สัญญาเลขท่ี RDG60A0020
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ
โครงการแนวทางการพัฒนาชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตxxฑ สับปะรด อําเภอบานคา จังหวัดราชบุรี
โดย xxxxxxxx xxxxxxxx และคณะ
พฤษภาคม 2561
สัญญาเลขท่ี RDG60A0020
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ
โครงการแนวทางการพัฒนาชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตxxฑ สับปะรด อําเภอบานคา จังหวัดราชบุรี
คณะผูจัดทํา สังกดั
1. xxxxxxxx xxxxxxxx คณะวิทยาการจัดการ
2. xxxxxxx xxxxxxxx คณะวิทยาการจัดการ
3. ศุภฤกษ สายแกว คณะวิทยาการจัดการ
ชุดโครงการสรางมล
คาผลิตภัณฑทางการเกษตรเพื่อกระตุนเศรษฐกจ
ฐานราก
จากพืชเศรษฐกิจชุมชนสับปะรดจังหวัดราชบุรี สนับสนุนโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (ความเห็นในรายงานนี้เปนของผูวิจัย สกว. ไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไป)
ชื่อโครงการวิจัย แนวทางการพัฒนาชองทางการจดจาหนายสํํั าหรับ
ผลิตภัณฑสับปะรดอําเภอบานคา จังหวัดราชบุร
ชื่อหัวหนาโครงการxxxxx xxxxxxxx xxxxxxxx
คําสําคัญ แนวทางการพฒนา ชอ สับปะรด
บทคัดยอ
งทางการจัดจําหนาย
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาศึกษาความสัมพันธของสมาชิกในชองทางการ จัดจําหนายผลิตภัณฑสับปะรด 2) วิเคราะหชองทางการจัดจําหนายในแตละชองทางการจัดจําหนาย ผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อการบริโภค ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี 3) การพัฒนาชองทางการ จัดจําหนายผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อการบริโภค ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี โดยการ สัมxxxxเชิงลึกจากตัวแทนของหนวยงานราชการ ผูผลิตสับปะรด แผงขายสับปะรด และ หนวยงานราชการ สนทนากลุมผูผลิตสับปะรดทั้ง 11 หมูบานจํานวน 3 ครั้ง และสํารวจความพึง
xxxxของชองทางการจัดจําหนายที่พัฒนาข มาใหมกบผูั ผลิต ผูบริโภค เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย คือ
แบบสอบถามแบบมีโครงสรางและชนิดปลายปดแบบxxxxxวนประมาณคา 5 ระดับ มีความxxxxxxxxx เทากับ 0.90 และแบบสัมxxxxเชิงลึกรายบุคคล สําหรับสถิติที่ใช คือ คารอยละ คาเฉลี่ย สวน เบี่ยงxxxมาตรฐานและวิเคราะหเนื้อหา
ผลการวิจัย พบวา
1. ความสัมพันธของสมาชิกในชองทางการจัดจําหนายสับปะรดเพื่อการบริโภค เปนระบบ ที่มีความคุนเคยจากการคาขายกันมาเปนประจํา มีความสัมพันธในฐานะxxxxxxxxxหรือเพื่อน (personal relationship) สวนสับปะรดเพื่อสงโรงงาน xxxxxxในเชิงธุรกิจ (business relationship) เปนเจาหนี้และลูกหนี้ สมาชิกในองคกร ลูกคาหรือคนรูจัก
2. การวิเคราะหชองทางการจัดจําหนายสับปะรดเพื่อการบริโภค xxxxxxxxงชองทางการ จัดจําหนายออกไดเปน 2 ประเภท คือ ชองทางการจัดจําหนายทางตรงและชองทางการจัดจําหนาย ทางออม ซึ่งแตละทางเลือกมีจุดแข็ง จุดออนที่แตกตางกัน
3. ผลการศึกษาความพึงxxxxของผูบริโภคท่ีมีตอชองทางการจําหนายสับปะรดเพื่อ การบริโภค พบวา ชองทางการจัดจําหนายสับปะรดเพื่อการบริโภคออนไลนผานทางเฟสบุค คือ สวนใหญผูผลิตมีความพึงxxxxในเรื่องการใชงานงาย สวนผูบริโภคมีความพึงxxxxสวนใหญใน เรื่องมั่นใจวาสินคามีคุณภาพและสด ชองทางการจัดจําหนายสับปะรดเพื่อการบริโภคออนไลนผาน ทางเว็บไซต คือ ดานประสิทธิภาพของเว็บไซต อันดับแรก คือ ภาษาที่ใชในเว็บไซตมีความชัดเจน ถูกตองเปนทางการและตรงประเด็นxxxในระดับมากที่สุด ดานความสวยงามของเว็บไซต อันดับ แรกคือ ความนาสนใจของหนาจอหลักxxxในระดับมากที่สุด และความพึงxxxxของชองทางการจัด จําหนายสับปะรดเพื่อการบริโภคในการออกรานของผูบริโภค พบวา อันดับแรก คือ บูธจัดจําหนาย
xxxxxxกระตุนใหxxxxxxxตัดสินใจซื้อxxxในระดับมากที่สุด และสําหรับการตัดสินใจซื้อ ของชองทาง การจัดจําหนาย
ขอเสนอแนะ คือ การเลือกใชชองทางการจัดจําหนายทางออนไลน xxxxxxทําใหขายใน
พ xxxx x สําหรบั การขายผานทางการออกรานควรใหควบคูกับคิวอารโคด เพ่ือการใหขxxxxxxxละเอียด
และสรางความxxxxxxxxxในตัวสินคาของผูบริโภคได
Project Research Title The guideline of the channel
distribution for pineapple products Bankha district Ratchaburi Province
Project Research Leader Xxxxxxxxxx Xxxxxxxxx
Keywords guideline of development, the channel distribution, pineapple products
ABSTRACT
This research aim to 1) study members’ relationship in pineapple distribution channels. 2) Analysis of distribution channels for each pineapple distribution channel. Nong Panchan district, Ratchaburi. 3) Development of distribution channels for pineapple products. Nong Panchan district, Ratchaburi. In this case, researchers was held by interviewing government agencies, pineapple producers, pineapple buying panel and retailer. Focus group of Three 11 pineapple producer groups were interviewed. The research instrument was a structured and closed-end questionnaire with 5 levels of reliability, 0.90, and interview. In-Depth The statistics used were percentage, mean, standard deviation, and content analysis.
Finding include :
1. The relationship of pineapple distribution members channels for consumption. The relationship is familiar because the trade is regular. Be relative or friend (personal relationship) for the pineapple factory. Relationship is telative or friend. Membership in the organization Being a creditor with a debtor Customer or acquaintance
2. Analysis of Pineapple Distribution Channels for Consumption There are two types of distribution channels: direct distribution channels and indirect distribution channels. Each option has its strengths. Different Weaknesses
3. The results of consumer satisfaction survey on pineapple distribution channel for consumption showed that pineapple distribution channel for online consumption via Facebook was the majority of manufacturers were satisfied with the usage. easy Consumers are mostly satisfied with the quality and freshness of their products. The pineapple distribution channel for online consumption is the website's
efficiency. The first is that the language used in the website is clear, accurate and informative at the highest level. The beauty of the site is that the interest of the home screen is at the highest level. The satisfaction of the pineapple distribution channel for consumption in the consumer show that the first place is the distribution booth, which can stimulate the purchase decision at the highest level. And for buying decisions. Of the channel.
Suggestions is to choose an online distribution channel. Can be sold in the area. For sale through the fair, should be provided in conjunction with the OR code. To provide detailed information and confidence in the consumer goods.
กิตติกรรมประกาศ
งานวิจัยแนวทางการพัฒนาชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรด อําเภอบานคา จังหวัดราชบุรี มีจุดประสงคเพ่ือสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจอยางยืนใหกับชุมชน ไดรับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง ที่ทําใหผูวิจัยมี
โอกาสไดส
รางสรรคผลงานxxxxx xxxxจนทําการรวบรวม สังเคราะหจนแลวเสร็จ
ขอขอบคุณสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ที่ใหโอกาสในการพัฒนา
โครงการวิจัยตลอดจนเอื้ออํานวยความสะดวกตาง ๆ ในการทํางาน
ขอขอบคุณเกษตรจังหวัดราชบุรี เกษตรอําเภอบานxx xxxxxอําเภอสวนผึ้ง องคการ บริหารสวนตําบลหนองพันจันทร กลุมแปรรูปสับปะรดหวานละมูน และเกษตรกรผูปลูกสับปะรดใน ตําบลหนองพันจันทร ที่ชวยเหลือและสนับสนุนขอมูล จนผูวิจัยรวบรวม สังเคราะหจนแลวเสร็จ
ทายสุดขอขอบคุณ บิดามารดา ครูบาอาจารยที่ทําการสั่งสอน อบรมความรูพื้นฐานใน การทํางาน ทําใหxxxxxxแกไขปญหาที่เกิดข้ึนไดเปนอยางxx xxxxจนครอบครัวและเพื่อนรวมงานที่ เปนกําลังใจในการทํางานอยางดีเสมอมา
xxxxxxxx xxxxxxxx และคณะ 20 / มีนาคม / 2561
....
...
....
....
....
...
...
.
.........
...
...........
..
............
.
……
บทคัดยอภาษาไทย ก
บทคัดยอภาษาอ xxx ค
กิตติกรรมประกาศ จ
สารบ ฉ
สารบัญตาราง ซ
สารบัญภาพประกอบ ฎ
บทที่ 1 บทนํา 1
ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1
ว ถุประสงคของการวิจัย 4
คําถามวิจัย 4
ขอบเขตการวิจัย 4
กรอบแนวคิดการวิจัย 4
นิยามศัพทเฉพาะ 5
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 6
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 7
แนวความคิดเกี่ยวกับชอมูลทั่วไปของพื้นที่ศึกษา 7
แนวความคิดเก่ียวกบั สับปะรด 12
แนวความคิดเกี่ยวกับชองทางการจัดจําหนาย 23
แนวคิดพฤติกรรมภายในชองทางการตลาด 42
แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห SWOT 45
งานวิจัยที่เกี่ยวของ......................................................................................................
งานวิจัยที่เกี่ยวของกับชองทางการจัดจําหนาย 46
งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการตลาดออนไลน 49
บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย ......................................................................................................... 44
ขั้นตอนการดําเนินงาน 44
เทคนิคและวิธีการดําเนินงานวิจัย................................................................................. 45
..
........
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 66
สัญลักษณที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 66
ตอนที่ 1 ความสัมพันธของสมาชิกในชองทางการจัดจําหนายสําหรับ
ผลิตภัณฑสับปะรด ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี 66
ตอนที่ 2 การวิเคราะหชองทางการจัดจําหนายในแตละชองทางการจัดจําหนาย
ของส
ปะรด ตําบลหนองพันจน
ทร จงั หวัดราชบุรี 79
ตอนที่ 3 การพัฒนาชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑ สับปะรดเพื่อการบริโภค ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี...................
บทที่ 5 พืชเศรษฐกิจ.....................................................................................................................
วัตถุประสงค...................................................................................................................
สรุปผลการศึกษา............................................................................................................
อภิปรายผลการศึกษา......................................................................................................
ขอเสนอแนะ.....................................................................................................................
บรรณานุกรม ................................................................................................................................
ภาคผนวก.
91
111
111
112
118
119
120
แบบสอบถามความพึงxxxxของผูบริโภคตอชองทางการจัดจําหนายผานออนไลน (เว็บไซต)
แบบสอบถามความพึงxxxxของผูบริโภคตอชองทางการจัดจําหนายการออกราน (บูธ)
ตาราง หนา
2.1 สรุปงานวิจ ทเ่ี กย่ี วของ............................................................................ 52
......
..
...
.....
………
3.1 จํานวนประชากรและกลุมตัวอยางและสัดสวนที่ใชในการวิจัยจําแนกตามหมูบาน 62
4.1 แสดงผลการจัดจําหนายสับปะรดในตําบลหนองพันจันทร 67
4.2 แสดงผลการจ
จําหนายส
ปะรดเพื่อการบริโภค 67
4.3 แสดงผลการจัดจําหนายสับปะรดเพื่อการบริโภคตามโครงสรางของ
ชองทางการจ จําหนายท่ีขายผานคนกลาง 67
4.4 แสดงผลการจัดจําหนายสับปะรดเพื่อเขาสูโรงงานตามโครงสรางของ ชองทางการจัดจําหนายที่ขายผานคนกลาง 68
4.5 ภาพรวมความสัมพันธของสมาชิกในชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตสับปะรด
ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี โซน A (หม 2 บานหนองโก และหมู 10
บานทุงตาล ) 68
4.6 ภาพรวมความสัมพันธของสมาชิกในชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑ สับปะรด ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี โซน B (หมู 1 บานทุงมะลิครอ
หม 3 บ
นชองลาภ หม
6 บ นหนองพ จ
ทร หมู 7 บ
นหนองธง
หมู 8 บานหนองตาเล็ก หมู 9 บานทุงหมูปลอย และหมู 11
บานทุงมะลิคร เหนือ) 71
4.7 ภาพรวมความสัมพันธของสมาชิกในชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรด
ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี โซน C (หมู 4 บ นหนองจอกบน หมู 5
บานหนองจอก) 73
4.8 สรุปภาพรวมความสัมพันธของสมาชิกในชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑ
ส ปะรดเพื่อการบริโภค ตําบลหนองพ จันทร จังหวัดราชบรีุ 76
4.9 สรุปภาพรวมความสัมพันธของสมาชิกในชองทางการจําหนายสับปะรด
เพื่อเขาสูโรงงาน ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี 78
4.10 แสดงการเลือกชองทางการจัดจําหนายของผูผลิตสับปะรดเพื่อการบริโภค 79
4.11 แสดงการเลือกชองทางการจัดจําหนายของผูผลิตสับปะรดเพื่อโรงงาน 80
4.12 สรุปผลการวิเคราะหชองทางการจัดจําหนายทางตรงของชองทางการจัดจําหนาย สับปะรดเพื่อการบริโภค ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี 80
ตาราง หนา
4.13 สรุปปญหาและอุปสรรคในการสงเสริมจากหนวยงานภาครฐ 81
.
...
….
ัณฑ
......
.........
.........
..........
....
...
.........
......
........
.........
4.14 ผลการวิเคราะหชองทางการจัดจําหนายทางตรงของชองทางการจัดจําหนาย สับปะรดเพื่อการบริโภค ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี 82
4.15 สรุปผลการวิเคราะหชองทางการจัดจําหนายในแตละชองทางการจัดจําหนาย สับปะรดเพื่อการบริโภค ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี 84
4.16 ผลการวิเคราะหชองทางการจัดจําหนายในแตละชองทางการจัดจําหนาย สําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อเขาสูโรงงาน ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี 87
4.17 แสดงการวิเคราะห จุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรคของแตละชองทาง 88
4.18 การพ
นาชองทางการจด
จําหนายใหม 91
4.19 แสดงยอดขายxxxxx
xกการทดลองจําหนายผานทางเฟซบุค...........................................
100
4.20 ผลการสํารวจความคิดเห็นของผูบริโภคที่มีตอการจัดจําหนายผานทางออนไลน (เฟซบุค) สําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อการบริโภค ตําบลหนองพนจันทร
จงั หวัดราชบุรี............................................................................................................
4.21 ผลความคิดเห็นของผูผลิตที่มีตอการทดลองพัฒนาชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภ สับปะรดเพื่อการบริโภค ตําบลหนองพันจันทร ขังหวัดราชบุรี .................................
4.22 แสดงขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามแยกตามเพศ................................... ................
4.23 แสดงขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบภามแยกตามอาชีพ.................................................
103
104
104
105
4.24 แสดงข
มูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามแยกตามรายไดตอเดือน...................................
105
4.25 แสดงการใชบริการสั่งซื้อสินคาผานทางเว็บไซต............... ...............................................
4.26 แสดงความพึงxxxxxxxมีตอชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑ สับปะรดเพื่อการบริโภค ผานทางออนไลน (เว็บไซต) ดานประสิทธิภาพ....................
4.27 แสดงความพึงxxxxxxxมีตอชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑ สับปะรดเพื่อการบริโภค ผานทางออนไลน (เว็บไซต) ดานความสวยงาม...................
4.28 แสดงการตัดสินใจซื้อสินคาในชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรด เพื่อการบริโภคผานทางออนไลน (เว็บไซต) ..................................................................
106
106
107
107
4.29 แสดงข
มูลท
ไปของผูตอบแบบสอบถามแยกตามเพศ................................... ................
108
4.30 แสดงขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบภามแยกตามอาชีพ.................................................
4.31 แสดงขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามแยกตามรายไดตอเดือน ..................................
108
109
ตาราง หนา
.......
......
4.32 แสดงความพึงxxxxในชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑ สับปะรดเพื่อการบริโภคผานทางการออกราน (บูธ) .................................................
4.33 แสดงการตัดสินใจซื้อสินคาในชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรด เพื่อการบริโภคผานทางการออกราน (บูธ) ...................................................................
109
110
ภาพประกอบ หนา
1.1 การจัดจําหนายสับปะรดเพื่อการบริโภค 3
2.1 แผนที่จังหวัดราชบุรี 8
2.2 แสดงลักษณะของส ปะรด 15
...
....
.
.......
..........
.........
...........
..
..
..
...
...
...
..........
2.3 แสดงการคัดแยกขนาดผลผลิตดวยสายตาของแผงรับซื้อ 19
2.4 แสดงความแตกตางของขนาดสับปะรด 19
2.5 แสดงการแปรรูปส ปะรด 20
2.6 แสดงส ปะรดทนํ่ี าไปแปรรูป 20
2.7 แสดงการจัดจําหนายของผลิตภัณฑสับปะรด 22
2.8 แสดงระดับชองทางการจัดจําหนายในตลาดผูบริโภค 25
2.9 แสดงการตอบxxxxของผูบริโภคตอสื่อที่ผูบริโภคสรางขึ้นบนxxxxxอรเน็ต 30
2.10 แสดงระดับชองทางการจัดจําหนายในตลาดธุรกิจ 38
2.11การวิเคราะหสภาพแวดล มทางการจัดการ 46
4.1 แสดงการทดลองชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อการบริโภค
ผานทางทางออนไลน (เฟสบุค) 94
4.2 แสดงการทดลองชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อการบริโภค ผานทางทางออนไลน (เฟสบุค) 95
4.3 แสดงการทดลองชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อการบริโภค
ผานทางทางออนไลน (เฟสบุค) 95
4.4 แสดงการทดลองชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อการบริโภค ผานทางทางออนไลน (เฟสบุค) 96
4.5 แสดงการทดลองชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อการบริโภค ผานทางทางออนไลน (เฟสบุค) 96
4.6 แสดงการทดลองชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อการบริโภค
ผานทางทางออนไลน (เฟสบุค) 97
4.7 แสดงการทดลองชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อการบริโภค ผานทางทางออนไลน (เฟสบุค) 97
4.8 แสดงการทดลองชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อการบริโภค ผานทางทางออนไลน (เฟสบุค) 98
4.9 แสดงการทดลองชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อการบริโภค
ผานทางทางออนไลน (เฟสบุค) 98
4.10 แสดงชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อการบริโภค
ผานทางทางออนไลน (เว็บไซต) 99
ภาพประกอบ หนา
4.11 แสดงการทดลองชองทางการจัดจําหนายสําหร ผลิตภัณฑส ับปะรดแปรรูป 99
.......
..
.........
4.12 แสดงขอมูลผูผลิตสับปะรดหวานเพื่อการบริโภคในเว็บไซต ............................................
4.13 แสดงขอมูลผูผลิตสับปะรดหลานเพื่อการบริโภคผานทางชองทางการจัดจําหนาย ออนไลน (เว็บไซต)...................................................................................................
4.14 แสดงการออกรานขายสับปะรดจากผูผลิตโดยตรง...........................................................
101
102
102
1
บทที่ 1 บทนํา
ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
สับปะรดเปนหนึ่งในผลไมเศรษฐกิจของประเทศไทย โดยประเทศไทยเปนผูสงออกสับปะรด และผลิตภัณฑอันดับ 1 ของโลก มีสวนแบงการตลาดประมาณรอยละ 50 สรางรายไดใหประเทศ
ปละ 23,000 – 25,000 ลานบาท นอกจากนี้อุตสาหกรรมสับปะรดยังมีความสําคัญตอเศรษฐกิจทั้ง ในระดับมหภาคและระดับไรนา นับเปนอุตสาหกรรมที่เชื่อมโยงxxxxxxผลิตดานการเกษตรกับ ภาคอุตสาหกรรมที่กอใหxxxxxxxคาxxxxx (xxxxxxxxx xxxxxxx, 2558) แตผลผลิตทางการเกษตรไม xxxxxxควบคุมได ทําใหราคาขึ้นลงตามกลไกของตลาด สงผลใหประเทศไทยมีปญหา คือ ทุกปจะ มีxxxxxราคาตกต่ํา เน่ืองจากเกษตรกรสวนใหญมีแนวทางในการxxxxxxxxxxxxxxxชนิดไหน เมื่อไหร ดูจากราคาขายพืชตัวนั้นเมื่อปที่ผานมาเปนหลัก อยางเชน เมื่อป 2554 สับปะรดราคาดี เนื่องจาก ตลาดโลกมีความตxxxxxสูง ทําใหป 2555 เกษตรกรจึงปลูกสับปะรดจํานวนมากขึ้น เพราะคาดวา ราคาจะดีเหมือนปที่แลว แตโชคไมxxxxxเศรษฐกิจโลกตกต่ํา ทําใหความตxxxxxสับปะรดของตลาด ตางประเทศลดลง ผลผลิตลนตลาด ราคาตกต่ํา สาเหตุเนื่องมาจากxxxxxxxxxมีการxxxxxxxxตาม ฤดูกาล เมื่อถึงชวงเวลาเก็บเกี่ยวผลผลิตสวนใหญจะออกมาพรอม ๆ กัน ทําใหอาจมีผลผลิตมากกวา ความตxxxxxของตลาดในชวงนั้น การแกปญหา คือ พยุงราคาไมใหตกต่ําโดยรัฐบาล แตวิธีนี้ สิ้นxxxxxxงบประมาณ อีกวิธี คือ ทําการหาชองทางการตลาดxxxxx โดยการหาเครือขายตางพื้นที่ ตางxxxxxxx ตางประเทศ เพื่อระบายผลผลิต (xxxxxxxxxx xxxxxxx, 2555) สวนในป 2558 ผลผลิต มีจํานวนนอยลง เนื่องจากภัยแลงกระหน่ําสวนสับปะรด 6 แสนไรที่เมืองxxxxxxฯ ทําใหผลผลิต ออกสูตลาดนอย เนื่องจากสับปะรดสวนใหญรอยละ 80 xxxนอกเขตชลประทาน จึงตองพึ่งพา นํา้ ฝน ดังนั้นหากฝนทิ้งชวง จะสงผลใหสับปะรดขาดนํ้า เจริญเติบโตไมเต็มที่ ผลผลิตออกสูตลาด นอย จาก 1.2 ลานตันตอป ลดลงเหลือ 5 xxxxxx ทําใหสูญเสียรายไดไปกวา 1 หมื่นลานบาท ทําใหราคาผลสดเพ่ือการบริโภคมีราคา 10 – 11 บาทตอกิโลกรัม เพราะโรงงานแปรรูปสงออกไมมี วัตถุดิบ ทําใหตองซื้อจากจังหวัดอื่นมาxxxxx (ประชาชาติธุรกิจ, 2558)
