Thailand-Australia Free Trade Agreement : TAFTA
ความตกลงการค้าเสรี ไทย-ออสเตรเลีย
Thailand-Australia Free Trade Agreement : TAFTA
FACT BOOK
1. บทนำ
ความตกลงการค้าเสรีไทย-ออสเตรเลีย (Thailand-Australia Free Trade Agreement : TAFTA) มีขอบเขตกว้างขวางครอบคลุมสินค้าทุกรายการที่ ค้าขายระหว่างกัน รวมทั้งการเปิดตลาดด้านบริการและการลงทุน รวมถึงความ ร่วมมือที่เกี่ยวข้องกับการค้าซึ่งมีผลใช้แล้วเมื่อxxxxxx 1 xxxxxx พ.ศ. 2548 ผลของความตกลงนี้ทำให้มีสินค้าที่ออสเตรเลียจะลดภาษีให้ไทยเหลือร้อยละ 0 ทันที จำนวนกว่า 5,000 รายการ หรือคิดเป็นกว่าร้อยละ 83 ของรายการ
TAFTA
สินค้า ส่วนที่เหลือจะทยอยลดภาษีเหลือร้อยละ 0 ภายในปี 2010 และ 2015 ส่วนไทยเสนอลดภาษีเหลือร้อยละ 0 ทันทีในxxxxxxความตกลงฯ มีผลใช้บังคับ ประมาณร้อยละ 49 ของรายการสินค้า ส่วนที่เหลือจะทยอยลดภาษีลงเหลือ ร้อยละ 0 ภายในปี 2010 สำหรับสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมบางรายการที่มี ความxxxxxxx xxxx สิ่งทอและเสื้อผ้า (ออสเตรเลีย) เนื้อวัว เนื้อหมู นม เนย ชา และกาแฟ (ไทย) ภาษีจะเหลือร้อยละ 0 ภายใน 10 ปี 15 ปี และ 20 ปี โดยมี มาตรการxxxxxxพิเศษ (Special Safeguards Measures) สำหรับสินค้าบาง รายการ ซึ่งถือเป็นการเปิดศักราชใหม่ของการค้าไทยในยุคโลกไร้พรมแดน อย่างแท้จริง
2
3
2. ข้อมูลทั่วไป
แผนที่ประเทศออสเตรเลีย
TAFTA
เครือรัฐออสเตรเลีย (อังกฤษ : Commonwealth of Australia) หรือ ประเทศออสเตรเลีย ชื่อออสเตรเลียมาจากคำในภาษาละตินว่า australis ซึ่งหมายถึงทิศใต้ โดยมีตำนานถึง “ดินxxxทางใต้xxxxxxรู้จัก” (ละติน : terra australis incognita) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของโลก
ประเทศออสเตรเลียเป็นประเทศซึ่งประกอบด้วยแผ่นดินหลักของ xxxxออสเตรเลีย เกาะแทสเมเนีย และเกาะอื่นๆ ในมหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทร แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรเลียประกอบด้วย ประเทศอินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินี ติมอร์ตะวันออกทางเหนือ หมู่เกาะโซโลมอน วานูxxxx xxxแคลิโดเนียทางตะวันออกxxxxxxxxxx และนิวซีแลนด์ทางตะวันออก xxxxxxxx มีชนพื้นเมืองซึ่งอาศัยตั้งแต่ก่อนชาวยุโรปเข้ามา เรียกว่า ชาวอะบอริจิน และชาวเกาะxxxxxxสสเทรต
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้ง พื้นที่
TAFTA
เมืองหลวง ภูมิอากาศ
เวลา
ประชากร
ภาษาราชการ ศาสนา
4
xxxxxติิ
เป็นเกาะxxxx (Island Continent) อยู่ในซีกโลกใต้ ตั้งอยู่ระหว่างมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก
7,692,000 ตารางกิโลเมตร มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 รองจากรัสเซีย แคนาดา xxx สหรัฐอเมริกา และบราซิล และใหญ่กว่าไทยประมาณ 15 เท่า
กรุงแคนเบอร์รา
ภาคใต้มีสภาพอากาศเย็น ในขณะที่ภาคเหนือมีอากาศ xxxxชื้น ช่วงที่อากาศxxxxที่สุดคือ เดือนxxxxxxและ กุมภาพันธ์ ช่วงที่หนาวที่สุดคือ เดือนกรกฎาคม
เร็วกว่าเวลามาตรฐาน กรีนิช 10 ชม. (New South Wales, Tasmania, Victoria, Queensland และ Australian Capital Territory) 9.5 ชม. (Northern Territory และ South Australia) และ 8 ชม. (Western Australia) เวลากรุงแคนเบอร์ราเร็วกว่ากรุงเทพฯ 3 ชม.
