศูนย์xxxxxxศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ลําxxx xxxดูแลxxxxxxงานด้านเอกสารต่างๆ เป็นอย่างดียิ่งมาโดยตลอด
ขอกราบขอบพระคุณบุรพาจารย์ ตลอดจนครูบาอาจารย์ทุกท่านที่xxxxxxxxxxxxxx ความรู้ให้มาโดยตลอด กับทั้งท่านผู้เป็นเจ้าของตําราทุกเล่ม ที่ทําให้ข้าพเจ้าได้มีโอกาสศึกษาค้นคว้า และเขียนวิทยานิพนธ์เล่มนี้สําเร็จ
คุณงามความดีอันจะพึงเกิดxxxxxของวิทยานิพนธ์เล่มนี้ ขอน้อมบูชาคุณพระรัตนตรัย กับ ทั้งขอxxxxxxxxแด่ผู้มีพระคุณทั้งหลายมีบิดามารดาของข้าพเจ้า เป็นต้น
พระครูปลัดxxxx อคฺคจิตฺโต (xxxx)
๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒
สารบัญ
เรื่อง | หน้า | |
บทคัดย่อภาษาไทย | ก | |
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ | ค | |
กิตติกรรมประกาศ | จ | |
สารบัญ | ฉ | |
สารบัญแผนภูมิ | ฌ | |
คําอธิบายสัญลักษณ์และคําย่อ | ฏ | |
บทที่ ๑ | บทนํา | ๑ |
๑.๑ ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา | ๑ | |
๑.๒ คําถามวิจัย | ๓ | |
๑.๓ วัตถุประสงค์ของการวิจัย | ๓ | |
๑.๔ ขอบเขตการวิจัย | ๓ | |
๑.๕ นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจัย | ๔ | |
๑.๖ ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง | ๔ | |
๑.๗ วธิ ีดําเนินการวิจัย | ๑๑ | |
๑.๘ ประโยชน์xxxxxxรับจากการวิจัย | ๑๑ | |
บทที่ ๒ | แนวคิดเกี่ยวกับการบริโภคอาหารในพระพุทธศาสนา | ๑๒ |
๒.๑ คําสอนเกี่ยวกับอาหารในพระไตรปิฎก ๒.๑.๑ ความหมายของอาหาร | ๑๓ ๑๓ | |
๒.๑.๒ ประเภทของอาหาร ๒.๑.๓ ความสําคัญของอาหาร | ๑๕ ๒๐ | |
๒.๒ การบริโภคอาหารเชิงพุทธ ๒.๒.๑ โภชนาปฏิบัติของพระพุทธเจ้า ๒.๒.๒ โภชนาปฏิบัติตามพระxxxxx | ๒๔ ๒๔ ๒๙ | |
บทที่ ๓ | แนวทางการบริโภคอาหารตามหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน | ๓๘ |
๓.๑ แนวคิดเกี่ยวกับกรรมฐาน | ๓๘ | |
๓.๑.๑ ความหมายของกรรมฐาน ๓.๑.๒ ประเภทของกรรมฐาน | ๓๙ ๔๑ | |
๓.๑.๓ วิธีปฏิบัติxxxกรรมฐาน | ๔๔ | |
๓.๑.๔ แนวทางการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ๓.๑.๕ อานิสงส์ของการเจริญกรรมฐาน | ๕๐ ๕๒ |
๓.๒ อาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน ๓.๒.๑ ความหมายของอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน ๓.๒.๒ ที่มาของอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐานในxxxxxxx พระพุทธศาสนา ๓.๒.๓ วิธิปฏิบัติกรรมฐานตามหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน ๓.๒.๔ อานิสงส์ของการเจริญอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน ๓.๓ แนวทางการบริโภคอาหารตามหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน ๓.๓.๑ การบริโภคตามหลักอาหาร ๓.๓.๒ การบริโภคอาหารตามหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน | ๕๕ ๕๕ ๕๖ | |
๕๗ ๖๓ ๖๕ ๖๕ ๖๗ | ||
บทที่ ๔ | แนวทางการบริโภคอาหารตามหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน ในชีวิตประจําวัน | ๖๙ |
๔.๑ หลักโภชนจํากัด ๔.๑.๑ โภชเนมัตตัญญุตา | ๗๐ ๗๐ | |
๔.๑.๒ อาหาเรปฏิกูลสัญญา ๔.๑.๓ แนวทางปฏิบัติตามหลักโภชนจํากัด ๔.๒ หลักโภชนปฏิบัติ ๔.๒.๑ พุทธวิธีในการบริโภค ๔.๒.๒ โภชนปฏิสังยุต ๔.๒.๓ แนวทางปฏิบัติตามหลักโภชนปฏิบัติ ๔.๓ หลักโภชนเภสัช ๔.๓.๑ การกินอย่างมีสติ ๔.๓.๒ การกินเพื่อสุขภาพ ๔.๓.๓ แนวทางปฏิบัติตามลักโภชนเภสัช | ๗๒ | |
๗๔ | ||
๗๕ | ||
๗๕ | ||
๗๗ | ||
๗๘ | ||
๗๙ | ||
๗๙ | ||
๘๐ | ||
๘๑ | ||
บทที่ ๕ | สรุปผลการวิจัย และข้อเสนอแนะ | ๘๕ |
๕.๑ สรุปผลการวิจัย ๕.๑.๑ แนวคิดเกี่ยวกับการบริโภคอาหารในพระพุทธศาสนา ๕.๑.๒ แนวทางการบริโภคอาหารตามหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญา กรรมฐาน ๕.๑.๓ แนวทางการบริโภคอาหารตามหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญา กรรมฐานในชีวิตประจําวัน | ๘๕ ๘๖ ๘๗ | |
๘๗ | ||
๕.๒ ข้อเสนอแนะ ๕.๒.๑ ข้อเสนอแนะทั่วไป ๕.๒.๒ ข้อเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งต่อไป | ๘๙ ๘๙ ๙๐ |
บรรณานุกรม | ๙๑ |
xxxxxxxxxxxxxxx | 00 |
xxxxxxxxxxxxx
เรื่อง หน้า
แผนภูมิที่ ๔.๑ รูปแบบการประยุกต์หลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน ๖๙
xxxอธิบำยสัญลักษณ์และxxxย่อ
การใช้หมายเลขอ้างอิงพระไตรปิฎกภาษาบาลี xxxxxxเล่ม / ข้อที่ / หน้า หลังคําย่อชื่อxxxxxxx ตัวอย่างxxxx วิ.ม. (บาลี) ๔/๓๓/๒๘. หมายถึง วินยปิฏก มหาวคฺคปาลิ เล่ม ๔ ข้อ ๓๓ หน้า ๒๘ ฉบับ สฺยามรฎฺเ ปิฏกํ ๒๕๒๕.
การใช้หมายเลขอ้างอิงพระไตรปิฎกภาษาไทย xxxxxxเล่ม / ข้อที่ / หน้า หลังคําย่อชื่อxxxxxxx ตัวอย่างxxxx ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๓๗/๑๙๔. หมายถึง ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค เล่ม ๑๑ ข้อ ๒๓๗ หน้า
๑๙๔ ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙. ในการอ้างอิงxxxxกา xxxxxxเล่ม / ข้อที่ / หน้า xxxx ที.สี.อ. (บาลี) ๑/๒๗๕/๒๓๙. หมายถึง ทีฆนิกาย สุมงฺคลxxxxxxxx สีลขนฺธวคฺคอฏฺ กถา. มหามกุฏราช วิทยาลัย
พระxxxxxปิฎก | ||||
วิ.มหา. | (ไทย) | = | xxxxxปิฎก ภิกขุวิภังค์ | (ภาษาไทย) |
วิ.ม. | (ไทย) | = | xxxxxปิฎก มหาวรรค | (ภาษาไทย) |
ที.สี. | (ไทย) | = | พระสุตตันตปิฎก สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค | (ภาษาไทย) |
ที.ม. | (ไทย) | = | สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค | (ภาษาไทย) |
ที.ปา. | (ไทย) | = | สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค | (ภาษาไทย) |
ม.ม. | (ไทย) | = | สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ | (ภาษาไทย) |
สํ.ส. | (ไทย) | = | สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค | (ภาษาไทย) |
สํ.นิ. | (ไทย) | = | สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค | (ภาษาไทย) |
สํ.สฬา. | (ไทย) | = | สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค | (ภาษาไทย) |
สํ.ม. | (ไทย) | = | สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค | (ภาษาไทย) |
องฺ.ติก. | (ไทย) | = | สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต | (ภาษาไทย) |
องฺ.จตุกก. | (บาลี) | = | สุตฺตนฺตปิฏก องฺคุตฺตรนิกาย จตุกฺกนิปาต | (ภาษาบาลี) |
องฺ.จตุกก. | (ไทย) | = | สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต | (ภาษาไทย) |
องฺ.ปญฺจก. | (ไทย) | = | สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย xxxxxนิบาต | (ภาษาไทย) |
องฺ.สตฺตก. | (ไทย) | = | สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตกนิบาต | (ภาษาไทย) |
องฺ.อฏฺฐก. | (ไทย) | = | สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย อัฏฐกนิบาต | (ภาษาไทย) |
องฺ.xxx. | (ไทย) | = | สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย xxxนิบาต | (ภาษาไทย) |
องฺ.ทสก. | (ไทย) | = | สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสกนิบาต | (ภาษาไทย) |
ขุ.ธ. | (ไทย) | = | สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ธรรมบท | (ภาษาไทย) |
ขุ.อุ. | (ไทย) | = | สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย xxxxx | (ภาษาไทย) |
ขุ.เถร. | (ไทย) | = | สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา | (ภาษาไทย) |
ขุ.ม. ขุ.อป. | (ไทย) (ไทย) | = = | สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทศ สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน | (ภาษาไทย) (ภาษาไทย) |
อภิ.วิ. | (บาลี) | = | พระอภิธรรมปิฎก อภิธมฺมปิฎก วิภงฺคปาลิ | (ภาษาบาลี) |
อภิ.วิ. | (ไทย) | = | อภิธรรมปิฎก วิภังค์ | (ภาษาไทย) |
การใช้xxxxxย่อxxxxxxxอรรถกถา xxxxxxxxxxxxx/ลําดับเล่ม/ข้อ/หน้า xxxx ที.สี.อ. (บาลี) ๑/
๒๗๖/๒๔๐ หมายถึง ทีฆนิกาย สุมงฺคลxxxxxxxx สีลกฺขนฺธวคฺคอฏฺฐกถา ภาษาบาลี เล่ม ๑ ข้อ ๒๗๖ หน้า
๒๔๐ การอ้างอิงอรรถกถาภาษาไทย xxxxxxตัวเลขประจําเล่มอรรถกถาภาษาไทย ฉบับมหามกุฏราช วิทยาลัย xxxx ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑/๒/๒/๘๙ หมายถึง พระสูตรและอรรถกถาแปล ขุททกนิกาย ธัมมบท เล่มที่ ๑ ภาคที่ ๒ ตอนที่ ๒ หน้า ๘๙ ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย ๒๕๒๕
xxxxกถำพระสุตตันตปิฎก
ม.มู.อ. (บาลี) | = | มชฺฌิมนิกาย ปปญฺจสูทนี มูลปณฺณาสกอฏฺฐกถา | (ภาษาบาลี) |
ม.มู.อ. (ไทย) | = | มัชฌิมนิกาย ปปัญจสูทนี มูลปัณณาสกอรรถกถา | (ภาษาไทย) |
สํ.นิ.อ. (บาลี) | = | สํยุตฺตนิกาย สารตฺถปฺปกาสินี นิทานวคฺคอฏฺฐกถา | (ภาษาบาลี) |
สํ.นิ.อ. (ไทย) | = | สังยุตตนิกาย สารัตถัปปกาสินี นิทานวรรค อรรถกถา | (ภาษาไทย) |
สํ.สฬา.อ. (บาลี) | = | สํยุตฺตนิกาย สารตฺถปฺปกาสินี สฬายตนวคฺคอฏฺฐกถา | (ภาษาบาลี) |
สํ.สฬา.อ. (ไทย) | = | สังยุตตนิกาย สารัตถัปปกาสินี สฬายตนวรรค อรรถกถา | (ภาษาไทย) |
ขุ.ธ.อ. (ไทย) | = | ขุททกนิกาย ปรมัตถxxxxxx ธัมมปทัฏฐกถา อรรถกถา | (ภาษาไทย) |
ขุ.xx.อ. (ไทย) | = | ขุททกนิกาย สัทธัมมัปปัชxxxxxx xxฬนิทเทสอรรถกถา | (ภาษาไทย) |
xxxxกถำพระอภิธรรมปิฎก
อภิ.สงฺ.อ. (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก อฏฺฐxxxxxx ธมฺมสงฺคณีอฏฺฐกถา (ภาษาบาลี)
บทที่ ๑ บทนํำ
๑.๑ ควำมเป็นมำและควำมสํำคัญของปัญหำ
อาหารมีความสําคัญต่อการดํารงชีวิตของมนุษย์ ทําให้ร่างกายเจริญเติบโต xxxxxxx xxxxxxxxxxภูมิต้านทานโรค การจะมีชีวิตได้จําเป็นอย่างยิ่งที่ต้องได้รับอาหาร พระพุทธเจ้าตรัสว่า “สรรพสัตว์เป็นอยู่ได้ด้วยอาหารe คนxxxxxxได้รับประทานอาหารย่อมเกิดความหิวกระหาย จัดเป็นโรค อย่างหนึ่งในพระพุทธศาสนา ดังความว่า “ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง”ъ เพราะต้องxxxxxxxxxxxxxxxx ตลอดเวลาด้วยอาหาร อาหารจึงมีความสําคัญกับสิ่งมีชีวิตเป็นอย่างยิ่ง ดังจะพบว่า ปัจจัย ๔ ที่ทําให้ มนุษย์ดํารงชีวิตอยู่ได้นั้นxxxxxxxเป็น e ในปัจจัย ๔ นั้นด้วย ได้แก่ e) อาหาร ъ) เครื่องนุ่งห่ม
๓) ที่อยู่อาศัย และ ๔) ยารักษาโรค๓
ในพุทธศาสนาอาหาร คือ สภาพซึ่งนํากําลังมาให้อาหารนั้น มี ๔ อย่าง คือ e. กวฬิงการา หาร อาหารที่ทําเป็นคําๆ ъ. ผัสสาอาหาร อาหารคือxxxxx ๓. xxxxxxxxxxxหาร อาหารคือxxx xxxxxxxx และ ๔. xxxxxณาหาร อาหารคือวิญญาณ อาหารทั้ง ๔ อย่างนี้มีความจําเป็นต่อมนุษย์ โดยเฉพสะกวฬิงการาหาร ดังที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย xxxxxxดํารงอยู่ได้ด้วยอาหาร อาศัยอาหารจึงดํารงอยู่ได้ ขาดอาหารก็ดํารงอยู่xxxxxx”๔ ในพระไตรปิฎกได้กล่าวถึงประโยชน์ของ อาหารว่าเป็นยารักษาโรค xxxx น้ําข้าวใส น้ําต้มถั่วเขียว โดยเฉพาะข้าวยาคู ได้อธิบายถึง คุณประโยชน์xxxxxxทําให้หายจากโรค ช่วยxxxxxxความหิว xxxxxxความกระหาย ทําให้ลมเดิน xxxxx ชําระลําไส้ และชําระลําไส้ได้&
การบริโภคอาหารxxxxxมีประโยชน์ก็จะส่งผลดีให้กับร่างกายทําให้ร่างกายแข็งแรง สามารทํา เนินชีวิตไปได้อย่างxxxxxxxxx หากบริโภคอาหารที่xxxxx ไม่มีประโยชน์ อาหารให้โทษหรือบริโภค อาหารไม่ถูกหลัก ก็จะทําให้เกิดโรคตามมาในที่สุด ดังในกรณีของพระเจ้าปเสนทิxxxxเสวยxxx xxxxxxxxxxxหุงด้วยข้าวทะนานหนึ่ง แล้วทรงxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxไปมาด้วยความเป็น xxxxx xxxทรงเสด็จไปหาพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าทรงเตือนว่า “มนุษย์ควรมีสติอยู่ทุกเมื่อ รู้จักประมาณในxxxxxxxxxxxแล้ว ย่อมีxxxxxxxxxxx เขาย่อมแก่ช้า อายุยั่งยืน” พระเจ้าปเสนนิxxxx
e องฺ.ทสก. (ไทย) ъ๔/ъ๗/๖e.
ъ ขุ.ธ. (ไทย) ъ&/ъ๐๓/๙&.
๓ ดูรายละเอียดใน xxxxxxx ไชยอําพร และxxxxxxxxxx รุ่งxxxxxxxx, แนวคิดว่าด้วยเรื่องอาหาร...ความท้า ทายนโยบายด้านอาหารมนุษย์ของรัฐ, วำรสำรพัฒนำสังคม, ปีที่ e๖ ฉบับที่ ъ, (ъ&&๗): e๐&.
๔ สํ.ม. (ไทย) e๙/e๘๓/ee๐.
& วิ.ม. (ไทย) &/ъ๘ъ/๘๙.
ได้ทําตามคํากล่าวของพระพุทธเจ้า คือ เสวยแต่พอเหมาะ ต่อมาพระองค์ทรงมีxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxขึ้น๖ ในอรรถกถา สุกชาดก ได้กล่าวถึง พระภิกษุรูปหนึ่งฉันภัตตาหารมากเกินไป จนถึงแก่มรณภาพ พระพุทธเจ้าจึงตรัสพระคาถาเกี่ยวกับหลักการบริโภคอาหารว่า
ภิกษุจะบริโภคของสดหรือของแห้งก็ตาม ไม่ควรให้อิ่มเกินไป ควรเป็นผู้มีท้องพร่องและ รู้จักประมาณในอาหาร ควรมีสติพึงเลิกฉันในเมื่อ เหลืออีก ๔ - & คําก็จะอิ่ม แต่ให้พึงดื่มน้ํา เข้าไปแทน แค่นี้ก็เป็นการเพียงพอแล้วเพื่อจะให้อยู่อย่างxxxxx สําหรับภิกษุผู้มีxxxxxxxxxxx xxxxxของภิกษุนั้นผู้เป็นมนุษย์ มีสติกํากับอยู่ทุกเวลา ผู้ได้อาหารแล้วรู้จักประมาณในการกิน ย่อมเป็นxxxxxxxxเบา อาหารที่บริโภคย่อมค่อยๆ ย่อยไป เลี้ยงอายุ๗
จะเห็นได้ในพระพุทธศาสนามีหลักการในการบริโภคอาหารที่มุ่งประโยชน์แก่การดํารงอยู่ ของxxxxxx คือ พิจารณาโดยxxxxxxแล้วจึงบริโภคอาหาร ไม่บริโภคอาหารเพื่อxxxxxx xxxบริโภค เพื่อความตกแต่ง ไม่บริโภคเพื่อประดับ แต่บริโภคอาหารเพื่อให้ร่างกายนี้ดํารงอยู่ เพื่อให้ร่างกายนี้ ดําเนินไปได้ เพื่อระงับความลําบาก เพื่ออนุเคราะห์พรหมจรรย์อย่างเดียวเท่านั้น เพื่อบําบัดxxxxx xxxxคือความหิว ไม่ให้xxxxxใหม่เกิดขึ้นในการดําเนินชีวิต๘ ดังxxxxxxxxxxxxxxทรงแสดงวิธีบริโภค ภัตตาหารของพระองค์เองว่า พระโคดมนั้นเสวยพระกระยาหารประกอบด้วยองค์ ๘ ประการ คือ
e) ไม่เสวยเพื่อxxxx ъ) ไม่เสวยเพื่อมัวเมา
๓) ไม่เสวยเพื่อประดับ
๔) ไม่เสวยเพื่อตกแต่ง
&) เสวยเพื่อดํารงxxxxxxxxxxxไว้
๖) เสวยเพื่อยังพระชนม์ให้เป็นไปได้
๗) เสวยเพื่อป้องกันความลําบาก
๘) เสวยเพื่อทรงอนุเคราะห์พรหมจรรย์
ด้วยxxxxxxดําริว่า “เพียงเท่านี้ก็จักกําจัดxxxxxxxxx จักไม่ให้xxxxxใหม่เกิดขึ้น ร่างกายของเราจักดําเนินไปสะดวก ไม่มีโทษ และอยู่สําราญ”๙
นอกจากหลักการบริโภคอาหารดังกล่าวนี้แล้ว ในพระพุทธศาสนายังได้นําอาหารมาxxx xxxxxกรรมฐาน เป็นหนึ่งในกรรมฐาน ๔๐ ประการe๐ คือ อาหาเรปฏิกูลสัญญา คือ กําหนด หมายความปฏิกูลในอาหาร โดยสําคัญหมายอาหารว่าเป็นของปฏิกูลพิจารณาให้เห็นว่าเป็นxxxxxx
๖ สํ.ส. (ไทย) e&/eъ๔/e๔&-e๔๖.
๗ ขุ.ชา.อ. (ไทย) ๓/๔/๔๔.
๘ ขุ.ม. (ไทย) ъ๙/e๙๙/&๘๔
๙ ม.ม. (ไทย) e๓/๓๗๘/๔๗๙-๔๘๐.
e๐ กรรมฐาน ๔๐ ประกอบด้วย xxxx e๐ อสุภ e๐ อนุสสติ e๐ พรหมวิหาร ๔ xxx ๔ อาหาเรปฏิกูล สัญญา e และ จตุธาตุววัฏฐาน e
เกลียดโดยอาการต่างๆ xxxx ปฏิกูลโดยบริโภค โดยประเทศที่อยู่ของอาหาร โดยสั่งสมอยู่นาน เป็นต้นee
อาหารจึงเป็นสิ่งสําคัญสําหรับสรรพสัตว์ ทําให้มีชีวิตอยู่ต่อไปได้ ทําให้ร่างกายแข็งแรง มีกําลังที่จะใช้ชีวิตอยู่ต่อได้ แต่การบริโภคก็ควรคํานึงถึงอาหารก่อนว่าอาหารนั้นมีประโยชน์กับ ร่างกายหรือให้โทษกับร่างกาย หลักการบริโภคอาหารในทางพระพุทธศาสนาจึงเป็นเรื่องxxxxxสนใจต่อ การศึกษา นอกจากนี้แล้วการนําอาหารมาเป็นอุปกรณ์ในการเจริญกรรมฐาน แม้จะเป็นxxxกรรมฐาน แต่ก็xxxxxxมีความสําคัญxxxxxxxxxองค์ธรรมไปวิปัสสนาได้
ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับอาหาร และการปฏิบัติธรรมที่อาศัย การพิจารณาอาหารเป็นxxxxxxxxxเรียกว่า อาหาเรปฏิกูลสัญญาในพระพุทธศาสนา เพื่อให้xxxxxx นํามาใช้ประยุกต์กับการบริโภคอาหารในชีวิตประจําวันต่อไป
๑.๒ xxxถำมวิจัย
e.ъ.e แนวคิดเกี่ยวกับการบริโภคอาหารในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างไร
e.ъ.ъ แนวทางการบริโภคอาหารตามหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐานมีลักษณะเป็น
อย่างไร
e.ъ.๓ แนวทางการประยุกต์ใช้หลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐานเพื่อการบริโภคอาหาร
ในชีวิตประจําวันเป็นอย่างไร
๑.๓ วัตถุประสงค์xxxxxรวิจัย
e.๓.e เพื่อศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการบริโภคอาหารในพระพุทธศาสนา
e.๓.ъ เพื่อศึกษาแนวทางการบริโภคอาหารตามหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน e.๓.๓ เพื่อวิเคราะห์แนวทางการบริโภคอาหารตามหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐานใน
ชีวิตประจําวัน
๑.๔ ขอบเขตกำรวิจัย
ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) โดยทําการรวบรวมข้อมูลชั้นxxxxxxx (Primary Sources) จากพระไตรปิฎก อรรถกถา xxxxxวิเสส และรวบรวมข้อมูลชั้นทุติยภูมิ (Secondary Sources) จากหนังสือ ตํารา เอกสารทาง วิชาการ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งในภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ โดยมีขอบเขตการทําวิจัย ดังต่อไปนี้
ee พระพรหมxxxxxxxx (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนำนุกรมพุทธศำสตร์ ฉบับxxxxxxศัพท์ , (กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก, ъ&&๔), หน้า &๖๐.
๑.๔.๑ ขอบเขตด้ำนข้อมูล
ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากเอกสารชั้นต้น (Primary Sources) คือ พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ.ъ&๓๙ และจากเอกสารชั้นรอง (Primary Sources) ได้แก่ อรรถกถา xxxx อนุxxxx และxxxxxวิเศษต่างๆ ตลอดจนงานเขียนของนักวิชาการทางพระพุทธศาสนา และนักการศึกษา ข้อมูลจากฐานข้อมูลสําเร็จรูป (CD ROM) เครือข่ายสารสนเทศ (Internet) สารานุกรม (Encyclopedia) xxxxxxxและตําราทางพระพุทธศาสนาที่กล่าวถึงเรื่องแนวคิดการบริโภค อาหารที่ปรากฏในพระพุทธศาสนา
๑.๔.๒ ขอบเขตด้ำนเนื้อหำ
- แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริโภคอาหารในพระพุทธศาสนา
- คําxxxxxxxxxอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน
- แนวทางการประยุกต์หลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐานในชีวิตประจําวัน
๑.๕ นิยำมศัพท์เฉxxxxxxใช้ในกำรวิจัย
อำหำร หมายถึง อาหารที่ใช้บริโภค ใช้ดื่ม ใช้เคี้ยว และxxxxxxx
กำรประยุกต์ หมายxxx xxxนําหลักคําสอนเกี่ยวกับเรื่องอาหาเรปฏิกูลสัญญาxxxxxxxxxx ปรากฏในพระพุทธศาสนาให้เข้ากับการวิถีการดํารงชีวิตประจําวัน
อำหำเรปฏิกูลสัญญำกรรมฐำน หมายถึง กรรมฐานอย่างหนึ่งในกรรมฐาน ๔๐ ที่มุ่งxxx xxxxxxการพิจารณาถึงความเป็นxxxxxxเกลียดของอาหารเพื่อไม่ให้เกิดความยึดติดในรสชาติและความ อร่อยของอาหาร
หลักกำรบริโภคอำหำรเชิงพุทธ หมายถึง หลักการบริโภคอาหารที่ประยุกต์มาจากหลักคํา
สอนในพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับการบริโภคอาหาร
๑.๖ ทบทวนเอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
จากการศึกษาค้นคว้าเอกสารทางพระพุทธศาสนาและงานวิจัยโดยตรงเกี่ยวกับกรรมฐาน และxxxxxxxxxxเกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ปรากฏในพระพุทธศาสนา พอสรุปได้ดังต่อไป
๑.๖.๑ หนังสือ
พระพรหมxxxxxxxx (ป.อ. ปยุตฺโต) ได้กล่าวไว้ในหนังสือ พุทธธรรม ว่าxxxxxxxxxxxxxนั้น จะต้องเป็นทักขิไณยที่แท้ คือ ทรงไว้xxxxxxxxxxxความดีงามที่ทาให้เป็นxxxxxxxxxxxxx ผู้ใดxxxxxxเป็น xxxxxxxxxxxxxแท้จริง ท่านxxxxxxยังไม่มีxxxxxxxxxxxxที่จะรับทักขิณาของชาวโลกมาบริโภค xxxx ภิกษุ สามเณรแม้จะมีความxxxxxxxxxงาม เป็นxxxxxxxx และตั้งใจปฏิบัติธรรม แต่ตราบใดที่ยังเป็นปุถุชนอยู่ การที่ภิกษุสามเณรนั้นรับอาหารบิณฑบาตของชาวบ้านมาฉันท่านxxxxxxเป็นการบริโภคอย่างเป็นหนี้
คือ เป็นหนี้ต่อชาวโลก ควรจะเร่งxxxxxxxxxxหนี้เสีย ด้วยความใส่ใจปฏิบัติธรรมให้xxxxxความเป็น xxxxxxxxxxxxxeъ
พระโพธิญาณเถร (หลวงปู่ชา xxxทฺโท) ได้กล่าวเอาไว้ในหนังสือ ๔๘ พระธรรมเทศนาพระ โพธิญาณเถร ว่าเมื่อหยิบจีวรขึ้นxxxxxxก็ต้องให้พิจารณา เมื่อฉันอาหารบิณฑบาตก็ต้องพิจารณา เสนาสนะที่อยู่อาศัยท่านก็ให้พิจารณา ยาบําxxxxxxท่านก็ให้พิจารณา ทําไมท่านจึงให้พิจารณา อะไร มันเป็นเหตุให้มีความกําหนัดย้อมใจขึ้น ให้เราโลภ ให้เรากําหนัด ให้เราโกรธ ย้อมใจเราสารพัดอย่าง อันนี้เราก็ต้องระวัง มันต้องระวังe๓
xxxxxxxxxxคลาจารย์ (xxxxxนันทภิกขุ) ได้กล่าวไว้ในหนังสือ xxxxxxxxxxxxxx มรดก ธรรม xxxxxxxxxxคลาจารย์ว่ารู้จักประมาณในการกิน การนุ่งห่ม การประกอบกิจการงานทุกอย่าง ต้องมีความประมาณ พระพุทธเจ้าท่านตรัสว่า มตฺตญฺญุตา สทา สาธุ ความรู้จักประมาณคือ xxxx xxx xxxxxxxxให้สําเร็จe๔
พระเทพสีxxxxxx (xxxxx นิรุตฺติxxxx) ได้กล่าวเอาไว้ในหนังสือ ธรรมปริทัศน์ ๔e ว่า พระภิกษุสามเณรจะต้องมีการฝึกหัดเจริญสติด้วยการพิจารณาปัจจัย ๔ ใน ๓ เวลา คือ ธาตุปฏิกูล ปัจจเวกขณะ พิจารณาปัจจัย ๔ โดยความเป็นธาตุในเวลารับ คือ เวลาxxxxxxปัจจัย ๔ xxxxxx, ตังขณิก ปัจจเวกขณะ พิจารณาปัจจัย ๔ ในขณะบริโภคคือใช้สอย และ อตีตปัจจเวกขณะ พิจารณาxxxxxใน ภายหลัง หลังจากxxxxxxได้พิจารณาในเวลารับe&
พระมหาโพธิวงศาจารย์ ได้กล่าวเอาไว้ในหนังสือ การบําxxxxxxxxสุขภาพสําหรับบรรพชิต ว่า “xxxxx” หรือ “โภชนัง” ตามxxxxxxปรากฏในพระไตรปิฎก ซึ่งพระพรหมxxxxxxxx (ป.อ.ปยุตฺโต) อธิบายไว้ในพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับxxxxxxศัพท์ว่าหมายถึง ของฉัน หรือของกิน & อย่าง ได้แก่ ข้าวสุก ขนมสด ขนมแห้ง ปลา เนื้อ นั้น นับเป็น e ในปัจจัย ๔ ในการดํารงชีวิตของมนุษย์เนื่องจาก การรับประทานอาหารให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ เป็นการสร้างความxxxxxให้แก่ร่างกายมนุษย์จึง ควรได้รับอาหารที่มีสารอาหารและปริมาณอย่างxxxxxxx xxxxเดียวกันกับพระภิกษุและสามเณรการ ฉันอาหารอย่างเหมาะสม ถือเป็นหนึ่งในxxxxxxxxxxxxxxมีความสําคัญยิ่งมาแต่สมัยพุทธกาล ดังปรากฏ ความในพุทธxxxxแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เรื่องทรงฉันอาหารวันหนึ่งหนเดียวแก่ภิกษุ ทั้งหลายแสดงให้เห็นxxxxxxดูแลร่างกายด้วยอาหาร เพื่อประโยชน์ในการเจริญสัมมาสติ เจริญ วิปัสสนาxxxxxให้ถึงความxxxxxxxxxxxxxxxxจากกองทุกข์สิ้นเชิง
eъ พระพรหมxxxxxxxx (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรมฉบับปรับปรุงและขยำยควำม, พิมพ์ครั้งที่ ee, (กรุงเทพมหานคร: โรงxxxxxxxxจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ъ&&ъ).
e๓ พระโพธิญาณเถร (ชา xxxทฺโท), ๔๘ xxxxxxxxxxนํำพระโพธิxxxเถร (หลวงปู่ชำ xxxทฺโท),
xxxxxxxxxxที่ ๔, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เม็ดทราย, ъ&๔๘).
e๔ xxxxxxxxxxคลาจารย์ (xxxxxxxxxxxxxx), xxxxxxxxxxxxxx มรดกธรรม xxxxxxxxxxคลำ จำรย์, (กรุงเทพมหานคร: สถาบันxxxxxxธรรม, ъ&&๐).
e& พระเทพสีxxxxxx (xxxxx นิรุตฺติxxxx), xxxxxxxxxxxx 00, (กรุงเทพมหานคร: โรงxxxxxxxxจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย, ъ&๔e).
xxxxxxxx xxxxxxxxxxxxx ได้อธิบายถึงอาหารเพื่อสุขภาพแนวพุทธโดยสรุปว่าในปัจจุบัน ถึงแมผู้คนจะเจริญแล้วด้วยวิทยาการจาการศึกษาและเทคโนโลยีแขนงต่างๆ มากมาย แต่ผู้คนจํานวน มากยังตกเป็นทาสของการกนอาหารด้วยกิเลส ซึ่งการกินดังกล่าวนี้ เป็นการกินที่ขาดการกลั่นกรอง จนเป็นเหตุให้เกิดความทุกข์ต่างๆ การเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากพฤติกรรมการบริโภคxxxxxxเหมาะสม เนื่องด้วยคนเราจําเป็นต้องบริโภคอาหารทุกวันตั้งแต่เกิดจนกระทั่งถึงวันสุดท้ายของชีวิต การฝึกฝน การกินอาหารด้วยxxxxxxxxถูกต้องตามxxxxxxxxของพระพุทธเจ้า โดยการคํานึงถึงชนิดของอาหาร การ กินอย่างมีสติเพื่อสุขภาพ ด้วยจุดมุ่งหมายให้ร่างกายxxxได้พ้นจากสภาวะความทุกข์ทรมานและการ เกิดโรคภัยไข้เจ็บจากการบริโภคอาหารxxxxxxถูกต้อง โดยมุ่งกระทําตนเองให้ดีเสียก่อน เมื่อดูแลตนเอง xxxxxxxxx ก็xxxxxxทําความดีงามทั้งต่อตนเองและผู้อื่นได้ นอกจากนี้การกินอย่างถูกต้องจะมีผลต่อ สุขภาพทางxxxแลว ยังมีผลxxxxxxxxxxจิตและxxxxxxxx จึงตระหนักว่าชีวิตเรานั้นต้องการสิ่งที่เรียกว่า “คุณค่าแท้” ยิ่งกว่า “คุณค่าเทียม” เพื่อให้xxxxxว่าเราพึงกินอาหารโดยมุ่งคุณค่าเป็นสําคัญ อย่าได้ กินตามใจกิเลส เวลากินอาหารเราจึงไม่พึงบํารุงเลี้ยงแต่ร่างกาย ด้วยการตระหนักรู้ในการบริโภค อาหารที่มีประโยชน์ต่อชีวิตและสุขภาพ โดยมีท่าทีต่อการบริโภคอย่างเหมาะสม โดยกินอย่างมีสติ ตามหลักของทางxxxxxxx ด้วยการประมาณในการกิน การกินอย่างมีสมาธิโดยมิได้มุ่งxxxxประโยชน เพียงทางร่างกายแต่เพียงเท่านั้น หากเราควรบํารุงเลี้ยงจิตใจด้วยบ่มเพาะxxxxxให้เกิดขึ้นแกจิตใจ ให้ เห็นคุณค่าที่แท้จริงของอาหาร ในทางพระพุทธศาสนาจึงxxxxxxการกินอาหารเป็นการปฏิบัติธรรม อย่างหนึ่งe๖
๑.๖.๒ งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ยุรธร จีนา และคณะ ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง “ศึกษาพุทธโภชนาการ: การรับประทานอาหาร เพื่อสุขภาพตามแนวทางของพระพุทธศาสนา” ผลการวิจัยพบว่า อาหารในทัศนะของพระพุทธศาสนา ได้แก่ อาหาร ๔ คือ e) กวฬิงการาหาร ъ) xxxxxxxx ๓) xxxสัญเจรxxxxx ๔) xxxxxณาหาร ในประเด็นของการบริโภคอาหารในพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าทรงบริโภคอาหาร โดยเป็น แบบอย่างxxxxxของการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพxxx และสุขภาพใจ ตลอดจนได้xxxxxxxพระxxxxxเพื่อ เป็นแนวทางการปฏิบัติในการบริโภคอาหารของเหล่าภิกษุสงฆ์
xxxxxxxxที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคอาหาร ได้แก่
e) หลักโภชเนมัตตัญญุตา คือ รู้จักพอประมาณในการบริโภคอาหาร ъ) xxxxxxxxพิจารณาอาหาร ๓ ได้แก่
e.e) xาตุปัจจเวกขณ์ การพิจารณาก่อนบริโภคอาหาร
e.ъ) ตังขณิกปัจจเวกขณ์ การพิจารณาขณะที่รับประทานอาหาร e.๓) อดีตปัจจเวกขณ์ การพิจารณาหลังการบริโภคอาหาร
e๖ xxxxxxxx xxxxxxxxxxxxx, “การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพแนวพุทธ”, วำรสำรxxxxxxศำสน์ มมร., ปีที่ e๓ ฉบับที่ ъ (กรกฎาคม-ธันวาคม ъ&&๘): ъ๔-๓&.
e.๔) หลักโภชนสัปปายะ โดยพิจารณาอาหารที่เอื้อต่อการอยู่ดีมีสุข ถูกกับสภาพ ร่างกาย มีความเพียงพอ ถูกสุขลักษณะ ไม่ลําบาก อนุเคราะห์ต่อการประพฤติพรหมจรรย์ และมี ความxxxxในอาหารที่บริโภคe๗
พระxxxxx อุตฺตโร (xxxxxxxx) ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง “ศึกษาเชิงวิเคราะห์การบริโภคปัจจัย ๔ เพื่อสนับสนุนการการxxxxxธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท” จากการศึกษาพบว่า การบริโภคปัจจัย
๔ ในพระพุทธศาสนาหมายxxxxxxใช้สอยจีวร การกิน การดื่ม อาหารบิณฑบาต ใช้สอยที่อาศัย เสนาสนะ และการใช้ยารักษาโรคซึ่งอยู่หลักของพระธรรมxxxxx เพื่อxxxxความต้องการพื้นฐานของผู้ ที่ดํารงชีวิตพรหมจรรย์ คือ ไม่เป็นไปเพื่อxxxxกิเลสตัณหา มีความสันโดษ และxxxxxxxxxxxx
การบริโภคปัจจัย ๔ เพื่อสนับสนุนการxxxxxธรรม พอสรุปได้ ดังนี้
e) เมื่อได้รับปัจจัย ๔ มาก็พิจารณาโดยความเป็นธาตุเท่านั้น ขณะบริโภคใช้สอยก็ พิจารณาใช้สอยอย่างมีสติ รู้คุณค่าแท้ของปัจจัยนั้น และพิจารณาถึงความจําเป็นในการใช้สอย การ บริโภคเหล่านี้เพื่อไม่ให้เกิดความประมาท
ъ) การบริโภคอาหารxxxxxxจากบิณฑบาตควรใช้หลักโภชเนมัตตัญญุตา เลือกxxxxx สัปปายะ และใช้หลักการเจริญกรรมฐานมาใช้กับการบริโภคอาหาร คือ อาหาเรปฏิกูลสัญญา
๓) การบริโภคเสนาสนะควรพิจารณาเลือกเสนาสนะ
๔) การบริโภคคิลานเภสัช โดยใช้ควบคู่กับการใช้ธรรมโอสถe๘
xxxxxxx xxxxxxxxxx ได้ทําการ “ศึกษาการรับรู้หลักโภชนาการในพระพุทธศาสนา: กรณีศึกษาชาวพุทธที่เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร” จากการศึกษา พบว่า หลักโภชนาการในพระพุทธศาสนา คือ
e) หลักโภชเนมัตตัญญุตา การรู้จักประมาณในการบริโภคทั้งปริมาณและประเภทอาหาร โดยพิจารณาถึงคุณค่าที่แท้จริงของอาหาร
ъ) หลักอาหารสัปปายะ พิจารณาอาหารที่เอื้อต่อความเป็นอยู่ ถูกกับร่างกาย เพียงพอ เหมาะสม ถูกสุขลักษณะ ไม่ลําบาก และอนุเคราะห์ต่อพรหมจรรย์
หลักโภชนาการในพระพุทธศาสนามีความสอดคล้องกับหลักโภชนาการทางการแพทย์ที่ เน้นให้บริโภคเพื่อxxxxxxxxการเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอและเพื่อความเป็นxxxxของร่างกาย สอดคล้องกับหลักการแพทย์แผนไทยที่เน้นให้ผู้บริโภคเน้นการบริโภคอาหารให้เข้ากับธาตุ เพื่อเป็น
e๗ ยุรธร จีนา และคณะ, “ศึกษาพุทธโภชนาการ: การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพตามแนวทางของ พระพุทธศาสนา”, รำยงำนวิจัย, (โครงการวิจัยทุนสนับสนุนงานวิจัย งบประมาณแผ่นดิน, ъ&&๘).
e๘ พระxxxxx อุตฺตโร (xxxxxxxx), “ศึกษาเชิงวิเคราะห์การบริโภคปัจจัย ๔ เพื่อสนับสนุนการการลุธรรม ในพระพุทธศาสนาเถรวาท”, วิทยำxxxxxxพุทธศำสตรมหำxxxxxx สำขำวิชำพระพุทธศำสนำ, (xxxxxxวิยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ъ&&&).
การรักษาxxxxxของร่างกาย และบําxxxxxx สอดคล้องกับการแพทย์ที่เลือกเน้นการบริโภคเพื่อรักษา ความxxxxxแห่งหยินหยาง และสภาพปัจจุบันของผู้บริโภคด้วยe๙
กุลลินี มุทธากสิน ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง “ศึกษาการวิเคราะห์การบริโภคแนวพุทธxxxxxx” จากการศึกษาพบว่า เศรษฐศาสตร์ตามทฤษฎีของนิวตันและเดส์คาร์ตภายใต้xxxxxxประโยชน์xxxx (Utilitariansim) ถือเอามนุษย์เป็นศูนย์กลางของการพิจารณาบนพื้นฐานของการตอบxxxxความ การและxxxxxxxxxxของมนุษย์ xxxxxxxxจึงถูกควบคุมเพื่อนําไปใช้ประโยชน์โดยมนุษย์ โดยถูกการ พัฒนาการผลิตให้มีประสิทธิภาพด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีxxxxxxxxxx เพื่อให้ xxxxxxนําผลผลิตเหล่าxxxxxxตอบxxxxความต้องการของมนุษย์ที่มีอยู่อย่างไม่จํากัดของมนุษย์ได้ อย่างเหมาะสม มนุษย์จึงดิ้นรนแสวงหาความสุขจากวัตถุเหล่านั้น ด้วยการแสวงหา ครอบครอง สะสม และบริโภควัตถุให้อยู่ในปริมาณที่xxxxxสูงขึ้นอยู่ตลอดเวลา ส่งผลให้สังคมในปัจจุบันมีการอยู่ในรูปแบบ ของสังคมนิยมในสมัยใหม่ วัตถุมีคุณค่าในการใช้สอยถูกลดลงคุณค่าที่แท้จริงไป แต่ยังถูกกําหนดให้ เป็นตัวสะท้อนถึงคุณค่าหรือรหัสที่แฝงอยู่ด้วย
ในขณะเดียวกันพุทธxxxxxxภายใต้กระบวนทัศน์องค์รวม เริ่มต้นจากการเข้าถึงxxxxxxxx ของมนุษย์ เข้าใจถึงxxxxxxxxบนหลักของปัจจัย มนุษย์ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งขององค์รวมxxxxxx คํานึงถึงความต้องการอันไม่มีขอบเขตของตนเองเพียงส่วนเดียวได้ การบริโภคในทัศนะนี้จึงมิใช่ กิจกรรมที่เป็นจุดจบสิ้นภายในตัวเอง หากแต่เป็นเครื่องมือที่จะทําให้มนุษย์xxxxxxฝึกฝนและพัฒนา ตนเองให้มีพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดดุลยภาพและxxxxxxxxต่อทั้งสังคมและxxxxxxxx รูปแบบของการ บริโภคจึงคํานึงถึงจุดxxxxxxxxxxxแท้จริงตามxxxxxxxxและขีดจํากัดในการรองรับจากxxxxxxxxรวมถึง เป็นรูปแบบที่xxxxxxxxxxxxส่วนเกินออกไปให้กับมนุษย์ในสังคมxxxxxxxxxxได้อย่างพอเพียง การ บริโภคในบริบทของพุทธxxxxxxxxxถือเป็นรูปแบบทางเลือกหนึ่งของมนุษย์ในการก้าวออกไปจากวิถี การเดิมๆ กระตุ้นให้xxxxxxxคํานึงถึงxxxxxขั้นพื้นฐานของมนุษย์ทุกคนในการตอบxxxxขั้นพื้นฐานใน การดํารงอยู่ทั้งทางวัตถุและจิตใจ การจัดสรรทรัพยากรและความxxxxxxxxเหมาะสมแก่การดํารงชีวิต อยู่อย่างxxxxxปราศจากความกดดันและความครอบxxxxxxแฝงอยู่ มนุษย์จึงจะxxxxxxเข้ามากําหนด ชะตากรรมและวิถีของตนเองได้อย่างแท้จริงъ๐
xxxxxxxx ฐิตxxxโส และคณะ ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง “ศึกษาหลักพุทธธรรมในการxxxxxxxx พฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร” จากการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุมี ความเชื่อคล้อยตามคําxxxxxxx คําโฆษณาประชาสัมพันธ์ และคําชักชวนจากคนรู้จักให้ทดลองสินค้า เพื่อxxx xxการซื้อสินค้า สมัครสมาชิก เสียค่าใช้จ่ายxxxxxxพอxxxxx ส่วนพฤติกรรมการรับประทาน อาหารเป็นการบริโภคตามความxxxxxxxxxติดตัวมาตั้งแต่เกิดจนชรา เคยกินอย่างไรก็กินอย่างนั้น แต่ก็ มีความรู้ในการจัดสรรรสจืดเพื่อสุขภาพ แต่ก็อดที่จะงดกินอาหารรสจัดxxxxxxทําให้ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มี
e๙ xxxxxxx xxxxxxxxxx, “ศึกษาการรับรู้หลักโภชนาการในพระพุทธศาสนา: กรณีศึกษาชาวพุทธที่เข้า ร่วมกิจกรรมทางศาสนาในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร” วิทยำxxxxxxพุทธศำสมหำxxxxxx สำขำวิชำ พระพุทธศำสนำ, (xxxxxxวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ъ&&&).
ъ๐ กุลลินี มุทธากสิน, “ศึกษาการวิเคราะห์การบริโภคแนวพุทธxxxxxx”, วิทยำxxxxxxเศรษฐศำสตร มหำxxxxxx สำขำวิชำเศรษฐศำสตร์, (xxxxxxวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ъ&๓๙).
นิสัยชอบริโภคอาหารตามใจปาก เพราะอาหารจืด มีรสชาติไม่อร่อย เหมือนอาหารโรงพยาบาลเทให้ สุนัข สุนัขยังไม่รับประทาน แต่อาหารรสจัดนั้นอร่อย ถึงแม้จะมีความชอบอาหารรสจัดแต่ก็มีความรู้ เกี่ยวกับการเลือกอาหาร คือ รู้ว่าเนื้อถ้าผู้สูงอายุบริโภคเข้าไปจะมีผลต่อระบบย่อยอาหาร เพราะ เนื้อมันย่อยยาก อาจทําให้ผู้สูงอายุท้องผูก อัดอัดแน่นท้องได้ แต่ก็ยังมีพฤติกรรมชอบอาหารประเภท สเต็กเนื้อ หมู เป็นต้น
ทางด้านหลักพุทธศาสนายังไม่มีความxxxxxxxxxลึกซึ้ง ส่วนใหญ่รู้จักธรรมะเพื่อนํามาใช้ใน ชีวิตประจําวันบ้างเล็กน้อย ยังเข้าวัดทําxxx xxxxxส่วนxxxxให้เจ้ากรรมนายเวร เข้าวัดฟังเทศน์ ฟังธรรม บวชชีxxxxxxxนุ่งขาวห่มขาว ตามวัดต่างๆ เพื่อความสบายใจ คลายเหงา เพื่อความจรรโลง พระพุทธศาสนาเป็นตัวอย่างให้แก่เยาวชน ดังนั้น xxxxxxxxส่วนใหญ่จะรู้จักแล้วนําไปประยุกต์ใช้กับ การบริโภคอาหารคือ หลักโภชเนมัตตัญญุตา การรู้จักประมาณในการบริโภค ไม่มากเกินไป ไม่น้อย เกินไปจนเป็นโรคกระเพาะ เป็นต้นъe
xxxxxx xxxxxxxมะดัน ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง “ศึกษาxxxกรรมฐานในฐานะเป็นบาทฐานของ วิปัสสนากรรมฐาน” จากการศึกษาพบว่า xxxกรรมฐานในxxxxxxxxxxxxxxxxxx แบ่งออกเป็น ๗ หมวด คือ xxxx e๐ อสุภะ e๐ อนุสสติ e๐ พรหมวิหาร ๔ อรูปxxx ๔ อาหาเรปฏิกูลสัญญา และจตุ ธาตุววัฏฐาน ส่วนในxxxxxxxวิมุตติมรรคแบ่งออกเป็น ๓๘ ประการคือ xxxx e๐ xxxxxxxxx e๐ อนุสสติ e๐ อัปปมัญญา ๔ จตุธาตุววัฏฐาน อาหาเรปฏิกูลสัญญา อากิญจัญญายตนะ เนว สัญญานาสัญญายตนะ
ในด้านเนื้อหา ด้านการปฏิบัติ และผลการปฏิบัติ ทั้งสองคัมภีร์กล่าวไว้สอดคล้องเป็นแนว เดียวกัน แต่วิธีการปฏิบัติบางเรื่องก็แตกต่างกัน ซึ่งสามารถสรุปประเด็นได้ ดังนี้ เมื่อปฏิบัติกรรมฐาน ข้อใดข้อหนึ่ง อานิสงส์ที่ได้คือ การรู้เท่าทันความเป็นจริงของชีวิต มีสติ ไม่ประมาท คลายความยึดมั่น ถือมั่น ดําเนินชีวิตอย่างมีสติ เป็นบาทฐานของวิปัสสนากรรมฐาน กล่าวคือสมถกรรมฐานเมื่อเจริญ แล้ว สามารถให้บรรลุมรรคผลนิพพาน หรือเป็นบาทฐานของการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน
เมื่อวิเคราะห์สมถกรรมฐานในฐานะเป็นบาทฐานของวิปัสสนา จะเห็นได้ว่า เมื่อเจริญ สมถกรรมฐานข้อใดข้อหนึ่ง จิตตั้งมั่นเป็นขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิและอัปปนาสมาธิ จากนั้น องค์ฌานก็จะเกิดขึ้น ก็ใช้องค์ฌานนั้นเป็นบาทฐานในการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน หรือใช้อารมณ์สม ถกรรมฐานบางหมวด เพื่อเป็นบาทฐานเพื่อการเจริญวิปัสสนา จนสามารถบรรลุอรหัตผลได้ъъ
ъe พระคมสัน ฐิตเมธโส และคณะ, “ศึกษาหลักพุทธธรรมในการส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร”, รำยงำนวิจัย, (สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ъ&&๗).