จังหวัดราชบุรีเปนศูนยกลางของxxxxxxxในภาคตะวันตกที่มีธุรกิจการคาแบบสินคาเกษตร โดยมีสับปะรดเปนพืชเศรษฐกิจ ซึ่งสับปะรดจะทําการปลูกมากที่สุดที่อําเภอบานคา อําเภอปากทอ อําเภอสวนผึ้ง ตามลําดับ (กลุมงานขอมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานจังหวัดราชบุรี, 2559, หนา 16) และอําเภอจอมบึง เนื่องจากดินในพื้นที่จังหวัดราชบุรีมีความxxxxxxบูรณต่ําถึง ปานกลาง ระบายน้ําไดดี มีความเปนกรดเปนดางของดินที่เหมาะสมในการปลูกสับปะรด แตที่สราง รายไดดีxxxที่อําเภอบานคา เพราะเกษตรกรในพื้นที่นี้มีการปลูกถึงรอยละ 80 ของxxxxxทาง การเกษตรอื่น รองลงมาคือยางพารา พืชผัก ออยโรงงาน ไมผล และมันสําปะหลัง จุดเดนของ สับปะรดบานคา คือ มีรสชาติหวานฉ่ํา ไมกัดลิ้น xxxxxxxxxx เนื้อสีxxxxxxสวย เนื้อละเอียด หนา นิ่ม มีตาคอนขางตื้น ทําใหปอกงาย xxxxxxรับประทานไดทั้งลูก ทั้งเนื้อและแกน จึงทําใหผลสด เพื่อการบริโภคเปxxxxตxxxxxของตลาด (xxxxxxxxx เย็นยอดxxxxx, 2559) การปลูกสับปะรดจะมีxxx
3 แบบ คือ 1) ผลิตเพื่อขายใหกับพอคาปลีกอยางเดียว 2) ผลิตเพ่ือขายใหกับโรงงานอยางเดียว
3) ผลิตเพื่อขายใหกับท้งพอคาปลีกและโรงงาน สําหรับการจัดจําหนาย มีการจัดจําหนายใหกับ พอคาที่นําไปขายตอหรือขายใหกับโรงงานเพื่อนําไปแปรรูป
ปญหาของการขายสับปะรดในพ้ืxxxxอําเภอบานคา จากการลงพื้นที่ จังหวัดราชบุรี เพื่อ ทําการประชาคมเกษตรกรรายยxxxxxปลูกสับปะรดในอําเภอบานคา จํานวน 20 คน เมื่อxxxxxx 19 มีนาคม 25560 พบวา ขายไดราคาต่ํากวาเปนจริง เน่ืองจากสับปะรดเน้ือ 1 และ เนื้อ 2 จะมีราคา แตกตางกันเทาตัว ปญหาคือ การที่จะแยกประเภทของสับปะรดไดตองใชประสบการณ ซึ่งสับปะรด บางลูกเปนไดท้ังเนื้อ 1 และเนื้อ 2 แตคนกลางจะรับซื้อเปนเนื้อ 2 แลวเอาไปขายเปนเนื้อ 1
นอกจากน การขายผานคนกลางทําใหเกษตรกรไมมีอํานาจตอรองในการกําหนดราคา และการขาย
ผานหลายทอดทําใหราคาสับปะรดสูงขึ้นในชวงที่ผลผลิตขาดตลาด กลาวคือ ถาชวงไหนราคาถูกจะมี การบวกกําไรxxxxxทอดละ 5 - 10 บาทตอกิโล แตถาหากราคาแพงจะถูกบวกxxxxxทอดละ 10 – 20 บาทตอกิโล หรือมากกวานั้นขึ้นxxxกับกลไกของตลาด ดังนั้นหากผูผลิตดําเนินการขายตรงยังผูบริโภค จะทําใหมีกําไรxxxxxเทาตัว ซึ่งการจัดจําหนายเพื่อการบริโภค xxxxxxแสดงไดดังภาพตอไปนี้
พอคาคนกลาง
คนที่ 3
คนที่ 2
คนที่ 1
R
C
ผูบริโภค คนสุดทาย
คนที่ 3
คนที่ 2
คนที่ 1
P
ชวงราคาสูง 19 – 20 บาท
(ป 59)
ชวงราคาต่ํา 6 – 7 บาท
(ป 59)
บวกxxxxx
10 - 20 บาท จากราคาไร (ขึ้นxxx ระยะทางขนสง และราคา น้ํามัน)
บวกเพมิ่
10 - 20 บาท
จากขายทอดที่ 1 (ขึ้นอยูกบั การ นําไปจําหนวย เชน ขายเปน กก. หรือ ขาย เปนชิ้น
เนื้อ 1
ชวงราคาต่ํา 3 บาท
(ป 59)
ชวงราคาสูง 12 - 14 บาท (ป59)
5 - 20 บาท จากราคาไร (ขึ้นxxxระยะทาง การขนสง และ
ราคาน้ํามัน)
บวกเพมิ่
10 - 20 บาท
จากขายทอดที่ 1 (ขึ้นxxxกับการ นําไปจําหนวย เชน ขายเปน กก. หรือ ขายเปนชิ้น
เนื้อ 2
ภาพที่ 1.1 การจัดจําหนายสับปะรดเพื่อการบริโภค
จากขอมูลดังกลาวขางตน จะเห็นไดวาหากxxxxxxxxxxxชองทางการจัดจําหนายท่ี หลากหลายใหกับผูผลิตสับปะรดเพื่อการบริโภค ใหเขาถึงกลุมเปาหมายไดอยางทั่วถึงมากขึ้นกวาเดิม จะxxxxxxระบายผลผลิตในชวงที่ราคาตกต่ํา ถาในชวงที่ราคาสูง จะxxxxxxxxxxxอํานาจการตอรอง กับคนกลางในการกําหนดราคาและxxxxxxลดชองวางระหวางผูผลิตกับผูบริโภคได ซึ่งสอดคลองกับ งานวิจัยที่ผานมาของ xxxxxx xxxxxxx (2555) ไดทําการวิจัยเรื่อง ตนทุนรวมการปลูกสับปะรดตอไร พบวา การเชาที่ดินมีอัตราผลตอบแทนของสินทรัพยสูงสุด ปญหาในการปลูกสับปะรดคือ ภัย xxxxxxxx ราคาปุย และการเสื่อมสภาพของดินและไมมีแหลงรับซื้อสับปะรดในชวงผลผลิตมีมากทํา ใหร าคาตกต่ํา แนวทางการแกไขปญหา คือ หนวยงานภาครัฐควรจัดหาแหลงรับซื้อผลผลิตในชวงที่ ผลผลิตมีมาก และxxxxx กลาขาย (2554) xxxxxทําการสํารวจภาคสนามดานการตลาดสับปะรดเพื่อ บริโภคผลสดของอําเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง พบวา จุดออน คือ การที่เกษตรกรขาดความ ขอมูลการตลาดและขาวสารเกี่ยวกับสับปะรดบริโภคผลสด จึงใหความสนใจมุงที่ผลิตสงโรงงาน มากกวาผลิตผลสด
ดังนั้นจากเหตุผลความจําเปนดังกลาว ผูวิจัยจึงไดทําการวิจัย เรื่อง แนวทางการพัฒนา ชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรด อําเภอบานคา จังหวัดราชบุรี โดยมีวัตถุประสงค 3 0 เพื่อศึกษาความสัมพันธของสมาชิกในชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรด เพื่อ วิเคราะหชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อการบริโภค และเพื่อพัฒนาชองทาง ทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อการบริโภค ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี
วัตถุประสงคของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาความสัมพันธของสมาชิกในชองทางการจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรด 3 0
ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี
2. เพื่อวิเคราะหชองทางการจัดจําหนายในแตละชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑ สับปะรด 30 ตําบลหนองพนจันทร จังหวัดราชบุรี
3. เพื่อพัฒนาชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อการบริโภค30 ตําบลหนอง พันจันทร จังหวัดราชบุรี30
คําถามวิจัย
1. ความสัมพันธระหวางผูที่มีสวนเกี่ยวของในชองทางการจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสบปะรด
30ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรีมีรูปแบบและลักษณะอยางไร30
2. การจัดจําหนายในแตละรูปแบบของสับปะรดเพื่อการบริโภค30 ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรีมีขxxxและขอเสียในเรื่องใดบาง
3. การจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรดที่เหมาะสมกับเกษตรกรในตําบลหนองพัน จันทรมีกี่รูปแบบ
ขอบเขตของการวิจัย
การศึกษาแนวทางการพัฒนาชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรด อําเภอ บานคา จังหวัดราชบุรี ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตในการดําเนินงาน ดังนี้
1. ขอบเขตทางดานพื้นท่ีการศึกษาครั้งน้ี จะดําเนินการศึกษาแนวทางการพัฒนา ชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรด เฉพาะในตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี
2. ขอบเขตทางดานตัวแปร เกี่ยวกับของกับความสัมพันธของผูจัดจําหนายสับปะรด รูปแบบ ชองทางการจัดจําหนาย การออกแบบชองทางการจัดจําหนาย
3. ขอบเขตทางดานประชากร เปนกลุมผูใหขอมูลหลัก ไดแก ผูผลิตสับปะรด ตัวแทนจาก หนวยงานภาครัฐ รานคาปลีก ผูบริโภค
4. ขอบเขตเวลาในการดําเนินการศึกษาระหวางวันท 30 เดือนกันยายน พ.ศ.2561
กรอบแนวคิดการวิจัย
1 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2560 ถึง วันที่
แนวคิดของสุวิทย นามบุญเรือง (2560, หนา 67 – 73) ที่เก่ียวกับพฤติกรรมภายใน ชองทางการตลาด ที่เก่ียวกับบทบาทของสมาชิกในชองทางการตลาดและอํานาจในการบริหาร ชองทางการตลาด และนพรัตน ภูมิวุฒิสาร, 2558 (หนา 183) ที่เกี่ยวกับการออกแบบชองทาง การจัดจําหนายที่ตองเหมาะสมและสามารถเขาถึงผูบริโภคได และงานวิจัยของนงลักษณ ตั้งใจ
(2551) ท่ีศึกษาเกี่ยวกับชองทางการจัดจําหนายสมสายน้ําผึ้งของเกษตรในพื้นที่อําเภอฝาง จังหวัด เชียงใหม ที่เกี่ยวกับการจําหนายผลผลิตผานพอคาคนกลางเนื่องจากความคุนเคยที่มีกับพอคา คนกลาง และหากจะสามารถขายโดยตรงได จะตองมีแหลงลงทุน คุณภาพของสมสายน้ําผึ้งและ ความชํานาญในการหาตลาด โดยสามารถกําหนดเปนกรอบแนวความคิดการวิจัยไดดังนี้
ความสัมพันธ
ความสัมพันธ
วิเคราะหชอง ทางการจัด จําหนาย
ปญหาและ ความตองการ ในการจัด จําหนาย
พัฒนาชองทางการจัดจําหนายใหม
ชองทางการจัดจําหนายเดิม
ขอมูลผูผลิตสับปะรด เพื่อการบริโภค ใน ตําบลหนองพันจันทร
คนกลาง
ผูผลิต
ความพึงพอใจของผูบริโภค
โรงงาน
ผูผลิต
ผบริโภค
นิยามศัพทเฉพาะ
การศึกษาแนวทางการพัฒนาชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรด อําเภอ บานคา จังหวัดราชบุรี ผูวิจัยจึงไดกําหนดนิยามเฉพาะ เพื่อใหเขาใจความหมายของคําศัพทที่ใชใน การวิจัยครั้งนี้ตรงกัน ดังนี้
1. ชองทางการจัดจําหนาย หมายถึง เสนทางการเคลื่อนยายสับปะรดเพื่อการบริโภคจาก ผูผลิตไปสูผูบริโภคคนสุดทาย
2. ผลิตภัณฑสับปะรด หมายถึง สับปะรดพันธุปตตาเวียที่เกษตรกรทําการปลูกที่ ตําบลหนองพันจันทร อําเภอบานคา จังหวัดราชบุรี ซึ่งมี 2 ลักษณะ คือ เพื่อการบริโภค ที่มีการ จัดจําหนายใหกับผูบริโภคคนสุดทายโดยผานคนกลางหรือไมผานคนกลางก็ได และเพื่อเขาสูโรงงาน จะเปนการขายใหกับโรงงานเพื่อนําไปเปนวัตถุดิบ ซึ่งจะมีขั้นตอนในการดูแลที่แตกตางกัน กลาวคือ สับปะรดเพื่อการบริโภคมีขั้นตอนที่ยุงยากมากกวาการปลูกเพื่อปอนเขาสูโรงงาน
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1. ชุมชนไดชองทางในการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อการบริโภคใหกับ
ผูบริโภค
2. ชุมชนไดมีโอกาสเขามามีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นเก่ยวี กับสงิ่ ท่ีตองการใน
การพัฒนาธุรกิจ
3 .นักวิจัยและนักวิจัยรวมไดเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูจากการปฏิบัติงานรวมกัน
4. นักวิจัยไดมีโอกาสในการลงชุมชน สรางโอกาสในการเรียนรูรวมกันกับทองถิ่น และมี ฐานขอมูลสําหรับใชในการจัดการเรียนการสอนทางการตลาดของมหาวิทยาลัยตอไปในอนาคต
5. มีภาคีที่เกิดจากการวิจัย คือ สหกรณการเกษตร องคการบริหารสวนตําบลหนองพันจันทร เกษตรกรสับปะรด ศูนยการเรียนรู
6. มหาวิทยาลัยไดทําการพัฒนานักวิจัยรุนใหม ในการทํางานวิจัยเชิงพื้นที่
7
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาแนวทางการพัฒนาช่องทางการจัดจําหน่ายสําหรับผลิตภัณฑ์สับปะรด อําเภอ บ้านคา จังหวัดราชบุรี ในครั้งนี้ผู้วิจัยได้ทบทวนเอกสารเบื้องต้นประกอบการจัดทําโครงร่างการวิจัย และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีเนื้อหาที่จะนําเสนอดังนี้
1. แนวความคิดเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ศึกษา
2. แนวความคิดเกี่ยวกับสับปะรด
3. แนวความคิดเกี่ยวกับช่องทางการจัดจําหน่าย
4. แนวความคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมภายในช่องทางการตลาด
5. แนวความคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์ SWOT
6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับช่องทางการจัดจําหน่าย
7. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการตลาดออนไลน์
แนวความคิดเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ศึกษา
การศึกษาเรื่อง แนวทางการพัฒนาช่องทางการจัดจําหน่ายสําหรับผลิตภัณฑ์สับปะรด อําเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี ผู้วิจัยได้ลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้เครื่องมือการสัมภาษณ์แบบมี โครงสร้างและการสนทนากลุ่ม ควบคู่ไปกับการสังเกตอย่างไม่มีส่วนร่วม โดยศึกษาเกี่ยวกับ
1) ความสัมพันธ์ของสมาชิกในช่องทางการจําหน่ายสําหรับผลิตภัณฑ์สับปะรด ตําบลหนองพันจันทร์
2) วิเคราะห์ช่องทางการจัดจําหน่ายในแต่ละช่องทางการจัดจําหน่ายสําหรับผลิตภัณฑ์สับปะรดเพื่อ บริโภค ตําบลหนองพันจันทร์ 3) การพัฒนาช่องทางการจัดจําหน่ายสําหรับผลิตภัณฑ์สับปะรดเพื่อ การบริโภค ตําบลหนองพันจันทร์ จังหวัดราชบุรี และเก็บรวบรวมความพึงพอใจของผู้บริโภคใน ช่องทางการจัดจําหน่ายที่พัฒนาขึ้นมาใหม่ ต่อจากนั้นนําข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เชิงเนื้อหาและหา ค่าทางสถิติเชิงพรรณนา โดยเริ่มต้นจากการศึกษาค้นคว้าแนวความคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
ลักษณะทั่วไปของจังหวัดราชบุรี
จังหวัดราชบุรี มีชื่ออันเป็นมงคลยิ่ง หมายถึง “เมืองพระราชา” เป็นเมืองเก่าแก่ เมืองหนึ่งของประเทศไทย จากการศึกษาและขุดค้นของนักประวัติศาสตร์ นักโบราณคดี พบว่า ดินแดนแถบลุ่มแม่น้ําแม่กลองแห่งนี้เป็นถิ่นฐานที่อยู่อาศัยของคนหลายยุคหลายสมัย และมี ความรุ่งเรืองมาตั้งแต่อดีต จากหลักฐานทางโบราณสถานและโบราณวัตถุที่ตําบลคูบัว อําเภอเมือง ราชบุรี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ได้เคยดํารง ตําแหน่งหลวงยกกระบัตรเมืองราชบุรีในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ซึ่งในช่วงปลาย สมัยกรุงศรีอยุธยาและตอนต้นกรุงรัตนโกสินทร์ปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่า เมืองราชบุรี เป็นเมืองหน้าด่านที่สําคัญ เป็นสมรภูมิการรบหลายสมัย โดยเฉพาะในสมัยสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช ได้ยกทัพมาตั้งรับศึกพม่าในเขตราชบุรีหลายครั้ง ครั้งที่สําคัญที่สุดคือสงคราม
เก้าทัพ ต่อมา พ.ศ. 2360 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง กําแพงเมืองใหม่ทางฝั่งซ้ายของแม่น้ําแม่กลองตลอดมาจนถึงปัจจุบัน ครั้งถึงสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2437 ได้ทรงเปลี่ยนการปกครองส่วนภูมิภาค โดยรวมหัวเมือง ต่าง ๆ ที่อยู่ ใกล้ชิ ดกัน ตั้ งขึ้น เ ป็ นมณฑล และได้รวมเมืองราชบุรี เมื องกาญจนบุรี เมืองสมุทรสงคราม เมืองเพชรบุรี เมืองปราณบุรี เมืองประจวบคีรีขันธ์ รวม 6 เมือง ตั้งขึ้นเป็น มณฑลราชบุรี ตั้งที่บัญชาการมณฑล ณ เมืองราชบุรี จากฝั่งซ้ายกลับมาตั้งรวมอยู่แห่งเดียวกับ ศาลาว่าการมณฑลราชบุรีทางฝั่งขวาของแม่น้ําแม่กลอง จนถึง พ.ศ. 2476 เมื่อได้มี การยกเลิกการปกครองแบบมณฑลทั้งหมด มณฑลราชบุรีจึงถูกยกเลิกและคงฐานะเป็น จังหวัดราชบุรีจนถึงปัจจุบัน (สํานักงานจังหวัดราชบุรี, 2556, หน้า 2)
ข้อมูลกายภาพ
1. ลักษณะที่ตั้งและข้อมูลพื้นฐาน
1.1 ที่ตั้งและขนาดพื้นที่ จังหวัดราชบุรี ตั้งอยู่ในภาคกลางด้านตะวันตกของ ประเทศไทย มีเนื้อที่ประมาณ 5,196,462 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 3,247,789 ไร่ ห่างจาก กรุงเทพมหานครไปทางทิศตะวนตกตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลขที่ 4 เป็นระยะทาง 100 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ดังนี้
ทิศเหนือ ติดกับจังหวัดกาญจนบุรี
ทิศใต้ ติดกับจังหวัดเพชรบุรี
ทิศตะวันออก ติดกับจังหวดนครปฐม และจังหวัดสมุทรสงคราม ทิศตะวันตก ติดกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา
ภาพที่ 2.1 แผนที่จังหวัดราชบุรี
ที่มา : แผนพัฒนาจังหวัดราชบุรี พ.ศ.2557 – 2560 (ฉบับทบทวน)
1.2 ลักษณะภูมิประเทศ จังหวัดราชบุรี มีลักษณะภูมิประเทศที่มีแม่น้ําแม่กลอง เป็นแม่น้ําสายสําคัญ อันเกิดจากการรวมตัวของแม่น้ําแควน้อย และแม่น้ําแควใหญ่ที่ไหลมาจาก เทือกเขาแหลมในจังหวัดกาญจนบุรีมาบรรจบกันที่บริเวณอําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรีแล้วไหลลง สู่ด้านใต้ผ่านอําเภอท่าม่วง อําเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี อําเภอบ้านโป่ง อําเภอโพธาราม อําเภอเมืองราชบุรี อําเภอดําเนินสะดวก อําเภอวัดเพลง จังหวัดราชบุรี แล้วไหลไปทางตะวันออก เฉียงใต้เข้าสู่อําเภอบางคนที อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงครามและออกสู่อ่าวไทยที่ปากแม่น้ําแม่ กลอง โดยแบ่งลักษณะภูมิประเทศออกเป็น 4 ลักษณะได้แก่
พื้นที่ภูเขาสูง ได้แก่ บริเวณชายแดนด้านตะวันตกติดกับสหภาพพม่า และเขตแดน ด้านใต้ติดกับจังหวัดเพชรบุรี มีสภาพเป็นเทือกเขาสูง อุดมด้วยป่าดิบ ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และป่าไผ่ ในระดับความสูง ตั้งแต่ 200 เมตรถึง 1,100 เมตร ในเขตอําเภอสวนผึ้ง อําเภอบ้าน คา และอําเภอปากท่อด้านตะวันตก
พื้นที่ราบสูง ได้แก่ บริเวณถัดจากบริเวณเทือกเขาทางด้านตะวันออก จนถึง ตอนกลางของพื้นที่จังหวัด มีลักษณะเป็นที่ราบสูง และที่เนินลาด มีแม่น้ําภาชีและลําห้วย สาขา เป็นสายน้ําหลัก สภาพเนื้อดิน เป็นดินปนทรายมีการชะล้างพังทลายของหน้าดินค่อนข้างสูงถึงปาน กลาง อยู่ในเขตอําเภอสวนผึ้ง อําเภอบ้านคา อําเภอจอมบึง และด้านตะวันตกของอําเภอปากท่อ อําเมือเมือง อําเภอโพธารามและอําเภอบ้านโป่ง
ที่ราบลุ่ม ได้แก่บริเวณสองฝั่งแม่น้ําแม่กลอง และด้านตะวันออกของจังหวัด เนื้อดิน เป็นดินร่วนและดินร่วนปนดินเหนียว มีความอุดมสมบูรณ์ ซึ่งมีระบบชลประทานครอบคลุมทั่วพื้นที่ ได้แก่ บริเวณเขตอําเภอบ้านโป่ง อําเภอโพธาราม อําเภอบางแพ อําเภอเมืองฯ และอําเภอปากท่อ ที่ราบลุ่มต่ํา ได้แก่ บริเวณตอนปลายของแม่น้ําแม่กลองที่เชื่อมต่อกับจังหวัด
สมุทรสงคราม อยู่สูงระดับน้ําทะเล 1 – 2 เมตร ดินมีความสมบูรณ์ เหมาะแก่การทําสวนผัก ผลไม้
1.3 ลักษณะของดิน จังหวัดราชบุรี มีลักษณะและสมบัติดิน เป็นดินลึก ดินบนเนื้อ
ดินเป็นดินเหนียวปนทราย แป้งตลอด สี น้ําตาลปนเทาเข้ม มึจุดประสีน้ําตาลแก่และสีน้ําตาลปน เหลือง ดินเป็นกรดจัดถึงกรดเล็กน้อย มีค่า pH 5.5 – 6.5 ควรปรับปรุงบํารุงดิน โดยใช้ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก เพื่อเพิ่มแร่ธาตุที่จําเป็นแก่พืชให้กับดิน และทําให้คุณสมบัติทางกายภาพขอ ดินดีขึ้น ปรับปรุงการระบายน้ําของดิน และป้องกันน้ําขังโดยทําทางระบายน้ําผิวดิน (กลุ่ม มาตรฐานการสํารวจจําแนกดินและที่ดิน สํานักสํารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน, 2558)
1.4 สภาพภูมิอากาศ จังหวัดราชบุรี มีลักษณะภูมิอากาศขึ้นกับอิทธิพลจากลม มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ในช่วงฤดูฝน แต่เนื่องจากมีเทือกเขาตะนาวศรีกั้นอยู่ จึงทําให้ได้รับลมมรสุม
จากมหาสมุทรอินเดียและทะเลอันดามันไม่เต็มที่ ฤดูร้อนมีอากาศร้อนขึ้นและมักจะมีพายุฤดูร้อนช่วง เดือนมีนาคม เมษายน ส่วนฤดูหนาวโดยทั่วไปอากาศเย็น เว้นแต่บริเวณพื้นที่เชิงเขาหรือหุบเขา ของอําเภอสวนผึ้งและอําเภอบ้านคามีอากาศหนาว
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคม ถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ ถึงกลางเดือนพฤษภาคม ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม ถึงกลางเดือนตุลาคม
1.5 จุดเด่นของจังหวัด จังหวัดราชบุรี มีตลาดเกษตรจํานวน 2 ที่สามารถระบาย
สินค้าไปสู่ภาคต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี มีระยะทางระบบการขนส่งที่สะดวก และระยะทางไม่ไกลจาก กรุงเทพ (100 กิโลเมตร) และประเทศเพื่อนบ้าน มีโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปทางการเกษตรและ อาหารทั้งขนาดใหญ่ ขนาดกลางและเล็ก เป็นจํานวนมากสามารถรองรับวัตถุดิบด้านการเกษตรใน พื้นที่ได้ มีแหล่งท่องเที่ยวที่หลากหลายครอบคลุมทุกประเภท และมีทุนทางวัฒนธรรมที่เป็นพื้นฐาน การส่งเสริมการสร้างคุณค่าและมูลค่าด้านการท่องเที่ยว การบริการและการผลิต ประชาชนมีฐานะ ที่เหมาะสม มีงานทํา และมีรายได้เพียงพอ และมีวัฒนธรรม ประเพณี ท้องถิ่นที่ทุกชนเผ่าให้การ ยอมรับและส่งเสริมการสืบทอดเรื่อยมา
1.6 ระบบเส้นทางคมนาคม
ทางบก จังหวัดราชบุรีมีทางหลวงแผ่นดินและทางหลวงจังหวัดหลายสายเชื่อมโยงต่อ กับกรุงเทพมหานคร และจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 เป็นทางหลวงหลักเชื่อมโยงกรุงเทพมหานคร จังหวัด ราชบุรี และจังหวัดสมุทรสาคร ผ่านอําเภอเมืองนครปฐม อําเภอนครชัยศรีและอําเภอสามพราน
ทางหลวงแผ่นดินหลายเลข 338 เป็นทางหลวงเชื่อมโยงกับกรุงเทพมหานครผ่าน อําเภอนครชัยศรี อําเภอสามพราน และอําเภอพุทธมณฑล
ทางราง จังหวัดราชบุรี มีเส้นทางการเดินรถไฟสายใต้ผ่าน โดยเริ่มต้นจากสถานี กรุงเทพฯ (หัวลําโพง) ไปยังจังหวัดทางภาคใต้ ซึ่งมีรถธรรมดา รถเร็ว รถด่วน รถด่วนพิเศษ และรถพิเศษชานเมือง ใช้เวลาเดินทางประมาณ 2 ชั่วโมงจากกรุงเทพฯ และสามารถเชื่อมต่อไปยัง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกของประเทศไทยได้ โดยเชื่มต่อที่สถานี รถไฟกรุงเทพฯ (หัวลําโพง)
ทางน้ํา จังหวัดราชบุรี มีการคมนาคมขนส่งทางน้ําในด้านการเกษตรและ การคมนาคมเป็นจํานวนมก โดยการคมนาคมขนส่งทางน้ําจะใช้การขนส่งผลผลิตทางการเกษตร ภายในจังหวัดใกล้เคียง
ทางอากาศ จังหวัดราชบุรีไม่มีการคมนาคมขนส่งทางอากาศ
โลจิสติกส์ ตามแผนยุทธศาสตร์กระทรวงคมนาคม พ.ศ. 2555 – 2558 (ฉบับ ปรับปรุง) พบว่าจังหวัดราชบุรีมีโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่งของ ประเทศที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การพัฒนาโครงข่ายทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองสายทางต่าง ๆ ได้แก่ เส้นทางสายบางใหญ่ – บ้านโป่ง – กาญจนบุรี เป็นต้น
1.7 การใช้ประโยชน์ที่ดิน การใช้ประโยชน์ที่ดินของจังหวัดราชบุรี พื้นที่ส่วนใหญ่ ใช้เป็นพื้นที่เกษตรกรรม 1,649,896 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 50.80 รองลงมา คือ พื้นที่ป่าไม้
1,143,437 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 35.12 ป่าสมบูรณ์ 1,107,031 ไร่ คิดเป็น 34.00 ตามอันดับ
2. ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
2.1 ภาพรวมเศรษฐกิจจังหวัด มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดในปี 2556 มีการ ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.94 เมื่อเทียบกับปี พ.ศ.2555 ประชากรมีรายได้เฉลี่ยต่อหัว 177,569 บาท โดยมีมวลรวม ณ ราคาประจําปี 142,182 ล้านบาท ซึ่งสาขาที่มีมูลค่าการผลิตสูงสุด คือ สาขาอุตสาหกรรม 36,508 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 25.67 ของสาขาการผลิตทั้งหมด
2.2 ศักยภาพด้านเกษตรกรรม จังหวัดราชบุรี มีพื้นที่ทําการเกษตร ประมาณ 1,157,466 ไร่ จังหวัดราชบุรมีมูลค่าการผลิตในการเกษตร จํานวน 17,640 ล้านบาท และพืช
เศรษฐกิจที่สําคัญของขังหวัดราชบุรี ที่มีการเพาะปลูกมากได้แก่ ข้าวนาปี ผลิตได้จํานวน 265,203 ตัน โดยมีเนื้อที่เพาะปลูก เป็นจํานวน 403,944 ไร่ สับปะรดผลิตได้จํานวน 202,256 ตัน โดยมี เนื้อที่เพาะปลูกเป็นจํานวน 283,624 ไร่ มันสําปะหลัง ผลิตได้จํานวน 320,718 ตัน โดยมีเนื้อที่ เพาะปลูกเป็นจํานวน 79,947 ไร่ และอ้อย ผลิตได้จํานวน 1,958,758 ตัน โดยมีเนื้อที่เพาะปลูก เป็นจํานวน 249,590 ไร่
3. ข้อมูลด้านสังคม