20.95 ล้านคน (ปี 2550) เป็นผู้ที่มีเชื้อชาติยุโรปร้อยละ 92 xxxxxxxxxxละ 7 และชนพืนเมืองอะบอริจินส์ร้อยละ 1
ภาษาอังกฤษ
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxร้อยละ 27 xxxxxxxxxxx
แองกลิกันร้อยละ 21 คริสต์นิกายอื่นๆ ร้อยละ 21
พุทธร้อยละ 2 มุสลิมร้อยละ 1.5 อื่นๆ ร้อยละ 1.2
ไม่แจ้งศาสนาตนร้อยละ 13 และxxxxxxxxxศาสนาใด
ร้อยละ 15 (จากการสำรวจสำมะโนประชากรปี 2544)
xxxxxx 26 xxxxxx
รูปแบบการxxxxxx | ระบอบประชาธิปไตยแบบสหพันธ์ (Federal Democracy) และเป็นประเทศในเครือจักรภพ ในระบบสหพันธรัฐ ประกอบด้วย 6 รัฐ ได้แก่ Western Australia, South Australia, Queensland, New South Wales, Tasmania และ Victoria โดยมีอาณาเขตxxxxxxตนเอง 3 อาณาเขต ได้แก่ Northern Territory, Norfolk Island, และ Australian Capital Territory ซึ่งเป็นที่ตั้งของเมืองหลวง คือ กรุง แคนเบอร์รา รัฐแต่ละรัฐมีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (Governor) มีรัฐบาลและxxxxxxxxทำหน้าที่บริหาร โดยมีสภานิติบัญญัติ 2 สภา ยกเว้นรัฐ Queensland ซึ่งมีเพียงสภาเดียว และรัฐและอาณาเขตต่างๆ มีระบบ ศาลของตนเอง |
xxxxxx | สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร โดยมีผูส้ ำเร็จราชการแทนพระองค์ฯ (Governor-General) คนปัจจุบันคือ พลตรีxxxxxx xxxxxx (คนที่ 24) หัวหน้า ฝ่ายบริหารคือ xxxxxxxx xxxxxxxxx (Xxxx Xxxxxx) นายกรัฐมนตรี หัวหน้าพรรค Liberal |
xxxxxxxx | xxxxxxxออสเตรเลีย (AUD) |
5
TAFTA
ข้อมูลเศรษฐกิจของออสเตรเลีย
รายได้ประชาชาติต่อหัว
36,016 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ค่าประมาณปี 2549 ของ IMF)
อัตราการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจ
ร้อยละ 2.9 (ปี 2549)
อัตราเงินเฟ้อ
ร้อยละ 3.8 (ปี 2549)
อัตราการxxxxxxx
xxxxละ 5.1 (ปี 2548)
ตลาดนำเข้าที่สำคัญ ตลาดส่งออกที่สำคัญ สินค้าส่งออกที่สำคัญ สินค้านำเข้าที่สำคัญ
xxxxxxการค้าระหว่าง ไทยกับออสเตรเลีย
TAFTA
อัตราการขยายตัว ทางการค้าโดยเฉลี่ย ระหว่างไทยกับ ออสเตรเลีย
อัตราแลกเปลี่ยน เงินตรา
xxxxxxการนำเข้าสินค้า มาไทย
สินค้าxxxxxxนำเข้าจาก ออสเตรเลียที่สำคัญ
xxxxxxการส่งออก สินค้าจากไทย
สหภาพยุโรป อาเซียน สหรัฐฯ xxx และxxxxxxx (ปี 2548) xxxxxxx อาเซียน สหภาพยุโรป xxx และสหรัฐฯ (ปี 2548) ถ่านหิน ทองคำ แร่เหล็ก น้ำมันดิบ และเนื้อวัว
xxxxxxxและอุปกรณ์รถยนต์ น้ำมันดิบ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ผลิตภัณฑ์ยา และอุปกรณ์โทรคมนาคม
ประมาณ 13,142.71 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
ประมาณร้อยละ 34.97 ต่อปี
1 ดอลลาร์ออสเตรเลีย = 28.31 บาท
3,800.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นประเทศอันดับที่ 14 xxxxxxxxxxxxxxการนำเข้ามากที่สุด
สินแร่ น้ำมันดิบ xxxxxx เหล็กและผลิตภัณฑ์ พืชและ ผลิตภัณฑ์จากพืช ถ่านหิน ด้ายและเส้นใย เคมีภัณฑ์ นมและผลิตภัณฑ์นม xxxxxxxxxxxกลและส่วนประกอบ
5,937.42 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นประเทศอันดับที่ 9 xxxxxxxxxxxxxxการส่งออกมากที่สุด
สินค้าxxxxxxส่งออก
รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ xxxxxxและxxxxxxxxxxxx
6 ไปยังออสเตรเลียที่ สำคัญ
เหล็กและผลิตภัณฑ์ เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ เม็ดพลาสติก อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป น้ำมัน สำเร็จรูป เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์ พลาสติก ผลิตภัณฑ์ยาง
7
3. การจัดทำความตกลงการค้าxxxxกับออสเตรเลีย
ลำดับเหตุการณ์การเจรจาจัดทำความตกลงการค้าเสรีไทย-ออสเตรเลีย
พฤศจิกายน พ.ศ. 2544
เมษายน พ.ศ. 2545
ในระหว่างการประชุมระดับรัฐมนตรีขององค์การการค้า โลก (WTO Ministerial Conference) ณ กรุงโดฮา ประเทศxxxxร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย และรัฐมนตรีการค้าของออสเตรเลีย (Mr. Xxxx Xxxxx) ได้แถลงร่วมกันว่า ประเทศทั้งสองได้ตกลงที่จะxxxxxx การศึกษาร่วม (Joint Study) เกี่ยวกับการทำความตกลง การค้าxxxxระหว่างกัน โดยให้การศึกษามีขอบเขตกว้าง ครอบคลุมทั้งด้านการค้าสินค้า บริการและการลงทุน