ъъ เสถียร ทั่งทองมะดัน, “สมถกรรมฐานในฐานะเป็นบาทฐานของวิปัสสนากรรมฐาน”, วิทยำนิพนธ์ พุทธศำสตรมหำบัณฑิต สำขำวิชำพระพุทธศำสนำ, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ъ&&&).
ณัชชา ธารสนธยา ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง “ศึกษาขั้นตอนการปฏิบัติธรรมเพื่อบรรลุพระ นิพพานที่ปรากฏในคณกโมคคัลลานสูตร” เนื้อหางานวิจัยนี้กล่าวถึง การอยู่ผาสุกจักมี โดยความ เกิดขึ้นแห่งกําลังกายเพราะโภชนะที่เป็นสัปปายะที่พอประมาณเป็นปัจจัยอีกอย่างหนึ่ง ความหาโทษ มิได้เพราะการละสุขในการหลับสุขในการเอน และในการโงกง่วง ละเว้นการเกียจคร้าน การปรับ ความเหมาะสมแห่งอิริยาบถทั้ง ๔ งดเว้นการบริโภคตามต้องการ ภิกษุพึงงดบริโภคเสีย ๔– & คํา แล้วดื่มน้ําแทน เป็นการเพียงพอเพื่อความอยู่ผาสุกъ๓
ทิพย์ภวิษณ์ ใสชาติ ได้ศึกษา “วิเคราะห์ค่านิยมบริโภคตามแนวพุทธศาสนา” ได้กล่าวถึง การบริโภคอาหารตามหลักการการกินตามแนวพุทธ มีทรรศนะว่ามนุษย์เกิดมามีอวิชชา อวิชชา คือ ความไม่รู้ซึ่งทําให้มนุษย์ประสบปัญหา ในภาษาทางพระพุทธศาสนาเรียกว่าทุกข์ ในเมื่อมนุษย์เกิดมา พร้อม ด้วยอวิชชา คือการที่ยังไม่รู้จักอะไรเลยก็ดําเนินชีวิตไปตามความอยาก ให้ความอยากที่จะมี ชีวิตอยู่และความอยากที่สนองตามความรู้สึกต่อประสบการณ์ชักจูงให้ดิ้นรนไป ดังนั้น จากการที่ มนุษย์มีความไม่รู้หรืออวิชชานี้เป็นสิ่งที่พ่วงมาด้วยก็คือ ความดิ้นรนทะยานไปตามความอยากอย่าง มืดบอด ความทะยานอยากไปตามความรู้สึกนี้เรียกว่าตัณหา ที่เห็นกันทั่วไปก็คือความต้องการสิ่งเสพ ปรนเปรอตนเองอย่างไม่มีที่สิ้นสุด และเมื่อมนุษย์ดิ้นรนเพื่อสนองความต้องการแบบมืดบอดนี้ มนุษย์ เองไม่รู้ชัดว่าอะไรเป็นคุณประโยชน์ อะไรเป็นโทษแก่ชีวิตของตน เมื่อไม่รู้ก็ได้แต่พยายามดิ้นรนสนอง ความทะยานอยาก ตามความรู้สึกนี้เรื่อยไปและในการสนองนั้นมนุษย์ก็จะได้ทั้งสิ่งที่ทําให้เกิดคุณภาพ และชีวิต ทั้งสิ่งที่ทําลายทําให้เสียคุณภาพชีวิต ถ้าจะได้สิ่งที่เป็นคุณภาพชีวิตก็เป็นเพียงผลพลอยได้ หรือโดยบังเอิญเท่านั้น แต่มีทางที่จะได้สิ่งทําลายคุณภาพชีวิตให้เกิดโทษมากกว่า โดยเฉพาะในขั้น พื้นฐานของมนุษย์ก็คือการบริโภคอาหาร มนุษย์มีความทะยานอยากต้องการบริโภคอาหาร แต่ใน ความต้องการที่จะบริโภคอาหารนั้น มนุษย์โดยทั่วไปจะนึกคิดแต่เพียงว่าเอามาบริโภคแล้ว ได้เสพรส อร่อยจนอิ่ม แต่ไม่ตระหนักว่าความต้องการที่แท้จริงนั้นอยู่ที่การได้คุณภาพของชีวิต คุณภาพชีวิตที่ เกิดจากอาหารก็คือการที่มันได้บํารุงเลี้ยงร่างกาย ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ให้ชีวิตเป็นอยู่แข็งแรง เจริญเติบโตต่อไปได้ แต่ในด้านหนึ่งร่างกายก็พลอยได้คุณภาพชีวิตนี้ไปด้วย ถ้าเราพัฒนาจิตนิสัยที่ ต้องสนองความอยากเสพรสอย่างเดียวนี้มากขึ้นเรื่อยๆ มันก็จะทําให้เกิดโทษแก่ร่างกาย มีผลเป็นการ ทําลายคุณภาพชีวิตมากขึ้น เพราะว่าความต้องการเสพรสนั้นไม่มีจุดมุ่งหมายที่มาบรรจบกับการได้ คุณภาพชีวิต ซึ่งมีขอบเขตอยู่ที่ความเพียงพอแก่ความต้องการของร่างกาย การได้เสพรสนั้นเป็น จุดหมายที่อยู่ในตัวของมันเอง คือการได้เสพรสอร่อยไปเรื่อยๆ จนกว่าจะเบื่อไปเอง เมื่อเสพรสไปไม่ รู้จักจบก็เกิดปัญหาเกิดโทษแก่ชีวิตกลายเป็นการทําลายคุณภาพชีวิต ยิ่งกว่านั้นเมื่อมนุษย์เจริญใน ด้านอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีมากขึ้น การสนองความต้องการแบบนี้ ก็นําไป่สู่การพัฒนาวิธีปรุง แต่งอาหารให้มีสีสันและกลิ่นรสที่ชวนให้เอร็ดอร่อยสนองความอยากเสพรสมากยิ่งขึ้น ทําให้
ъ๓ ณัชชา ธารสนธยา, “ศึกษาขั้นตอนการปฏิบัติธรรมเพื่อบรรลุพระนิพพานที่ปรากฏในคณกโมคคัล ลานสูตร”, วิทยำนิพนธ์พุทธศำสตรมหำบัณฑิต สำขำวิชำพระพุทธศำสนำ, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ъ&๔๙).
กระบวนการผลิตซับซ้อนมากยิ่งขึ้นและราคาแพงยิ่งขึ้นแต่รับประทานเข้าไปแล้วกลับยิ่งทําลาย คุณภาพชีวิต ทําให้เกิดพิษภัยแก่ร่างกายเป็นทางมาของโรคъ๔
จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องพบว่า ได้มีการศึกษาและทําวิจัยเกี่ยวกับการ บริโภคอาหารตามหลักพระพุทธศาสนามาบ้างแล้ว ประกอบกับมีการศึกษาเกี่ยวกับการปฏิบัติ กรรมฐานโดยวิธีการต่างๆ แต่การศึกษาเฉพาะที่เกี่ยวกับอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐานนั้นยังไม่พบว่า มีงานวิจัยที่ศึกษาโดยเฉพาะ ซึ่งผู้วิจัยจะได้ทําการศึกษาเพื่อให้เกิดความเข้าใจและเป็นประโยชน์ สัมมาปฏิบัติต่อไป
๑.๗ วิธีดํำเนินกำรวิจัย
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research) เอกสารหลักที่ใช้คือ พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช ъ&๓๙ ซึ่งมีวิธีการดําเนินการ วิจัยตามกรอบของการศึกษา ดังนี้
e.๗.e ศึกษาค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจากคัมภีร์พระไตรปิฎก รวมถึงอรรถกถาในส่วนที่ เกี่ยวข้องกับแนวคิดการอาหารและหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐานที่ปรากฏในพระพุทธศาสนา ทั้งด้านความหมาย วิธีการปฏิบัติ และอานิสงส์ที่ปรากฏในพระไตรปิฎก พร้อมทั้งศึกษารวบรวมข้อมูล จากเอกสารและตําราทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง
e.๗.ъ รวบรวมข้อมูลขั้นทุติยภูมิ คือส่วนที่เป็นงานนิพนธ์ทั่วๆ ไป รวมทั้งเอกสาร งานวิจัย บทความทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยนี้
e.๗.๓ นําข้อมูลทั้งหมดมาศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนงานวิจัยตามวัตถุประสงค์ ที่ตั้งไว้ โดยปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ แล้วปรับปรุงแก้ไขเพื่อความถูกต้อง
e.๗.๔ เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล และนําเสนอผลการวิจัย
๑.๘ ประโยชน์ที่ได้รับจำกกำรวิจัย
e.๘.e ทําให้ทราบแนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริโภคอาหารในพระพุทธศาสนา e.๘.ъ ทําให้ทราบคําสอนเรื่องอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน
e.๘.๓ ทําให้ทราบแนวทางการประยุกต์ใช้หลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐานใน ชีวิตประจําวัน
ъ๔ ทิพย์ภวิษณ ใสชาติ, “วิเคราะห์ค่านิยมบริโภคตามแนวพระพุทธศาสนา”, สำรนิพนธ์พุทธศำสตร ดุษฎีบัณฑิต สำขำวิชำพระพุทธศำสนำ, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ъ&&๗).
บทที่ ๒ แนวคิดเกี่ยวกับการบริโภคอาหารในพระพุทธศาสนา
ในปัจจุบันพฤติกรรมการบริโภคอาหารของบุคคล เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย ทําให้บุคคลในปัจจุบันมีการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของตนเองจนถึงบุคคลภายในครอบครัว แต่ละครอบครัวจะต้องต่อสู้กับชีวิตและความเป็นอยู่ บางครอบครัวอาจไม่ได้รับการดูแลขาดการเอา ใจใส่ตนเองรวมถึงบุคคลภายในครอบครัว เพราะเนื่องจากต้องออกหางาน ทํางานแข่งกับเวลา เพื่อหา เงินมาเลี้ยงบุคคลภายในครอบครัว ทําให้ไม่มีเวลาในการดูแลสุขภาพตนเอง จึงทําให้เกิดพฤติกรรม การบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่ การบริโภคอาหารสําเร็จรูป การบริโภคอาหารไม่ครบ ๕ หมู่ บริโภคอาหารมากเกินไป และไม่รับประทานอาหารเป็นเวลา สิ่งเหล่านี้ทําให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรค ต่างๆ ได้แก่ โรคกระเพาะอาหาร โรคขาดสารอาหาร โรคอ้วน โรคภาวะโภชนาการเกิน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้นe สอดคล้องกับภาษิตที่ว่า You are what you eat คุณจะเป็นตามสิ่งที่ คุณกินลงไป หากอาหารที่ดีจะส่งผลดีต่อร่างกาย หากอาหารไม่ดีก็จะส่งผลร้ายต่อร่างกายเช่นกัน อาหารจึงมีความสําคัญต่อการดํารงชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างยิ่ง
ในคัมภีร์พระพุทธศาสนามีปรากฏในกรณีของพระเจ้าปเสนทิโกศลเสวยพระกระยาหารที่ หุงด้วยข้าวทะนานหนึ่ง แล้วทรงอึดอัดพระวรกายกระสับกระส่ายไปมาด้วยความเป็นทุกข์ จึงเสด็จไป เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า เล่าอาการให้พระพุทธองค์ทราบ พระพุทธเจ้าทรงเตือนว่า “มนุษย์ควรมีสติอยู่ ทุกเมื่อ รู้จักประมาณในโภชนะที่ได้แล้ว ย่อมมีเวทนาเบาบาง เขาย่อมแก่ช้า อายุยั่งยืน” เมื่อพระ เจ้าปเสนนิโกศลได้ทําตามคํากล่าวของพระพุทธเจ้า คือ เสวยแต่พอเหมาะ ไม่มากเกินไป ไม่น้อย เกินไป ต่อมาพระองค์ทรงมีพระวรกายกระปรี้กระเปร่าขึ้นъ จะเห็นได้ว่าการบริโภคอาหารนั้นมี ความสําคัญต่อชีวิต และพระพุทธศาสนาให้ได้ความสําคัญบริโภคอาหารด้วย ไม่เฉพาะแต่การกิน อาหารเพื่อดํารงชีวิตเท่านั้น แต่พระพุทธศาสนาให้ความสําคัญในฐานะที่เป็นเครื่องมือของการปฏิบัติ ด้วย เช่น ในหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญา เป็นต้น แม้ในหลักพระวินัยของพระภิกษุได้มีการกล่าวถึง ระเบียบวิธีการบริโภคอาหารไว้หลายข้อในหมวดโภชนปฏิสังยุต อันแสดงให้เห็นถึงความสําคัญของ การบริโภคอาหาร
ในบทนี้ผู้วิจัยจะทําการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการบริโภคอาหารในพระพุทธศาสนา ทั้งในด้านของความหมาย ประเภท ความสําคัญ และการบริโภคอาหารในเชิงของพระพุทธศาสนา โดยยกกรณีการบริโภคอาหารของพระพุทธเจ้าเป็นตัวอย่างและพระวินัยที่เกี่ยวข้องกับการบริโภค อาหาร มีรายละเอียดดังนี้
e ทิพย์ภวิษณ์ ใสชาติ, “วิเคราะห์ค่านิยมบริโภคตามแนวพระพุทธศาสนา”, สารนิพนธ์พุทธศาสตร ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ъ๕๕๗), หน้า ๔๙-๕๐.
ъ สํ.ส. (ไทย) e๕/eъ๔/e๔๕-e๔๖.
๒.๑ คําสอนเกี่ยวกับอาหารในพระไตรปิฎก
อาหารเป็นสิ่งสําคัญในการดํารงชีวิตของมนุษย์ทุกคน เพราะเป็นสิ่งที่ช่วยในการ เจริญเติบโต ทําให้ร่างกายแข็งแรง และยังช่วยซ่อมแซมในส่วนที่สึกหรอของร่างกายด้วย ปัจจุบัน บุคคลเกิดความนิยมมีการบริโภคอาหารที่เปลี่ยนแปลงไปจากอดีต อันส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงทาง อารมณ์และปัญหาสุขภาพตามมา๓ ในทางพระพุทธศาสนาให้ความสําคัญกับอาหารเพราะมีความเห็น ว่าร่างกายของเรานี้ไม่สามารถอยู่ได้ถ้าไม่มีอาหาร ดังที่พระพุทธเจ้า ทรงตรัสไว้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย กายนี้ดํารงอยู่ได้ด้วยอาหาร อาศัยอาหารจึงดํารงอยู่ได้ ขาดอาหารก็ดํารงอยู่ไม่ได้”๔ ในมุมมองของ ศาสนาและของกลุ่มนักวิชาการสาขาต่างๆ ได้มีการให้คําจํากัดความหมายของคําว่า “อาหาร” ไว้อย่างกว้างขวาง ซึ่งมีความหมายมากเกินกว่าสิ่งที่รับประทานแล้วเสริมสร้างพลังงาน ซ่อมแซมส่วน ที่สึกหรอ แต่ยังมีความหมายที่ครอบคลุมถึงสิ่งค้ําจุนชีวิต คือทั้งร่างกายและจิตใจ๕ ดังนั้น การศึกษา เรื่องอาหารจึงสิ่งสําคัญ ซึ่งผู้วิจัยได้อธิบายความหมายของอาหาร ประเภทของอาหาร และความสําคัญของอาหาร โดยพระเถระและนักวิชาการต่างๆ ได้ให้ความหมายไว้ดังนี้
๒.๑.๑ ความหมายของอาหาร
คําว่า อาหาร นั้นมีความหมายทั้งในความหมายที่เป็นวิชาการ ความหมายทาง พระพุทธศาสนา ดังนั้น เพื่อให้เกิดเข้าใจผู้วิจัยจะอธิบายทั้งในประเด็นทางวิชาการและทาง พระพุทธศาสนาเพื่อให้ง่ายต่อการศึกษาดังนี้
มูลนิธิภูมิพโลภิกขุ ได้ให้ความหมายของอาหารว่า อาหาร มาจากคําว่า อา+หฺฤ. แปลว่า นํามาหรือน้อมมาสู่ตัวเอง หมายถึง สิ่งที่บํารุงเลี้ยงร่างกาย, สิ่งที่ค้ําจุน, อาหารบํารุงกําลัง๖
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ъ๕๔๖ ให้ความหมายของอาหารไว้ว่า อาหาร หมายถึง ของกิน เครื่องค้ําจุนชีวิต เครื่องหล่อเลี้ยงชีวิต เช่น อาหารเช้า อาหารปลา อาหารนก๗
พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. ъ๕ъъ ได้ให้ความหมายไว้ว่า อาหาร หมายถึง ของกินหรือ เครื่องค้ําจุนชีวิต ได้แก่ วัตถุทุกชนิดที่คนกิน ดื่ม อมหรือนําเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ หรือใน
๓ จันทนา เวสพันธ์ และคณะ, อาหารเพื่อสุขภาพ (Food for Health), พิมพ์ครั้งที่ ъ (นครปฐม: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์, ъ๕๔๗), หน้า e.
๔ สํ.ม. (ไทย) e๙/e๘๓/ee๐.
๕ สุพรรณี ไชยอาพร และวิไลลักษณ์ รุ่งเมืองทอง, แนวคิดว่าด้วยเรื่องอาหาร...ความท้าทายต่อ นโยบายด้านอาหารมนุษย์ของรัฐ, วารสารพัฒนาสังคม ปีที่ e๖ ฉบับที่ ъ, (ъ๕๕๗): e๐๓-ee๗.
๖ มูลนิธิภูมิพโลภิกขุ, พจนานุกรมภูมิพโลภิกขุ, (กรุงเทพมหานคร: สมาคมศูนย์ค้นค้ามูลนิธิภูมิพโล, ъ๕๓๐), หน้า ๔๙.
๗ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, (กรุงเทพมหานคร :นานมีบุคส์
พับลิเคชั่นส์, ъ๕๔๖), หน้า e๓๗e.
รูปลักษณะใดๆ แต่ไม่รวมถึงยาวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทหรือยาเสพติดให้โทษตามกฎหมายว่าด้วย การนั้นแล้วแต่กรณี๘
ในอรรถกถาสัมธัมมปัชโชติกาและสัทธัมมปกาสินี ได้อธิบายไว้ว่า “อาหาร ได้แก่ ปัจจัย เพราะว่าปัจจัย ย่อมนํามาซึ่งผลของตน เหตุนั้น จึงชื่อว่าอาหาร”
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) กล่าวว่า อาหาร หมายถึง สภาพที่นํามาซึ่งผลโดย ความเป็นปัจจัยค้ําจุนรูปธรรมและนามธรรมทั้งหลาย, เครื่องค้ําจุนชีวิต, สิ่งที่หล่อเลี้ยงร่างกายและ จิตใจ ทําให้เกิดกําลังเจริญเติบโตและวิวัฒน์ได้ ได้แก่ กวฬิงการาหาร อาหารคือคําข้าว , ผัสสาหาร อาหารคือผัสสะ, มโนสัญเจตนาหาร อาหารคือมโนสัญเจตนา, วิญญาณาหาร อาหารคือวิญญาณ
พระมหาปรีชา บุญศรีตัน กล่าวว่า อาหารหมายถึงสิ่งใดก็ตามที่รับเข้าร่างกาย จะโดยวิธีก็ ตาม ไม่ว่าจะเป็นการกิน การดื่มหรือการฉีด แล้วเกิดประโยชน์แก่ร่างกายโดยให้สารอาหารอย่างใด อย่างหนึ่งหรือหลายๆ อย่าง เป็นเครื่องค้ําจุนชีวิต หล่อเลี้ยงชีวิต๙
ยุรธร จีนา, วรางคณา กันธิยะและพัชรินทร์ กบกันทา ให้ความไว้ว่า อาหาร หมายถึง สิ่งใดก็ตามที่รับเข้าสู่ร่างกาย จะโดยวิธีใดก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นการกิน การดื่มหรือฉีด แล้วเกิดประโยชน์ แก่ร่างกายโดยให้สารอาหารอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายๆ อย่าง เป็นเครื่องค้ําจุนชีวิต หล่อเลี้ยงชีวิต ซึ่งทางพระพุทธศาสนาให้คํานิยามอาหารว่า เป็นปัจจัยที่นําซึ่งรูปที่มีโอชาเป็นที่ ๘ อันหมายถึง ร่างกายนั่นเองe๐
อมร รัตนภูมิ ได้กล่าวถึงความหมายอาหารไว้ว่า อาหาร คือ องค์ประกอบเชิงซ้อนของ สารเคมี (Chemical Compound) ชนิดหนึ่งที่ประกอบเข้าด้วยกันของสารเคมีหลายๆ อย่าง เช่น เป็นส่วนรวมของโปรตีน ไขมัน แป้ง และน้ําตาลเป็นต้น ฉะนั้น เมื่ออาหารเป็นสารเคมี ก็ย่อมมีผลต่อ กระบวนการทางเคมีในร่างกายมนุษย์ (ช่วยในกระบวนการย่อยอาหาร) กล่าวคือ หากร่างกายของ มนุษย์รับอาหารในปริมาณที่มาก หรือน้อยเกินไป ย่อมจะนํามาสู่ปัญหาในเรื่องของปรับความสมดุล ของร่างกายของมนุษย์ee
ปานทิพย์ อัฒนวานิช ได้ให้ความหมายไว้ว่า อาหาร คือ พลังงานเคมีรูปแบบหนึ่งที่มีการ หมุนเวียนของธาตุอาหารในระบบนิเวศ/การถ่ายทอดพลังงาน ซึ่งสิ่งมีชีวิตทุกชนิดไม่ว่าจะเป็น (มีชีวิต) หรือตาย (สิ้นชีวิต) ล้วนถือได้ว่าเป็นแหล่งของพลังงานอาหารที่สําคัญของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดใน
๘ สํานักอาหาร สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข, พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. ๒๕๒๒ พร้อมกระทรวงและประกาศทรวงสาธารณสุข (ฉบับปรับปุรง ปี ๒๕๕๔), (ม.ป.พ, ъ๕๕๔), หน้า e.
๙ พระมหาปรีชา บุญศรีตัน, “พุทธจริยธรรมกับการบริโภคอาหาร: ศึกษาเฉพาะกรณีเกณฑ์ทาง จริยธรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษาชมรมพุทธฯ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ”, วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาจริยศาสตร์ศึกษา, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหิดล, ъ๕๔๐), หน้า e๕.
e๐ ยุรธร จีนา วรางคณา กันธิยะ และพัชรินทร์ กบกันทา, “พุทธโภชนการ: การรับประทานอาหารเพื่อ สุขภาพตามแนวของพระพุทธศาสนา”, รายงานการวิจัย, (โครงการยกระดับปริญญานิพนธ์: มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, ъ๕๕๘), หน้า ๗.
ee อมร ภูมิรัตน, ที่ฝากไว้ในแผ่นดิน, (กรุงเทพมหานคร :บริษัทประชาชนจํากัด, ъ๕๔๕), หน้า e.
ระบบนิเวศ อีกทั้งการหมุนเวียนของพลังงานนี้จะเป็นไปในทิศทางเดียวเสมอ กล่าวคือ จะมีการ เปลี่ยนพลังงานโดยผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคeъ
สุพรรณี ไชยอําพร และวิไลลักษณ์ รุ่งเมืองทอง ได้ให้ความหมายของอาหารไว้ว่า อาหาร คือ ทุกสิ่งทุกอย่างที่สิ่งมีชีวิตใช้ในการรับประทานหรือบริโภคเพื่อการยังชีพ หล่อเลี้ยงชีวิต ช่วยในการ ปรับสมดุลให้มนุษย์สามารถอยู่ในภาวะปกติ ช่วยในการบํารุงและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ช่วยในการ เสริมสร้างพลังงานให้แก่ร่างกาย ช่วยในการพัฒนาทางด้านจิตใจ (จิตใจมั่นคง) และช่วยในการทําให้ มนุษย์คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นe๓
สรุปรวมความหมายของอาหารได้ว่า อาหาร คือ องค์ประกอบทางเคมีทางชีวภาพซึ่งได้มา จากธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้นมา เช่น ข้าว แกง ขนมขบเคี้ยว น้ําต่างๆ ที่นํามาบริโภคหรือ รับประทานเพื่อทําให้ร่างกายแข็งแรงเจริญเติบโตและช่วยซ่อมแซมร่างกาย นอกจากนี้ในทาง พระพุทธศาสนายังมีความเห็นว่าอาหารไม่ใช่เพียงสิ่งที่รับประทานเท่านั้น แต่อาหารคือปัจจัยที่เป็นสิ่ง ค้ําจุนรูปธรรมและนามธรรมให้ดํารงต่อไปได้ ได้แก่ กวฬิงการาหาร ผัสสาหาร มโนสัญเจตนาหาร และวิญญาณาหาร
๒.๑.๒ ประเภทของอาหาร
หลังจากที่ได้กล่าวถึงความหมายของอาหาร ต่อไปผู้วิจัยได้ทําการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ ประเภทของอาหารที่ปรากฏในพระไตรปิฎก พบว่าประเภทของอาหารในพระพุทธศาสนาแบ่ง ออกเป็น ๔ ประเภท คือ กวฬิงการาหาร ผัสสาหาร มโนสัญเจตนาหาร และวิญญาณหาร ดังพุทธ พจน์ว่า “ภิกษุทั้งหลาย อาหาร ๔ อย่างนี้ เป็นไปเพื่อการดํารงอยู่ของหมู่สัตว์ผู้เกิดแล้วหรือเพื่อ อนุเคราะห์หมู่สัตว์ผู้แสวงหาที่เกิด”e๔ มีรายละเอียดดังนี้
e) กวฬิงการาหาร อาหาร คือ คําข้าว ได้แก่ อาหารสามัญที่กลืนกินดูดซึมเข้าไปหล่อเลี้ยง ร่างกาย หรือสิ่งที่บุคคลกิน ดื่ม ลิ้ม เข้าไปทางปาก อาหารเหล่านี้เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วย่อมทําหน้าที่
๓ อย่าง คือ บรรเทาความหิว ป้องกันความหิว ทําให้ร่างกายมีกําลังสามารถประกอบการงาน ทําให้ ร่างกายเจริญเติบโต เมื่อขาดอาหารชนิดนี้จะทําให้ไม่สามารถดํารงชีวิตอยู่และไม่สามารถเจริญเติบโต ได้ เพราะว่าสัตว์ทั้งหลายดํารงอยู่ได้เพราะอาหาร ซึ่งกวฬิงการาหารนี้ คือสิ่งที่หล่อเลี้ยง บํารุง สนับสนุนร่างกาย คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันเป็นส่วนกามคุณทําให้รูปสวยงามขึ้น เมื่อขาด รูปก็ไม่สามารถดํารงอยู่ได้e๕
หน้า ๖๕.
eъ ปานทิพย์ อัฒนวานิช, ชีวภูมิศาสตร์, (กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคําแหง, ъ๕๕๔),
e๓ สุพรรณี ไชยอําพร และวิไลลักษณ์ รุ่งเมืองทอง, แนวคิดว่าด้วยเรื่องอาหาร...ความท้าทายต่อ
นโยบายด้านอาหารมนุษย์ของรัฐ, วารสารพัฒนาสังคม ปีที่ e๖ ฉบับที่ ъ, (ъ๕๕๗): e๐๓-ee๗.
e๔ สํ.ม. (ไทย) eъ/๙๐/๘๔-๘๕.
e๕ ม.มู.อ. (ไทย) e๗/ee๓/๕๖๘.
นอกจากนี้ กวฬิงการาหาร เป็นชื่อเรียก โอชาe๖ ที่มีอยู่ในข้าวสุกเป็นอาทิ ซึ่งจะมีทั้งที่ หยาบและละเอียดตามลักษณะของสิ่งที่ใช้เป็นอาหาร อาหารที่หยาบนั้นจะมีสิ่งที่เรียกว่าโอชา (Nutritive essence) น้อย คือให้พลังงานไม่มาก ส่วนในอาหารละเอียดนั้นจะมีพลังงานมากกว่าe๗ อาหารหยาบสามารถบรรเทาความกระวนกระวายอันเกิดจากความหิวได้ แต่ไม่สามารถบํารุงรักษา ชีวิตได้ ส่วนอาหารละเอียดสามารถบํารุงรักษาชีวิตได้ แต่ไม่สามารถบรรเทาความหิวได้ แต่ถ้าอาหาร ъ อย่างรวมกันแล้วก็สามารถบรรเทาความหิวและสามารถบํารุงรักษาชีวิตได้e๘
ъ) ผัสสาหาร อาหาร คือ การสัมผัส หมายถึง การกระทบหรือการบรรจบกันของอายตนะ ภายใน ๖ อายตนะภายนอก ๖ และวิญญาณ ได้แก่ ตากับรูปและจักขุวิญญาณ เกิดจักขุผัสสะเป็น ผัสสาหารทางตา หูกับเสียงและโสตวิญญาณ เกิดผัสสะเป็นผัสสาหารทางหู จมูกกับกลิ่นและฆาน วิญญาณเกิดเป็นผัสสาหารทางจมูก ลิ้นกับรสและชิวหาวิญญาณ เกิดชิวหาผัสสะเป็นผัสสาหารทางลิ้น กายกับโผฏฐัพพะและกายวิญญาณ เกิดกายผัสสะเป็นผัสสาหารทางกาย และใจกับธรรมารมณ์และ มโนวิญญาณ เกิดมโนผัสสะเป็นผัสสาหารทางใจ เมื่อมีผัสสะ คือการกระทบหรือบรรจบแล้วก็เป็น ปัจจัยให้เกิดเวทนา คือ ความรู้สึกขึ้นมาพร้อมกับเจตสิกทั้งหลาย คือธรรมอันปรุงจิตอย่างอื่นก็จะ เกิดขึ้นตามมา ได้แก่ ความเสวยอารมณ์ตามควรแก่ผัสสะและสัญญาความจําหมายผัสสะนั้น เมื่อบุคคลกําหนดรู้ผัสสะได้แล้วจะทําให้สามารถกําหนดรู้เวทนา ๓ ได้แก่ สุขเวทนา ความรู้สึกสุข ทุกขเวทนา ความรู้สึกทุกข์ และอทุกขมสุขเวทนา ความรู้สึกไม่สุขไม่ทุกข์e๙ เวทนาเหล่านี้ไม่ว่าจะ เป็นไปทางใดก็ตาม พร้อมที่จะเป็นสุข เป็นทุกข์ และไม่สุขไม่ทุกข์ได้เสมอ ขึ้นอยู่กับการกําหนด อารมณ์ที่มากระทบทางประสาทสัมผัส
๓) มโนสัญเจตนาหาร อาหาร คือ มโนสัญเจตนา ซึ่งแปลว่า ความจงใจ หรือความตั้งใจ คือตั้งใจทําอะไรก็เป็นมโนสัญเจตนาในการกระทํานั้น ตั้งใจพูดอะไรก็เป็นมโนสัญเจตนาในการพูดนั้น ตั้งใจคิดอะไรก็เป็นมโนสัญเจตนาในการคิดนั้น เพราะมีมโนสัญเจตนา คือ ความจงใจ จึงนําให้เกิดผล คือ การทํา การพูด การคิด จัดเป็นอาหารอย่างหนึ่งъ๐ สร้างภพสร้างชาติให้แก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย เป็นตัวชักนํามาซึ่งภพ ทําให้เกิดปฏิสนธิภพทั้ง ๓ คือ กามภพ รูปภพ และอรูปภพ ตามสมควรแก่ กรรมนั้นๆ เช่น ความหวังนั้นเป็นมโนสัญเจตนาหารเช่นกัน เพราะความหวังเป็นความตั้งใจ เป็นความ จงใจที่จะรอคอยเพื่อให้มีความสมหวังในสิ่งนั้น ความหวังมีส่วนที่ทําให้ชีวิตและจิตใจมีความสดชื่น
e๖ โอชา หมายถึง สารอาหาร ที่เรียกกันในปัจจุบัน เพราะเป็นส่วนที่มีอยู่ในอาหาร ทําหน้าที่ให้พลังงาน และความร้อน ช่วยบํารุงเลี้ยงร่างกายให้เจริญเติบโต และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกาย นอกจากนั้น ยังช่วย ควบคุมปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ในร่างกาย และการทํางานของอวัยวะทุกส่วน ทั้งช่วยในการป้องกันและต้านทานโรค ต่างๆ และทําให้ร่างกายแข็งแรง
e๗ ดูรายละเอียดใน ยุรธร จีนา วรางคณา กันธิยะ และพัชรินทร์ กบกันทา, “พุทธโภชนการ: การ รับประทานอาหารเพื่อสุขภาพตามแนวของพระพุทธศาสนา”, หน้า ๘.
e๘ ม.มู.อ. (ไทย) e๗/ee๓/๕๖๘-๕๗๐.
e๙ ส.สฬา. (ไทย) e๘/ъ๔๙/ъ๗๐.
ъ๐ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์, ธรรมานุกรม, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏ ราชวิทยาลัย, ъ๕e๕), หน้า ๖๘.
อยากมีชีวิตอยู่ เป็นอาหารคําจุนหล่อเลี้ยงชีวิตเอาไว้ъe ลักษณะของมโนสัญเจตนาหาร จําแนกเจตนา แห่งกรรมในไตรทวาร ดังนี้ъъ
(e) ตั้งใจทําอะไรก็เป็นมโนสัญเจตนาหารในการกระทํานั้น อันเป็นปัจจัยสู่กายกรรม ซึ่งเป็นตัวชักนํามาซึ่งภพ คือ ให้เกิดปฏิสนธิในภพทั้งหลายแห่งสรรพสัตว์ในกามภพ รูปภพ ตามที่กาย ที่กระทํา
(ъ) ตั้งใจพูดอะไรก็เป็นมโนสัญเจตนาหารในการพูดนั้น อันเป็นปัจจัยนําไปสู่ วจีกรรม ซึ่งเป็นตัวชักนํามาซึ่งภพ ให้เกิดปฏิสนธิในภพทั้งหลายแห่งสรรพสัตว์ในกามภพ รูป หรืออรูป ภพ ตามแต่วจีกรรมที่กระทํา
(๓) ตั้งใจคิดอะไรก็เป็นมโนสัญเจตนาในการคิดนั้น อันเป็นปัจจัยนําไปสู่มโนกรรม ซึ่งเป็นตัวชักนํามาซึ่งภพ คือให้เกิดปฏิสนธิในภพทั้งหลายแห่งสรรพสัตว์ในกามภพ รูปภพ หรืออรูป ภพ ตามแต่มโนกรรมที่กระทํา
นอกจากนี้แล้วในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนายังได้กล่าวถึงลักษณะของมโนสัญเจตนาหาร โดยจําแนกตามเจตนาแห่งกุศลธรรมและอกุศลธรรม ดังนี้ъ๓
(e) ตั้งใจทํา พูด คิด ที่เป็นกุศล ก็เป็นกุศลมโนสัญเจตนาหาร อันเป็นปัจจัยนําไปสู่ กุศลกรรม ซึ่งทําหน้าที่สร้างสุคติภพ ชาติให้แก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย คือ ยังให้เกิดปฏิสนธิวิญญาณใน กามภพที่เป็นสุคติหรืออรูปภพ แล้วแต่กุศลกรรมที่กระทํา
(ъ) ตั้งใจตั้งใจทํา พูด คิดที่เป็นอกุศล ก็เป็นอกุศลมโนสัญเจตนาหาร อันเป็นปัจจัย นําไปสู่อกุศลกรรม ซึ่งทําหน้าที่สร้างทุคติภพ ชาติให้แก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย คือ ยังให้เกิดปฏิสนธิ วิญญาณในกามภพที่เป็นทุคติ
จะเห็นได้ว่าเมื่อบุคคลมีความตั้งใจ อันเป็นมโนสัญเจตนาหาร อาหารคือมโนสัญเจตนาทั้ง ในกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ย่อมทําให้เกิดภพทั้งในกามภพ รูปภพและอรูปภพ เมื่อบุคคลกําหนด รู้มโนสัญเจตนาหารได้แล้วย่อมได้ชื่อว่า กําหนดรู้ตัณหา ๓ ประการъ๔ ได้แก่
(e) กามตัณหา คือ ความทะยานอยากในกาม เพื่อสนองความต้องการทางประสาท
ทั้ง ๕
(ъ) ภวตัณหา คือ ความทะยานอยากในภพ ความอยากในภาวะของตัวตนที่จะได้
จะเป็น อยากคงอยู่ตลอดไป ความใคร่อยากที่ประกอบด้วยภวทิฏฐิหรือสัสสตทิฏฐิ (ความเห็นว่าเที่ยง คือ ความเห็นว่าอัตตาและโลกเป็นสิ่งเที่ยงแท้ยั่งยืน คงอยู่ตลอดไป)
ъe วารีญา ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม, จิตวิทยาพุทธศาสนา, พิมพ์ครั้งที่ ๓, (นครปฐม: โรงพิมพ์ มหามกุฏราชวิทยาลัย, ъ๕๔๔), หน้า ๔๕.
ъъ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, พิมพ์ครั้งที่
๓๔, (กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ъ๕๕e), หน้า ๙๘.
ъ๓ ดูรายระเอียดใน สํ.นิ.อ. (ไทย) ъ๖/๓ъ๔.
ъ๔ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, หน้า e๕๙.
(๓) วิภวตัณหา คือ ความทะยานอยากในวิภพ ความอยากในความพรากพ้นไปแห่ง ตัวตนจากความเป็นอย่างใดอย่างหนึ่งอันไม่ปรารถนา อยากทําลาย อยากให้ดับสูญ ความใคร่อยากที่ ประกอบด้วยวิภวทิฏฐิ หรืออุจเฉททิฏฐิ (ความเห็นว่าขาดสูญ เช่น เห็นว่าคนและสัตว์จุติจากอัตภาพนี้ แล้วขาดสูญъ๕ มโนสัญเจตนาหารก็คือ ความหวัง ความตั้งใจ ความจงใจ อันมีส่วนที่ทําให้ชีวิตจิตใจมี ความสดชื่น อยากมีชีวิตอยู่ ที่เรียกว่า ชีวิตินทรีย์เจตสิกนั่นเองъ๖
๔) วิญญาณาหาร อาหาร คือ วิญญาณ ได้แก่ วิญญาณเป็นปัจจัยให้เกิดนามรูป วิญญาณที่ เป็นตัวนํามาซึ่งรูปขันธ์ ๓ และรูป ๓๐ ในขณะแห่งการปฏิสนธิ โดยความเป็นปัจจัยที่เกิดพร้อมกัน (สหชาตปัจจัย) เป็นต้น ซึ่งได้แก่ ปฏิสนธิวิญญาณ e๙ ดวงъ๗ เมื่อกําหนดรู้วิญญาณได้แล้ว ก็เป็นอัน กําหนดนามรูปได้ด้วยъ๘ วิญญาณตีความเป็น ъ นัย คือ นัยแรกตีความว่า ได้แก่ วิญญาณธาตุ ธาตุรู้ เพราะวิญญาณ ธาตุรู้มี และมาผสมกับธาตุไม่รู้ คือ ดิน น้ํา ลม ไฟ อากาศ จึงเป็นปัจจัยให้เกิด อายตนะ แล้วก็ต่อไปถึงผัสสะ เป็นต้นไป ไม่มีวิญญาณธาตุก็ไม่มีอายตนะ เมื่อไม่มีอายตนะ อีกนัยหนึ่ง หมายถึง วิญญาณ ๖ คือ จักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ มโน วิญญาณนี้แหละเกิดขึ้นจึงมีผัสสะแล้วก็สืบเนื่องไปถึงเวทนา ถ้าไม่มีวิญญาณแล้ว ถึงคนจะมีชีวิตอยู่ ไม่ตาย ก็ไม่มีความรู้สึกอะไร เช่น คนนอนหลับ หรือคนโดนยาสลบ ไม่ตาย ยังมีชีวิตอยู่ แต่ก็เหมือน ร่างกายของคนตาย คือ ทําอะไรก็ไม่ได้ ไม่รู้สึกอะไร ต่อเมื่อมีวิญญาณ ความรู้สึกทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และ มนะ ทางใดทางหนึ่ง พอเกิดความรู้สึกขึ้นเป็นวิญญาณ วิญญาณนําผลมาให้เกิดผัสสะแล้ว เกิดเวทนา สัญญาต่อไป เพราะฉะนั้นวิญญาณจึงเป็นอาหารอีกอย่างъ๙
จึงกล่าวได้ว่าประเภทของอาหารทั้ง ๔ ที่ได้กล่าวไปนั้นล้วนแล้วเป็นเหตุและปัจจัยที่ทําให้ สรรพชีวิตต่างๆ สามารถดําเนินไปได้ ทําให้ร่างกายมีกําลังสามารถประกอบการงานต่างๆ ทําให้มี เป้าหมายในชีวิต เมื่อมีเป้าหมายแล้วก็จึงเกิดการกระทําโดยออกมาในรูปของกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม เป็นต้น ทําให้เกิดภพเกิดชาติอย่างไม่มีที่สิ้นสุด
นอกจากนั้น ในพระพุทธศาสนายังได้จําแนกอาหาร ตามชนิดของอาหารออกเป็น ъ ประเภท คือ อาหารทางกายและอาหารทางใจ ดังนี้๓๐
e) อาหารทางกาย แบ่งออกเป็น ъ ประเภทใหญ่คือ
e.e) อาหารที่จัดเข้าในกวฬิงการาหาร ได้แก่ อาหาร e๖ ประเภท คือ ข้าวสุก ขนม สด e ขนมแหง e ปลา e เนื้อ e น้ํานม e นมเปรี้ยว e เนยใส e เนยข้น e น้ํามัน e น้ําผึ้ง e
ъ๕ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, หน้า ๘๖.
ъ๖ วารีญา ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม, จิตวิทยาพุทธศาสนา, หน้า ๔๕.
ъ๗ ยุรธร จีนา วรางคณา กันธิยะ และพัชรินทร์ กบกันทา, “พุทธโภชนการ: การรับประทานอาหาร เพื่อสุขภาพตามแนวของพระพุทธศาสนา”, หน้า ๙.
ъ๘ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, หน้า e๕๙.
ъ๙ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์, ธรรมนุกรรม, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฎ ราชวิทยาลัย, ъ๕e๕), หน้า ๖๘-๖๙.
๓๐ ยุรธร จีนา, วรางคณา กันธิยะ และพัชรินทร์ กบกันทา, “พุทธโภชนการ: การรับประทานอาหาร เพื่อสุขภาพตามแนวของพระพุทธศาสนา”, หน้า eъ-e๓.
น้ําอ้อย e ข้าวต้ม e ของควรเคี้ยว e ของควรลิ้ม e ของควรเลีย (ชิม) e ทั้งหมดนี้เป็นอาหารที่ บริโภคทางปากโดยตรง ชนิดอาหารที่จัดเขาในกพฬิงการาหารที่ทรงอนุญาตให้ภิกษุหรือบรรพชิตฉัน หรือบริโภคไดจะมีเรื่องของกาลเทศะเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ดังนั้น ในบาลีส่วนมากเมื่อพูดถึงสิ่งบริโภค พระองค์จะใช้คําว่า ของที่ควรเคี้ยว ของที่ควรบริโภค ดังความในพระไตรปิฎกว่า
ของเคี้ยว คือ ยกเว้นโภชนะ ๕ ยามกาลิก สัตตาหกาลิก และยาวชีวิก นอกนั้นชื่อว่าของ เคี้ยว ที่ชื่อว่า ของฉัน ได้แก่ โภชนะ ๕ คือ ข้าวสุก ขนมกุมมาส ข้าวตู ปลา เนื้อภิกษุรับ ประเคนด้วยตั้งใจว่า “จะเคี้ยว จะฉัน”๓e
นอกจากนั้น อาหารมีความหมายรวมถึงน้ําดื่มที่ภิกษุสามารถดื่มได้ ดังบาลีอนุญาตน้ํา ปานะ ดังความในพระไตรปิฎกว่า
ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตน้ําอัฏฐบาน คือ e. น้ํามะม่วง ъ. น้ําหว้า ๓. น้ํากล้วยมีเมล็ด ๔. น้ํากล้วยไม่มีเมล็ด ๕. น้ํามะซาง ๖. น้ําลูกจันทน์หรือองุ่น ๗. น้ําเหง้าบัว ๘. น้ํามะปรางหรือ ลิ้นจี่๓ъ
ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตน้ําผลไม้ทุกชนิด เว้นน้ําต้มเมล็ดข้าวเปลือก ภิกษุทั้งหลาย เรา อนุญาตน้ําใบไม้ทุกชนิด เว้นน้ําผักดอง ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตน้ําดอกไม้ทุกชนิด เว้นน้ํา ดอกมะซาง ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตน้ําอ้อยสด๓๓
e.ъ) อาหารคืออายตนะภายนอก ๕ ประการ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ ที่ บริโภค เสพเสวยผ่านทางอายตนะภายใน ๕ คือ ตา หูจมูก ลิ้น กาย ซึ่งมีทั้งที่น่าใคร่ น่าพอใจ และไม น่าใคร่ ไม่น่าพอใจ
ъ) อาหารทางใจ ได้แก่ ธรรมารมณ์ทั้งหลายที่เกิดกับใจ ได้แก่ เจตสิกที่เกิดกับจิต ซึ่งมี ความตั้งใจ (มโนสัญเจตนา, เจตนา) เป็นตัวนําทางแห่งความคิดและการกระทําทั้งที่เป็นส่วนดี (โสภณ เจตสิก) ส่วนที่ไม่ดี (อกุศลเจตสิก) และส่วนที่เป็นกลาง ไม่ดีไม่ชั่ว เกิดขึ้นได้กับจิตทุกดวง (อัญญสมา นาเจตสิก) อาหารทางใจมีใจเป็นศูนย์กลาง เป็นผู้เสพเสวย
๒.๑.๓ ความสําคัญของอาหาร
อาหารเป็นสิ่งสําคัญต่อการดํารงชีพของสรรพสัตว์ต่างๆ ทําให้เกิดความเป็นไปตามของ ชีวิต ถ้ามองในแง่ของอาหารที่เป็นคําๆ หรือกวฬิงการาหาร เมื่อรับประทานที่ดีมีโยชน์ก็ย่อมทําให้ ร่างกายเจริญเติบโต แข็ง แต่ตรงกันข้ามหากรับประทานอาหารที่ไม่ดี ไม่มีประโยชน์ก็ย่อมทําให้เกิด ร่างกายไม่แข็งแรง และมีโรคตามมาเช่นกัน อาหารแต่ละประเภทจึงมีลักษณะเป็นทวิลักษณ์ คือ มี ลักษณะแห่งความเป็น ъ ด้าน คือ สามารถให้ทั้งคุณและโทษได้ ในขณะที่อาหารแต่ละประเภททํา หน้าที่อํานวยประโยชน์แก่มนุษย์ ถ้ามนุษย์ผู้เสพไม่มีสติรู้เท่าทันระวัง เสพเสวยอาหารนั้นด้วยกิเลศ ตัณหา ย่อมส่งผลให้เกิดโทษภัยได้ พระพุทธเจ้าได้ทรงตรัสว่า “กายนี้เกิดขึ้นเพราะอาหาร บุคคล
๓e วิ.มหา. (ไทย) ъ/ъ๔๙/๔๐๕.
๓ъ วิ.ม. (ไทย) ๕/๓๐๐/e๓e.
๓๓ วิ.ม. (ไทย) ๕/๓๐๐/e๓ъ.