3.1 ประชากร แรงงานและการจ้างงานและแรงงานต่างด้าว ประชากร จังหวัด ราชบุรี มีทั้งสิ้น 839,526 คน จําแนกเป็น ชาย 407,293 คน หญิง 432,233 คน (สํานัก บริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, 2560)
ตารางที่ 4.1 แสดงจํานวนประชากรจังหวัดราชบุรีปี 2559
อําเภอ | ประชากรทั้งหมด |
เมืองราชบุรี | 119,761 |
จอมบึง | 55,397 |
สวนผึ้ง | 28,251 |
ดําเนินสะดวก | 73,903 |
บ้านโป่ง | 96,183 |
บางแพ | 17,900 |
โพธาราม | 71,178 |
ปากท่อ | 49,764 |
วัดเพลง | 10,652 |
บ้านคา | 23,739 |
ที่มา (สํานักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง, 2559)
3.2 แรงงานและการจ้างงาน สํานักสถิติแห่งชาติ ได้ดําเนินการสํารวจภาวะการ ทํางานของประชากรในจังหวัดราชบุรี พ.ศ.2557 พบว่า ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีจํานวน
656.347 คน จําแนกเป็น ผู้อยู่ในกําลังแรงงาน จํานวน 483,477 คน และผู้ไม่อยู่ในกําลัง
แรงงานจํานวน 172,870 คน จากจํานวนผู้อยู่ในกําลังแรงงาน พบว่า มีผู้ว่างงาน จํานวน 6,321 คน (ศูนย์พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ, 2561)
บริบทของพื้นที่ที่ทําการศึกษา
จากการศึกษาและหาข้อมูลของพื้นที่ที่ทําการศึกษา พบว่า ตําบลหนองพันจันทร์ เดิม เป็นหมู่บ้านหนึ่งของตําบลบ้านคา ซึ่งมีพรานล่าสัตว์คนหนึ่ง ชื่อ นายจันทร์ ซึ่งชอบล่าสัตว์ที่หนองน้ํา ในหมู่บ้านแห่งนี้เป็นประจํา ชาวบ้าน จึงตั้งชื่อ ชื่อหมู่บ้านนี้ว่า "บ้านหนองพรานจันทร์" และได้เรียก กันเพี้ยนจนถึงปัจจุบันนี้ว่า "บ้านหนองพันจันทร์" ต่อมาได้แยกตําบล ตาม พระราชบัญญัติปกครอง ท้องถิ่น เป็น ตําบลหนองพันจันทร์ และปัจจุบันได้ยกฐานะเป็น องค์การบริหารส่วนตําบลหนองพัน จันทร์ เป็นหน่วยการบริหารราชการซึ่งจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตําบล ตามประกาศ ลงวันที่ 30 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2539 พื้นที่อาณาเขตและความรับผิดชอบในเขตพื้นที่ตําบลหนองพันจันทร์ เดิมมี จํานวน 9 หมู่บ้าน และปัจจุบันได้แยกหมู่บ้าน เป็น 11 หมู่บ้าน
ที่ตั้ง
ตําบลหนองพันจันทร์ เป็นตําบลหนึ่งในจํานวน 3 ตําบล ของอําเภอบ้านคา จังหวัด ราชบุรี ที่ตั้งของตําบลอยู่ทางทิศเหนือ ของอําเภอบ้านคาและทางทิศตะวันตกของจังหวัดราชบุรี โดย อยู่ระหว่างเส้นรุ้งที่ 99 องศา 26 ลิปดาตะวันออก 11.4 ฟิลิปดาตะวันออก และระหว่างเส้นแวงที่
13 องศา 28 ลิปดาเหนือ 24.1 ฟิลิปดาเหนือ มีความสูงจากระดับน้ําทะเล 212.00 เมตร
เนื้อที่
ตําบลหนองพันจันทร์มีเนื้อที่ทั้งหมด 143 ตารางกิโลเมตร การเดินทางห่างจาก ที่ทําการอําเภอบ้านคา โดยทางรถยนต์ประมาณ 8 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดราชบุรี โดยทางรถยนต์ ประมาณ 60 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่ปกครองใกล้เคียง ดังนี้
ทิศเหนือ | ติดต่อ | ตําบลท่าเคย อําเภอสวนผึ้ง |
ทิศใต้ | ติดต่อ | ตําบลบ้านบึง อําเภอบ้านคา |
ทิศตะวันออก | ติดต่อ | ตําบลรางบัว อําเภอจอมบึง |
ทิศตะวันตก ภูมิประเทศ | ติดต่อ | ตําบลบ้านคา อําเภอบ้านคา |
ลักษณะภูมิประเทศของตําบลหนองพันจันทร์ มีพื้นที่เป็นภูเขาและที่ราบบางส่วน เหมาะแก่การทําพืชไร่ ไม้ผลและเลี้ยงสัตว์ โดยเฉพาะ การปลูกสับปะรด การปลูกต้นยางพารา การปลูกอ้อย (องค์การบริหารส่วนตําบลหนองพันจันทร์, 2559)
แนวความคิดเกี่ยวกับสับปะรด
สับปะรดจัดเป็นหนึ่งในผลไม้เศรษฐกิจของประเทศไทยและไทยเป็นประเทศผู้ส่งออก สับปะรดและผลิตภัณฑ์อันดับ 1 ของโลก มีส่วนประบ่งการตลาดประมาณร้อยละ 50 สร้างรายได้
ให้ประเทศประมาณปีละ 23,000 – 25,000 ล้านบาท นอกจากนี้อุตสาหกรรมสับปะรดยังมี
ความสําคัญต่อเศรษฐกิจทั้งในระดับมหภาคและระดับไร่นา นับเป็นอุตสาหกรรมที่เชื่อมโยงภาค การผลิตด้านการเกษตรกับภาคอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่ม เป็นแหล่งรองรับผลผลิตของ เกษตรปีละ 1.80 – 2.00 ล้านตันของผลผลิตทั้งหมด ซึ่งโครงสร้างสินค้าสับปะรดในส่วนของต้นน้ํา พบว่าร้อยละ 80 ของผลผลิตส่งโรงงานเพื่อแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ร้อยละ 20 ของผลผลิตใช้ เพื่อบริโภคสด ส่วนกลางน้ําร้อยละ 80 เข้าโรงงานร้อยละ 20 ส่งตลาดในประเทศนั้นทั้งในตลาด กรุงเทพฯและจังหวัดต่าง ๆ และส่วนปลายน้ําส่งออกต่างประเทศในรูปผลิตภัณฑ์ร้อยละ 79 และ ส่งออกในรูปผลสดเพียงร้อยละ 1 แต่ยังพบปัญหาในต่าง ๆ ในด้านพันธุ์สับปะรดที่ใช้มานานเริ่มมี ความเสื่อมถอยทางพันธุกรรม คุณภาพผลโดยเฉพาะสีเนื้อไม่สม่ําเสมอ ทําให้ได้ผลิตภัณฑ์คุณภาพดี ต่ําสับปะรดผลสดมีอายุการเก็บรักษาสั้น โดยจะเกิดอาการใส้สีน้ําตาลภายหลังการเก็บรักษาใน สภาพอุณหภูมิต่ํา ทําให้เป็นอุปสรรคและปัญหาสําคัญยิ่งในการส่งออก ปัญหาการแพร่ระบาดของ โรคเหี่ยวที่เกิดจากเชื่อไวรัสทําให้ผลผลิตและคุณภาพสับปะรดเสียหายอย่างรุนแรงจนบางครั้งภม่ สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ ผลผลิตต่อไร่ต่ําเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศค ่แข่งขัน เช่น ฟิลิปปินส์ รวมั้งไม่สามารถกระจายการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของโรงงาน รวมทั้งปัจจัยการผลิตทั้ง ปุ๋ยและสารเคมีในการกําจัดวัชพืช ค่าแรงงานสูงขึ้น ทําให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น (ทวีศักดิ์ แสงอุดม, 2558)
นายคมสัน จํารูญพงษ์ รองเลขาธิการสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า สับปะรดบ้านคา เป็นอีกหนึ่งของที่สร้างชื่อเสียงเมืองราชบุรี กับ แนวทางการรวมกลุ่มเป็นแปลงใหญ่ของเกษตรกรผู้ปลูกสับปะรดในพื้นที่ตามนโยบายรัฐบาล สู่การ วางระบบการผลิตและการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพบนพื้นที่โครงการ 1,014 ไร่ สมาชิก
82 ราย ทําการผลิตสับปะรดสด โดยเกษตรกรได้รับการส่งเสริมอบรมถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการ การผลิตตามเกษตรดีที่เหมาะสม (GAP) เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพที่ตรงตามมาตรฐานที่กําหนด ผลผลิตสูงคุ้มค่าต่อการลงทุน มีการวางแผนการผลิตและการตลาด โดยมีผลผลิตตลอดทั้งปี และทํา รายได้ให้เกษตรกรอย่างมั่นคงและยั่งยืน จึงได้มีการรวมกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกสับปะรดในพื้นที่ เพื่อให้เป็นพื้นที่แปลงใหญ่ตามนโยบายรัฐบาล โดยมีการวางแผนการผลิตและการบริหารจัดการใน แนวทางเดียวกัน ซึ่งเป็นการประหยัดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยเกษตรในกลุ่มมีการทํา ข้อตกลงซื้อขายกับห้างเทสโก้ โลตัสจํานวน 50 ราย พื้นที่กว่า 500 ไร่
พันธุ์ของสับปะรด
สับปะรดบ้านคา คือสับปะรดพันธุ์ปัตตาเวีย ซึ่งมีข้อดี คือ รสหวานฉ่ํา ไม่กัดลิ้น กลิ่น หอม เนื้อละเอียด หนานิ่ม มีตาผลค่อนข้างตื้น เมื่อปอกเปลือกแล้วตาผลจะติดออกไปกับเปลือก ส่วนใหญ่มีการปลูกในพื้นที่ 4 อําเภอ ได้แก่ อําเภอจอมบึง อําเภอปากท่อ อําเภอสวนผึ้ง และ อําเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี ซึ่งมีลักษณะภูมิประเทศใกล้เคียงกัน จัดอยู่ในพื้นที่ภูเขาสูงและพื้นที่ ราบสูง มีฝนตกชุกในช่วงเดือนกันยายน - พฤศจิกายน ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย 1,000 – 1,250 มิลลิเมตรต่อปี อุณหภูมิอยู่ระหว่าง 13 – 38 องศาเซลเซียส ลักษณะดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปน ทราย ระบายน้ําได้ดี ความเป็นกรดด่างของดิน 4.5 – 5.5 ซึ่งจากสภาพภูมิอากาศดังกล่าว ส่งผล ให้การปลูกสับปะรดได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ เป็นเอกลักษณ์มีความแตกต่างจากสับปะรดแหล่งอื่น แต่ ผลเสีย คือ ปัญหาด้านผลผลิตและความสม่ําเสมอของพันธุ์ทําให้ผลผลิตสุกไม่พร้อมกัน จึงต้องเก็บ
เกี่ยวหลายรอบ รวมทั้งมีการกลายลักษณะไม่พึงประสงค์มากขึ้น เช่น การเกิดหนามตลอดทั้งใบ ผลไม่เป็นทรงกระบอก สีเนื้อไม่สม่ําเสมอ ผลขนาดเล็กลง และอ่อนแอต่อโรคเหี่ยว
ทั้งนี้ สับปะรดบ้านคา ได้รับการขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (Geographical Indications: GI) ตามประกาศกรมทรัพย์สินทางปัญญา โดยเกษตรในกลุ่มอยู่ระหว่างการ ดําเนินการขอขึ้นทะเบียนสมาชิกเกษตรกรผู้เพาะปลูกต่อไป (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 10
จังหวัดราชบุรี, 2560)
ขั้นตอนการปลูกสับปะรด
การปลูกสับปะรดมีขั้นตอนการปลูกสับปะรด ได้ดังนี้
1. ขั้นตอนการเตรียมดินเพื่อทําการปลูก โดยมีทั้งที่เป็นพื้นที่ใหม่และพื้นที่ที่เคยทําการ
ปลูก
2. ขั้นตอนการบํารุงดิน มีการใช้ปุ๋ยที่เป็นมูลสัตว์ เช่น ขี้ไก่ หรือ ปุ๋ยพืชสด
3. ขั้นตอนการคัดแยกหน่อ จะทําการคัดแยกปลูกตามขนาดของหน่อ เพื่อให้สะดวกต่อ
การดูแล ซึ่งไร่หนึ่งจะปลูก 8,000 – 10,000 ต้น
4. ขั้นตอนการปลูก โดยส่วนใหญ่จะนิยมปลูก 4 แถว
5. ขั้นตอนการเลือกและบังคับการออกผลผลิต ในขั้นตอนนี้จะแตกต่างกันออกไปตามใน แต่ละผู้ผลิตว่าจะผลิตเพื่อโรงงานหรือเพื่อการบริโภค โดยในขั้นตอนนี้จะเลือกใช้วิธีการบํารุงต้น ตามที่ได้เรียนรู้มาจากครอบครัวหรือประสบการณ์ในอดีต จึงทําให้รสชาติและต้นทุนของสับปะรด แตกต่างกันในแต่ละไร่
6. ขั้นตอนการดูแลคุณภาพของผลิต เมื่อสับปะรดออกลูกเท่าเหรียญบาทจะทําการ นําเอาฟาง หญ้าคา หรือของเหลือได้แก่ กระดาษหนังสือพิมพ์ เป็นต้น
7. ขั้นตอนการเก็บผลผลิต ผู้ผลิตสับปะรดที่มีขั้นตอนในการดูแลผลผลิตเพื่อการบริโภค จะสามารถขายให้กับผู้บริโภคคนสุดท้ายและผู้ใช้สินค้าทางอุตสาหกรรม (โรงงาน) ได้ ซึ่งต่างจาก ผู้ผลิตที่มีขั้นตอนในการดูแลผลผลิตเพื่อขายให้กับโรงงาน จะไม่สามารถนําไปขายให้กับผู้บริโภค คนสุดท้ายเพื่อนําไปบริโภคได้ เนื่องจากจะมีรสชาติเปรี้ยว
คุณภาพของสับปะรด
คุณภาพของสับปะรดจะขึ้นอยู่กับสภาพอากาศในแต่ละช่วงเดือน ดังนี้
1. สับปะรดในช่วงเดือนพฤษภาคม เรียกว่า สับปะรดปี จะมีผลผลิจํานวนมาก เพราะ เป็นช่วงที่สับปะรดมีผลผลิตออกมาตามธรรมชาติ จึงส่งผลทําให้ผลผลิตล้นตลาด ราคาจึงต่ํา แต่มี ข้อดี คือสับปะรดมีรสชาติที่หวาน
2. สับปะรดช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม เรียกว่า สับปะรดช่วงหน้าร้อน จะมีรสชาติหวาน
3. สับปะรดช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ เรียกว่า สับปะรดช่วงหน้าหนาว จะมีรสชาติเปรี้ยว
4. สับปะรดช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม เรียกว่า สับปะรดช่วงหน้าฝน ใน ช่วงนี้จะมีรสชาติจืด
ประเภทของสับปะรด
1. สับปะรดบริโภค ปัจจุบันอําเภอบ้านคา มีการผลิตสับปะรด แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 80 % สําหรับส่งโรงงาน อีก 20 % สําหรับเพื่อการบริโภค โดยในอดีตมีการนําพันธ์ปัตตาเวียจากทาง เหนือ และ ใต้มาทดลองปลูก จนกลายมาเป็นพันธุ์ที่ใช้ปลูกในพื้นที่บ้านคาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งสามารถ อธิบายได้ดังนี้
1.1 ลักษณะของสับปะรด สับปะรดเพื่อการบริโภคนั้น จะมีขั้นตอนและการดูแลที่
มากกว่าสําหรับส่งโรงงาน เนื่องจากแสงแดด และปุ๋ย มีผลต่อขนาด ความสวยงามของผล รสชาติ และราคา ปัจจุบันมีการซื้อขายภายในชุมชนตําบลหนองพันจันทร์กันดังนี้
1.1.1 เนื้อ 1 แบบแข็ง คือ มีรสชาติหวานฉ่ํา แต่เนื้อจะออกแข็ง
1.1.2 เนื้อ 1 แบบนิ่ม คือ มีรสชาติหวานฉ่ํา แต่เนื้อจะออกนิ่ม
1.1.3. เนื้อ 2 คือมีรสชาติหวานฉ่ําอมเปรี้ยว
1.1.4 สับปะรดก้นไร่ หรือสับปะรดลูกเล็กสุด เนื่องจากในขั้นตอนการเก็บเกี่ยวนั้น จะเริ่มเก็บ เนื้อ 1 ก่อน ตามด้วยเนื้อ 2 และท้ายสุด
จะเป็น สับปะรดก้นไร่ ซึ่งมีความพิเศษตรงที่หวานฉ่ํา เพราะมีอายุการเก็บเกี่ยวหลังสุด ทําให้มีเวลา สะสมความหวาน แต่ข้อเสียคือขนาดของลูกจะเล็ก ดังภาพที่ 4.1
เนื้อ 1 แบบแข็ง
เนื้อ 1 แบบนิ่ม
เนื้อ 2
ก้นไร่
ภาพที่ 2.2 แสดงลักษณะของสับปะรด ที่มา : ศุภฤกษ์ สายแก้ว, 2560
1.2 ราคา ราคาจะขึ้นอยู่กับท้องตลาด โดยสับปะรดเนื้อ 1 เป็นที่นิยมของผู้บริโภค จึงมีราคาสูงกว่าเนื้อ 2 หรือเนื้อรวม (สับปะรดที่ไม่ได้มีการคัดแยก) ราคาจะอยู่ประมาณ 50 % ของ เนื้อ 1
1.3 วิธีคัดแยกผลผลิต
เนื้อ 1 ถ้าใช้นิ้วดีดไปที่ลูกสับปะรดแล้วเสียงดังแปะ ๆ เหมือนดีดของนิ่ม แสดง ว่าเนื้อจะฉ่ํา น้ําเยอะ และหวานอร่อย
เนื้อ 2 หรือเนื้อรวม ถ้าใช้นิ้วดีดไปที่ลูกสับปะรดแล้วเสียงดังโป๊ก ๆ เหมือนดีด ของแข็งๆ เด้ง เพราะเนื้อจะเยอะ และเปรี้ยว
การพิจารณาสับปะรดที่สุก เมื่อดมจะมีกลิ่นหอมของสับปะรดออกมา ถ้าหอม มาก จะสุกมาก ดังนั้นหากต้องการเก็บไว้นาน ต้องเลือกที่มีกลิ่นหอมน้อย
1.4 การรับซื้อผลผลิต มีทั้งขายทางตรงและทางอ้อม ซึ่งในตําบลหนองพันจันทร์ ส่วนใหญ่มีการขายทางอ้อม คิดเป็นร้อยละ 95 และทางตรงคิดเป็นร้อยละ 5
สับปะรดผลสดจากอดีตถึงปัจจุบัน ราคาสับปะรดผลสดสูงกว่าสับปะรดโรงงานมาตลอด เป็นแบบเส้นขนานที่ไม่เคยบรรจบกัน จึงอนุมานได้ว่าราคาสับปะรดผลสดไปได้ดีกว่าส่งโรงงาน แม้ ในช่วงที่ราคาโรงงานตกต่ํามากที่สุด ราคาสับปะรดผลสดก็ยังสูงกว่าและไม่เคยต่ํากว่าต้นทุนการผลิต ของชาวไร่ กล่าวคือ การทําสับปะรดผลสด ไม่มีขาดทุน มีแต่กําไร แต่จะมากหรือน้อยเท่านั้น ยิ่งปัจจุบันตลาดมีความต้องการผลสดมากขึ้น ทั้งในประเทศและเพื่อการส่งออก ทั้งนี้ จากกระแส ความตื่นตัวด้านสุขภาพ การรู้คุณค่าทางโภชนาการ ประโยชน์ของเอนไซม์โบรมีเลน (bromelain) คุณภาพสับปะรดผลสดที่ดีขึ้น มีสับปะรดพันธุ์ใหม่ ๆ ให้เลือกหลากหลาย ผลผลิตได้ความหวาน ตรงกับความต้องการของผู้บริโภค และมีการบริหารจัดการด้านตลาดที่ดีกว่าอดีต พัฒนาการเหล่านี้ ส่งผลต่อการตลาด และราคาสับปะรดผลสดที่เพิ่มสูงขึ้นเป็นลําดับ
จากแรงกดดันของปัญหาราคาสับปะรดโรงงานที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทําให้ชาวไร่มีความ เสี่ยงต่ออาชีพ จึงเกิดความร่วมมือกันระหว่างภาครัฐ ชาวไร่สับปะรดและกลุ่มธุรกิจที่ไม่ใช่โรงงาน แปรรูปสับปะรดกระป๋อง ในการทําโครงการส่งเสริมและพัฒนาการผลิตและตลาดสับปะรดผลสด ทั้งส่งขายตลาดในประเทศและเพื่อการส่งออกนับว่าเป็นทางเลือกใหม่ที่ชาวไร่ต้องตัดสินใจ และปรับ แนวคิดมาผลิตสับปะรดผลสด เป็นแบบคู่ขนานไปกับผลิตสับปะรดส่งโรงงาน เพื่อลดความเสี่ยงและ สร้างความมั่นคงของอาชีพให้ดีขึ้นกว่าเดิม
จุดแข็งและโอกาส มีอยู่หลายด้าน เช่น มีองค์ความรู้และประสบการณ์การผลิต
สับปะรดที่ยาวนาน ส่วนใหญ่มีที่ดินเป็นของตนเอง และตั้งอยู่ในภูมิประเทศที่เหมาะสม เครื่องมือ และอุปกรณ์ที่พร้อม มีพัฒนาการและรับเทคโนโลยีใหม่ ๆ ได้รวดเร็วมีเทคโนโลยีการผลิตสับปะรด ผลสด และการแปรรูปอื่น ๆ มีกลุ่มและเครือข่ายกิจกรรมมีพันธุ์สับปะรดของตัวเอ ง ความ หลากหลายด้านสายพันธุ์สับปะรดผลสด ต้นทุนการผลิตที่ควบคุมได้ ความพร้อมยานพาหนะในการ ขนส่งผลผลิต
โอกาสที่เอื้อให้ชาวไร่สับปะรดมีหลายด้าน เช่น ปริมาณน้ําฝนและภูมิอากาศเหมาะสม สับปะรดคุณภาพดียังเป็นที่ต้องการของตลาดในประเทศและเพื่อการส่งออกจํานวนมาก มี แหล่งข้อมูลด้านเทคโนโลยีการผลิตและการตลาด มีโรงงานแปรรูปสับปะรดที่เป็นผลิตภัณฑ์อื่น ๆ รองรับ นโยบายของรัฐสนับสนุนและส่งเสริมการผลิตสับปะรดผลสด ผลตอบแทนการลงทุนสูงกว่า สับปะรดส่งโรงงาน แหล่งจําหน่ายปัจจัยการผลิตมีทั่วประเทศและความต้องการจากต่างประเทศ
ระบบการขนส่งและโครงสร้างพื้นฐานที่สะดวก และการเชื่อมโยงกิจกรรมกับกลุ่มและเครือข่ายธุรกิจ ที่เกี่ยวข้อง
หากพิจารณาแล้วจะเห็นว่าชาวไร่สับปะรดมีศักยภาพเพียงพอที่หันมาผลิตสับปะรดผลสด เป็นการดําเนินการเฉพาะหรือควบคู่กับการผลิตสับปะรดส่งโรงงาน ที่ผ่านมาการทําสับปะรดผลสด ชาวไร่เพียงแต่คัดเอาสับปะรดคุณภาพเนื้อหนึ่ง เนื้อสอง หรือสับปะรดแปะ (เนื้อแน่น) ส่งขาย พ่อค้า จึงได้ส่วนต่างของราคาจากผลผลิตเพียงบางส่วนเท่านั้น ยังไม่มีการผลิตกันอย่างตั้งใจ เป็นมือ อาชีพ หากมีการพัฒนาการผลิตอย่างจริงจัง จะได้สับปะรดผลสดคุณภาพดี ในสัดส่วนที่มากขึ้น เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มจากผลผลิตที่ได้ในช่วงเวลาที่เท่ากัน แต่กําไรจากการลงทุนมากขึ้นและคุ้มค่า กว่า ซึ่งการผลิตสับปะรดผลสดก็ไม่ยุ่งยากอะไรไปจากเดิม อาจเริ่มจากกําหนดเป้าหมายและ แผนการผลิตที่ชัดเจน เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับคู่ค้า พ่อค้า โดยอาศัยข้อมูลและประสบการณ์ที่ ผ่านมา ประกอบการตัดสินใจโดยเฉพาะการกระจายการผลิตตามช่วงเวลาในรอบปี และวางแผน ผลิตให้สับปะรดเก็บเกี่ยวได้ในเดือนกรกฎาคม สิงหาคม และกันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่ผลผลิต สับปะรดออกสู่ตลาดน้อย และหมดฤดูกาลผลไม้อื่น ๆ ไปแล้ว เข้าหลักความต้องการซื้อมาก แต่ ความต้องการขายน้อย ราคาสับปะรดจะพุ่งกระฉูด และเป็นวัฏจักรของราคาสับปะรดทุกปี ตรงนี้ ชาวไร่สับปะรดทุกคนทราบกันดี จึงขึ้นอยู่กับว่าใครจะมีวิธีการบริหารจัดการ ระบบการผลิต สับปะรดได้ดีกว่ากัน เพราะโอกาสและทางเลือกเปิดกว้างให้กับชาวไร่ทุกคน อยู่ที่ว่าพวกเขาจะเข้า มาในสนามสับปะรดผลสดอย่างจริงจังหรือไม่เท่านั้น
เทคโนโลยีการผลิต กระบวนการผลิตสับปะรดผลสดกับสับปะรดโรงงานมีความแตกต่าง กันบ้าง แต่ก็มีพื้นฐานจากงานวิจัย และพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐ ผสมผสานกับภูมิปัญญาชาวไร่ สับปะรด ที่มีประสบการณ์ในการผลิตสับปะรดผลสดมาก่อน หากเริ่มมีการกําหนดจํานวนต้น ต่อไร่ ต้องดูว่าคู่ค้า ตลาดที่รับซื้อผลผลิตต้องการผลสับปะรดหนักเท่าไร ขนาดไหน เพื่อปลูกด้วยจํานวน ต้น ต่อไร่ที่เหมาะสม ปกติสับปะรดแนะนําให้ปลูกตั้งแต่ 6,000 ต้น 7,000 ต้น 8,000 ต้น จนถึง 10,000 ต้น ต่อไร่ เพื่อปริมาณผลผลิต ขนาด และน้ําหนักของผลสับปะรด ซึ่งจะแตกต่าง กันตามจํานวนต้นที่ปลูก ต่อไร่ด้วย สําหรับสับปะรดพันธ ์ปัตตาเวียที่ตลาดผลสดต้องการ จะมี น้ําหนักอยู่ระหว่าง 1.5 – 2 กิโลกรัม ต่อ ผล และเป็นสับปะรดเนื้อหนึ่งหรือเนื้อสอง ส่วนพันธุ์ ตราดสีทอง ราคาซื้อขายกําหนดจากขนาดของผลสับปะรด โดยแบ่งเป็นเบอร์ใหญ่ที่สุด (จัมโบ้) ถึง เล็กสุด (เบอร์จิ๋ว ลูกกอล์ฟ) หากผลิตสับปะรดได้ผลใหญ่หรือผลจัมมโบ้จะขายได้ในราคาที่สูงสุด ดังนั้นการปลูกด้วยจํานวนต้นที่เหมาะสม ต้นสับปะรดจะเติบโตได้ดี และมีต้นที่สมบูรณ์ โอกาสที่จะ ได้ขยายผลผลิตที่ต้องการจะมีสูงมาก อย่างไรก็ตามขนาดของผลสับปะรดยังขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง ได้แก่ การบํารุงต้นให้สมบูรณ์ การให้น้ําช่วงออกดอกผลผ่านฤดูแล้ง หรือระยะที่ฝนทิ้ง ช่วงนาน ๆ คัดหน่อที่สม่ําเสมอแยกปลูกในแปลงเดียวกัน บังคับการออกดอกเมื่อต้นมีน้ําหนักที่ เหมาะสม การใช้ปุ๋ยเคมีที่ถูกต้องตามสูตร อัตราและสัมพันธ์กับช่วงเวลาที่สับปะรดต้องการ ควบคุมวัชพืชได้ดี ฯลฯ เหล่านี้เป็นปัจจัยที่ต้องปฏิบัติ ซึ่งชาวไร่สับปะรดมีความชํานาญอยู่แล้ว สับปะรดผลสดคุณภาพดี จุดเน้นอยู่ที่ความหวานเป็นสําคัญ ความหวานไม่ต่ํากว่า 16 บริกซ์ จึงมี คําแนะนําให้ใส่ปุ๋ยที่มีธาตุโพแทสเซียม (K) สูง ๆ เพื่อให้ความหวาน สีเนื้อเหลืองและกลิ่นหอม โดยเฉพาะในช่วงก่อนและหลังบังคับดอก แนะนําปุ๋ย สูตร 15–5–20, 0-0-60, 0-0-50, 23-0-25,
ผสมน้ํา ความเข้มข้น 5 เปอร์เซ็นต์ ฉีดพ่น ต้นละ 75-80 ซีซี ก่อนการบังคับดอก 1 เดือนและ ก่อนการบังคับผล 5 วัน หลังจากสับปะรดออกดอกแล้ว 90 วันให้ฉีดพ่นปุ๋ยอีกครั้ง จะได้สับปะรด ผลสดคุณภาพดีตามที่ตลาดต้องการ (มนตรี กล้าขาย, 2558)
2. สับปะรดที่ส่งโรงงาน มีรายละเอียดดังนี้
2.1 รูปแบบการตลาด ได้ทําการลงพื้นที่ เพื่อสัมภาษณ์ อภิธัญญ์ สายแก้ว (สัมภาษณ์, วันที่ 10 กันยายน 2560) ผู้ประกอบการแผงรับซื้อสับปะรด ตําบลหนองพันจันทร์ อําเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี กล่าวว่า ปัจจุบันมีแผงรับซื้อเปิดขึ้นจํานวนมาก เนื่องจากราคาส่วนต่าง ในการรับซื้อค่อนข้างสูง ส่งผลให้ได้กําไรจํานวนมาก บางพื้นที่ที่มีการเปิดแผงรับซื้อจํานวนมาก จะ มีการแข่งขันกันรับซื้อผลผลิตจากเกษตรกรผู้ปลูกสับปะรด ดังนั้นจึงต้องหาวิธีการที่จะให้มีผลผลิตมา ขายที่แผงรับซื้อ จึงอาจมีการให้เงินกู้กับลูกไร่ไปลงทุน โดยมีเงื่อนไข คือ เมื่อผลผลิตออกมาแล้ว ต้องนําผลผลิตมาขายที่แผงรับซื้อของตน
2.2 การรับซื้อผลผลิต ส่วนใหญ่ขายทางอ้อม เนื่องจากมีขั้นตอนในการขายที่ต้องมี โควตาจึงจะขายได้ ซึ่งพออธิบายวิธีการรับซื้อ ได้ดังต่อไปนี้
2.2.1 แผงรับซื้อของอภิธัญญ์ สายแก้ว (สัมภาษณ์, วันที่ 10 กันยายน 2560) ผู้ประกอบการแผงรับซื้อสับปะรด ตําบลหนองพันจันทร์ อําเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี กล่าวว่า ปัจจุบันโรงงานจะรับซื้อผลสับปะรดใน 3 เกรด โดยแบ่งตามน้ําหนักของผลสับปะรด ดังนี้
1) ลูกกอล์ฟ (น้ําหนัก 1 – 8.5 ขีด)
2) ลูกเล็ก (น้ําหนัก 8.6 – 9.5 ขีด)
3) ลูกใหญ่ (น้ําหนักเกิน 9.5 ขีดขึ้นไป) ราคารับซื้อในแต่ละเดือนจะมีการกําหนดจากโรงงานที่รับซื้อโดยตรง ส่วนแผงรับ
ซื้อก็จะได้ส่วนต่างจากราคาที่โรงงานกําหนดให้ สับปะรดที่ขายให้กับโรงงานจะมีลักษณะแตกต่าง จากสับปะรดที่ขายสําหรับการบริโภค คือจะมีการดูแลน้อยกว่า รสชาติของสับปะรดจะมีรสเปรี้ยว และตัดจุกออก
การสร้างผลกําไร ซึ่งอภิธัญญ์ สายแก้ว (สัมภาษณ์, วันที่ 10 กันยายน 2560) ที่เป็นผู้ประกอบการแผงรับซื้อสับปะรด ตําบลหนองพันจันทร์ อําเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี กล่าวว่า ผลกําไรได้มาจากสองทาง คือ จากส่วนต่างของโรงงานและจากส่วนต่างในขั้นตอนการรับ ซื้อสับปะรดจากผู้ผลิตสับปะรด เนื่องจากแผงรับซื้อจะใช้สายตาในการคัดแยกผลผลิต ทําให้สับปะรด ที่มีขนาดและน้ําหนักที่ใกล้เคียงกันระหว่างขนาดเล็กกับขนาดใหญ่ แผงจะรับซื้อในราคาลูกเล็ก แต่ เมื่อนําไปขายให้กับโรงงานสามารถขายได้ในราคาขนาดใหญ่ ดังภาพที่ 5.2 และ 5.3
ภาพที่ 2.3 แสดงการคัดแยกขนาดผลผลิตด้วยสายตาของแผงรับซื้อ ที่มา : ศุภฤกษ์ สายแก้ว, 2560
ลูกกอล์ฟ (น้ําหนัก 1 – 8.5 ขีด)
ลูกเล็ก (น้ําหนัก 8.6 – 9.5 ขีด)
ลูกใหญ่ (น้ําหนักเกิน 9.5 ขีดขึ้นไป)
สับปะรดที่สามารถคัดแยกได้ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่
ภาพที่ 2.4 แสดงความแตกต่างของขนาดสับปะรด ที่มา : ศุภฤกษ์ สายแก้ว, 2560