เสร็จสิ้นการศึกษาร่วมระหว่างกรมเจรจาการค้าระหว่าง ประเทศกับกระทรวงการต่างประเทศ และการค้าของ
TAFTA
ออสเตรเลียเกียวกับการทำความตกลงการค้าxxxxระหว่างกัน
30 พฤษภาคม
พ.ศ. 2545
สิงหาคม พ.ศ. 2545
มีนาคม พ.ศ. 2547
5 กรกฎาคม
พ.ศ. 2547
1 xxxxxx พ.ศ. 2548
โดยมีข้อเสนอแนะให้รัฐบาลของประเทศทั้งสองพิจารณา xxxxxxการจัดทำความตกลงการค้าxxxxเพื่อขยายความ xxxxxxxxทางเศรษฐกิจการค้าระหว่างกัน
นายกรัฐมนตรีของทั้งสองประเทศได้ประกาศร่วมกันให้มี การเจรจาจัดทำความตกลงการค้าxxxxระหว่างกัน
xxxxxxxxxxxxxxxxxxแรก เจรจาเสร็จสิ้น
มีการลงนามความตกลงฯ ระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพาณิชย์ (xxxxxxxx xxxxxxxx) กับรัฐมนตรีการ ค้าออสเตรเลีย (Mr. Xxxx Xxxxx)
ความตกลงการค้าเสรีไทย-ออสเตรเลียมีผลบังคับใช้
4. โอกาสส่งออกสินค้าไทย
สินค้าแต่ละชนิดมีกำหนดเวลาในการลดภาษีแตกต่างกันออกไป และยังแตกต่างกันออกไปอีกสำหรับการลดภาษีของxxxxxxxกับออสเตรเลีย ดังนั้น ผู้ประกอบการจะต้องศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมว่าสินค้าประเภทใดมีกำหนด เวลาการลดภาษีเมื่อใด ผู้ที่จะนำเข้าสินค้าจากออสเตรเลียต้องดูตารางการลด ภาษีของไทย ในขณะที่ผู้ส่งออกไทยต้องดูตารางการลดภาษีของออสเตรเลีย
TAFTA
การลดภาษีของประเทศออสเตรเลีย เป็นร้อยละ 0 ทันที
สินค้าเกษตร สินค้าอุตสาหกรรม
ผักสด ผักแห้ง ผักกระป๋องและแปรรูป ผลไม้กระป๋องและแปรรูป น้ำผลไม้ กระป๋อง พาสต้า อาหารปรุงแต่งอื่นๆ
สินแร่ รถยนต์นั่งขนาดเล็ก รถปิคอัพ แชมพู เครื่องสำอางและบำรุงผิว ตู้เย็น โทรทัศน์สี เครื่องซักผ้า ผลิตภัณฑ์เซรามิค
ผลไม้สด/แห้ง xxxx อาหารทะเลสด xx
xxxxx
งประดับxxx xxxxx
xxxxxxxเทียม เกลือ
กาแฟ เครื่องเทศ ธัญพืช น้ำตาลและ ขนมจากน้ำตาล โกโก้และของปรุงแต่ง
หินและของทำด้วยหิน ปูนขาว ซีเมนต์ เชื้อเพลิงxxxxxxจากแร่ น้ำมัน ไม้และของ
จากโกโก้ ของปรุงแต่งจากธัญพืชและ
ทำด้วยไม้ เยือ
ไม้ กระดาษและเยือ
กระดาษ
นม ยาสูบและผลิตภัณฑ์ทีใ่ ช้แทนยาสูบ
8
หนังสือและxxxxxxxxx อะลูมิเนียมและของ ทำด้วยอะลูมิเนียม นาฬิกาและส่วนประกอบ ของเล่น
TAFTA
การลดภาษีของประเทศออสเตรเลีย | |
เป็นร้อยละ 0 ภายใน 5 ปี (ปี 2553) | |
สินค้าเกษตร | สินค้าอุตสาหกรรม |
เคมีภัณฑ์ (xxไว้xxxxxxxละ 5 ในปี 2548) เม็ดพลาสติก (xxไว้xxxxxxxละ 5 ในปี 2548) สบู่ สิ่งปรุงแต่งที่ใช้ซักล้าง เทียน (xxไว้xxxxxxxละ 4 ในปี 2548) กระสอบและถุงใช้บรรจุ (ลดเหลือ ร้อยละ 12.5 ในปี 2548) รองเท้าและชิ้นส่วน (ลดเหลือร้อยละ 9 ในปี 2548) ชิ้นส่วนxxxยนต์ (ลดเหลือร้อยละ 5 ในปี 2548) เหล็กขึ้นรูปต่างๆ (xxไว้xxxxxxxละ 4 ในปี 2548) ผลิตภัณฑ์เหล็ก (xxไว้xxxxxxxละ 5 ในปี 2548) เครื่องปรับอากาศ (ลดเหลือร้อยละ 5 ในปี 2548) เครื่องรับวิทยุ (ลดเหลือร้อยละ 5 ในปี 2548) ยางรถยนต์ (ลดเหลือร้อยละ 5 ในปี 2548) ถุงมือยาง (ลดร้อยละ 5 ในปี 2548) เฟอร์นิเจอร์และชิน้ ส่วน (ลดเหลือร้อยละ 5 ในปี 2548) เคมีภัณฑ์เบ็ดเตล็ด (ลดเหลือร้อยละ 5 ในปี 2548) ฝ้าย เส้นใยยาว และใยสัน้ xxxxxxxx (ลดเหลือร้อยละ 5 ในปี 2548) สักหลาดและผ้าไม่ทอ (ลดเหลือร้อยละ 5 ในปี 2548) แก้วและเครื่องแก้ว (ลดเหลือร้อยละ 5 ในปี 2548) xxxxxxxxxxx (ลดเหลือร้อยละ 5 ในปี 2548) อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ทัศนศาสตร์ (ลดเหลือร้อยละ 9 ในปี 2548 ลดเหลือร้อยละ 8 ในปี 2551 และเหลือร้อยละ 5 ในปี 2552) |
9
การลดภาษีของประเทศออสเตรเลีย
เป็นร้อยละ 0 ภายใน 5 ปี (ปี 2553)
สินค้าเกษตร
สินค้าอุตสาหกรรม
เสือ้ ผ้าสำเร็จรูปและสิง่ ทอ (ลดเหลือร้อยละ 12.5 ในปี 2548 และลดเหลือร้อยละ 5 ในปี 2553)
ผลิตภัณฑ์จากพลาสติก (ลดเหลือร้อยละ 12.5
ในปี 2548 และลดเหลือร้อยละ 5 ในปี 2553)
TAFTA
ส่วนสินค้าเกษตรที่มีมาตรการxxxxxxพิเศษ ได้แก่ ทูน่ากระป๋อง สับปะรดแปรรูป และน้ำสับปะรด
5.