อาศัยอาหาร แล้วพึงละอาหารเสีย”๓๔ เพื่อจะได้ไม่เผลอใจไปยึดติดกับอาหาร อาหารจึงมีความสําคัญ ซึ่งผู้วิจัยจะให้อธิบายความสําคัญของอาหารตามที่ได้ศึกษา ดังนี้
e) ความสําคัญของกวฬิงการาหาร
อาหารที่บุคคลจะต้องกลืนกินเข้าไปทางปาก เช่น คําข้าวและสิ่งที่ต้องกิน ดื่ม ลิ้ม เป็นต้น เมื่อบุคคลบริโภคอาหารชนิดนี้เข้าไป อาหารย่อมให้ผล ๓ อย่าง คือ (e) บรรเทาความหิวเก่า (ъ) ป้องกันความหิวใหม่ และ (๓) ทําให้ร่างกายมีกําลังสามารถประกอบกิจกรรมการงานอันเป็นหน้าที่ ของตนได้
นอกจากนี้แล้วกวฬิงการาหารยังทําหน้าที่หล่อเลี้ยงบํารุงสนับสนุนร่างกาย คือ รู้ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันเป็นส่วนกามคุณ ทําให้รูปสวยงามขึ้น หากขาดอาหารแล้ว รูปก็ไม่สามารถ ดํารงอยู่ได้ แม้อาหารน้อยไปรูปก็ไม่สวยงาม เมื่อไม่สวยงาม ความใคร่ความกําหนัดในรูปก็จะไม่มี ดังนั้น จะพบว่า ราคะ ความกําหนัดใน ๕ กามคุณนั้น อาศัยอาหารเป็นตัวการสําคัญที่ช่วยกระตุ้นให้ เกิดขึ้น จะเห็นได้ว่าศีลข้อที่ ๖ ของสามเณรหรือของผู้ที่รักษาศีลอุโบสถเป็นการบัญญัติเพื่อลดอาหาร อันจะมีผลในการช่วยลดราคะลงด้วย
กวฬิงการาหาร โดยตัวของมันเองแล้ว ไม่ดีไม่ชั่ว มีสภาพเป็นอัพยากฤตอยู่ในกามาวจรภูมิ คือ โลกของผู้ที่เสพเสวยปรนเปรอชีวิตด้วยสิ่งที่น่าใคร่ต่างๆ แม้กระนั้นก็ตาม กวฬิงการาหารก็ทําให้ เกิดความยึดติดหรือติดใจในอาหาร เป็นภัยเพราะความผูกพันระหว่างบุคคลผู้ต้องการอาหารกับ อาหาร จึงเป็นความทุกข์อย่างหนึ่ง เรียกว่า อาหารปริเยฏฐิทุกข์ คือ ความทุกข์ เกี่ยวกับการแสวงหา อาหารด้วยวิธีการที่ไม่สมควรเช่น เป็นหมอยา เป็นต้น เป็นที่ครหานินทาของประชาชน แม้ในโลกหน้า ก็เข้าสู่อบาย สิ่งเหล่านี้คือ โทษอภัยของกวฬิงการาหาร๓๕
ъ) ความสําคัญของผัสสาหาร
เมื่อมีสัมผัสกระทบกันแล้ว กล่าวคือ ตากระทบรูป จมูกกระทบกลิ่น ลิ้นกระทบรส หู กระทบเสียง กายกระทบกาย จะทําให้เกิดเวทนา คือ การเสวยอารมณ์และสัญญาความจํา ตลอด จนถึงเจตสิกธรรม ได้แก่ สุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา แต่ผัสสาหาร มีการเข้าถึงการ สัมผัสบ่อยๆ ด้วยการอํานาจความพอใจเป็นภัย เพราะผู้ที่ตกอยู่ในอํานาจของผัสสะ สามารถประพฤติ ผิดในสิ่งที่เป็นของผู้อื่นที่ไม่ใช่ของตนได้ เช่น ประพฤติผิดในภรรยาของผู้อื่น เป็นต้น ซึ่งต้องได้รับโทษ ทั้งในภพนี้และในภพหน้า
๓) ความสําคัญของมโนสัญญาเจตนาหาร
อย่างที่ทราบกันแล้วว่ามโนสัญญาเจตนาหาร อาหาร คือ ความจงใจหรือความตั้งใจ เมื่อ บุคคลมีความตั้งใจที่จะทําให้อะไรสักอย่างแล้ว ย่อมทําให้เกิดภพ แต่หากมโนสัญเจตนาหาร มีการ พอกพูนครุ่นคิด เป็นภัย คือ การผันผวนครุ่นคิดพิสดารถึงสิ่งที่ดีไม่ดีจะเป็นภัยในภพทั้ง ๓ ต่อไปที่
๓๔ องฺ.จตุกฺก. (บาลี) ъe/e๕๙/e๖๔, องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ъe/e๕๙/ъъe.
๓๕ พระโสภณคณาภรณ์ (ระแบบ ต าโณ), แบบประกอบนักธรรมชั้นโท-ธรรมปริทรรศน์ เล่ม ๒, (กรุงเทพมหานคร: มหามกุฏราชวิทยาลัย, ъ๕ъ๙), หน้า ъe๕.
เนื่องด้วยมโนสัญเจตนานั้น เพราะถ้าคิดดี จะมีคติที่ดี ถาคิดชั่ว มีคติที่ดีนี้เป็นภัยของมโนสัญเจตนา หาร
๔) ความสําคัญของวิญญาณาหาร
หากไม่มีวิญญาณ ถึงแม้ว่าจะมีชีวิตอยู่ก็ไม่สามารถที่จะรู้ตัวได้ เหมือนกับการถูกฉีดยาสลบ ถึงแม้จะไม่ตายแต่ก็ไม่สามารถรับรู้อะไรได้ ส่วนวิญญาณหาร มีการเกิดขึ้นต่อไป เป็นภัย เพราะถ้าเกิด ใหม่ในภพใด ในฐานะใด จะพาเอานามรูปไปเกิดด้วย ซึ่งเป็นตัวเหตุให้ภัยต่างๆ ข้างต้นเกิดขึ้นตามมา ด้วย เพราะความที่ภัยทั้งหมดนั้นมีวิญญาณาหารในรากเหง้า
ในคัมภีร์ปกรณ์วิเสสวิสุทธิมรรค อธิบายถึงความสําคัญของอาหารที่เกื้อหนุนต่อการปฏิบัติ ธรรม ไว้ว่าอาหารที่ไมสมควรและที่สมควรแก่การบริโภค ในระหว่างกําลังปฏิบัติธรรม โยคาวจร บุคคลบางท่านได้รับประทานอาหารที่มีรสหวาน แล้วก็ไม่ถูกปาก ไม่มีความชุ่มชื่นผาสุกใจ จิตใจไม่ มั่นคง แต่เมื่อไดอาหารรสเปรี้ยวแล้วก็รูสึกชุ่มชื่นผาสุกใจทําให้จิตใจมั่นคงถาวรยิ่งขึ้น ฉะนั้น อาหารที่ มีรสหวานนั้นจึงเป็นอสัปปายะ ส่วนอาหารที่มีรสเปรี้ยวเป็นสัปปายะแก่โยคาวจรนั้น บางท่านเมื่อได้ รับประทานอาหารที่มีรสเปรี้ยว แล้วก็ไม่ถูกปาก ไม่มีความชุ่มชื่นผาสุกใจ จิตใจไม่มั่นคง แต่เมื่อได้ อาหารรสหวานแลว ก็รู้สึกชุ่มชื่นผาสุกใจ ทําให้จิตใจมั่นคงถาวรยิ่งขึ้น ฉะนั้น อาหารที่มีรสเปรี้ยวนั้น จึงเป็นอสัปปายะ ส่วนอาหารที่มีรสหวานเป็นสัปปายะแก่โยคาวจรนั้น สําหรับรสเค็ม ขม เผ็ด ฝาด ๔ อย่างนี้ ไม่ได้กล่าว โดยเฉพาะๆ นั้น ก็เพราะรสเหล่านี้เพียงแต่เป็นเครื่องปรุงให้รสทั้งสองนั้นดีขึ้น ดังนั้น เมื่อยกรสหวานและเปรี้ยวขึ้นมาแสดงโดยละเอียดแล้ว ก็เป็นอันว่าได้กล่าวถึงรส ๔ อย่างนี้ตาม สมควรไป๓๖
ความสําคัญของอาหารปรากฏในคําสอนเกี่ยวกับความเป็นปฏิรูปประเทศ คือประเทศที่ เหมาะสมตามหลักพระพุทธศาสนา ที่มีองค์ประกอบสําคัญ ๗ ประการ ได้แก่๓๗
๑) อาวาสสัปปายะ คือ ถิ่นที่อยู่ หรือสถานที่อยู่ที่มีสิ่งแวดล้อมที่ดี เป็นสถานที่ที่มีสภาพ ทางภูมิศาสตร์ดี มีสภาพดินฟ้าอากาศเหมาะ แก่การอยู่อาศัย โดยเอื้อประโยชน์สองประการ คือ เหมาะแก่การ อยู่อาศัย และเหมาะสมต่อการประกอบอาชีพ
ъ) โคจรสัปปายะ คือ สถานที่แห่งนั้นต้องมีทางโคจร หรือ ทางเดิน ถนนหนทางไปมาได้
สะดวก ไม่ใกล้นัก ไม่ไกลนัก หนทางในการบิณฑบาตไม่ลําบากนัก เหมาะแก่การจาริก อีกทั้งภายใน สถานที่ก็ควรมีทางเดินจงกรมที่เหมาะสมแก่การปฏิบัติธรรม
๓) ภัสสสัปายะ ได้แก่ การสนทนา พูดคุย การฟัง คือ การสนทนา พูดคุยกันแต่สิ่งที่เป็น ประโยชน์ต่อการปฏิบัติ ได้ฟังสิ่งที่จะทําให้จิตใจเกิดสัทธา วิริยะ อุสาหะ ความสงบระงับในการที่จะ ทําความเพียร หรือมีผู้รู้ พหูสูต ครูบาอาจารย์ที่อบรมสั่งสอนกรรมฐานให้ได้รับความรู้ และเป็นอุป การคุณแก่การเจริญกรรมฐานให้ก้าวหน้า ให้เว้นการสนทนา พูดคุยในสิ่งที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ไม่ เป็นสัปปายะนั้นเสีย
๓๖ มหามกุฏราชวิทยาลัย, วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๑ ตอน ๒, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราช วิทยาลัย), หนา e๐๓.
๓๗ เรื่องเดียวกัน, หนา e๐๐.
๔) ปุคคลสัปปายะ คือ บุคคลที่อยู่ร่วมกัน บุคคลที่ติดต่อคบหา ควรเป็นผู้ตั้งมั่นในศีลธรรม มีความสันโดษ มักน้อย ชักจูงแนะนําไปในทางที่จะเป็นประโยชน์ต่อการทําความเพียร ความสงบ และถ้าเป็นครูบาอาจารย์ หรือบุคคลที่เคยเจริญกรรมฐานมาแล้ว ก็จะยิ่งเป็นประโยชน์มาก ให้พึงเว้น การคบหาสมาคมกับบุคคลที่มีจิตฟุ้งซ่าน บุคคลที่มากไปด้วยกามารมณ์ในทางโลกียะ
๕) โภชนสัปปายะ คือ อยู่ในท้องถิ่นนั้นมีอาหารสมบูรณ์ เพราะอาหารถือได้ว่าเป็นปัจจัยที่ สําคัญที่สามารถทําให้ร่างกายมีกําลัง ในการประกอบกิจการงานต่าง การเลือกอยู่ในถิ่นที่มีความอุดม สมบูรณ์ย่อมเป็นเครื่องช่วยส่งเสริม เกื้อหนุนให้บุคคลนั้นถึงความ เจริญและความเป็นมงคลได้อีกทาง หนึ่ง
๖) อุตุสัปปายะ คือ ฤดูอันเป็นที่สบาย หมายถึงอากาศตามฤดูกาล ความร้อน ความเย็น
ของอากาศ ซึ่งบางสถานบางฤดูอาจจะร้อนจัดเกินไป บางฤดูก็หนาวจัดเกินไป หรือกลางวันร้อนจัด กลางคืนหนาวจัด ซึ่งสภาพอากาศเช่นนี้จะทําให้เกิดความเจ็บไข้ได้ป่วยแก่ร่างกาย จึงต้องเลือกให้ เหมาะสมแก่สภาพร่างกายของตน
๗) อิริยาปถสัปปายะ คือ อิริยาบถอันเป็นที่สบาย หมายถึงอิริยาบถทั้ง ๔ หรือ การ เคลื่อนไหว ยืน เดิน นั่ง นอน อิริยาบถใดทีทําให้จิตไม่สงบระงับ ก็แสดงว่าอิริยาบถนั้นไม่สบายไม่ เหมาะสม จึงเว้นเสียจากการใช้อิริยาบถนั้น หากเมื่อจําเป็นก็ใช้แต่น้อย
จะเห็นได้ว่า อาหารเป็นส่วนหนึ่งที่สําคัญในองค์ประกอบต่างๆ ที่ทําให้เกิดควา ม สะดวกสบาย เหมาะแก่การดํารงชีพ ดังปรากฏในคําสอนว่า “บรรพชาอาศัยโภชนะคือคําข้าวอันหา ได้ด้วยปลีแข้ง เธอพึงทําอุตสาหะในสิ่งนั้นตลอดชีวิต”๓๘
จากดังกล่าวเป็นความสําคัญของอาหารที่ปรากฏในพระพุทธศาสนา นอกจากนี้ยังมี ความสําคัญของอาหารในปัจจุบันซึ่งมีความสําคัญเป็นอย่างมาก ซึ่งผู้วิจัยจะได้อธิบายถึงความสําคัญ ของอาหารทั่วไป คือ อาหารที่เป็นคําข้าว โดยสถาบันวิจัยโภชนาการได้กล่าวถึงความสําคัญของ อาหารในแต่ละช่วงวัย ดังนี้๓๙
e) วัยทารก คือเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึง e ปี ซึ่งเป็นวัยที่มีความสําคัญมากกว่าวัยอื่นๆ เพราะ เป็นวัยที่มีพัฒนาการรวดเร็วมาก โดยเฉพาะสมองมีกรพัฒนาถึงร้อยละ ๘๐-๘๕ หากการเจริญเติบโต ในช่วงนี้สูญเสียไปจะก่อให้เกิดปัญหาทางร่างกายและสติปัญญาซึ่งไม่อาจแก้ไขได้ แม้จะมีการให้ อาหารทรากอย่างสมบูรณ์ในระยะหลัง อาหารที่เหมาะสมทั้งชนิดและปริมาณ เป็นปัจจัยที่สําคัญต่อ การพัฒนาและการเจริญเติบโตของร่างกายและสมอง เพราะวัยนี้เป็นช่วงที่มีการเจริญเติบโตอย่าง รวดเร็ว เพราะการเจริญเติบโตของสมอง เกิดขึ้นตั้งแต่ทารกอยู่ในครรภ์มารดาจนถึงอายุ ъ ปี ซึ่งมี การพัฒนาไปประมาณร้อย ๘๐ ของสมองผู้ใหญ่
๓๘ วิ.มหา. (ไทย) ๔/e๘ъ/e๙๗.
๓๙ คณะทํางานวิชาการและวิจัย สมาคมจันทร์เสี้ยวการแพทย์และสาธารณสุข, อาหารและโภชนาการ, (สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้: มหาวิทยาลัยสงขานครินทร์, ъ๕๕e), หน้า ๗-๘.
ъ) เด็กก่อนวัยเรียน เป็นเด็กที่มีอายุระหว่าง e-๖ ปี การเจริญเติบโตของสมองยังเป็นไป อย่างรวดเร็วจนถึงอายุ ъ ขวบ การเจริญเติบโตของสมองจะเร็วมากถึงร้อยละ ๘๐ ของผู้ใหญ่ การ เจริญเติบโตจะเห็นได้ชัดเจนทางร่างกายทั้งน้ําหนักส่วนสูง ต้องได้รับอาหารต่างๆ ที่มีคุณภาพ ใน ปริมาณที่พอเพียงและเหมาะสม
๓) วัยเรียนและวัยรุ่น วัยนี้ต้องการอาหารมากขึ้น เพราะร่างกายกําลังเจริญเติบโตและต้อง ใช้แรงงานมาก เด็กนักเรียนเป็นวัยที่กําลังเจริญเติบโตทั้งด้านร่างกายและสมอง จึงต้องการสารอาหาร และพลังงานเพื่อใช้ในการสร้างเซลล์และเนื้อเยื่อ และเพื่อให้อวัยวะต่างๆ ทํางานได้ปกติตลอดทั้ง กิจกรรมและการออกกําลังกาย ดังนั้น เด็กวัยนี้ควรได้รับสารอาหารที่เพียงพอต่อความต้องการของ ร่างกายโดยได้รับสารอาหารครบทั้ง ๕ หมู่ วันละ ๓ มื้อ หากเด็กได้รับอาหารโปรตีนไม่เพียงพอ จะทํา ให้การเจริญเติบโตหยุดชะงัก เซลล์สมองมีขนาดเล็ก ซึ่งมีผลต่อสติปัญญาและการเรียนรู้ของเด็กมาก ในด้านร่างกายอาจมีผลต่ออัตราการเจริญเติบโตของร่างกายและโครงกระดูก ทําให้เด็กมีรูปร่างเล็ก ไม่แข็งแรง เจ็บป่วยง่าย
๔) สตรีมีครรภ์และสตรีให้นมบุตร อยู่ในภาวะพิเศษต้องการอาหารมากกว่าบุคคลทั่วไป เพราะต้องเผื่อแผ่ไปยังลูกด้วย หญิงมีครรภ์มีความจําเป็นต้องมีภาวะโภชนาการที่ดีในระหว่างมีครรภ์ ต่อเนื่องก่อนมีครรภ์ ซึ่งมีผลต่อน้ําหนักตัวแรกคลอดของทารก และหญิงในระยะให้นมบุตรมี ความสําคัญเช่นเดียวกับระยะตั้งครรภ์ โดยเฉพาะช่วงให้นมลูกแม้ต้องการอาหารไปสร้างน้ํานมและ ช่วยซ่อมแซมร่างกายมารดาที่ทรุดโทรมเนื่องจากคลอดบุตรด้วย การได้รับอาหารที่มีพลังงานแบะ สารอาหารครบตามที่ร่างกายต้องการจะช่วยให้มารดาผลิตน้ํานมให้ทารกได้เพียงพอ และช่วย ซ่อมแซมร่างกายของมารดาที่เสื่อมโทรมเนื่องจากการคลอดบุตรและการให้นมบุตร หากไม่ได้รับ อาหารสารอาหารที่เพียงพอในระยะนี้จะทําให้ร่างกายทรุดโทรมน้ําหนักลด ความต้านทานโรคต่ํา เกิด โรคภัยไข้เจ็บได้ง่าย
๕) วัยผู้ใหญ่และวัยกลางคน คือผู้ที่มีอายุตั้งแต่ ъ๐ ปีขึ้นไป วัยนี้ร่างกายจะมีการสร้างเพื่อ การเจริญเติบโตน้อยลง แต่มีการสร้างเซลล์ต่างๆ เพื่อรักษาสมรรถภาพการทํางานของร่างกายให้คงที่ เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้นการทํางานของเซลล์ต่างๆ ในร่างกายเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงทีละน้อยทุกวัน ซึ่งทํา ให้อัตราการทํางานของอวัยวะภายในลดลง การเปลี่ยนแปลงจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับภาวะ โภชนาการ และการดําเนินชีวิตของบุคคลนั้นๆ
๖) วัยสูงอายุ ตามที่องค์กรสหประชาชาติ และองค์กรอนามัยโลกกําหนด หมายถึง ผู้ที่มี อายุตั้งแต่ ๖๐ ปีขึ้นไป มีความต้องการอาหารน้อยกว่าคนในวัยหนุ่มสาว เพราะร่างกายหยุด เจริญเติบโตและใช้แรงงานน้อยลง
จึงกล่าวได้ว่าอาหารนั้นมีความสําคัญกับสรรพสัตว์ทั้งหลาย ที่น่าศึกษาคือกวฬิงการาหาร หากไม่มีอาหารก็ไม่สามารถดํารงชีวิตอยู่ได้ ไม่มีแรงที่จะทํากิจกรรมต่างๆ เป็นเครื่องขวางการทํา กิจกรรมต่างๆ เช่นกัน นอกจากนี้แล้วหากไม่มีผัสสาหาร ก็ไม่มีความรู้สึก ไม่รู้ไม่เห็นไม่ได้ยินอะไรเลย แต่ถึงกระนั้นอาหารแต่ละอย่างที่ได้กล่าวมานั้นก็เปรียบเสมือนกับดาบสองคมที่สามารถทําลายผู้ที่ บริโภคเช่นกัน การทําความเข้าใจให้ถูกต้องเกี่ยวกับอาหารนี้ คือรู้จักอาหาร รู้เหตุเกิดแห่งอาหาร รู้
ความดับแห่งอาหาร พระสารีบุตรได้กล่าวว่าเป็นสัมมาทิฐิ ดังความว่า “พระอริยสาวกรู้ชัดอาหาร เหตุเกิดแห่งอาหาร ความดับแห่งอาหาร และข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งอาหารเมื่อนั้น แม้ด้วยเหตุ เพียงเท่านี้ พระอริยสาวกก็ชื่อว่ามีสัมมาทิฏฐิ”๔๐
๒.๒ การบริโภคอาหารเชิงพุทธ
อาหารถือเป็นสิ่งสําคัญอาจจะกล่าวได้ว่าเป็นต้นเหตุที่ทําให้เกิดวัฏจักรที่ทําให้สรรพสัตว์ อยู่วนเวียนในสังสารวัฏแห่งนี้ ดังจะเห็นได้จากตั้งแต่การกําเนิดโลกที่ปรากฏในอัคคัญสูตร บรรพบุรุษ แต่เดิมเป็นเป็นเทพที่อาศัยอยู่ในวิมานแก้ว สามารถเหาะเหินเดินอากาศได้ มีรัศมีอยู่ในตัว แต่ก็ต้อง สิ้นฤทธิ์ไปเพราะเกิดติดใจในรสชาติของง้วนดิน ซึ่งถือว่าเป็นอาหารคําๆ อันแรกของโลกเลยก็ว่าได้ และได้ถูกพัฒนามาเป็นเครือดิน สะเก็ดดิน และข้าวสาลีตามลําดับ๔e จนทําให้กายบรรพบุรุษในยุค แรกเริ่มนั้นมีกายที่หยาบขึ้นจนเกิดเนื้อหนังมังสามาจนถึงปัจจุบัน
๒.๒.๑ โภชนปฏิบัติของพระพุทธเจ้า
เมื่อครั้งที่พระพุทธเจ้ายังทรงเป็นเจ้าชายสิทธัตถะอยู่นั้น เป็นผู้ที่พรั่งพร้อมด้วยกามคุณทั้ง ห้า คือ รูป เสียง กลิ่น รส และการสัมผัส ที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าชอบใจและพระราชบิดาทรงรับสั่ง ให้สร้างปราสาท ๓ หลัง สําหรับฤดูทั้ง ๓ คือ ฤดูฝน ฤดูหนาวและฤดูร้อน พระองค์ได้รับการ ปรนเปรอด้วยสิ่งบําเรอต่าง ๆ มากมาย ทรงใช้ชีวิตหมกมุ่นอยู่กับความสุขอันเกิดแต่สิ่งที่น่าใคร่ (กาม สุขัลลิกานุโยค) ดังบาลีที่พระองค์ตรัสถึงอดีตของพระองค์เองว่า
มาคัณฑิยะ เรานี้แล ครั้งก่อนเมื่อยังครองเรือนอยู่ มีกามคุณทั้งห้าพรั่งพร้อมเต็มที่บํารุง บําเรอด้วยรูป...เสียง...กลิ่น...รส...โผฎฐัพพะ..ทั้งหลายที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าชอบใจ ประกอบด้วยความยั่วยวนชวนให้กําหนัด เรามีปราสาทถึง ๓ หลัง ปราสาทหนึ่งสําหรับฤดู ฝนปราสาทหนึ่งสําหรับฤดูหนาว ปราสาทหนึ่งสําหรับฤดูร้อน เรานั้นได้รับการบําเรอด้วย ดนตรีทั้งหลายที่ล้วนแต่สตรี ไม่มีบุรุษเจือปนอยู่ในปราสาทฤดูฝน ไม่ลงจากปราสาทตลอดสี่ เดือน๔ъ
แม้ว่าเจ้าชายสิทธัตถะ จะได้รับการปรนเปรอด้วยสิ่งที่ดีเลิศเพียงไหนก็ตาม หาใช่ความสุขที่ แท้จริงไม่ เพราะความสุขชนิดนั้น อิงอาศัยปัจจัยภายนอกคือ กามคุณ เมื่อสิ่งเหล่านั้น แปรเปลี่ยนไป ตามสภาพความเป็นจริง เพราะค่าที่เป็นสิ่งไม่เที่ยงแท้ จึงเป็นความทุกข์อยู่ในตัวของมันเอง ซ้ํายังเป็น ที่ตั้งแห่งความอยากแห่งมวลมนุษย์ เมื่อผู้ใดก็ตามพาตัวเข้าไปหมกมุ่นพัวพันกับสิ่งเหล่านั้น ย่อมจะ ได้รับความทุกข์เพราะเหตุนี้ เพราะสิ่งเหล่านั้นไม่ได้เป็นไปตามที่ตนปรารถนา กระนั้นก็ตาม พระองค์ มิได้ทรงปฏิเสธความสุขอันเกิดแต่สิ่งที่น่าใคร่ว่า ไม่ใช่ความสุข ยังทรงยอมรับว่าเป็นความสุข เพียงแต่ ว่าเป็นความสุขที่เจือด้วยความทุกข์ เพราะอิงอาศัยสิ่งภายนอกและเป็นความสุขที่มีเงื่อนไขที่ไม่ แน่นอน ไม่ใช้ความที่แท้จริง
๔๐ สํ.ม. (ไทย) eъ/๙๐/๘๔.
๔e ดูรายละเอียดใน ที.ปา. (ไทย) ee/eee-e๔๐/๘๓-e๐ъ.
๔ъ ม.ม. (ไทย) e๓/ъ๘e/ъ๗๔-๖
พระองค์ทรงเล็งเห็นถึงสัจธรรมข้อนี้ จึงสละราชสมบัติ เสด็จออกบรรพชา ถือเพศเป็น บรรพชิต ทรงศึกษาค้นคว้าวิชาแสวงหาทางหลุดพ้นความทุกข์ ได้ศึกษาอยู่ในสํานักของอาฬารดาบส กาลามโคตร และอุททกดาบส รามบุตร จนจบการศึกษา แต่ก็ยังไม่ใช่แนวทางแห่งความหลุดพ้น ทุกข์๔๓ จึงเสด็จไปยังตําบลอุรุเวลาเสนานิคม ทรงบําเพ็ญทุกกรกิริยาทรงทรมานพระองค์ โดยประการ ต่างๆ ย่างสุดโต่ง ในวาระสุดท้ายทรงอดอาหาร จนพระวรกายซูบผอม ไม่ควรแก่การงาน ดังบาลี แสดงถึงความซูบผอมของพระวรกายที่พระองค์ตรัสเล่าไว้ว่า
เพราะความเป็นผู้มีอาหารน้อยนั่นแล อวัยวะน้อยใหญ่ของเราเป็นเสมือนเถาวัลย์แปดสิบ ข้อหรือเสมือนเถาวัลย์ข้อดํา ตะโพกของเราเป็นเสมือนเท่าอูฐ กระดูกสันหลังผุดระกะเหมือน เถาวัฏฏนาวฬีซี่โครงนูนขึ้นเป็นร่องๆ ดังกลอนศาลาเก่าที่เครื่องมุงหล่นโทรมอยู่ดวงตาบุ๋มลึก เข้าไปในเบ้าตาประหนึ่งดวงดาวปรากฏในบ่อน้ําลึกผิวศีรษะที่รับสัมผัสอยู่เหี่ยวแห้ง เหมือน ดังผลน้ําเต้าสดที่ตัดมาทั้งสด ๆ กลมและแดดกระทบเหี่ยวแห้งไป ฉะนั้น เราคิดว่า จะลูบ ผิวหนังท้องก็จับถูกกระดูกสันหลัง คิดว่า จะลูบสันหลังก็จับถูกหนังท้องกับกระดูกสันหลังติด ถึงกันเมื่อคิดว่า จะถ่ายอุจจาระหรือปัสสาวะ ก็ชวนเซล้มลง ณ ที่นั้นเองเมื่อจะให้กายนี้มี ความหมาย ก็เอามือลูบตัวขนทั้งหลายมีรากเน่า ก็หลุดร่วงจากกาย”๔๔
แม้พระองค์จะทรงบําเพ็ญทุกกรกิริยา ทรมานพระวรกายถึงเพียงนี้แต่ยังไม่ได้ตรัสรู้ธรรม จึงทรงระลึกถึงความสุขอันเกิดจากการสงัดจากอกุศลธรรมทั้งปวงที่พระองค์ได้รับเมื่อคราวงานวัป ปมงคลภายใต้ไม้หว้านั้น จึงตกลงพระทัยว่า นั่นคือแนวทางแห่งการตรัสรู้ธรรม การที่บุคคลจะปฏิบัติ เช่นนั้น จะต้องมีร่างกายที่สมบูรณ์ จึงทรงหันมาบริโภคอาหารหยาบ คือ ข้าวสุกและขนมสด จนทรงมี กําลังกายสมบูรณ์ขึ้นและในเวลาเช้าของวันที่จะตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณนั้นได้ทรงเสวยข้าว ปายาสที่นางสุชาดานํามาถวาย และทรงบําเพ็ญเพียรจนบรรลุจตุตถฌานและได้ตรัสรู้ในที่สุด๔๕
แม้ในคราวที่เสด็จดับขันธปรินิพพาน ได้ทรงเสวยอาหารบิณฑบาตของนายจุนทะที่นํา สูกรมัททวะมาถวาย จนเป็นสาเหตุให้เกิดแสลงโรคอย่างหนักได้รับเวทนาปางตาย๔๖ พระองค์ทราบดี ว่าอาหารมื้อนี้จะทําให้อาพาธถึงตายได้และต้องเป็นคนที่มีกําลังดีถึงบริโภคได้ จึงรับสั่งให้นําส่วนที่ เหลือไปฝังเสียไม่ให้ใครได้บริโภคอีกต่อไปว่า
จุนทะ สูกรมัททวะของเธอส่วนใด ที่เหลือเธอ จงฝังส่วนนั้นเสียในหลุม จุนทะ (เพราะ) ใน หมู่สัตว์ทั้งหลายสมณะและพราหมณ์ ทั้งเทวดาและมนุษย์ ในโลกกับทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก เว้นตถาคตเจ้าเสียเรา (ตถาคต) ยังไม่เห็นผู้ที่บริโภคสูกรมัททวะนั้นแล้วถึงความ แปรเปลี่ยนไปในทางที่ดีเลย๔๗
๔๓ ม.ม. (ไทย) e๓/๔๔๘-๔๙๐/๔๔๔-๔๔๔
๔๔ ม.ม (ไทย) e๓/๕๐ъ/๔๕๗-๔๕๘
๔๕ ม.ม. (ไทย) e๓/๕๐ъ-๔๕๖-๔๕๖-๔๖e
๔๖ ที.ม. (ไทย) e๐/ee๗/e๔๙
๔๗ ที.ม. (ไทย) e๐/ee๗/e๔๘
ทําให้เห็นว่า อาหารนั้นใช่แต่จะให้คุณอย่างเดียว บางอย่างก็ให้โทษถึงชีวิตเช่นกัน แต่ อย่างไรก็ตาม ในกรณีของพระพุทธเจ้านั้น ถือว่าอาหารบิณฑบาตทั้งสองคราวนั้นมีผลเท่ากัน มีวิบาก เท่ากัน แม้ว่าในสองคราวนั้น คราวแรกเป็นเหตุให้ตรัสรู้อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณคราวที่สอง เป็นเหตุ ให้เสด็จดับขันธปรินิพพาน ก็ตามแต่ก็ยังมีผลมากกว่าบิณฑบาตคราวอื่นๆ เพราะพระพุทธเจ้า เสวย อาหารบิณฑบาตที่นางสุชาดาถวายแล้ว ทรงปรินิพพานด้วยสอุปาทิเสสนิพพานธาตุ (ดับกิเลสทั้งปวง ทั้งที่ยังมีชีวิตอยู่) เสวยอาหารบิณฑบาตที่นายจุนทะถวายแล้ว ทรงปรินิพพานด้วยอนุปาทิเสสนิพพาน ธาตุ (ดับกิเลสทั้งปวงทั้งที่ยังมีชีวิตอยู่) เพราะเหตุที่อาหารทั้งสองคราวนั้นให้ผล คือ ทําให้ พระพุทธเจ้าทรงปรินิพพานต่างประเภทและต่างวาระกันนั้น พระองค์จึงตรัสว่า
บิณฑบาต ъ คราว มีผลเท่ากัน มีวิบากเท่ากัน มีผลมากกว่ามีอานิสงส์มากกว่าบิณฑบาต คราวอื่นๆ ยิ่งนัก กล่าวคือบิณฑบาตที่ตถาคตบริโภคแล้ว ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ และบิณฑบาตที่ตถาคตบริโภคแล้ว ปรินิพพานด้วยอนุปาทิเลสนิพพานธาตุ๔๘
อนึ่ง การจะกล่าวว่าพระพุทธเจ้านิพพานด้วยอาหารมื้อสุดท้ายของนายจุนทะนั้นก็ไม่ สมเหตุสมผลเสียทีเดียว เนื่องจากการปรินิพพานของพระพุทธเจ้าเป็นกาลที่เหมาะสม ซึ่งพระองค์ได้ ทรงปลงพระชนมายุสังขารด้วยพระองค์เอง การจะเสวยหรือไม่เสวยอาหารของนายจุนทะย่อมไม่มีผล ต่อการปรินิพพานของพระองค์ที่ทรงกําหนดไว้แน่ชัดแล้ว พระดํารัสที่แสดงอานิสงส์ของบิณฑบาต ъ ครั้งนี้จึงมีผลทางด้านจิตวิทยามากกว่าการแสดงด้านอานิสงส์ เนื่องจากพระองค์เกรงจะมีคนตําหนิ โทษนายจุนทะเพราะเหตุถวายสูกรมัททวะ จึงมีพระดํารัสยกย่องบิณฑบาตคราวนี้ไว้ โภชนปฏิบัติของ พระพุทธเจ้านี้พระมหาปรีชา บุญศรีตันได้อธิบายไว้เป็นประเด็น ดังนี้๔๙
๑) ไม่ทรงยึดติดในรสของอาหาร
พระจริยวัตรเกี่ยวกับการบริโภคอาหารของพระพุทธเจ้าในช่วงระยะเวลา ๔๕ พรรษาที่ทรงเผยแพร่พระธรรมคําสอนที่พระองค์ได้ตรัสรู้แก่เวไนยสัตว์นั้น มีปรากฏในพระไตรปิฎก และในอรรถกถาที่อธิบายความไว้หลายแห่ง แต่ละแห่งนั้นบ่งบอกถึงชนิดอาหารที่พระพุทธเจ้าทรง บริโภคไว้อย่างรวมๆ ไม่เจาะจงอย่างชัดเจนเหมือนอย่างอาหารบิณฑบาตสองคราวนั้น คือ บอกแต่ เพียงว่า ของควรเคี้ยว ของควรบริโภคอันปราณีต (ขาทนียโภชนีย์) บ้าง ภัตรอันประณีต (ปณีต ภตฺตํ) บ้าง สิ่งของอันสมควร (กปฺปิยภณฺฑํ) บ้าง ซึ่งเป็นการบอกถึงว่า ต้องเป็นของที่สมควรแก่สมณสารูป และไม่ผิดต่อพระพุทธบัญญัติ ซึ่งทรงอนุญาตไว้ให้พระภิกษุสงฆ์ได้ดังกล่าวข้างต้น ในการศึกษาวิจัยนี้ จะนําเสนอพระจริยวัตรที่เห็นว่า เป็นแนวทางแห่งการปฏิบัติชี้ชัดถึงสิ่งที่พระองค์ทรงสั่งสอนบางตอน ดังบาลีแสดงลักษณะของมหาบุรุษตอนหนึ่งที่กล่าวถึงการบริโภคของพระพุทธเจ้าว่า ๘ ประการ คือ
e) ไม่เสวยเพื่อเล่น ъ) ไม่เสวยเพื่อมัวเมา
๔๘ ที.ม. (ไทย) e๐/eъ๖/e๕๘ ., ขุ.อุ. (ไทย) ъ๕/e๖๘/ъe๔.
๔๙ พระมหาปรีชา บุญศรีตัน, “พุทธจริยธรรมกับการบริโภคอาหาร: ศึกษาเฉพาะกรณีเกณฑ์ทาง จริยธรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษาชมรมพุทธฯ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ”, วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาจริยศาสตร์ศึกษา, หน้า ъ๙-๓ъ.
๓) ไม่เสวยเพื่อประดับ
๔) ไม่เสวยเพื่อตกแต่ง
๕) เสวยเพื่อดํารงพระวรกายนี้ไว้
๖) เสวยเพื่อยังพระชนม์ให้เป็นไปได้
๗) เสวยเพื่อป้องกันความลําบาก
๘) เสวยเพื่ออนุเคราะห์พรหมจรรย์๕๐
พระพุทธองค์นั้น มิได้ยึดติดในรสของอาหารว่าจะอร่อยหรือไม่ เพียงใด ทรงมีความ คงที่ในรสที่น่าปรารถนาและไม่น่าปรารถนา ไม่ทรงยินดีในรสที่อร่อย และไม่ทรงยินร้ายในรสไม่อร่อย เพราะพระองค์ ทรงทราบคุณและโทษของอาหารพร้อมแนวทางออกจากเครื่องพันธนาการทั้งปวง ใน ข้อนี้ พระองค์ทรงตรัสเปรียบเทียบให้เห็นความแตกต่างของการบริโภคระหว่างพระองค์กับเทวดา และมนุษย์ทั้งหลายไว้ว่า
...เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มีรูปเป็นที่ยินดี รื่นรมย์ด้วยรูป บันเทิงด้วยรูป...บันเทิงด้วย เสียง...บันเทิงด้วยกลิ่น...บันเทิงด้วยรส...บันเทิงด้วยการสัมผัสกาย...บันเทิงด้วยธรรมารมณ์ เพราะค่าที่รูป...เสียง...กลิ่น...รส...โผฏรัฐพพะ...ธรรมารมณ์ แปรปรวน เลือนหายดับสลายไป เทวดา และ มนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์
ส่วนตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ทราบตามความเป็นจริงแล้วซึ่งความเกิดขึ้น ความ ตั้งอยู่ไม่ได้ คุณ โทษของรูป...เสียง...กลิ่น...รส..โผฏฐัพพะ...ธรรมารมณ์พร้อมทั้งทางออกจึง ไม่เป็นผู้มีรูปเป็นที่ยินดี ไม่รื่นรมย์อยู่ด้วยรูป ไม่บันเทิงอยู่ด้วยรูป...เสียง...กลิ่นรส..โผฏฐัพพะ
...ธรรมมารมณ์ เพราะค่าที่รูป...เสียง...กลิ่น...รส...โผฏฐัพพะ...ธรรมมารมณ์ปรวนแปร เลือน หาย ดับสลายไป ตถาคตเจ้าก็อยู่เป็นสุขได้๕e
๒) ไม่ทรงชมและตําหนิอาหาร
ครั้งหนึ่ง พะพุทธเจ้าประทับอยู่ที่พระเชตวัน ได้เวลาอาหารแล้ว เสด็จโปรด พราหมณ์ชื่อปัญจัคคทายก ซึ่งพราหมณ์ผู้นี้เป็นผู้ที่ถวายทานเป็นนิตย์ เมื่อมีผู้มาถึงบ้านเรือนจะต้อง ให้ทานเสียก่อนจึงจะบริโภคอาหาร ในขณะนั้น พราหมณ์ได้นั่งหันหลังมาทางประตูเรือน ทําให้ไม่เห็น พระพุทธเจ้าที่เสด็จมายืนอยู่ จึงบริโภคอาหารไปครึ่งหนึ่ง แต่เมื่อเห็นพระพุทธเจ้าในภายหลัง พราหมณ์จึงได้ถวายอาหารที่เหลือแก่พระพุทธเจ้า พระองค์ไม่ได้ทรงปฏิเสธอาหารที่เป็นเดนอันนั้น กลับตรัสแก่พราหมณ์ว่า “ภัตที่เลิศก็ตาม ภัตที่เขาแบ่งบริโภคแล้วก็ตาม ก้อนภัตที่เป็นเดนก็ตาม สมควรแก่เราทั้งนั้น เพราะว่า เราผู้อาศัยอาหารที่ผู้อื่นให้แล้วเลี้ยงชีวิตเป็นเช่นกับเปรต” และตรัสย้ํา ในเรื่องการบริโภคของพระภิกษุวางไว้เป็นหลักว่า
๕๐ ม.ม. (ไทย) e๓/๓๘๗/๔๗๙.
๕e สํ.สฬา. (ไทย) e๘/ъe๖-ъe๖-ъe๘/e๕๙-e๖e.
ภิกษุที่อาศัยอาหารผู้อื่นให้เลี้ยงชีวิต ได้ก้อนข้าวจากส่วนที่เลิศก็ตาม จากส่วนที่ปานกลางก็ ตาม จากส่วนที่เหลือก็ตาม ภิกษุนั้นเป็นผู้ไม่ควรเพื่อชมก้อนภัตนั้น, และไม่เป็นผู้ติเตียนแล้ว ขบฉันก้อนภัตนั้น, ธีรชนทั้งหลายย่อมสรรเสริญแม้ซึ่งภิกษุนั้นว่า เป็นมุนี๕๒
จากข้อความนี้ทําให้เห็นว่า พระพุทธเจ้าไม่ได้ทรงรังเกียจอาหารที่เหลือจากผู้อื่น แต่ ทรงทําพระองค์ให้เป็นตัวอย่างในความเรียบง่ายของการขบฉัน การใช้ชีวิตที่ต้องอาศัยผู้อื่นที่ไม่อาจ ควรตั้งข้อแม้ให้เกิดความวุ่นวาย เพียงเป็นอาหารที่ไม่ก่อให้เกิดโทษก็สามารถรับประทานได้แล้ว เพราะของที่เลิศก็ตาม ปานกลางก็ตาม หรือส่วนที่เหลือก็ตาม ย่อมเป็นไปเพื่อการยังอัตภาพนี้ให้ เป็นไปเท่านั้น โดยสะท้อนให้เห็นคุณค่าแท้ของอาหารมากกว่าคุณค่าเทียม
๓) ทรงบริโภควันละมื้อ
เวลาในการบริโภคของพระพุทธเจ้านั้น พระองค์ทรงบริโภคอาหารเพียงวันละมื้อ เท่านั้น คือ ในเวลาเช้า๕๓ พระองค์ได้ให้เหตุผลว่า บริโภคเพียงนี้ก็อยู่ได้อย่างสบาย ทําให้มีโรคภัยไข้ เจ็บน้อยร่างกายเบาสบายมีกําลังและคล่องตัว เพราะถ้าบริโภคมาก โรคภัยไข้เจ็บมักมีมากับอาหาร นั้น และเกินความจําเป็น ดังที่พระองค์ตรัสกะภิกษุทั้งหลายว่า
เราฉันอาหารมื้อเดียว เราเมื่อฉันอาหารมื้อเดียว ย่อมรู้สึกว่ามีอาพาธน้อย มีความลําบาก กายน้อย มีความเบากาย มีกําลัง และอยู่อย่างผาสุกมาเถิด แม้พวกเธอก็จงฉันอาหารมื้อ เดียว แม้เธอทั้งหลายเมื่อฉันอาหารมื้อเดียวจักรู้สึกว่ามีอาพาธน้อย มีความลําบากกายน้อย มีความเบากาย มีกําลัง และอยู่อย่างผาสุก๕๔
แสดงให้เห็นว่า พระองค์ทรงบริโภคอาหารเพียงหนึ่งวัน ด้วยเหตุที่พระองค์ทรง แนะนําให้ภิกษุสาวกปฏิบัติตาม เพราะอาหารเพียงเท่านั้นเป็นประมาณที่ทําให้พระองค์รู้สึกสบาย สามารถทําศาสนกิจได้อย่างคล่องตัว และยังทรงชักชวนให้ภิกษุเอาอย่างพระองค์ด้วย ซึ่งต่างจากการ บริโภคของมนุษย์ในสังคมปัจจุบัน ที่ทั้งอาหารหนักและอาหารว่าง (Ful lmeal and snack) และ รับประทานอาหารไม่เป็นเวลา สุดแต่อารมณ์และสถานการณ์ที่เอื้ออํานวยให้ การบริโภคอาหารจึง เป็นไปในลักษณะที่เวลาไหนก็ได้ กี่เวลาก็ได้ไม่มีกําหนดที่แน่นอน
เมื่อพระองค์ทรงชักชวนให้บริโภคเวลาเดียวในแต่ละวันเช่นนี้แล้ว มีภิกษุรูปหนึ่งชื่อ ภัททา ลิ ทูลคัดค้านว่าไม่สามารถบริโภคเวลาเดียวได้เพราะทําให้เกิดความฟุ้งซ่าน ร้อนรนเพราะไม่สามารถ ปฏิบัติธรรมได้ พระองค์ทรงอนุญาตผ่อนผันให้บริโภคได้วันละสองมื้อคือ เวลาเช้ากับกลางวัน เรียกว่า “ ฉันเป็นเอกเทศ” ซึ่งในอรรถกถาอธิบายความไว้ว่า การฉันเป็นเอกเทศนั้น คือ นําอาหารใส่ในบาตร แล้ว เมื่อมีถวายเนยใส ภิกษุฉันเนยใสนิดหนึ่งแล้วนําส่วนที่เหลือไปฉันในที่ที่ร่มและมีน้ําสมบูรณ์ แม้ กระนั้น ภัททาลิภิกษุ ยังคัดค้านไม่เห็นด้วยกับการฉันสองมื้อนั้นพระองค์จึงทรงบัญญัติวิกาลโภชนสิก ขาบท ห้ามบรรพชิตบริโภคอาหารเกินสองมื้อ คือห้ามฉันอาหารในวิกาล นับตั้งแต่เที่ยงวันเป็นต้นไป
๕ъ ขุ.ธ.อ. (ไทย) e/ъ/๔/๓๖๖-๓๖๗.
๕๓ ฉันมื้อเดียว คือ ตั้งแต่ดวงอาทิตย์ขึ้นจนถึงเวลาเที่ยงวัน แม้ภิกษุฉันอาหาร e๐ ครั้ง ในช่วงเวลานี้ก็ ประสงค์ว่า ฉันอาหารมื้อเดียว ม.มู.อ. (ไทย) ъ/ъъ๕/๓.
๕๔ ม.มู. (ไทย) e๓/ъъ๕/ъ๓๖.
จนถึงรุ่งอรุณของวันใหม่ไว้ว่า “อนึ่ง ภิกษุใด เคี้ยวกินก็ดี บริโภคก็ดี ซึ่งของควรเคี้ยวหรือของควร บริโภค ในเวลาวิกาล เป็นปาจิตตีย์”๕๕
จะเห็นได้ว่า จริยวัตรของพระพุทธเจ้านั้น ไม่ทรงเสวยมากเกินไป ไม่ทรงเสวยน้อยเกินไป เพราะทรงทราบถึงอาหารว่ามีทั้งประโยชน์และมีโทษ ทรงเสวยโดยรับรู้รสของอาหารแต่ไม่ได้ทรงยึด ติดในรสชาติว่าอร่อยหรือไม่อร่อยของอาหารนั้น นอกจากนี้พระพุทธองค์ยังทรงเสวยอาหารโดยไม่ได้ ชื่นชมสภาวะของอาหาร หรือตําหนิรูปร่างหน้าตาของอาหารก่อนที่จะทรงเสวยหากแต่เมื่อมีผู้มา ถวายก็จะทรงรับด้วยความยินดี และพระพุทธองค์นั้นทรงเสวยเพียงวันละมื้อ เพื่อเป็นการสร้างความ พอดีให้เกิดขึ้นแก่ร่างกาย ทําให้เกิดความสบาย เกิดความคล่องตัวในการทําพุทธศาสนกิจ จึงเป็น เคล็ดลับสําคัญในการรู้จักบริโภคอาหาร
๒.๒.๒ โภชนปฏิบัติตามพระวินัย
การบริโภคอาหารของพระภิกษุ ในพระพุทธศาสนานั้น เรียกว่า “การฉัน” ซึ่งเป็นศัพท์ เฉพาะที่ใช้ในกลุ่มนักบวช เป็นศัพท์บัญญัติในภาษาไทยเพื่อใช้กับพระภิกษุ การบริโภคหรือการฉัน ของพระภิกษุในพระพุทธศาสนา มีข้อวัตรปฏิบัติไม่ต่างไปจาก ข้อวัตรปฏิบัติของพระพุทธเจ้าเท่าใด นัก เรียกได้ว่า พระพุทธเจ้าเป็นแบบอย่างของการประพฤติปฏิบัติ และตรัสสั่งสอนไว้เช่นนั้น ผู้ที่เป็น พระสงฆ์สาวกหรือนักบวชในการปกครองของพระองค์ จึงถือประพฤติปฏิบัติตามจริยวัตรของ พระองค์๕๖
พระมหาปรีชา บุญศรีตัน ได้สรุปหลักโภชนปฏิบัติตามพระวินัยหรือการบริโภคแบบ บรรพชิตไว้ ดังนี้๕๗
๑) อาหารที่ทรงอนุญาตและทรงห้ามสําหรับพระภิกษุ
ในทางพระพุทธศาสนา พระพุทธองค์ทรงบัญญัติพระวินัยเกี่ยวกับอาหารเพื่อ ควบคุมพฤติกรรมของสาวกที่ยอมรับนับถือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ยินยอมสละเพศคฤหัสถ์ เพื่อเข้ามา สู่หมู่คณะที่มีความเสมอภาคกัน ไม่มีการแบ่งแยกชนชั้นวรรณะ และเพื่อลดละตัณหา กิเลสราคะ แต่ อาหารบางชนิดเหมาะแก่คฤหัสถ์แต่ไม่เหมาะกับบรรพชิต จึงมีทั้งอาหารที่ทรงอนุญาตและไม่อนุญาต ไว้ และมีเงื่อนไขที่จะต้องบริโภคภายในวันเวลาที่กําหนด ลักษณะของอาหารที่พระพุทธเจ้าทรง อนุญาตให้พระภิกษุรับบิณฑบาตเพื่อนํามาบริโภคได้นั้นมีหลายชนิด และมีความแตกต่างกันในการรับ ด้วย โดยขึ้นกับกาล ซึ่งเรียกว่า กาลิก๕๘ ดังนั้นแล้วชนิดของอาหารที่พระภิกษุสามารถบริโภคได้นั้น
๕๕ วิ.มหา. (ไทย) ъ/ъ๔๘/ъ๓๕
๕๖ ยุรธร จีนา วรางคณา กันธิยะ และพัชรินทร์ กบกันทา, “พุทธโภชนการ: การรับประทานอาหาร เพื่อสุขภาพตามแนวของพระพุทธศาสนา”, หน้า ๓๓.