การจัดการในกรณีที่ผลผลิตเกินตลาด อภิธัญญ์ สายแก้ว (สัมภาษณ์) ผู้ประกอบการแผงรับซื้อสับปะรด ตําบลหนองพันจันทร์ อําเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี กล่าวว่า โรงงานจะรับซื้อผลสับปะรดที่สุก โดยเมื่อใช้มีดปาดแล้วมีสีเหลือง การรับซื้อหากเดือนไหนผลผลิต มีจํานวนน้อยโรงงานจะรับซื้อทั้งหมด แต่ถ้าเดือนไหนผลผลิตมีจํานวนมาก โรงงานจะรับซื้อเฉพาะ
ลูกที่มีขนาดเล็ก (น้ําหนัก 8.6 – 9.5 ขีด) และลูกที่มีขนาดใหญ่ (น้ําหนักเกิน 9.5 ขีดขึ้นไป) ส่วนลูก กอล์ฟ ทางแผงรับซื้อจะนํามาเพิ่มมูลค่า 2 ลักษณะ ดังนี้
1) ลูกกอล์ฟที่สุก (รวมถึงลูกเล็กและลูกใหญ่ที่สุกเกินจากที่โรงงานต้องการ) จะ นํามาปอกเปลือกเพื่อนําไปทําน้ําสับปะรด หรือ ทําแยม
2) ลูกกอล์ฟที่ดิบ (รวมถึงลูกเล็กและลูกใหญ่ที่ดิบเกินจากที่โรงงานต้องการ) จะ นําไปหั่นเป็นชิ้น เพื่อบรรจุกระป๋อง
ภาพที่ 2.5 แสดงการแปรรูปสับปะรด
ที่มา : ศุภฤกษ์ สายแก้ว, 2560
สับปะรดสุกที่ใช้ทําน้ําและแยม
สับปะรดดิบที่นําไปใส่กระป๋อง
ภาพที่ : 2.6 แสดงสับปะรดที่นําไปแปรรูป ที่มา ศุภฤกษ์ สายแก้ว, 2560
2.2.2 สหกรณ์ ซึ่งทวีศักดิ์ บุญเกลี้ยง (สัมภาษณ์, วันที่ 1 ธันวาคม 2560) ผู้ผลิตสับปะรดเพื่อการบริโภค และ สับปะรดโรงงาน ของตําบลหนองพันจันทร์ อําเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี กล่าวว่า แผงรับซื้อสับปะรดบางแผงมีการกดราคา หรือรับซื้อสับปะรดที่มีขนาดลูก
คาบเกี่ยวระหว่างขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ทําให้ผู้ผลิตสับปะรดได้รายได้ไม่เป็นไปตามจริง ด้วย เหตุผลดังกล่าวนี้เอง ผู้ผลิตสับปะรดในเขตพื้นที่ อําเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี จึงได้รวมตัวกันจัดตั้ง สหกรณ์บ้านโปร่งกระทิง ทําหน้าที่เป็นหัวหน้าโควตา เนื่องจากโรงงานมีการกําหนดโควตาในการขาย สับปะรด เพื่อควบคุมปริมาณผลผลิตภายในโรงงาน จึงทําให้ผู้ผลิตสับปะรดโดยทั่วไปไม่สามารถ นําไปขายได้เนื่องจากไม่ได้รับโควตาจากโรงงาน
ข้อดี
1. ผู้ผลิตสับปะรดได้รับเงินสดจากการจําหน่าย
2. สหกรณ์ มีบริการจําหน่าย ปุ๋ย และยา ในราคาที่ถูกกว่าท้องตลาด
3. มีตลาดรองรับในการรับซื้อมากกว่าระบบแผงรับซื้อ เนื่องจากสหกรณ์มี สมาชิกจํานวนมาก ทําให้มีผลผลิตมาก จึงทําให้โรงงานต่างๆ ให้ความสนใจ เช่น จังหวัดเพชรบุรี ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์
4. มีอํานาจต่อรองกับทางโรงงาน เนื่องจากมีการรวบรวมผลผลิตจากสมาชิกที่ นําไปขายมีจํานวนมาก
5. มีการแบ่งผลกําไรจากร้อยละ 20 ที่หักไว้จากยอดขายของสมาชิก มาจัดสรร ให้กับสมาชิกโดยเท่าเทียมกัน
ข้อเสีย
1. สหกรณ์มีคณะกรรมการบริหารที่จะต้องมีการพิจารณาลงมติในที่ประชุมเพื่อ ทําการตัดสินใจ ทําให้บางครั้งแก้ปัญหาไม่ทัน จึงก่อให้เกิดความเสียหายได้
2. สหกรณ์ไม่มีแผนรับความเสี่ยง เช่น กรณีที่โรงงานรับซื้อสับปะรดไม่ยอม จ่ายเงินหรือจ่ายล่าช้า จึงทําให้ทางสหกรณ์ต้องมีการสํารองจ่ายไปก่อน ทําให้ขาดสภาพคล่องทาง การเงิน
การเป็นสมาชิก การสมัครสมาชิกนั้น สามารถสมัครได้ทุกคนที่เป็นเกษตรกร การบริหารงาน สหกรณ์จะมีการหักเงิน ร้อยละ 20 ของยอดที่ขาย กล่าวคือ
ผู้ผลิต จะรับ 80 % สหกรณ์ หักไว้ 20 % เพื่อดําเนินกิจการของกลุ่ม
การจัดจําหน่ายสับปะรด
การเคลื่อนย้ายสับปะรดจากต้นน้ําโดยเริ่มจากคนขายวัตถุดิบไปยังกลางน้ําจนกระทั่งไป สินค้าที่เป็นสับปะรดผลสด สับปะรดกวนและน้ําสับปะรดที่มีรสชาติหวาน และเคลื่อนย้ายสินค้าไป ยังให้ลูกค้าอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถอธิบายได้ดังนี้
ผู้ขายวัตถุดิบ
ปุ๋ย ยา
หน่อพันธุ์
เพื่อการ ผลิต
ผู้ผลิต
เพื่อการ บริโภค
หน่อพันธุ์
ต้นน้ํา
แก๊ส
หญ้าคา ฟาง กระดาษ หนังสือพิมพ์
แรงงาน
เครื่องมือ อุปกรณ์
ภาพที่ 2.7 แสดงการจัดจําหน่ายของผลิตภัณฑ์สับปะรด ที่มา : อัจฉรียา โชติกลาง, 2561
กลางน้ํา
ค้าส่ง
ผู้บริโภค
ผู้บริโภค
กลุ่มแปรรูป
ผู้บริโภค
ค้าปลีก
ค้าส่ง (แผง)
โรงงาน
จากภาพที่ 5.6 สามารถอธิบายได้ดังต่อไปนี้
1. ผลิตภัณฑ์สับปะรด สามารถแบ่งตามวัตถุประสงค์ของการซื้อ ได้เป็น 2 ประเภท คือ สินค้าอุปโภคบริโภค (เพื่อการบริโภค) การที่ผู้บริโภคคนสุดท้ายซื้อไปเพื่อทําการบริโภค และ สินค้าอุตสาหกรรม (เพื่อโรงงาน) การที่ผู้ใช้สินค้าทางอุตสาหกรรมซื้อไปเพื่อทําการผลิตแล้วขายต่อ
2. การจัดจําหน่าย ในความหมายที่เกี่ยวกับช่องทางการจัดจําหน่าย แบ่งออกได้เป็น 2 ช่องทางการจัดจําหน่าย คือ ทางตรงและทางอ้อม สําหรับในความหมายของการกระจายสินค้า ใน ประเด็นห่วงโซ่อุปทาน จะมีการใช้การขนส่งทางบกด้วยรถยนต์ สําหรับต้นทุนสินค้าของผู้กระจาย สินค้าจะเสียไปกับค่าขนส่งมากกว่าค่าเก็บรักษา เนื่องจากผลผลิตไม่สามารถเก็บไว้ได้นาน เช่น ถ้า เป็นเนื้อ 1 จะเก็บ ได้ 3 วัน หากเป็นเนื้อรวมจะเก็บได้ 7 วัน และถ้าหากต้องขายไปในที่ ห่างไกลจากไร่ เช่น ลงใต้ ผู้ผลิตจะต้องทําการตัดสับปะรดที่สุกประมาณร้อยละ 20 ได้เผื่อเวลา ที่จะสุกในระหว่างการขนส่งและช่วงเวลาที่พ่อค้าคนกลางรอจัดจําหน่าย สําหรับบรรจุภัณฑ์หากเป็น
ผลสด จะใช้ถุงพลาสติก แต่หากเป็นสับปะรดกวนจะใส่กล่องใส และถ้าคั้นน้ําจะใส่ขวดพลาสติกมี ฝาปิดไม่ใส่สารกันบูด ผู้ผลิตจึงทําการผลิตวันต่อวัน จึงต้องสั่งล่วงหน้าหากต้องการสินค้า เนื่องจาก ไม่มีสต็อคสินค้า
แนวความคิดเกี่ยวกับช่องทางการจัดจําหน่าย
ความหมายของช่องทางการจัดจําหน่าย
ความหมายของ ช่องทางการตลาด หมายถึง ระบบเครือข่ายงาน (Network system) ซึ่งมี ตัวแทนและสถาบันการตลาด กลุ่มบุคคลหรือธุรกิจที่ทํากิจกรรมทางการตลาดเชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิต กับลูกค้า เพื่อให้งานทางด้านการตลาดประสบความสําเร็จ และบรรลุวัตถุประสงค์ในการกระจาย สินค้าไปตามเส้นทางจากผู้ผลิตผ่านผู้จัดจําหน่ายในระดับต่าง ๆ ได้แก่ ตัวแทนจําหน่าย พ่อค้าส่ง และพ่อค้าปลีกไปยังผู้บริโภคอย่างทั่วถึง ทันตามความต้องการ จากความหมายนี้แสดงว่า ช่องทาง การตลาด ประกอบด้วย
1. ระบบเครือข่ายงานซึ่งถูกกําหนดขึ้นโดยบริษัท
2. ตัวแทน และสถาบันการตลาด ทําหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิตกับลูกค้า
3. กิจกรรมทางการตลาด ได้แก่ การซื้อขาย การส่งเสริมการขาย การโฆษณา และอื่น ๆ
4. วัตถุประสงค์ทางการตลาด เช่น การเพิ่มยอดขายและส่วนครองตลาด
(Berman Bary, 1999, p.10 , Rosenbloom Bert, 2004, pp. 8-9 , ดํารงศักดิ์ ชัย สนิทและสุนี เลิศแสวงกิจ, 2552, หน้า 7)
โครงสร้างของช่องทางการจัดจําหน่าย
ในการจัดจําหน่ายสินค้าให้แก่ผู้บริโภคนั้น หากเป็นกิจการเล็ก ๆ ก็อาจไม่มีความซับซ้อน เท่าใด แต่โดยทั่วไปมักมีความสลับซับซ้อน เนื่องจากมีผู้ผลิตหลายราย นอกจากนี้ลักษณะสินค้าและ บริการเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อโครงสร้างของช่องทางการจัดจําหน่าย นอกเหนือจากปัจจัยของกิจการ แต่ละกิจการการจัดจําหน่ายที่แต่ละกิจการเลือกใช้ ส่งผลให้เกิดตัวกลางจํานวนที่ไม่เท่ากันในการนํา สินค้าจากผู้ผลิตไปสู่มือผู้บริโภคขั้นสุดท้าย ทําให้มีพื้นฐานสองประการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับช่องทาง การจําหน่าย ได้แก่ (สุดาพร กุณฑบุตร, 2550, หน้า 206 - 207)
1. ช่องทางการจัดจําหน่ายทางตรง (direct channels) หมายถึง การที่ผู้ผลิตจําหน่าย สินค้าให้กับผู้บริโภคด้วยพนักงานและทรัพยากรต่าง ๆ ที่กิจการเป็นเจ้าของ เช่น การที่ผู้ผลิตรองเท้า และเสื้อผ้าเปิดร้านเพื่อจําหน่ายสินค้าด้วยตนเอง หรือถ้าเป็นสินค้าอุตสาหกรรมก็ได้แก่ การที่ผู้ผลิต ส่งพนักงานขายไปติดต่อลูกค้าโดยตรง เช่น ผู้ผลิตเครื่องจักร ส่งตัวแทนขายไปเสนอขายให้กับโรงงาน ต่าง ๆ เป็นต้น ในปัจจุบันระบบอินเตอร์เน็ทช่วยให้ผู้ผลิตสามารถจําหน่ายสินค้าโดยใช้ช่องทาง การจําหน่ายทางตรงได้มากขึ้น เนื่องจาประสิทธิภาพในการสื่อสารกับผู้บริโภคมีประสิทธิภาพดีขึ้น และต้นทุนถูกลง
2. ช่องทางการจําหน่ายทางอ้อม (indirect channels) หมายถึง การที่ผู้ผลิตใช้กิจการ ภายนอกหรือบุคคลภายนอกทําหน้าที่เป็นตัวกลางในการขายสินค้าของตนให้กับผู้บริโภคทั่วไป การใช้ ตัวกลางทําหน้าที่ในการจําหน่ายสินค้าเป็นสิ่งจําเป็นสําหรับหลาย ๆ ธุรกิจ แม้ว่าการใช้คนกลางต้อง
เสียค่าใช้จ่ายที่สูง แต่ผู้ผลิตส่วนใหญ่มีความชํานาญกับหน้าที่ผลิตสินค้า แต่ไม่มีศักยภาพที่จะจําหน่าย สินค้าในขณะที่คนกลางมีศักยภาพที่จะจําหน่ายสินค้า ดังนั้นคนกลางจึงช่วยขายสินค้าให้กับผู้ผลิตได้ ดีกว่าการที่ผู้ผลิตจําหน่ายสินค้าเอง ตัวอย่างได้แก่ ผลิตภัณฑ์จากผู้ผลิตที่เป็นหนึ่งผลิตภัณฑ์หนึ่ง ตําบลหรือ “OTOP”หากไม่มีตัวกลางก็สามารถจําหน่ายได้เฉพาะในตําบลของตนเองเท่านั้น ต้อง หาทางให้ผู้บริโภคเข้าไปในตําบล เช่น งานฝีมือของบ้านถวายที่หางดง จังหวัดเชียงใหม่ แต่หากมี ตัวกลางในการนําสินค้าไปถึงมือผู้บริโภคที่กระจายอยู่ทั่วประเทศหรือทั่วโลก จะได้ยอดขายที่เพิ่มขึ้น หลายเท่า ดังนั้นผู้ผลิตส่วนใหญ่จึงต้องการคนกลางจําหน่ายสินค้าของตนให้กับผู้บริโภค
ระดับของช่องทางการจัดจําหน่าย
นพรัตน์ ภูมิวุฒิสาร, 2558 (หน้า 180 - 181) ได้กล่าวถึง ระดับของช่องทางการจัด จําหน่าย ว่าเป็นจํานวนคนกลางที่เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ ที่ทําหน้าที่ในการนําสินค้า และกรรมสิทธิ์การถือครองสินค้านั้นส่งผ่านไปยังผู้บริโภค หากมีคนกลางเข้ามาเกี่ยวข้องหลาย ขั้นตอน จะทําให้ระดับของช่องทางการจัดจําหน่ายมีความยาวมากขึ้น ดังนี้
1. ระดับช่องทางการจัดจําหน่ายในตลาดผู้บริโภค
ระดับศูนย์ เป็นการติดต่อเพื่อทําการตลาดผลิตภัณฑ์โดยตรงจากผู้ผลิตสู่ผู้บริโภค โดยไม่ผ่านคนกลาง เช่น การที่ผู้ผลิตตั้งร้านขาย หรือการส่งพนักงานขององค์กรขายตรง การขาย โดยแคตตาล็อค สื่อออนไลน์
หนึ่งระดับ เป็นการส่งสินค้าผ่านคนกลาง โดยมีผู้รับช่วงก่อนถึงผู้บริโภคหนึ่งช่วง ได้แก่ ผู้ค้าปลีก
สองระดับ เป็นการส่งสินค้าผ่านคนกลาง โดยมีพ่อค้าส่งเป็นผู้รับช่วงสินค้าก่อนและ กระจายให้แก่ ผู้ค้าปลีก เพื่อนําไปจัดจําหน่าย เช่น การขายสินค้านําเข้า การขายสินค้าที่เกี่ยวกับ เทคโนโลยี
สามระดับ เป็นการส่งสินค้าผ่านคนกลางสามระดับที่มีพ่อค้าส่ง เป็นผู้รับช่วงสินค้า ก่อน ขายให้แก่ พ่อค้าส่งรายย่อย และกระจายให้แก่ผู้ค้าปลีก เพื่อนําไปจัดจําหน่าย ที่พบเห็นได้ จากการนําสินค้าบางชนิดเข้ามาจากต่างประเทศ
ระดับศูนย์
หนึ่งระดับ
สองระดับ
สามระดับ
ผู้บริโภค
ผู้ค้าปลีก
ผู้ค้าปลีก
ผู้ค้าปลีก
ผู้ค้าส่งรายย่อย
ผู้ค้าส่ง
ผู้ค้าส่ง
ผู้ผลิต
ผู้ผลิต
ผู้ผลิต
ผู้ผลิต
ภาพที่ 2.8 แสดงระดับช่องทางการจัดจําหน่ายในตลาดผู้บริโภค ที่มา : นพรัตน์ ภูมิวุฒิสาร, 2558, หน้า 180
การตลาดออนไลน์ พฤติกรรมของคนในยุคสมัยนี้มีการเปลี่ยนไป แต่ยังมีคนกลุ่มที่ยัง นิยมเดินทางไปซื้อสินค้าตามแหล่งขายของ เช่น ตลาดนัด ห้างสรรพสินค้า ร้านค้าย่อยต่างๆ ก็ยังมี อยู่ แต่เป้าหมายที่เข้าถึงได้ง่ายก็จะเป็นคนที่ท่องอย่บนอินเทอร์เน็ตทั้งหลาย รวมทั้งปัจจุบัน เทคโนโลยี อุปกรณ์ต่าง ๆ ก็ทําให้คนหันมาใช้งานกันแบบอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่กันมากขึ้น สังเกตว่า ไปไหนมาไหนจะเห็นคนส่วนใหญ่ก้มหน้าดูมือถือ แท็บเล็ตกันทั้งนั้น ทําให้เกิดการปรับกลยุทธ์ทาง การตลาดกันขนาดใหญ่ โดยหันมาให้ความสําคัญกับการส่งเสริมการขายและค้าขายโดยใช้ อินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ รวมถึงเว็บ Social และ Application บนอุปกรณ์ไฮเทคทั้งหลายกันมาก ขึ้น เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ตรงและเพิ่มช่องทางในการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ให้ กลุ่มเป้าหมายใหม่ ๆ ได้รู้จัก รวมไปถึงการเปิดร้านหารายได้ผ่านอินเทอร์เน็ตก็มากขึ้นเป็น หลายเท่าตัว ซึ่งทําได้ง่าย ลงทุนน้อย ไม่จําเป็นต้องมีหน้าร้าน การขายออนไลน์จึงเป็นทางเอก สําหรับผู้เริ่มต้นที่จะมีธุรกิจเป็นของตัวเอง ตลอดจนธุรกิจต่าง ๆ ที่ต้องการขยายกลุ่มเป้าห มายและ ทําให้คนได้รู้จักมากขึ้นนั่นเอง (ปวีณา มีป้อง, 2557, หน้า 13)
ความหมายของการตลาดออนไลน์ หมายถึง การกําหนดการตลาดในสื่อออนไลน์ มี วัตถุประสงค์ ทําให้สินค้าที่ต้องการขายให้เป็นที่รู้จักเพิ่มมากขึ้น โดยใช้วิธีต่าง ๆ ในการโฆษณาผ่าน ทางเว็บไซต์ หรือโฆษณาขายสินค้าที่จะนําสินค้าไปเผยแพร่ตามสื่อออนไลน์ เพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าถึง และเกิดความสนใจ จนเข้ามาใช้บริการหรือซื้อสินค้าโดยการตลาดออนไลน์
สิ่งจําเป็นสําหรับการขายออนไลน์ เตรียมพร้อมก่อนที่จะลงมือขายไม่ว่าจะเป็นอีเมล์ ร้านที่ไว้สําหรับติดต่อกับลูกค้า เบอร์โทรศัพท์ ให้ลูกค้าติดต่อได้สะดวก อุปกรณ์ถ่ายภาพอัพเดท สินค้า บัญชีสําหรับทําธุรกรรมทางการเงินจากหลาย ๆ ธนาคาร เพื่อรองรับความสะดวกให้ลูกค้า ตอนจ่ายเงิน โดยเปิดบัญชีธนาคาร หรือธนาคารออนไลน์ การเปิดบัญชีเพื่อรองรับการโอนเงินจาก ลูกค้า มีหลากหลายธนาคารจะยิ่งเพิ่มความสะดวกสบายในการโอนเงินค่าสินค้าจากลูกค้ามากยิ่งขึ้น นอกจากการเปิดบัญชีธนาคารแล้วก็ต้องสมัครบริการธนาคารออนไลน์ไปด้วยเลย จะได้สะดวกเวลา เช็คยอดเงิน เมื่อลูกค้าแจ้งโอนเข้า ยิ่งปัจจุบันเทคโนโลยีมือถือและอินเทอร์เน็ตได้พัฒนาและรองรับ การใช้งานก็ทําให้สามารถเช็คยอดเงินได้ทุกที่ ทุกเวลา และสามารถตอบลูกค้าได้อย่างรวดเร็วและ ประทับใจลูกค้า
ประเภทของการช่องทางการตลาดออนไลน์ สามารถทําได้หลายช่องทาง ดังนี้
1. การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหาบนอินเทอร์เน็ต (Search Engine Marketing : SEM) คือ การตลาดบน Search Engine เป็นการทําให้สินค้าเป็นที่รู้จักในกลุ่มลูกค้าเป้าหมายซึ่ง เป็นผู้ใช้งาน ลําดับแรก ๆ คือ การทํา SED เพื่อให้เว็บไซต์ติดอันดับของ Google และนํามาซึ่ง ยอดผู้ใช้เว็บไซต์และเพิ่มโอกาในการขายสินค้าและบริการให้มากยิ่งขึ้น
2. การตลาดผ่านอีเมล์ (Email Marketing) คือ การตลาดที่ทําผ่านอีเมล์ เพื่อส่ง ข่าวสาร การส่งเสริมการตลาดต่าง ๆ ถึงลูกค้าที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย เป็นการตลาดที่ต้นทุนต่ําที่สุด
เมื่อเทียบกับการตลาดในรูปแบบอื่น ๆ อีกทั้งยังเป็นการทําการตลาดที่ตรงกลุ่ม ทําได้โดยสมัคร อีเมล์ติดต่อลูกค้า เนื่องจากอีเมล์เป็นช่องทางการติดต่อสําหรับลูกค้าอีกช่องทางหนึ่งที่สะดวกและ สามารถเก็บฐานข้อมูลอีเมล์ สามารถเข้าถึงผู้รับภายในเวลาอันรวดเร็ว พร้อมส่งข่าวสารอัพเดทของ ร้านถึงลูกค้าที่เคยซื้อของจากทางร้าน ทําให้ลูกค้ารู้สึกเคยชินและเป็นคนพิเศษ ที่ไ ด้รับข้อมูล ข่าวสารเสมอ เป็นโอกาสที่ช่วยดึงลูกค้ากลับมาอุดหนุนกันใหม่
อีเมล์สําหรับติดต่อสมาชิกสามารถใช้อีเมล์ฟรีจากผู้ให้บริการ เช่น Outlook (Hotmail) Gmail Yahoo
3. สังคมการตลาด (Social Marketing) คือ การตลาดที่ทําผ่าน Social Network ต่าง ๆ ที่เป็นการรวมตัวของกลุ่มคนและสื่อที่เป็นรูปแบบการสื่อสารต่าง ๆ ดังนั้น
เครือข่ายทางสังคม คือ การที่บุคคลหลายคนมีปฏิสัมพันธ์ในเครือข่าย ที่เทคโนโลยีด้านเครือข่าย ออนไลน์ในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ที่มีจํากัดการสื่อสารจาก รูปแบบเดิม ทั้งจดหมาย ไปรษณีย์ โทรศัพท์ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
เครือข่ายทางสังคม มีส่วนให้บุคคลต่าง ๆ สามารถแลกเปลี่ยน แบ่งปันประสบการณ์ ความคิดเห็น ตามผลประโยชน์ กิจกรรม หรือความสนใจเฉพาะเรื่อง โดยอาศัยเว็บไซต์ที่ทําให้มี การสื่อสารระหว่างบุคคลได้ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย (นพรัตน์ ภูมิวุฒิสาร, 2558, หน้า 244)
การตลาดออนไลน์ หรือเรียกว่า eMarketing เป็นเครื่องมือที่มีต้นทุนต่ําแต่มี ประสิทธิภาพสูง หากขายสินค้าที่เจาะกลุ่มลูกค้าที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป อาจยังต้องใช้สื่อแบบเก่า อย่างหนังสือพิมพ์ นิตยสาร และทีวีบ้าง เพราะคนอายุ 50 ปีขึ้นไปส่วนใหญ่ใช้อินเตอร์เน็ตไม่ค่อย เป็น แต่ถ้าเป็นกลุ่มอายุ 45 ปีลงมา จะบริโภคสื่อดิจิตอลมากกว่า ซึ่งถ้าลองเปรียบเทียบดูแล้ว จะพบว่า สื่อดิจิตอลนั้นสามารถเข้าถึงคนเป็นจํานวนมากและตรงกลุ่มลูกค้ามากที่สุด ค่าใช้จ่ายใน
แต่ละปีนั้นไม่กี่หมื่นบาท ที่เหลือก็เป็นเงินเดือนเว็บมาสเตอร์ นักการตลาดเบ็ดเสร็จรวมทุกอย่าง แล้วก็ประมาณค่าใช้จ่ายไม่เกิน 5 แสนต่อปี ซึ่งถ้าเป็นโฆษณาทีวีแค่ 2 สปอตก็หมดงบแล้ว
นอกจากนี้ยังช่วยในการนําเสนอสินค้าที่ครบวงจร เพราะการตลาดดิจิตอลสามารถ เชื่อมโยงการติดต่อและความสัมพันธ์แบบเวลาจริง (real time) ระหว่างผู้ผลิตสินค้าและลูกค้าของ ตนได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด สามารถอธิบายได้ดังนี้
3.1 เฟซบุ๊ค เป็นช่องทางสําหรับการโฆษณาผ่านเฟซบุ๊ค โดยมีค่าใช้จ่ายขึ้นกับ การกําหนตอนซื้อโฆษณาสามารถลงแยกเป็นรายวันหรือกําหนดเป็นแบบช่วงระยะเวลาก็ได้เช่นกัน โดยโฆษณานี้จะไปปรากฏที่หน้า Home หรือ Timeline ด้านขวามือล่าง หากคนที่เป็นเป้าหมาย สนใจก็จะคลิกบนโฆษณานั้นเพื่อเข้ามาในเพจของคุณได้ทันที หรือคลิกไลค์ให้เพจของคุณก็ยังได้ ซึ่ง Timeline เป็นเสมือนพื้นที่ส่วนตัวที่เมื่อโพสต์ข้อความใด ๆ ไปแล้ว เพื่อนของคุณที่อยู่ในรายชื่อ ทั้งหมดจะร่วมรับรู้ไปด้วย เป็นช่องทางที่ไม่เสียค่าใช้จ่าย แต่อาจต้องสร้างกิจกรรมขึ้นมากให้มี แรงจูงใจ พอที่จะให้กลุ่มเป้าหมายนําข้อความไปช่วยโพสต์ต่อบนหน้า Home ของเขา อีกนัยหนึ่ง ใช้กลุ่มเป้าหมายเป้าหมายเป็นตัวกระจายข่าวสารและบอกต่อนี้จะทําให้เพื่อน ๆ ของกลุ่มเป้าหมาย รับทราบ และมีแนวโน้มที่จะบอกต่อ ๆ กันไปเรื่อย ๆ ในเครือข่ายนั่นเอง
สําหรับการโพสต์หรือแชร์รูปภาพในอิสตาแกรมนั้น ก็จะเลือกได้ทั้งรูปที่ถ่ายใหม่ อัพโชว์ หรือจะนํารูปที่อยู่ในอัลบั้มมาใช้ก็ได้ นอกจากนี้ยังเลือกปรับแต่งสีสัน เปลี่ยนอารมณ์ให้ รูปภาพได้ เมื่อปรับแต่งภาพเสร็จส่วนสําคัญอีกอย่างในการโพสต์สินค้าก็คือ การใส่รายละเอียดของ ภาพหรือสินค้านั่นเอง เนื่องจากการขายในอิสตราแกรมจะเห็นการอัพเดทที่น่าจะสะดุดตาผ่านทาง รูปภาพเท่านั้น การใส่รายละเอียดและการติดต่อเพื่อให้ลูกค้าได้เข้าใจ และสนทนาได้สะดวกเป็นสิ่ง สําคัญ โดยช่องทางสําหรับการปิดการขาย ส่วนใหญ่มักเลือกให้ไลน์ไอดี เพื่อให้ลูกค้าได้ติดต่อ สนทนาเรื่องสินค้าและปิดการขายได้สะดวกกว่าการคอมเมนต์ใต้รูปที่โพสต์ไป เพราะบางทีจะไม่มี การแจ้งเตือน ทําให้ดูแลลูกค้าไม่ทั่วถึง
ดังนั้นข้อมูลย้อนกลับหรือ feedback ที่จะได้รับจากการใช้การตลาดดิจิตอล สามารถ ทําให้เข้าใจถึงความต้องการของลูกค้า เพื่อทําการพัฒนาสินค้าและบริการ หรือแม้แต่จะสร้างฐาน ลูกค้าที่ภักดีต่อแบรนด์ได้ง่ายดาย และดีขึ้นในอนาคต
ทามไลน์ (timeline) เป็นเสมือนพื้นที่ส่วนตัวที่เมื่อโพสต์ข้อความใด ๆ ไปแล้ว เพื่อน ของคุณที่อยู่ในเครือข่าย ทั้งหมดจะร่วมรับรู้ไปด้วย เป็นช่องทางที่ไม่เสียค่าใช้จ่าย แต่อาจต้องสร้าง กิจกรรมขึ้นมาใหม่ให้มีแรงจูงใจ พอที่จะให้กลุ่มเป้าหมายนําข้อความของคุณไปช่วยโพสต์ต่อบนหน้า Home ของเขาอีกนัยหนึ่งใช้กลุ่มเป้าหมายของคุณเป็นตัวกระจายข่าวสารและการบอกต่อนี้จะทําให้ เพื่อนของรับทราบ และมีแนวโน้มที่จะบอกต่อ ๆ กันไปเรื่อย ๆ ในคอนเซ็ปต์เครือข่ายนั่นเอง
3.2 อินสตราแกรม เรียกสั้น ๆ ว่า IG ซึ่งเป็นอีกหนึ่งแอพโซเชียลที่นิยมเล่นกัน โดยส่วนใหญ่จะเป็นการติดตามบุคคลสาธารณะ มีชื่อเสียง ทั้งดารา นักร้อง นักข่าว พิธีกร ทั้งหลาย ซึ่งในช่วงแรกกระแสจาก IG จะเน้นการส่งเสริมการตลาดส่วนใหญ่ ส่วนการโพสต์สําหรับ ขายเกิดจากกระแสที่ดารามักโปรโมทสินค้าหรือบริการของตน ทําให้การใช้เพื่อขายได้รับความนิยม บวกกับบน IG เอง มีเครื่องมือปรับสีรูปมาให้ด้วย จึงทําให้ง่ายในการนําเสนอมากยิ่งขึ้น จึงถูก
นํามาใช้เป็นหน้าร้าน เนื่องจากเน้นในเรื่องการลงรูปภาพ และที่ได้เปรียบคือ การนําเสนอขายผ่าน ทางโทรศัพท์มือถือที่จะสะดวกในการพิจารณาสินค้ามากกว่า
3.3 โพร์สแควร์ เป็นโปรแกรมที่บอกว่าผู้ใช้อยู่แห่งหนตําบลใด นอกจากนี้ยัง สามารถเขียนทิปและใส่รูปภาพได้อีกด้วย ด้วยความสมารถดังกล่าวจึงถูกนํามาเป็นเครื่องมือสําคัญ ของการบอกต่อ เช่น กรณีของร้านก๋วยเตี๋ยว JM Cuisine หรือ แจ๊กเม้งเดิม ซึ่งตั้งอยู่ที่จังหวัด เพชรบุรี ได้ทําการกระตุ้นให้ลูกค้าที่เข้ามาทานอาหารทําการเช็คอินและเขียนทิปบอกถึงรสชาติของ อาหาร โดยให้ส่วนลดร้อยละ 10 เนื่องจากโฟร์สแควร์สามารถเชื่อมต่อไปยังเฟซบุ๊คหรือทวิสเตอร์ได้ นั่นหมายความว่าเมื่อทําการเช็คอินอ่านโฟร์สแควร์แล้ว จะแสดงไปยังเฟซบุ๊คหรือทวิสเตอร์ด้วย ทําให้การบอกต่อนั้นกระจายได้กว้างขึ้น
3.4 บล็อก มักนิยมใช้กันมากสําหรับธุรกิจด้านโทรศัพท์มือถือ ความสวยความงาม ท่องเที่ยว ร้านอาหาร เช่น เมื่อบริษัทที่ขายโทรศัพท์มีสินค้าใหม่ออกมา ก็มักจะจัดงานแถลงข่าว ซึ่งส่วนหนึ่งจะมีการเชิญนักข่าว และอีกส่วนหนึ่งที่ขาดไม่ได้คือบรรดาบล็อกเกอร์เขียน โทรศัพท์มือถือทั้งหลาย นอกจากนี้ยังมีการให้โทรศัพท์ไปทดลองใช้ เพื่อให้เขียนรีวิววิพากษ์วิจารณ์ ลงในบล็อกของพวกเขาเหล่านั้นทั้งในส่วนดีและส่วนที่อาจจะบกพร่องทําให้เกิดกระแสในช่วงนั้นที่ไม่ ว่าจะเข้าบล็อกไหนก็ตาม ก็จะมีรีวิวของโทรศัพท์ที่ได้มีการจัดงานแถลงข่าว (ภิเษก ชัยนิรันดร์, 2556)
3.5 ไลน์ ซึ่งสังคมการตลาดกําลังได้รับความนิยมอย่างมาก เพราะมีคนใช้งานเป็น จํานวนมาก เนื่องจากบริการฟรีทําให้คนยุคนี้ติดต่อการสื่อสารที่ง่ายและสะดวก เมื่อก่อนอาจใช้เป็น ช่องทางสนทนากันหรือแจ้งข่าวเท่านั้น แต่เนื่องจากมีการใช้งานในเชิงค้าขายมากขึ้น จึงได้มี การพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อก่อให้เกิดรายได้ โดยการนําไปสู่การติดต่อสื่อสารทางธุรกิจและเรียกเก็บ ค่าบริการ ซึ่งธุรกิจใหญ่ ๆ ก็อาศัยบริการในส่วนของ Official Account เพื่อโปรโมทธุรกิจของ ตนเอง แต่เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายสูง จึงเอื้อประโยชน์แก่ธุรกิจใหญ่ ๆ เท่านั้น ยังไม่สามารถตอบโจทย์ แก่ธุรกิจเล็ก ๆ ที่ยังไม่สามารถรับค่าใช้จ่ายในส่วนนั้นได้ จึงได้เปิดบริการหมู่ที่เรียกว่าไลน์ที่ทําขึ้น เพื่อผู้ประกอบรายย่อยด้วยการทําในลักษณะของดาวน์โหลดแอพ ซึ่งสามารถใช้ได้ทุกระบบ ลักษณะ การทํางานของไลน์นั้นสามารถเทียบชั้นได้กับแฟนเพจ ในเฟซบุ๊คที่เป็นชุมชนที่เป็นช่องทางในการ สื่อสารทางธุรกิจมากกว่าจะเป็นการสื่อสารส่วนตัว จึงนับเป็นการพัฒนาการเพื่อสนับสนุนธุรกิจ ขนาดเล็กด้วยค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม ดังนั้นจึงตอบโจทย์ธุรกิจได้ดีกว่าด้วยจุดเด่นดังนี้