ผู้ประกอบการไทยต้องอาศัยความรวดเร็ว ในการเชิงความได้เปรียบ
หลังจากxxxx xxและออสเตรเลียxxxxxความตกลง XXX xxxถือเป็นโอกาส
ทองของผู้ประกอบการไทยที่จะเร่งเจาะตลาดนำเข้าสู่ประเทศออสเตรเลีย และ สร้างฐานxxxxxxxในตลาดออสเตรเลียซึ่งมีประชากรรายได้สูง จำนวนมากถึง 20 ล้านคน ผู้ประกอบการที่ต้องการใช้ประโยชน์จากความตกลงการค้าxxxx-ไทย
ออสเตรเลีย จะต้องเร่งปรับตัวแข่งขันเพือ
หาช่องทางการขายสินค้าไปยังผูบ
ริโภค
ในออสเตรเลียก่อนคู่แข่งรายอื่นๆ โดยเฉพาะคู่แข่งจากต่างประเทศ เมื่อกำแพง ภาษีและอุปสรรคทางการค้าหลายๆ อย่างถูกทลายลง
10 แต่อย่างไรก็ดี โอกาสทองนี้xxxxxxมีอยู่ตลอดไป ประเทศต่างๆ xxxx มาเลเซีย และxxx ซึ่งเป็นxxxxxxxxxxสำคัญของไทยในตลาดส่งออกต่างเร่งเครื่อง เพื่อxxxxxความตกลง FTA กับออสเตรเลียให้ได้เร็วที่สุด เพื่อประโยชน์ในด้าน ภาษีและอื่นๆ
ปัจจุบัน ออสเตรเลียได้ลงนามในความตกลงการค้าxxxxกับประเทศ
ต่างๆ แล้ว จำนวน 5 ฉบับ ได้แก่ นิวซีแลนด์ (มีผลบังคับใช้ปี พ.ศ.2526) สิงค์โปร์ 11
(พ.ศ. 2546) สหรัฐฯ ไทย (พ.ศ. 2548) และออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์-อาเซียน (พ.ศ. 2552) ดังนั้น ผู้ประกอบการไทยจึงมีเวลาไม่มากนักที่จะเริ่มส่งออกโดย ใช้ประโยชน์จากภาษีที่ลดลงก่อนคู่แข่งอื่นๆ ส่วนแบ่งในการตลาดนี้จึงขึ้นอยู่กับ ความเร็วในการเข้าสู่ตลาดของผู้ประกอบการไทยเป็นสำคัญ
6.
กฎถิ่นกำเนิดสินค้า (Rules of Origin) ภายใต้ความตกลงทางการค้าเสรีไทย-ออสเตรเลีย
สินค้าส่งออกที่จะได้รับxxxxxประโยชน์ด้านภาษีศุลกากร ภายใต้ความ
ตกลงการค้าเสรีไทย-ออสเตรเลีย (Thailand-Australia Free Trade Agreement: TAFTA) จะต้องเป็นสินค้าที่มีคุณสมบัติตามเงื่อนไขxxxxxxตกลงไว้ในความตกลง
(xxxxxxหาข้อมูลxxxxเติมxxxxxx xxx.xxxxxxx.xxx) ซึ่งในการเจรจาจัดทำ TAFTA
XXXXX
xxxตกลงกฎถิ่นกำเนิดสินค้าไว้ในแต่ละรายการ (Product Specific Rules of Origin) ทั้งนี้ กฎเกณฑ์หลักที่มีดังนี้
1. กฎการผลิตของสินค้าxxxx xxจากxxxxxxxx (Wholly Obtained Goods)
2. กฎการเปลี่ยนพิกัด (Change of Tariff Classification)
3. กฎสัดส่วนxxxxxxวัตถุดิบภายในประเทศไทย/ออสเตรเลีย (Regional Value Content : RVC)
สำหรับสัดส่วนxxxxxxของ RVC ตามxxxxxxและออสเตรเลียตกลง ส่วนใหญ่จะอยู่xxxxxxxละ 40 หรือ 45 ของราคาสินค้าส่งออกตามราคา XXX โดยสินค้าxxxxxxให้ความสนใจได้ตกลงกำหนด RVC ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 40 ได้แก่ สินค้าบางรายการของxxxxxxxxxxxและอิเล็กทรอนิกส์ xxxยนต์และชิ้นส่วน ฯลฯ
โอกาสทางการค้าของประเทศไทย
จุดเด่นของออสเตรเลีย โอกาสทางการค้า / xxxxxxxxxx
1 เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและ แร่ธาตุที่สำคัญและxxxxxxxxxxx แห่งหนึ่งของโลก xxxx ทองคำ พลอย และเหล็ก เป็นต้น
TAFTA
2 มีความxxxxxxxxxxxxxด้านวิชาการใน แขนงต่างๆ xxxx เทคโนโลยีสารสนเทศ
อาจใช้เป็นแหล่งวัตถุดิบเพื่อนำมา ใช้ในการผลิต xxxx ทองรูปพรรณ xxxxxxและxxxxxxxxxxxxx และเหล็ก ขึ้นรูปต่างๆ เป็นต้น
ความร่วมมือด้านวิชาการกับออสเตรเลีย จะช่วยในการพัฒนาเทคโนโลยีและ
การเกษตร รวมทั้งสถาบันการศึกษา
xxxx
ขีดความxxxxxxในการผลิตและ
ที่มีคุณภาพ เป็นต้น
แข่งขันให้กับไทย xxxx การเลีย และโคนม เป็นต้น
งโคเนือ้
3 ปัจจุบันโครงสร้างการผลิตในประเทศ จะมุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีขั้นสูง เพื่อxxxxxจุดอ่อนในด้านค่าxxxx แรงงานที่สูง นอกจากนั้นมุ่งเน้นใน การสร้างxxxxxxxxxxxในสินค้าซึ่งเดิม ส่งออกในลักษณะวัตถุดิบ
เป็นการเปิดโอกาสในการเข้าสู่ตลาด สำหรับสินค้าที่ยังต้องการใช้แรงงาน รวมทั้งอาจเป็นโอกาสสำหรับสินค้า ประเภทชิ้นส่วนอุปกรณ์สำหรับ เทคโนโลยีต่างๆ
12
จุดเด่นของออสเตรเลีย
4 มีความxxxxxxxxใกล้ชิดทั้งด้าน การเมือง เศรษฐกิจ และการค้า กับประเทศในหมู่เกาะแปซิฟิกใต้
5 มีฤดูกาลที่ตรงข้ามกับไทย
โอกาสทางการค้า / xxxxxxxxxx