๕๗ ดูรายละเอียดใน พระมหาปรีชา บุญศรีตัน, “พุทธจริยธรรมกับการบริโภคอาหาร: ศึกษาเฉพาะกรณี เกณฑ์ทางจริยธรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษาชมรมพุทธฯ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ”, วิทยานิพนธ์อักษรศาสต รมหาบัณฑิต สาขาวิชาจริยศาสตร์ศึกษา, หน้า ๔ъ-๕๓.
๕๘ บดินทร์ จิตต์เจริญหน้า, “การรับรู้หลักโภชนาการในพระพุทธศาสนา: กรณีศึกษาชาวพุทธที่เข้าร่วม กิจกรรมทางศาสนาในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา พระพุทธศาสนา, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยจุฬางกรณราชวิทยาลัย, ъ๕๕๔), หน้า ъъ.
เป็นไปตามที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตและห้ามไว้ อาหารบางชนิดเหมาะแก่คฤหัสถ์แต่ไม่เหมาะกับ พระภิกษุ พระองค์จึงตรัสเป็นข้อบัญญัติไว้กับพระภิกษุเป็นเชิงห้ามและอนุญาตไว้ ดังนี้
e) อาหารที่ทรงอนุญาต
อาหารที่ทรงอนุญาตให้พระภิกษุบริโภคได้นั้น พระพุทธองค์ทรงอนุญาตให้บริโภคได้ ก็จริงแต่เป็นการอนุญาตที่มีเงื่อนไข คือ จะต้องบริโภคภายในเวลาที่กําหนด แม้ในพระไตรปิฎกและ อรรถกถา เมื่อกล่าวถึงชนิดอาหารที่บริโภคหรืออาหารที่มีคนนํามาถวาย จะกล่าวเป็นรวมๆ ว่า ของ ควรเคี้ยว ของควรบริโภค ไม่ระบุให้แน่ชัดลงไปว่าชนิดไหนก็ตาม แต่ก็หมายถึง อาหารที่ทรงอนุญาต ไว้ว่าเป็นควรบริโภคได้ ได้แก่ โภชนะ ๕ ชนิด คือ ข้าวสุก ขนมสด ขนมแห้ง ปลา เนื้อ เหล่านี้บรรพ ชิดสามารถบริโภคได้ แต่ต้องบริโภคภายในเวลาที่กําหนดให้เท่านั้น คือ ตั้งแต่เช้าถึงเที่ยงวัน หรือ บริโภคได้เพียงมื้อเช้ากับมื้อกลางวัน
อาหารที่ขึ้นกับกาลเวลานั้น เรียกว่า กาลิก คือ อาหารที่อนุญาตให้พระภิกษุเก็บไว้ และบริโภคในเวลาที่กําหนด เป็นอาหารที่เนื่องด้วยกาล เป็นชื่อของสิ่งที่จะกลืนกินให้ล่วงลําคอเข้าไป มี ๔ อย่างคือ๕๙
ก. ยาวกาลิก คือ อาหารและผลไม้ที่รับประเคนไว้และเคี้ยวกินได้ที่จํากัดชั่วยาม คือ ชั่วเวลาเช้าถึงเที่ยงของวันเท่านั้น เช่น ข้าวสุก แกง กับข้าว ปลา เนื้อ ผัก ผลไม้ ขนมต่างๆ เป็น ต้น
ข. ยามกาลิก คือ อาหารชนิดที่รับประเคนไว้และสามารถเก็บไว้บริโภคได้ชั่วยาม คือ วันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ก่อนอรุณของวันใหม่ คือ ฉันได้ทั้งในกาลและในเวลาวิกาล เช่น น้ําอัฏฐบาน ๘ ชนิดและน้ําผลไม้ที่ทรงอนุญาตไว้
ค. สัตตาหกาลิก คือ อาหารที่รับประเคนและสามารถเก็บไว้บริโภคได้ภายใน ๗ วัน ทั้งในกาลและในเวลาวิการ เช่น เภสัชทั้งห้า คือ เนยใส เนยข้น น้ํามัน น้ําผึ้ง น้ําอ้อย๖๐
ง. ยาวชีวิก คือ อาหารชนิดที่รับประเคนแล้วสามารถเก็บไว้บริโภคได้ตลอดชีวิต ในเวลาที่เป็นไข้ ทั้งในกาลและในเวลาวิการ เช่น ของที่ใช้ปรุงเป็นยาหรือเภสัชต่างๆ เป็นต้น
อาหารพระพุทธองค์ไม่เพียงทรงอนุญาตให้ฉันได้ภายในเวลาที่กําหนดเท่านั้น แต่ยังจําแนก ถึงอาหารชนิดที่จะเก็บไว้ฉันได้เป็นเวลาเท่าไรด้วย และกาลิกทั้ง ๔ นั้น มีความเกี่ยวพันกัน เพราะถ้า ปะปนกันระหว่างกาลิกด้วยกันแล้ว ให้ถือเอาสภาวะของที่เก็บไว้ได้นานน้อยกว่าเป็นหลัก กล่าวคือ ยามกาลิก สัตตาหกาลิก และยาวชีวิก แม้จะสามารถเก็บไว้บริโภคนานตามลําดับ แต่ถ้าเจือปนกับ ยาวกาลิก ใหถือตามคติของยาวกาลิก คือ บริโภคชั่วเวลาเช้าถึงเที่ยงเท่านั้น ในกาลิกอื่น เช่น สัตต หกาลิก กับยาวชีวิกปะปนกัน ให้ถือตามคติของสัตตาหกาลิก สรุปแล้วก็หมายความว่า ถ้าอาหารที่ เป็นกาลิกต่างกันมาปะปนกันให้ถือเอาอาหารที่เป็นกาลิกน้อยเป็นเกณฑ์ ถึงแม้ว่าอาหารที่สามารถ
๕๙ วิ.มหา. (ไทย) ๕/บทนํา/[ъъ].
๖๐ วิ.มหา. (ไทย) ๕/ъ๕/๓๙.
เก็บไว้ได้ตลอดชีวิต ถ้าปะปนกับอาหารที่สามารถเก็บไว้เพียงเจ็ดวัน ให้ถือคติของอาหารที่สามารถ เก็บไว้ได้ ๗ วันเป็นเกณฑ์๖e
ъ) อาหารที่ทรงห้าม
นอกจากอาหารที่ทรงอนุญาตตามที่กล่าวมานั้น ยังมีอาหารประเภทเนื้อสัตว์บาง ชนิดที่ห้ามให้พระภิกษุบริโภคโดยเด็ดขาด ได้แก่ เนื้อสัตว์ e๐ ชนิด คือ
(e) เนื้อมนุษย์ (ъ) เนื้อช้าง (๓) เนื้อม้า (๔) เนื้อสุนัข (๕) เนื้องู
(๖) เนื้อราชสีห์ (๗) เนื้อเสือโคร่ง (๘) เนื้อเสือเหลือ (๙) เนื้อหมี
(e๐) เนื้อเสือดาว
ในเนื้อสัตว์ e๐ ชนิดนั้น เฉพาะเนื้อมนุษย์ ถ้าภิกษุไม่พิจารณาแล้วบริโภค ปรับ อาบัติถุลลัจจัย ส่วนเนื้อสัตว์อีก ๙ ชนิดนั้น ปรับอาบัติทุกกฎ เพราะการที่ภิกษุไม่พิจารณาก่อนแล้ว บริโภคเนื้อมนุษย์ ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของคนที่ไม่เลื่อมใสทั้งไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสยิ่งๆ ขึ้นไปของคนที่เลื่อมใสแล้ว และเป็นที่ตําหนิติเตียนของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ช้างและม้าเป็น ของหลวง พระราชาอาจไม่ทรงพอพระทัยต่อภิกษุ สุนัขและงู เป็นที่น่ารังเกียจปฏิกูล ส่วนราชสีห์เป็น ต้น อาจทําร้ายภิกษุที่อยู่ในป่าเพราะกลิ่นของสัตว์เหล่านั้นจากภายของภิกษุ๖ъ
จะเห็นได้ว่า พระพุทธเจ้าไม่ได้ทรงห้ามพระภิกษุบริโภคเนื้อทุกชนิดโดยเด็ดขาด เพราะเนื้อบางชนิด เช่น เนื้อหมู เนื้อวัน เป็นต้น ไม่ปรากฏว่าทรงห้ามแต่ประการใด ก็หมายความว่า พระภิกษุสามารถบริโภคได้ภายในเวลาที่ทรงอนุญาต อย่างไรก็ตาม แม้ไม่ทรงห้ามไว้โดยตรงดังกล่าว แต่ก็ทรงวางเงื่อนในการบริโภคเนื้อสัตว์ไว้ให้กับพระภิกษุเป็นข้อห้ามโดยอ้อม คือ ให้บริโภคได้โดย ความบริสุทธิ์ใน ๓ ประการ๖๓ คือ
e) โดยไม่ได้เห็นว่า เขาฆ่าสัตว์เพื่อนําเนื้อมาถวายตน ъ) โดยไม่ได้ยินว่า เขาฆ่าสัตว์เพื่อนําเนื้อมาถวายตน
๓) โดยไม่สงสัยว่า เขาฆ่าสัตว์เพื่อนําเนื้อมาถวายตน
๖e วิ.มหา.อ. (ไทย) ๕/๙๓/e๓ъ.
๖ъ รายละเอียดใน วิ.มหา. (ไทย) ๕/ъ๘๐-ъ๘e/๘๐-๘๗.
๖๓ ยุรธร จีนา วรางคณา กันธิยะ และพัชรินทร์ กบกันทา, “พุทธโภชนการ: การรับประทานอาหาร เพื่อสุขภาพตามแนวของพระพุทธศาสนา”, หน้า ๓๖.
ประเด็นเรื่องการบริโภคเนื้อ ที่พูดถึงกันโดยมากก็คือ พระพุทธศาสนาเป็นมังสวิรัติ (เว้นขาดจากการบริโภคเนื้อ) หรือเป็นอมังสวิรัติ (ไม่เว้นขาดจากการบริโภคเนื้อ) เพราะการบริโภค เนื้อสัตว์ โยงไปถึงศีลข้อที่หนึ่ง ที่ว่าด้วยการห้ามการฆ่าสัตว์เบียดเบียนสัตว์ ในเมื่อพระพุทธศาสนา ห้ามไม่ให้ฆ่าสัตว์ดังกล่าว ก็น่าจะเป็นการห้ามไม่ให้บริโภคเนื้อสัตว์ด้วย หากมีการบริโภคย่อมมีการฆ่า เพื่อนํามาบริโภค จะเป็นวงจรฆ่าเพื่อกิน เพราะกินจึงต้องฆ่า การกินเนื้อสัตว์จึงเป็นเหตุแห่งการฆ่า สัตว์ การหยุดกินจึงเป็นการหยุดการฆ่าไปด้วย
พระมหาปรีชา บุญศรีตันได้แสดงทรรศนะเรื่องการกินเนื้อสัตว์ไว้เป็น ъ ทรรศนะ อย่างน่าสนใจ คือ บางกลุ่มถือเอาคติดังกล่าว คือ เมื่อห้ามฆ่า ก็ถือว่าห้ามบริโภคด้วย เพราะการที่ มนุษย์บริโภคเนื้อสัตว์เป็นการสนับสนุนให้คนฆ่าสัตว์มากยิ่งขึ้น คนจึงผิดศีลมากยิ่งขึ้น ถ้าไม่มีการ บริโภคเนื้อสัตว์ มนุษย์จะเลิกฆ่าสัตว์ไปเอง นี่เป็นทรรศนะของฝ่ายที่ถือมังสวิรัติ ซึ่งพิจารณาในแง่ของ การฆ่าสัตว์เพื่อเป็นอาหารอย่างเดียว ยังไม่นับรวมถึงการเป็นมือปืนรับจ้างฆ่าหรือการเบียดเบียน เบียดบังเอาผลประโยชน์ของผู้อื่น
อีกทรรศนะหนึ่งมีความเห็นว่า พระพุทธศาสนาไม่น่าจะห้ามบริโภคเนื้อสัตว์โดย เด็ดขาด เพราะเนื้อสัตว์บางอย่าง เราไม่จําเป็นต้องฆ่า เป็นเนื้อสัตว์ที่มีอยู่แล้ว สามารถบริโภคได้ เช่น เนื้อสัตว์ที่ตายเอง ไม่ได้เป็นการสนับสนุนให้มีการฆ่าสัตว์แต่ประการใด หรือให้เหตุผลว่า เพราะสัตว์ เหล่านี้เป็นอาหารของมนุษย์โลก จึงสามารถนํามาเป็นอาหารได้ นี่เป็นทรรศนะของพวกอมังสวิรัติ
ในสองทรรศนะนั้น ยังหาข้อยุติไม่ได้ เพราะพวกที่ไม่ถือมังสวิรัติโดยเด็ดขาด ถึงกับ ประณามพวกที่ถือมังสวิรัติว่าเป็นพวกของพระเทวทัต ในข้อนี้น่าพิจารณาก็คือ ที่จริงแล้ว พระพุทธศาสนาเป็นแบบไหนกันแน่ เพราะนอกจากคําสอนเรื่องศีลข้อที่หนึ่งคือห้ามฆ่าสัตว์แล้ว ยังมี คําสอนอื่นอีกตรัสเป็นเชิงห้ามไว้คือ ในเรื่องการค้าขายที่ผิด ๕ ประการ คือ การค้าเนื้อสัตว์หรือการ เลี้ยงสัตว์ไว้เพื่อฆ่า น่าจะเป็นเหตุผลสนับสนุนที่ไม่ให้บริโภคเนื้อสัตว์ ในขณะเดียวกัน พระพุทธเจ้าก็ ไม่ทรงอนุญาตตามคําขอของพระเทวทัต ที่ต้องการไม่ให้พระภิกษุบริโภคเนื้อตลอดชีวิต (มังสวิรัติ) ทูลขอพร ๕ ประการ การที่พระองค์ทรงปฏิเสธนั้น อาจพิจารณาได้ว่าเป็นเพราะพระองค์ไม่ต้องการ ให้พระเทวทัตสมความปรารถนาและพระองค์อยู่ในสถานการณ์ที่ตัดสินพระทัยลําบาก ถ้าหากทรง อนุญาตตามที่ขอพรไว้ ก็เป็นการปฏิบัติที่เคร่งครัดสุดโต่งเกินไปขัดกับสิ่งที่พระองค์สอนเอาไว้ และขัด กับหลักเกณฑ์ตัดสินพระธรรมวินัยที่พระองค์ทรงวางไว้คือ สิ่งที่พระองค์สอนนั้น เป็นไปเพื่อความเป็น ผู้เลี้ยงง่าย ไม่ใช่เป็นไปเพื่อความเป็นผู้เลี้ยงยาก๖๔
พระภิกษุนั้น ต้องอาศัยผู้อื่นเลี้ยงชีพ มีชีวิตด้วยการขออาหารจากผู้อื่น คือ ต้อง อาศัยข้าวปลาอาหารที่ผู้อื่นถวาย มาเลี้ยงชีวิตการเป็นอยู่ของพระภิกษุจึงเนื่องด้วยผู้อื่น ดังนั้น พระภิกษุต้องทําตัวเป็นคนเลี้ยงง่าย ไม่ใช่ทําตัวเป็นคนเลี้ยงยาก เพราะสิ่งที่เขาถวายมาด้วยศรัทธา ย่อมมีชนิดต่างๆ กัน ญาติโยมที่ประกอบอาหารก็ตามกันตามแต่ความชอบใจของตน พระภิกษุควร ยินดีตามที่ได้มา โดยไม่เลือกรับเฉพาะบ้านใดบ้านหนึ่ง หรืออาหารอย่างใดอย่างหนึ่ง และไม่ควรทํา
๖๔ องฺ.อฏฐก. (ไทย) ъ๓/e๔๓/ъ๘๙.
ตนให้เป็นที่เดือดร้อน ลําบากของญาติโยมในการเตรียมอาหารถวาย และไม่ควรตั้งเป็นเงื่อนไขที่ทําให้ ผู้อื่นเดือดร้อนด้วย
อย่างไรก็ตาม ในเรื่องการบริโภคเนื้อนี้ ในส่วนของพระภิกษุ แม้ไม่ห้ามโดยเด็ดขาด ตามคําขอของพระเทวทัตแล้ว แต่พระองค์ก็ทรงตั้งเงื่อนไขในการบริโภคเนื้อไว้ ๓ ประการดังกล่าวคือ ต้องไม่เห็นว่าเขาฆ่าเพื่อตน ต้องไม่ได้ยินว่าเขาฆ่าเพื่อตน และต้องไม่สงสัยว่าเขาฆ่ามาเพื่อตน จาก หลักเกณฑ์นี้ทําให้เห็นว่า พระพุทธเจ้านั้น ไม่ทรงห้ามไม่ให้พระภิกษุบริโภคเนื้อโดยตรง คือ ให้ พระภิกษุสามารถบริโภคเนื้อที่มีอยู่แล้ว คือ เนื้อที่สัตว์ที่เขาขายอยู่ตามปกติสําหรับคนทั่วๆ ไป ไม่ใช่ ฆ่าเพื่อเอาเนื้อมาถวาย (ปวัตตมังสะ) แต่ทรงห้ามโดยอ้อม คือ ไม่ให้พระภิกษุบริโภคเนื้อสัตว์ที่เขาฆ่า เจาะจงเพื่อถวายตน (อุทิสสมังสะ) หากบริโภคทั้งที่ได้เห็น ได้ยินหรือสงสัยว่า เขาฆ่าสัตว์เพื่อนํามา ถวายตน ต้องอาบัติทุกกฎ๖๕ ข้อนี้แสดงให้เห็นว่า พระพุทธเจ้าอนุญาตให้ภิกษุบริโภคเนื้อได้อย่าง ชัดเจน๖๖
๒) เวลาในการบริโภคอาหารของพระภิกษุ
ในสมัยก่อนพุทธบัญญัติ พระพุทธเจ้ายังไม่ได้ทรงบัญญัติสิกขาบทว่าด้วยการบริโภค อาหารในเวลาวิกาลของพระภิกษุ (วิกาลโภชนสิกขาบท) เพราะเหตุที่ยังไม่มีเหตุที่เป็นต้นเค้าให้ บัญญัติได้ ซึ่งหลักการในการบัญญัติสิกขาบทหรือวินัยนั้น พระองค์มิได้บัญญัติไว้ล่วงหน้า แต่เมื่อมี เหตุที่ไม่สมควรไม่เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของหมู่ชนเกิดขึ้นก่อน จึงจะทรงบัญญัติสิกขาห้ามการกระทํา นั้นๆ ไว้ เพราะถ้าบัญญัติไว้ล่วงหน้าโดยที่ไม่มีสาเหตุอันควร ก็จะเป็นที่ติเตียน คัดค้าน จากผู้อื่นได้ และสิ่งที่บัญญัติไว้จะไม่ศักดิ์สิทธิ์ ไม่มีผู้ปฏิบัติตาม๖๗
ต่อมาเมื่อมีโทษหรือเรื่องเสียหายที่เป็นที่ตั้งของความเสื่อมศรัทธา ในเพราะเรื่องการ บริโภคอาหารหลายเวลาโดยเฉพาะในเวลาวิกาลทั้งในกลางวันหรือคืน อาหารมื้อเย็นนั้นถือว่าเป็น อาหารมื้อที่ดีเลิศ เพราะมีเวลาในการเตรียมอาหาร การปรุง และการรับประทาน และรับประทาน พร้อมกันทั้งครอบครัว ซึ่งตรงกันข้ามกับอาหารในเวลากลางวันที่มีเวลาในการเตรียม การปรุงน้อย ก่อนพุทธบัญญัติในเรื่องนี้ พระภิกษุจึงออกบิณฑบาตในเวลากลางคืน จึงมีอุบัติเหตุต่างๆ เกิดขึ้นแก่ พระภิกษุ บ้างก็ถูกโจรจับไปฆ่าเป็นเครื่องเช่นบูชายัญ บ้างก็ตกหลุม บ้างพบปะทั้งคนดีและไม่ดีที่ชอบ เที่ยวกลางคืน แม้กระทั่งถูกผู้หญิงเชื้อเชิญด้วยเมถุนธรรม นอกจากนั้น ยังทําให้เข้าใจผิดคิดว่าเป็น พวกผีปีศาจบ้าง เป็นผู้ไม่มีมารดาบิดาเลี้ยงดูบ้าง๖๘ เพราะมีอันตรายในเวลากลางคืนเช่นนี้ พระองค์ จึงทรงห้ามไม่พระภิกษุบริโภคอาหารในเวลาวิกาล เพื่อป้องกันชีวิตของพระภิกษุเองด้วย และเพื่อ ความเป็นผู้เลี้ยงง่ายและความเลื่อมใสของประชาชน ตามแนวทางที่พระองค์ทรงสั่งสอนให้เป็นกลุ่ม
๖๕ วิ.ม. (ไทย) ๕/๘๐/e๐๖-e๐๘.
๖๖ พระมหาปรีชา บุญศรีตัน, “พุทธจริยธรรมกับการบริโภคอาหาร: ศึกษาเฉพาะกรณีเกณฑ์ทาง จริยธรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษาชมรมพุทธฯ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ”, วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาจริยศาสตร์ศึกษา, หน้า ๔๕-๔๖.
๖๗ วิ.ม.อ. (ไทย) e/ъъ๐-ъъe.
๖๘ ม.ม. (ไทย) e๓/e๗๗/e๘e.
ชนตัวอย่าง และเหล่าพระภิกษุ ต่างมีความรัก เคารพ ความละอายและความเกรงกลัวในพระผู้มีพระ ภาคเจ้า จึงประพฤติปฏิบัติตามสิกขาบทที่พระองค์บัญญัติไว้๖๙
๓) ข้อวัตรปฏิบัติในการบริโภคอาหารของพระภิกษุ
การบริโภคอาหารของพระภิกษุ ยังมีข้อวัตรปฏิบัติปลีกย่อยออกไปอีก นั่นก็คือ ปัจจัยสันนิสิตศีล (ศีลที่เนื่องด้วยปัจจัย) ที่พระภิกษุพึงปฏิบัติ เมื่อบริโภคใช้สอยปัจจัย ๔ อย่างใด อย่างหนึ่งพิจารณาให้เห็นถึงคุณค่าของปัจจัยทั้งหลายและความจําเป็นที่ต้องใช้ปัจจัยเหล่านั้น บริโภค ปัจจัยทั้งหลายด้วยความเป็นนาย ไม่ใช่ตกเป็นทาสแห่งปัจจัยนั้นๆการพิจารณาปัจจัยต่างๆ นั้น ท่าน เรียกว่า ปัจจัยปัจจเวกขณะ แบ่งออกเป็น ๓ เวลาด้วยกันคือ
e) ในเวลาได้รับปัจจัย ๔ ให้พิจารณาในขณะได้รับนั้นโดยความเป็นธาตุและสิ่ง ปฏิกูลเรียกว่า ธาตุปฏิกูลปัจจเวกขณะ
ъ) ในเวลาที่ใช้สอยบริโภคปัจจัย ๔ ให้เป็นการบริโภคที่ตรงตามเป้าหมายของการ บริโภคจริงๆ ไม่ใช่เป็นไปอย่างฟุ่มเฟือยสิ้นเปลือง เรียกว่า ตังขณิกปัจจเวกขณะ
๓) ในเวลาที่ใช้สอยเสร็จเรียบร้อยแล้ว แต่เมื่อใช้อยู่ไม่ได้พิจารณา จึงมาพิจารณา หลังจากบริโภคใช้สอยเสร็จแล้ว เรียก อตีตปัจจเวกขณะ
การพิจารณาในช่วงเวลาทั้งสามนั้น พระภิกษุ จะต้องถือปฏิบัติเวลาใดเวลาหนึ่งเป็น อย่างน้อย แต่ถ้าสามารถทําได้ทั้งสามเวลาก็ยิ่งดี เพราะถ้าไม่พิจารณาดังกล่าวแล้วบริโภคปัจจัย ๔ ถือ ว่า เป็นการบริโภคหนี้ นอกเหนือจากเวลาทั้งสามนั้นแล้ว ยังสามารถในเวลาอื่นๆ อีกเช่น ก่อนการ บริโภคและหลังการบริโภค และยามทั้งสามแห่งราตรี
๔) มารยาทในการบริโภคอาหารของพระภิกษุ
กรณียกิจของพระภิกษุในพระพุทธศาสนา ท่านเรียกว่านิสสัย ซึ่งเป็นปัจจัยเครื่อง อาศัยของพระภิกษุที่พระพุทธเจ้าทรงวางไว้เป็นแนวทางแห่งการดําเนินชีวิตสําหรับพระภิกษุ ที่จะต้องมีอุตสาหะถือปฏิบัติวัตรในการบิณฑบาตเลี้ยงชีพตลอดเวลาที่ดํารงเพศเป็นพระภิกษุอยู่๗๐ เรียกได้ว่าเป็นมารยาทในการแสวงหาอาหารมาเลี้ยงชีวิตสําหรับพระภิกษุ
มารยาทในการบริโภคอาหารพระภิกษุ เป็นพระวินัยอยู่ในหมวด เสขิยวัตร หมายถึง ข้อที่ภิกษุควรสําเหนียกระลึกไว้ เป็นมารยาทที่งดงามที่พึงกระทํา จัดลงในส่วนที่ว่าโภชนาปฏิสังยุต คือ เกี่ยวกับการบริโภค มี ๓๐ ข้อ ดังนี้๗e
สิกขาบทที่ e ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักรับบิณฑบาตโดยเคารพ สิกขาบทที่ ъ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักแลดูแต่ในบาตร รับบิณฑบาต
๖๙ ยุรธร จีนา วรางคณา กันธิยะ และพัชรินทร์ กบกันทา, “พุทธโภชนการ: การรับประทานอาหาร เพื่อสุขภาพตามแนวของพระพุทธศาสนา”, หน้า ๓๗-๓๘.
๗๐ วิ.มหา. (ไทย) ๓/e๔๓/e๘๓.
๗e วิ.มหา. (ไทย) ъ/๘ъ๖-๘๕๖/๕ъ๔-๕๕๗.
แกงมากเกินไป) บาตร
สิกขาบทที่ ๓ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักรับบิณบาตพอสมส่วนกับแกง (ไม่รับ สิกขาบทที่ ๔ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักรับบิณฑบาตพอสมเสมอขอบปาก
สิกขาบทที่ ๕ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักฉันบิณฑบาตโดยเคารพ สิกขาบทที่ ๖ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักแลดูแต่ในบาตร ฉันบิณฑบาต สิกขาบทที่ ๗ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักฉันบิณฑบาต ไม่ขยุ้มแต่ยอดลงไป สิกขาบทที่ ๘ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักฉันบิณฑบาตพอสมส่วนกับแกง (ไม่
ฉันแกงมากเกินไป)
สิกขาบทที่ ๙ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักฉันบิณฑบาต ไม่ขยุ้มแต่ยอดลงไป สิกขาบทที่ e๐ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักไม่เอาข้าวสุกปิดแกงและกับด้วย
หวังจะได้มาก
สิกขาบทที่ ee ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราไม่เจ็บไข้ จักไม่ขอแกงหรือข้าวสุกเพื่อ
ประโยชน์แก่ตนมาฉัน
สิกขาบทที่ eъ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักไม่มองดูบาตรของผู้อื่นด้วยคิดจะยก
โทษ
ในบ้าน
สิกขาบทที่ e๓ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักไม่ทําคําข้าวให้ใหญ่เกินไป สิกขาบทที่ e๔ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักทําคําข้าวให้กลมกล่อม สิกขาบทที่ e๕ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักไม่อ้าปากในเมื่อคําข้าวยังไม่มาถึง สิกขาบทที่ e๖ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักไม่เอามือทั้งมือใส่ปากในขณะฉัน สิกขาบทที่ e๗ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักไม่พูดทั้งที่ปากยังมีคําข้าว สิกขาบทที่ e๘ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักไม่ฉันโยนคําข้าวเข้าปาก สิกขาบทที่ e๙ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักไม่ฉันกัดคําข้าว
สิกขาบทที่ ъ๐ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักไม่ฉันทํากระพุ้งแก้มให้ตุ่ย สิกขาบทที่ ъe ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักไม่ฉันพลางสะบัดมือพลาง สิกขาบทที่ ъъ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักไม่ฉันโปรยเมล็ดข้าว สิกขาบทที่ ъ๓ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักไม่ฉันแลบลิ้น
สิกขาบทที่ ъ๔ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักไม่ฉันดังจับๆ สิกขาบทที่ ъ๕ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักไม่ฉันดังซูดๆ สิกขาบทที่ ъ๖ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักไม่ฉันเลียมือ สิกขาบทที่ ъ๗ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักไม่ฉันเลียบาตร สิกขาบทที่ ъ๘ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักไม่ฉันเลียริมฝีปาก
สิกขาบทที่ ъ๙ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักไม่เอามือเปื้อนจับภาชนะน้ํา สิกขาบทที่ ๓๐ ภิกษุพึงทําความศึกษาว่า เราจักไม่เอาน้ําล้างบาตรมีเมล็ดข้าวเทลง
ข้อปฏิบัติในการบริโภคอาหารที่ทรงบัญญัตินั้น จึงเป็นการแสดงให้เห็นถึงหลัก จริยธรรมในการบริโภคอาหารที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น หรือเรียกได้ว่า เป็นวิธีการรู้จักประมาณในการ บริโภคอาหารนั่นเอง นอกจากนี้ ยังมีพระวินัยที่บัญญัติไว้แก่พระภิกษุให้สามารถฉันอาหารในโรงทาน ที่มีไว้ทั่วไปไม่เจาะจงบุคคลใดบุคคลหนึ่งได้เพียงแค่วันเดียวเท่านั้น จะบริโภคเกินนั้นไม่ได้ จะฉัน รวมกันเป็นกลุ่มตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปไม่ได้ ยกเว้นแต่ในสมัย ภิกษุรับนิมนต์แล้ว ต้องไปฉันในที่นิมนต์ไม่ ไปไม่ได้ จะรับอาหารบิณฑบาตเกิน ๓ บาตรไม่ได้ ถ้ารับมาเกินต้องแบ่งให้ภิกษุรูปอื่นฉันด้วย เมื่อฉัน เสร็จแล้ว (ห้ามภัตรแล้ว) จะฉันอีกไม่ได้ และไม่ให้แกล้งภิกษุผู้ห้ามภัตรแล้วฉันอีก ห้ามฉันของเคี้ยว ของฉันในเวลาวิกาลคือตั้งแต่เที่ยงเป็นต้นไปจนถึงวันใหม่ ห้ามฉันอาหารที่รับประเคนไว้ค้างคืน ห้าม ขออาหารบิณฑบาตจากผู้ที่ไม่ใช่ญาติ ไม่ใช่ผู้ปวารณาเอาไว้ และห้ามภิกษุฉันอาหารที่ยังไม่ได้รับ ประเคนคือไม่มีผู้ให้ ยกเว้นน้ําและไม้สีฟันไม่ต้องประเคน๗ъ เฉพาะอาหารที่ยังไม่ได้ให้นั้น ถ้ามีราคา เกิน ๕ มาสกหรือหนึ่งบาท และภิกษุจิตคิดขโมย ฉันให้ล่วงลําคอลงไปปรับเป็นปาราซิก๗๓
จากการศึกษาข้อปฏิบัติการบริโภคอาหารทั้งที่เป็นของพระพุทธเจ้าและพระสงฆ์สาวกของ พระพุทธเจ้า จะเห็นได้ว่า พระพุทธเจ้ามีรูปแบบการบริโภคอาหารในแบบของพระองค์ที่ชัดเจนและ ทรงแนะนําแนวทางนั้นแก่พระภิกษุ โดยพิจารณาถึงความงดงาม ความเหมาะสม ประโยชน์ของการ รับประทานอาหาร รวมทั้งจริยาวัตรอันงดงามเพื่อให้เกิดความเลื่อมใสของพุทธศาสนิกชนด้วย แม้จะ เป็นเพียงการบริโภคอาหารแต่พระพุทธเจ้าก็ทรงกําหนดเป็นพระวินัยเพื่อให้เกิดความพร้อมเพรียง ของคณะสงฆ์และความเลื่อมใสของชาวบ้าน เนื่องจากชีวิตของภิกษุนั้นดํารงได้ด้วยอาหารบิณฑบาต ดํารงชีพด้วยการเลี้ยงดูของญาติโยม มารยาทในการรับอาหาร มารยาทในการกินอาหาร และมารยาท หลังจากการกินอาหารจึงเป็นเรื่องสําคัญที่พระพุทธเจ้าให้การเอาใจใส่และบัญญัติให้สาวกปฏิบัติตาม อย่างเคร่งครัด
พระมหาปรีชา บุญศรีตัน ได้สรุปไว้ว่า ข้อปฏิบัติในการบริโภคอาหารนี้ จึงเป็นข้อบ่ง ชี้ให้เห็นถึงหลักจริยธรรมและเกณฑ์ตัดสินใจการบริโภคอาหารซึ่งจะได้ศึกษาและนําเสนอใน รายละเอียดในหัวข้อต่อไป หรืออีกประการหนึ่ง ข้อปฏิบัติในการบริโภคอาหารนี้ คือ วิธีการรู้จัก ประมาณในการบริโภคอาหารนั่นเอง ที่แสดงถึงความเป็นผู้รู้จักประมาณและความมีความสันโดษ อย่างชัดเจน๗๔
หลักจริยธรรมในการบริโภคอาหาร คือ หลักการที่พระองค์สอนเอาไว้ และบทบัญญัติที่ บัญญัติเป็นวินัย เป็นศีลนั้น คือ วิธีการหรือเป็นเกณฑ์ตัดสินหลักการ ในพระพุทธศาสนา ธรรมและนัย จึงมีความสําคัญเท่ากันและมีความสัมพันธ์กันในฐานะเป็นหลักการและวิธีการดังกล่าวแล้ว ดังนั้นใน ตัวธรรมะมีวินัยอยู่ด้วย ในวินัยเองก็มีธรรมมะอยู่ด้วยเช่นกัน ตัวอย่างเช่น ศีลข้อที่ e ห้ามฆ่าสัตว์ห้าม
๗ъ วิ.มหา. (ไทย) ъ/๔๗๐-๕ъ๖/๓๐๕-๓๔๖.
๗๓ วิ.มหา.อ. (ไทย) e/๓๘๔.
๗๔ พระมหาปรีชา บุญศรีตัน, “พุทธจริยธรรมกับการบริโภคอาหาร: ศึกษาเฉพาะกรณีเกณฑ์ทาง จริยธรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษาชมรมพุทธฯ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ”, วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาจริยศาสตร์ศึกษา, หน้า ๕ъ.
เบียดเบียนด้วยกัน จึงเป็นวิธีปฏิบัติส่วนหนึ่งของความเมตตา เพราะถ้ามีเมตตาธรรมแล้ว ย่อมจะต้อง ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่เบียดเบียนสัตว์ เป็นต้น
โดยสรุปแล้วจะเห็นได้ว่า หลักการบริโภคอาหารในพระพุทธศาสนานั้นสามารถศึกษาได้ จากหลักการบริโภคของพระพุทธเจ้า ตลอดทั้งหลักโภชนปฏิบัติที่ทรงบัญญัติไว้เป็นพระวินัยที่เรียกว่า เสขิยวัตร สามารถจําแนกออกเป็น ๓ ประเด็น คือ
e) แนวคิดเกี่ยวกับอาหาร กล่าวถึง อาหาร ประเภทของอาหาร ลักษณะของอาหาร ประโยชน์และโทษของอาหาร ซึ่งอาหารที่ดีนั้นต้องก่อให้เกิดประโยชน์ต่อร่างกาย ไม่ก่อให้เกิดโทษ ไม่ เป็นสาเหตุให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ
ъ) แนวคิดเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร สําหรับแนวคิดการบริโภคอาหารนั้นมุ่งไปที่ความ พอดีของการบริโภคและการบริโภคอย่างฉลาด ไม่บริโภคจนเกิดพอดี เป็นการบริโภคที่เรียกว่า “กิน เพื่ออยู่ ไม่ใช่อยู่เพื่อกิน”
๓) แนวคิดเกี่ยวกับมารยาทการบริโภคอาหาร เป็นการทําให้เห็นคุณค่าของอาหารและ ความเคารพในอาหารที่กินลงไป
แนวคิดทั้ง ๓ ข้อนี้เป็นการบริโภคเชิงพุทธที่สามารถนํามาเป็นรูปแบบของการบริโภค อาหารในปัจจุบันได้ แต่ทั้งนี้ในพระพุทธศาสนาได้มีหลักคําสอนที่นําเอาอาหารมาเป็นหลักในการ ปฏิบัติสมถกรรมฐานได้ เรียกว่า อาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน ซึ่งผู้วิจัยจะได้นําเสนอโดยละเอียดใน บทถัดไป
บทที่ ๓ แนวทางการบริโภคอาหารตามหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน
ดังที่ได้ทราบกันไปแล้วว่าอาหารเปรียบเหมือนกับเหตุปัจจัยทําให้เกิดการดําเนินชีวิตของ สรรพสัตว์ หากไม่มีอาหารก็ไม่สามารถที่จะดํารงอยู่ได้ อาหารในพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น ๔ ประเภทe คือ e) กวฬิงการาหาร คือ อาหารที่เป็นคําๆ เช่น ข้าว ผลไม้ อาหารของมนุษย์และสัตว์ที่ บริโภคเข้าไปทางปากโดยการเคี้ยว การดื่ม การลิ้ม การชิม แล้วกลืนลงไป ทําให้มีกําลังในการทํา กิจกรรมต่างๆ ๒) ผัสสาหาร อาหารที่เกิดจากผัสสะ คือ การกระทบของอายตนะภายใน อายตนะ ภายนอกและวิญญาณ ส่งผลทําให้เกิดการรู้ใน รูป เสียง กลิ่น รส โผฐััพพะ ธัมมารมณ์ และเป็นเหตุ ที่ทําให้เกิดเวทนาความรู้สึกสุข ทุกข์ และไม่สุขไม่ทุกข์ (เฉยๆ) ๓) มโนสัญญาเจตนาหาร คือ อาหารที่ เป็นความจงใจ ความตั้งใจที่จะทําอะไรสักอย่าง ทั้งกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ทําให้เกิดภพชาติ และ ๔) วิญญาณาหาร อาหารคือวิญญาณ เป็นเหตุปัจจัยทําให้เกิดนามรูป อาหารทั้ง ๔ นี้ งานวิจัยนี้ มุ่งศึกษากวฬิงการาหารหรืออาหารของมนุษย์ คือ อาหารที่เป็นคําๆ ซึ่งพบว่าพระพุทธศาสนาเถรวาท มีคําสอนในการเกี่ยวกับการบริโภคอาหารเพื่อให้เกิดประโยชน์ที่สุดดังได้อธิบายไว้โดยละเอียดแล้วใน บทที่ ๒
อาหารนอกจากจะเป็นเครื่องยังอัตภาพให้เป็นไป เป็นเครื่องดํารงขันธ์ให้เจริญเติบโตแล้ว ในพระพุทธศาสนายังมีคําสอนที่น่าสนใจเกี่ยวกับอาหารอีกประการหนึ่ง คือ อาหารในัานะที่เป็น กรรมัาน ที่เรียกว่า อาหาเรปฐิกูลสัญญากรรมัาน คือ การพิจารณาอาหารโดยเป็นสิ่งปฐิกูล มีความ น่าสนใจในประเด็นที่นําเอาอาหาร ซึ่งเป็นของบริโภคธรรมดามาเป็นเครื่องมือในการปฐิบัติกรรมัาน สะท้อนให้ความโดดเด่นของพระพุทธศาสนาที่สามารถนําเอาวิถีชีวิตมาสู่การปฐิบัติธรรมเพื่อการพ้น ทุกข์ตามเป้าหมายของศาสนาได้อย่างกลมกลืน ซึ่งผู้วิจัยจะได้ทําการศึกษาโดยจะอธิบายถึงแนวคิด ของกรรมัานเบื้องต้น คือ สมถกรรมัานและวิปัสสนากรรมัานอันเป็นพื้นัานที่ต้องศึกษาก่อน จากนั้นจะอธิบายถึงอาหารเรปฐิกูลสัญญากรรมัานต่อไป ดังนี้
๓.๑ แนวคิดเกี่ยวกับกรรมฐาน
เนื่องจาก อาหาเรปฐิกูลสัญญากรรมัาน เป็นกรรมัานประเภทหนึ่งในกรรมัาน ๔๐ ดังนั้น เพื่อให้เกิดความเข้าใจในสาระสําคัญของความเป็นกรรมัานที่เนื่องด้วยอาหาร จึงควรทําความ เข้าใจกับกรรมัานในพระพุทธศาสนาทั้งในด้านความหมายและประเภทของกรรมัาน มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้
e สํ.ม. (ไทย) e๒/๙๐/๘๔-๘๕.
๓.๑.๑ ความหมายของกรรมฐาน
คําว่า “กัมมัฐัาน” เป็นรากศัพท์เป็นภาษาบาลีเป็นคํา ประกอบขึ้นจาก ๒ ศัพท์ คือ กมฺม+ ัานะ, กมฺม หมายถึง การกระทํา, ัานะ หมายถึง ที่ตั้ง เมื่อรวม ๒ คําเข้าด้วยกัน แปล ตามความหมายในคัมภีร์ปรมัตถมัญชุสาและตามหลักการปฐิบัติทางพระพุทธศาสนาว่า ที่ตั้งคือเหตุ บังเกิดขึ้นของกรรม อันสมณะ (โยคี) พึงกระทํา เป็นการเจริญสมถะและวิปัสสนา ย่อมตั้งอยู่ใน อารมณ์ มีกสิณ e๐ เป็นต้น๒
ในพระไตรปิฎกได้กล่าวว่า กรรมัาน หมายถึง ัานะแห่งการงาน ได้แก่ การดําเนินงานใน หน้าที่หรือการประกอบอาชีพการงานของฝ่ายฆราวาสและฝ่ายบรรพชิต ในฝ่ายของฆราวาสท่านใช้คํา ว่า “ฆราวาสกมฺมฐฺัานํ” อันหมายถึง กรรมัานที่เป็นการงานประกอบสัมมาอาชีพของฆราวาส เช่น การประกอบอาชีพกสิกรรม เรียกว่า กสิกรรมัาน การประกอบอาชีพค้าขาย เรียกว่า พานิชยกรรม
ัาน ถ้าใช้กับฝ่ายบรรพชิต จะมีความหมายกว้างครอบคลุมถึงกิจวัตร ที่บรรพชิตควรประพฤติปฐิบัติ ตลอดถึงการบําเพ็ญกรรมัาน เรียกว่า “ปพฺพชิตกมฺมฐฺัานํ” หมายถึงการบําเพ็ญศีลอย่างบริบูรณ์ การแสวงหาปัจจัยในทางที่ชอบ ไม่แสวงหาในทางอเนสนา๓
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต) ให้คํานิยามว่า กรรมัาน หมายถึง ที่ตั้งแห่งการงาน, อารมณ์ อันเป็นที่ตั้งแห่งการงานของใจ, อุบายทางใจ, วิธีฝึกอบรมจิต และยังให้ความหมายคําว่า “กรรมัาน” หมายถึง ที่ตั้งแห่งการงาน, อารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งการงานของใจ, อุบายทางใจ, วิธีฝึกอบรมจิตและเจริญปัญญา กรรมัาน ๒ คือ e) สมถกรรมัาน หมายถึง กรรมัานเพื่อทําจิตใจ ให้สงบ, วิธีฝึกอบรมจิตใจ, ๒) วิปัสสนากรรมัาน หมายถึง กรรมัานเพื่อการให้เกิดความรู้แจ้ง, วิธีอบรมเจริญปัญญา๕
ราชบัณฑิตยสถาน ให้คํานิยามศัพท์ว่า กรรมัาน หมายถึงที่ตั้งแห่งการงานทางใจ มี ๒ ประการ คือ สมถกรรมัาน เป็นอุบายสงบใจ และวิปัสสนา เป็นอุบายเรืองปัญญาъ
พระราชสังวรญาณ (หลวงพ่อพุธ านิโย) ให้ความหมายคําว่า “กรรมัาน” ว่ากรรมัานนี้ ท่านว่ามี ๒ อย่าง คือ e) สมถกรรมัาน เป็นอุบายสงบใจ จุดมุ่งหมายทําจิตให้มีสมาธิ กําจัดนิวรณ์ ๕ ไม่ให้รบกวนในขณะที่เราปฐิบัติอยู่ในจิต อันนี้เรียกว่า “สมถกรรมัาน” ๒) วิปัสสนากรรมัาน เป็นอุบายฝึกฝนจิตให้เกิดมีสติปัญญาเฉลียวฉลาดขึ้นd
๒ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์, พิมพ์ครั้งที่ ee, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕e), หน้า e๓.
๓ ม.ม. (บาลี) e๓/๒ъ๓-๒ъ๔/๔๕๔-๔๕๕, ม.ม. (ไทย) e๓/๒ъ๓-๒ъ๔/๕๘๔-๕๘๕.
๔ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์, หน้า eee.
๕ เรื่องเดี่ยวกัน, หน้า ๔๔.
ъ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕ , (กรุงเทพมหานคร: ศิริวัฒนา อินเตอร์พริ้นท์, ๒๕๕๔), หน้า eъ.
d พระราชสังวรญาณ (หลวงพ่อพุธ านิโย), ธรรมปฏิบัติและตอบปัญหาการปฏิบัติ,
(กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๔๐), หน้า ๒e๘.
พระมหาชิต านชิโต และพระครูพิพิธวรกิจจานุการ ได้ให้ความหมายของกรรมัาน หรือกรรมัาน มีความหมายไปในทิศทางเดียวกันคือ ที่ตั้งแห่งการงาน (กรรม+ัานะ) ที่ตั้งแห่งความ เพียร อารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งการงาน เป็นต้น เป็นกิจเบื้องต้นในการทําความดีให้สูงยิ่งๆ ขึ้นไปตามหลัก สมถกรรมัานและวิปัสสนากรรมัาน ส่วนกรรมัานที่ปรากฐในชื่ออื่นๆ คือ ภาวนา เช่น อานาปาน สติภาวนา สมถะ เช่น สมถกรรมัาน และวิปัสสนา เช่น วิปัสสนากรรมัาน เอกัคคตา เช่น เอกัคคตา จิต เป็นต้น แต่ก็มีความหมายไปในทิศทางเดียวกัน ส่วนวิปัสสนากรรมัาน เป็นอุบายเรืองปัญญา เป็นการทําจิตให้สงบระงับหมดจากความฟุ้งซ่านจากกิเลสทั้งหลาย เพื่อพิจารณาให้เห็นแจ้งรู้ตาม ความเป็นจริง คือเห็นตรงต่อความเป็นจริงของสภาวธรรมได้แก่ ปัญญาที่พิจารณาเห็นไตรลักษณ์ละ สังโยชน์ e๐ ประการ๘ ได้จนสามารถบรรลุพระอรหันต์นิพพานแล้วไม่กลับมาเกิดอีกต่อไปd กรรมัานจึงเป็นเครื่องมือสําคัญในการบรรลุธรรมในพระพุทธศาสนา
พระพรหมโมลี (วิลาศ าณวโร) ให้ความหมาย คําว่า “กรรมัาน” ว่ากรรมัานเป็นที่ตั้ง แห่งการงานทางใจ ซึ่งหมายถึง การมีสติกําหนดรู้เท่าทันทุกอารมณ์ที่เกิดขึ้น ยังจิตของผู้ปฐิบัติให้ตื่น อยู่ คือมีการตื่นตัวรู้สึกตัวอยู่เสมอ และได้วิเคราะห์ศัพท์กรรมัานไว้ว่า กมฺมเมว วิเสสาธิคมสฺสัานนฺติ กมฺมัานํ การปฐิบัติบําเพ็ญอันเป็นัานแห่งการบรรลุคุณวิเศษคือฌานและมรรคผลใน พระพุทธศาสนา เรียกชื่อว่า กรรมัานe๐
พระศรีวรญาณ วิ. ได้ให้นิยามศัพท์ของคําว่า “กรรมัาน” ว่า พระพุทธศาสนาแบ่ง กรรมัานออกเป็น ๒ วิธีปฐิบัติ คือ e) สมถกรรมัาน ๒) วิปัสสนากรรมัาน สมถกรรมัาน หมายถึง อุบายวิธีสําหรับฝึกจิตให้สงบ วิปัสสนากรรมัาน หมายถึง อุบายวิธีสําหรับฝึกจิตให้เกิดปัญญารู้แจ้ง ตามความเป็นจริงee
นอกจากนี้ พุทธทาสภิกขุ ยังให้ทัศนะเกี่ยวกับวิปัสสนากรรมัานว่าโดยที่แท้จริงแล้วคําว่า วิปัสสนาเป็นธุระที่ต้องกินความรวมทั้งสมถภาวนา และวิปัสสนาภาวนา คือ หมายถึงทั้งสมาธิและ ปัญญานั่นเอง และยิ่งไปกว่านั้นยังได้รวมเอาศีล ซึ่งยังไม่ใช่ตัวภาวนาอะไรเลยเข้าไป อีกด้วยในัานะ เป็นบริวารหรือบาทัานของสมาธิ เพื่อจะให้เข้าใจการปฐิบัติวิปัสสนาได้ดีนั้น... ฉะนั้น ศีลกับสมาธิจึง เป็นที่ตั้งอาศัยของวิปัสสนา เพราะว่าวิปัสสนานั้น หมายถึงการรู้ แจ้งเห็นจริง การรู้แจ้งเห็นจริงจึงจะ
๘ สังโยชน์ หมายถึง เครื่องผูกพันน้อยใหญ่ กิเลสอันผูกสัตว์ไว้ เป็นธรรมที่มัดใจสัตว์ไว้กับทุกข์ หรือผูก กันไว้กับภพ ร้อยรัดสรรพสัตว์ทั้งหลายให้ผูกติดอยู่กับความทุกข์ทําให้ไม่สามารถสลัดหลุดออกมาได้ เป็นเครื่องพัน ธนการ
๙ พระมหาชิต านชิโตและพระครูพิพิธวรกิจจานุการ, “การปฐิบัติและการสอบอารมณ์กรรมัานตาม หลักพระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศไทย”, วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, ปีที่ ъ ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม- กันยายน ๒๕ъe): eed๒-ee๘e.
e๐ พระพรหมโมลี (วิลาศ าณวโร), วิมุตติรัตนมาลี, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มิตรสยาม, ๒๕๓๘),
หน้า ๒e๓.
ee พระศรีวรญาณ วิ, เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก, พิมพ์ครั้งที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๕), หน้า ๓๐๒.