3.5.1 ประหยัดเวลาการส่งข้อมูล เพราะส่งข้อความครั้งเดียวแต่ถึงแก่ทุกคนที่ เป็นเพื่อนของเราได้ และข้อมูลดังกล่าวจะปรากฏให้เห็นในไลน์ส่วนตัวของแต่ละคน โดยที่แต่ละคน ไม่รู้ว่ามีใครบ้างที่ได้รับทราบข้อมูลนั้น ๆ
3.5.2 ประหยัดค่าใช้จ่าย เมื่อคิดอัตราการส่งข้อความเช่น 50,000 ข้อความ (1 คนคิด 1 ข้อความ) ค่าใช้จ่ายเพียง 800 บาทเท่านั้น เมื่อเทียบกับการโฆษณาแบบอื่นที่ต้องการ ส่งให้ถึงคนจํานวนมาก ถือว่าคุ้มค่ามากสําหรับงบโฆษณาของธุรกิจต่างๆ อยู่ในภาวะที่ธุรกิจเล็ก ๆ สามารถรับภาระได้
3.5.3 สามารถตั้งระบบตอบกลับอัตโนมัติ โดยกําหนดคีย์เวิร์ดของคําถามเอาไว นับเป็นข้อดีเพราะในแง่ธุรกิจ คู่ค้าย่อมต้องการตอบกลับในทันที ส่วนเจ้าของธุรกิจไม่ต้องตอบ คําถามที่ซ้ําซาก
3.5.4 ตั้งเวลาโพลต์ได้ ข้อนี้ทําให้เจ้าของธุรกิจมีความคล่องตัวในการสื่อสาร ตามเวลาที่ตัวเองต้องการได้ แม้ไม่ว่าในเวลาดังกล่าว
3.6 ช่องทางการตลาดด้วยอีเมล์ เป็นกลยุทธ์ที่จะทําให้กลุ่มเป้าหมายผ่านระบบอีเมล์ โดยมีจุดประสงค์เพื่อที่จะประชาสัมพันธ์ โฆษณา แจ้งข่าวสารให้กับกลุ่มเป้าหมายของคุณในคราว ละมาก ๆ การขายสินค้าออนไลน์และเก็บฐานข้อมูลอีเมล์ของลูกค้าเป็นสิ่งสําคัญของการขายทั้งใน ปัจจุบันและอนาคต เพื่อเป็นการสื่อสารระหว่างกัน โดยรูปแบบอีเมล์ที่ทําการส่งออกไปเขียนเป็น ข้อความ (text) หรือ HTML ซึ่งจะส่งออกถึงกลุ่มเป้าหมายในคราวละน้อย ๆ หรือมาก ๆ ก็ได้ ซึ่ง ในประเทศไทยเทรนด์การทํา การตลาดอีเมล์ มีแนวโน้มที่เพิ่มมากขึ้น เพราะตรงกลุ่ม ประหยัด รวดเร็ว และค่อนข้างได้ผลตอบรับที่ดี (ปวีณา มีป้อง ภวรัญชน์รัตน์ ภู่วิจิตร์และพรรณธิพา บ่ม กลาง, 2557, ภาณุ สิมมานนท์, 2561)
ข้อดีของการตลาดดิจิตอล
1. เป็นเครื่องมือสําคัญที่จะทําให้เป็นผู้ประกอบการ สามารถรับรู้ข้อมูลส่วนตัวของลูกค้า เพราะจะบันทึกอีเมล์ของลูกค้าแต่ละรายได้อย่างครบถ้วน
2. การตลาดดิจิตอลทําให้ลูกค้ารู้สึกว่าได้ติดต่อกับผู้ประกอบการโดยตรง ไม่ต้องผ่าน บุคคลที่สาม การบริหารลูกค้าสัมพันธ์จึงเป็นไปได้ง่ายขึ้น
3. การตลาดดิจิตอลทําให้บริษัทไม่เพียงแต่รับรู้ความต้องการในสินค้าที่มีอยู่ แต่ยัง อาจจะรับรู้ในความต้องการด้านอื่นของลูกค้าอีกด้วย เช่น หากลูกค้าซื้อตู้เย็นใหม่หรือเครื่องซักผ้า ใหม่พร้อม ๆ กัน เดาได้ว่าลูกค้าอาจย้ายเข้าไปบ้านหลังใหม่ และอาจกําลังต้องการอุปกรณ์ไฟฟ้า หรือเครื่องตกแต่งอื่น ๆ สําหรับบ้านเพิ่มเติมด้วย ซึ่งทําให้สามารถขายสินค้าอย่างอื่นได้เพิ่มเติมอีก ด้วย
4. ตราสินค้าที่มีชื่อเสียงหลายตรา ที่ยังไม่ค่อยได้ให้ความสนใจกับการตลาดดิจิตอล ทําให้กลุ่มลูกค้าที่เป็นคนรุ่นใหม่หันมาสนใจกับสินค้าหรือบริการของตราสินค้าที่ไม่มีชื่อเสียง ซึ่งจะ ช่วยให้มีโอกาสเติบโตได้มากยิ่งขึ้น และสามารถแข่งขันกับตราสินค้าที่มีชื่อเสียงได้
5. ช่วยให้วิเคราะห์ข้อมูลลูกค้าได้มากขึ้น เช่น ผู้ขายจะเข้าไปในตลาดดิจิตอลเพื่อต่อ เติมสิ่งที่สนใจอยู่แล้ว ไม่ว่าจะเป็นการชมรายการแข่งขันฟุตบอลหรือสํารวจรุ่นรถยนต์ที่สนใจจะซื้อ ส่วนผู้หญิงเข้าไปสู่ตลาดออนไลน์เพื่อให้ได้ใกล้ชิดกับผู้ประกอบการที่ตนเป็นลูกค้ามากขึ้น หมายความว่าเป็นลูกค้าในตลาดเดิมอยู่แล้ว แต่ต้องการแสวงหาข้อมูลของตราสินค้านั้นเพิ่มเติม (ปภาดา อมรนุรัตน์กุล, 2555, หน้า 11 – 12)
กระบวนการตอบสนองของผู้บริโภคต่อสื่อที่ผู้บริโภคสร้างขึ้นบนอินเทอร์เน็ต
การศึกษากระบวนการตอบสนองของผู้บริโภคต่อสื่อที่ผู้บริโภคสร้างขึ้นบนอินเทอร์เน็ต พบว่า แรงจูงใจที่ทําให้ผู้บริโภคสร้างสื่อบนอินเทอร์เน็ต ได้แก่ ความต้องการข้อมูล ความต้องการ การสนับสนุน และความต้องการความบันเทิง โดยประเภทของสื่อ องค์ประกอบของสื่อ วิธีการ
นําเสนอ และผู้สร้างสื่อ จากการศึกษาพบว่า สื่อที่ผู้บริโภคสร้างขึ้นบนอินเทอร์เน็ตทําให้เกิด รูปแบบของการตอบสนอง 5 รูปแบบ ได้แก่ ทําให้เกิดความสนใจ ทําให้เกิดการเชื่อถือ ทําให้เกิด ความชอบ ทําให้เกิดการวางแผนในการซื้อหรือการใช้บริการและทําให้เกิดการตัดสินใจซื้อ ดังภาพที่
2.2 (วุฒิ สุขเจริญ, 2555, หน้า 378)
สื่อที่ผู้บริโภคสร้างขึ้นบน อินเทอร์เน็ต
ประเภทของสื่อ องค์ประกอบของสื่อ วิธีการนําเสนอ ผู้สร้างสื่อ
แรงจูงใจ ความต้องการข้อมูล ความต้องการ
การสนับสนุน
ความต้องการความบันเทิง
การตอบสนอง เกิดความสนใจ เกิดความเชื่อถือ เกิดความชอบ เกิดการวางแผนซื้อ เกิดการตัดสินใจซื้อ
ภาพที่ 2.9 แสดงการตอบสนองของผู้บริโภคต่อสื่อที่ผู้บริโภคสร้างขึ้นบนอินเทอร์เน็ต ที่มา : วุฒิ สุขเจริญ, 2555, หน้า 379
กลยุทธ์การตลาดดิจิตอล เป็นสิ่งที่นักการตลาดต้องให้ความสําคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากปัจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอยู่ตลอดเวลา ลูกค้าสามารถเข้าถึงสินค้าได้จาก หลากหลายช่องทาง ดังนั้น นักการตลาดต้องสามารถที่จะปรับเปลี่ยนกลยุทธ์การตลาดให้สอดคล้อง กับเทคโนโลยี และพฤติกรรมของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา โดยสิ่งที่นักการตลาดต้อง นํามาพิจารณาในกลยุทธ์ดิจิตอล ประกอบด้วย
1. การนําร่องการขาย เป็นการนําร่องการขาย โดยการใช้โมเดลตัวนําการขาย เริ่มจาก การค้นหาที่ต้องตอบโจทย์ความต้องการในด้านต่างเพื่อนําไปสู่การพร้อมขายของสินค้าและบริการ ด้วยระบบงาน ต้องมีเครื่องมือช่วยในการตรวจคุณสมบัติความเป็นลูกค้าที่คาดหวัง เพื่อให้ลูกค้าทํา การซื้อและเป็นลูกค้าในที่สุด องค์ประกอบของเครื่องมือ เริ่มตั้งแต่ตัวชี้วัดและเครื่องมือสังคมสื่อสาร
ออนไลน์จากการโฆษณา การมี SEO เว็บไซต์ และเมล์ เข้าสู่การสัมมนา การมีงานโชว์สินค้าสู่ การติดตามการขายด้วยการใช้พนักงานขายและสนับสนุนการขาย หลังการปิดการขาย
2. การสร้างความสัมพันธ์และประสบการณ์ให้เกิดขึ้นกับลูกค้า เป็นการสร้าง ประสบการณ์ให้เกิดขึ้นกับลูกค้า นําไปสู่การตลาดสัมพันธ์ เป็นกลยุทธ์การตลาดสัมพันธ์ที่เน้นเรื่อง ของการใช้เทคนิคและเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการชนะใจลูกค้าและรักษาความสัมพันธ์กับลูกค้าไว้ได้ เป็นการเพิ่มส่วนแบ่งของลูกค้า คือ การทําให้ลูกค้าซื้อสินค้าเพิ่มมากขึ้น มุ่งเน้นการสร้างความ แตกต่างของลูกค้าและสุดท้ายเป็นเรื่องของการสร้างความพึงพอใจให้เกิดขึ้นกับลูกค้า
3. การใช้สังคมเครือข่ายเป็นการตลาดบนสื่อออนไลน์ ถือเป็นกลยุทธ์ทางการตลาดผ่าน การสื่อสารรูปแบบหนึ่ง เพื่อสามารถติดต่อสื่อสารไปยังกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ใช้ทั้งหลักการโฆษณา การประชาสัมพันธ์ การขาย ผ่านผู้ให้บริการด้านโซเชียลมีเดีย เช่น เฟซบุ๊ค ไลน์ ทวิสเตอร์ อินสตราแกรม โดยสามารถค้นหา วางแผนกิจกรรม เพื่อนําบริการเหล่านี้มาเพิ่มโอกาสในการขยาย ธุรกิจและเพิ่มโอกาสในการทําการตลาดผ่านช่องทางดังกล่าวให้มากขึ้น
4. การปรับเปลี่ยนคุณค่า เป็นการปรับเปลี่ยนอัตราการดู การกดไลค์ ให้กลายมาเป็น ยอดขายที่สูงขึ้น โดยการใช้การสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการ และจําเป็นต้องมีโมเดลในการ ปรับเปลี่ยน อัตราการกดไลค์ การแชร์ ให้เป็นยอดขายด้วยโมเดลการสร้างตัวนําการขาย ผ่าน เครือข่ายสังคมออนไลน์
5. การส่งเสริมการขาย เป็นกิจกรรมทางการตลาดที่สามารถกระตุ้นให้เกิดการขายได้ ในทันทีเพื่อเพิ่มยอดขายให้มากขึ้น ไม่ว่าจะในทางการโฆษณาหรือเครื่องมือการขาย ลักษณะการ ส่งเสริมการขาย เช่น การลดราคาแบบชั่วคราว หรือเป็นการส่งเสริมการขายผ่านช่องทางออนไลน์ สังคมเครือข่าย หรือ แคมเปญอิเล็กทรอนิกส์ทางการตลาด
6. การปิดการขาย เป็นหัวใจสําคัญของงานขายและถือเป็นผลงานของนักขายที่จะ เกิดขึ้น จากสถิติจากปิดการขายของนักขายระดับโลกพบว่าร้อยละ 80 ของลูกค้าที่ซื้อสินค้า เกิด จากการปิดการขายครั้งแรกของนักขาย ทีเหลืออีกร้อยละ 20 เกิดการปิดการขายครั้งที่ 2 – 4 ดังนั้นจําเป็นอย่างยิ่งที่นักการขายจําเป็นต้องเรียนรู้เทคนิคในการปิดการขาย
7. การรักษาความสัมพันธ์กับลูกค้าอย่างแข็งแกร่งและยั่งยืน ปัจจัยที่มีผลต่อ ความสัมพันธ์ที่แข็งแกร่งของลูกค้า คือ การที่สามารถสร้างการรับรู้ให้กับลูกค้าในเรื่องของคุณภาพ ของสินค้า เพื่อให้ลูกค้าเกิดการยอมรับในสินค้าของลูกค้า การสร้างการรับรู้ในคุณค่าของสินค้า เพื่อให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจสูงสุด การทําให้ลูกค้าได้รับรู้ถึงการเสียสละ เพื่อให้ลูกค้าเกิดความ ผูกพันในสินค้า ซึ่งจะนําไปสู่การสร้างความสัมพันธ์ที่แข็งแกร่งให้เกิดขึ้นกับลูกค้า (ภาณุ ลิมมานนท์
,2561, หน้า 202- 205)
นอกจากนี้ปวีณา มีป้อง ภวรัญชน์รัตน์ ภู่วิจิตร์และพรรณธิพา บ่มกลาง (2557, หน้า 257- 262) ได้กล่าวว่า การขายสินค้าออนไลน์ นอกจากจะทําให้ร้านเป็นที่รู้จักแล้ว ยังต้องรักษา ฐานลูกค้าเดิมและเพิ่มลูกค้ารายใหม่เข้ามา ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมส่งเสริมการขายใด ๆ จะต้อง ตอบสนองกิจกรรมการซื้อของลูกค้า ต้องรู้กว่าลูกค้าต้องการอะไร ก่อนซื้อ ขณะซื้อ และหลังการ ซื้อ การให้บริการที่ดีไม่ว่าจะเป็นการโต้ตอบสนทนาเหมือนเป็นที่ปรึกษาให้ลูกค้าก็จะทําให้ลูกค้ารู้สึก
ถึงความเป็นกันเอง และหากเป็นสินค้าดีมีคุณภาพ แน่นอนว่าลูกค้าเดิมต้องกลับมาซื้ออีกแน่นอน อย่างไรก็ตามมีหลากหลายเทคนิคที่จะทําให้ไปสู่ความสําเร็จและได้กําไร ดังนี้
1. รู้เขารู้เรา ศึกษาการตลาดและคู่แข่ง เพื่อสร้างความแตกต่างในกรณีที่สินค้าของคุณ ไม่ได้เป็นสินค้าที่ผลิตเองหรือแบบไม่แตกต่างจากคนอื่น ย่อมต้องมีคู่แข่งเป็นธรรมดา เพราะฉะนั้น ควรมีการสํารวจตลาดว่ามีแต่ละร้านมีกลยุทธ์ค้าขายอย่างไรบ้าง เพื่อนํามาปรับสร้างความแตกต่าง เมื่อศึกษาคู่แข่งแล้วก็ต้องหันมาวิเคราะห์แผนการขายของร้านคุณว่ามีจุดเด่นและจุดด้อยอะไรบ้าง เพื่อที่จะนําเสนอสินค้าให้น่าสนใจได้ แต่ได้ผลกําไรมากที่สุด ดังนี้
จุดแข็ง จุดเด่นของสินค้าและบริการที่คิดว่าเหนือว่าใคร เช่น ทางการตลาด การเงิน การเงิน การผลิต บุคลากร หรือการจัดการ
จุดอ่อน เป็นปัญหาหรือข้อด้อยของร้านที่ต้องหาวิธีการแก้ปัญหานั้น
โอกาส เป็นข้อได้เปรียบซึ่งวิเคราะห์จากปัจจัยภายนอก ที่ร้านแสวงหาโอกาสเพื่อมา วางแผนเพื่อผลสําเร็จประกอบด้วยปัจจัยด้านลูกค้า คู่แข่ง ผู้ผลิต คนกลาง กระแสเทคโนโลยี ความนิยม เป็นต้น
อุปสรรค เป็นอุปสรรคที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมภายนอก ซึ่งทําให้ร้านต้องวางแผนทํา การตลาดเพื่อขจัดอุปสรรคเหล่านี้ออกไป
เมื่อสามารถกําหนดข้อสําคัญทั้ง 4 ข้อแล้ว ก็จะทําให้รู้ว่าแนวทางการตลาดควรมุ่งเป้าไป ที่ใคร และต้องนําเสนออย่างไงบ้าง
2. การสร้างภาพลักษณ์ และสร้างตราสินค้า เมื่อหาจุดเด่นของสินค้าได้แล้ว ก็ต้อง สร้างภาพและชื่อสินค้า เพื่อให้ลูกค้าจดจําสินค้าได้ ก่อนอื่นก็ต้องสร้างจุดเด่นนี้ให้ตรงกับความ ต้องการของลูกค้า โดยการหาวิธีบอกลูกค้าว่าสินค้าดีอย่างไร ให้พูดสั้น ๆ ง่ายและเข้าใจ เช่น สะดวกในการใช้ บํารุงรักษาง่าย ปลอดภัย และทันสมัย ราคาไม่แพง คุณภาพสูง มีการรับประกัน คุณภาพสินค้า และอื่น ๆ อีกมามาย ที่สามารถนํามาพูดกับลูกค้า อยู่ที่ทักษะที่จะสร้างความมั่นใจ ให้กับลูกค้า สรูปแล้วคือคุณต้องบอกลูกค้าว่าสินค้าที่กําลังนําเสนอสามารถเติมเต็มความต้องการ อย่างไร แล้วเหตุใดจะต้องซื้อสินค้าของคุณ
3. พัฒนาสินค้าอยู่เสมอ สินค้าสําหรับการขายออนไลน์นั้นควรเน้นที่รูปลักษณ์และการ นําเสนอให้เห็นถึงความน่าสนใจและดึงดูดลูกค้าให้มาซื้อ เพราะลูกค้าส่วนใหญ่ที่เข้ามาซื้อจะเป็นคน ที่มีความรู้ และสามารถสืบค้นข้อมูลได้ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ซึ่งลูกค้าอาจค้นพบสินค้าที่มีรูปลักษณ์ ที่เหมือนกันหรือใกล้เคียงกัน ทําให้เกิดข้อเปรียบเทียบด้านคุณภาพและราคาได้ เพราะฉะนั้นจึงควร มีการนําเสนอที่สวยงาม สินค้าที่นํามายควรเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ หากไปเดินเลือกมาขายเองก็ต้อง ตรวจสอบคุณภาพให้ดีก่อน เพราะใครก็อยากได้ขอดี ๆ ของที่ถูกใจ ไม่ว่าจะราคาสูงแค่ไหน ก็ซื้อได้ และจะกลับมาซื้ออีกแน่นอน หากคุณภาพของสินค้าที่ลูกค้าสั่งไปคุณภาพลดลงเมื่อไหร่ก็เหมือนเป็น การไล่ลูกค้าด้วยตัวของคุณเอง
4. นําเสนอข้อมูลที่น่าเชื่อถือ พฤติกรรมการซื้อของคนในปัจจุบันทีมีเทคโนโลยีมารองรับ หากต้องการซื้อสินค้าใดสักชิ้นแต่ไม่มีความรู้เกี่ยวกับสินค้าชิ้นนั้น ๆ ก็มักต้องค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์ ต่าง ๆ แต่ถ้าหากเราใส่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์เหล่านี้ในหน้าร้านของคุณ พร้อมกับให้เครดิตข้อมูลที่ น่าเชื่อถือ เพื่อมารองรับสินค้าที่คุณขาย ย่อมทําให้ร้านค้าของคุณดูน่าเชื่อถือและน่าซื้อยิ่งขึ้น
5. สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า การขายแบบเดิมที่เน้น การลดแลกแจกแถม คงไม่ได้ ผลแล้ว การขายสินค้าในยุคนี้ต้องเน้นต่อยอด การสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยความสัมพันธ์ กลยะการสร้าง ความสัมพันธ์กับลูกค้า สร้างความประทับใจให้กับลูกค้า ทําให้ลูกค้ามาซื้อซ้ํา ซื้อบ่อย ซื้ออย่าง ต่อเนื่อง และลูกค้ามีการบอกต่อ โดยชวนเพื่อนและญาติมาซื้อลูกค้าประเภทนี้จะมีมูลค่าสูง และ ทําให้มีกําไรมากขึ้น คุณสามารถสร้างความสัมพันธ์เหล่านี้ด้วยการหมั่นเข้ามาอัพเดทข้อมูลข่าวสาร จากหน้าร้าน และใช้ช่องทางการแชทที่มีให้เกิดประสิทธิภาพ เพราะลูกค้าบางคนอาจไม่มั่นใจที่จะ ตัดสินใจซื้อทันที คําแนะนําของคนขายจะเป็นคะแนนสําคัญที่จะช่วยโน้มน้าวได้เป็นอย่างดี หากมี สินค้ามาลงใหม่ก็ต้องแจ้งข้อความไปถึงลูกค้าแต่ละคน จะทําให้ลูกค้ารู้สึกถึงความเป็นพิเศษและเห็น ถึงความใส่ใจเป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีเช่นกัน
การหมั่นสื่อสารสนทนา สร้างความเป็นกันเองกับลูกค้าจะช่วยทําให้ลดระยะห่างของ ความสัมพันธ์ลง และช่วยทําให้การค้าขายง่ายขึ้น โดยอาจไม่จําเป็นต้องสนทนาทุกคน แต่อัพเดท ข่าวสารและนําเสนอข้อมูลที่เป็นประโยชน์และสม่ําเสมอจะทําให้มีเรื่องคุยและสนิทใจมากขึ้น
การมีเว็บไซต์เป็นหน้าร้าน หรือเปิดเพจ ไว้เพื่อขายของ จึงต้องมาทางช่องทางการสร้าง ความสัมพันธ์กับลูกค้า เพราะโดยนิสัยของผู้ซื้อจะไม่ชอบการยัดเยียดและถูกนําเสนอขายของอยู่ ตลอดเวลา การตัดสินใจซื้อสิ่งใดสิ่งหนึ่งจะต้องใช้การทบทวนซึ่งคิดว่าเหมาะสม อยากได้เองถึงจะ ซื้อ การใช้ช่องทางสร้างความสัมพันธ์เพื่อเป็นตัวเลือกอันดับต้น ๆ ให้ร้านของคุณเห็นได้ชัดเจน เป็น วิธีแนะนํา ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารผ่านทางอีเมล์ ข้อความ รวมถึงการโฆษณาผ่านช่องทางต่าง ๆ ล้วนเป็นชองทางเลือกที่เชื่อมความสัมพันธ์กับลูกค้าไว้ไม่ให้ขาดการติดต่อหรือซื้อครั้งเดียวเลิกนั่นเอง
6. การสร้างความมั่นใจให้ลูกค้า การซื้อขายออนไลน์ เป็นการซื้อขายแบบไม่เห็นสินค้า จริง ลูกค้าบางคนไปเดินเลือกซื้อสินค้าตามห้างร้าน ยังหยิบจับต้อง ลองแล้วไม่เอาได้ ขอตัดสินใจ ก่อน การขายออนไลน์ต่างกันไปอย่างสิ้นเชิง ของไม่เห็น แถมยังต้องโอนเงินก่อนถึงจะส่งสินค้ามา ให้อีก การสร้างความมั่นใจและความน่าเชื่อถือจึงเป็นสิ่งสําคัญที่ต้องทําให้สามารถทําให้เกิดการขาย ได้ ทั้งนี้อาจจะต้องใช้เวลาหน่อย หากเป็นร้านเพิ่งเปิดใหม่ ข้อมูลการติดต่อซื้อขายยังไม่มี ประวัติ การติดต่อกับลูกค้าก็ยังไม่ขึ้น ในช่วงแรกจึงต้องอาศัยการลงโฆษณาไปก่อน พร้อมกับให้ข้อมูลที่ สามารถติดต่อได้ที่ชัดเจน สามารถตามตัวได้
ในปัจจุบันมีร้านขายของออนไลน์เกิดขึ้นตามเว็บไซต์และเฟซบุ๊คมากมาย ส่วนใหญ่ ขาช้อปออนไลน์จะเข้าไปดูเกือบทุกร้านที่มีมาให้เลือก แต่จะเลือกช้อปจริง ๆ อยู่ไม่กี่ร้าน หลักการ เลือกของลูกค้ามีอยู่หลายอย่างประกอบกัน ดังนี้ การอัพเดทสินค้า ลูกค้าส่วนใหญ่ชอบการได้เลือก ยิ่งมีแบบให้เลือกมาก จะชอบ การอัพเดทสินค้าใหม่ ๆ เสมอจึงเป็นส่วนสําคัญที่จะช่วยในการ ตัดสินใจ เพราะลูกค้าบางคนก็ไมต้องใช้เวลาตัดสินใจนาน แค่เห็นแล้วชอบก็สั่งซื้อ ทั้งนั้นยังต้องมี ความสม่ําเสมอในการอัพเดท ถ้าร้านคุณมีความเคลื่อนไหวอยู่เสมอ จะทําให้ลูกค้ารู้สึกว่ามีคนเฝ้า ร้าน คอยดูแลรับผิดชอบ และมีคนให้ติดต่อสอบถามอยู่เสมอ เพราะฉะนั้นการอัพเดทความ เคลื่อนไหว และข้อมูลสินค้าจึงเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้สําหรับการค้าขายออนไลน์ ประวัติข้อมูลการส่ง สินค้า เป็นตัวช่วยตัดสินใจได้ดีอีกอย่าง เพราะหากลูกค้าเห็นว่ามีคนเคยซื้อร้านนี้ตลอด ไม่มีปัญหา อะไรก็จะทําให้น่าสนใจจะสั่งซื้อในที่สุด การสนทนากับลูกค้า การตอบข้อสนงสัยหรือให้คําแนะนํา
เกี่ยวกับสินค้าเป็นจุดขายอีกอย่างหนึ่งที่จะช่วยทําให้ลูกค้าเกิดความประทับใจและความเป็นกันเอง กับลูกค้า
7. การกําหนดกติกาในการซื้อขาย การเปิดร้านนอกจากการขายสินค้าแล้ว ควรมีการ ชี้แจงเรื่องวิธีการซื้อขาย รวมถึงกติกาของร้านด้วย เพราะนอกจากนี้ลูกค้ากลัวว่าร้านค้าจะโกงแล้ว ร้านค้าเองก็กลัวลูกค้าไม่จ่ายค่าสินค้า หรือโกงด้วยวิธีต่าง ๆ เช่นกัน เพราะฉะนั้นต้องมีการกําหนด กติกาในการซื้อขายก่อน สิ่งที่ควรแจ้งลูกค้าเกี่ยวกับการซื้อขาย คือ การโอนเงินค่าสินค้า การซื้อ สินค้าออนไลน์ถึงแม้จะเป็นอันรู้กันว่าต้องโอนเงินค่าสินค้ามาก่อน ก็ต้องมีการแจ้งว่าต้องมีการโอน เงินเข้ามาภายในกี่วันหลังจากการสั่งซื้อ เพราะหากเป็นสินค้าพร้อมส่งแล้ว ถ้าสั่งซื้อไว้หลายวันแต่ ไม่โอนอาจทําให้ลูกค้าคนอื่นที่อยากได้สินค้าจริงเสียสิทธิ์ไป ร้านก็จะเสียประโยชน์ไปด้วย โดยเมื่อ โอนมาแล้วก็ต้องมีการแจ้งกลับมาให้ร้านรับทราบพร้อมส่งเอกสารการโอนหรือรายละเอียดการโอน แจ้งมาเพื่อการตรวจสอบและดําเนินการส่งสินค้าต่อไป หลังจากโอนเงินจ่ายค่าสินค้าให้กับทางร้าน แล้ว ควรเก็บสลิปหรือหลักฐานการโอนเงิน ฝากเงิน ไว้จนกว่าจะได้รับสินค้า เพราะสลิปเป็น หลักฐานในกรณีที่เกิดปัญหา การจัดส่งสินค้า ต้องระบุให้ชัดเจนว่าจะส่งวันไหน ถัดจากวันที่ลูกค้า โอน หรือส่งทุก ๆ วันไหน เพื่อลูกค้าจะได้ติดตามสอบถามได้ถูก หากเป็นการส่งสินค้าไม่ว่าจะทาง พัสดุไปรษณีย์ หรือขนส่งเอกชน ควรมีคนอยู่ตามที่อยู่ที่แจ้งทางร้านไว้เพื่อเซ็นรับสินค้า เพราะถ้า มาส่งแล้วไม่มีคนเซ็นรับ อาจต้องไปรับด้วยตนเองที่ไปรษณีย์ การเปลี่ยนสินค้า บางร้านมีทั้งรับ เปลี่ยนสินค้า และไม่เปลี่ยนสินค้า (ขายขาด) ต้องระบุให้ชัดเจน เพราะลูกค้าจะได้ตัดสินใจได้ว่า สะดวกใจจะซื้อหรือไม่หากไม่มีการรับคืนหรือเปลี่ยนสินค้าจากร้านนั้น ๆ หรือถ้ามีการเปลี่ยนสินค้าได้ ก็ต้องตรวจสอบเงื่อนไขการรับคืนสินค้า ว่าแบบไหนกรณีไหนสามารถเปลี่ยนคืนได้ จะได้ไม่มีปัญหา ภายหลัง
8. พ่วงการบริการ การเพิ่มยอดขายด้วยการให้บริการ เป็นเหมือนการพ่วงบริการเสริม
หรือบริการพิเศษที่เสนอไปพร้อมกับการขายสินค้า ไม่ว่าจะเป็นการการันตีสินค้าด้วยการรับประกัน สินค้าหากชํารุดหรือเสียหายก่อนระยะเวลารับประกัน หากเป็นสินค้าที่ผลิตขึ้นมาเอง หรือรับมา ขายอีกทีก็สามารถทําใบรับประกันจากทางร้านเองได้ง่าย ๆ ก็จะทําให้ลูกค้าอุ่นใจขึ้นในกรณีที่สินค้า มีมูลค่าสูง รวมไปถึงบริการจัดส่งสินค้าฟรีถึงบ้าน ล้วนเป็นสิ่งที่ทําให้ลูกค้าเกิดความสะดวกสบาย ประทับใจในการบริการ และอยากกลับมาใช้บริการใหม่ การบริการจึงถือเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่จะคอย มัดใจลูกค้าที่เคยผ่านประสบการณ์ดี ๆ จากทางร้าน และบอกต่อกับคนอื่น ๆ ให้มาอุดหนุนและใช้ บริการอีกทอดหนึ่ง
ช่องทางการจัดจําหน่ายขายปลีก (channel of distribution : retailing)
การขายปลีก (retailing) หมายถึงการซื้อขายสินค้าระหว่างผู้ขายกับผู้ซื้อเพื่อนําไปใช้ในชีวิต ประจําตัวหรือเป็นการซื้อสินค้าปริมาณน้อย ช่องทางการจําหน่ายในส่วนที่เป็นการขายปลีกมี ความใกล้ชิดกับผู้บริโภคขั้นสุดท้ายมากที่สุด ประชาชนทั่วไปรู้จักตลาดในแง่ของการซื้อขายสินค้าตาม ร้านค้าหรือด้วยรูปแบบต่าง ๆ ตัวอย่างของการขายปลีก ได้แก่ การซื้อสินค้าตามตลาด การซื้อสินค้า ในร้านสะดวกซื้อเอเอ็มพีเอ็ม การซื้อรถยนต์จากดีลเลอร์เพื่อไปใช้ในครอบครัว เป็นต้น (สุดาพร กุณฑบุตร, 2550, หน้า 220 - 225)
ชนิดของการขายปลีก (type of retailing) ในการจําหน่ายสินค้าปลีกให้แก่ผู้บริโภค ทั่วไปนั้น เป็นกลยุทธ์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในการตลาดทุกยุคทุกสมัย เนื่องจากผู้บริโภคทั่วไป หมายถึง ประชากรทั้งโลกที่จะต้องซื้อสินค้ามาเพื่อใช้ในชีวิตประจําตัว และยังรวมถึงองค์กรต่าง ๆ ที่ต้องการ สินค้ามาใช้ในชีวิตประจําวัน การแข่งขันในการขายปลีกจึงเป็นการแข่งขันทางการตลาดที่รุนแรงมา ตั้งแต่อดีตจนในปัจจุบันที่เข้าสู่ยุคการเค้าเสรี กิจการจากภายนอกประเทศสามารถเข้าไปดําเนินธุรกิจ ในประเทศได้ ยิ่งทําให้การแข่งขันในส่วนที่เป็นการค้าปลีกเพิ่มความรุนแรงเข้าไปอีก เช่น ในอดีตของ ประเทศไทย ผู้บริโภคซื้อสินค้าจากตลาดสดหรือร้านค้าปลีกในกรุงเทพฯ จะพูดถึงการไปซื้อสินค้าที่ เรียกว่า บางลําพู เป็นต้น ในขณะที่คนรุ่นใหม่พูดถึงการซื้อสินค้าที่บิ๊กซี โลตัส เป็นต้น ซึ่งการขายปลีก มีหลายรูปแบบ ดังนี้
1.1 ร้านค้าเฉพาะ หมายถึง ร้านที่จําหน่ายสินค้าเฉพาะอย่าง มีสินค้าไม่มากชนิดและ มักเป็นสินค้าในสายผลิตชนิดเดียวกัน มีขนาดเล็ก ๆ เช่น ร้านจําหน่ายเสื้อผ้าบุรุษหรือสตรี ร้าน จําหน่ายอุปกรณ์กล้องถ่ายรูป ร้านที่กล่าวข้างต้นมีชนิดสินค้าที่จํากัด
1.2 ห้างสรรพสินค้า หมายถึง กิจการที่จําหน่ายสินค้าครอบคลุมหลายชนิด โดยสินค้า ที่จําหน่ายในห้างมีความแตกต่างกันในสายผลิตภัณฑ์ เช่น ห้างเซ็นทรัล ห้างโรบินสัน มีสินค้า หลากหลายผลิตภัณฑ์ ในปัจจุบันมีห้างสรรพสินค้าบางประเภทที่มุ่งจําหน่ายสินค้าในขอบเขตที่แคบ ลง เช่น การจําหน่ายเฟอร์นิเจอร์และสินค้าอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ร้านอินเด็กซ์ในอดีตร้านลักษณะนี้ มักเริ่มจากการจําหน่ายสินค้าในราคาต่ําในลักษณะของโรงงานมาเอง
1.3 ร้านจําหน่ายสินค้าราคาต่ํา หรือที่เรียกกันว่า ดิสเค้าท์สโตร์ ปกติแล้วร้าน ดิสเค้าท์สโตร์เป็นร้านที่จําหน่ายสินค้าที่ใช้ในชีวิตประจําวันและไม่จําหน่ายสินค้าประเภทอาหารเป็น รายได้หลัก อาจมีจําหน่ายสินค้าของกินบ้างไม่มากนัก
1.4 ซุปเปอร์มาร์เก็ต หมายถึง ร้านค้าปลีกที่เน้นหนักด้านการจําหน่ายอาหาร เช่น อาหารสดและอาหารสําเร็จ แม้มีสินค้าจําเป็นในชีวิตประจําวันประกอบบ้าง แต่ผู้บริโภคส่วนใหญ่จะ มุ่งซื้ออาหารสดเป็นหลัก