13
อาจใช้ออสเตรเลียเป็นฐานการxxxxxx
สินค้าไปยังประเทศหมู่เกาะแปซิฟิกใต้
• ผักผลไม้เขตxxxxแม้ว่าจะปลูกได้ใน ออสเตรเลีย แต่สินค้าจากไทยxxxxxx เข้าไปเสริมในช่วงนอกฤดูกาลของ ออสเตรเลียได้
TAFTA
• เสื้อผ้าตามฤดูกาลจะมีช่วงส่งมอบxxx xxxxxxxxxxกับยุโรป สหรัฐฯ xxxxxxx xxxอาจช่วยให้ผู้ผลิตไทยxxxxxxใช้ xxxxxxxxผลิตได้เต็มที่ตลอดปี
6 มีประชากรจากประเทศในแถบเอเชีย
กลุ่มผูบ
ริโภคดังกล่าวเป็นกลุ่มผูซ
้อื
สินค้า
ซึ่งย้ายxxxxxxxxxxxxออสเตรเลีย จำนวนมาก
ไทยที่สำคัญ โดยเฉพาะสำหรับสินค้า ประเภทอาหารและผักผลไม้ เสื้อผ้า สำเร็จรูป ผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ในครัวเรือน เป็นต้น
7.
โอกาสของxxxxxxบริการ และxxxxxxลงทุนในออสเตรเลีย xxxx xxจะได้รับประโยชน์
TAFTA
1. คนไทยxxxxxxเข้าไปลงทุนในธุรกิจบริการและผลิตสินค้าได้ 100% ยกเว้นในหมวดหนังสือพิมพ์ ธุรกิจกระจายเสียง การบินระหว่างประเทศและ ท่าอากาศยาน เนื่องจากมีผลกระทบต่อความมั่นคง อย่างไรก็ตาม หากมีการ ลงทุนเกิน 10 ล้านเหรียญออสเตรเลีย (ประมาณ 300 ล้านบาท) จะต้องมีการ ขออนุญาตจากคณะกรรมการพิจารณาการลงทุนต่างประเทศของออสเตรเลีย
2. ออสเตรเลียเปิดโอกาสให้คนไทยทำธุรกิจประเภทต่างๆ ได้มากกว่า สมาชิกอื่นใน WTO หลายประเภท xxxx ที่ปรึกษากฎหมาย การตกแต่งภูมิทัศน์ ซ่อมรถยนต์ สถาบันสอนทำอาหาร สอนภาษาไทย สอนนวดแผนโบราณ ร้าน อาหารไทย และเหมืองแร่ เป็นต้น
3. xxxxxxxxxxหลักอืน ของออสเตรเลียได้แก่
ๆ xxxx xxยังจะได้รับจากการเปิดxxxxธุรกิจบริการ
3.1 การผ่อนคลายเงือนไขการเข้าไปทำงาน โดยยกเลิก Labor
Market Test ซึ่งทำให้xxxxxxxxxxคนไทยเข้าไปทำงานได้เลย ไม่ต้องรอประกาศ
xxxxคนออสเตรเลียก่อน ทำให้xxxxxxเข้าไปทำงานในตำแหน่งผูบ หรือผู้เชี่ยวชาญ ได้ง่ายขึ้น
ริหาร ผูจดั
การ
3.2 การอนุญาตให้คนไทยxxxxxxรับการxxxxxxxจากธุรกิจใน ออสเตรเลียและได้รับสัญญาxxxxxxx เข้าไปทำงานได้ 3 ปี และพ่อครัวไทย เข้าไปทำงานได้ 4 ปี และxxxxxxต่ออายุxxxxxxเกิน 10 ปี ในขณะที่ออสเตรเลีย ไม่เปิดตลาดการทำงานในลักษณะนี้ให้แก่ประเทศอื่น
14 3.3 การอนุญาตให้คูส
มรส และผูต
ดตามของคนไทยทีโ่ อนย้าย
เข้าไปทำงานกับสาขาของบริษัทไทยที่ตั้งอยู่ในออสเตรเลียในตำแหน่งผู้บริหาร ผู้จัดการ หรือผู้เชี่ยวชาญ xxxxxxทำงานในออสเตรเลียได้ในช่วงเวลาเดียวกัน กับคนไทยที่โอนย้าย
3.4 การอนุญาตให้พ่อครัวไทยxxxxxxรับหนังสือรับรองของ กรมพัฒนาฝีมือแรงงานและมีสัญญาxxxxงาน xxxxxxเข้าไปทำงานได้เป็น 15
เวลา 4 ปี โดย ไม่ต้องเทียบคุณสมบัติจากออสเตรเลียอีก
3.5 การอนุญาตให้นักเรียน นักศึกษาไทยที่เข้าไปศึกษา / xxxxxxxxxxในออสเตรเลียxxxxxxทำงานได้ ภายใต้โครงการ Working Holiday Scheme ถึงแม้ว่ากรอบความร่วมมือดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ในรูปของ ประสบการณ์ที่นักเรียน นักศึกษาไทยจะได้รับ
8. ปัญหาและการปรับตัวของผู้ประกอบการ
มาตรการxxxxxxxxxมิใช่ภาษี (Non-Tariff Barrier)
1. มาตรการสุขอนามัย (Sanitary and Phytosanitary Measures: SPS)
TAFTA
เนืองจากออสเตรเลียเป็นประเทศที่ใช้มาตรการสุขอนามัยอย่างxxxxxxx
และอาจก่อให้เกิดอุปสรรคทางการค้า ทัง้ สองฝ่ายจึงได้ตัง้ กลไกสำหรับxxxxxxการ
แก้ไขปัญหาในเรือ
งนีอ
ย่างเป็นรูปธรรม โดยกำหนดแผนงานและกรอบระยะเวลา
การxxxxxxการที่แน่นอน เพื่อให้สินค้าเกษตรของไทย โดยเฉพาะสินค้าที่เป็น Priority Products xxxx มังคุด xxxxxxx xxxx ทุเรียน เนื้อไก่ xxxx ฯลฯ xxxxxxเข้าสู่ ตลาดออสเตรเลียได้ ซึ่งขณะนี้สับปะรด xxxx xxxxxxx มังคุด ปลาสวยงาม xxxxxx
เข้าสูต
ลาดออสเตรเลียได้แล้ว สำหรับทุเรียนและมะม่วงxxxใ่ นระหว่างxxxxxxการ
2. มาตรการด้านคุณภาพ (Quality Standard)
มาตรฐานสินค้าทีจ่ ะนำเข้าไปยังออสเตรเลีย โดยเฉพาะสินค้าอุตสาหกรรม
ไม่ว่าจะป็นรถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอื่นๆ ออสเตรเลียได้มีการจัดตั้งมาตรฐาน ไว้สูงมาก ไทยจำเป็นจะต้องเร่งปรับปรุงให้xxxxxxแข่งขันกับชิ้นส่วนอะไหล่ จากประเทศxxxxxxx ไต้หวัน เกาหลี และอินเดีย