เกิดขึ้นได้ ก็ในเมื่อบุคคลมีจิตใจที่ปีติปราโมทย์ คือไม่มีอะไรเป็นเครื่องเศร้าหมองใจe๒ ในทัศนะของ ท่านพุทธทาส มุ่งหมายเอากรรมัานเพียงส่วนเดียวคือวิปัสสนากรรมัาน ส่วนสมถกรรมัานนั้นก็ รวมอยู่ในวิปัสสนาแล้วนั่นเอง
จึงสรุปได้ว่า กรรมัาน หรือ กรรมัาน เป็นวิธีปฐิบัติทางพระพุทธศาสนา คือที่ตั้งแห่งการ งาน ที่ตั้งแห่งอารมณ์ เป็นแนวทางในการปฐิบัติเพื่ออบรมฝึกจิตให้เกิดความสงบ และเกิดปัญญารู้ แจ้ง กรรมัานแบ่งออกเป็น ๒ อย่าง คือ e) สมถกรรมัาน เป็นอุบายสงบใจ ๒) วิปัสสนากรรมัาน เป็นอุบายเรืองปัญญา
๓.๑.๒ ประเภทของกรรมฐาน
การปฐิบัติพระกรรมัานในพระพุทธศาสนามีอยู่หลายวิธีด้วยกัน แต่พระพุทธศาสนามี ความเชื่อและยอมรับแนวทางการปฐิบัติพระกรรมัาน ตามที่ปรากฐหลักัานในพระไตรปิฎกและ อรรถกถา ซึ่งเป็นวิธีการปฐิบัติที่ถูกต้องตามหลักธรรมคําสอนของพระพุทธเจ้า พระพุทธศาสนาแบ่ง พระกรรมัานเป็น ๒ วิธีปฐิบัติ คือ
e) สมถกรรมัาน หมายถึง อุบายวิธีฝึกจิตให้สงบ ได้แก่สมาธิ หรือความสงบทาง จิตใจดังจะเห็นจากอภิธรรมได้ให้ความหมาย สมถะ ไว้ว่าสมถะมีในสมัยนั้นเป็นไฉน ความตั้งอยู่แห่ง จิตความไม่ฟุ้งซ่านแห่งจิต ภาวะที่จิตไม่ส่ายไป ความสงบแห่งจิต สมาธินทรีย์ สมาธิพละ ความตั้งจิต ไว้ชอบ ในสมัยนั้น อันใด นี้ชื่อว่า “สมถะ” มีในสมัยนั้นe๓
นอกจากนี้แล้วในคัมภีร์วิสุทธิมรรคได้กล่าวถึงกรรมัานที่เป็นสมถกรรมัาน อันเป็น อุบายเพื่อความสงบใจ ๔๐ อย่าง แบ่งไว้เป็น d หมวด มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
e.e) กสิณกรรมัาน e๐ อย่างe๔
(e) ปัวีกสิณ กสิณสําเร็จด้วยดิน
(๒) อาโปกสิณ กสิณสําเร็จด้วยน้ํา
(๓) เตโชกสิณ กสิณสําเร็จด้วยไฟ
(๔) วาโยกสิณ กสิณสําเร็จด้วยลม
(๕) นีลกสิณ กสิณสําเร็จด้วยสีเขียว
(ъ) ปีตกกสิณ กสิณสําเร็จด้วยสีเหลือง
(d) โลหิตกสิณ กสิณสําเร็จด้วยสีแดง
(๘) โอทาตกสิณ กสิณสําเร็จด้วยสีขาว
(๙) อาโลกกสิณ กสิณสําเร็จด้วยแสงสว่าง
e๒ พุทธทาสภิกขุ, คู่มือมนุษย์ฉบับสมบูรณ์, พิมพ์ครั้งที่ ๓, (กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ, ๒๕๔d), หน้า e๙๘-e๙๙.
e๓ อภิ.สงฺ.อ.(บาลี) ๓๔/๕๔/๓ъ.
e๔ ดูรายละเอียดใน พระพุทธโฆสเถระ, ผู้แปล สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), คัมภีร์วิ สุทธิมรรค, (กรุงเทพมหานคร: บริษัท ประยูรวงศ์พริ้นติ้ง จํากัด, ๒๕๔d), หน้า ๒๐๓-๓e๔.
(e๐) ปริจฉินนากาสกสิณ กสิณสําเร็จด้วยช่องว่างซึ่งกําหนดขึ้น e.๒) อสุภกรรมัาน e๐ อย่างe๕
(e) อุทธุมาตกอสุภะ ซากศพที่ขึ้นพองน่าเกลียด
(๒) วินีลกกอสุภะ ซากศพที่ขึ้นเป็นสีเขียวน่าเกลียด (๓) วิปุพพกกอสุภะ ซากศพที่ถูกตัดเป็นท่อนๆ น่าเกลียด
(๔) วิฉิททกกอสุภะ ซากศพที่ถูกสัตว์กัดกระจุยกระจายน่าเกลียด (๕) วิกขายิตกกอสุภะ ซากศพที่ทิ้งไว้เรี่ยราดน่าเกลียด
(ъ) วิกขิตตกกอสุภะ ซากศพที่ทิ้งไว้เรี่ยราดน่าเกลียด
(d) หตวิกขิตตกกอสุภะ ซากศพที่ถูกสับฟันทิ้งกระจัดกระจายน่าเกลียด (๘) โลหิตกกอสุภะ ซากศพที่มีโลหิตไหลออกน่าเกลียด
(๙) ปุฬุวกกอสุภะ ซากศพที่เต็มไปด้วยหนอนน่าเกลียด (e๐) อัฐัิกกอสุภะ ซากศพที่เป็นกระดูกน่าเกลียด
e.๓) อนุสสติกรรมัาน e๐ อย่างeъ
(e) พุทธานุสสติ ระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้า (๒) ธัมมานุสสติ ระลึกถึงคุณของพระธรรม
(๓) สังฆานุสสติ ระลึกถึงคุณของพระอริยสงฆ์ (๔) สีลานุสสติ ระลึกถึงศีลของตน
(๕) จาคานุสสติ ระลึกถึงการบริจาคที่ตนบริจาคแล้ว (ъ) เทวตานุสสติ ระลึกถึงคุณธรรมทีทําให้เป็นเทวดา
(d) มรณนุสสติ ระลึกถึงความตาย
(๘) กายคตาสติ ระลึกถึงร่างกายซึ่งล้วนแต่ไม่สะอาด (๙) อานาปานสติ ระลึกกําหนดลมหายใจเข้าออก
(e๐) อุปสมานุสสติ ระลึกถึงนิพพานอันเป็นที่ดับทุกข์ทั้งปวง
e.๔) พรหมวิหารกรรมัาน ๔ อย่างed
(e) เมตตา ความรักที่มุ่งทําประโยชน์
(๒) กรุณา ความสงสารที่มุ่งช่วยบําบัดทุกข์
(๓) มุทิตา ความพลอยยินดีต่อสมบัติ
(๔) อุเบกขา ความเป็นกลางไม่เข้าฝ่ายใด
e๕ ดูรายละเอียดใน พระพุทธโฆสเถระ, ผู้แปล สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), คัมภีร์วิ สุทธิมรรค, (กรุงเทพมหานคร: บริษัท ประยูรวงศ์พริ้นติ้ง จํากัด, ๒๕๔d), หน้า ๓๔๓-๓๙๘
eъ ดูรายละเอียดใน เรื่องเดียวกัน, หน้า ๓๙d-๔๘๐.
ed ดูรายละเอียดใน เรื่องเดียวกัน, หน้า ๔๘e-๕๘๘.
ไม่มีก็ไม่ใช่
e.๕) อารุปปกรรมัาน ๔ อย่างe๘
(e) อากาสานัญจายตนะ อากาศไม่มีที่สุด (๒) วิญญาณัญจายตนะ วิญญาณไม่มีที่สุด (๓) อากิญจัญญายตนะ ความไม่มีอะไร
(๔) เนวสัญญานาสัญญายตนะ สัญญาละเอียด ซึ่งจะว่ามีสัญญาก็ไม่ใช่
e.ъ) สัญญากรรมัาน ee๙
อาหาเรปฐิกูลสัญญา ความหมายเอารู้ในอาหารโดยเป็นสิ่งน่าเกลียด
e.d) ววัตถานกรรมัาน e๒๐
จตุธาตุววัตถาน การกําหนดแยกคนออกเป็นธาตุ ๔
จึงกล่าวได้ว่า สมถกรรมัาน หมายถึงวิธีการฝึกจิตให้เกิดความสงบจากนิวรณ์ หรือที่
เรียกว่าการทําจิตให้เป็นสมาธินั่นเอง เป็นวิธีที่ฝึกจิตให้ตั้งมั่นในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ที่เรียกว่า อารมณ์ จนจิต ตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดียว ที่เรียกว่า เอกัคคตา ความตั้งมั่นหรือแน่วแน่ของจิตนี้เรียกว่า สมาธิ เมื่อ อารมณ์แน่วแน่มากขึ้นสมาธิก็จะสูงขึ้น จะเกิดภาวะที่เรียกว่า ฌาน ซึ่งหมายถึง สภาวะที่จิตจับอยู่ใน อารมณ์และเฝ้าสังเกตอารมณ์อย่างแนบสนิท๒๑ เช่น การตั้งมั่นอยู่อานาปานสติ ระลึกถึงลมหายใจเข้า ออกเป็นอารมณ์เดียวจนเกิดฌาน เป็นต้น
๒) วิปัสสนากรรมัาน หมายถึง อุบายวิธีสําหรับฝึกจิตให้เกิดปัญญารู้แจ้งตามความ เป็นจริง ได้แก่การเห็นสังขาร รูปนาม รากศัพท์ภาษาบาลี จําแนกออกเป็น ๒ ศัพท์ คือ วิ+สฺส วิ อุปสรรค แปลว่า “วิเศษ แจ้ง ต่าง” ทิส ธาตุ แปลว่า “เห็น” แปลง ทิส เป็น ๒ รูป คือ กทฺขและปสฺส ประกอบด้วยปัจจัยและวิภัตติ เป็น ปสฺสนา แปลว่า การเห็น เมื่อรวมศัพท์ทั้ง ๒ เข้าด้วยกันเป็น วิปัสสนา แปลว่า การเห็นโดยวิเศษ การเห็นแจ้ง การเห็นด้วยอาการต่างๆ หรือ ดังวิเคราะห์ ศัพท์ว่า วิเสเสน ปสฺสตีติ = วิปัสสนา แปลว่า ธรรมชาติใดย่อมเห็นแจ้งเป็นพิเศษ ฉะนั้น ธรรมชาตินั้นชื่อว่า วิปัสสนา เพราะเห็นโดยวิเศษ ได้แก่ปัญญาที่เข้าไปเห็นแจ้งรูปนาม พระไตรลักษณ์ อริยสัจและมรรค ผล นิพพาน๒๒
e๘ ดูรายละเอียดใน พระพุทธโฆสเถระ, ผู้แปล สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), คัมภีร์วิ สุทธิมรรค, (กรุงเทพมหานคร: บริษัท ประยูรวงศ์พริ้นติ้ง จํากัด, ๒๕๔d), หน้า ๕๘๙-ъ๐๘.
e๙ ดูรายละเอียดใน เรื่องเดียวกัน, หน้า ъ๐๙-ъeъ.
๒๐ ดูรายละเอียดใน เรื่องเดียวกัน, หน้า ъed-ъ๔๘.
๒e พระมหาอภิวัฒน์ ธมฺมโชโต (รักษาเคน), “ศึกษาวิเคราะห์แนวทางการปฐิบัติกรรมัานของหลวงปู่ มั่น ภูริทัทตฺโต ตามแนวทางพระพุทธศาสนา”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๘), หน้า e๘.
๒๒ พระมหาไสว าณวีโร, คู่มือพระวิปัสสนา, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สํานักพระพุทธศาสนา แห่งชาติ, ๒๕๔๘), หน้า ๒๔.
ลําดับแห่งการเข้าถึงการปฐิบัติในทางพระพุทธศาสนา บอกว่าทางจะไปสู่พระนิพพานมีอยู่
๒ ทาง คือ ทางหนึ่งเรียกว่าทางโดยอ้อม อีกทางหนึ่งเรียกว่าทางโดยตรง ในจํานวนทั้ง ๒ ทางนี้ ทางโดยอ้อม เรียกว่า สมถยานิกะ ญาณคือสมถะ คือ เจริญสมถกรรมัานก่อนแล้วน้อมเข้ามาสู่ วิปัสสนากรรมัานทีหลัง แต่ถ้าเจริญวิปัสสนาจนเข้าถึงพระนิพพาน ซึ่งเป็นทางโดยตรง เรียกว่า วิปัสสนายานิกะยาน ญาณคือ วิปัสสนา เป็นการมุ่งเข้าไปสู่นิพพานโดยตรงไม่ต้องย้อนมาเจริญสมถะ ก่อน๒๓
จึงกล่าวได้ว่าแนวทางในการศึกษากรรมัานเพื่อให้ถึงความเป็นอริยบุคคลจําเป็นต้อง อาศัย ๒ ทางนี้ให้เลือกเดิน คือ สมถกรรมัานเพื่อทําให้จิตใจสงบ เยือกเย็น เมื่อมีความสงบแล้วก็ ย่อมมีสติที่ตั้งมั่น สามารถละนิวรณ์อันเป็นเครื่องขวางกั้นได้แล้ว จึงทําให้เกิดปัญหารู้แจ้งได้ ดังนั้น จึง ต้องปฐิบัติควบคู่กันไป แต่ในงานวิจัยนี้จะนําเสนอเฉพาะส่วนที่เป็นสมถกรรมัานเท่านั้น เพราะเป็น ส่วนที่เกี่ยวเนื่องกับอาหาเรปฐิกูลสัญญากรรมัาน
๓.๑.๓ วิธีปฏิบัติสมถกรรมฐาน
ในการปฐิบัติสมถกรรมัานนั้นในคัมภีร์วิสุทธิมรรคได้อธิบายหลักการปฐิบัติกรรมัาน ตั้งแต่มารยาทการเข้าหาครูบาอาจารย์ผู้สอนกรรมัาน คือ ผู้เรียนนั้นควรเข้าไปหากัลยาณมิตรผู้ให้ กรรมัาน แล้วถวายตัวแด่พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าหรือแก่อาจารย์ แล้วควรทําตนให้เป็นผู้มีอัชฌาสัย อันสมบูรณ์ และมีอธิมุติอันสมบูรณ์ โดยลักษณะของผู้มีอัชฌาสัยสมบูรณ์ ที่จะสามารถบรรลุพระ โพธิญาณ ๓ ประการหรืออย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมเป็นไปเพื่อความแก่แห่งโพธิญาณของพระโพธิสัตว์ ทั้งหลาย คือ
คณะ
e) พระโพธิสัตว์ทั้งหลาย ผู้มีอัชฌาสัยไม่โลภ เห็นโทษในความโลภ
๒) พระโพธิสัตว์ทั้งหลาย ผู้มีอัชฌาสัยไม่โกรธ เห็นโทษในความโกรธ
๓) พระโพธิสัตว์ทั้งหลาย ผู้มีอัชฌาสัยไม่หลง เห็นโทษในความหลง
๔) พระโพธิสัตว์ทั้งหลาย ผู้มีอัชฌาสัยในการออกบวช เห็นโทษในฆราวาส
๕) พระโพธิสัตว์ทั้งหลาย ผู้มีอัชฌาสัยชอบความสงัด เห็นโทษในการคลุกคลีกับหมู่
ъ) พระโพธิสัตว์ทั้งหลาย ผู้มีอัชฌาสัยในนิพพาน เห็นโทษในภพและคติทั้งปวง พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี พระขีณาสพ พระปัจเจกพุทธเจ้า และ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายจําพวกใดจําพวกหนึ่ง ทั้งที่ล่วงไปแล้ว ทั้งที่จะมาในอนาคต ทั้งที่ ปรากฐอยู่ในปัจจุบัน ทั้งหมดนั้นได้บรรลุซึ่งคุณวิเศษอันตนและตนพึงบรรลุด้วยอาการทั้งหลาย ъ ประการ เพราะฉะนั้นอันโยคีบุคคลพึงควรเป็นผู้มีอัชฌาสัยสมบูรณ์โดย ъ ประการ๒๔ ส่วนอธิมุติอัน
๒๓ พระมหาชิต านชิโตและพระครูพิพิธวรกิจจานุการ, “การปฐิบัติและการสอบอารมณ์กัมมัฐัานตาม หลักพระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศไทย”, วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, ปีที่ ъ ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม- กันยายน ๒๕ъe): eed๒-ee๘e.
๒๔ พระพุทธโฆสเถระ, ผู้แปล สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), คัมภีร์วิสุทธิมรรค, หน้า
e๕๙.
สมบูรณ์ คือ ความเป็นผู้น้อมจิตไปเพื่อประโยชน์นั้น เป็นผู้น้อมจิตไปในสมาธิ เป็นผู้หนักในสมาธิ เป็น ผู้โน้มจิตไปในสมาธิ และเป็นผู้น้อมจิตไปในนิพพาน เป็นผู้หนักในนิพพาน เป็นผู้โน้มจิตไปใน นิพพาน๒๕
จะเห็นได้ว่าก่อนที่จะปฐิบัติสมถกรรมัานได้นั้น จําเป็นต้องอาศัยครูบาอาจารย์ผู้มีความรู้ และมีความเป็นกัลยาณมิตรด้วย ที่สําคัญคือต้องมีการฝึกตนให้ผู้ที่สามารถละซึ่งความโลก ความโกรธ ความหลง เป็นต้น อาจจะเป็นพื้นัานสําคัญในการปฐิบัติกรรมัาน ในวิสุทธิมรรคท่านได้กําหนดให้ กัลยาณมิตรเป็นเบื้องต้นของการปฐิบัติกรรมัาน จากนั้นจึงเข้าไปขอกรรมัานจากอาจารย์ผู้เป็น กัลยาณมิตร โดยกําหนดเป็นขั้นตอนที่ชัดเจน ดังนี้
๑) อาจารย์ผู้ให้กรรมฐานและกัลยาณมิตร
การที่จะหาอาจารย์ผู้ให้กรรมัานนั้น ท่านผู้ใดก็ตามที่สามารถให้กรรมัานทั้ง ๒ อย่างที่ได้กล่าวไว้ข้างต้นนี้ได้ คือ สามารถสอนสัพพัตถกกรรมัาน และปาริหาริยกรรมัาน ท่านผู้นั้น ชื่อว่าผู้สามารถให้พระกรรมัาน๒ъ ส่วนกัลยาณมิตรนั้น หมายเอากัลยาณมิตรผู้ที่ดํารงตนอยู่ในฝ่าย ข้างดี มีจิตมุ่งในสิ่งประโยชน์ ซึ่งประกอบด้วยคุณสมบัติประจําตน คือ
e.e) มีคุณสมบัติเป็นที่รัก
e.๒) มีคุณสมบัติเป็นที่น่าเคารพ e.๓) มีคุณสมบัติเป็นที่น่าสรรเสริญ e.๔) เป็นผู้สามารถว่ากล่าวตักเตือน
e.๕) เป็นผู้อดกลั้นต่อถ้อยคําต่ําๆ สูงๆ ได้ e.ъ) เป็นผู้สามารถชี้แจงถ้อยคําที่สุขุมลุ่มลึกได้
e.d) เป็นผู้ไม่แนะนําในทางที่ไม่สมควร๒d
นอกจากนี้กัลยาณมิตร จะต้องเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยศรัทธา สมบูรณ์ด้วยศีล สมบูรณ์ ด้วยสุตะ สมบูรณ์ด้วยวิริยะ สมบูรณ์ด้วยสติ และเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยปัญญา คือย่อมเชื่อมั่นต่อความ ตรัสรู้ของพระตถาคตเข้า และเชื่อมั่นต่อกรรมและผลแห่งกรรมด้วยศรัทธาสมบัติ ไม่ยอมปล่อยวาง การแสวงหาประโยชน์แก่สรรพสัตว์ทั้งหลายอันเป็นเหตุแห่งสัมมาสัมโพธิญาณด้วยศรัทธาสมบัตินั้น เป็นที่รักเป็นที่เคารพน่าสรรเสริญ สามารถทักท้วงตําหนิกล่าวโทษ อดทนต่อถ้อยของสัตว์ทั้งหลายได้ ด้วยศีลสมบัติ สามารถชี้แจงถ้อยคําอันลุ่มลึก ซึ่งประกอบด้วยสัจธรรมและปฐิจจสมุปบาทธรรม มักน้อย สันโดษ ชอบสงัด เป็นต้น๒๘
๒๕ เรื่องเดียวกัน, หน้า eъ๐.
๒ъ เรื่องเดียวกัน, หน้า eъ๐.
๒d เรื่องเดียวกัน, หน้า eъe.
๒๘ ดูรายละเอียดใน พระพุทธโฆสเถระ, ผู้แปล สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), คัมภีร์วิ สุทธิมรรค, หน้า eъe-eъ๔.
กัลยาณมิตรผู้สมบูรณ์ด้วยคุณสมบัติทุกๆ ประการนั้น คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยมีพระบาลีรับรองว่า “อานนท์ สัตว์ทั้งหลายผู้มีความเกิดเป็นธรรมดา ย่อมพ้นจากชาติความเกิด ได้ ด้วยอาศัยกัลยาณมิตรคือเราตถาคตนั่นเทียว”๒๙ เพราะเหตุนี้ เมื่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้ายังทรง พระชนม์อยู่นั้น การเรียนกรรมัานในสํานักของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นประเสริัที่สุด แต่เมื่อพระ พุทธองค์ได้เสด็จดับขันปรินิพพานไปแล้ว ในบรรดาพระมหาสาวก ๘๐ องค์ องค์ใดยังมีชนมายุอยู่ การเรียนกรรมัานในสํานักของพระมหาสาวกองค์นั้น ย่อมเป็นการสมควร เมื่อพระมหาสาวกนั้นไม่มี อยู่แล้ว ก็พึงเรียนเอาในสํานักของพระอรหันต์ที่ได้ฌานปัญจกนัย ด้วยพระกรรมัานบทที่ตนจะเรียน เอานั้น แล้วเจริญวิปัสสนาเป็นปทัฐัาน จะได้บรรลุถึงซึ่งความสิ้นสุดแห่งอาสวะกิเลส๓๐
พระอรหันต์นั้น ท่านสามารถรู้ถึงภาวะที่ผู้จะทําความเพียรแล้วย่อมแสดงตนให้ ทราบด้วยความอาจหาญและรื่นเริง โดยชี้ให้เห็นถึงภาวะแห่งการปฐิบัติไม่เป็นโมฆะ๓e พระอัสสคุต ตเถระ ภิกษุนี้เป็นผู้จะทํากรรมัานแล้ว ท่านก็ปูลาดแผ่นหนังไว้บนอากาศแล้วสามารถนั่งสมาธิอยู่ แผ่นหนังนั้น แล้วบอกกรรมัานแก่ภิกษุผู้ปรารภพระกรรมัาน ดังนั้นโยคีบุคคลควรเรียนกรรมัานใน สํานักของท่านผู้ทรงคุณสมบัติจากก่อนมาหลัง ได้แก่ พระอนาคามี พระสกทาคามี พระโสดาบัน ปุถุชนผู้ได้ฌาน ท่านผู้ทรงจําปิฎกทั้งสาม ท่านผู้ทรงจําปิฎกทั้งสอง ท่านผู้ทรงจําปิฎกทั้งหนึ่ง แม้เมื่อ ท่านผู้ทรงจําปิฎกหนึ่งก็ไม่มี ก็สามารถเรียนกรรมัานของท่านผู้ที่มีความชํานาญแม้เพียงสังคีติอัน เดียว พร้อมทั้งอรรถกถา และเป็นผู้มีความละอายด้วย ก็จะได้ชื่อว่าเป็นผู้รักษาประเพณี เป็นอาจารย์ ยึดถือมติของอาจารย์ ไม่ใช่ผู้ถือมติของตนเองเป็นใหญ่ พระเถระในกาลก่อนจึงได้กล่าวประกาศไว้ถึง
๓ ครั้งว่า ท่านผู้มีความละอายจักรักษา ท่านผู้มีความละอายจักรักษา ท่านผู้มีความละอายจักรักษา ฉะนี้๓๒
ในบรรดากัลยาณมิตรที่เป็นอรหันต์ขีณาสพที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น ท่านย่อมบอก กรรมัานให้ได้แต่แนวทางที่ท่านได้บรรลุมาด้วยตนเอง ส่วนกัลยาณมิตรผู้เป็นพหูสูตรเนื่องจากเหตุที่ ได้เรียนพระบาลีอรรถกถามาช่วยในกรรมัานที่ได้ศึกษาจากอาจารย์ แล้วเรียนอย่างขาวสะอาด ไม่มี ข้อเคลือบแคลงสงสัยเหลืออยู่ท่านจึงเลือกสรรเอาบทที่สมควรแก่กรรมัานนั้น เอาจะปรับปรุงให้ เหมาะสมแก่โยคีที่จะให้กรรมัาน๓๓
จะเห็นได้ว่าการเรียนการศึกษากรรมัานไม่จําเป็นต้องเรียนจากครูบาอาจารย์ผู้มีความรู้ เพียงอย่างเดียว ผู้ที่ต้องการศึกษาปฐิบัติกรรมัานสามารถไปศึกษาจากกัลยาณมิตรผู้มีคุณสมบัติ ประจําตนทั้ง d อย่างตามที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น และยังจะต้องเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยศรัทธา สมบูรณ์ด้วยศีล
๒๙ สํ.ส. (ไทย) e๕/e๒๙/e๕๒, สํ.ม. (ไทย) e๙/๒/๓.
๓๐ ดูรายละเอียดใน พระพุทธโฆสเถระ, ผู้แปล สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), คัมภีร์วิ สุทธิมรรค, หน้า eъe.
๓e เรื่องเดียวกัน, หน้า eъ๒.
๓๒ เรื่องเดียวกัน, หน้า eъ๓.
๓๓ เรื่องเดียวกัน, หน้า eъ๓.
สมบูรณ์ด้วยสุตะ สมบูรณ์ด้วยวิริยะ สมบูรณ์ด้วยสติ และเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยปัญญา มีความเชื่อมั่นใน พระพุทธเจ้า
๒) ระเบียบเข้าหาอาจารย์ผู้กัลยาณมิตร
ผู้ได้กัลยาณมิตรนั้นในวัดเดียวกันนั้นถือว่าเป็นบุญ แต่ถ้าไม่มีก็ควรไปหาที่วัดนั้น และเมื่อไปก็อย่าล้างเท้า อย่าสวมรองเท้า อย่ากั้นร่ม อย่าให้ศิษย์ช่วยถือทะนานนั้น น้ําผึ้ง น้ําอ้อย เป็นต้น อย่าไปอย่างมีอันเตวาสิกห้อมล้อม ควรไปของที่สมควรเตรียมไป ให้เสร็จบริบูรณ์แล้วถือเอา บาตรจีวรของตนเองไปด้วย เมื่อแวะพักวัดใดในระหว่างทางก็ควรทําวัตรปฐิบัติ ณ วัดนั้น ตลอดไป เวลาเข้าไปควรทําอาคันตุกวัตร ถ้าจะออกมาก็ควรทําคมิกวัต ให้บริบูรณ์ พึงมีเครื่องบริขารเพียง เล็กน้อยและมีความประพฤติอย่างเคร่งครัดที่สุด
ก่อนจะเข้าสู่วัด ควรทําไม้ชําระฟันให้เป็นกัปปิยะพอใช้ได้ในระหว่างทาง แล้วก็เข้า ไปอย่าได้แวะพัก ณ บริเวณอื่นหรืออย่าได้ล้างเท้าทาน้ํามันเพราะว่า ถ้าในวัดนั้นไม่มีภิกษุลงคอกับ อาจารย์นั้น ภิกษุเหล่านั้นก็จะถามเหตุที่มา และประกาศตําหนิอาจารย์ให้ฟังทําให้เกิดความเดือดร้อน ใจให้ต้องกลับไป ทางที่ดีควรเดินตรงเข้าไปหาอาจารย์นั้นเลย๓๔
ในระเบียบนี้จะเห็นได้ว่าผู้ที่ต้องการจะเป็นศิษย์เพื่อเรียนกรรมัานจําเป็นที่จะต้องช่วยเหลือ ตัวเอง เป็นผู้มีความอ่อนน้อมถ่อมตน ให้ความสําคัญกับอาจารย์ผู้สอน จําเป็นต้องทําด้วยตนเอง ทั้งนี้ อาจจะเพื่อแสดงให้เห็นถึงความตั้งใจของตน
๓) การถวายตัวแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าและอาจารย์
จากนั้นจึงขอเอาพระกรรมัาน ในการถวายตัวนั้น โยคีบุคคลควรกล่าวคําถวายตัว แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า “อิมาหํ ภควา อตฺตาภาวํ ตุมฺหากํ ปริจฺจชามิ ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ข้าพระพุทธเจ้า ขอถวายอัตภาพร่างกายอันนี้ แด่พระพุทธองค์”๓๕
การถวายตัวแด่พระผู้มีพระภาคเจ้านี้มีความสําคัญเป็นอย่างมาก มีอานิสงส์ คือ แม้ว่าอารมณ์อันน่ากลัวมาปรากฐให้เห็น ก็จะไม่เกิดความหวาดกลัว มีแต่จะเกิดความโสมนัส อย่างเดียว โดยที่จะได้เตือนตัวเองว่า “พ่อบัณฑิต ก็วันนั้น เจ้าได้ถวายตัวแด่พระพุทธเจ้าแล้ว มิใช่หรือ”๓ъ ดังตัวอย่างว่า บุรุษคนหนึ่งมีผ้ากาสิกพัสตร์ (ผ้าที่ทําในแคว้นกาสี) อย่างดีที่สุด เมื่อผ้านั้น ถูกหนูหรือพวกแมลงสาบกัด เขาก็จะเกิดความเศร้าเสียใจ แต่ถ้าเขาถวายผ้านั้นแก่ภิกษุผู้ไม่มีจีวรแล้ว เขาก็จะได้เห็นผ้านั้น ซึ่งภิกษุเอามาตัดเย็บเขาก็จะเกิดความโสมนัสยินดี
ส่วนการไม่ถวายตัวแด่พระพุทธเจ้านั้น คือ เมื่อหลีกเร้นไปอยู่ที่เสนาสนะที่เงียบสงัด ถ้าอารมณ์อันน่ากลัวมาปรากฐให้เห็น ก็จะไม่สามารถที่จะยับยั้งตั้งตนอยู่ได้ จะเลี่ยงหนีไปยังแดน หมู่บ้านเกิดคลุกคลีกับชาวบ้านคฤหัสถ์ ทําการแสวงหาลาภสักการะอันไม่สมควร ก็จะถึงความฉิบหาย
๓๔ เรื่องเดียวกัน, หน้า eъ๔.
๓๕ เรื่องเดียวกัน, หน้า e๙๓.
๓ъ เรื่องเดียวกัน, หน้า e๙๓.
นอกจากนี้แล้วผู้ปฐิบัติกรรมัาน เมื่อจะถวายตัวแก่พระอาจารย์ก็มีคํากล่าวอยู่ว่า “อิมาหํ ภนฺเต อตฺตภาวํ ตุมฺหากํ ปริจฺชามิ ข้าแต่ท่านอาจารย์ผู้เจริญ กระผมขอมอบถวายอัตภาพ ร่างกายอันนี้แก่ท่านอาจารย์”
การถวายตัวต่ออาจารย์ จะไม่เป็นคนที่ใครๆ ขัดขวางไม่ได้ ไม่เป็นคนตามแต่ใจ ตนเอง เป็นคนว่าง่าย มีความประพฤติติดเนื่องอยู่กับอาจารย์ ก็จะได้รับการสงเคราะห์จากอาจารย์ ก็จะถึงซึ่งความงอกงามไพบูลย์ในพระศาสนา เหมือนอย่างพวกศิษย์อันเตวาของพระจูฬปิณฑปา ติกติสสเถระ
การไม่ถวายตัวต่ออาจารย์ ย่อมเป็นคนที่ไม่มีใครมาขัดขวาง บางทีก็จะเป็นคนที่ว่า ยากเพราะไม่เชื่อฟังโอวาท บางทีก็จะเป็นคนตามแต่ใจตนเองอยากไปไหนก็ไปโดยไม่ลาครูบาอาจารย์ ก่อน บุคคลเช่นนี้ครูอาจารย์ก็จะไม่รับสงเคราะห์ด้วยอามิสหรือด้วยธรรมะ คือ การสั่งสอน จะไม่ให้ ศึกษาวิชากรรมัานอันสุขุมลึกซึ้ง เมื่อไม่ได้รับการสงเคราะห์แล้ว ก็จะไม่ได้ที่พึ่งในพระศาสนา ไม่ช้า ไม่นานก็จะเป็นคนทุศีล บรรพชิตก็จะลาสึกเป็นคฤหัสถ์๓d
) การปฏิบัติต่ออาจารย์
แม้อาจารย์นั้นจะเป็นผู้อ่อนพรรษากว่า ก็อย่างพึงยินดีต่อการช่วยรับบาตรและจีวร ถ้าท่านแก่พรรษากว่า พึงไหว้ท่านแล้วยืนคอยอยู่ก่อน ควรเก็บและบาตรและจีวรตามที่ท่านแนะนําว่า “อาวุโส เก็บบาตรแลจีวรเสีย” ถ้าปรารถนาอยากจะดื่มก็จงดื่มตามที่ท่านแนะนําว่า “อาวุโส นิมนต์ ดื่มน้ํา” แต่อย่าเพิ่งล้างเท้าทันทีเมื่อท่านแนะนําว่า “ล้างเท้าเสีย อาวุโส” เพราะเป็นนําที่พระอาจารย์ ตักมาเอง ย่อมเป็นสิ่งที่ไม่สมควร แต่เมื่อท่านแนะนําว่า “ล้างเถิดอาวุโส ฉันไม่ได้ตักมาเองดอก คนอื่น เขาตักมา” ก็ล้างเท้าที่กําบังพระอาจารย์มองไม่เห็น หรือล้างข้างหนึ่งของวิหารอันว่างเปล่า แต่ก็ยังไม่ ควรที่จะขอกรรมัานเลยทันที ควรศึกษากิจวัตรประจําวันของท่าน สมดังวัตรปฐิบัติโดยชอบอันพระ ผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้สนคัมภีร์มหาขันธกะ วินัยปิฎก ว่า “ภิกษุทั้งหลาย อันเตวาสิกพึงประพฤติ ปฐิบัติโดยชอบในพระอาจารย์ กิริยาที่ประพฤติปฐิบัติโดยชอบในพระอาจารย์นั้น ดังนี้ พึงลุกขึ้นแต่ เช้าแล้วถอดรองเท้าเสีย ห่มจีวรเฉวียงบ่า ถวายไม้ชําระฟัน ถวายน้ําล้างหน้า ปูลาดอาสนะ ถ้ามี ข้าวต้ม พึงล้างภาชนะให้สะอาดแล้วน้อมข้าวต้มไปถวาย๓๘ เมื่อโยคีบุคคลทําให้ท่านอาจารย์พอใจ ด้วยวัตรนี้แล้ว ก็อยู่ทํากิจวัตรค่อยเป็นค่อยไป เมื่ออาจารย์ถามว่าท่านมาที่นี้เพื่อประสงค์สิ่งใดก็ให้ กราบเรียนตามความประสงค์ที่มา เมื่อได้เป็นศิษย์เรียนกรรมัานอย่างนี้แล้วก็ให้นัดเวลากัน ถ้าวันใด เกิดโรคขึ้นมา เช่น ท้องเสีย ธาตุกําเริบ เป็นต้น ก็ควรกราบเรียนอาจารย์ให้ท่านทราบ ขอเปลี่ยนเวลา สถานที่ เพราะเมื่อเป็นโรคแล้วเวลาเรียนกรรมัานจะทําให้ไม่สามารถทําการมนสิการได้๓๙
๓d ดูรายละเอียดใน พระพุทธโฆสเถระ, ผู้แปล สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), คัมภีร์วิ สุทธิมรรค, หน้า e๙๔.
๓๘ ดูรายละเอียดใน เรื่องเดียวกัน, หน้า e๙๕.
๓๙ ดูรายละเอียดใน พระพุทธโฆสเถระ, ผู้แปล สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), คัมภีร์วิ สุทธิมรรค, หน้า eъъ.
๕) วิธีสอนกรรมฐาน
เมื่อโยคีบุคคลนั้นได้มีอัชฌาสัยและอธิมุติสมบูรณ์ได้ที่แล้วตาที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น ได้ขอกรรมัานกับอาจารย์ผู้สําเร็จเจโตปริยญาณ จากนั้นควรตรวจสอบวาระจิตให้ทราบจริยา เสียก่อน สําหรับอาจารย์ที่ไม่ได้สําเร็จเจโตปริยญาณนอกนี้ พึงทราบจริยาโดยสอบถามโยคีบุคคล โดยนัยว่าตนจะสามารถเรียนกรรมัานแบบไหนที่เหมาะสมกับจริยา๔๐
จากนั้นอาจารย์จะสอนกรรมัาน คือสอนด้วยพิธี ๓ ประการ คือ คือ สําหรับโยคี ผู้ศึกษากรรมัานธรรมดา จะสาธยายให้ฟัง e หรือ ๒ ที่นั่ง (e-๒ จบ) แล้วจึงมอบให้ ส่วนโยคีผู้ที่อยู่ ประจําในสํานักจะสอนให้ทุกๆ ครั้งที่มาหา สําหรับผู้ที่เรียนแล้วประสงค์จะไปปฐิบัติ ณ ที่อื่น ก็จะ สอนแบบไม่ย่อเกินไป ไม่พิสดารเกินไป๔e นี่คือการสอนกรรมัาน ๓ ประการซึ่งจะแตกต่างกันไปตาม กิจวัตรของโยคีผู้จะศึกษา
จากนั้นเมื่ออาจารย์ได้สอนกรรมัานแล้ว โยคีบุคคลควรตั้งใจฟัง จําเอานิมิตให้ได้ คือ เอาอาการนั้นมาผูกมั่นในใจว่า นี่คือ บทหลัง บทหน้า เป็นใจความของบทนั้น นี่เป็นคําอธิบ าย และนี่เป็นคําอุปมา เมื่อจําเอานิมิตได้อย่างนี้แล้ว ย่อมถือได้ว่า เรียนเอากรรมัานด้วยดีแล้ว เมื่อเป็น เช่นนี้ การบรรลุคุณวิเศษก็สําเร็จแก่ผู้ศึกษาเพราะตั้งใจศึกษาเป็นอย่างดี แต่บุคคลที่ไม่ตั้งใจเรียนก็จะ ไม่สําเร็จ๔๒
หลักของการเจริญสมถกรรมัาน คือ การกําหนดใจไว้กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้แน่วแน่ จนจิตดิ่งอยู่ในสิ่งนั้นสิ่งเดียว ที่เรียกว่า จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง เมื่อสมาธิแนบสนิทเต็มที่แล้วจะเกิด ภาวนาจิตที่เรียกว่า ฌาน ซึ่งแบ่งเป็นระดับต่างๆ ระดับที่กําหนดเอารูปธรรมเป็นอารมณ์ รูปฌานมี ๔ ขั้น ระดับที่กําหนดเอาอรูปธรรมเป็นอารมณ์ รูปฌานมี ๔ ขั้น ภาวะจิตที่ปราศจากนิวรณ์ ท่านอนุโลม ว่าเป็นความหลุดพ้นจากกิเลสตลอดเวลาในขณะที่อยู่ในฌานนั้น แต่เมื่อออกจากฌานก็ยังมีกิเลสอย่าง เดิมอยู่๔๓
ความรู้อย่างทะลุปรุโปร่งในเรื่องอารมณ์ของกรรมัาน เป็นสิ่งจําเป็นสําหรับ นักศึกษาทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสําหรับผู้เลือกเส้นทางแห่งสมาธิภาวนา เพื่อบรรลุถึงความหลุด พ้น ผู้ปฐิบัติจะได้มาซึ่งความรู้ที่จําเป็นนี้ โดยการศึกษากรรมัานเป็นอย่างดี ซึ่งปฐิบัติไปตามวิธีทั้ง e๐ ที่กล่าวแล้ว และถึงแม้ว่าจะไม่พบอาจารย์ที่เหมาะสมและมีความชํานาญก็ตาม การศึกษาของเขา นั้นเองจะอยู่ในัานเป็นอาจารย์คนหนึ่งการอธิบายโดยละเอียดซึ่งอารมณ์ของกรรมัานจะพบได้ใน พระคัมภีร์วิสุทธิมรรค๔๔ ที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น
๓.๑. แนวทางการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน
๔๐ ดูรายละเอียดใน เรื่องเดียวกัน, หน้า ๒๐e.
๔e ดูรายละเอียดใน เรื่องเดียวกัน, หน้า ๒๐e.
๔๒ ดูรายละเอียดใน เรื่องเดียวกัน, หน้า ๔๙/๒๐๒.
๔๓ ที.สี. (บาลี) ๙/๒eъ-๒ed/d๒ , ที.สี. (ไทย) ๙/๒eъ - ๒ed /d๒.
๔๔ พระ พี. วชิรญาณมหาเถระ, แปลโดย ชูศักดิ์ ทิพย์เกสร, สมาธิในพระพุทธศาสนา, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หน้า ๙๕.
การปฐิบัติวิปัสสนาครั้งแรกในโลกนั้นเกิดขึ้นหลังจากที่พระพุทธองค์ทรงตรัสรู้แล้ว โดยได้ นําความจริงที่พระองค์ค้นพบแสดงเป็นพระปัมเทศนาแก่พระปัญจวัคคีย์ จนได้บรรลุธรรมไปโดย ลําดับ โดยที่พระผู้มีพระภาคทรงประทับสังเกตการปฐิบัติวิปัสสนาของพระปัญจวัคคีย์ โดยมิได้เสด็จ ออกบิณฑบาตหากแต่ประทับอยู่เพื่อคอยแนะนําและแก้ไขหากมีปัญหาเกิดขึ้นในขณะปฐิบัติ โดยปัญจวัคคีย์ที่เหลือ ๔ รูป เริ่มเจริญวิปัสสนาในตอนค่ําของวันเพ็ญเดือน ๘ และท่านวัปปะ ท่านภัททิยะบรรลุโสดาปัตติผลในวันรุ่งขึ้นซึ่งเป็นวันแรม ค่ํา หลังจากได้รับการแนะนําอย่างใกล้ชิด จากพระผู้มีพระภาค โดยไม่ใช่ฟังเพียงพระธรรมคําสอนเท่านั้น หลังจากท่านวัปปะ ภัททิยะ บรรลุโสดาบันแล้ว ออกกรรมัานแล้ว ท่านบิณฑบาตนําภัตตาหารมาถวายพระพุทธเจ้าและ ปัญจวัคคีย์ที่เหลือ ในวันถัดมาภิกษุปัญจวัคคีย์อีก ๒ รูปที่เหลือคือท่าน มหานามะและอัสสชิ ก็ได้บรรลุพระโสดาบัน จะเห็นได้ว่าปัญจวัคคีย์ทุกรูปต่างทําความเพียรอย่างบากบั่น โดยได้รับการ ดูแลจากพระผู้มีพระภาคโดยตรง ซึ่งถือเป็นการสอนวิปัสสนาครั้งแรกของมนุษย์ชาติ ๕
ข้อปฐิบัติในการฝึกอบรมปัญญาให้เกิดความเห็นแจ้ง รู้ชัดสิ่งทั้งหลาย กรรมัานเป็นอุบาย เรืองปัญญา, กรรมัานทําให้เกิดการรู้แจ้งเห็นจริง หมายถึงการปฐิบัติธรรมที่ใช้สติเป็นหลักวิปัสสนา กรรมัานบําเพ็ญได้ โดยการพิจารณาสภาวธรรมหรือนามรูป คือ ขันธ์ ธาตุ อายตนะ อินทรีย์ให้เห็น ตามความเป็นจริง คือ เห็นด้วยปัญญาว่าสภาวธรรมเหล่านี้ ตกอยู่ในสามัญลักษณะหรือไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากการรวมตัวของธาตุ ๔ คือ ดิน น้ํา ไฟ ลมเท่านั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น
วิปัสสนากรรมัาน เป็นกรรมัานที่มุ่งอบรมปัญญาเป็นหลักคู่กับสมถกรรมัาน ซึ่งมุ่งบริหารจิตเป็นหลัก ในคัมภีร์ทางพระศาสนาทั้งพระไตรปิฎกและอรรถกถาทั่วๆ ไปมักจัดเอา วิปัสสนาเป็นแค่ สุตมยปัญญาและจินตามยปัญญา เพราะในวิภังคปกรณ์พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ อย่างนั้น ทั้งนี้ก็ยังพอจะอนุโลมเอาวิปัสสนาว่าเป็นภาวนามยปัญญาได้อีกด้วย เพราะในฎีกาหลายที่ ท่านก็อนุญาตไว้ให้ ซึ่งท่านคงอนุโลมเอาตามนัยยะพระสูตรอีกทีหนึ่ง และในอรรถกถาปฐิสัมภิทา มรรคท่านก็อนุโลมให้เพราะจัดเข้าได้ในภาวนามัยบุญกิริยาวัตถุข้อ e๐
รายละเอียดวิธีการปฐิบัติวิปัสสนากรรมัานหรือการเจริญปฐิบัติวิปัสสนากรรมัาน ได้แก่ การปฐิบัติตามสติปัฐัาน ๔ ในมหาสติปัฐัานสูตร ระหว่างปฐิบัติวิปัสสนากรรมัาน เมื่อผู้ปฐิบัติ กําลังมนสิการขันธ์ ๕ อย่างหนึ่งอย่างใดอยู่โดยไตรลักษณ์ ผู้ปฐิบัติอาจเกิดวิปัสสนูปกิเลส (คือ อุปกิเลสแห่งวิปัสสนา e๐ อย่าง) ชวนผู้ปฐิบัติให้เข้าใจผิด คิดว่าตนได้มรรคผลแล้ว คลาดออก นอกวิปัสสนาวิถีได้
สติ คือ ความระลึกรู้ เป็นสภาวธรรมทางจิต ที่ระลึกถึงแต่สิ่งที่เป็นกุศล คุ้มครองจิตไม่ให้ ตกต่ํา ไปในสิ่งที่เป็นอกุศล สติจึงเป็นธรรมที่มีอุปการะมาก ธรรมทุกอย่างจึงรวมลงในสติ ได้แก่
๔๕ พระมหาชิต านชิโตและพระครูพิพิธวรกิจจานุการ, “การปฐิบัติและการสอบอารมณ์กัมมัฐัานตาม หลักพระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศไทย”, วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, ปีที่ ъ ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม- กันยายน ๒๕ъe): eed๒-ee๘e.
ความไม่ประมาทสติในการปฐิบัติธรรมจะต้องมีอารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน คือ กายกับจิต เพราะว่าสติที่ ตามรู้ปัจจุบัน อารมณ์อยู่จะกําจัดความสําคัญผิดว่ามี “อัตตา” เพราะว่ารู้แต่เพียง “อาการ” เท่านั้น อาการเหล่านี้ไม่ใช่ตัวเราของเรา การคิดถึงสิ่งที่ผ่านมาหรือการคิดการณ์ล่วงหน้า เป็นความคิด ฟุ้งซ่าน๔ъ
สติปัฐัาน หมายถึง สติที่จดจ่ออย่างต่อเนื่องที่สภาวธรรมทางกาย และทางจิตที่จะต้อง กําหนดรู้ปัจจุบันอารมณ์ที่ปรากฐทางทวาร ъ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ พระองค์ตรัสการเจริญสติ ปัฐัาน ๔ ในมหาสติปัฐัานสูตรว่า สติปัฐัาน ๔ ประการ สติปัฐัาน ๔ ประการ อะไรบ้าง คือ ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้
e) พิจารณาเห็นกายในกายอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กําจัดอภิชฌาและโทมนัส
ในโลกได้
๒) พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ
กําจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกได้
๓) พิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติกําจัดอภิชฌาและโทมนัสใน
โลกได้
๔) พิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กําจัดอภิชฌา
และโทมนัสในโลกได้๔d
การปฐิบัติกรรมัานในทางพุทธศาสนาเป็นการฝึกหัดอบรมจิตใจของตนเองให้เกิดความ สงบ บริสุทธิ์ ผ่องใส พ้นจากความทุกข์ จัดเป็นธุระสําคัญยิ่งในทางพระพุทธศาสนา ซึ่งการปฐิบัติ กรรมัานตามหลักการทางพระพุทธศาสนาที่มีปรากฐในพระไตรปิฎกมี ๒ อย่าง คือ สมถกรรมัาน และวิปัสสนากรรมัาน
(e) การฝึกฝนอบรมจิตใจให้เกิดความสงบ ให้แน่วแน่จนจิตตั้งมั่นแนบสนิทจนน้อม ดิ่งลงไปสู่สิ่งนั้นสิ่งเดียวที่เรียกว่า เอกัคคตาจิต (จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง) ไม่ฟุ้งซ่านซัดส่ายไปหาสิ่งอื่น หรืออารมณ์อื่นเรียกว่า สมถกรรมัาน
(๒) การฝึกฝนอบรมปัญญาให้เกิดความรู้อย่างแจ่มแจ้งตามความเป็นจริงของสิ่ง ทั้งหลายตรงต่อสภาวะของมัน จนถอนความหลงผิดรู้ผิดและยึดติดในสิ่งทั้งหลายได้ เรียกว่า วิปัสสนา กรรมัาน ซึ่งหลักในการปฐิบัติกรรมัานตามแนวทางพระพุทธศาสนาที่ได้มีการปฐิบัติสืบทอดกัน ต่อมาโดยลําดับและให้ผลแก่ผู้ปฐิบัติได้จริงคือ มหาสติปัฐัานสูตร พระสูตรว่าด้วยการเจริญสติปัฐ
ัาน ๔ เป็นหนทางอันประเสริั เป็นหนทางสายเอก ที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระ อรหันต์ทั้งหลายได้อาศัยใช้เป็นหนทางเสด็จไปสู่ความพ้นทุกข์ คือพระนิพพาน ในการปฐิบัตินั้นจะใช้ สมถะเป็นบาทของวิปัสสนาก็ได้ หรือจะใช้วิปัสสนากรรมัานล้วนๆ ก็ได้ เพราะฉะนั้นหลักการปฐิบัติ กรรมัานตามแนวสติปัฐัาน ๔ นี้ จึงเป็นได้ทั้งสมถะและวิปัสสนา ผลของการเจริญสมถภาวนาและ ผลของการเจริญวิปัสสนาภาวนานั้น จึงมีความเกี่ยวเนื่องและเกื้อกูลซึ่งกันและกันอยู่ตลอดเวลาตั้งแต่
๔ъ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์, หน้า ๓๙e
๔d ที.ม. (บาลี) e๐/๓d๓/๒๘๔, ที.ม. (ไทย) e๐/๓d๓/๓๐e - ๓๐๒.