1.5 ซุปเปอร์เซ็นเตอร์มีลักษณะเป็นร้านค้าปลีกที่รวมกันระหว่างดิสเคาท์สโตร์และ ซุปเปอร์มาร์เก็ต กล่าวคือ ดิสเค้าท์สโตร์มุ่งเน้นจําหน่ายของใช้ ในขณะที่ซุปเปอร์มาเก็ตมุ่งเน้นของกิน และของสด ซุปเปอร์เซ็นเตอร์จึงรวมทั้งของใช้และของกินเข้าไว้ในร้านเดียวกัน แต่ต่างจากร้าน สะดวกซื้อในแง่ของขนาดที่ใหญ่กว่ามาก เช่น เทสโก้โลตัส บิ๊กซี คาร์ฟู เป็นต้น
1.6 ร้านค้าปลีกในคลังสินค้า มีลักษณะที่ผู้ซื้อเข้าไปเลือกซื้อสินค้า ซึ่งมักเป็นของกิน จําพวกอาหารแห้ง และผลิตภัณฑ์ที่มีในร้านไม่ได้มีชื่อเสียงเป็นสากล เช่น มีน้ําโคล่าที่ไม่ใช่เป๊บซี่หรือ โค้ก ผู้ซื้อต้องบริการตนเองเป็นส่วนใหญ่ เพื่อลดต้นทุนลง แม้กระทั่งใส่ถุงก็อาจไม่มีให้ มีมากใน สหรัฐอเมริกา เช่น แซมคลับ ที่ต่างจากห้างแมคโครในประเทศไทยตรงที่ห้างแมคโครมุ่งเน้นเป็น ร้านค้าส่งมากกว่าการขายปลีก
1.7 ร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ หมายถึง การค้าปลีกในลักษณะเดียวกับร้านค้าปลีกใน คลังสินค้า ซึ่งประกอบด้วยของกิน แต่ยังรวมถึงเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ แต่ไม่ค่อยมีในประเทศไทย
1.8 ร้านสะดวกซื้อ หมายถึง ร้านค้าปลีกทั่วไป เช่น ร้านขายของชําในซอยทั่ว ๆ ไป ลูกค้ามักจะแวะซื้อของจําเป็นที่ต้องใช้ก่อนเข้าบ้านในปริมาณไม่มาก ปัจจุบันมีร้านสะดวกซื้อที่พัฒนา ให้ผู้ซื้อได้รับความสะดวกสบายในการเลือกซื้อสินค้า เช่น ร้านเอเอ็มพีเอ็ม เซเว่นอีเลเว่น เป็นต้น
1.9 การค้าปลีกที่ไม่ใช่ร้านค้า หมายถึง การค้าปลีกในรูปแบบอื่นที่ไม่ต้องมีสถานที่ เสนอขายชัดเจน เช่น การค้าออนไลน์ ไปรษณีย์ หรือแม้กระทั่งการจําหน่ายสินค้าทางทีวี เป็นต้น
กลยุทธ์การขายธุรกิจออฟไลน์
การทําธุรกิจในปัจจุบัน หากแบ่งรูปแบบการดําเนินการที่เป็นที่นิยม ก็คือ การทําธุรกิจ แบบออฟไลน์และการทําธุรกิจออนไลน์ โดยธุรกิจออฟไลน์นั้นจะมีรูปแบบดําเนินงาน การทํา การตลาดแบบเก่า ซึ่งเป็นการดําเนินธุรกิจโดยไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับอินเทอร์เน็ต โดยการเน้นการทํา โฆษณาผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์หรือการทําการตลาดแบบเฉพาะเจาะจง ส่วนธุรกิจออนไลน์มี รูปแบบการดําเนินธุรกิจที่จะใช้อินเทอร์เน็ตเข้ามาเกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นการดําเนินงานหรือ การโฆษณา ที่มักนิยมใช้ช่องทางของโซเชียลมีเดียเข้ามาช่วยเหลือ เพื่ออํานวยความสะดวกในด้าน ต่าง ๆ ของการทํางาน
เมื่อทราบถึงความแตกต่างและรูปแบบการดําเนินงานของธุรกิจทั้งสองแบบแล้ว ก็มาเข้า สู่กลยุทธ์การเพิ่มยอดขายให้ธุรกิจออฟไลน์
1. ทักทายลูกค้าทั้งขามาและขากลับ การกล่าวทักทายถือเป็นเรื่องพื้นฐานในการ ดํารงชีวิตของมนุษย์ ดังนั้นในการทําธุรกิจออฟไลน์ ซึ่งถ้าหากต้องการสร้างความประทับใจ สิ่งที่ ควรทําคือการทักทายลุกค้าที่เขามาซื้อสินค้าหรือใช้บริการภายในร้าน ไม่ว่าจะเป็นการทักทายด้วย คําพูด รอยยิ้ม หรือการสอบถามถึงความต้องการของลูกค้า เพื่อแสดงความใส่ใจที่มีให้กับลูกค้าที่ เข้ามาใช้บริการ หรือกล่าวขอบคุณลูกค้าหลังจากที่ลูกค้าได้ซื้อสินค้าหรือใช้บริการเสร็จเรียบร้อยแล้ว การกระทําเหล่านี้ล้วนเป็นสิ่งที่ทําให้ลูกค้าประทับใจ สื่อให้รู้สึกถึงความพิเศษที่มีให้ ถือได้ว่าเรื่อง เหล่านี้ถือว่าเป็นเรื่องที่ไม่ควรมองข้าม หากจะทําธุรกิจออฟไลน์ให้ประสบความสําเร็จ
2. ตั้งชื่อร้านให้สะดุดตา การตั้งชื่อร้านเป็นสิ่งที่สําคัญ และเป็นวิธีที่สามารถสร้างการ จดจําให้กับลูกค้าได้ หากสามารถตั้งชื่อร้านให้ดี ให้สะดุดตา สร้างความอยากรู้อยากลอง สอดคล้อง กับสินค้าหรือบริการที่คุณต้องการจะขายมากที่สุด โดยสิ่งสําคัญในการตั้งชื่อร้านให้สะดุดตานั้น ก็ จะเป็นการตั้งชื่อที่สร้างสรรค์ไม่ซ้ําใคร กระชับ จําง่ายและที่สําคัญต้องสอดคล้องกับธุรกิจ ตัวสินค้า และบริการที่ต้องการจะขายให้มากที่สุด แต่ถ้าหากว่าการตั้งชื่อร้านให้สอดคล้องกับสินค้า และ บริการนั้น เป็นโจทย์ที่ยากเกินไป การตั้งชื่อที่แปลก แหวกแนว ไม่ซ้ําใคร ก็เป็นเรื่องที่สามารถทํา ได้เช่นเดียวกัน
3. สร้างบรรยากาศภายในร้านให้เป็นมิตร การสร้างบรรยากาศภายในร้านก็เป็นอีกหนึ่ง สิ่งที่สามารถเพิ่มยอดขายให้กับธุรกิจได้เช่นกัน โดยการสร้างบรรยากาศภายในร้าน สามารถทําได้ โดยการตกแต่งให้สวยงาม โดดเด่น สะดุดตา สามารถดึงดูดสายตาของผู้ที่พบเห็นได้ โดยเฉพาะ กลุ่มลูกค้าใหม่ ๆ ที่เข้ามาเพื่อชมบรรยากาศภายในร้าน และไม่ได้มีความต้องการซื้อสินค้าโดยตรง แต่ก็การซื้อสินค้า หรือใช้บริการเพราะเข้ามาแล้ว เกิดเจอสิ่งที่ถูกใจ หรือการตัดสินใจเลือกใช้ บริการ จากการพิจารณาจากบรรยากาศที่จะได้รับก็ได้
4. จัดเรียงสินค้าอย่างเป็นระเบียบ การจัดเรียงสินค้าอย่างเป็นระเบียบ หรือการจัดวาง สินค้าให้มีลูกเล่นเพื่อดึงดูดสายตาของลูกค้า โดยเทคนิคการจัดวางสินค้าก็มีหลากหลายแหล่งให้ ศึกษาในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นหนังสือ หรือตามเว็บไซต์ที่นําเสนอเกี่ยวกับการตลาดทั่วไป ที่มีความ น่าเชื่อถือได้บนอินเทอร์เน็ต ที่จะบอกว่าการวางตําแหน่งสินค้าแบบไหนที่น่าสนใจ วางลักษณะไหน ที่จะทําให้สินค้าเป็นระเบียบ สินค้าชนิดไหนควรวางไว้ในจุดที่โดดเด่น ที่สามารถดึงดูดสายตาของ ลูกค้าได้ดีที่สุด
5. มีโปรโมชั่นจูงใจ วิธีทําการตลาดขั้นพื้นฐานและเป็นที่นิยมมากที่สุด คงหนีไม่พ้นการ จัดโปรโมชั่นลด แลก แจก แถม ของสินค้า และบริการภายในร้าน เพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจ ให้กับลูกค้าที่จะเข้ามาซื้อสินค้า และใช้บริการเพิ่มมากขึ้น แต่การจัดการส่งเสริมการขายก็ไม่ควร ติดต่อกันนานจนเกินไป หรือบ่อยจนเกินไป หากจัดทําการส่งเสริมการขาย และนานเกินไป จะ ส่งผลถึงภาพลักษณ์ของสินค้าและบริการในแง่ลบ
6. ให้ความใส่ใจลูกค้าประดุจเพื่อนคนสําคัญ การให้ความสําคัญใส่ใจกับลูกค้า สามารถ ทําได้โดยการสอบถามความต้องการของลูกค้า สอบถามถึงความรู้สึกของลูกค้าเมื่อได้ซื้อสินค้าและใช้ บริการพึงพอใจแค่ไหน การให้คําแนะนํา หรือแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่ลูกค้าได้พบเจอจากการใช้สินค้า หรือบริการของคุณกับลูกค้าเก่าหรือลูกค้าใหม่ ๆ ที่กําลังเข้ามา เพื่อแสดงให้เห็นถึงความใส่ใจที่มี ให้กับลูกค้าทุกคน
7. ให้ข้อมูลสินค้าและวิธีการใช้งานอย่างละเอียด การให้ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าเป็นสิ่งที่ดี ในการทําธุรกิจออฟไลน์ ที่สามารถทําได้ง่าย ๆ เพียงแค่สามารถตอบคําถามที่ลูกค้าถามเกี่ยวกับ สินค้าให้ได้ทุกข้อ ชัดเจน และตรงไปตรงมา เพื่อแสดงความจริงใจที่ธุรกิจมีให้ลูกค้า หรือการ อธิบายวิธีการใช้งาน และสาธิตวิธีการใช้งานสินค้าอย่างละเอียด ก็สามารถสร้างความประทับใจ ให้กับลูกค้าได้เช่นเดียวกัน
8. ให้โอกาสลูกค้าทดลองหรือชิมฟรีได้ สามารถเพิ่มยอดขายของคุณได้ด้วยการให้ลูกค้า ได้มีโอกาสได้ทดลองสินค้าตามความเหมาะสม หรือตามลักษณะของสินค้า ไม่ว่าจะเป็นการทดลอง ใช้อุปกรณ์ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ก่อนการตัดสินใจซื้อ การทดลองใส่ (เสื้อห้า กางเกง รองเท้า) เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการซื้อสินค้าและการทดลองชิมฟรีก่อนการซื้อไปบริโภค เพื่อ ทําให้ลูกค้ามั่นใจว่าสินค้าที่ได้ซื้อไปนั้นสามารถรับประทานได้อย่างถูกปาก ซึ่งวิธีทั้ง 3 ที่ให้ลูกค้าได้ ทดลองนั้น จะทําให้ทราบถึงความพึงพอใจของลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว และเพิ่มโอกาสที่ลูกค้าจะ กลับมาซื้อสินค้าในครั้งต่อ ๆ ไปอีกด้วย (แอนทูบีมาร์เก็ต, 2561)
2. ระดับของช่องทางการจัดจําหน่ายในตลาดธุรกิจ ระดับช่องทางการจัดจําหน่าย สามารถแบ่งได้เช่นเดียวกับตลาดผู้บริโภค เป็นช่องทางการจัดจําหน่ายระดับศูนย์ ช่องทางการจัด
จําหน่ายหนึ่งระดับ ช่องทางการจัดจําหน่ายสองระดับและช่องทางการจัดจําหน่ายสามระดับ ที่ ตลาดธุรกิจจัดส่งผลิตภัณฑ์ให้แก่กลุ่มลูกค้าธุรกิจผ่านตัวแทนผู้ผลิต สาขาการขาย และผู้จัดจําหน่าย สินค้าธุรกิจ ทางเลือกใดทางเลือกหนึ่งหรือหลายทางเลือกที่มีช่วงการจัดจําหน่ายผ่านคนกลางใน ช่องทางการจัดจําหน่ายสั้นกว่าตลาดผู้บริโภค จากลักษณะสินค้าที่มีรูปแบบเฉพาะที่มักใช้พนักงาน ของตัวแทนผู้ผลิตในการติดต่อเจรจากับผู้ซื้อ และเป็นไปตามความต้องการของแต่ละผู้ซื้อที่มีการ สั่งซื้อในปริมาณมาก (นพรัตน์ ภูมิวุฒิสาร, 2558, หน้า 182)
ระดับศูนย์
หนึ่งระดับ
สองระดับ
สามระดับ
ผู้บริโภคในตลาดธุรกิจ
ผู้จัดจําหน่ายสินค้า ธุรกิจ
สาขาการขาย
ตัวแทนผู้ผลิต
ตัวแทนผู้ผลิต
ผู้ผลิต
ผู้ผลิต
ผู้ผลิต
ผู้ผลิต
ภาพที่ 2.10 แสดงระดับช่องทางการจัดจําหน่ายในตลาดธุรกิจ ที่มา : นพรัตน์ ภูมิวุฒิสาร, 2558, หน้า 181
การบริหารช่องทางการจัดจําหน่าย
การบริหารช่องทางการจัดจําหน่าย หมายถึง กระบวนการที่กิจการนําสินค้าจากส่วนการ ผลิตไปสู่ผู้บริโภค แต่ในการบริหารการตลาดยุคปัจจุบัน มีกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่องค์การแต่ละองค์การ พัฒนาและนํามาใช้เพื่อให้กิจการสามารถแข่งขันกับคู่แข่งขันได้ ในการบริหารช่องทางการจัดจําหน่าย ในยุคปัจจุบัน มีขั้นตอนดังนี้ (สุดาพร กุณฑลบุตร, 2550, หน้า 206-207)
1. กําหนดทางเลือกระบบช่องทางการจัดจําหน่าย ในการบริหารช่องทางการจัดจําหน่าย ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดนั้น กิจการต้องพิจารณาลักษณะสินค้าและช่องทางการจัดจําหน่าย ซึ่งอาจมี หลายช่องทาง เช่น เครื่องสําอาง มีได้ทั้งที่เป็นการจัดจําหน่ายโดยห้างสรรพสินค้า จัดจําหน่าย ไปรษณีย์ และจัดจําหน่ายโดยตัวแทนโดยตรง และสินค้าแต่ละชนิดมีลักษณะแตกต่างกันไป ทําให้ การใช้ช่องทางการจําหน่ายต้องมีความแตกต่างกันไป ดังนั้นในการบริหารการจัดจําหน่ายจึงต้อง พิจารณาทางเลือกที่เกี่ยวกับช่องทางการจําหน่าย โดยมีได้หลายกรณี เช่น การจําหน่ายจากผู้ผลิตสู่ ผู้บริโภคขั้นสุดท้ายหรือประชาชนทั่วไป หรือการจําหน่ายสินค้าจากผู้ผลิตสู่ผู้ผลิตในลําดับต่อมา หรือ เป็นการจําหน่ายสินค้าข้ามประเทศ ซึ่งทั้งหมดมิได้หลายรูปแบบดังนี้
1.1 ผู้ผลิตจําหน่ายให้ผู้บริโภคโดยตรง เช่น การออกร้าน จําหน่ายทางไปรษณีย์ และ
อินเทอร์เน็ต
1.2 ผู้ผลิตจําหน่ายผ่านคนกลาง เช่น ตัวแทนค้าส่ง หรือร้านค้าปลีก
1.3 ผู้ผลิตจําหน่ายผ่านนายหน้า
1.4 ผู้ผลิตจัดหาสมาชิกเพื่อทําการขายตรงและแบ่งปันผลกําไรกับสมาชิก
1.5 ช่องทางการจัดจําหน่ายอื่น ๆ ข้อมูลในขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนแรกที่ทําให้ทราบว่าในสินค้าที่กิจการจําหน่ายอยู่นั้นมี
ช่องทางการจัดจําหน่ายใดให้เลือกได้บ้าง เนื่องจากสินค้าแต่ละชนิดไม่สามารถใช้ได้ทุกกรณี เช่น เครื่องสําอางสามารถจําหน่ายได้ทั้งการจําหน่ายผ่านคนกลาง หรือสมาชิกขายตรง ในขณะที่ผู้ผลิต โปรแกรมคอมพิวเตอร์สามารถจําหน่ายสินค้าของตนได้ทั้งจําหน่ายในร้านค้าปลีกและจําหน่ายผ่าน ทางอินเทอร์เน็ต ซึ่งรวมถึงการส่งมอบสินค้าและการชําระเงินทางอินเทอร์เน็ตด้วย
2. ประเมินสภาพแวดล้อมในการจัดจําหน่าย จากมือผู้ผลิตสู่มือผู้บริโภคนั้น ประสิทธิภาพและต้นทุนเป็นสิ่งสําคัญอย่างยิ่งต่อการตัดสินใจเลือกวิธีการในการจําหน่าย นอกจากนี้ ยังรวมถึงตําแหน่งของผลิตภัณฑ์ด้วยที่มีบทบาทต่อการเลือกวิธีการจัดจําหน่าย เช่น เครื่องสําอางที่มี ตําแหน่งผลิตภัณฑ์อยู่ในระดับสูงเป็นที่ยอมรับทั่วโลก จะต้องหาวิธีการจัดจําหน่ายที่เหมาะสมกับ ตําแหน่งผลิตภัณฑ์ของตน และสภาพแวดล้อมภายนอก เช่น กฎหมายและระเบียบข้อบังคับของแต่ ละท้องถิ่นก็มีส่วนในการกําหนดวิธีการเลือกด้วย นอกจากนี้กลไกทางการจัดจําหน่ายสินค้าของแต่ละ พื้นที่ก็อาจต้องใช้ตัวกลางที่แตกต่างกัน ดังนั้นแม้เป็นสินค้าชนิดเดียวกัน แต่อยู่ต่างพื้นที่ก็อาจต้องใช้ ตัวกลางที่แตกต่างกันไปด้วย
3. พัฒนาวัตถุประสงค์ในการจัดจําหน่าย การจัดจําหน่ายสินค้าของแต่ละกิจการนั้น สินค้าที่มาจากกิจการเดียวกันแต่อาจมีลูกค้าเป้าหมายที่แตกต่างกัน เช่น กรณีของบริษัทไอบีเอ็ม ผู้ผลิตและจําหน่ายคอมพิวเตอร์รายใหญ่ในโลก สินค้าของกิจการเข้าถึงลูกค้าเป้าหมายต่างกัน ใน สินค้าบางชนิด เช่น เมนเฟรม มี กลุ่มลูกค้าที่เป็นรายใหญ่และสําคัญ ไอบีเอ็ม จึงใช้การขายตรง ส่วน ที่เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลจําพวกเดสท็อปขายผ่านคนกลาง เช่น ร้านจําหน่ายคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ เป็นต้น
4. ตัดสินใจในส่วนที่เกี่ยวกับโครงสร้างการจัดจําหน่าย เมื่อได้ผ่านขั้นตอนข้างต้นไปแล้ว ก็เป็นขั้นตอนการเลือกโครงสร้างการจัดจําหน่าย ว่าจะเลือกวิธีใดในการจัดจําหน่ายและมีตัวกลางกี่
ขั้นตอนสิ่งเหล่านี้กิจการมักเลือกตามข้อจํากัดที่ตนมี แต่มีวัตถุประสงค์ต้องการให้จัด จําหน่ายเข้าหากลุ่มเป้าหมายที่กิจการต้องการบนต้นทุนที่ต่ําและมีประสิทธิภาพการเลือกโครงสร้าง การจัดจําหน่ายของกิจการทําให้เกิดความหนาแน่นของคนกลางในการจัดจําหน่ายได้หลายลักษณะ ดังนี้
4.1 การจัดจําหน่ายให้ครอบคลุมพื้นที่มากที่สุด หมายถึง การจัดจําหน่ายโดยวาง
จําหน่ายให้ได้มากที่สุด มักเป็นสินค้าที่ราคาไม่แพง ต้องซื้อใช้บ่อย เช่น สินค้าที่จําหน่ายตามร้าน สะดวกซื้อทั้งหลาย หรือตามซุปเปอร์เซ็นเตอร์ เช่น สบู่ ยาสีฟัน ขนมขบเคี้ยว ยิ่งสามารถวางขายได้ มากแห่ง ยิ่งมีโอกาสเพิ่มปริมาณขายได้มาก
4.2 การเลือกผู้จัดจําหน่ายให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ หมายถึง การเลือกช่องทางการ จําหน่ายเฉพาะ เช่น กรณีสินค้าที่มีความถาวร และมีลักษณะทางเทคนิคเฉพาะ ตัวอย่างได้แก่
อุปกรณ์ชนิดต่าง ๆ เครื่องสําอางราคาแพงและมุ่งกลุ่มเป้าหมายแคบ เครื่องสําอาง เหล่านี้มักเลือกวางที่ห้างระดับสูง และบางยี่ห้อก็มีวางจําหน่ายเฉพาะบางห้างที่มีระดับจริง ๆ เท่านั้น ไม่สามารถหาซื้อได้ทั่วไป
4.3 ตัวแทนจําหน่ายพิเศษ หมายถึง การเลือกตัวแทนจําหน่ายเพียงจํากัดให้กับ สินค้าของตนในท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง เช่น เสื้อผ้าและเครื่องใช้ที่มีราคาสูงมาก ๆ
5. เสริมสร้างความร่วมมือในช่องทางการจัดจําหน่าย เมื่อกิจการได้เลือกช่องทางการจัด จําหน่ายให้กับสินค้าของตนแล้ว ช่องทางการจําหน่ายที่เลือกอาจมีตัวกลางหลายตัวกลาง เช่น บะหมี่ ยี่ห้อหนึ่งจะถูกส่งจากผู้ผลิตไปถึงผู้บริโภคอาจต้องผ่านหลายขั้นตอน จากผู้ค้าส่งรายใหญ่ในกรุงเทพ ไปถึงผู้ค้าส่งในจังหวัด ไปถึงผู้ค้าส่งรายย่อยในจังหวัด ไปถึงร้านค้าปลีกในตําบล แต่ละขั้นตอนของ ตัวกลางเหล่านั้นล้วนมีต้นทุนเข้ามาเกี่ยวข้อง หากผู้ผลิตสามารถประสานความสัมพันธ์และเสริมสร้าง ความร่วมมือระหว่างตัวกลางช่วยให้ต้นทุนสินค้าของกิจการต่ําลง
6. พัฒนากลยุทธ์ในด้านช่องทางการจําหน่าย ในการจําหน่ายสินค้าแก่ผู้บริโภคนั้น ประกอบด้วย การมีผู้ที่ต้องการขาย และการมีผู้ต้องการซื้อ ดังนั้นกลยุทธ์ของนักการตลาดในส่วนที่ เกี่ยวกับช่องทางจึงเกี่ยวข้องกับการทําให้มีผู้ต้องการขายสินค้า และในส่วนที่เกี่ยวกับการส่งเสริมการ จําหน่าย ได้แก่ การทําให้มีผู้ต้องการซื้อสินค้า หากมีผู้ต้องการซื้อสินค้าแต่ไม่มีช่องทางการจําหน่ายก็ ไม่เกิดประโยชน์อย่างใด ดังนั้นนักการตลาดจึงต้องหาทางกระตุ้นให้มีอยากขายและสั่งสินค้าของ กิจการไปเก็บรักษาไว้เพื่อจําหน่ายแก่ผู้บริโภค ทําให้เกิดกลยุทธ์สองชนิดขึ้นในทางการตลาด ได้แก่
6.1 กลยุทธ์การกระตุ้นผู้ขาย (push strategies) หมายถึง การที่ผู้ผลิตผลิตพยายาม กระตุ้นให้ผู้ขายพยายามขายสินค้าให้แก่ผู้บริโภค ไม่ว่าจะเป็นผู้ขายส่งหรือผู้ขายปลีก กลยุทธ์ชนิดนี้ พบได้โดยทั่วไป เช่น การเสนอผลประโยชน์ต่าง ๆ เพิ่มขึ้น เช่น หากมียอดขายเกินเป้าจะได้ส่วนแบ่ง กําไรเพิ่มอีกกี่เปอร์เซ็นต์ หรือมีสิทธิไปต่างประเทศกับผู้ผลิตหรือสิทธิอื่น ๆ ที่กระตุ้นให้ผู้จําหน่ายหรือ ตัวกลางพยายามเพิ่มยอดขายของตน
6.2 กลยุทธ์การกระตุ้นผู้ซื้อ (pull strategies) หมายถึง การกระตุ้นให้ผู้ซื้ออยากซื้อ และต้องการแสวงหาแหล่งเพื่อทําการซื้อขายสินค้า ในส่วนนี้เป็นการส่งเสริมการจําหน่าย เช่น การ โฆษณา การให้ส่วนลดและของแถม การใช้คูปองในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การใช้คูปองในรูปแบบต่าง ๆ ของปั้มน้ํามัน เป็นการดึงให้ผู้เติมน้ํามันต้องเข้าไปซื้อของทั้ง ๆ ที่เวลาเติมที่ปั้มอื่น ๆ ผู้เติมไม่ได้คิดซื้อ สินค้าใด ๆ ทําให้สินค้าในร้านมียอดจําหน่ายและกําไรสูงเป็นยอดรายได้เพิ่มจากการจําหน่ายน้ํามัน และหามีรายได้เพิ่มทางอื่นก็สามารถจําหน่ายน้ํามันในราคาต่ํากว่าปั้มอื่นได้ ทําให้ลูกค้าเพิ่มขึ้น ต่อเนื่องกันไป
7. ประเมินและปรับระบบช่องทางการจําหน่าย หมายถึง การประเมินผลการใช้ช่องทาง การจัดจําหน่ายที่กิจการได้เลือกใช้ในการจําหน่ายสินค้าของกิจการ ผลการประเมินสามารถนําไปใช้ พัฒนาช่องทางการจําหน่ายเดิมให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น หรือใช้ในการเปลี่ยนกลยุทธ์ในการจัดจําหน่าย ใหม่ เช่น การเพิ่มช่องทางการจําหน่าย การเปลี่ยนตัวแทนจําหน่าย เป็นต้น การประเมินช่องทางการ จัดจําหน่ายในส่วนที่จะพัฒนาช่องทางการจําหน่ายนั้น หมายถึง การประเมินในการที่ผลการประเมิน แจ้งให้ทราบถึงปัญหาหรือแนวทางในการพัฒนาเพื่อผู้บริหารจะได้ปรับปรุงและพัฒนาช่องทางการ จําหน่ายให้ดีขึ้น เช่น ความชัดเจนในการวางจําหน่ายสินค้า การกระตุ้นภายในร้านค้าหรืออื่น ๆ ทําให้ ผู้ผลิตสามารถนําข้อมูลมาช่วยให้ผู้จัดจําหน่ายเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดจําหน่ายของตน หรือปัญหา ที่เกิดจากการขนส่งสินค้า ไม่ว่าจะเป็นปัญหาจากการขนส่ง การขนถ่ายสินค้า ซึ่งมีได้หลากหลาย ช่องทาง ขึ้นอยู่กับชนิดสินค้า เช่น สินค้าที่เป็นของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ จะมีไม่เท่ากัน ทําให้
ปัญหาปลีกย่อยไม่แตกต่างกัน การประเมินจะช่วยให้สามารถปรับเปลี่ยนวิธีการและผู้ให้บริการได้เกิด ประโยชน์สูงสุด
การตัดสินใจในรูปแบบของช่องทางการจําหน่าย (channel design decisions)
การพิจารณาปัญหาการตัดสินใจในเรื่องช่องทางการจัดจําหน่ายในทัศนะของผู้ผลิต การพัฒนาช่องทางการจัดจําหน่าย ผู้ผลิตมักจะต้องสู้กับสิ่งที่เป็นความคิดและที่มีให้ผู้ผลิตใหม่ที่เริ่ม จากระดับท้องถิ่นเพื่อต้องการที่จะขายในตลาดที่มีจํากัด เนื่องจากมีทรัพย์สินที่จํากัด การเข้าถึงจึง จําเป็นที่จะต้องพึ่งคนกลาง จํานวนคนกลางในท้องถิ่นก็มักจะมีน้อย ปัญหาก็คือพยายามชักชวนให้คน กลางที่มีน้อยช่วยขายสินค้าให้กับผู้ผลิต (อัจจิมา เศรษฐบุตร, 2549, หน้า 173-175)
ถ้าผู้ผลิตใหม่ประสบความสําเร็จ ก็อาจเพิ่มสาขาเข้าสู่ตลาดใหม่และผู้ผลิตอาจทํางาน ร่วมกับคนกลางที่มีอยู่ โดยใช้ช่องทางแบบต่าง ๆ ในเขตต่างกัน ในตลาดขนาดเล็กผู้ผลิตอาจทํางาน โดยตรงกับผู้ค้าปลีก ในตลาดขนาดใหญ่ก็อาจผ่านผู้จัดจําหน่าย ทั้งนี้หมายความว่าระบบช่องทางของ ผู้ผลิตต้องปรับให้เข้ากับโอกาสและเงื่อนไขของท้องถิ่นนั้น ๆ
การเริ่มต้นการวางแผนช่องทางทางการจําหน่ายที่ดีก็คือ การกําหนดว่า ตลาดไหนที่ บริษัทต้องการเข้าไปถึงในทางปฏิบัติ ทางเลือกของตลาดและช่องทางนั้นขึ้นต่อกัน บริษัทอาจพบว่ามี ตลาดที่บริษัทต้องการเข้า แต่ว่าไม่สามารถเข้าได้อย่างมีกําไรโดยผ่านช่องทางที่มีอยู่
การออกแบบช่องทางการจําหน่ายนั้น มีปัจจัยที่ควรพิจารณา คือ ลูกค้า สินค้า คนกลาง คู่แข่งขัน นโยบายของบริษัท และสภาพแวดล้อม
ลักษณะของผู้บริโภค มีอิทธิพลมากต่อการเลือกช่องทางการจําหน่าย ถ้าจํานวนลูกค้ามี ผู้ผลิตมีแนวโน้มที่ใช้ช่องทางการจําหน่ายอย่างยาว โดยแต่ละระดับของช่องทางการจําหน่ายมีจํานวน คนกลางหลาย ๆ คน จํานวนผู้ซื้อนั้นอยู่กับการกระจายทางภาคพื้นภูมิศาสตร์ ถ้าผู้ผลิตขายตรงกับ ลูกค้าจํานวนมากที่อยู่รวมกันในอาณาเขตเดียวกัน ค่าใช้จ่ายจะถูกกว่าขายกับลูกค้าน้อยรายที่อยู่ กระจัดกระจาย จํานวนผู้บริโภคและการกระจายของผู้บริโภคมีผลต่อวิธีการซื้อสินค้า ถ้าผู้บริโภคซื้อ สินค้าจํานวนน้อยแต่ซื้อบ่อยครั้ง ช่องทางแบบยาวเหมาะสมกับวิธีการซื้อเช่นนี้ ในขณะเดียวกันผู้ผลิต อาจไม่พึ่งผู้ค้าส่งในกรณีที่ขายสินค้าเป็นจํานวนมากให้กับผู้บริโภคที่ชอบซื้อในจํานวนมาก ๆ แต่ซื้อ บ่อยครั้งวิธีการซื้อสินค้าของผู้บริโภคจึงมีผลต่อการกําหนดช่องทางการตลาด
ลักษณะของผลิตภัณฑ์ มีอิทธิพลต่อการกําหนดช่องทางการจําหน่ายสินค้าที่เน่าเปื่อยง่าย มักต้องอาศัยการตลาดทางตรง เพราะความเสียหายอาจเกิดขึ้นได้ ถ้ามีความล่าช้าในการจัดส่งสินค้า ที่มีน้ําหนักมาก
ลักษณะคนกลาง การออกแบบช่องทางการจําหน่ายต้องคํานึงถึงจุดอ่อนและจุดแข็งของ คนกลางชนิดต่าง ๆ ที่จะรับผิดชอบในการเคลื่อนย้ายสินค้า คนกลางต้องทําหน้าที่หลาย ๆ อย่างใน การขายสินค้ากับผู้บริโภค ผู้ผลิตต้องคํานึงว่าหน้าที่ใดบางที่ทํายาก ให้คนกลางทําและหน้าที่นั้น ๆ คนกลางจะทําได้หรือไม่เพียงใด เช่น การโฆษณา การจัดเก็บสินค้า การติดต่อ การให้เครดิตและ การจัดส่งสินค้า เป็นต้น
ลักษณะของคู่แข่งขัน ช่องทางการจําหน่ายที่คู่แข่งขันใช้มีอิทธิพลต่อการออกแบบ ช่องทางของบริษัทด้วย ผู้ผลิตทางอุตสาหกรรมต้องการให้สินค้าของตนสามารถแข่งขันกับคู่แข่งขัน จึงอาจใช้ช่องทางเดียวกับคู่แข่งขัน เช่น ผู้ผลิตสินค้าพวกอาหารจะให้สินค้าตนวางขายคู่กับสินค้าของ
คู่แข่งขันก็จะใช้วิธีการขายผ่านคนกลางคนเดียวกัน แต่ถ้าไม่ต้องการที่จะแข่งขันก็ใช้ช่องท างการ จําหน่ายแบบอื่นๆ เช่น เครื่องสําอางเอวอน ไม่ต้องการแข่งกับเครื่องสําอางเรฟลอน ก็ใช้วิธีขายตรง โดยอาศัยกําลังขายของบริษัทเอง เป็นต้น
การพัฒนาช่องทางการตลาด
การพัฒนาช่องทางการตลาดและความร่วมมือเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมที่ซับซ้อนได้มี การเปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ มีความสําคัญและมีผลกระทบต่อช่องทาง การตลาด ผู้จัดการช่องทางจะต้องรับรู้ต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมได้อย่างรวดเร็ว เพื่อ จะได้วางแผนกลยุทธ์ช่องทางการตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุผลสําเร็จจากการ เปลี่ยนแปลง ตลอดจนจะต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อการบริหารช่องทาง ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 ประเภท (สุวิทย์ นามบุตร,2551, หน้า 25-27) ดังนี้
1. สภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจ บางครั้งก็จะเด่นชัดและตัวแปรเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อม ก็จะแพร่ขยายออกไป ซึ่งมีผลกระทบต่อสมาชิกช่องทางและผู้มีส่วนร่วมในช่องทางโดยเฉพาะ ความสําคัญที่มีผลกระทบเกี่ยวกับเศรษฐกิจตกต่ํา ภาวะเงินเฟ้อ แม้กระทั่งภาวะเศรษฐกิจที่เป็นปกติ อาจสร้างปัญหาได้
2. สภาวะแวดล้อมเกี่ยวกับการแข่งขันจะต้องรวมปัจจัยต่าง ๆ ไม่เพียงแต่ภายในประเทศ แต่จะรวมถึงการแข่งขันโลภาภิวัตน์ด้วย
3. สภาวะแวดล้อมเกี่ยวกับวัฒนธรรมสังคมจะมีผลกระทบต่อช่องทางการตลาดเพราะว่า โครงสร้างของช่องทางการตลาดสะท้อนให้เห็นถึงสภาวะแวดล้อมทางวัฒนธรรมสังคมที่ยังมีอยู่ ดังนั้น ผู้จัดการช่องทางจะระมัดระวังและเฝ้าสังเกตการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของวัฒนธรรมสังคม ซึ่งมีผลต่อ การเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์ช่องทางการตลาด
4. สภาวะแวดล้อมเกี่ยวกับเทคโนโลยีจะต้องมีความระมัดระวังและรอบคอบโดย การประเมินผลถึงการเปลี่ยนแปลงในช่องทางการตลาด เป็นต้นว่าการพัฒนาการใช้เครื่องมือสื่อสาร ต่าง ๆ การบริหารระบบเกี่ยวกับสินค้าโดยใช้คอมพิวเตอร์ การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (EDI) และการหาซื้อสินค้าโดยใช้คอมพิวเตอร์ซึ่งจะมีผลกระทบต่อกลยุทธ์ช่องทางการตลาดในการ กระจายตัวสินค้าไปสู่ตลาดและลูกค้าได้เร็วและดีกว่าคู่แข่งขัน
5. สภาวะแวดล้อมเกี่ยวกับระเบียบข้อบังคับตามกฎหมาย ผู้จัดการช่องทางไม่สามารถ ปฏิเสธหรือไม่รับรู้เกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมเกี่ยวกับระเบียบข้อบังคับตามกฎหมาย เนื่องจากกฎหมาย มีความซับซ้อนและมีการเปลี่ยนแปลงวิธีการต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ในขณะเดียวกันผู้จัดการช่องทางไม่ สามารถคาดหวังในเรื่องเทคนิคและความซับซ้อนในการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อมเกี่ยวกับระเบียบ ข้อบังคับตามกฎหมายซึ่งจะมีผลกระทบการบริหารช่องทางความรู้ทั่วไป และความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ กฎหมายด้วย
แนวความคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมภายในช่องทางการตลาด
บทบาทสมาชิกในช่องทางการตลาดต่างมีหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละสมาชิก ตลอดจนมีความร่วมมือกันในการดําเนินงาน เพื่อให้ช่องทางการตลาดและการกระจายสินค้ามี
ประสิทธิภาพ จะแยกหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงาน โดยมีการประสานงาน มี รายละเอียดดังนี้
บทบาทขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบของสมาชิกช่องทางการตลาดจะมีหลักเกณฑ์
ดังนี้
1. บทบาทสมาชิกช่องทางการตลาดแต่ละสมาชิกต้องมีการประสานงานและสอดคล้อง
กัน เริ่มตั้งแต่มีผลประโยชน์ร่วมกันและมีความสัมพันธ์กัน จากผู้ผลิต ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก และ ผู้บริโภค ผู้ค้าส่งจะทําหน้าที่รับผิดชอบในฐานะตัวแทนผู้ผลิต มีกลยุทธ์ทางการบริหารช่องทาง การตลาด กระตุ้นให้สมาชิกผู้ค้าปลีกจําหน่ายยอดขายให้เพิ่มขึ้นหรือหาสมาชิกผู้ค้าปลีกเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันผู้ผลิตต้องผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพตรงกับความต้องการของลูกค้า การส่งเสริมกิจกรรม ทางการตลาดโดยผู้ผลิต ผู้ค้าส่ง และผู้ค้าปลีกเพื่อให้เกิดความชํานาญของแต่ละสมาชิก
2. บทบาทสมาชิกช่องทางการตลาดมีความชํานาญแตกต่างกัน ความชํานาญของสมาชิก ช่องทางการตลาดที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติที่แตกต่างกันไปของแต่ละสมาชิก ความรับผิดชอบ และหน้าที่ในการปฏิบัติที่จะมีการเอื้ออํานวยต่อกันและการประสานงานกัน เช่น ผู้ผลิตมี ความชํานาญในการผลิต รูปแบบ คุณภาพ มาตรฐานของการผลิต ผู้ค้าส่ง มีความชํานาญที่ แตกต่างจากผู้ผลิตคือ มีความชํานาญในการหาสมาชิกผู้ค้าปลีก และผู้ค้าปลีกจะมีบทบาททําหน้าที่ จําหน่ายสินค้าไปยังผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมาย จะมีการทํางานอย่างเป็นระบบระหว่างสมาชิกช่องทาง การตลาด มีผลต่อค่าตอบแทนในการดําเนินงานของแต่ละสมาชิกช่องทางการตลาดขึ้นอยู่กับผลงาน
3. ค่าตอบแทนบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของสมาชิกช่องทางการตลาดขึ้นอยู่กับ ความสามารถ ค่าตอบแทนมีหลายรูปแบบที่ผู้ผลิตจะให้ตัวแทนหรือผู้ค้าส่ง เช่น ผู้ผลิตให้ส่วนลด เงินสด เมื่อชําระเงินสดภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้ หรือส่วนลดตามหน้าที่ทางการค้า ถ้าผู้ผลิตให้ ส่วนลดกับผู้ค้าส่ง หรือผู้แทนจําหน่ายมากก็จะเป็นกําลังใจให้สมาชิกทางการตลาดสร้างยอดขายเพิ่ม มากขึ้น และมีการขยายตลาด ผู้ค้าส่งอาจเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในการกระจายสินค้าไปยังผู้ค้าปลีก แต่ผู้ค้าส่งจะต้องเสียค่าเก็บรักษาสินค้าไว้ในคลังสินค้าหรือค่าดําเนินการต่าง ๆ ผู้ผลิตก็จะมีส่วนลดให้ เป็นค่าตอบแทนผู้ค้าส่ง ในทํานองเดียวกันผู้ค้าส่งก็จะให้ส่วนลดหรือค่าตอบแทนอย่างอื่นที่ผู้ค้าปลีก เมื่อดําเนินการกิจกรรมทางการตลาดให้กับผู้ค้าส่งที่ทําให้ยอดขายเพิ่มมากขึ้น
อํานาจในการบริหารช่องทางการตลาด ผู้บริหารช่องทางการตลาดได้วางกฎข้อยังคับไว้ ในการสร้างยอดขายให้กับบริษัท โดยสมาชิกช่องทางการตลาดมีวิธีการปฏิบัติให้เป็นไปตามอํานาจ ของผู้บริหารตลาด 7 ประการ คือ
1. การชักชวน เป็นความสามารถเฉพาะบุคคลหรือประสบการณ์ของสมาชิกรายใดราย หนึ่งเพื่อกระตุ้นให้เข้าร่วมเป็นสมาชิกจําหน่ายสินค้าและบริการในเครือข่ายเดียวกัน โดยการให้ เหตุผลและประโยชน์ที่ผู้เป็นสมาชิกจะได้รับ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้ชักชวน
2. การให้รางวัล สิ่งที่มนุษย์ต้องการบนพื้นฐานการแสวงหาประโยชน์ โดยอาศัย ความสามารถที่จะได้รับสิ่งตอบแทนคือ การได้รางวัลจากผลงานที่ตนเองทํามาคือ รางวัลอาจเป็น การตอบแทนทางด้านเงินหรือผลประโยชน์อย่างอื่น เพื่อให้องค์การประสบความสําเร็จโดยความ ร่วมมือจากสมาชิกจะมีรางวัลเป็นการตอบแทนและกระตุ้น การทํางานให้เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ ของช่องทางการตลาด
3. การอ้างอิง โดยบริษัทแม่ของสัญลักษณ์ผู้จัดจําหน่ายสินค้าและบริการอนุญาตให้ สมาชิกช่องทางการตลาดให้อ้างอิงชื่อ และผลิตภัณฑ์ของสินค้าและบริการได้
4. การใช้ผู้เชี่ยวชาญ เป็นบุคคลที่สร้างความสําเร็จในการผลิต การจัดจําหน่ายสินค้า และบริการการสร้างความเชื่อถือให้กับองค์การใดองค์การหนึ่งมาแล้ว จนเป็นที่ยอมรับของกลุ่ม อาชีพนั้น ๆ ให้ปฏิบัติตามคําแนะนํา
5. การบังคับ อํานาจการบังคับเกิดจากการให้สมาชิกช่องทางตลาดปฏิบัติตามข้อบังคับ และเงื่อนไขของบริษัท
6. นโยบายการให้ข่าวสาร เป็นการให้ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์กับสมาชิกช่องทาง การตลาด โดยการแจ้งข่าวสารทางด้านเศรษฐกิจและความเคลื่อนไหวด้านราคาขึ้นลง หรือเกี่ยวกับ ด้านผลิตภัณฑ์ และบริการ เพื่อทราบความเคลื่อนไหวของร้านค้าคู่แข่งขัน
7. อํานาจตามกฎหมาย กฎหมายให้อํานาจกับผู้เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในการจัดจําหน่าย สินค้าและบริการไปยังผู้ค้าส่งหรือผู้ค้าปลีกได้ ในรูปของการทําธุรกิจแฟรนไชส์มีกฎหมายให้อํานาจ ไว้ (สุวิทย์ นามบุญเรือง, 2560, หน้า 67 – 73)
การออกแบบช่องทางการจัดจําหน่าย
การวิเคราะห์ระดับความจําเป็นในการบริการที่ลูกค้าต้องการ ระดับการบริการลูกค้านั้น มีความจําเป็นต่อจํานวนช่องทางการจัดจําหน่ายที่องค์กรจะต้องนําข้อมูลแต่ละช่องทางการจัด จําหน่ายมาพิจารณา ดังนี้
1. ปริมาณการซื้อของผู้บริโภคที่มีต่อปริมาณช่องทางการจัดจําหน่ายสินค้า ต้นทุนการ จัดเก็บ และจํานวนการติดต่อผู้บริโภค
2. ระยะเวลารอคอยที่ผู้บริโภคใช้โดยเฉลี่ยจนได้รับสินค้า รวมถึงการจัดส่งสินค้าที่ นักการตลาดต้องวิเคราะห์ระดับการยอมรับได้ด้านการรอคอย เปรียบเทียบกับช่องทางการจัด จําหน่ายของคู่แข่ง
3. ความสะดวกที่ผู้บริโภคได้รับ ในแต่ละช่องทางการจัดจําหน่าย เพื่อดึงดูดผู้บริโภค จากการเลือกใช้ช่องทางการจัดจําหน่ายอื่น เช่น ที่จอดรถ เครื่องปรับอากาศ ความสวยงาม การให้บริการลูกค้าในช่องทางการจัดจําหน่าย
4. ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ ในแต่ละช่องทางการจัดจําหน่าย เพื่อดึงดูดความ สนใจของผู้บริโภค
5. การสนับสนุนด้านบริการในแต่ละช่องทางการจัดจําหน่าย ที่เป็นหน้าที่เสริม เพื่อ อํานวยความสะดวกให้แก่ผู้ซื้อ เช่น บริการรับติดตั้ง บริการทางการเงิน การซ่อมแซม
หากองค์กรมีช่องทางการจัดจําหน่ายที่เหมาะสมและสามารถเข้าถึงผู้บริโภคได้ เป็น ระบบการส่งมอบคุณค่าให้กับลูกค้าที่ได้รับข้อมูลจากช่องทางการจัดจําหน่ายเกี่ยวกับความต้องการ ของลูกค้า เพื่อปรับปรุงผลิตภัณฑ์และการตลาดให้เหมาะสม นพรัตน์ ภูมิวุฒิสาร, 2558, หน้า 183)
แนวความคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์ SWOT
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและ อุปสรรค SWOT Analysis เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์องค์กร เพื่อให้ทราบถึงสถานการณ์ ดําเนินงานขององค์กร ว่าเป็นอย่างไร และนําไปจัดทํากลยุทธ์ที่เหมาะสม โดยทําการวิเคราะห์ สภาวะแวดล้อมทั้งภายใน และภายนอก
การวิเคราะห์สวอท (SWOT Analysis) หมายถึง การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของ องค์กรในลักษณะต่าง 4 ประการ ได้กา จุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) โอกาส (Opportunity) และอุปสรรค (Threat) ขององค์กร ดังนี้
1. จุดแข็ง คือ คุณลักษณะภายในองค์กรที่สามารถใช้เพื่อบรรลุเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และทําให้องค์กรมีความได้เปรียบในเชิงการแข่งขันทางกลยุทธ์ หรือนําไปสู่ความแข็งแกร่ง เมื่อเทียบ กับองค์กรอื่น ๆ ในลักษณะเดียวกัน ได้แก่ จุดแข็งทางการตลาด ที่เป็นส่วนประสมทางการตลาด หน้าที่การตลาด การบริหารการตลาด จุดแข็งด้านการเงิน จุดแข็งด้านการผลิต จุดแข็งด้าน บุคลากร และจุดแข็งด้านอื่นขององค์การ ระบบงานต่าง ๆ ผู้บริหารและพนักงาน สิ่งอํานวยความ สะดวกต่าง ๆ ตลอดจนทรัพยากรต่าง ๆ ขององค์กร
2. จุดอ่อน คือ คุณลักษณะภายในที่อาจจํากัดหรือขัดขวางการปฏิบัติงานหรือการ ดําเนินงานขององค์กรและทําให้องค์การเสียเปรียบเชิงแข่งขันทางกลยุทธ์หรือนําไปสู่ความอ่อนแอ
เมื่อเทียบกับองค์กรอื่น ๆ ในลักษณะเดียวกัน ได้แก่ จุดอ่อนทางการตลาด ที่เป็นส่วนประสมทาง การตลาด หน้าที่การตลาด การบริหารการตลาด จุดอ่อนด้านการเงิน จุดอ่อนด้านการผลิต จุดอ่อนด้านบุคลากร และจุดอ่อนด้านอื่นขององค์การ
3. โอกาส คือ ปัจจัยต่าง ๆ ในสภาพแวดล้อมภายนอกที่อาจช่วยให้องค์กรหรือธุรกิจ บรรลุเป้าหมายวัตถุประสงค์ทางกลยุทธ์ หรือเป็นประโยชน์ต่อการดําเนินงานขององคกรและเอื้อต่อ ความสําเร็จขององค์กร ได้แก่ สภาพแวดล้อมจุลภาค ที่เป็นลูกค้าหรือตลาด คู่แข่งขัน ผู้ขายปัจจัย การผลิต และคนกลาง สภาพแวดล้อมมหภาค ที่เป็นประชากรศาสตร์ เศรษฐกิจ เทคโนโลยี สังคมและวัฒนธรรม การเมืองและกฎหมาย ทรัพยากรทางธรรมชาติ
4. อุปสรรค คือ ปัจจัยต่าง ๆ ในสภาพแวดล้อมภายนอกที่อาจสกัด ขัดขวางมิให้องค์กร บรรลุเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และอาจทําให้ความพยายามในการบรรลุความได้เปรียบเชิงแข่งขัน ทางกลยุทธ์ต้องเสียเปล่าหรือเป็นอุปสรรคในการดําเนินงานขององค์กรและอาจทําให้องค์กรประสบ ความล้มเหลวได้ ได้แก่ สภาพแวดล้อมจุลภาค ที่เป็นลูกค้าหรือตลาด คู่แข่งขัน ผู้ขายปัจจัยการ ผลิต และคนกลาง สภาพแวดล้อมมหภาค ที่เป็นประชากรศาสตร์ เศรษฐกิจ เทคโนโลยี สังคม และวัฒนธรรม การเมืองและกฎหมาย ทรัพยากรทางธรรมชาติ (ภาณุ ลิมมานนท์, 2561, หน้า 148 และ สาคร สุขศรีวงศ์, 2558, หน้า 66)
ข้อได้เปรียบ | ข้อเสียเปรียบ | |
สภาพแวดล้อมภายใน | จุดแข็ง | จุดอ่อน |
สภาพแวดล้อภายนอก | โอกาส | อุปสรรค |
ภาพที่ 2.11 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการจัดการ ที่มา : สาคร สุขศรีวงศ์, 2558, หน้า 66
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับช่องทางการจัดจําหน่าย
นงลักษณ์ ตั้งใจ (2551 : บทคัดย่อ) ได้ทําการศึกษา ช่องทางการจัดจําหน่ายส้มสาย น้ําผึ้งของเกษตรกรในพื้นที่อําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาช่อง ทางการจัดจําหน่ายของเกษตรกร สวนส้มสายน้ําผึ้งในพื้นที่อําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ และศึกษา ปัญหาและอุปสรรคในการกระจายส้มสายน้ําผึ้งของเกษตรสวนส้มสายน้ําผึ้ง ทําการเก็บรวบรวม ข้อมูลจากเกษตรกรสวนส้มสายน้ําผึ้งจํานวน 320 ราย โดยการสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน และวิเคราะห์ ผลโดยใช้โปรแกรมสถิติ ทําการประมวลผล
ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี สําเร็จ การศึกษาในระดับประถมศึกษา เกษตรกรมีประสบการณ์ในการทําสวนส้มสายน้ําผึ้งอยู่ระหว่าง 6–10 ปี มีพื้นที่ในการเพาะปลูกอยู่ระหว่าง 1 – 10 ไร่ และมีรายได้ต่อปีอยู่ระหว่าง
100,000 -500,000 บาท
เกษตรกรส่วนใหญ่จําหน่ายผลผลิตผ่านพ่อค้าคนกลางเนื่องจากทราบข้อมูล การเคลื่อนไหวของราคาและปริมาณการรับซื้อผลผลิตได้ทันที โดยมีปัจจัยที่มีระดับความสําคัญมาก ที่สุดในการเลือกพ่อค้าคนกลางคือความคุ้นเคยที่มีกับพ่อค้าคนกลาง และความน่าเชื่อถือของพ่อค้า คนกลางที่เข้ามาเสนอซื้อ ส่วนเกษตรกรที่จําหน่ายเองเนื่องจาก สามารถขายให้กับกลุ่มผู้บริโภคได้ โดยตรง โดยมีปัจจัยที่มีระดับความสําคัญมากที่สุดคือการมีแหล่งลงทุน คุณภาพของส้มสายน้ําผึ้งและ ความชํานาญในการหาตลาด
เกษตรกรที่จําหน่ายผลผลิตผ่านพ่อค้าคนกลางประสบปัญหาในระดับมากได้แก่ เกษตรกรถูกพ่อค้าเอาเปรียบ การขาดข่าวสารทางการตลาดและราคา การให้บริการล่าช้ากว่าเวลา ที่กําหนดและราคาเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยไม่มีการแจ้งให้ทราบล่วงหน้า ส่วนเกษตรกรที่ จําหน่ายผลผลิตเองประสบปัญหามากคือ ด้านการขนส่ง ที่อยู่ห่างไกลราคาของผลผลิตไม่คุ้มกับค่า ขนส่ง ตลาดและสถานที่จําหน่ายมีจํากัด
ชญาดา รุจานุกูลชัย (2553 : บทคัดย่อ) ได้ทําการศึกษา เรื่อง การประเมินแนวทาง พัฒนาช่องทางการจัดจําหน่ายด้วยวิธีการทางเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ใน การพัฒนาช่องทางการจัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ในโซ่อุปทาน โดยได้ศึกษากับองค์กรกรณีศึกษาซึ่งเป็น ธุรกิจขนาดย่อมผู้ผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์น้ํามันมะพร้าวเพื่อสุขภาพที่ปัจจุบันมีการจัดเก็บสินค้า
คงคลังมากเกินควร ในขณะที่ช่องทางการจัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ยังมีอยู่จํากัด งานวิจัยเริ่มต้นจาก การศึกษาการบริหารช่องทางการจัดจําหน่ายขององค์กร พบว่า องค์กรเลือกจัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ ไปยังลูกค้าผ่านทางการออกร้าน ธุรกิจค้าปลีกและตัวแทนจําหน่าย แล้วจึงคํานวณหาต้นทุน การจัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นด้วยวิธีต้นทุนฐานกิจกรรม จากนั้นจึงได้ศึกษาแนวทางพัฒนา ช่องทางการจัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ ประกอบกับการพิจารณาการกําหนดปริมาณการผลิต ปริมาณ สินค้าคงคลังและการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ที่สอดคล้องกับข้อจํากัดขององค์กร ผลจาก การศึกษาพบว่า การขยายช่องทางการจัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ไปยังช่องทางร้านเสริมสวย สปา ร้านอาหาร ร้านกาแฟ โรงแรม สถานพยาบาลที่ใช้สมุนไพรในการรักษา ร้านขายยา และพาณิชย์ อิเล็กทรอนิคส์ เป็นแนวทางที่มีความเป็นไปได้ งานวิจัยจึงได้ประมาณการต้นทุนในแต่ละกิจกรรม แล้วพิจารณาเลือกแนวทางที่มีความเป็นไปได้ด้วยวิธีการทางเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม ซึ่งพบว่า การขยายช่องทางการจัดจําหน่ายไปยังช่องทางร้านเสริมสวยและสปา และให้ผลตอบแทนที่ดีในช่วง ปีแรก คือ มูลค่าปัจจุบันสุทธิเท่ากับ 289 บาท และค่าอัตราตอบแทนส่วนเพิ่มเท่ากับ 0.17 โดย มีระยะเวลาในการคืนทุน 10 เดือน
ทัศนา หงส์มา (2555 : บทคัดย่อ) ได้ทําการศึกษาเรื่อง ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้า OTOP ที่ผลิตโดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัด นนทบุรี พบว่า งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้า OTOP ที่ผลิต โดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 2) ศึกษาระดับความสําคัญของปัจจัยส่วนประสม ทางการตลาดที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้า OTOP ที่ผลิตโดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัด นนทบุรีของผู้บริโภค 3) ศึกษาพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้า OTOP ที่ผลิตโดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคและ 4) ศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้า OTOP ที่ผลิตโดยกลุ่ม วิสาหกิจเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี กลุ่มประชากรได้แก่ ผู้บริโภคที่ซื้อ เคยซื้อสินค้า OTOP โดย กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ ใช้วิจารณญาณ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติ เชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน คือ Chi – Square ผลการวิจัย พบว่า
ผู้บริโภคที่ซื้อ เคยซื้อสินค้า OTOP ที่ผลิตโดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัด นนทบุรี ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21 – 30 ปี มีการศึกษาระดับปริญญาตรีเป็น ส่วนมาก รวมทั้งเป็นนักเรียน นักศึกษาและมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 บาทหรือต่ํากว่า
พฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้า OTOP พบว่า ผู้บริโภคส่วนใหญ่เลือกซื้อสินค้า OTOP ประเภทอาหาร มีวัตถุประสงค์สําคัญที่สุดในการซื้อเพื่อเป็นของฝาก ของที่ระลึก ซึ่งตนเองมีอิทธิพล มากที่สุด ช่วงเวลาเลือกซื้อเป็นวันเสาร์ วันอาทิตย์และซื้อทันทีเมื่อเห็นสินค้า
ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อ สินค้า OTOP โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งหากพิจารณาระดับความสําคัญของปัจจัยทางการตลาดที่ มีต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้า OTOP ในแต่ละด้านสามารถเรียงลําดับจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และด้านการจัดจําหน่าย
จากการทดสอบสมมติฐานพบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ย ต่อเดือนของผู้บริโภค มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมด้านประเภทของสินค้า OTOP ในการเลือกซื้อ สินค้า OTOP ที่ผลิตโดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ที่ระดับนัยสําคัญที่ 0.05 สําหรับอายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของผู้บริโภค มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมด้านวัตถุประสงค์ในการเลือกซื้อสินค้า OTOP ที่ผลิตโดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรีที่ระดับนัยสําคัญที่ 0.05 ยกเว้น เพศของผู้บริโภค และเพศ อายุ อาชีพ และ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของผู้บริโภค มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมด้านลักษณะในการเลือกซื้อสินค้า OTOP ที่ผลิตโดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ที่ระดับนัยสําคัญที่ 0.05 ยกเว้น ระดับการศึกษาของผู้บริโภค
ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการจัดจําหน่าย มีผล ต่อพฤติกรรมด้านประเภทของสินค้า OTOP ในการเลือกซื้อสินค้า OTOP ที่ผลิตโดยกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน เกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ที่ระดับนัยสําคัญที่ 0.05 ยกเว้นด้านการส่งเสริมการตลาด สําหรับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการจัดจําหน่ายและด้านการส่งเสริม การตลาด มีผลต่อพฤติกรรมด้านวัตถุประสงค์ในการเลือกซื้อ สินค้า OTOP ที่ผลิตโดยกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ที่ระดับนัยสําคัญที่ 0.05 ยกเว้นด้านราคาและปัจจัยส่วน ประสมทางการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคาและด้านการส่งเสริมการตลาด ไม่มีผลต่อพฤติกรรม ด้านลักษณะในการเลือกซื้อสินค้า OTOP ที่ผลิตโดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ที่ระดับนัยสําคัญที่ 0.05 ยกเว้นด้านการจัดจําหน่าย
นีระนุช โชติพันธ์ (2555 : บทคัดย่อ) ได้ทําการศึกษาเรื่อง ส่วนประสมทางการตลาดที่ มีอิทธิพลต่อช่องทางการจัดจําหน่ายไวน์. พบว่า การค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อช่องทางการจัดจําหน่ายไวน์ และส่วนประสมทางการตลาดที่มี อิทธิพลต่อช่องทางการจัดจําหน่ายไวน์ โดยช่องทางการจัดจําหน่ายไวน์ศึกษาด้าน การให้บริการ ผ่านร้าน การให้บริการถึงที่บ้านลูกค้า การให้บริการผ่านตัวแทนและการให้บริการผ่านทาง อิเล็กทรอนิกส์
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ กลุ่มผู้บริโภคที่ซื้อไวน์ในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 400 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสุ่ม ตัวอย่างแบบตามความสะดวก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนาประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ประกอบด้วย Independent Samples t-test One – way ANOVA, Least Significant Difference (LSD) และ Multiple Linear Regression ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05
ผลการศึกษาพบว่า ช่องทางการจัดจําหน่ายมีความสําคัญในระดับมากทุกด้าน โดยด้าน การให้บริการผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นช่องทางการจัดจําหน่ายที่มีความสําคัญมากเป็นอันดับหนึ่ง ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ที่แตกต่างกันมีผลต่อช่องทางการ จัดจําหน่ายไวน์โดยรวม และพบว่าสถานที่จัดจําหน่ายมีอิทธิพลต่อช่องทางการจัดจําหน่ายด้านการ ให้บริการผ่านร้าน ส่วนผลิตภัณฑ์ ราคา การส่งเสริมการตลาด มีอิทธิพลต่อช่องทางการจัด จําหน่าย ด้านการให้บริการถึงบ้าน ส่วนพนักงานและการส่งเสริมการตลาดมีอิทธิพลต่อช่องทางการ