การปรับตัวของผู้ประกอบการไทย
1. เร่งพัฒนาคุณภาพ (Quality) ผลผลิต (Productivity) ของสินค้า และบริการของไทยให้ทัดเทียมและxxxxxxแข่งขันในตลาดโลกได้ดังนี้
1.1 สินค้าเกษตรxxxxxxตรวจสอบรายละเอียดการนำเข้า ของออสเตรเลียได้จากสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
1.2 สินค้าอุตสาหกรรมxxxxxxตรวจสอบการนำเข้าได้ จากสำนักงานมาตรฐานสินค้าอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
TAFTA
1.3 ภาคบริการต้องเร่งพัฒนาฝีมือแรงงานไทยให้ได้มาตรฐาน โดย xxxxxxติดต่อขอรับการฝึกอบรมและทดสอบxxxxxxกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
2. การรวมกลุ่มวิสาหกิจ (Cluster)
เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมในการรับมือกับสินค้าxxxxxxรับxxxxxพิเศษ ตามความตกลงการค้าxxxxกับออสเตรเลีย ไม่ว่าจะเป็นนม นมผง ไวน์ ควรมี การรวมกลุ่มของผู้ประกอบการไทย ผู้ผลิตและผู้ค้าในกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ อย่างเป็นระบบ เพื่อสร้างความxxxxxxxxxในเครือข่ายให้xxxxxxแข่งขันกับ สินค้าที่เข้ามาจากออสเตรเลียเหล่านี้ได้
9. xxxxxxxxxxตอ้ งมีการเจรจาต่อไป ภายใต้ TAFTA
1. การเปิดตลาดการค้าบริการเพิ่มเติม (Trade in Service)
16 ภายใต้ TAFTA ระบุว่า ภายใน 3 ปี หลังจากความตกลงฯ มีผลใช้บังคับ (31 ธ.ค. 2550) จะต้องมีการเจรจาการค้าบริการเพิ่มเติม โดยมีจุดมุ่งหมายใน การxxxxxข้อxxxxxxxxxxxxxxxยอมรับได้ สำหรับในการเจรจาการค้าบริการรอบ ต่อไป ไทยกับออสเตรเลียจะมีการเจรจาบริการด้านการเงิน ด้านโทรคมนาคม
การxxxxxความสะดวกด้านการเข้าเมืองและการทำงานของคนต่างด้าว การยอมรับคุณสมบัติผู้ประกอบอาชีพนวดไทย และการใช้มาตรการxxxxxx สำหรับภาคบริการ
2. การทบทวนการxxxxxxมาตรการxxxxxxพิเศษ (Special Safeguards : SSG)
ภายใต้ TAFTA ระบุว่า xxxxxxเกินกว่า 3 ปี หลังจากความตกลงฯ มีผลใช้บังคับ (31 ธ.ค. 2550) จะต้องทบทวนการxxxxxxการตามมาตรการ xxxxxxพิเศษ รวมถึงความเหมาะสมของรายการสินค้าและระดับปริมาณ และ ปัจจัยการเติบโตที่กำหนดไว้ การทบทวนนั้นจะต้องxxxxxถึงพัฒนาการทางการ ค้าระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง สินค้าที่มีมาตรการxxxxxxพิเศษใช้กับสินค้า เกษตรอ่อนไหว xxxxxxxผ่านมาไทยกำหนดปริมาณนำเข้าแต่ละปีและระยะเวลา การลดภาษีสินค้าเกษตร จำนวน 23 รายการ เป็น 0% ใน 10-15 ปี ในขณะที่ ออสเตรเลียกำหนด 2 รายการ ในเวลา 4 ปี (ปัจจุบันยกเลิกแล้ว) ในกรณีที่มี การนำเข้าเกินปริมาณที่กำหนดไว้ในแต่ละปี ส่วนที่เกินจะถูกเรียกเก็บภาษีใน
TAFTA
อัตราก่อนทีความตกลงฯ มีผลบังคับใช้ (Base Rate) หรืออัตราภาษีทั่วไป (MFN)
อัตราใดอัตราหนึ่งที่ต่ำกว่า
3. นโยบายการแข่งขัน (Competition Policy)
ภายใต้ TAFTA ระบุว่า ภายใน 3 ปีหลังจากความตกลงฯ มีผลใช้ บังคับ (31 ธ.ค. 2550) จะต้องปรึกษาหารือกัน เพื่อที่จะทบทวนขอบเขตและ
การxxxxxxการในเรือ
งนี้ เพือ
ทำให้มีความมัน
ใจว่าจะมีการคุม
ครองโดยครอบคลุม
ถึงxxxxxxxxxxทางการพาณิชย์ที่ถูกต้องและxxxxxxxในอาณาเขตของไทย และออสเตรเลีย นโยบายการแข่งขันได้มีการกำหนดวิธีการและมาตรการที่ เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ มีการยับยั้งมาตรการที่แต่ละฝ่ายใช้ในการยุติ การปฏิบัติที่จำกัดการแข่งขัน และการกำเนิดการเพื่อบังคับใช้มาตรการเหล่านั้น จะต้องสอดคล้องกับหลักความโปร่งใส ความเหมาะสมกับกาลเวลา การไม่เลือก ปฏิบัติ เข้าใจได้ง่าย และเป็นไปอย่างxxxxxxx โดยทั้งสองประเทศต้องxxxxx
17
ถึงความสำคัญของการร่วมมือ และการxxxxxxงานกัน เพื่อxxxxxผลลัพธ์ของ การบังคับใช้ภายใต้กฎหมายการแข่งขันของแต่ละประเทศอย่างมีxxxxxxxxxx รวมทั้งให้ความสำคัญในการเคารพข้อมูลxxxxxxควรเปิดเผยของแต่ละฝ่าย และ จะต้องประกาศกฎหมายที่สนับสนุนการแข่งขันที่เป็นธรรม และกฎหมายที่ว่า ด้วยการปฏิบัติที่จำกัดการแข่งขันของแต่ละฝ่ายอย่างเป็นทางการ หรือยินยอม ให้สาธารณชนxxxxxxเข้าถึงกฎหมายดังกล่าวได้โดยง่าย