เริ่มปฐิบัติในขั้นต้นจนถึงขั้นสําเร็จ มรรค ผล นิพพาน บุคคลผู้ที่มีความปรารถนาที่จะหลุดพ้นจากกอง ทุกข์ในวัฐสงสารนี้ จะต้องดําเนินไปตามหนทางนี้ ซึ่งเป็นหนทางดําเนินไปของพระอริยบุคคลทั้งหลาย ได้แก่ การปฐิบัติตามแนวมหาสติปัฐัาน ๔ ด้วยความอดทนพากเพียรพยายามและมีสติสัมปชัญญะ บริบูรณ์ ก็จะสามารถบรรลุธรรมในขั้นสูงได้ จนหลุดพ้นจากอาสวะกิเลสทั้งปวงโดยสิ้นเชิง๔๘
จึงกล่าวได้ว่าการเจริญกรรมัานทั้งในสมถกรรมัานและวิปัสสนากรรมัานต่างเป็นการ ปฐิบัติที่นําไปสู่การละซึ่งกิเลสตัณหาราคะทั้งปวง แต่สมถกรรมัานเป็นการอาศัยฌานซึ่งเป็นขั้นสูง ของการปฐิบัติแต่เมื่อเสื่อมจากฌานแล้วก็ยังคงยึดติดในกิเลสตัณหาราคะ โทสะ โมหะเหมือนเดิม ไม่ได้ทําให้กิเลสนั้นหายไป แต่วิปัสสนากรรมัานอันเป็นอุบายเรืองปัญญา อันเป็นการปฐิบัติ กรรมัานที่นําไปสู่การบรรลุธรรม เกิดความเห็นแจ้ง เกิดปัญญาอันจะทําให้สามารถกําราบกิเลส ตัณหา ทั้งนี้ก็ต้องมีพื้นัานของสมถกรรมัานด้วย
๓.๑.๕ อานิสงส์ของการเจริญกรรมฐาน
การทําวิปัสสนากรรมัานเป็นวิธีเพื่อให้พบความจริงของชีวิต ทําให้เห็นร่างกายอัน ประกอบขึ้นด้วยขันธ์ ๕ และมีลักษณะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวตน
๓.๑.๕.๑. เห็นไตรลักษณ์
ธรรมดาว่ามนุษย์เราเมื่อยังไม่ได้เจริญวิปัสสนา ย่อมถูกเครื่องปกปิด ปิดบังอยู่ทําให้ ไม่เห็น ความจริงของชีวิตว่าตกอยู่ในกฎไตรลักษณ์ เครื่องปกปิดไตรลักษณ์ ท่านกล่าวไว้ในคัมภีร์วิ สุทธิมรรคว่า มี ๓ ประการ คือ
e) อนิจจลักษณะไม่ปรากฐ เพราะถูกสันตติปิดบังไว้
๒) ทุกขลักษณะไม่ปรากฐ เพราะอิริยาบถปิดบังไว้
๓) อนัตตลักษณะไม่ปรากฐ เพราะฆนสัญญาปิดบังไว้๔๙
จากไตรลักษณ์ทั้ง ๓ ประการที่ได้กล่าวไว้ข้างต้นนั้นมีเนื้อความและความหมาย ดังนี้
e) อนิจจัง ถูกสันตติปิดบัง คือ ความสืบต่อเนื่องกัน เช่น ของเก่าเสื่อมไป ของใหม่ เข้ามาเกิดแทน ดังจะเห็นว่ามนุษย์และสัตว์ที่ดํารงชีวิตอยู่นี้ก็เพราะอวัยวะนั้นๆ เกิดใหม่แทนของเก่า ไม่มีอันตรายจึงทรงอยู่ได้ ถ้าอวัยวะใหม่เกิดแทนไม่ทันหรือมีอันตราย มนุษย์และสัตว์ทั้งหลายก็ตาย ชื่อว่า ขาดสันตติ
๔๘ พระมหาอภิวัฒน์ ธมฺมโชโต (รักษาเคน), “ศึกษาวิเคราะห์แนวทางการปฐิบัติกรรมัานของหลวงปู่ มั่น ภูริทัทตฺโต ตามแนวทางพระพุทธศาสนา”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา, หน้า ๓๘.
๔๙ พระพุทธโฆสเถระ, ผู้แปล สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), คัมภีร์วิสุทธิมรรค, หน้า de๐ -dee.
๒) ทุกข์ ถูกอิริยาบถปิดบัง คือ การบริหารร่างกายยักย้ายผลัดเปลี่ยนอิริยาบถ เหล่านี้เป็นต้น ได้ปิดบังทุกข์ไว้ ถ้าหิวไม่บริโภคอาหาร ปวดอุจจาระ ปัสสาวะ ไม่ถ่าย เมื่อร่างกายล้า ไม่ผลัดเปลี่ยนอิริยาบถ จะเห็นได้ว่าเป็นทุกข์มาก เพราะการบริหารรักษาอิริยาบถที่เราทําอยู่โดย ธรรมดา เราจึงมองไม่เห็นทุกข์
๓) อนัตตา ถูกฆนสัญญาปิดบัง คือ การกําหนดหมายร่างกายว่าเป็นก้อน เป็นกอง เป็นสาเหตุสําคัญที่ทําให้เกิดอุปาทานว่า เป็นตัวตน เมื่อประสงค์จะเห็นความไม่เป็นตัวตน ต้องแยก ก้อนออกเป็นชิ้นเล็ก ชิ้นน้อย พิจารณาดู เช่น ร่างกายคนเราประกอบด้วย หู ตา เป็นต้น
การเห็นความเป็นจริงของชีวิตว่าตกอยู่ในสภาพไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และไม่เป็นตัวตน นั้นต้องอาศัยภาวนามยปัญญา เป็นปัญญาที่เกิดจากการเจริญวิปัสสนา ไม่ได้หมายถึงการใช้ปัญญาใน ขั้นสุตตมยปัญญา ที่เกิดจากการอ่าน ฟัง หรือจินตมยปัญญาที่อาศัยการวิเคราะห์ คิด พิจารณา แต่ เมื่อผู้ปฐิบัติได้เจริญภาวนา จนกระทั่งได้ญาณทัสสนะ ก็จะเห็นด้วยวิปัสสนาปัญญา
๓.๑.๕.๒ สามารถละสังโยชน์
นอกจากผลแห่งการเห็นทุกสิ่งทุกอย่างตามความเป็นจริงแล้ว ภาวนามยปัญญาย่อม ทําให้สามารถกําจัดกิเลสที่เป็นอนุสัยกิเลส หรือสังโยชน์ที่อยู่ภายในจิตใจไปตามลําดับด้วยสังโยชน์ คือ กิเลสที่ผูกใจสัตว์ไว้ มี e๐ อย่าง๕๐ ได้แก่
e. สักกายทิฐัิ คือ ความเห็นผิดว่า กาย ซึ่งมีอยู่ว่าเป็นเรา เป็นของเรา
๒. วิจิกิจฉา คือ ความลังเลสงสัยในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นต้น
๓. สีลัพพตปรามาส คือ ความยึดมั่นในศีลและข้อวัตรปฐิบัติต่างๆ ที่นอกไปจาก
มรรคผลปฐิปทา
๔. กามราคะ คือ ความกําหนัดยินดีในกามคุณต่างๆ
๕. ปฐิฆะ คือ ความขัดเคืองใจสังโยชน์เบื้องสูง หรือ อุทธัมภาคิยสังโยชน์
ъ. รูปราคะ คือ ความยินดีในรูปฌานหรือในรูปภพที่จะพึงเข้าถึงได้ด้วยรูปฌานนั้น
d. อรูปราคะ คือ ความยินดีในอรูปฌานหรือในอรูปภพที่จะพึงเข้าถึงได้ด้วยอรูป
ฌานนั้น ๘. มานะ คือ ความถือตัวว่าเราดีกว่าเขา เสมอเขา เลวกว่าเขา เป็นต้น
๙. อุทธัจจะ คือ ความฟุ้งซ่าน ซัดส่ายไปในอารมณ์ต่างๆ ไม่สงบตั้งมั่นลงได้ e๐. อวิชชา คือ ความไม่รู้ในอริยสัจ ๔
นอกจากนั้นแล้วผลจากการที่ละกิเลสสังโยชน์ย่อมทําให้ผู้นั้นเปลี่ยนจากปุถุชนเป็น พระอริยบุคคลดังต่อไปนี้คือ
e) พระโสดาบัน ผู้ถึงกระแสคือเข้าสู่มรรค ละสังโยชน์ได้ ๓ อย่าง คือ สักกายทิฐัิ วิจิกิจฉา และสีลัพพตปรามาส
๒) พระสกทาคามี ผู้จะกลับมาสู่โลกนี้อีกครั้งเดียว ละสังโยชน์ ๓ อย่างข้างต้น และ ทําราคะ โทสะและโมหะให้เบาบาง
๕๐ ที.ปา.ฎีกา. (บาลี) ๓๔/e๓.
๓) พระอนาคามี ผู้จะไม่กลับมาสู่โลกนี้อีก จะไปเกิดในชั้นสุทธาวาสพรหม ละ สังโยชน์ได้อีก ๒ ข้อ คือ กามราคะและปฐิฆะ
๔) พระอรหันต์ ละสังโยชน์ได้สิ้นเชิง คือละสังโยชน์อีก ๕ ข้อได้ คือ รูปราคะ อรูป ราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชชา๕e
กิเลสที่ละได้แล้วเป็นการละแบบสมุจเฉทปหาน ปฐิปัสสัทธิปหาน และนิสสรณ ปหาน ไม่ใช่วิกขัมภนปหาน คือ การข่มไว้เหมือนในสมถะ
ในอรรถกถาการละกิเลสหรือปหาน จะแบ่งไว้เป็นลําดับขั้น ๕ ขั้น ดังนี้๕๒
e) ตทังคปหาน เป็นการละองค์นั้นๆ ด้วยวิปัสสนาญาณ เหมือนอย่างเช่นการละ สักกายทิฐัิ ด้วยการกําหนดนามรูป ละความเห็นว่าสังขารไม่มีเหตุและความเห็นว่าสังขารมีปัจจัยไม่ เสมอกัน ด้วยการกําหนดปัจจัยละความเป็นผู้สงสัย ด้วยการข้ามพ้นความสงสัยในภายหลังนั้น เป็น ต้น อุปมาเหมือนการละความมืดด้วยแสงประทีป เป็นการดับชั่วคราว
๒) วิกขัมภนปหาน เป็นการละธรรมมีนิวรณ์ ด้วยสมาธิ เหมือนการห้ามแหนบนน้ํา ด้วยการทุบหม้อเหวี่ยงลงไป หรือเหมือนการเอาหินทับหญ้าไว้
๓) สมุจเฉทปหาน เป็นการละกิเลสด้วยอริยมรรค ละได้เด็ดขาด
๔) ปฐิปัสสัทธิปหาน เป็นการละในขั้นอริยผล เป็นภาวะที่กิเลสสงบราบคาบ
๕) นิสสรณปหาน เป็นการหลุดพ้นไปจากกิเลสโดยสิ้นเชิง คือ นิพพานจุดมุ่งหมาย สูงสุดของการเจริญวิปัสสนากรรมัาน คือ การหลุดพ้นจากทุกข์ ถึงความเป็นพระอรหันต์และบรรลุ มรรคผลนิพพาน
จึงกล่าวได้ว่าการปฐิบัติกรรมัานเป็นหนทางเอกอันจะนําพามนุษย์สามัญชนธรรมดา สามารถยกตนให้บรรลุธรรมเป็นอริยบุคคล คือ โสดาบัน สกิทาคามี อานาคามี และเป็นพระอรหันต์ ในที่สุด เป็นแนวทางการปฐิบัติที่นําพาให้สรรพสัตว์มนุษย์และเทวดาหลุดพ้นจากกองทุกข์ จาก อกุศลกรรม ตัณหา ราคะ โทสะ โมหะ เป็นต้น
ในกรรมัานทั้งหลายเหล่านั้น อาหาเรปฐิกูลสัญญาเป็นกรรมัานที่น่าสนใจต่อการศึกษา เนื่องจากมนุษย์และสัตว์โลกทั้งปวงล้วนบริโภคอาหารเพื่อการดํารงชีพ แต่ถึงกระนั้น อาหารก็ไม่ได้ทํา ให้เกิดแต่คุณอย่างเดียวเท่านั้น หากรับประทานเกินประมาณ รับประทานในสิ่งที่ไม่ควร ก็ทําให้เกิด โทษได้ด้วยเช่นกัน การบริโภคอาหารจึงต้องมีหลักเกณฑ์ที่พอเหมาะพอดี ไม่แสลงต่อโรค ไม่ขัดต่อ ร่างกาย พระพุทธศาสนาจึงได้มีหลักคําสอนเกี่ยวกับการบริโภคอาหารอย่างถูกต้องเหมาะสม ดังกล่าว แล้วในบทที่ ๒ และนอกเหนือจากนั้นยังมีหลักคําสอนที่คําเอาอาหารมาเป็นอุปกรณ์ในการเจริญพระ กรรมัาน เพื่อให้เกิดปัญญาญาณและอาจเข้าพึงอมตธรรมได้ เรียกว่า อาหาเรปฐิกูลสัญญา
๓.๒ อาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน
๕e องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒e/๘๘/e๓๔-e๓๕.
๕๒ ขุ.จู.อ. (ไทย) ъd/๔e๒.
อาหาเรปฐิกูลสัญญากรรมัานเป็นกรรมัานประเภทหนึ่งในกรรมัาน ๔๐ อันเป็น กรรมัานในฝ่ายของสมถกรรมัาน ในพระคัมภีร์วิสุทธิมรรคกล่าวว่าพระสาวกผู้ปรารถนาจะเจริญ กรรมัานด้วยการพิจารณาถึงความปฐิกูลแห่งอาหาร ควรพิจารณาถึงกิจกรรมที่ไม่มีประโยชน์และต่ํา ทราม ซึ่งฉุดบุคคลให้ต่ําลงเพราะต้องการการบํารุงเลี้ยงด้วยอาหารที่เป็นวัตถุที่สกปรกในหลายๆ รูปแบบ หลักการของอาหาเรปฐิกูลสัญญากรรมัานมีความน่าสนใจและมีพระสงฆ์ได้นํามาเป็น แนวทางปฐิบัติ เช่น หลวงพ่อเกษม เขมโก แห่งสุสานไตรลักษณ์ จังหวัดลําปาง เป็นต้น หลัก กรรมัานนี้มีความหมายและแนวทางการปฐิบัติ ดังนี้
๓.๒.๑ ความหมายของอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน
คําว่า อาหาเรปฐิกูลสัญญา มีคําสําคัญที่ต้องทําความเข้าใจ ๔ คํา ได้แก่ อาหาร ปฐิกูล
และสัญญา
คําว่า อาหาร ในัานะเป็นคําพูดทางปรัชญาเป็นคําที่บ่งบอกถึงการดํารงชีพ แปลว่า สภาพ
ซึ่งนํากําลังมาให้๕๓ มีวิเคราะห์ว่า “อาหาเรตีติ อาหาโร สิ่งใดนํามาซึ่งผลแก่ตนเอง สิ่งนั้นเรียกว่า อาหาร (มาจาก อานหร ธาตุ=นํามา) เมื่อกล่าวโดยอุปมา คําว่าอาหารใช้กับสาเหตุแห่งการดํารงชีพ ของสัตว์ทั้งหลายซึ่งเกิดขึ้นหรือจะเกิดขึ้นต่อไป “ภิกษุทั้งหลาย สาเหตุแห่งการดํารงชีพอยู่ของสัตว์ ทั้งหลายที่เกิดมาแล้วหรือสาเหตุที่สนับสนุนผู้ที่แสวงหาที่เกิดมี ๔ อย่าง ๔ อย่างคืออะไรบ้าง ได้แก่
e) อาหารคือคําข้าว หยาบหรือละเอียดก็ตาม ๒) สัมผัส ๓) เจตนา ๔) วิญญาณ”๕๔
คําว่า ปฐิกูล แปลว่า สิ่งที่น่ารังเกียจ๕๕ สิ่งสกปรกน่ารังเกียจ เช่น ขยะเป็นสิ่งปฐิกูล ของที่ ไม่น่าพึงปรารถนา
คําว่า สัญญา หมายถึง ความจํา ชื่อ นาม๕ъ มีวิเคราะห์ว่า สญฺชานนฺติ เอตายาติ สา ธรรมชาติเป็นเครื่องจองจํา เครื่องช่วยจํา (ส บทหน้า ญา ธาตุ ในความหมายว่า รู้ กฺวิ ปัจจัย แปลงนิคคหิตเป็น ลบ ญ กฺวิ เสีย) สัญญาเป็นความจําได้ ความหมายรู้ได้ หมายถึง ระบบความจําที่ สามารถจําคน จําสัตว์ สิ่งของ และเหตุการณ์ต่างๆ ได้ เช่น จําสิ่งที่ได้เห็น จําเสียงที่ได้ยิน จํากลิ่นได้ หอม จํารสที่ได้ลิ้ม หรือจําสิ่งในอดีตที่ผ่านมาได้ เป็นต้น๕d
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ได้ให้ความหมายของคําว่า อาหาเรปฐิกูลสัญญา หมายถึง ความกําหนดหมายความเป็นปฐิกูลในอาหาร, ความสําคัญหมายในอาหารว่าเป็นของปฐิกูล
๙๐ъ.
๕๓ พระพุทธโฆสเถระ, ผู้แปล สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), คัมภีร์วิสุทธิมรรค, หน้า
๕๔ พระ พี. วชิรญาณมหาเถระ, แปลโดย ชูศักดิ์ ทิพย์เกสร, สมาธิในพระพุทธศาสนา, หน้า ๒๕๒.
๕๕ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕ , (กรุงเทพมหานคร: อักษร
เจริญพัฒน์, ๒๕๕๔), หน้า ๒๓๔.
๕ъ พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช ป.ธ. ๙, ราชบัณฑิต), พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสตร์ ชุด ศัพท์วิเคราะห์, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เลี่ยงเซียง, ๒๕๕๐), หน้า ъ๕๓.
๕d เรื่องเดียวกัน, หน้า e๐d๐.
พิจารณาให้เห็นว่าเป็นของน่าเกลียดโดยอาการต่างๆ เช่น ปฐิกูล โดยบริโภค, โดยที่อยู่ของอาหาร, โดยสั่งสมอยู่นาน เป็นต้น๕๘
จึงกล่าวได้ว่า อาหาเรปฐิกูลสัญญากรรมัาน หมายถึง การพิจารณาให้เห็นว่าอาหารอัน เป็นคําข้าวนั้นเป็นสิ่งปฐิกูล เป็นสิ่งสกปรก เป็นสิ่งน่าเกลียด น่าขยะแขยง ไม่ควรยึดติด ไม่น่า ปรารถนา ไม่ควรหลงใหลยึดติด
๓.๒.๒ ที่มีของอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐานในคัมภีร์พระพุทธศาสนา
อาหารเรปฐิกูลสัญญากรรมัาน เป็นกรรมัานที่ปรากฐในคัมภีร์พระพุทธศาสนาใน ๒ หมวดธรรม คือหมวดกรรมัาน ๔๐ และหมวดสัญญา e๐ ดังนี้
๑) อาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐานในกรรมฐาน ๐
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคได้สงเคราะห์ให้อาหาเรปฐิกูลสัญญาเป็นกรรมัานประเภท หนึ่งในกรรมัาน ๔๐ โดยท่านสงเคราะห์เข้าไว้เป็น d หมวด ดังนี้๕๙
(๒) กสิณกรรมัาน e๐ อย่าง (๒) อสุภกรรมัาน e๐ อย่าง (๓) อนุสสติกรรมัาน e๐ อย่าง
(๔) พรหมวิหารกรรมัาน ๔ อย่าง (๕) อารุปปกรรมัาน ๔ อย่าง
(ъ) สัญญากรมัาน e อย่าง
(d) ววัตถากรรมัาน e อย่าง
เกลียดъ๐
ในสัญญา e อย่างนั้น คือ อาหาเรปฐิกูลสัญญา ความหมายรู้ในอาหารโดยเป็นสิ่งที่น่า
๒) อาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐานในสัญญา ๑๐
สัญญา e๐ ประการ ปรากฐในคัมภีร์อังคุตตรนิกาย ทสกนิบาตร ปัมสัญญา สูตร ความว่า ภิกษุทั้งหลาย สัญญา e๐ ประการนี้ ที่บุคคลเจริญทําให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นที่สุด สัญญา e๐ ประการ อะไรบ้าง คือъe
(e) อสุภสัญญา คือ กําหนดหมายความไม่งามแห่งกาย
๕๘ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์, หน้า ๕ъ๐.
๕๙ พระพุทธโฆสเถระ, ผู้แปล สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), คัมภีร์วิสุทธิมรรค,
หน้า e๘๒-e๘๓.
ъ๐ เรื่องเดียวกัน, หน้า e๘๕.
ъe องฺ.ทสก. (ไทย) ๒๔/๕ъ/e๒๓.
ปวง สังขาร)
(๒) มรณสัญญา คือ กําหนดหมายความตายที่จะต้องมาถึงเป็นธรรมดา (๓) อาหาเร ปฐิกูลสัญญา คือ กําหนดหมายความปฐิกูลในอาหาร
(๔) สัพพโลเก อนภิรตสัญญา คือ กําหนดหมายความไม่น่าเพลิดเพลินในโลกทั้ง
(๕) อนิจจสัญญา คือ กําหนดหมายความไม่เที่ยงแห่งสังขาร
(ъ) อนิจเจ ทุกขสัญญา คือ กําหนดหมายความเป็นทุกข์ในความไม่เที่ยงแห่ง
(d) ทุกเข อนัตตสัญญา คือ กําหนดหมายความเป็นอนัตตาในความเป็นทุกข์ (๘) ปหานสัญญา คือ กําหนดหมายเพื่อละอกุศลวิตกและบาปธรรมทั้งหลาย (๙) วิราคสัญญา คือ กําหนดหมายวิราคะว่าเป็นธรรมละเอียดประณีต
(e๐) นิโรธสัญญา คือ กําหนดหมายนิโรธว่าเป็นธรรมละเอียดประณีต
อนึ่ง ในคัมภีร์อังคุตตรนิกาย สัตตกนิบาต ได้แสดงสัญญาไว้ d ประการเท่านั้น
ประกอบด้วย e. อสุภสัญญา ๒. มรณสัญญา ๓. อาหาเร ปฐิกูลสัญญา ๔. สัพพโลเก อนภิรตสัญญา
๕. อนิจจสัญญา ъ. อนิจเจ ทุกขสัญญา และ d. ทุกเข อนัตตสัญญาъ๒ แต่ไม่ได้แสดงถึงปหานสัญญา วิราคสัญญาและนิโรธสัญญา ส่วนในอังคุตตรนิกาย นวกนิบาตъ๓ และทีฆนิกาย ปาฐิกวรรคъ๔ ได้แสดงสัญญาไว้ ๙ ประการ เหมือนสัญญา e๐ ข้างต้นแต่เว้นนิโรธสัญญาไว้เสีย
นอกจากนั้นยังปรากฐในสังยุตตนิกาย มหาวารวรรค อาหาเรปฐิกูลสัญญาสูตร ความว่า “ภิกษุทั้งหลาย อาหาเรปฐิกูลสัญญา (ความหมายรู้ความปฐิกูลในอาหาร) ที่บุคคลเจริญแล้วทําให้ มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความอยู่ผาสุกมาก อย่างนี้แล”ъ๕
๓.๒.๓ วิธีปฏิบัติกรรมฐานตามหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน
อาหารในหมวดอาหาเรปฐิกูลสัญญานั้น ท่านหมายเอาเฉพาะกวฬิงการาหารเท่านั้นъъ ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ได้กล่าวถึงแนวทางปฐิบัติตามหลักของอาหาเรปฐิกูลสัญญากรรมัาน โดย อาการ e๐ ประการ ดังนี้
e) โดยการไป อธิบายว่า พระโยคีพิจารณาว่า ผู้บวชในพระศาสนาซึ่งชื่อว่ามีอานุภาพมาก อย่างนี้ ทําการสาธยายพุทธพจน์หรือทําสมณธรรมตลอดคืนยันรุ่ง ลุกขึ้นแต่เช้าตรู่ ทําวัตรสําหรับลาน พระเจดีย์และลานพระศรีมหาโพธิ แล้วเข้าไปตั้งน้ําฉันน้ําใช้ กวาดบริเวณ ปฐิบัติสรีรกิจแล้วขึ้นสู่ อาสนะใฝ่ใจกรรมัานตลอด ๒๐ หรือ ๓๐ ครั้ง ลุกขึ้นจับบาตรและจีวร ละป่าสําหรับบําเพ็ญเพียรซึ่ง
ъ๒ องฺ.สตฺตก. (ไทย) ๒๓/๔๘/d๕. ъ๓ องฺ.นวก. (ไทย) ๒๓/๙๓/๕ъ๓. ъ๔ ที.ปา. (ไทย) ee/๓๕๙/๔๒๕. ъ๕ สํ.ม. (ไทย) e๙/๒๕๐/e๙๕.
ъъ ตสฺมึ อาหาเร ปฐิกูลาการคฺคหณวเสน อุปฺปนฺนา สญฺญา อาหาเรปฐิกูลสญฺญา. วิสุทฺธิ. (บาลี) ๒/ e๕๕., พระพุทธโฆสเถระ, ผู้แปล สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), คัมภีร์วิสุทธิมรรค, หน้า ъe๐.
ปราศจากคนยัดเยียดกัน มีสุขเกิดแต่วิเวก บริบูรณ์ด้วยร่มเงา และน้ําสะอาดเยือกเย็น มีภูมิภาคน่าพึง ใจ ไม่เห็นแก่ความยินดีในวิเวกอย่างประเสริั บ่ายหน้าตรงต่อบ้านเพื่อต้องการอาหาร ดุจดังสุนัข จิ้งจอกบ่ายหน้าต่อป่าช้า พึงไป ก็เมื่อไปอย่างนี้ จึงจําต้องเหยียบย่ําผ้าลาดซึ่งเกลือกกลั้วไปด้วยขี้ตีนขี้ แมลงสาบเป็นต้นในเรือน ตั้งต้นแต่ลงจากเตียงหรือตั่ง แต่นั้นก็จะต้องเห็นหน้ามุขซึ่งน่าเกลียดยิ่งกว่า ภายในห้อง เพราะถูกขี้หนูและขี้ค้างคาวเปรอะเปื้อนในกาลบางครั้ง แต่นั้นพึงเห็นพื้นล่าง ว่าน่า เกลียดไปกว่าพื้นบน เพราะเปรอะเปื้อนไปด้วยขี้นกแสกและนกพิราบเป็นต้น แต่นั้นพึงเห็นบริเวณว่า น่าเกลียดยิ่งกว่าพื้นเบื้องต่ํา เพราะหมองไปด้วยหญ้าและใบไม้แก่ ซึ่งลมพัดมาในกาลบางคราว และด้วยมูตรกรีสน้ําลายน้ํามูกของพวกสามเณรผู้ป่วย และในฤดูฝนยังเปรอะไปด้วยน้ําและโคลนตม เป็นต้น พึงเห็นตรอกแห่งวิหารเป็นของน่าเกลียดยิ่งกว่าบริเวณนั้น
อนึ่ง พระโยคีไหว้พระมหาโพธิและเจดีย์โดยลําดับยืนอยู่ในโรงสําหรับตรึก ไม่เหลียวแลดู เจดีย์งามเช่นกับกองแก้วมุกดา และต้นมหาโพธิที่ระรื่นใจเช่นเดียวกับกําหางนกยุงและเสนาสนะอัน สง่าดุจสมบัติในเทววิมาน หันหลังให้ประเทศที่น่ารื่นรมย์เห็นปานนั้น หลีกไปโดยหมายใจว่าจักต้องไป เพราะเหตุอาการเดินไปตามทางบ้าน พึงเห็นแม้ทางมีตอและหนามบ้าง ทางที่ขาดเพราะกําลังน้ําเซาะ และขรุขระบ้าง แต่นั้นเธอนุ่งผ้าก็เหมือนผู้ปิดฝีรัดประคดก็เหมือผู้พันผ้าพันแผล ห่มจีวรก็เหมือนผู้ คลุมร่างกระดูก นําบาตรออกก็เหมือนผู้นําโกร่งยาออก เมื่อถึงที่ใกล้ประตูบ้าน ก็พึงเห็นแม้ ซากช้าง ซากม้า ซากโค ซากควาย ซากมนุษย์ ซากงู และซากสุนัข เป็นต้น ก็ไม่ใช่พึงเป็นแต่เห็นเท่านั้น แม้กลิ่นของซากเหล่านั้นกระทบจมูกอยู่อันเธอต้องจําอดกลั้น แต่นั้นเธอครั้นยืนที่หน้าประตูบ้านต้อง แลดูตรอกตามบ้าน เพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายมีช้างม้าที่ดุ เป็นต้น ของปฐิกูลซึ่งมีเครื่องลาดเป็นต้น มีซากศพเป็นอเนกเป็นที่สุดดังว่ามานี้ เป็นสิ่งที่พระโยคีจําต้องเหยียบจําต้องดมเพราะอาหารเป็นเหตุ เราพึงพิจารณาความเป็นของปฐิกูลโดยการไปอย่างนี้ว่า แน่ะท่านผู้เจริญ อาหารน่าเกลียดแท้หนอъd
๒) โดยการแสวงหา อธิบายว่า ก็เราแม้อดกลั้นสิ่งที่น่าเกลียดโดยการไปอย่างนี้แล้ว เข้าไปสู่บ้านแล้วห่มผ้าสังฆาฐิ มือถือกระเบื้องเที่ยวไป ในถนนในบ้านโดยลําดับเรือนดุจคนกําพร้า ที่ในัานที่เหยียบลงแล้วๆ ในฤดูฝน เท้าทั้งหลายต้องจมลงไปในโคลนเลนจนถึงเนื้อปลีแข้ง ต้องเอา มือหนึ่งถือบาตรเอามือหนึ่งยกจีวร ในฤดูร้อนก็จําต้องเที่ยวไปด้วยทั้งสรีระอันเกลื่อนกล่นไปด้วยฝุ่น และละอองหญ้า อันตั้งขึ้นแล้วเพราะกําลังลมพัด ครั้นถึงประตูบ้านนั้นๆ จําต้องเห็นและบางทีก็ เหยียบหลุมโสโครกและบ่อน้ําครํา อันเจือปนด้วยน้ําล้างปลา, น้ําล้างเนื้อ, น้ําซาวข้าว, น้ําลาย, น้ํามูก
, มูลสนุขและสุกรเป็นต้น เกลื่อนกล่นไปด้วยหมู่หนอนและแมลงวันหัวเขียว เป็นแดนซึ่งแมลงวันบ้าน ตั้งขึ้นเที่ยวจับเกาะที่ผ้าสังฆาฐิบ้าง ที่บาตรบ้าง ที่ศีรษะบ้าง แม้เมื่อพระโยคีเข้าไปสู่เรือนแล้ว บางพวกก็ถวายบางพวกก็ไม่ถวาย แม้เมื่อถวาย บางพวกก็ถวายภัตที่สุก แต่วานนี้บ้าง ของเคี้ยวที่เก่า บ้าง ขนมถั่วและแกงเป็นต้นที่บูดแล้วบ้าง ฝ่ายพวกที่ไม่ให้บางพวกก็พูดว่านิมนต์โปรดสัตว์ข้างหน้า เถิดเจ้าข้า บางพวกก็นิ่งเสียเป็นดุจไม่เห็น บางพวกก็ทําทีพูดกับคนอื่นเสีย บางพวกซ้ําด่าด้วยคําหยาบ เป็นต้นว่า เฮ้ย! ไอ้หัวโล้นจงไปเสีย ถึงเป็นอย่างนี้พระโยคีจําต้องเที่ยวไปบิณฑบาตในบ้าน แล้วจึง
หน้า ъee.
ъd พระพุทธโฆสเถระ, ผู้แปล สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), คัมภีร์วิสุทธิมรรค,
ออกมา พระโยคีจําต้องเหยียบ จําต้องเห็น จําต้องอดกลั้น ซึ่งของปฐิกูลมีน้ําและโคลนตมเป็นต้นนี้ จําเดิมแต่เข้าไปสู่บ้านจนกระทั่งออก ด้วยประการดังพรรณนามาฉะนี้ เธอพึงพิจารณาความเป็นของ ปฐิกูลโดยการแสวงหาอย่างนี้ว่า แน่ะท่านผู้เจริญ อาหารน่าเกลียดแท้หนอ ดังนี้ъ๘
๓) โดยการบริโภค อธิบายว่า พระโยคีผู้แสวงหาอาหารอย่างนี้แล้ว นั่งอย่างสบายในที่ สะดวกภายนอกบ้าน ตราบใดที่ยังมิได้หย่อนมือลงไปในอาหารนั้น แลเห็นภิกษุผู้อยู่ในัานะเป็นครู หรือมนุษย์ผู้ละอายบาปเห็นบาปนั้น ก็ยังพออาจเพื่อนิมนต์ให้ฉันอาหารเช่นนั้นได้อยู่ตราบนั้น เพราะยังไม่เป็นของปฐิกูล แต่เมื่อหย่อนมือลงไปในอาหารนี้ด้วยความเป็นผู้ต้องการฉันแล้ว เธอจะ กล่าวว่าท่านจงรับเอาดังนี้ ต้องละอาย เพราะเป็นของปฐิกูลแล้ว อนึ่ง เหงื่อหลั่งออกตามง่ามนิ้วมือทั้ง
๕ ของพระโยคีผู้หย่อนมือลงไปขยําอยู่ แม้ภัตที่แห้งแข็งก็ให้ชุ่มทําให้อ่อนได้ ภายหลัง เมื่ออาหารนั้นมี ความงามอันสลายแล้ว แม้เพราะเหตุสักว่าขยําทําเป็นคําๆ ใส่วางไว้ในปาก ฟันล่างก็ทํากิจต่างครก ฟันบนทํากิจต่างสาก ลิ้นทํากิจต่างมือ อาหารนั้นอันสากคือฟันตําแล้วอันลิ้นคลุกเคล้าแล้วในปากนั้น เป็นดุจก้อนรากสุนัขในรางสุนัข น้ําลายจางใส ที่ปลายลิ้นเปื้อน แต่กลางลิ้นเข้าไปน้ําลายข้นเปื้อน มูล ฟันในที่ซึ่งไม้ชําระไม่ถึงเปื้อน อาหารนั้นทั้งถูกบดถูกเปื้อนอย่างนี้ หมดสีกลิ่นและเครื่องปรุงอันวิเศษ ในทันทีนั้น เข้าถึงความเป็นของน่าเกลียดอย่างยิ่ง ดุจรากสุนัขอันอยู่ในรางสุนัข แม้เป็นเช่นนั้นยังกลืน กินได้ เพราะล่วงคลองจักษุไปแล้ว พระโยคีพึงพิจารณาความเป็นของปฐิกูลโดยการบริโภคอย่างที่ว่า มานั่นแหละъ๙
๔) โดยที่อยู่ อธิบายว่า ก็เมื่ออาหารนี้เข้าถึงการบริโภคอย่างนี้แล้ว เมื่อเข้าไปข้างใน เพราะเหตุที่จะเป็นพระพุทธเจ้าหรือพระปัจเจกพุทธเจ้า หรือพระเจ้าจักรพรรดิก็ตามที ย่อมมีที่อาศัย อย่างใดอย่างหนึ่ง ในบรรดาที่อาศัย ๔ อย่าง คือ ปิตตาสัย ที่อาศัยคือดี เสมหาสัย ที่อาศัยคือเสลด ปุพพาสัย ที่อาศัยคือหนอง โลหิตาสัย ที่อาศัยคือเลือด แต่สําหรับคนมีปัญญาน้อยมีที่อาศัยครบทั้ง ๔ เพราะเหตุนั้น อาหารใดที่อาศัยคือดีมาก อาหารนั้นน่าเกลียดยิ่งนักดุจเปื้อนด้วยนํามันมะพร้าวข้น อาหารใดที่อาศัยคือเสลดมาก อาหารนั้นดุจระคนด้วยน้ําใบกากะทิง อาหารใดที่อาศัยคือหนองมาก อาหารนั้นดุจระคนด้วยเปรียงเน่า อาหารใดที่อาศัยคือโลหิตมาก อาหารนั้นน่าสะอิดสะเอียนยิ่งนักดุจ ระคนด้วยน้ําย้อม พระโยคีพึงพิจารณาความเป็นของปฐิกูลโดยที่อาศัยอย่างนี้d๐
๕) โดยหมักหมม อธิบายว่า เป็นพิจารณาว่า อาหารนั้นระคนด้วยที่อาศัย ในบรรดาที่ อาศัยทั้ง ๔ เหล่านี้อย่างใดอย่างหนึ่งแล้วเข้าไปสู่ภายในท้อง ไม่ใช่ไปหมักหมมอยู่ในภาชนะทองหรือ ภาชนะแก้วมณีหรือภาชนะเงินเป็นต้น ก็หากคนมีอายุ e๐ ปีกลืนกิน ก็ย่อมตั้งอยู่ในโอกาสอัน เช่นเดียวกับหลุมคูถที่ไม่ได้ชําระตลอด e๐ ปี ถ้าหากคนมีอายุ ๒๐ ปี ๓๐ ปี ๔๐ ปี ๕๐ ปี ъ๐ ปี d๐ ปี ๘๐ ปี ๙๐ ปีกลืนกิน ก็ย่อมตั้งอยู่ในโอกาสอันเป็นหลุมคูถที่ไม้ได้ชําระตั้ง ๒๐-๓๐-๔๐-๕๐-ъ๐-
หน้า ъe๒.
ъ๘ พระพุทธโฆสเถระ, ผู้แปล สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), คัมภีร์วิสุทธิมรรค,
ъ๙ เรื่องเดียวกัน, หน้า ъe๓.
d๐ พระพุทธโฆสเถระ, ผู้แปล สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), คัมภีร์วิสุทธิมรรค,
หน้า ъe๓-ъe๔.
d๐-๘๐-๙๐ ปี ถ้าหากคนมีอายุตั้ง e๐๐ ปีกลืนกิน ก็ย่อมตั้งอยู่ในโอกาสเช่นเดียวกับหลุมคูถซึ่งมิได้ ชําระตั้ง e๐๐ ปี พระโยคีพึงพิจารณาความเป็นของปฐิกูลความเป็นของปฐิกูลโดยความหมักหมม อย่างนี้de
ъ) โดยยังไม่ย่อย อธิบายว่า เป็นการพิจารณาว่า ก็อาหารนี้นั้นเข้าถึงความหมักหมมใน โอกาสเช่นนี้ยังไม่ย่อยตราบใด ที่กลืนกินในวันนั้นก็ดี ในวันวานก็ดี ในวันก่อนแต่นั้นก็ดี ทั้งหมดถูก แผ่นเสมหะห่อหุ้มเป็นอันเดียวกันปุดเป็นฟองฟอด ซึ่งเกิดแต่ความย่อยยับ อันความร้อนแห่งไฟในกาย ให้ย่อยแล้วเข้าถึงความเป็นของน่าเกลียดอย่างยิ่งแล้วตั้งอยู่ในประเทศที่มืดมิดอย่างยิ่ง ที่ถูกอบด้วย กลิ่นแห่งซากศพต่าง ๆ ดุจเที่ยวไปในป่าทึบที่น่าเกลียดมีกลิ่นเหม็นยิ่งนัก ซึ่งมีประการดังกล่าวแล้วนั้น นั่นเทียวอยู่ตราบนั้น เปรียบดุหญ้า ใบไม้ ท่อนเสื่อลําแพน ซากงู สุนัข และมนุษย์เป็นต้น ซึ่งตกลงใน หลุมใกล้ประตูบ้านคนจัณฑาลอันฝนไม่ใช่การตกรดแล้วในฤดูแล้ง ฤดูความร้อนของดวงอาทิตย์แผด เผา เดือดเป็นฟองฟอดแล้วตั้งอยู่ฉะนั้น พระโยคีพึงพิจารณาความเป็นของปฐิกูลโดยยังไม่ย่อยอย่าง นี้d๒
d) โดยย่อยแล้ว อธิบายว่า เป็นการพิจารณาว่า อาหารนั้นเป็นสภาพอันไฟในกายให้ย่อย แล้วในโอกาสนั้น และมิใช่จะให้เข้าถึงความเป็นทองเป็นเงินเป็นต้น ดุจดังธาตุทองและธาตุเงินเป็นต้น ได้ แต่ก็เมื่อผุดเป็นฟองฟอดอยู่ เข้าถึงความเป็นอุจจาระ ยังกระเพาะอาหารเก่าให้เต็ม เปรียบดุจดิน เหลืองซึ่งบุคคลบดดินที่ควรทําให้ละเอียดแล้วใส่เข้าในกระบอกไม้ไผ่ เข้าถึงความเป็นมูตรยังกระเพาะ ปัสสาวะให้เต็มอยู่ พระโยคีพึงพิจารณาความเป็นของปฐิกูลโดยย่อยแล้วอย่างที่พรรณนามานี้d๓
๘) โดยผล อธิบายว่า เป็นการพิจารณาว่า ก็อาหารนี้อันไฟธาตุย่อยอยู่โดยชอบเทียว ย่อม สําเร็จเป็นซากต่าง ๆ มี ผม ขน เล็บ ฟัน เป็นต้น ที่ไม่ย่อยอยู่โดยชอบ ย่อมให้สําเร็จเป็นโรคตั้ง e๐๐ ชนิด มีหิดเปื่อย หิดด้าน คุดทะลาด โรคเรื้อน ขี้กลาก หืด ไอลงแดง เป็นต้น นี้เป็นผลของอาหารนั้น พระโยคีพึงพิจารณาความเป็นของปฐิกูลโดยผลอย่างนี้d๔
๙) โดยหลั่งไหลออก อธิบายว่า เป็นการพิจารณาว่า ก็อาหารนี้อันบุคคลกลืนกินอยู่ เข้าไป โดยทวารช่องเดียว เมื่อจะหลั่งออกย่อมออกโดยทวารเป็นอเนก โดยประการเป็นต้นว่า ขี้ตาไหลจาก ตา ขี้หูไหลจากหู อนึ่ง อาหารนี้ในเวลาที่กลืนกิน บุคคลย่อมกลืนกินแม้ด้วยทั้งบริวารมาก แต่ในเวลา ที่ถ่ายออก เข้าถึงความเป็นอุจจาระและปัสสาวะ เป็นต้น เฉพาะคน ๆ เดียวย่อมถ่ายออก ก็เมื่อ บริโภคอาหารนั้นในวันแรกทั้งยินดีทั้งร่าเริง ปลื้มจิตโปร่งใจเกิดปีติโสมนัส พอวันที่ ๒ เมื่อจะถ่ายออก ย่อมปิดจมูกสยิ้วหน้าสะอิดสะเอียนเก้อเขิน อนึ่ง ในวันแรกเขากําหนัดแล้วชอบใจจดจ่อ แม้สยบ หมกมุ่นกลืนกินอาหารนั้น ครั้นวันที่ ๒ ค้างอยู่เพียงคืนเดียวก็เบื่อหน่ายอึดอัดระอารังเกียจจึงต้องถ่าย ออก เพราะเหตุนั้นท่านอาจารย์ดึกดําบรรพ์จึงกล่าวว่า อาหารเครื่องดื่มของเคี้ยวและโภชนะซึ่งมีค่า
หน้า ъe๕.
de เรื่องเดียวกัน, หน้า ъe๕.
d๒ เรื่องเดียวกัน, หน้า ъe๕.
d๓ พระพุทธโฆสเถระ, ผู้แปล สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), คัมภีร์วิสุทธิมรรค,
d๔ เรื่องเดียวกัน, หน้า ъeъ.
มาก เข้าโดยทวารช่องเดียว แต่หลั่งออกโดยทวารตั้ง ๙ ช่อง อาหารเครื่องดื่มของเคี้ยวและโภชนะซึ่ง มีค่ามาก บุคคลมีบริวารแวดล้อมบริโภคอยู่ แต่เวลาเขาจะถ่ายออกย่อมแอบแฝง อาหารเครื่องดื่มของ เคี้ยวและโภชนะซึ่งมีค่ามาก บุคคลชื่นชมบริโภคอยู่แต่เมื่อจะให้ถ่ายออก กลับเกลียดอาหารเครื่องดื่ม ของเคี้ยวซึ่งมีค่ามาก โดยขังอยู่เพียงคืนเดียวเท่านั้น กลายเป็นของเน่าไปหมด ฉะนี้ พระโยคีพึง พิจารณาความเป็นของปฐิกูลโดยหลั่งไหลออกอย่างนี้d๕
e๐) โดยเปื้อน อธิบายว่า เป็นการพิจารณาว่า ก็อาหารนี้ แม้ในเวลาบริโภค ย่อมยังมือ ปากลิ้นและเพดานให้เปื้อน เพราะถูกอาหารนั้นเปื้อน อวัยวะเหล่านั้นจึงเป็นของปฐิกูล ซึ่งแม้จะล้าง แล้วก็จําต้องล้างบ่อยๆ เพื่อขจัดกลิ่น อาหารเมื่อบริโภคเข้าไปแล้ว เช่นเดียวกับเมื่อหุงข้าวสุกแกลบรํา ปลายข้าวเป็นต้นเดือดปุดขึ้นแล้ว ย่อมเปื้อนขอบปากหม้อและฝาหม้อ ฉันใด อาหารอันไฟประจํากาย ซึ่งไปตามสรีระทั้งร่าง เผาให้เดือดปุดเป็นฟองฟูดขึ้นมาอยู่ ย่อมยังฟันให้เปื้อนโดยความเป็นมลทินฟัน ย่อมยังอวัยวะมีลิ้นและเพดานเป็นต้นให้เปื้อนโดยความเป็นน้ําลายและเสมหะเป็นต้น ยัง ตา หู จมูก ทวารหนักเป็นต้นให้เปื้อนโดยความเป็นขี้ตา ขี้หู น้ํามูก ปัสสาวะ และอุจจาระเป็นต้น อันเป็นเหตุให้ บรรดาทวารที่ถูกเปื้อนแล้ว แม้บุคคลล้างอยู่ทุก ๆ วันก็ไม่เป็นของสะอาด ไม่เป็นของน่าฟูใจ ซึ่งเป็นที่ ๆ บุคคลล้างทวารบางทวารแล้วจําต้องล้างมือด้วยน้ําอีก บุคคลล้างทวารบางทวารแล้ว ล้างมือด้วยโค มัยก็ดี ดินเหนียวก็ดี จุณหอมก็ดี ตั้ง ๒ ครั้ง ความเป็นของปฐิกูลก็ยังไม่ไปปราศ พระโยคีพึงพิจารณา ความเป็นของปฐิกูลโดยการเปื้อนอย่างนี้dъ
พระ พี. วชิรญาณมหาเถระdd ได้กล่าวถึงวิธีปฐิบัติกรรมัานตามหลักอาหารเรปฐิกูล สัญญาว่า อาหาเรปฐิกูลสัญญา ได้แก่ ความรับรู้ที่เกิดขึ้นโดยการระลึกถึงความไม่น่ารักของอาหาร คือคําข้าว พระสาวกผู้ปรารถนาจะเจริญกรรมัานข้อนี้ควรระลึกถึง ความไม่น่ารักของอาหารโดย พิจารณาสิ่งที่จะรับประทานหรือดื่มชนิดต่างๆ คําว่า ปฐิกูล ซึ่งหมายถึง ความน่าเกลียดควรกล่าวซ้ําๆ ในตอนเริ่มปฐิบัติ เมื่อพระสาวกทําดังนี้ สภาพที่น่าเกลียดและน่าชังของอาหารจะปรากฐชัดโดยวิธี ต่างๆ
พระภิกษุผู้เจริญสัญญาข้อนี้ ควรคิดถึงสุภาพที่ไม่น่าปรารถนาและความลําบากหลายๆ อย่างที่ตนจะต้องทนในการไปแสวงหาอาหาร เขาจะต้องทําหน้าที่ที่จําเป็นและสําคัญในชีวิตนัก ศาสนาของเขา เขาจะต้องทอดทิ้งความวิเวกอันน่ารักและสงบในที่อยู่แบบนักพรตของเขาและขณะที่ ถือบาตร เขาต้องเข้าไปในหมู่บ้านในเวลาที่กําหนดไว้เฉพาะเพื่อแสวงหาอาหารเช่นเดียวกับสุนัข จิ้งจอกเข้าไปในป่าช้า เพื่อหาอาหารกิน ฉะนั้น เขาต้องเดินผ่านจากบ้านหนึ่งไปยังอีกบ้านหนึ่ง ถือ บาตร เช่นเดียวกับคนไร้อาชีพ ฝ่าความร้อนและความหนาวลมและฝนและเดินไปรอบๆ เพื่อหา อาหาร
หน้า ъeъ.