4. การจัดซื้อโดยรัฐ (Government Procurement)
ภายใต้ XXXXX xxxมีการจัดตั้งคณะทำงานร่วมด้านการจัดซื้อโดยรัฐ
TAFTA
ซึ่งประกอบด้วย ผูแทนภาครัฐของแต่ละประเทศ และมีหน้าทีรับผิดชอบเกียวกับ่่
การจัดซือ
โดยรัฐ โดยจะพบปะกันอย่างสม่ำเสมอเพือ
หารือถึงประเด็นทีเ่ กีย
วข้อง
และรายงานผลต่อคณะกรรมาธิการร่วมความตกลงการค้าเสรีไทย-ออสเตรเลีย (TAFTA-Joint Commission) รวมทั้งมีหน้าที่เสนอแนะขอบเขตของการเริ่มต้น เจรจาทวิภาคี เพื่อนำผลการเจรจาเรื่องการจัดซื้อโดยรัฐรวมไว้ภายใต้ความ ตกลงฉบับนี้ โดยกระบวนการจัดซื้อจะต้องส่งเสริมและปฏิบัติเพื่อความโปร่งใส ความคุ้มค่าของเงิน การแข่งขันอย่างเปิดกว้างและมีประสิทธิผล การปฏิบัติ อย่างเป็นธรรม ความรับผิดชอบและกระบวนการที่เป็นธรรม และการไม่เลือก ปฏิบัติ รวมทั้งเป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลในเรื่องนโยบายและหลักการของการ จัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายและข้อบังคับของแต่ละฝ่าย
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการเจรจาการค้าบริการเพิ่มเติม
1. บริการทางการเงินและบริการทางโทรคมนาคมถือเป็นบริการ สาธารณูปโภคที่สำคัญ เป็นปัจจัยการผลิตของทุกภาคส่วนเศรษฐกิจ การผูกพัน การเปิดตลาดช่วยส่งเสริมการแข่งขัน นำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพในการให้ บริการลดต้นทุนในการดำเนินธุรกิจของทุกภาคส่วน รวมทั้งเกิดประโยชน์ต่อ ผู้บริโภค
18
2. การผูกพันการเปิดตลาดทำให้เกิดความโปร่งใสและคาดการณ์ได้ เป็นเครื่องมือหนึ่งในการสร้างความเชื่อมั่นแก่นักลงทุนต่างชาติว่าสามารถเข้า ทำธุรกิจในประเทศไทยภายใต้เงื่อนไขที่แน่นอน เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และพัฒนาขีดความสามารถของไทย ซึ่งไทยสามารถเลือกผูกพันการเปิดตลาด เพิ่มเติมในกิจกรรมที่ไทยมีความพร้อม
3. ในการเจรจาการค้าบริการระหว่างประเทศระดับพหุภาคี (WTO) อาเซียนผลักดันให้มีการจัดทำมาตรการป้องกันฉุกเฉิน (Emergency Safeguards Mechanism : ESM) สำหรับการค้าบริการ และในการเจรจา FTA ของไทยทุกกรอบ ไทยผลักดันให้รวมเรื่อง ESM ไว้ในบทการค้าบริการมาโดยตลอด หลักการคือ ให้ภาคีสามารถถอนข้อผูกพันการเปิดตลาดบริการเป็นการชั่วคราวได้ ในกรณี ที่การผูกพันการเปิดตลาดทำให้เกิดผลเสียหายร้ายแรงต่อธุรกิจบริการของ คนในชาติ
4. โดยทั่วไปในความตกลงการค้าระหว่างประเทศ จะมีการผูกพันให้
บุคคลธรรมดาเข้าไปทำงานได้เฉพาะตำแหน่งทีเ่ ป็นบุคลากรระดับสูง เช่น ผูบริหาร
ผูจดั
การ ผูเ้ ชีย
วชาญ แต่ภายใต้ TAFTA ออสเตรเลียอนุญาตให้พ่อครัว แม่ครัวไทย
TAFTA
ที่มีคุณสมบัติตามมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติเข้าไปทำงานได้ นอกจากนี้ ตามที่ระบุใน Side Letter ออสเตรเลียจะสำรวจความเป็นไปได้ในการพัฒนา การยอมรับคุณสมบัติผู้ประกอบอาชีพนวดไทยและผู้ประกอบอาชีพนวดไทย เพื่อบำบัดโรค ดังนั้น การเจรจาเพิ่มเติมจะเปิดโอกาสให้ไทยสามารถผลักดัน
ให้ออสเตรเลียยอมรับมาตรฐานฝีมือแรงงานของไทยในสาขาอาชีพอืน
ๆ เพิม
เติม
ซึ่งเป็นช่องทางในการเข้าไปทำงานของคนไทย รวมทั้งเปิดโอกาสให้สามารถ เจรจาลดอุปสรรคในการเข้าไปทำงานของพ่อครัว แม่ครัวไทย ที่ยังคงมีอยู่
5. นอกจากนี้ ในการเจรจาเพิมเติม ไทยสามารถเรียกร้องให้ออสเตรเลีย
ปรับปรุงข้อผูกพันการเปิดตลาดบริการในสาขาที่ไทยสนใจ หรือมีศักยภาพใน การเข้าไปทำธุรกิจหรือทำงาน
19
10. หน่วยงานทีเ่ กีย
กระทรวงพาณิชย์
วข้องกับการเปิดการค้าเสรีไทย-ออสเตรเลีย
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
44/100 ถนนนนทบุรี 1 ตำบลบางกระสอ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท์ : 02-507-7444
โทรสาร : 02-547-5630-1
Website : http://www.dtn.go.th
TAFTA