๒๕๔.
d๕ เรื่องเดียวกัน, หน้า ъeъ.
dъ พระพุทธโฆสเถระ, ผู้แปล สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), คัมภีร์วิสุทธิมรรค,
dd พระ พี. วชิรญาณมหาเถระ, แปลโดย ชูศักดิ์ ทิพย์เกสร, สมาธิในพระพุทธศาสนา, หน้า ๒๕๒-
หลังจากได้อาหารแล้ว พระสาวกนั่งภายใต้ต้นไม้หรือในที่เช่นนั้นบางแห่งปั้นข้าวเป็นคําๆ แล้วฉันอาหารเมื่อข้าวอยู่ในปากแล้ว ข้าวปั้นบดด้วยสากคือฟัน พลิกไปมาด้วยลิ้นคลุกเคล้าด้วย น้ําลาย ดังนั้นจึงเป็นสิ่งที่น่าเกลียดและปราศจากความสวยงาม และปราศจากกลิ่นที่น่าเจริญจมูก เมื่อรับประทาน และกลืนเข้าไป คําข้าวนั้นยิ่งน่าเกลียดที่สุด ผสมกับน้ําดี เสลดและวัตถุที่ไม่สะอาด อื่นๆ และจะไปขังอยู่ในที่ซึ่งไม่บริสุทธิ์เช่นกัน
อาหารนี้เมื่อยู่ในท้องตราบใดที่ยังไม่ย่อย ย่อมมีสภาพน่าเกลียดอย่างยิ่ง ผสมกับของที่ รับประทานวันนี้ เมื่อวานนี้และเมื่อวานซืนนี้ รวมกันเป็นก้อนอยู่ในเยื่อแห่งเสลด และเมื่ออบอุ่นด้วย ความร้อนในร่างกาย ย่อมสร้างแก๊สชนิดต่างๆ ขึ้น เมื่อย่อยไม่ดีย่อมก่อให้เกิดเชื้อชนิดต่างๆ ขึ้น ในที่สุดวัตถุที่เน่าเสียในร่างกายจะถูกส่งอออกมาอย่างลับๆ
ผู้ที่รับประทานอาหารย่อมรู้สึกมีความสุข มีความยินดี มีความร่าเริง และได้รับความ เพลิดเพลินชั่วขณะนั้น เขามีความอยาก มีความโลภ ความมัวเมา และหลง ย่อมบริโภคอาหารในวัน แรก หน้าของเขาผิดแผกไป น่ารังเกียจ และมีความป่วยใจ เขาย่อมปฐิเสธไม่รับประทานอาหารนั้น ในวันที่สอง หลังจากอาหารได้อยู่ภายในตัวเขาสักสองสามชั่วโมง เขาก็หมดความอยากในอาหารนั้น และรู้สึกรําคาญกับอาหารนั้น รู้สึกละอายใจเกี่ยวกับอาหารนั้น เขาเพลิดเพลินกับอาหารที่หวาน มีกลิ่นหอมพร้อมกับคนอื่นๆ ซึ่งเป็นอาหารที่จัดทํามาอย่างหรูและความยากลําบาก แต่ในช่วงเวลา แห่งการขจัดกิเลส เขาต้องอยู่คนเดียว และรูจมูกของเขามักถูกขัดเคือง ดังนั้น โบราณาจารย์ทั้งหลาย จึงกล่าวไว้ว่า
อาหารที่จัดอย่างหรูหรา เครื่องดื่มที่หวาน สิ่งอร่อยอื่นๆ ชนิดต่างๆ นําเข้ามาข้างในทาง ทวารอันเดียว (ปาก) แต่ออกไปจากทวารทั้ง ๔ คนเรารับประทานสิ่งเหล่านี้เข้าไปรวมๆ กันแต่ถ่ายออกมาแยกๆ กัน คนเรารับประทานสิ่งเหล่านี้ด้วยความเพลิดเพลิน แต่สิ่งที่ รับประทานเข้าไปนั้นไหลออกมาอย่างน่าเกลียดd๘
ดังนั้น พระสาวกควรพิจารณาความน่าเกลียดของอาหารที่รับประทานไปในหลายๆ วิธี โดยกล่าวซ้ําๆ ซึ่งคําว่า “ปฐิกูล” เมื่อทําเช่นนี้ สัญญาคือการกําหนดรู้ถึงความน่าเกลียดเกี่ยวกับ อาหารคือคําข้าวก็จะปรากฐชัดขึ้น เป็นอารมณ์ของกรรมัาน ในขณะที่เจริญต่อกันซ้ําๆ นั้น นิวรณ์ก็ จะหมดไป เพราะธรรมชาติอันแท้จริงของอาหารคือคําข้าวและเพราะความตั้งใจที่จะกําหนดรู้ถึงความ น่าเกลียดของอาหารดังกล่าว จิตจะบรรลุอุปจารฌาน สัญญาย่อมปรากฐในการยึดความปฐิกูลที่มีใน อาหารเป็นอารมณ์ และดังนั้นอารมณ์กรรมัานข้อนี้จึงมีชื่อว่า “อาหาเรปฐิกูลสัญญา”
๓.๒. อานิสงส์ของการเจริญอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน
ในอังคุตตรนิกาย สัตตกนิบาต ทุติยสัญญาสูตร พระพุทธเจ้าได้ทรงอธิบายผลของการ ปฐิบัติกรรมัาน อาหาเรปฐิกูลสัญญาที่ให้ผลมาก สามารถหยั่งลงถึงอมตะได้ ความว่า
d๘ อ้างใน พระ ดร.พี. วชิรญาณมหาเถระ แปลโดย รองศาสตราจารย์ชูศักดิ์ ทิพย์เกสร, สมาธิใน พระพุทธศาสนา, หน้า ๒๕๓-๒๕๔.
ภิกษุมีใจที่อบรมแล้วด้วยอาหาเร ปฐิกูลสัญญาอยู่โดยมาก จิตย่อมหดกลับ งอกลับ หมุน กลับ ไม่ออกไปรับตัณหาในรสอุเบกขาหรือความเป็นของปฐิกูลย่อมตั้งอยู่ ขนไก่หรือเส้นเอ็น ที่เขาใส่เข้าไปในไฟย่อมหดกลับ งอกลับ หมุนกลับ ไม่คลี่ออก ฉันใด ภิกษุมีใจที่อบรมแล้ว ด้วยอาหาเรปฐิกูลสัญญาอยู่โดยมาก จิตย่อมหดกลับ งอกลับ หมุนกลับ ไม่ออกไปรับตัณหา ในรส ฉันนั้นเหมือนกันแล อุเบกขาหรือความเป็นของปฐิกูลย่อมตั้งอยู่ ถ้าภิกษุมีใจที่อบรม แล้วด้วยอาหาเรปฐิกูลสัญญาอยู่โดยมาก จิตย่อมไหลไปตามตัณหาในรส ความเป็นของไม่ ปฐิกูลย่อมตั้งอยู่ ภิกษุพึงทราบข้อนี้ว่า ‘อาหาเรปฐิกูลสัญญา เรามิได้เจริญแล้ว คุณวิเศษทั้ง เบื้องต้นและเบื้องปลายจึงไม่มีแก่เรา ภาวนาพละของเรายังไม่ถึงที่’ เพราะฉะนั้น ภิกษุนั้นจึง เป็นผู้รู้ชัดในอาหาเร ปฐิกูลสัญญานั้น แต่ถ้าภิกษุมีใจที่อบรมแล้วด้วยอาหาเร ปฐิกูลสัญญา อยู่โดยมาก จิตย่อมหดกลับ งอกลับ ฯลฯ ตัณหาในรส อุเบกขาหรือความเป็นของปฐิกูลย่อม ตั้งอยู่ภิกษุพึงทราบข้อนี้ว่า ‘อาหาเร ปฐิกูลสัญญา เราเจริญดีแล้ว คุณวิเศษทั้งเบื้องต้นและ เบื้องปลายจึงมีแก่เรา ภาวนาพละของเราถึงที่แล้ว’ เพราะฉะนั้น ภิกษุนั้นจึงเป็นผู้รู้ชัดในอา หาเร ปฐิกูลสัญญานั้นเราจึงกล่าวไว้เช่นนั้นว่า ‘อาหาเร ปฐิกูลสัญญาที่ภิกษุเจริญ ทําให้มาก แล้วย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นที่สุด’d๙
ในวิสุทธิมรรคได้กล่าวถึงอานิสงส์ของการเจริญกรรมัานที่ชื่อ อาหาเรปฐิกูลสัญญา กรรมัาน ความว่า
เมื่อพระโยคีนั้น พิจารณาความเป็นของปฐิกูลโดยอาการ e๐ อย่าง ดังบรรยายมานี้อยู่ ทําให้เป็นคุณชาติอันความตรึกและวิตกคร่ามาแล้ว กวฬิงการาหารย่อมปรากฐด้วยสามารถ อาการเป็นของปฐิกูล เธอย่อมหมั่นเสพเจริญเพิ่มพูนนิมิตนั้นบ่อย ๆ เมื่อเธอทําอย่างนั้น นิวรณ์ย่อมสงบ แต่เพราะเหตุที่กวฬิงการาหารเป็นของลึกโดยความเป็นสภาวธรรม จิตจึงขึ้น ถึงเพียงอุปจารสมาธิ ซึ่งไม่ถึงขั้นอัปปนาสมาธิ อนึ่ง สัญญาในอธิการนี้ย่อมเป็นคุณชาติ ปรากฐด้วยอํานาจการถือเอาโดยอาการเป็นของปฐิกูล เหตุนั้น กรรมัานนี้จึงถึงการนับว่า อาหาเรปฐิกูลสัญญา ความสําคัญหมายว่าเป็นของปฐิกูลในอาหารก็แหละ จิตของภิกษุผู้ หมั่นประกอบปฐิกูลสัญญาในอาหารนี้ ย่อมหดกลับถอยหลังจากความอยากในรส เธอเป็นผู้ หมดความเมา กลืนกินอาหารเพียงเพื่อต้องการบําบัดทุกข์ ดุจคนต้องการข้ามทางกันดาร หมดความอยากในเนื้อบุตร จําต้องกลืนกินเนื้อบุตร ฉะนั้น ครั้นคราวนี้ราคะซึ่งเนื่องด้วยกาม คุณ ๕ ย่อมถึงความกําหนดจับได้แก่เธอ ด้วยมุขคือปรีชา คอยจับกวฬิงการาหารโดยไม่ ลําเค็ญเลย เธอกําหนดรู้รูปขันธ์ด้วยมุขคือปรีชากําหนดรู้กามคุณ ๕ อย่าง และแม้กายคตา สติภาวนา ย่อมถึงความเต็มเปี่ยมแก่เธอ ด้วยอํานาจความเป็นของปฐิกูลแห่งอาหารที่ยังไม่ ย่อย เป็นต้น เธอชื่อว่าเป็นผู้ดําเนินตามปฐิปทาอันอนุโลมแก่อสุภสัญญา ก็เธออาศัยข้อ
d๙ องฺ.สตฺตก. (ไทย) ๒๓/๕๙/d๘.
ปฐิบัตินี้ แม้ยังไม่ประสบความเป็นผู้มีพระอมตะเป็นที่สุดในภพปัจจุบัน ก็จะเป็นผู้มีสุคติเป็น ที่ไปในเบื้องหน้า๘๐
ในคัมภีร์วิมุตติมรรคได้กล่าวถึงอานิสงส์ของการเจริญกรรมัานที่ชื่อ อาหาเรปฐิกูลสัญญา กรรมัาน ความว่า “ย่อมรู้ลักษณะของคําข้าว เข้าใจตัณหา ๕ อย่างอย่างแจ่มแจ้ง รู้แจ้งรูปขันธ์ รู้แจ้ง ความไม่บริสุทธิ์ จิตย่อมหลีกหนีจากความอยากในรส อยู่เป็นสุข และเข้าถึงอมตภาพ”๘e เป็นการ แสดงให้เห็นถึงความหลุดจากรสชาติของอาหาร ทําให้มีชีวิตเรียบง่าย เป็นอุบายต่อเนื่องไปถึงพระ นิพพานได้ด้วยเช่นกัน
จะเห็นได้ว่า ผู้ที่เจริญกรรมัานข้อนี้ย่อมปราศจากความโลภ และความทยานอยากในรส และเลี่ยงสิ่งฟุ่มเฟือยทุกอย่างที่เขารับประทานเพื่อตํารงอยู่และถือเป็นเครื่องช่วยให้ปราศจากสิ่งที่ไม่ดี ทั้งหลาย จากการที่เขามีพลังจิตเหนืออาหารคือคําข้าวเช่นนี้ เขาย่อมมีอํานาจเหนืออายตนะทั้ง ๕ และจากอํานาจนี้เขามีอํานาจเหนือตัณหา และรู้แจ้งถึงธรรมชาติที่ไม่แน่นอนของปรากฐการณ์ ทั้งหลาย ถ้าเขาไม่สามารถบรรลุถึงสภาพที่ไม่มีการตายในชาตินี้ เขาย่อมจะมีอนาคตอันมีความสุข ด้วยผลแห่งการปฐิบัติกรรมัานข้อนี้ สมดังในคัมภีร์สังยุตตนิกาย มหาวรรค ได้กล่าวถึงอาหาเรปฐิกูล สัญญาว่า “ภิกษุทั้งหลาย อาหาเรปฐิกูลสัญญา (ความหมายรู้ความปฐิกูลในอาหาร) ที่บุคคลเจริญ แล้ว ทําให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความอยู่ผาสุกมาก”๘๒
จากข้อความที่มาพระไตรปิฎกและในวิสุทธิมรรค จะเห็นได้ว่ากรรมัานที่เรียกว่า อาหาเร ปฐิกูลสัญญานี้ มีอานิสงส์เป็นอย่างมาก เบื้องต้นนั้นทําให้เกิดความผาสุกในร่างกาย ไม่ให้เกิดโรคที่จะ เกิดจากการกินอาหาร เช่น โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต เป็นต้น ในระดับที่สูงขึ้นไปนั้น ทําให้รู้แจ้งในรูปขันธ์ สามารถตัดตัณหาในรส ไม่มีความยินดียินร้ายในเพราะอาหาร ไม่มีความอยาก ในรสที่พึงพอใจ ทําให้จิตใจสงบ ระงับ ไม่กระวนกระวาย จิตย่อมอยู่เป็นสุข และพัฒนาจิตให้เข้าถึง อมตะ คือ พระนิพพานได้ด้วยเพราะกรรมัานนี้ หากไม่ถึงนิพพานในภพปัจจุบันนี้ ย่อมมีสุคติเป็นที่ ไปในเบื้องหน้า
แนวทางในการปฐิบัติกรรมัานที่ปรากฐพระพุทธศาสนานั้นมีอยู่หลากหลายแนวทาง ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับจริตของผู้ที่ต้องการจะศึกษาหรือผู้ต้องการปฐิบัติ (โยคาวจร) ไม่ว่าจะเป็นบรรพชิตหรือ คฤหัสถ์ก็สามารถที่จะปฐิบัติได้ การที่จะศึกษากรรมัานนั้น จําเป็นต้องมีวิธีการที่เหมาะสมดังที่ ปรากฐในคัมภีร์วิสุทธิมรรคที่อธิบายถึงกระบวนตั้งแต่การเข้าหาครูบาอาจารย์กัลยาณมิตร ชําระศีล ให้บริสุทธิ์ เป็นต้น ครูบาอาจารย์ก็จะให้กรรมัานให้นําไประลึกพิจารณาอยู่เนืองๆ
อาหาเรปฐิกูลสัญญากรรมัานเป็นหนึ่งในกรรมัานที่ปรากฐในคัมภีร์ โดยเป็นกรรมัานที่ สอนให้พิจารณาอาหารโดยเป็นสิ่งปฐิกูล เมื่อสามารถกําหนดเป็นอารมณ์ได้แล้ว ก็จะเป็นปัจจัยเป็น
ъed.
๘๐ พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีร์วิสุทธิมรรค, แปลโดย สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), หน้า
๘e พระอุปติสสเถระ, วิมุตติมรรค , แปลโดย พระเทพโสภณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) และคณะ, พิมพ์ครั้งที่
ъ, (กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘), หน้า e๙๓.
๘๒ สํ.ม. (ไทย) e๙/๒๕๐/e๙๕.
อานิสงส์ทําให้สามารถละนิวรณ์ คือ ไม่ยึดติดในอาหารได้ ทําให้ไม่มีความอยากในรูปอาหาร ไม่มี ความอยากในรส ไม่มีความหวั่นไหวในกลิ่นอาหาร เป็นต้น เมื่อเกิดความเบื่อหน่ายไม่ยึดติดแล้วก็ย่อม ที่จะทําให้ใช้ชีวิตอย่างผาสุก
๓.๓ แนวทางการบริโภคอาหารตามหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน
จากการศึกษาหลักกรรมัานและหลักอาหาเรปฐิกูลสัญญากรรมัาน สามารถวิเคราะห์ให้ เห็นถึงแนวทางการบริโภคอาหารตามหลักอาหาเรปฐิกูลสัญญาได้เป็น ๒ ประการ ดังนี้
๓.๓.๑ การบริโภคตามหลักอาหาร
การบริโภคตามหลักอาหารในที่นี้หมายถึง การรับประทานอาหารตามหลักของอาหารที่ เป็นการรับประทานเพื่อการยังชีพ เพื่อให้ชีวิตสามารถดํารงอยู่ได้ ไม่ยึดติดในรสชาติของอาหาร ไม่ หลงใหลในลักษณะของอาหาร การบริโภคอาหารในลักษณะนี้นอกจากจะเป็นประโยชน์ต่อการดํารง ชีพแล้ว ยังถือว่าเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพอีกด้วย เพราะโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ที่เกิดขึ้นแก่มนุษย์นั้น ส่วนหนึ่งมาจากอาหารที่มนุษย์รับประทานเข้าไป ในส่วนนี้เป็นไปได้ว่า มนุษย์เราไม่คํานึงถึงเท่าที่ควร จะเป็นการกินยังเป็นการกินเพื่อให้อิ่มไปเป็นวันๆ เท่านั้น การให้ค่าหรือความสําคัญแก่การกินที่ เหมาะสมยังไม่มีให้เห็นเท่าที่ควร ปัญหาด้านสุขภาพ เช่น โรคเบาหวาน มะเร็ง โรคกระเพาะอาหาร อักเสพ ท้องเสีย ท้องอืด แม้กระทั่งโรคอ้วน ส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากอาหาร อย่างไรก็ตาม ปัญหา สุขภาพที่เกิดจากการกิน จึงเป็นปัจจัยสําคัญ ๒ ส่วนประกอบกัน คือ พฤติกรรมการกินและอาหารที่ กินเข้าไป เพราะพฤติกรรมการกินของมนุษย์ยังเป็นพฤติกรรมการกินที่ไม่เหมาะสมและไม่พึง ปรารถนา คําว่า ไม่เหมาะสมและไม่พึงปรารถนา หมายความว่า ไม่สอดคล้องกับความต้องการของ ร่างกาย ไม่สอดคล้องกับการทํางานของร่างกาย รวมถึงการกินที่ไม่พอเหมาะพอดี มากเกินไปหรือ น้อยเกินไป ตลอดถึงการกินที่ไม่เป็นมื้อ ไม่เป็นเวลา ซึ่งนอกจากจะได้ประโยชน์จากอาหารน้อย ร่างกายได้รับสารอาหารที่ไม่เพียงพอแล้ว ยังเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพอีกด้วย เช่น โรคกระเพาะอักเสพ และเป็นการทําให้การทํางานของร่างกายเสียระบบ ดังนั้น การบริโภคตามหลักของอาหารจึงควรเป็น การบริโภค ดังนี้
e) รับประทานอาหารเพื่อตนเอง หมายถึง การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อตนเอง ไม่รับประทานอาหารที่เป็นโทษ หรือก่อให้เกิดโทษต่อร่างกาย รับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ ไม่เป็นการจุดฉนวนให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ เป็นการรับประทานอาหารที่มุ่งคุณค่าแท้ของอาหารมากกว่า ความเอร็ดอร่อย เป็นการกินเพื่ออยู่ ไม่ใช่อยู่เพื่อกิน การบริโภคอาหารประเภทนี้มีจุดมุ่งหมายอยู่ที่ คุณค่าแท้ คือการบริโภคอาหารเพื่อให้มีชีวิตรอด กิจกรรมต่างๆ ของชีวิตจึงจะดําเนินการต่อไปได้ การมีชีวิตอยู่ก็จะได้ไม่ลําบากจนเกินไปนัก หลักการรับประทานอาหารเพื่อตนเองในพระพุทธศาสนา มีแนวทาง ดังนี้
(e) ไม่รับประทานอาหารเพียงแต่ว่ากินเล่น
(๒) ไม่รับประทานอาหารด้วยความมัวเมาหลงในรสชาติ
(๓) ไม่รับประทานอาหารด้วยหวังว่าเป็นเครื่องประดับประดา อวดัานะมั่งมี
(๔) ไม่รับประทานอาหารด้วยหวังว่าจะตกแต่งร่างกาย (๕) ให้บริโภคอาหารเพื่อให้กายนี้ดํารงอยู่
(ъ) ให้บริโภคอาหารเพื่อให้ชีวิตินทรีย์เป็นไป
(d) ให้บริโภคอาหารเพื่อกําจัดความหิว
(๘) ให้บริโภคอาหารเพื่ออนุเคราะห์พรหมจรรย์๘๓
๒) รับประทานอาหารเพื่อสังคม หมายถึง การรับประทานเพื่อการดํารงตนให้เป็น ประโยชน์ต่อสังคม เป็นการรับประทานอาหารในระดับที่สูงขึ้นกว่าการรับประทานอาหารเพื่อตนเอง เพราะมนุษย์เกิดมาแล้ว นอกจากจะมีหน้าที่เพื่อตนเองแล้ว ยังมีหน้าที่เพื่อการธํารงสังคมให้สงบสุข เจริญ พัฒนาไปด้วย การรับประทานอาหารเพื่อสังคมมีความหมายครอบคลุมไปถึงการเกื้อกูลต่อกัน และกัน การส่งเสริมความสามัคคีและการทําหน้าที่เพื่อส่วนรวม การรับประทานอาหารเพื่อส่วนรวม จึงมุ่งไปที่การทําหน้าที่ของตนเองให้เป็นประโยชน์ อันเป็นผลสืบเนื่องจากการรับประทานอาหารที่ทํา ให้ร่างกายมีกําลัง ในความมุ่งหมายนี้ย่อมหมายถึง การบําเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ ให้เหมาะสมคู่ควร กับอาหารที่ตนเองบริโภคไป หลักการรับประทานอาหารเพื่อสังคม มีดังนี้
(e) ไม่รับประทานอาหารที่เป็นโทษ อันจะทําให้ร่างกายของตนเองเป็นโรค เพราะ นอกจากจะเป็นโทษแก่ตนเองแล้ว ยังจะทําให้เกิดภาระในการดูแลรักษา สังคมขาดทรัพยากรบุคคลที่ มีคุณค่า
(๒) ไม่รับประทานอาหารที่เบียดเบียนสังคม คือรับประทานอาหารที่แต่พอดี ไม่ แก่งแย่งอาหารหรือละโมบอาหารมาเพื่อตนเองแต่ส่วนเดียว ควรเหลือและอนุเคราะห์ผู้ที่ไม่สามารถ เข้าถึงอาหารให้ได้บริโภคอย่างทั่วถึง หากมีมากจนเกินแก่ความพอดีพึงช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ที่หิวโหย อย่างเมตตา
(๓) ใช้อัตภาพของตนให้เป็นประโยชน์แก่สังคม เมื่อมีเรี่ยวแรงพละกําลังแล้ว พึง ช่วยเหลือสังคมตามกําลังที่ตนเองมี
๓) รับประทานอาหารเพื่อโลก หมายถึง การรับประทานอาหารที่ไม่ทําลายโลก ทั้ง กระบวนการผลิต กระบวนการปรุงอาหาร และกระบวนการรับประทานอาหาร ในกระบวนการผลิต คือการไม่ทําลายสิ่งแวดล้อมด้วยสารพิษ เป็นการผลิตอาหารด้วยระบบอินทรีย์ ไม่ทําลายผืนแผ่นดิน ไม่ทําลายธรรมชาติ ในกระบวนการปรุงอาหารนั้นไม่มีสารสังเคราะห์ สะอาด ปลอดภัย ปลอดจาก พลาสติกและขยะที่เป็นพิษภัยต่อโลก ประการสุดท้ายคือกระบวนการรับประทานอาหารที่ตระหนักใน ความพอดี พออิ่ม พอประมาณ
๓.๓.๒ การบริโภคตามหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน
๘๓ นนทวัฒน์ ปรีดาภัทรพงษ์, “การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพแนวพุทธ”, วารสารบัณฑิตศาสน์ มมร., ปีที่ e๓ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๕๘): ๒๔-๓๕.
สําหรับหลักการบริโภคอาหารตามหลักอาหาเรปฐิกูลสัญญากรรมัานนั้นสามารถ นําหลักการในวิสุทธิมรรคมาเป็นแนวทางการบริโภคโดยพิจารณาไปตามลําดับขั้นตอน เพื่อให้เห็น ความเป็นปฐิกูลของอาหาร ดังนี้
e) พิจารณาความเป็นปฐิกูลของการออกไปหาอาหาร ที่ต้องผ่านความสกปรก ของผืนแผ่นดิน อาหารล้วนเกิดมาจากซากเน่าเปื่อยของชีวิตสัตว์ ความเน่าเหม็นของพืชผักที่ทับถม เมื่อตั้งข้อรังเกียจเช่นนี้แล้วจะทําให้บริโภคอย่างพอดี
๒) พิจารณาความเป็นปฐิกูลของอาหารโดยการแสวงหา แม้การปรุงก็ผ่านกลวิธีที่ หลากหลาย ผ่านเครื่องมือ อุปกรณ์ที่ซ้ําแล้วซ้ําอีก มีหมู่แมลง ฝุ่นผงตกลงไปอยู่เสมอ แม้ตอนออกไป หาอาหารก็ผ่านทุ่งหา หมู่บ้านที่สกปรก เมื่อตั้งข้อรังเกียจเช่นนี้แล้วจะทําให้บริโภคอย่างพอดี
๓) พิจารณาความเป็นปฐิกูลของอหารโดยการบริโภค เป็นการพิจารณาถึง ขั้นตอนการปรุงอาหารที่ต้องหั่น ซอย ขยี้ ขยํา ตําในครก ซึ่งอาจมีน้ําลาย เส้นผม ละอองน้ํามูก เหงื่อ ไคลผสมอยู่ด้วยเมื่อตั้งข้อรังเกียจเช่นนี้แล้วจะทําให้บริโภคอย่างพอดี
๔) พิจารณาความเป็นปฐิกูลของอาหารโดยที่อยู่ เป็นการระลึกว่าเมื่อรับประทาน อาหารไปแล้วย่อมไปอาศัยอยู่ในร่างกายที่ระคนปนเปื้อนไปด้วยหนอง เลือก เสมหะ อาหารเก่าที่น่า สะอิดเสอียนเมื่อตั้งข้อรังเกียจเช่นนี้แล้วจะทําให้บริโภคอย่างพอดี
๕) พิจารณาความเป็นปฐิกูลของอาหารโดยความหมักหมม เป็นการพิจารณาว่า อาหารนั้นระคนด้วยที่อาศัย เมื่อเข้าไปในท้องแล้วย่อมหมกหมม เน่าเหม็น กลายเป็นของไม่สะอาด ไม่มีรสชาติ เมื่อตั้งข้อรังเกียจเช่นนี้แล้วจะทําให้บริโภคอย่างพอดี
ъ) พิจารณาความเป็นปฐิกูลของอาหารโดยยังไม่ย่อย เป็นการเข้าใจถึงสภาพ อาหารที่อยู่ในร่างกาย ร่างกายที่เปรียบเสมือนป่าช้าที่อุดมไปด้วยซากศพ เน่าเหม็น ไม่น่ากิน ไม่น่า บริโภค เมื่อตั้งข้อรังเกียจเช่นนี้แล้วจะทําให้บริโภคอย่างพอดี
d) พิจารณาความเป็นปฐิกูลของอาหารโดยย่อยแล้ว เป็นการพิจารณาว่า อาหาร นั้นเป็นสภาพอันไฟในกายให้ย่อยแล้วย่อมเข้าถึงความเป็นอุจจาระ ยังกระเพาะอาหารเก่าให้เต็ม เปรียบดุจดินเหลืองเมื่อตั้งข้อรังเกียจเช่นนี้แล้วจะทําให้บริโภคอย่างพอดี
๘) พิจารณาความเป็นปฐิกูลของอาหารโดยผล เป็นการพิจารณาว่าอาหารนี้อัน ไฟธาตุย่อยอยู่โดยชอบเทียว ย่อมสําเร็จเป็นซากต่างๆ มี ผม ขน เล็บ ฟัน เป็นต้น เมื่อตั้งข้อรังเกียจ เช่นนี้แล้วจะทําให้บริโภคอย่างพอดี
๙) พิจารณาความเป็นปฐิกูลอาหารโดยหลั่งไหลออก เป็นการสร้างความตระหนัก ว่า อาหารที่กินอยู่เข้าไปโดยทวารช่องเดียวคือปาก แต่เมื่อละหลั่งไหลออกกลับออกในทวารต่างๆ ที่น่าเกลียด เช่น ขี้หู ขี้ตา เหงื่อไหล อุจจาระ ปัสสาวะ เป็นต้น เมื่อตั้งข้อรังเกียจเช่นนี้แล้วจะทําให้ บริโภคอย่างพอดี
e๐) พิจารณาความเป็นปฐิกูลของอาหารโดยอาหารปนเปื้อน เพราะเวลากิน อาหาร มือและปากย่อมเปื้อน มีกลิ่นติดตัว เช่น กลิ่นกระเทียม ผักชี อาหารกลิ่นแรง เช่น เนื้อวัว เนื้อควาย หรือเครื่องเทศ เป็นต้น ล้วนแต่สกปรกไม่น่าพึงพอใจ เมื่อตั้งข้อรังเกียจเช่นนี้แล้วจะทําให้ บริโภคอย่างพอดี
การกําหนดพิจารณาถึงความเป็นปฐิกูลของอาหารเช่นนี้อย่างสม่ําเสมอจะทําให้ผู้พิจารณา รับประทานอาหารอย่างระมัดระวัง ไม่รับประทานอาหารอย่างมัวเมา ประมาท รังเกียจการ รับประทานอาหารที่ไม่เป็นประโยชน์ แม้ที่สุดพึงระลึกว่าทุกครั้งที่รับประทานอาหารนั้นเป็นอุปมาดัง กินเนื้อบุตรตนเอง เมื่อคิดเช่นนี้ ความรังเกียจในความเป็นปฐิกูลของอาหารจะบังเกิดขึ้น การ รับประทานอาหารก็จะลดน้อยลงเพื่อให้เกิดความพอดี พอให้ยังอัตภาพเท่านั้น เช่นนี้ก็จะไม่มีอาหาร ส่วนที่เกิดในร่างกาย จึงไม่เป็นเหตุให้เกิดโรคภัยตามมา จึงจัดเป็นแนวทางของการบริโภคอาหารโดย การประยุกต์จากหลักอาหาเรปฐิกูลสัญญากรรมัาน อนึ่ง แนวทางการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน นั้นจะได้อธิบายในบทถัดไป
บทที่ ๔
แนวทางการบริโภคอาหารตามหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญา กรรมฐานในชีวิตประจําวัน
จากการศึกษาหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐานทําให้เห็นว่า อาหารมีความสําคัญอย่าง ยิ่งในการดํารงชีวิตของมนุษย์ แม้ในพระพุทธศาสนาก็รับรองเช่นนั้น ดังปรากฏในคําว่า “สัตว์ทั้งปวง ดํารงอยู่ได้ด้วยอาหาร”e “ภิกษุทั้งหลาย กายนี้ดํารงอยู่ได้ด้วยอาหาร อาศัยอาหารจึงดํารงอยู่ได้ ขาดอาหารก็ดํารงอยู่ไม่ได้”ъ ตามหลักวิทยาศาสตร์มนุษย์สามารถขาดอาหารได้ไม่เกิน ๔๕ วัน แต่ก็ ไม่มีใครอยู่ได้ถึง ๔๕ วัน เพราะจะตายด้วยโรคแทรกซ้อนอื่นเสียก่อน อาหารจึงเป็นเปรียบเสมือนชีวิต ของมนุษย์ แต่ถึงกระนั้น อาหารก็นํามาซึ่งโรคภัยไข้เจ็บได้เหมือนกัน อาจเกิดจากสาเหตุการบริโภค อาหารไม่ถูกสุขลักษณะ การบริโภคอาหารที่เป็นพิษต่อร่างกายหรือสะสมพิษไว้ในร่างกายโดยไม่รู้ตัว ดังนั้น การบริโภคอาหารจึงควรมีการพิจารณาอย่างมีสติ
ในพระพุทธศาสนามีหลักการบริโภคอาหารปรากฏในคําสอนทั้งในพระวินัย ส่วนที่เป็น หลักปฏิบัติสําหรับพระภิกษุ (โภชนปฏิบัติ) หลักการพิจารณาอาหารก่อนรับประทาน (โภชนจํากัด) และการรับประทานอาหารอย่างฉลาด (โภชนเภสัช) โดยประยุกต์มาจากหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญา กรรมฐาน และหลักพระวินัยของพระสงฆ์ โดยนํารูปแบบการบริโภคอาหารของพระพุทธเจ้ามาเป็น กรณีศึกษาประกอบด้วย จากการศึกษาด้านเอกสารและตําราทางพระพุทธศาสนา ผู้วิจัยได้กําหนด รูปแบบการประยุกต์หลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐานเพื่อการบริโภคอาหารอย่างฉลาดใน ชีวิตประจําวันได้ ๓ หลักการ ดังแผนภูมิที่ e
• โภชเนมัตตัญญุตา
โภชนปฏิบัติ • กินอย่างมีสติ
• อาหาเรปฏิกูล สัญญา
โภชนจํากัด
• พุทธวิธีบริโภค
• โภชนาปฏิสังยุต
• กินอย่างฉลาด
โภชนเภสัช
แผนภูมิที่ ๑ รูปแบบการประยุกต์หลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน
e ขุ.ธ. (ไทย) ъ๕/-/๕.
ъ สํ.ม. (ไทย) e๙/e๘๓/ee๐.
๔.๑ หลักโภชนจํากัด
หลักโภชนจํากัดเป็นหลักการที่ประยุกต์มาจากคําสอนเรื่องโภชนมัตตัญญุตา คือ การรู้จัก ประมาณในการบริโภคและอาหาเรปฏิกูลสัญญา มีรายละเอียดดังนี้
๔.๑.๑ โภชเนมัตตัญญุตา
การรู้ประมาณในการบริโภคอาหาร หรือโภชเนมัตตัญญุตา จัดเป็นหลักธรรมสําคัญที่มี ปรากฏอยู่มากมายในหลายพระสูตร ในธัมมัญญสูตรเป็นพระสูตรที่ว่าด้วยธัมมัญญูบุคคล หมายถึง บุคคลผู้รู้ธรรมมัตตัญญูเป็นหนึ่งในคุณสมบัติ ๗ ประการของภิกษุผู้รู้ธรรม พระสูตรนี้ได้อธิบาย ความหมายมัตตัญญูว่า ภิกษุผู้รู้จักประมาณในการรับจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัยเภสัช บริขารจึงเรียกว่าเป็นมัตตัญญู๓
การรู้จักประมาณในการบริโภคอาหารนั้น พระผู้มีพระภาคทรงแสดงหลักธรรมในเรื่องโภช เนมัตตัญญุตา ได้ตรัสพระคาถานี้แก่พระเจ้าปเสนทิโกศลผู้เสวยพระกระยาหารมาก พระองค์เสวย พระกระยาหารที่หุงด้วยข้าวสารทะนานหนึ่ง ทรงอึดอัด ไม่สบายพระวรกาย ดังนี้ เมื่อใดบุคคลผู้ถูก ความง่วงเหงาครอบงํา บริโภคมาก ชอบแต่นอนกลิ้งเกลือกไปมา เมื่อนั้นเขาย่อมมีปัญญาเฉื่อยชา ไม่กระปรี้กระเปร่า ชอบเข้าห้องเป็นอาจิณ เหมือนสุกรอ้วนที่เขาขุนด้วยเศษอาหาร (นอนกลิ้งเกลือก ไปมา) ฉะนั้น๔
เมื่อพระเจ้าปเสนทิโกศลได้ฟังพระพุทธเจ้าตรัสอีกคาถาว่า มนุษย์ผู้มีสติอยู่ทุกเมื่อ รู้จักประมาณในโภชนะที่ได้แล้ว ย่อมมีเวทนาเบาบาง เขาย่อมแก่ช้า อายุก็ยั่งยืน๕ จึงให้มานพชื่อ สุทัสสนะเรียนคาถานั้นแล้วให้กล่าวคาถาในตอนที่จะเสวย โดยให้ค่าจ้างวันละ e๐๐ กหาปณะ เมื่อทําเช่นนี้ พระองค์ก็มีสติในการเสวย ไม่เสวยเกินพอดี ร่างกายก็กระปรี้กระเปร่า กิเลสครอบงํา จิตใจไม่ได้ อาหารเป็นสิ่งที่มีคุณและโทษต่อร่างกาย การบริโภคอาหารที่มากเกินไป ย่อมทําให้ ผู้บริโภครู้สึกอึดอัด ไม่สบายกาย การบริโภคอาหารที่น้อยเกินไป ผู้บริโภคย่อมไม่มีกําลังในการทํา กิจการงานต่างๆ
บทว่า โภชเน มตฺตญฺญู ความว่า รู้ประมาณในโภชนะ อธิบายว่า รู้ประมาณในการรับการ ฉัน และการพิจารณา คําว่า มัตตัญญู คือ รู้ประมาณ หรือมัตตัญญุตา คือ ความเป็นผู้รู้ประมาณ การประมาณหมายเอาพอเหมาะพอดี จะบริโภคปัจจัย ๔ ก็ให้รู้จักประมาณว่า ควรรับเพียงเท่านั้น ควรบริโภคเท่านั้น ควรแจกจ่ายเท่านั้น รู้จักพอเหมาะพอดีในการรับในการใช้ตลอดถึงทําอะไรก็ให้ พอเหมาะพอดี เรียกมัตตัญญู รู้ประมาณ หรือมัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้ประมาณ ดังนั้น เมื่อรวมคําว่า โภชเน และมัตตัญญุตา จะได้ศัพท์ว่า โภชเนมัตตัญญุตา หมายความว่า ความเป็นผู้รู้จักประมาณใน
๓ องฺ.สตฺตก. (ไทย) ъ๓/๖๘/e๔๔.
๔ ขุ.ธ. (ไทย) ъ๕/๓ъ๕/e๓๔.
๕ สํ.ส. (ไทย) e๕/eъ๔/e๔๕.
การบริโภคอาหาร รู้จักประมาณในการกิน คือ กินเพื่อหล่อเลี้ยงร่างกายให้ชีวิตเป็นอยู่ได้ผาสุก มิใช่เพื่อสนุกมัวเมา๖
พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงหลักธรรมเรื่องโภชเนมัตตัญญุตา เพราะอาหารเป็นปัจจัยที่สําคัญ ต่อการดํารงชีวิต ด้วยวิธีการพิจารณาความรู้จักพอประมาณในการรับประทานอาหารเพราะอาหาร นั้นอาจจะส่งผลให้เป็นคุณ หรือโทษแก่ชีวิตได้เหมือนกัน การบริโภคจึงต้องอาศัยหลักพิจารณา เพื่อให้เกิดความเข้าใจถึงคุณค่าของอาหารให้ถ่องแท้ก่อนที่จะบริโภค คําสอนจึงมุ่งให้พิจารณาด้วย ปัญญาทั้งก่อนและหลังบริโภคอาหาร เพื่อป้องกันมิให้กิเลสเฟื่องฟูขึ้นในใจพระองค์ทรงสอนให้ภิกษุผู้ ถือการอยู่ป่าเป็นวัตร ทรงสอนให้ภิกษุคุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลายแล้วต้องเป็นผู้รู้ประมาณใน การบริโภคโภชนะ ให้ภิกษุทั้งหลายปฏิบัติธรรม เพื่อความสิ้นอาสวะโดยให้ภิกษุรู้ประมาณในการ บริโภคโภชนะ นอกจากนี้พระสารีบุตรเถระได้สอนภิกษุรูปหนึ่งให้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย และรู้ประมาณในการบริโภคอาหาร และพระเถระยังได้อธิบายวิธีการบริโภคโภชนะที่พอประมาณไว้ ตามหลักการพิจารณาตังขณิกปัจจเวกขณวิธี๗
ในหลักธรรมของโภชเนมัตตัญญุตา มีข้อความว่า ความมักน้อยสันโดษ การถือธุดงควัตร การบริโภคโภชนะ เพื่อให้เห็นความเป็นปฏิกูลในอาหาร เหล่านี้เป็นหลักธรรมที่ปฏิบัติเพื่อขจัดความ โลภ และความริษยา ไม่ให้ยึดติดในลาภสักการะ แต่เป็นการปฏิบัติเพื่อการละกิเลส โภชเนมัตตัญญุตา จะต้องปฏิบัติควบคู่ไปกับหลักธรรมเหล่านี้ ซึ่งเป็นการเกื้อกูล อุปการะซึ่งกันและกัน จึงจะสามารถนํา ผู้ปฏิบัติไปสู่การปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนาคือพระนิพพานได้๘
การปฏิบัติโภชเนมัตตัญญุตาในการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนา คือ การมีสติสัมปชัญญะใน การตามรู้อิริยาบถขณะบริโภคอย่างต่อเนื่อง จนเห็นสภาวะของรูปนามขณะบริโภคตามความเป็น จริงว่า การบริโภคนั้นเกิดจากสภาวะของรูป และนามเท่านั้น จนเป็นเหตุให้ผู้ปฏิบัติเข้าใจในพระ ไตรลักษณ์ว่า รูปนามไม่เที่ยง เพราะเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไปมีสภาพเป็นทุกข์ เพราะถูกความเกิด ดับบีบคั้นอยู่เสมอ และไม่ใช่ตัวตน เพราะไม่อาจบังคับรูปนามให้เที่ยงและเป็นสุขได้
นอกจากหลักโภชเนมัตตัญญุตานี้แล้ว หลักโภชนจํากัดยังมีสาระสําคัญคือการจํากัด ปริมาณในการบริโภค ดังที่พระสารีบุตรเถระได้แนะวิธีการบริโภคอาหารแก่พระภิกษุ ท่านได้กล่าว สอนไว้ในสารีปุตตเถรคาถาว่า ขณะที่บริโภคอาหาร ไม่ว่าจะเป็นอาหารสด หรืออาหารแห้งก็ตามภิกษุ ไม่ควรบริโภคในปริมาณที่มาก หรือน้อยเกินไป ควรบริโภคให้พอเหมาะแก่อัตภาพของตนเมื่อบริโภค อาหารเหลือ ๔-๕ คําก่อนที่จะอิ่ม ให้ดื่มน้ําก่อนแล้วจึงบริโภคส่วนที่เหลือ เพื่อให้ร่างกายรู้สึกสบาย
๖ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์, พิมพ์ครั้งที่ ъe, (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์ผลิธัมม์, ъ๕๕๖), หน้า ъ๐๙.
๗ ดูรายละเอียดใน สํ.สฬา. (ไทย) e๘/eъ๐/e๔e.
๘ จารวี มั่นสินธร, “ศึกษาโภชเนมัตตัญญุตาในการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนา”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ъ๕๕๖), บทคัดย่อ.
ไม่อึดอัด วิธีการเช่นนี้ย่อมเป็นแนวทางปฏิบัติสําหรับภิกษุผู้มีใจเด็ดเดี่ยวต่อการปฏิบัติเพื่อมุ่งสู่พระ นิพพาน๙
๔.๑.๒ อาหาเรปฏิกูลสัญญา
สาระหลักของอาหาเรปฏิกูลสัญญา คือ ความกําหนดรับประทานอาหารโดยกําหนดว่า อาหารที่จะรับประทานเป็นของปฏิกูล เพื่อไม่ให้เกิดความเพลิดเพลินมัวเมาในการรับประทาน อาหาร ในหลักนี้พระพุทธเจ้าได้สอนให้พิจารณาอาหารในขณะบริโภคด้วยความไม่ประมาท ไม่ให้กินด้วยความเพลินเพลิงสนองตัณหา ดังพระพุทธพจน์ว่า
ภิกษุในธรรมวินัยนี้พิจารณาโดยแยบคายแล้วฉันอาหาร ไม่ใช่เพื่อเล่น ไม่ใช่เพื่อมัวเมา ไม่ใช่เพื่อประดับ ไม่ใช่เพื่อตกแต่ง แต่เพียงเพื่อความดํารงอยู่ได้แห่งกายนี้ เพื่อให้กายนี้ เป็นไปได้ เพื่อกําจัดความเบียดเบียน เพื่ออนุเคราะห์พรหมจรรย์ด้วยคิดเห็นว่า เราจักกําจัด เวทนาเก่า และจักไม่ให้เวทนาใหม่เกิดขึ้นความดําเนินไปแห่งกาย ความไม่มีโทษ และความ อยู่ผาสุกจักมีแก่เราe๐
จากพุทธพจน์นี้ สามารถจําแนกเป็นลักษณะการบริโภคอาหารตามแนวพุทธวิธีได้ ๖ ประการ ดังนี้
e) ไม่รับประทานอาหารเพียงแต่ว่ากินเล่น อธิบายว่า เพื่อเล่น คือ ทําเป็นเครื่องหมาย กีฬา เหมือนอย่างพวกเด็กขาวบ้าน เป็นต้น
ъ) ไม่รับประทานอาหารด้วยความมัวเมาหลงในรสชาติ อธิบายว่า เพื่อความมัน คือ เป็นเครื่องหมายของความเมากําลัง และเป็นเครื่องหมายของความเมาเป็นบุรุษ เหมือนพวกนักมวย เป็นต้น
๓) ไม่รับประทานอาหารด้วยหวังว่าเป็นเครื่องประดับประดา อวดฐานะมั่งมี อธิบายว่า เพื่อประดับ คือ เป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นผู้มีองค์อวัยวะน้อยใหญ่อิ่มเต็ม เหมือนกับพวกหญิง ชาววังและหญิงแพศยา เป็นต้น
๔) ไม่รับประทานอาหารด้วยหวังว่าจะตกแต่งร่างกาย อธิบายว่า เพื่อตกแต่ง คือ เป็น เครื่องหมายแห่งความเป็นผู้มีผิวพรรณผ่องใส เหมือนกับหญิงละครและพวกหญิงช่างฟ้อน เป็นต้น
๕) ให้บริโภคอาหารเพื่อให้กายนี้ดํารงอยู่ หมายถึง ความตั้งอยู่แห่งอัตภาพ คือ มหาภูตรูป
๔ ได้แก่ ดิน น้ํา ไฟ ลม นับว่าเป็นประโยชน์หลักประการหนึ่งแห่งการบริโภคอาหาร เพื่อช่วยให้ ร่างกายมีความสมบูรณ์แข็งแรง สามารถประกบกิจการงานในหน้าที่ของตนได้ตามปกติและดํารงอยู่ สืบเนื่องกันไป
๖) ให้บริโภคอาหารเพื่อให้ชีวิตินทรีย์เป็นไป คือ การบริโภคอาหารเพื่อรักษาชีวิตอาไว้ให้ อยู่ในร่างกายต่อไป ไม่ใช่มีแต่ร่างกายแต่ปราศจากชีวิตหรือมีแต่ชีวิตแต่ไร้ร่างกาย การบริโภคอาหาร จึงเป็นไปเพื่อเกิดสิ่ทั้งสองอย่างรวมกันอย่างสมดุลและดํารงอยู่ต่อไป
๙ ขุ.เถร. (ไทย) ъ๖/๙๘ъ–๙๘๓/๕๐๐.
e๐ องฺ.ติก. (ไทย) ъ๐/e๖/e๕๙-e๖๐.