http://www.thaifta.com FTA Call Center : 02-507-7555
FTA One Stop Service : 02 512-0123 ต่อ 823
กรมการค้าต่างประเทศ
สำนักสิทธิประโยชน์ทางการค้า
44/100 ถนนนนทบุรี 1 ตำบลบางกระสอ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท์ : 02-547-4817 สายด่วน : 1385
โทรสาร : 02-547-4816
Website : http://www.dft.go.th E-mail : tpdf@moc.go.th
สำนักงานการค้าต่างประเทศ เขต 1 (เชียงใหม่) โทรศัพท์ : 053-274-671-2
โทรสาร : 053-277-901
20 สำนักงานการค้าต่างประเทศ เขต 2 (หาดใหญ่) โทรศัพท์ : 074-252-500
โทรสาร : 074-252 501-2 ต่อ 20
สำนักงานการค้าต่างประเทศ เขต 3 (ชลบุรี) โทรศัพท์ : 038-342-500
โทรสาร : 038-341-173-4
สำนักงานการค้าต่างประเทศ เขต 4 (สระแก้ว) โทรศัพท์ : 037-425-062
โทรสาร : 037-425-063
สำนักงานการค้าต่างประเทศ เขต 5 (หนองคาย) โทรศัพท์ : 042-413-337
โทรสาร : 042-413-376
สำนักงานการค้าต่างประเทศ เขต 6 (เชียงราย) โทรศัพท์ : 053-719-612-4
โทรสาร : 053-719-615
กรมส่งเสริมการส่งออก
สำนักพัฒนาการตลาดต่างประเทศ
TAFTA
27/77 ถนนรัชดาภิเษก แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 02-513-1909-15
โทรสาร : 02 512-1079, 02-512-2235
Website : http://www.depthai.go.th E-mail : intmk@depthai.go.th
สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ นครซิดนีย์
Thai Trade Center, Sydney
โทรศัพท์ : 61-2-9241-1075-6
Website : thaitrade@ozemail.com.au
21
กระทรวงการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ถนนพระราม 6 กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท์ : 02-273-9020
โทรสาร : 02-273-9059
Website : http://www.mof.go.th
กรมศุลกากร
TAFTA
ถนนสุนทรโกษา เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 02-249-0431-40
โทรสาร : 02-249-2874
Website : http://www.customs.go.th
กระทรวงการต่างประเทศ กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ถนนศรีอยุธยา กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท์ : 02-643-5248-9
โทรสาร : 02-643-5247
Website : http://www.mfa.go.th E-mail : interecon@mfa.go.th
กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย
22 ถนนศรีอยุธยา กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 02-643-5040
โทรสาร : 02-643-5041
Website : http://www.mfa.go.th
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 02-940-5550-1
โทรสาร : 02-940-7210
Website : http://www.oae.go.th
กรมวิชาการเกษตร
ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 02-579-0151-7
โทรสาร : 02-579-5248
Website : http://www.doa.go.th
TAFTA
กรมปศุสัตว์
ถนนพญาไท กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท์ : 02-653-4444
โทรสาร : 02-653-4905
Website : http://www.moac.go.th
สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)
ถนนราชดำเนินนอก เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ : 02-280-3906-7
โทรสาร : 02-280-3885
Website : http://www.acfs.go.th
23
กระทรวงอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท์ : 02-202-4336
โทรสาร : 02-202-4308
Website : http://www.oie.go.th
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
TAFTA
ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท์ : 02-202-3301-4
โทรสาร : 02-202-3415
Website : http://www.tisi.go.th
สถานเอกอัครราชทูต สถานเอกอัครราชทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทย โทรศัพท์ : 02-287-2680
โทรสาร : 02-258-4627
Website : http://www.austembassy.or.th
สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ แคนเบอร์ร่า
โทรศัพท์ : 61-2 6206-0100
Website : http://www.thaiemb.org.in
24 E-mail : thaidel@thaiemb.org.in