๗) ให้บริโภคอาหารเพื่อกําจัดความเบียดเบียน ความเบียดเบียนก็คือความหิว การบริโภค อาหารจึงเป็นไปเพื่อกําจัดหรือระงับความหิวซึ่งเป็นเวทนาเก่า และป้องกันไม่ให้เวทนาใหม่เกิดขึ้น ก็ คือ ความไม่สบายกาย อันเกิดจากการบริโภคเกิดประมาณ
๘) ให้บริโภคอาหารเพื่ออนุเคราะห์พรหมจรรย์ คือ ศาสนาทั้งหลวงอย่างหนึ่ง หมายความ ว่า เมื่อร่างกายได้รับการหล่อเลี้ยงด้วยอาหารสมบูรณ์แล้วก็อํานวยประโยชน์ด้วยการทําความดี ทํา คุณประโยชน์ ъ หน้าที่ ส่วนตัวและส่วนรวม พรหมจรรย์หมายถึง การครองชีวิตประเสริฐ การ ประพฤติดีงามที่ประเสริฐee
เมื่อสามารถกําหนดละ คลาย ถอน ความยึดมั่นถือมั่นในรสชาติของอาหารได้แล้ว จึงจะ เป็นแนวทางการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง เพราะความไม่ยินดีและความเมาอาหารนั้น อริยมรรคจึงบริสุทธิ์ได้eъ แนวทางปฏิบัติข้างต้นนี้ได้รับการถ่ายทอดออกมาเป็นรูปแบบการพิจารณา อาหารสําหรับพระภิกษุจนถึงปัจจุบัน ดังปรากฏในบทพิจารณาอาหารปฏิสังขาโยที่พระภิกษุพิจารณา ก่อนฉันอาหารบิณฑบาต ว่า
ปฏิสังขา โยนิโส ปิณฑะปาตัง ปะฏิเสวามิ ข้าพเจ้าพิจารณาแล้วโดยแยบคาย คือพิจารณา โดยใช้ปัญญาไตร่ตรองอย่างดีแล้ว คํานึงถึงเหตุผลแล้ว จึงฉันอาหารบิณฑบาต
เนวะ ทะวายะ นะ มะทายะ นะ มัณฑะนายะ นะ วิภูสะนายะ (โดยรู้ตระหนักว่า) มิใช่เพื่อ จะสนุกสนาน เห็นแก่เอร็ดอร่อยหลงมัวเมา สวยงามโอ่อ่าโก้เก๋
ยาวะเทวะ อิมัสสะ กายัสสะ ฐิติยา ยาปะนายะ ที่ฉันนี้ก็เพื่อให้ร่างกายนี้ดํารงอยู่ ให้ชีวิต ดําเนินไปได้
วิหิงสุปะระติยา เพื่อระงับความหิวกระหาย หรือการขาดอาหาร ซึ่งเป็นภาวะที่บีบคั้น เบียดเบียนร่างกาย
พรหมจริยานุคคหายะ เพื่ออนุเคราะห์พรหมจริยะ คือ เพื่อเกื้อหนุนชีวิตที่ประเสริฐ ชีวิตที่
ดีงาม
อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหังขามิ ด้วยการทําอย่างนี้ เราย่อมระงับเสียได้ซึ่งทุกขเวทนา
เก่าคือความหิว
เนวัญจะ เวทะนานัง นะ อุปปา เทสสามิ และไม่ทําทุกขเวทนาใหม่ให้เกิดขึ้น
ยาตรา จะ เม ภะวิสสะติ อะนะวัชชะตา จะ ผาสุวิหาโร จาติ ความเป็นไปโดยสะดวกแห่ง อัตภาพนี้ด้วย ความเป็นผู้หาโทษมิได้ด้วย และความเป็นอยู่โดยผาสุกด้วย จักมีแก่เราe๓
จุดมุ่งหมายของการพิจารณาอาหารและหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญานี้ก็เพื่อไม่ให้กินจนเกิน ประมาณพอดี ให้รังเกียจในการกินที่เกินประมาณ ในพุทธศาสนาสายเถรวาท จึงมีกุสโลบายให้กิน อาหารน้อยลง ดังได้แสดงท่าทีต่อการกินอาหารว่า “ดุจกินเนื้อบุตรของตน”e๔ พระสูตรนี้เล่าว่า
ee นนทวัฒน์ ปรีดาภัทรพงษ์, “การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพแนวพุทธ”, วารสารบัณฑิตศาสน์ มมร., ปีที่ e๓ ฉบับที่ ъ (กรกฎาคม-ธันวาคม ъ๕๕๘): ъ๔-๓๕.
eъ สํ.ส. (ไทย) e๕/e๖/e๕.
e๓ นนทวัฒน์ ปรีดาภัทรพงษ์, “การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพแนวพุทธ”, ъ๔-๓๕.
e๔ สํ.นิ. (ไทย) e๖/๖๓/eъ๐.
พุทธะสอนให้สาวกกินอาหารประดุจชายหญิงคู่หนึ่งที่ต้องข้ามทะเลทรายอันกันดาร จําต้องฆ่าบุตร ของตนนําเนื้อมากินเพื่อไม่ให้ตนเองตาย ฉันใดก็ฉันนั้น ให้สาวกกินอาหารทั้งหลายดุจกินเนื้อบุตร คือไม่ได้เป็นไปเพื่อความเพลิดเพลินแต่เพื่อยังชีพให้รอดเท่านั้น
๔.๑.๓ แนวทางปฏิบัติตามหลักโภชนจํากัด
จากหลักการของโภชเนมัตตัญญุตาและหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญากรรมฐาน สามารถสรุป เป็นแนวทางปฏิบัติตามหลักโภชนบําบัดได้ ดังนี้
e) พิจารณาก่อนที่จะรับประทานอาหารว่า การรับประทานอาหารครั้งนั้นมีความจําเป็น หรือยัง รับประทานถูกต้องตามกาลหรือยัง อาหารที่จะรับประทานนั้นมีประโยชน์หรือมีโทษ เป็นอาหารแสลงต่อร่างกายหรือไม่ เป็นอาหารที่จะทําให้เกิดการสะสมของโรคภัยไข้เจ็บหรือไม่ การพิจารณาอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมจะช่วยให้ร่างกายได้รับแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์ ไม่เป็นโทษใน ภายหลัง
ъ) หยุดพฤติกรรมการกินอาหารจุบจิบ คือ หยุดรับประทานอาหารที่ไม่เป็นเวลาของ อาหาร งดอาหารกินเล่นระหว่างมื้อ เช่น ขนมหวาน เป็นต้น ควรกินอาหารตามมื้อตามคาบที่ เหมาะสม
๓) ไม่รับประทานอาหารด้วยความมัวเมาหลงในรสชาติ เพราะหากรับประทานอาหารตาม รสชาติที่ตนชอบใจจะทําให้รับประทานไม่ยอดหยุด จนกลายเป็นการรับประทานเกินพอดี เพราะอาหารที่รสชาติถูกใจจะทําให้เกิดความเมามันในการกิน
๔) ไม่รับประทานอาหารด้วยหวังว่าเป็นเครื่องประดับประดา อวดฐานะมั่งมี กินเพื่อความ หรูหรา เป็นการพอกพูนกิเลสให้เกิดขึ้น การกินอาหารเพื่อประดับประดานั้นส่วนมากจะเป็นอาหาร ส่วนที่เกินความจําเป็น
๕) ไม่รับประทานอาหารด้วยหวังว่าจะตกแต่งร่างกาย เพราะธรรมดาว่าการกินอาหารที่มี ประโยชน์ครบตามหลักโภชนาก็เพียงพอต่อร่างกายแล้ว การกินอาหารเสริมนอกจะเป็นการเพิ่ม สารอาหารให้แก่ร่างกายจนเกินพอแล้ว ยังเป็นการสิ้นเปลืองอีกด้วย
๖) ให้รับประทานเพื่อกําจัดความเบียดเบียน คือ ความหิวที่เกิดขึ้น หรือกินเพียงเพื่อให้ หายหิว ไม่ให้เกิดความทุกข์ทรมานด้วยความหิว เมื่ออิ่มแล้วก็ควรหยุดกิน ไม่เกิดตัณหา ความเสียดาย อาหารที่เหลือนั้นอีก อนึ่ง หากจะปฏิบัติให้ยิ่งยวดกว่านี้ ควรหยุดกินก่อนที่จะอิ่มสัก ๓-๔ ค่ํา เพื่อดื่ม น้ําให้เติมเต็มในภายหลัง
๗) ให้รับประทานเพื่อส่งเสริมสุขภาพของตนเองให้มีเรี่ยวแรงในการดําเนินกิจการต่างๆ ได้ ให้มีร่างกายแข็งแรง สุขภาพสมบูรณ์ โดยมุ่งหมายให้สามารถบําเพ็ญกุศลได้อย่างเต็มที่ สร้างบารมีได้ อย่างสมบูรณ์
หลักการดังกล่าวมาข้างต้นเป็นแนวทางปฏิบัติในการจํากัดปริมาณอาหาร เพื่อให้เกิดความ พอดี ซึ่งเป็นหลักสําคัญของพระพุทธศาสนาที่เรียกว่า มัชฌิมปฏิปทา ไม่ควรบริโภคในปริมาณที่มาก หรือน้อยเกินไป ควรบริโภคให้พอเหมาะแก่อัตภาพของตน ความพอดีเหล่านี้จะนําไปสู่จุดหมายแห่ง ความมีชีวิตที่ดีงาม
๔.๒ หลักโภชนปฏิบัติ
ในพระไตรปิฎกมีข้อความสําคัญเกี่ยวกับการกินอาหารความว่า “มนุษย์ผู้มีสติอยู่ทุกเมื่อ รู้จักประมาณในโภชนะที่ได้แล้วย่อมมีเวทนาเบาบางเขา ย่อมแก่ช้า อายุก็ยั่งยืน”e๕ สาระสําคัญของ การบริโภคอาหาร คือ สติเพื่อให้รู้จักประมาณในอาหาร หลักการโภชนปฏิบัติจึงเป็นหลักของกสารมี สติในการบริโภค โดยประยุกต์มาจากคําสอนเรื่องพุทธวิธีในการบริโภคและบทโภชนปฏิสังยุต มีรายละเอียดดังนี้
๔.๒.๑ พุทธวิธีในการบริโภค
ในพระไตรปิฎกได้กล่าวถึงกิริยาอาการของพระพุทธเจ้าในการบริโภคอาหารเอาไว้ อันเป็น แบบอย่างที่ดีที่สามารถจะได้เอาเป็นแบบอย่างในการประพฤติปฏิบัติในการบริโภคได้ ดังความว่า
ท่านพระโคดมพระองค์นั้นเสวยพระกระยาหารพอประมาณคําข้าว ไม่ทรงทํากับข้าวให้ เกินกว่าคําข้าว ทรงเคี้ยวคําข้าวข้างในพระโอษฐ์สองสามครั้งแล้วทรงกลืน ข้าวยังไม่ละเอียด ไม่ทรงกลืนลงไป ไม่มีข้าวเหลืออยู่ในพระโอษฐ์จึงน้อมคําข้าวอีกคําหนึ่งเข้าไป ทรงมีปกติ กําหนดรสอาหารแล้วเสวยอาหาร แต่ไม่ทรงติดในรสe๖
เวลาในการบริโภคของพระพุทธเจ้านั้น พระองค์ทรงบริโภคอาหารเพียงวันละมื้อเท่านั้น คือ ในเวลาเช้าe๗ พระองค์ได้ให้เหตุผลว่า บริโภคเพียงนี้ก็อยู่ได้อย่างสบาย ทําให้มีโรคภัยไข้เจ็บน้อย ร่างกายเบาสบายมีกําลังและคล่องตัว เพราะถ้าบริโภคมาก โรคภัยไข้เจ็บมักมีมากับอาหารนั้น และเกินความจําเป็น ดังที่พระองค์ตรัสกะภิกษุทั้งหลายว่า
เราฉันอาหารมื้อเดียว เราเมื่อฉันอาหารมื้อเดียว ย่อมรู้สึกว่ามีอาพาธน้อย มีความลําบาก กายน้อย มีความเบากาย มีกําลัง และอยู่อย่างผาสุกมาเถิด แม้พวกเธอก็จงฉันอาหารมื้อ เดียว แม้เธอทั้งหลายเมื่อฉันอาหารมื้อเดียวจักรู้สึกว่ามีอาพาธน้อย มีความลําบากกายน้อย มีความเบากาย มีกําลัง และอยู่อย่างผาสุกe๘
การอดอาหารของพระพุทธเจ้าตามพระไตรปิฎกนั้นหมายถึง การรับประทานอาหารมื้อ เดียวและหยุดพักการกินติดต่อกันหลังจากนั้นเป็นเวลา ъ๓ ชั่วโมง แล้วจึงกลับมารับประทานอาหาร ใหม่ ทําเช่นนี้เป็นประจําทุกวัน โดยเฉลี่ยจึงได้รับปริมาณแคลอรี่น้อยกว่าคนปกติที่รับประทานอาหาร
๓ มื้อ ประมาณร้อยละ ๖๖ จึงไม่ทําให้เกิดพลังงานสะสมอันจะเป็นการก่อให้เกิดโรคร้ายตามมมา xxxx ไขมันในเส้นเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น ด้วยเหตุนี้พระพุทธเจ้าจึงชวนภิกษุ ทั้งหลายให้งดเว้นการรับประทานอาหารในยามxxxxx ดังปรากฏในมัชฌินิกาย มัชฌิมปัณณาสก์
e๕ สํ.ส. (ไทย) e๕/eъ๔/e๔๕.
e๖ ม.ม.(ไทย) e๓/๓๗๘/๔๗๙.
e๗ ฉันมื้อเดียว คือ ตั้งแต่ดวงxxxxxxxขึ้นจนถึงเวลาเที่ยงวัน แม้ภิกษุฉันอาหาร e๐ ครั้ง ในช่วงเวลานี้ก็ xxxxxxxว่า ฉันอาหารมื้อเดียว ม.มู.อ. (ไทย) ъ/ъъ๕/๓.
e๘ ม.มู. (ไทย) e๓/ъъ๕/ъ๓๖.
พระพุทธเจ้าได้กล่าวxxxxxxงดเว้นอาหารในเวลาxxxxx และทรงแนะนําภิกษุทั้งหลายให้งดเว้นการกิน อาหารในเวลาxxxxx ความว่า
ภิกษุทั้งหลาย เราไม่ฉันxxxxxในxxxxxเลย เราเมื่อไม่ฉันxxxxxในxxxxxxxรู้สึกว่าสุขภาพมี โรคาพาธน้อย กระปรี้กระเปร่า มีพลานามัยxxxxxxx อยู่สําราญ มาเถิด ภิกษุทั้งหลาย แม้เธอ ทั้งหลายก็จงอย่าฉันxxxxxในxxxxxเลย เธอทั้งหลายเมื่อไม่ฉันxxxxxในxxxxx xxจักรู้สึกว่า สุขภาพมีโรคาพาธน้อย กระปรี้กระเปร่ามีพลานามัยxxxxxxx อยู่สําราญe๙
จากข้อความนี้ทําให้เห็นถึงอานิสงส์ของการไม่รับประทานอาหารในเวลากลางคืน [น่าจะหมายรวมเอาเวลาตั้งแต่หลังเที่ยงวันเป็นต้นไปตามพระxxxxx] ๔ ข้อ คือ
e) ร่างกายมีxxxxxxx
ъ) มีความxxxxxxxx ประปรี้กระเปร่า
๓) มีพลานามัยxxxxxxx
๔) มีสุขภาพดี
จากข้อความทั้ง ๓ ข้อความxxxxxxยกมาเป็นตัวอย่างนี้ xxxxxxสรุปเป็นพุทธวิธีการบริโภค ของพระพุทธเจ้าได้ดังนี้
e) พระพุทธเจ้ามีxxxxเสวยพระเสวยxxxxxxxxxxxxxxxxxxxคําข้าว ไม่ทําคําข้าวให้ ใหญ่หรือเล็กเกินไป
ъ) พระพุทธเจ้าทรงเคี้ยวคําข้าวข้างในพระโอษฐ์สองสามครั้งแล้วทรงกลืน ข้าวยังไม่ ละเอียดไม่ทรงกลืนลงไป
๓) พระพุทธเจ้าเสวยข้าวทีละคํา เมื่อไม่มีข้าวเหลืออยู่ในพระโอษฐ์จึงน้อมคําข้าวอีกคํา
หนึ่งเข้าไป
๔) ทรงมีxxxxกําหนดรสอาหารเพื่อให้xxxxxxxกําหนดรู้ แล้วจึงเสวยอาหาร แต่ไม่ทรงติดใน
รสอาหารนั้นๆ
๕) พระพุทธจ้าเสวยxxxxxxxxxxxxxxละ e มื้อ
๖) พระพุทธเจ้าไม่เสวยพระกระยาหารในเวลากลางคืน
พุทธวิธีในการบริโภคอาหาร xxxxxxสรุปได้ว่าเป็นการกินอาหารxxxxxxxxxxxตามหลัก โภชเนมัตตัญญุตาและยังxxxxxกรอบเวลามาด้วย คือ ไม่กินอาหารในเวลากลางคืน และจํากัดปริมาณ การกินอาหารในแต่ละวันให้เหลือเพียง e มื้อเท่านั้น การไม่กินอาหารในเวลากลางคืนนั้นเนื่องจาก เวลากลางคืนเป็นเวลาที่ร่างกายพักผ่อน ร่างกายจะไม่ทําการย่อยอาหาร แต่หากมีการย่อยอาหารจะ ทําให้การนอนหลับไม่สนิท เพราะมีการใช้พลังงานตลอดเวลา อันจะทําให้เกิดโรคอื่นๆ ตามxx xxxx การจํากัดอาหารวันละมื้อนั้นก็เพื่อไม่เกิดอาหารส่วนเกินกว่าที่ร่างกายต้องการ แต่ในสังคมปัจจุบันที่ ฆราวาสต้องออกแรงเพื่อทํางานควรกินอาหารวันละ ъ มื้อเพื่อให้มีกําลังในการทํางาน แต่ละมื้อก็ควร รับประทานให้พอดีเท่านั้น
e๙ ม.ม. (ไทย) e๓/e๗๔/ъ๐e.
๔.๒.0 xxxxxxxxxxxxx
โภชนปฏิสังยุตเป็นหัวข้อxxxxxสําหรับพระภิกษุในหมวดเสขิยวัตร ว่าด้วยการรับประทาน อาหาร แม้ศัพท์จะแสดงเป็น บิณฑบาต แต่โดยเนื้อหาหมายถึงอาหารъ๐ แม้ในพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ъ๕๔ъ ก็ได้ให้ความหมายของคําว่า บิณฑบาต แปลว่า อาหาร ด้วย xxxxกันъe ดังนั้น เมื่อจะกล่าวถึงxxxxxxการรับประทานอาหารจะเว้นเรื่องบิณฑบาตนี้เสียxxxxxx โภชนปฏิสังยุต เป็นบทบัญญัติเกี่ยวกับกิริยาxxxxxxในการฉันอาหารบิณฑบาต แบ่งออกเป็น ๓ กลุ่ม คือ
บิณฑบาต
e) สักกัจจวรรค กลุ่มว่าด้วยความเคารพในอาหาร มี e๐ สิกขาบท ดังนี้ xxxxxxxxxx e ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักฉันบิณฑบาตโดยเคารพ
xxxxxxxxxx ъ ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักให้ความสําคัญในบาตรขณะฉัน
xxxxxxxxxx ๓ ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักฉันบิณฑบาตไปตามลําดับ
xxxxxxxxxx ๔ ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักฉันบิณฑบาตพอเหมาะกับแกง xxxxxxxxxx ๕ ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักไม่ฉันบิณฑบาตขยุ้มลงแต่ยอด xxxxxxxxxx ๖ ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักไม่ใช้ข้าวสุกกลบแกงหรือกับข้าว
เพราะอยากได้มาก
xxxxxxxxxx ๗ ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักxxxxxxxxxขอแกง หรือข้าวสุก
มาฉันส่วนตัว เหล่าอื่น
xxxxxxxxxx ๘ ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักไม่มุ่งตําหนิxxxxxบาตรของภิกษุ
xxxxxxxxxx ๙ ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักไม่ทําคําข้าวให้ใหญ่เกิน xxxxxxxxxx e๐ ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักไม่ทําคําข้าวให้กลม
เข้าในปาก
ъ) กพฬวรรค หมวดว่าด้วยคําxxxx xx e๐ สิกขาบท ดังนี้
xxxxxxxxxx e ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักไม่อ้าปากรอคําข้าวที่ยังไม่ถึงปาก xxxxxxxxxx ъ ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า ขณะกําลังฉัน เราจักไม่สอดมือทั้งหมด
xxxxxxxxxx ๓ ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า ขณะที่ในปากมีคําข้าวเราจักไม่พูดคุย xxxxxxxxxx ๔ ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักไม่ฉันโยนคําข้าว
xxxxxxxxxx ๕ ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักไม่กัดคําข้าว
xxxxxxxxxx ๖ ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักไม่ฉันอาหารทํากระพุ้งแกมตุ่ย
ъ๐ พระxxxxx อุตฺตโร (xxxxxx), “การศึกษาเชิงวิเคราะห์การบริโภคปัจจัย ๔ เพื่อสนับสนุนการxxxxx ธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา, (xxxxxx วิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ъ๕๕๕), หน้า e๓.
xx ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, (กรุงเทพมหานคร: นานมี บุคส์พลับลิเคชั่น, ъ๕๔๖), หน้า ๖ъ๖.
xxxxxxxxxx ๗ ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักไม่ฉันสลัดมือ xxxxxxxxxx ๘ ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักไม่ฉันโปรยเม็ดข้าว xxxxxxxxxx ๙ ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักไม่ฉันแลบลิ้น xxxxxxxxxx e๐ ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักไม่ฉันxxxxxxxxจั๊บๆ
๓) สุรุสุรุวรรค หมวดว่าด้วยการฉันดังซู้ดๆ เกี่ยวกับการฉันอาหารบิณฑบาต มี ๕ สิกขาบท ดังนี้
อาหาร
xxxxxxxxxx e ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักไม่ฉันทําxxxxxxxxซู้ดๆ xxxxxxxxxx ъ ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักไม่ฉันเลียมือ xxxxxxxxxx ๓ ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักไม่ฉันเลียบาตร xxxxxxxxxx ๔ ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักไม่ฉันเลียริมฝีปาก
xxxxxxxxxx ๕ ภิกษุพึงทําความสําเหนียกว่า เราจักไม่จับภาชนะน้ําดื่มด้วยมือเปื้อน
หมวดโภชนปฏิสังยุตนี้ เป็นxxxxxxในการกินอาหาร ผู้วิจัยจึงลงไว้ในหมวดโภชนปฏิบัติ
คือ วิธีปฏิบัติในการกินอาหาร เพื่อให้การกินอาหารมีความเหมาะสมทั้งด้านหลักการและวิธีการ โดยจะนําหลักโภชนปฏิสังยุตไปวิเคราะห์ร่วมกันพุทธวิธีในการบริโภค ให้เป็นแนวทางตามหลัก โภชนปฏิบัติต่อไป
๔.๒.๓ แนวทางปฏิบัติตามหลักโภชนปฏิบัติ
จากการศึกษาพุทธวิธีในการบริโภคและหลักโภชนปฏิสังยุต xxxxxxสรุปเป็นแนวทาง ปฏิบัติตามหลักโภชนปฏิบัติได้ ดังนี้
e) ควรกินข้าวที่มีขนาดคําxxxx xxxใหญ่เกินไป ไม่เล็กเกินไป เพื่อให้สะดวกต่อการเคี้ยว ข้าวให้ละเอียด และไม่เกิดอาการสําลักอาหาร ตักข้าวมากเกินไป เมื่ออยู่ในปากจะทําให้เคี้ยวไม่ สะดวกและเป็นภาพxxxxxxxxxxx ตักข้าวน้อยเกินไปเวลาเคี้ยวxxxxxxx อาจเผลอไปกัดลิ้นหรือริมฝีปาก ตนเองได้
ъ) ควรเคี้ยวข้าวให้ละเอียดทุกคําข้าวก่อนกลืนลงคอ เพื่อลดการทํางานของกระเพาะ อาหารในการบีบย่อยอาหาร หากกระเพาะทํางานหนักจะทําให้เกิดความง่วงซึมเนื่องจากใช้พลังงาน ไปมาก อีกทั้งยังทําให้ร่างกายไม่xxxxxxดูดซับสารอาหารได้อย่างเต็มที่
๓) ควรกินข้าวทีละคํา ไม่ควรกินอย่างมุมมาม หรือรีบกินจนเกิดอาหารสําลักอาหาร หรือ อาหารไหลลงไปอุดตันในหลอมลม ควรนําแนวทางของกรรมฐานมากําหนดในการเคี้ยวข้าวด้วยบทว่า เคี้ยวหนอ หรือกําหนดนับการเคี้ยวข้าวให้ได้อย่างน้อยคําละ ъ๐ ครั้ง
๔) ควรกําหนดรสชาติของอาหารxxxxxxx ไม่เผ็ดเกินไป ไม่หวานเกินไป ไม่เค็มเกินไป เพราะ อาหารที่รสจัดในทางใดก็ตามล้วนส่งผลเสียต่อสุขภาพทั้งนั้น
๕) ไม่ควรกินข้าวในเวลากลางคืน เพราะจะทําให้เป็นพลังงานสะสม อันเป็นบ่อเกิดของโรค ร้าย สําหรับอาหารเย็นควรกินก่อนเวลาค่ํา ไม่ควรเกิน e๗.๐๐ น. เพื่อให้ร่างกายได้มีจังหวะย่อย สลายได้อย่างxxxxxxx
๖) ควรมีxxxxxxในการรับประทานอาหาร ไม่ทําxxxxxxxx xxxxxxxคําข้าว ไม่กินxxxxxxxxจน น่ารังเกียจ เพราะxxxxxxเหล่านี้ทําให้ตนเองเป็นxxxxxxรังเกียจของผู้อื่น
๗) ควรมีความเคารพในอาหาร ในข้าว ในคนปรุงอาหาร เพราะอาหารxxxxxxมาแต่ละอย่าง นั้น ล้วนเป็นผลผลิตจากหยาดเหงื่อและแรงงานทั้งสิ้น ความเคารพในอาหารxxxxxxทําได้โดยไม่กิน อาหารแบบxxxxx xxxxxx
หลักการดังกล่าวมาข้างต้นเป็นแนวทางปฏิบัติในการรับประทานอาหาร เพื่อให้การ รับประทานอาหารเป็นการสืบทอดชีวิต ไม่ใช่การxxxxxxxชีวิต และเป็นการรับประทานอาหารเพื่อ สุขภาพอย่างแท้จริง รวมทั้งเป็นxxxxxxxxxควรปฏิบัติในการรับประทานอาหาร
๔.๓ xxxxxxxxxxxxx
ในพระพุทธศาสนาxxxxxxประยุกต์หลักการกินอย่างมีสติและการกินเพื่อสุขภาพมาเป็น หลักโภชนเภสัชหรือการกินอาหารเป็นยา ได้ดังนี้
๔.๓.๑ การกินอย่างมีสติ
การกินอย่างมีสติได้รับการกล่าวถึงในยุคปัจจุบันมากขึ้นแล้ว ภาษาอังกฤษใช้ศัพท์ว่า mindful eating เป็นรูปแบบของการบริโภคอาหารที่ให้ความสําคัญกับความตั้งใจและความใส่ใจใน พฤติกรรมการรับประทานอาหาร แนวคิดของ mindful eating การคือให้ความสําคัญกับการรับรู้ กลไกความหิวของร่างกาย รับประทานอาหารเมื่อหิว ไม่ใช่เมื่ออยาก มีความxxxxxxxxxว่าร่างกาย xxxxxxบอกเราได้ว่าเมื่อใดที่ร่างกายxxxxกับอาหาร และควรหยุดรับประทาน ใช้xxxxxxสัมผัสใน การช่วยตัดสินใจเลือกอาหารเพื่อบริโภคเพื่อให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อร่างกาย (โภชนาการ) และจิตใจ (ความสุข) ไม่ตัดสินอาหาร (ว่าดีหรือxxxxx) หรือรู้สึกผิดหลังจากบริโภคอาหารไปแล้ว แต่ให้บริโภค อาหารด้วยความxxxxxxxxxจะดูแลตนเอง
คําอธิบายของการกินอย่างมีสติ คือ การเปลี่ยนจากแนวคิดการมุ่งเน้นไปที่การกินเพื่อให้ ได้รับแคลอรี สารอาหารเหมาะสม กินเพื่อลดน้ําหนัก เป็นการกินเพื่อดูแลร่างกายตนเอง แนวคิดนี้ เชื่อว่ามนุษย์มีความxxxxxxในการเลือกอาหารที่เหมาะสมให้กับตัวเองอยู่แล้ว รู้ว่าแบบแผนอาหาร แบบใดที่เหมาะสมกับตัวเองที่สุด แนวคิดนี้เป็นการนําเสนอให้กลับไปมองตัวเองอย่างเข้าใจและ รอบคอบ เพื่อหาจุดxxxxxxxxร่างกายจะxxxxxxxxxxxxxxxกับการบริโภคอาหารได้ โดยที่ทําให้สุขภาพ xxxxxxxxxไปด้วยพร้อมๆ กัน
การกินอย่างมีสติจึงเป็นการควบคุมการกินอาหารด้วยความรู้สึกรับผิดชอบในตนเอง ไม่ ปล่อยให้การกินมาทําร้ายตนเองได้ xxxxx xxxตนเองก็รู้ดีว่าการกินครั้งนั้นร่างกายรับได้แค่ไหน เพียงใด หากไม่มีสติกํากับ ปล่อยใจตนเองไปกับอาหารที่แม้จะรู้ว่าทําร้ายร่างกาย ย่อมแสดงว่า ประสิทธิภาพ ในการรู้ตนเองยังไม่xxxx xxxฝึกจัดระเบียบการกินอาหารของตนเองให้ละเอียดยิ่งขึ้น แนวทางการฝึก การกินอย่างมีสติxxxxxxกระทําได้ ดังนี้
e) ให้เกียรติอาหารหรือเคารพอาหาร xxxxxถึงคุณค่าของข้าวและความลําบากของชาวนา กว่าจะเป็นอาหารให้เรากินทิ้งกินขว้าง
ъ) รับรู้ผ่านทุกxxxxxxสัมผัส ระหว่างที่ตักอาหารเข้าปากค่อยๆ พิจารณาให้เห็นทั้งรูป รส กลิ่น และสีของอาหาร ทั้งนี้เพื่อให้รับรู้ ไม่ใช่เพื่อยึดติด การระมัดระวัง การหมั่นสังเกตอาหารจะ ช่วยป้องกันสิ่งปนเปื้อนที่อยู่ในอาหารได้ด้วย
๓) กินด้วยจานเล็ก อย่างน้อยก็เป็นกุสโลบายแก่ตนเองว่าได้กินข้าวหมดไป e จานแล้ว ควรจะหยุดกินเพียงแค่นั้น เพราะจานขนาดใหญ่หลอกล่อให้กินมากขึ้น เพราะความรู้สึกว่ากินแค่จาน เดียวเหมือนกัน แต่ปริมาณกลับมากกว่าเดิม
๔) เคี้ยวให้ละเอียด เพื่อให้เอนไซม์ในน้ําลายมีเวลาทํางานมากขึ้น ระบบย่อยอาหารก็ดีขึ้น ร่างกายจะได้พักผ่อนมากขึ้น
๕) กินxxxx xxxxx เคี้ยวจะทําให้รับรู้รสxxxxxยิ่งขึ้นและยังxxxxxxขึ้นด้วย
๖) ไม่อดอาหาร เพราะยิ่งอดอาหาร ยิ่งทําให้กินมากเกินกว่าความต้องการในมื้อถัดไป เนื่องจากร่างกายจะเรียกร้องให้นําไปชดเชยในส่วนที่ขาดไป
โดยสรุปแล้ว การกินอย่างมีสติ คือการกําหนดรู้ลักษณะอาหาร ประเภทอาหารที่เหมาะสม กับร่างกายของตนเอง และxxxxxxควบคุมตนเองให้อยู่ในกรอบของอาหารนั้นให้ได้ แต่ทั้งนี้ควรให้ อยู่ในความพอดี ผู้วิจัยเห็นว่า อาหารนั้นควรจําแนกเป็น ъ ประเภท คือ อาหารเพื่อสุขภาพ (Healthy food) และอาหารเพื่อความสุข (Happy food) ในส่วนอาหารเพื่อสุขภาพนั้นxxxxxxใช้ หลักการกินอย่างมีสติกํากับได้ สําหรับอาหารเพื่อความสุขนั้น เป็นอาหารxxxxxxเคร่งครัดมากนัก ซึ่งก็ ควรมีบ้างเพื่อหล่อเลี้ยงใจตนเองให้xxxxxxxxxxxxx ยกตัวอย่างxxxx ข้าวเหนียวมะม่วงเป็นของแสลง สําหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน หากพิจารณาตามหลักอาหารเพื่อสุขภาพย่อมไม่xxxxxเป็นอย่างยิ่ง สําหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน แต่หากพิจารณาตามหลักอาหารเพื่อความสุข คือกินตามใจอยาก ก็ควรมี อย่างน้อยเดือนละ e ครั้ง เพื่อไม่ให้เป็นการบีบคั้นจิตใจมากเกินไปและอย่าลืมว่าไม่ใช่แต่ร่างกาย เท่านั้นที่ต้องการอาหาร จิตใจก็ต้องการด้วยxxxxกัน
๔.๓.๒ การกินเพื่อสุขภาพ
ในพระพุทธศาสนาxxxxxx “ความไม่มีโรคเป็นลาภxxxxxxxxxxx”ъъ แต่ในขณะเดียวกันก็ ยอมรับว่า “มนุษย์ทั้งหลายย่อมมีความเจ็บไข้เป็นธรรมดาไม่xxxxxxxxxxxxxความเจ็บป่วยนี้ไปได้ъ๓ ร่างกายมีโทษไม่สิ้นสุดเหมือนต้นไม้มีพิษเป็นที่อาศัยของโรคทุกชนิด ล้วนเป็นที่ประชุมของทุกข์ъ๔ เมื่อตีความว่าโรคเป็นความxxxxx xxxควรพิจารณาถึงความxxxxxxxxคือความสิ้นไปแห่งโรคนั้นด้วย ดังคํา กล่าวว่า ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่งъ๕ จึงต้องxxxxxxxxxxxxxxxxตลอดเวลาด้วยอาหาร เพราะสรรพสัตว์ เป็นอยู่ได้ด้วยอาหารъ๖ “xxxxxxมีรูปเป็นที่ประชุมมหาภูตทั้งสี่มีมารดา บิดา เป็นxxxxxxx xxxxxด้วย ข้าวสุก และขนมสด”ъ๗
ъъ ม.ม. (ไทย) e๓/๓e๕/ъ๕๔. ъ๓ องฺ.ปญฺจก. (ไทย) ъъ/๕๗/๙๙. ъ๔ ขุ.อป. (ไทย) ๓๓/๕๕/ъ๔๕.
ъ๕ ขุ.ธ. (ไทย) ъ๕/ъ๐๓/๙๕.
ъ๖ องฺ.ทสก. (ไทย) ъ๔/ъ๗/๖e.
ъ๗ ม.ม. (ไทย) e๓/ъ๐๕/ъ๓๖.
ดังมีความปรากฏว่า สมัยหนึ่งพระพุทธเจ้าเสด็จไปยังเมืองแห่งหนึ่งเพื่อโปรดคนเลี้ยงโ ค xxxxxxxxปรากฏในข่ายแห่งพระญาณ โดยคนเลี้ยงโคนั้นได้ทราบข่าวพระพุทธเจ้าเสด็จมาแสดงธรรม แก่ประชาชนก็อยากจะไปฟัง แต่บังเอิญว่าโคของเขาหายไปหนึ่งตัว ต้องตามหาโคนั้นจนพบ และกว่า จะต้อนโคเข้าคอกเรียบร้อยเวลาก็เกือบเที่ยงแล้ว จึงรีบมุ่งหน้าไปยังบริเวณพิธีxxxxxxxยัง xxxxxx รับประทานอาหารกลางวัน ไปถึงก็ถวายบังคมพระพุทธองค์และนั่งอยู่ท้ายบริษัท ปรากฏว่า พระพุทธเจ้ายังมิได้เริ่มแสดงธรรม ประทับนั่งอยู่เฉยๆ พอทอดพระเนตรเห็นชาวเลี้ยงโค จึงรับสั่งให้ หาอาหารมาให้เขารับประทาน เมื่อชายเลี้ยงโครับประทานจนอิ่มสําxxxxxxแล้ว จิตใจก็xxxxxxxxx ไม่มีความทุกข์เพราะxxxxxคือความหิว จึงสดับพระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้าxxxxxxxxxx ครั้นจบ พระธรรมเทศนาจึงได้xxxxxโสดาบัน อุทาหรณ์เรื่องนี้ทําให้เห็นถึงความสําคัญของอาหารและโทษของ ความหิวได้อย่างชัดเจน
อาหารทําให้เกิดโรคและอาหารก็รักษาโรคxxxxxxxกัน ดังปรากฏในสมุฏฐานของโรค ๘ ประการ อาหารสมุฏฐานเป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดโรคหรือทําให้โรคกําเริบอันเนื่องมาจากอาหาร คือ กินอาหารมากเกินไป หรือกินอาหารน้อยเกินไป ได้แก่ e) ข้าว ъ) น้ํา ๓) เปรียง (น้ํามันที่ทําจาก นมส้มและไขหรือเนย) ๔) สุรา ๕) สุกรมัททวะ และ ๖) อาหารxxxxxxъ๘ แนวคิดนี้สอดคล้องกับ หลักอิทัปปัจจยตา คือ “สรรพสิ่งที่เกิดขึ้นจะต้องอาศัยกันและกันเกิดขึ้น อาศัยกันและกันตั้งอยู่ และ อาศัยกันและกันดับไป”ъ๙ เป็นไปตามคํากล่าวของท่านพุทธทาสภิกขุ ที่ว่า “เมื่อมีปัจจัยสําหรับจะ เป็นทุกข์ มันก็เกิดทุกข์ เมื่อมีปัจจัยสําหรับจะxxxxxxxx มันก็xxxxxxxx ทุกข์ก็ไม่มี”๓๐ การรักษาโรคก็เป็น กระบวนการหนึ่งxxxxxxxxxสาเหตุและxxxxxxเหล่านั้นลงตามเหตุปัจจัย และมีความสําคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะการเจ็บป่วยนั้นย่อมเป็นอุปสรรคต่อการบําxxxxxxxxx การมีสุขภาพxxxxxนั้นจะเป็นการเอื้อต่อ การปฏิบัติธรรม ดังพุทธxxxxว่า “ภิกษุในธรรมxxxxxxxx...เป็นผู้มีxxxxxxxxx xxโรคเบาบาง ประกอบด้วยไฟธาตุสําหรับย่อยอาหารสม่ําxxxx xxxเย็นนัก ไม่ร้อนนัก ปานกลาง เหมาะแก่การ บําxxxxxxxxx”๓e ดังนั้น เมื่อโรคเกิดขึ้นจึงมีความจําเป็นที่จะต้องทําการรักษาให้โรคนั้นเบาบางและ หายไป
ในสังคมปัจจุบันมีคํากล่าวที่แสดงออกถึงความสําคัญในการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ คือ “ทานอาหารเป็นยา” ไม่ใช่ “ทานยาเป็นอาหาร” คํากล่าวนี้แสดงให้เห็นถึงความสําคัญของการ กินอย่างxxxx การกินอาหารให้เป็นยานั้นปรากฏในพระไตรปิฎกxxxxxxกล่าวถึงอาหารประเภทต่างๆ ที่พระพุทธเจ้าทรงมีxxxxxxxญาตให้ใช้สําหรับเป็นยาและเป็นอาหารบํารุงสุขภาพ มีดังนี้
e) อาหารประเภทน้ําข้าวใส น้ําต้มถั่วเขียวไม่ข้น น้ําต้มถั่วเขียวข้น น้ําต้มเนื้อ พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้ภิกษุxxxxxxxxฉันยาถ่าย ใช้บํารุงสุขภาพได้๓ъ
ъ๘ ที.ปา. (ไทย) ee/๔/๕.
ъ๙ สํ.นิ. (ไทย) e๖/ъ๐/๓๔.
๓๐ พุทธทาสภิกขุ, xxxxxxxxxxxx, (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์สุขภาพใจ, ъ๕๔๔), หน้า e๔.
๓e องฺ.ปญฺจก. (ไทย) ъъ/๕๓/๙ъ.
๓ъ วิ.ม. (ไทย) ๕/ъ๖๘/๖ъ.
ъ) ข้าวยาคู เมื่อครั้งที่พระพุทธเจ้าทรงประชวรด้วยโรคลมในท้อง xxxxxxxxxxxxต้ม ข้าวยาคูถวาย ซึ่งปรุงด้วยข้าวสาร ถั่วเขียวและงาบดถวาย ครั้นทรงดื่มแล้วทรงหายจากการ ประชวร๓๓ นอกจากนี้พระพุทธเจ้ายังได้ตรัสว่าข้าวยาคูเป็นยาและตรัสถึงประโยชน์ของข้าวยาคูไว้มี
๕ ประการ คือ๓๔
(e) xxxxxxความหิว
(ъ) xxxxxxความกระหาย (๓) ทําให้ลมเดินxxxxx (๔) ชําระลําไส้
(๕) ช่วยย่อยอาหาร
การบริโภคแต่พอดีเป็นการรักษาโรคที่พระพุทธเจ้าทรงแนะนําไว้ xxxx “มนุษย์ผู้มีสติ อยู่ทุกเมื่อรู้จักประมาณในxxxxxxxxxxxแล้วย่อมมีxxxxxxxxxxxเขาย่อมแก่ช้า อายุก็ยั่งยืน”๓๕ หรือดัง ปรากฏในอรรถกถา สุกชาดก xxxxxพระภิกษุรูปหนึ่งฉันมากเกินไปจนถึงแก่มรณภาพ ความว่า “หากxxxxxxxxxในการบริโภคอยู่เพียงใด ก็ได้สืบอายุ และได้เลี้ยงดูบิดามารดาอยู่เพียงนั้น”๓๖ จะเห็น ได้ว่าการกินเพื่อสุขภาพตามหลักพระพุทธศาสนาก็คือการxxxxxxxxxในการกินนั่นเอง ดังปรากฏใน กรณีของพระเจ้าปเสนทิxxxxxxxเสวยอาหารมากเกินไปจนเกิดโรค พระพุทธเจ้าก็ทรงแนะนําให้ลด ปริมาณอาหารลง ซึ่งก็ได้ผลทําให้โรคของพระองค์ระงับลง๓๗
การกินเพื่อสุขภาพนั้นเป็นการกินอาหารโดยไม่xxxxxxxxxxxxxxความเอร็ดอร่อย แต่xxxxxxx คุณประโยชน์ของอาหาร เพราะอาหารเพื่อสุขภาพ คืออาหารที่รับประทานเข้าไปแลวxxxxxxสร้าง ประโยชนแก่ร่างกายและส่งผลถึงจิตใจได้ xxxxxxxx xxxxxxxxxxxxx ได้วางกรอบการพิจารณาบริโภค อาหารเพื่อสุขภาพไว้ ๓ กรอบ คือ๓๘
e) การรูจักเลือกอาหาร (Food as drug selection ; F) อาหารที่เลือกบริโภคต้องไม่เป็น พิษต่อร่างกาย ไม่ทําให้ผู้บริโภคต้องเจ็บป่วยหรือทรุดโทรมลง หากแต่อาหารนั้นต้องมีประโยชนและ ทรงคุณค่า อาหารหลักที่ควรบริโภค ได้แก่ ข้าว ขนม ปลา เนื้อ
ъ) วิธีการกิน (Direction of eating ; D) ขณะบริโภคมีสติพxxxxxด้วยความไม่โลภ วิธี การบริโภคเพื่อสุขภาพxxxxxxสําคัญ คือ
(e) การทานอาหารพอประมาณ โดยเฉพาะการทานอาหารมื้อเดียวจัดว่าเป็นวิธีการ ที่สําคัญในการดูแลรักษาสุขภาพxxx เพราะทําให้xxxxxxxxxxxx xxสุขภาพแข็งแรง ผิวพรรณxxxxxx แก่ช้าและอายุยืน
๓๓ วิ.ม. (ไทย) ๕/ъ๖๔/๗๐.
๓๔ วิ.ม. (ไทย) ๕/ъ๘ъ/๘๙.
๓๕ สํ.ส. (ไทย) e๕/eъ๔/e๔๕.
๓๖ ขุ.ชา.อ. (ไทย) ๓/๔/๔ъ.
๓๗ อ้างแล้ว
๓๘ xxxxxxxx xxxxxxxxxxxxx, “การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพแนวพุทธ”, ъ๔-๓๕.
(ъ) เว้นจากการทานอาหารยามวิกาล โดยเฉพาะ ข้าว ขนม ปลา และเนื้อ ซึ่งพุทธ ศาสนาxxxxxxเป็นสิ่งจําเป็นในการป้องกันโรคและทําให้มีโรคได้หกรับประทานไม่ถูกต้อง
(๓) ไม่อดอาหาร การบริโภคน้อยเกินไปหรือไม่บริโภคอาหารเลย การไม่บริโภค ย่อมจะส่งผลเสียต่อสุขภาพ ทําให้ทุกข์ทรมานและก่อให้เกิดโรคต่างๆ โดยเฉพาะระบบย่อยอาหาร โรคกระเพาะ
(๔) xxxxxxการบริโภค ตามหลักพุทธศาสนา นอกจากพิจารณาถึงอาหารแลว ยังกําหนดถึงxxxxxxในการบริโภคเพื่อสุขภาพและการปฏิบัติตนที่xx xxxx การตักอาหารไปตามลําดับ เป็นต้น
๓) เป้าหมายการกิน (Aim of eating ; A) คือการสร้างเป้าหมายของชีวิตxxxxxxxxโดย การ เอาอาหารมาเป็นเครื่องมือหรือบันไดในการสร้างประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น และxxxxxx พัฒนาตนเองทั้งทางxxx วาจา และ ใจ ให้สูงขึ้นไป
๔.๓.๓ แนวทางปฏิบัติตามหลักโภชนเภสัช
จากการศึกษาแนวทางของการกินอย่างมีสติและการกินเพื่อสุขภาพแล้ว xxxxxxสรุปเป็น แนวทางปฏิบัติตามหลักโภชนเภสัชได้ ดังนี้
e) เข้าใจ : มนุษย์โดยส่วนมากจะรู้ว่าร่างกายของตนเองแพ้อาหารประเภทใด แพ้ยาชนิด ใด หรืออาหารประเภทใดที่ส่งผลร้ายต่อสุขภาพตนเอง ดังนั้น การกินอาหารแต่ละครั้งควรมีสติรู้ตัวอยู่ ตลอดเวลา ควรเลือกอาหารที่เหมาะสมกับตนเอง ให้กินอาหารทุกครั้งที่หิว ไม่ใช่กินทุกครั้งที่อยาก ไม่ตามใจปากของตนเอง ควบคุมอาหารและพฤติกรรมการกินอย่างเคร่งครัด ซึ่งวิธีนี้xxxxxxทําได้ ด้วยการมีสติและxxxxxxxxxรู้ภายในตัวเอง
ประการต่อมาคือการเข้าใจคุณค่าแท้ของอาหาร ไม่หลงใหลไปในคุณค่าเทียม คือ รูป รส xxxxx xxของอาหาร การเข้าใจในคุณค่าแท้ของอาหารคือการเข้าใจว่าอาหารเป็นเครื่องxxxxxxxxx ไม่ใช่ เป็นเรื่องของความสนุกสนานเพลิดเพลิน ยิ่งเข้าใจในหลักอาหาเรปฏิกูลสัญญาจะทําให้เข้าใจยิ่งขึ้นว่า เมื่อกินเข้าไปแล้ว ตั้งอยู่ในท้อง xxxxxxxxxxxเป็นของเน่าเสียและขับถ่ายออกมาเหมือนกันหมด ทั้ง อาหารราคาแพงและราคาถูกต่างมีสภาพเหมือนกัน ความxxxxxxxxxxนี้จะทําให้xxxxxxxxภาวะในการ เลือกอาหารได้อย่างเหมาะสม
ъ) เข้าถึง : เป็นการเข้าถึงอาหารที่สะอาดและถูกหลักอนามัย ในประเด็นนี้ต้องจําแนก อาหารที่ถูกหลักสุขภาพของแต่ละคนที่แตกต่างกันไป เพราะมนุษย์มีโครงสร้างทางด้านโครมโมโซม แตกต่างกัน การเข้าถึงอาหารเพื่อสุขภาพนั้นควรเป็นอาหารที่สะอาด (Clean Food) ปราศจากคาม เสี่ยงในการบริโภค ในขั้นที่สูงขึ้นไป คือการเข้าถึงอาหารที่เป็นยา xxxx การนําพืชสวนครัวที่มีxxxxxxx ทางยามาปรุงเป็นอาหาร หรือการหลีกเลี่ยงพืชที่มีคุณสมบัติแสลงต่อโรคที่ตนเองเป็น การเข้าถึง อาหารในลักษณะนี้เป็นลักษณะของการประมาณในการบริโภคด้วยxxxxกัน
๓) พัฒนา : เป็นการพัฒนาคุณภาพจิตใจของตนเองให้xxxxxxxอยู่ตลอดเวลาด้วยวิปัสสนา กรรมฐาน เพราะจิตใจxxxxxxxxxได้รับการฝึกฝนมาดี จะส่งผลให้ความxxxxxxในการxxxxxxเลือก
รับประทานอาหารมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และการฝึกจิตตามหลักการของอาหาเรปฏิกูลสัญญาจะทําให้ เกิดความเข้าใจในการรับประทานอาหารอย่างแท้จริง
โดยสรุปแล้ว การประยุกต์ใช้หลักอาหาเรปฏิกูลสัญญามาเป็นแนวทางในการเลือก รับประทานอาหารและเป็นกรรมฐานในชีวิตประจําวันก็คือการใช้ชีวิตในรูปแบบxxxxxxขัดแย้งกับ xxxxxxxxในการรับประทานอาหาร หลักอาหาเรปฏิกูลสัญญาไม่ใช่หลักการใหม่ แต่เป็นxxxxxxxxxx ปรากฏให้เห็นอยู่ทุกวัน เพราะอาหารที่มนุษย์ปรุงขึ้นxxxxxx หากไม่มีการxxxxไว้ ปล่อยxxxxxxxใน อุณหภูมิxxxx แม้ชั่วข้ามคืนก็บูดเน่า ไม่xxxxxxนํามาบริโภคได้อีก การกินอาหารเหล่านั้นก็เน่าเสียก็ xxxxxxช่วยให้อาหารเหล่านั้นxxสภาพได้เลย เพราะอาหารเหล่านั้นก็ไปเน่าเสีย หมักหมมอยู่ในร่างกาย อยู่ดี และก็ถูกขับออกจากร่างกายในที่สุด เมื่อxxxxxxxxxxอาหาเรปฏิกูลสัญญาxxxxนี้ จะทําให้การ บริโภคอาหารเป็นไปอย่างเหมาะสม ควรแก่การปฏิบัติธรรม และการดําเนินชีวิตที่ถูกต้องxxxxxต่อไป ได้เป็นอย่างดียิ่ง