จัดจําหน่ายด้านการให้บริการผ่านตัวแทน ส่วนกระบวนการในการบริการ พนักงาน สถานที่การจัด จําหน่าย ราคาและผลิตภัณฑ์มีอิทธิพลต่อช่องทางการจัดจําหน่ายด้านการให้บริการผ่านทาง อิเล็กทรอนิกส์
ปณิธาน จันทองจีน (2560 : บทคัดย่อ) ได้ทําการศึกษามุมมองของผู้ผลิตที่มีต่อผู้ค้าปลีก สมัยใหม่ในช่องทางการจัดจําหน่าย การศึกษาบทบาทหน้าที่ของผู้ผลิตและผู้ค้าปลีกเพื่อหาปัจจัย แห่งความสําเร็จทางธุรกิจ พบว่า ผู้ผลิตและผู้ค้าปลีกถือเป็นคู่ค้าที่มักพึ่งพากันในธุรกิจ ผู้ผลิต (โดยเฉพาะผู้ผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคชนิดหมุนเวียนเร็ว) อาศัยผู้ค้าปลีก (โดยเฉพาะผู้ค้าปลีก สมัยใหม่) ในการกระจายสินค้า ในขณะเดียวกันธุรกิจของผู้ค้าปลีกก็ได้กําไรจากการขายสินค้าให้กับ ผู้ผลิตมาเป็นรายได้หลักในการดําเนินธุรกิจ อย่างไรก็ตามเมื่อมีการทําธุรกิจร่วมกัน อาจมีความ ขัดแย้งเกิดขึ้นได้ นํามาซึ่งประสิทธิภาพในช่องทางการจัดจําหน่ายที่ลดลงและทําให้ผู้ผลิตและผู้ค้า ปลีกต่างต้องเสียผลประโยชน์ที่ฝ่ายตนเองพึงได้รับ งานวิจัยนี้ทําการศึกษาปัจจั ยที่ส่งผลต่อ ความสําเร็จทางธุรกิจของทั้งสองฝ่ายผ่านมุมมองของผู้ผลิต โดยผู้วิจัยได้ใช้วิธีแบบผสม และใช้ ผู้สัมภาษณ์ดําเนินการสอบถามกลุ่มตัวอย่างโดยตรง ซึ่งผู้เข้าร่วมการวิจัยทุกท่านเป็นผู้บริหารที่ ทํางานอยู่ในอุตสาหกรรมผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคชนิดหมุนเวียนเร็ว และมีหน้าที่รับผิดชอบในเรื่อง ของการขายและการตลาดที่ต้องทํางานร่วมกันกับผู้ค้าปลีกสมัยใหม่โดยตรง ผู้วิจัยใช้เทคนิควิเคราะห์ ทางสถิติแบบพหุตัวแปร เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลและทดสอบสมมติฐานงานวิจัย โดยงานวิจัยมีข้อสรุปว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความสําเร็จทางธุรกิจของผู้ผลิตมากที่สุด ได้แก่ การให้ ความสําคัญกับภารกิจที่ผู้ผลิตพึงกระทํา นอกจากนั้นผู้วิจัยยังได้ให้ข้อเสนอแนะว่ามีภารกิจใดบ้างที่ ผู้ผลิตและผู้ค้าปลีกพึงกระทํา เพื่อลดโอกาสในการเกิดความขัดแย้งลงและเพื่อให้ได้มาซึ่งความสําเร็จ ทางธุรกิจ
งานวิจัยที่เกี่ยวกับตลาดออนไลน์
อาภาภรณ์ วัธนกุล. (2555 : บทคัดย่อ). ได้ทําการศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อ พฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภคผ่านทางเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ยอดนิยมของประเทศไทย. พบว่า การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาถึงปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ ปัจจัยด้านองค์ประกอบเว็บไซต์ 7C และปัจจัยความน่าเชื่อถือ ที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภคผ่านทางเว็บไซต์ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ยอดนิยมของประเทศไทย โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริโภคที่ ใช้บริการอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย จํานวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บ รวบรวบข้อมูลและใช้สถิติในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า ผู้บริโภคที่ใช้บริการอินเทอร์เน็ต ในประเทศไทยที่เคยสั่งซื้อสินค้าหรือ บริการผ่านทางเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ยอดนิยมของประเทศไทย ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มี อายุ 31 ปีขึ้นไป มีระดับการศึกษาสูงสุดอยู่ในระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า มีอาชีพพนักงาน บริษัทเอกชน มีรายได้ต่อเดือนต่ํากว่าหรือเท่ากับ 10,000 บาท และมีถิ่นที่อยู่อาศัยอยู่ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล โดยผู้บริโภคมีความคิดเห็นต่อระดับความสําคัญของปัจจัยด้านองค์ประกอบเว็บไซต์ 7C ในด้านรูปลักษณ์ ด้านส่วนประกอบที่เป็นเนื้อหา และด้านการติดต่อค้าขาย อยู่ในระดับมาก
ที่สุด ส่วนในด้านความเป็นชุมชน ด้านการทําให้ตรงความต้องการเฉพาะของลูกค้า ด้านการ ติดต่อสื่อสารและด้านการเชื่อมโยงอยู่ในระดับมาก และผู้บริโภคมีความคิดเห็นต่อระดับความสําคัญ ของปัจจัยด้านความน่าเชื่อถือ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
ผลการทดสอบสมมติฐานผู้บริโภคที่มีเพศที่แตกต่างกัน มีพฤติกรรมการซื้อสินค้า ผ่านทาง เว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ยอดนิยมของประเทศไทย แตกต่างกัน ในด้านความถี่ต่อปี และด้าน พฤติกรรมการกลับมาซื้อสินค้าหรือใช้บริการอีกครั้ง เมื่อได้รับข่าวสารเกี่ยวกับสินค้าและบริการใหม่ จากเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ยอดนิยมของประเทศไทย
ปัจจัยด้านองค์ประกอบเว็บไซต์ 7C ด้านส่วนประกอบที่เป็นเนื้อหา มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภคผ่านทางเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ยอดนิยมของประเทศไทย ด้านความถี่ต่อปี ส่วนด้านการเชื่อมโยง มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภคผ่าน ทางเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ยอดนิยมของประเทศไทย ด้านพฤติกรรมการกลับมาซื้อสินค้าหรือ ใช้บริการอีกครั้ง เมื่อได้รับข่าวสารเกี่ยวกับสินค้าและบริการใหม่จากเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ยอดนิยมของประเทศไทย
ปุลณัช เดชมานนท์ (2556 : บทคัดย่อ) การตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านสื่อเครือข่ายสังคม ออนไลน์ในช่วงเวลาจํากัด พบว่า การค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการตัดสินใจซื้อผ่านสื่อ เครือข่ายสังคมออนไลน์ในช่วงเวลาจํากัด ผลของการศึกษาจะช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถนําสื่อ เครือข่ายสังคมออนไลน์มาปรับเป็นกลยุทธ์สนับสนุนการเจริญเติบโตของธุรกิจต่อไป กลุ่มตัวอย่างที่ ใช้ในงานวิจัยเป็นกลุ่มประชาชนทั่วไปที่เข้าใช้บริการในตึกชินวัตร 1 อาคารพหลโยธินเพลสพลาซ่า ที่เคยซื้อสินค้าและสั่งซื้อผ่านสื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ จํานวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็น เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ สถิติเชิงอนุมานประกอบด้วย Independent Samples t-test One – way ANOVA Least Significant Difference และ Chi – Square ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 20 – 30 ปี อาชีพ ธุรกิจส่วนตัว และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนมากกว่า 30,000 บาท ปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดที่มีผลต่อการซื้อสินค้าผ่านสื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ทั้ง 3 ด้าน คือ ผลิตภัณฑ์ ราคา สถานที่ และส่งเสริมการขาย มีความสําคัญในระดับมาก ส่วนของพฤติกรรมการซื้อ พบว่า ส่วน ใหญ่เหตุผลที่ซื้อเพราะความสะดวก โดยใช้ Line ในการสั่งซื้อและในช่วงเวลา 12.01-13.00 น
ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า อายุมีผลต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดทุกด้าน ส่วน อาชีพมีผลต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ด้านสถานที่และด้านการส่งเสริมการขาย รายได้เฉลี่ย ต่อเดือนมีผลต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ด้านราคา ด้านสถานที่ และด้านส่งเสริมการขาย เพราะความสะดวกในการรับสินค้า ส่วนเหตุผลของการเลือกซื้อ มีความสัมพันธ์กับปัจจัยส่วน ประสมทางการตลาด ด้านราคา ด้านสถานที่ และด้านส่งเสริมการขาย ในขณะที่วิธีการสั่งซื้อและ ระยเวลาในการสั่งซื้อมีความสัมพันธ์กับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดทุกด้าน
ศุภชัย วลีเกียรติกุล (2556 : บทคัดย่อ) ได้ทําการศึกษาเรื่อง การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อ พฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการในระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ของผู้บริโภคในประเทศไทย
พบว่า การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การประกอบธุรกิจในระบบพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยและวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการในระบบ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงเสนอแนะแนวทางให้ผู้ประกอบการนําไปพัฒนาธุรกิจ ซึ่งทําการเก็บ รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามที่เลือกถามเฉพาะผู้ที่เคยซื้อสินค้าและบริการในระบบพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ จํานวน 376 คน โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา การหาค่าความถี่ และ ร้อยละ ใช้การวิเคราะห์สมการถดถอย เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรอิสระ ที่มีผลต่อมูลค่า การซื้อสินค้าและบริการในระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของกลุ่มตัวอย่าง
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 20 – 30 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานในบริษัทมีรายได้ต่อเดือนเฉลี่ย 34,019.67 บาท มีความสะดวกในการเดินทางไปศูนย์การค้าหรือห้างสรรพสินค้า มีประสบการณ์การใช้อินเทอร์เน็ต เฉลี่ย 10.95 ปี มีคอมพิวเตอร์ส่วนตัว ใช้คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ใช้ อินเทอร์เน็ตจากที่บ้านหรือที่พักอาศัย สามารถออนไลน์อินเทอร์เน็ตได้ตลอดทั้งวันและใช้ อินเทอร์เน็ตเพื่อค้นหาข้อมูลเรื่องต่างๆ
ในการศึกษาครั้งนี้พบว่า กลุ่มตัวอย่างซื้อสินค้าและบริการในระบบพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ในรอบ 3 เดือน เฉลี่ย 7,898.22 บาท ส่วนใหญ่ซื้อในระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ น้อยกว่าร้อยละ 50 เมื่อเปรียบเทียบกับการซื้อในช่องทางปกติ สินค้าที่ซื้อมากที่สุด คือ ของใช้ ส่วนตัว ประเภทเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย เลือกวิธีการชําระเงินด้วยการโอนเงินเข้าบัญชีผู้ขาย ปัญหาที่พบ คือ คุณภาพของสินค้าไม่ตรงตามที่โฆษณา นอกจากนี้ มีความพึงพอใจในปัจจัยด้าน ต้นทุนธุรกรรม และปัจจัยด้านพฤติกรรมผู้บริโภคเฉลี่ยในระดับปานกลาง
จากการทดสอบสมมติฐาน ด้วยวิธีวิเคราะห์สมการถดถอย พบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ กับมูลค่าการซื้อสินค้าและบริการในระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ
0.05 คือ เพศ รายได้ต่อเดือน และประสบการณ์การใช้อินเทอร์เน็ต
การศึกษาในครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะสําหรับผู้ประกอบการในระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ดังนี้
1. ตลาดจําหน่ายสินค้าในระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มีรูปแบบใกล้เคียงกับตลาด
แข่งขันสมบูรณ์ ซึ่งมีผู้ขายจํานวนมากรายส่งผลให้สินค้าชนิดเดียวกันมีราคาไม่แตกต่างกัน ดังนั้ น ผู้ประกอบการควรมีกลวิธีในการสร้างความแตกต่างด้วยการใช้แนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ในการ ดําเนินธุรกิจ
2. จากการศึกษาพบว่า เพศชายและเพศหญิง มีพฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการ ใน ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แตกต่างกัน โดยกลุ่มตัวอย่างเพศชายจะซื้อสินค้าที่มีมูลค่าสูงกว่า ดังนั้น หากสินค้าที่จําหน่ายในระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เป็นสินค้าที่มีมูลค่าสูง จึงควรเป็นสินค้าที่ มีกลุ่มเป้าหมายเป็นเพศชาย
3. จากการศึกษา พบว่า ผู้บริโภคให้ความสําคัญเกี่ยวกับ ความน่าเชื่อถือของ ผู้ประกอบการ ดังนั้นผู้ประกอบการในระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ควรดําเนินการจดทะเบียนเป็น ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ผ่านกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์เพื่อสร้างความ เชื่อมั่นให้แก่ผู้บริโภค
4. การซื้อขายสินค้าในระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ผู้บริโภคไม่ได้เห็นหรือจับต้องสินค้า จริงก่อนตัดสินใจ จึงทําการค้นหาข้อมูลของสินค้าอย่างละเอียดเพื่อลดปัญหาในเรื่องของข้อมูล ข่าวสารที่ไม่สมมาตร ดังนั้นผู้ประกอบการควรให้รายละเอียดของสินค้าที่เป็นจริงอย่างครบถ้วนและ มีภาพถ่ายของสินค้าที่ชัดเจน เพื่ออํานวยความสะดวกให้แก่ผู้บริโภคสามารถตัดสินใจซื้อได้ง่ายขึ้น
จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สามารถสรุปประเด็นสําคัญที่เกี่ยวกับงานวิจัยได้ตาราง ที่ 2.1 ดังนี้
ตารางที่ 2.1 สรุปงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ผู้วิจัย | ชื่อเรื่อง | การเก็บรวบรวมข้อมูล | ผลการวิจัย |
นงลักษณ์ ตั้งใจ (2551) | ช่องทางการจัดจําหน่ายส้ม สายน้ําผึ้งของเกษตรกรใน พื้นที่อําเภอฝาง จังหวัด เชียงใหม่ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาช่องทางการ จัดจําหน่ายของเกษตรกร สวนส้มสายน้ําผึ้งในพื้นที่ อําเภอฝาง จังหวัด เชียงใหม่ 2. ศึกษาปัญหาและ อุปสรรคในการกระจายส้ม สายน้ําผึ้งของเกษตรกร สวนส้มสายน้ําผึ้ง | เครื่องมือ คือ แบบสอบถาม ใช้สุ่มตัวอย่างแบบ สัดส่วน จํานวน 320 ราย และวิเคราะห์ด้วย โปรแกรมสถิติทําการ ประมวลผล | ส่ ว น ใ ห ญ่ ทํ า ก า ร จั ด จํ า ห น่ า ย ผลผ ลิ ต ผ่ า น พ่อค้าคนกลางเนื่องจาก ท ร า บ ข้ อ มู ล ก า ร เคลื่อนไหวของราคาและ ปริมาณการรับซื้อผลผลิต ได้ทันที โดยจะเลือกคน กลางที่มีความคุ้นเคยและ น่าเชื่อถือของพ่อค้าคน กลาง ที่เสนอขายเอง เนื่องจากมีแหล่งลงทุน คุณภาพของส้มสายน้ําผึ้ง และความชํานาญในการ หาตลาด |
ชญาดา รุจานุ กูลชัย (2553) | ก า รประเ มิ นแนวทาง พัฒนาช่องทางการจัด จําหน่ายด้วยวิธีการทาง เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม วัตถุประสงค์ การพัฒนา ช่องทางการจัดจําหน่าย ผลิตภัณฑ์ในโซ่อุปทาน | ศึ ก ษ า กั บ อ ง ค์ ก ร กรณีศึกษาซึ่งเป็นธุรกิจ ขนาดย่อมผู้ผลผลิต และจําหน่ายผลิตภัณฑ์ น้ํ า มั นมะพร้าวเพื่ อ สุขภาพที่ปัจจุบันมีการ จัดเก็บสินค้าคงคลัง มากเกินควร | องค์กรเลือกจัดจําหน่าย ผลิตภัณฑ์ไปยังลูกค้าผ่าน ทางการออกร้าน ธุรกิจ ค้าปลีกและตัวแทน จําหน่าย แล้วคํานวณหา ต้นทุนการจัดจําหน่าย ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นด้วยวิธี ต้นทุนฐานกิจกรรม และ การขยายช่องทางไปยัง ร้านเสริมสวย สปา (ให้ ผลตอบแทนที่ดีในช่วงปี |
ผู้วิจัย | ชื่อเรื่อง | การเก็บรวบรวมข้อมูล | ผลการวิจัย |
แรก)ร้านอาหาร ร้าน กาแฟ โรงแรม สถานพยาบาลที่ใช้ สมุนไพรในการรักษา การขายยา และพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ มีความ เป็นไปได้ | |||
ทัศนา หงส์มา (2555) | ปั จ จั ย ส่ วนประสมทาง ก า ร ต ล า ด ที่ มี ผ ล ต่ อ พฤติกรรมการเลือกซื้อ สินค้า OTOP ที่ผลิตโดย กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกาะ เกร็ด จังหวัดนนทบุรี วัตถุประสงค์ 1. ศึกษาพฤติกรรมการ เลือกซื้อสินค้า OTOP ที่ ผ ลิ ตโดยก ลุ่ มวิ สาหกิจ ชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัด นนทบุรี 2) ศึกษาระดับความสําคัญ ของปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดที่มีผลต่อการ เลือกซื้อสินค้า OTOP ที่ ผ ลิ ตโดยก ลุ่ มวิ สาหกิจ ชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัด นนทบุรีของผู้บริโภค 3) ศึกษาพฤติกรรมการ เลือกซื้อสินค้า OTOP ที่ ผ ลิ ตโดยก ลุ่ มวิ สาหกิจ ชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัด นนทบุ รี จํ าแนกตาม ปั จ จั ย ส่ ว น บุ คคล ขอ ง ผู้บริโภค 4) ศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างปัจจัยส่วนประสม | เครื่องมือ คือ แบบสอบถาม ใช้กลุ่มตัวอย่าง 400 คน และการสุ่มตัวอย่าง แบบวิจารณญาณ วิเคราะห์ด้วยสถิติ พรรณนา คือ ค่า ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน คือ Chi Square | ผู้บริโภคส่วนใหญ่เลือกซื้อ อาหาร ไปเป็นของฝาก ของที่ระลึก ช่วงเวลาที่ ซื้อคือเสาร์อาทิตย์และซื้อ ทันทีเมื่อเห็นสินค้า ส่วน ประสมทางการตลาดที่ สําคัญมากคือ ด้านการ ส่งเสริมการตลาด ด้าน ผลิตภัณฑ์ ราคาและการ จัดจําหน่าย สําหรับการ ทดสอบสมมติฐานปัจจัย ส่วนบุคคลมีความสัมพันธ์ กับพฤติกรรมด้านประเภท ของสินค้า และมี ความสัมพันธ์กับ วัตถุประสงค์ในการเลือก ซื้อสินค้า OTOP ยกเว้น เพศของผู้บริโภค และมี ความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมด้านลักษณะใน การเลือกซื้อสินค้า OTOP ยกเว้น ระดับ การศึกษา ที่ระดับ นัยสําคัญที่ 0.05 ปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาด มีผลต่อ พฤติกรรมด้านประเภท ของสินค้า ยกเว้น การ |
ผู้วิจัย | ชื่อเรื่อง | การเก็บรวบรวมข้อมูล | ผลการวิจัย |
ท า ง ก า ร ต ล า ด กั บ พฤติกรรมการเลือกซื้อ สินค้า OTOP ที่ผลิตโดย กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกาะ เกร็ด จังหวัดนนทบุรี | ส่งเสริมการตลาด และมี ผลต่อพฤติกรรมด้าน วัตถุประสงค์ในการเลือก ซื้อสินค้า OTOP ยกเว้น ราคาและไม่มีผลต่อ ลักษณะในการเลือกซื้อ สินค้า OTOP ที่ผลิตโดย กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกาะ เกร็ด จังหวัดนนทบุรี ที่ ระดับนัยสําคัญที่ 0.05 ยกเว้นการจัดจําหน่าย | ||
ปณิธาน จัน ทองจีน (2560) | การ ศึ กษามุมมองของ ผู้ ผ ลิ ต ที่ มี ต่ อ ผู้ ค้ า ป ลี ก สมัยใหม่ในช่องทางการจัด จํ า ห น่ า ย ก า ร ศึ กษ า บทบาทหน้าที่ของผู้ผลิต และผู้ค้าปลีกเพื่อหาปัจจัย แห่งความสําเร็จทางธุรกิจ | เครื่องมือ คือ แบบสอบถาม ใช้สถิติ คือ เทคนิค วิเคราะห์ทางสถิติแบบ พหุตัวแปร เพื่อ วิเคราะห์ข้อมูลและ | ผู้ผลิตและผู้ค้าปลีกถือเป็น คู่ค้าที่มักพึ่งพากันในธุรกิจ ผู้ผลิต (โดยเฉพาะผู้ผลิต สินค้าอุปโภคบริโภคชนิด หมุนเวียนเร็ว) อาศัยผู้ค้า ปลีก (โดยเฉพาะผู้ค้า ปลีกสมัยใหม่) ในการ กระจายสินค้า ใน ขณะเดียวกันธุรกิจของ ผู้ค้าปลีกก็ได้กําไรจากการ ขายสินค้าให้กับผู้ผลิตมา เป็นรายได้หลักในการ ดําเนินธุรกิจ อย่างไรก็ ตามเมื่อมีการทําธุรกิจ ร่วมกัน อาจมีความ ขัดแย้งเกิดขึ้นได้ นํามา ซึ่งประสิทธิภาพใน ช่องทางการจัดจําหน่ายที่ ลดลงและทําให้ผู้ผลิตและ ผู้ค้าปลีกต่างต้องเสีย ผลประโยชน์ที่ฝ่ายตนเอง พึงได้รับ งานวิจัยนี้ ทําการศึกษาปัจจัยที่ส่งผล |
ผู้วิจัย | ชื่อเรื่อง | การเก็บรวบรวมข้อมูล | ผลการวิจัย |
ต่อความสําเร็จทางธุรกิจ ของทั้งสองฝ่ายผ่าน มุมมองของผู้ผลิต โดย ผู้วิจัยได้ใช้วิธีแบบผสม และใช้ผู้สัมภาษณ์ ดําเนินการสอบถามกลุ่ม ตัวอย่างโดยตรง ซึ่ง ผู้เข้าร่วมการวิจัยทุกท่าน เป็นผู้บริหารที่ทํางานอยู่ ในอุตสาหกรรมผลิตสินค้า อุปโภคบริโภคชนิด หมุนเวียนเร็ว และมี หน้าที่รับผิดชอบในเรื่อง ของการขายและการตลาด ที่ต้องทํางานร่วมกันกับ ผู้ค้าปลีกสมัยใหม่โดยตรง ทดสอบสมมติฐานงานวิจัย โดยงานวิจัยมีข้อสรุปว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์เชิง บวกกับความสําเร็จทาง ธุรกิจของผู้ผลิตมากที่สุด ได้แก่ การให้ความสําคัญ กับภารกิจที่ผู้ผลิตพึง กระทํา นอกจากนั้นผู้วิจัย ยังได้ให้ข้อเสนอแนะว่ามี ภารกิจใดบ้างที่ผู้ผลิตและ ผู้ค้าปลีกพึงกระทํา เพื่อ ลดโอกาสในการเกิดความ ขัดแย้งลงและเพื่อให้ได้มา ซึ่งความสําเร็จทางธุรกิจ | |||
อาภาภรณ์ วัธ นกุล (2555) | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อ พฤติกรรมการซื้อสินค้า ของ ผู้ บ ริ โ ภค ผ่ านทาง เ ว็ บ ไ ซ ต์ พ า ณิ ช ย์ อิเล็กทรอนิกส์ยอดนิยม | เครื่องมือ คือ แบบสอบถาม ใช้กลุ่ม ตัวอย่าง คือ ผู้บริโภค ที่ใช้บริการอินเทอร์เน็ต ในประเทศไทยจํานวน | ผู้บริโภคที่ใช้บริการ อินเทอร์เน็ต ในประเทศ ไทยที่เคยสั่งซื้อสินค้าหรือ บริการผ่านทางเว็บไซต์ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ |
ผู้วิจัย | ชื่อเรื่อง | การเก็บรวบรวมข้อมูล | ผลการวิจัย |
ของประเทศไทย วัตถุประสงค์ ปัจจัยด้าน ประชากรศาสตร์ ปัจจัย ด้านองค์ประกอบเว็บไซต์ 7C ปัจจัยความน่าเชื่อถือ มีความสัมพันธ์ต่อ พฤติกรรมการซื้อสินค้า ของผู้บริโภคผ่านทาง เว็บไซต์พาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ยอดนิยม ของประเทศไทย | 400 คน ด้วยสถิติเชิง พรรณนา ได้แก่ ค่า ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การ วิเคราะห์ความ แปรปรวนแบบทาง เดียว และการ วิเคราะห์สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์ สัน | ยอดนิยมของประเทศไทย ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมี อายุ 31 ปีขึ้นไป มีระดับ การศึกษาระดับปริญญา ตรีหรือเทียบเท่า มีรายได้ ต่ํากว่าหรือเท่ากับ 10,000 บาท โดย ผู้บริโภคมีความคิดเห็นต่อ ระดับความสําคัญของ ปัจจัยด้านองค์ประกอบ เว็บไซต์ 7C ในด้าน รูปลักษณ์ ด้าน ส่วนประกอบที่เป็นเนื้อหา และด้านการติดต่อค้าขาย อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนในด้านความเป็น ชุมชน ด้านการทําให้ตรง ความต้องการเฉพาะของ ลูกค้า ด้านการ ติดต่อสื่อสารและผู้บริโภค มีความคิดเห็นต่อระดับ ความสําคัญของปัจจัยด้าน ความน่าเชื่อถือ โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด การทดสอบสมมติฐาน ผู้บริโภคที่มีเพศแตกต่าง กัน มีพฤติกรรมการซื้อ สินค้าผ่านทางเว็บไซต์ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ยอดนิยมของประเทศไทย แตกต่างกัน ในด้าน ความถี่ต่อปี และด้าน พฤติกรรมการกลับมาซื้อ สินค้าหรือใช้บริการอีก ครั้ง เมื่อได้รับข่าวสาร |
ผู้วิจัย | ชื่อเรื่อง | การเก็บรวบรวมข้อมูล | ผลการวิจัย |
เกี่ยวกับสินค้าใหม่ ปัจจัยองค์ประกอบ เว็บไซต์ 7C ด้าน ส่วนประกอบที่เป็นเนื้อหา มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการซื้อสินค้า ส่วนด้านการเชื่อมโยงมี ความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการซื้อสินค้า ของผู้บริโภคผ่านทาง เว็บไซต์พาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ ด้าน พฤติกรรมการกลับมาซื้อ สินค้าหรือใช้บริการอีก ครั้ง เมื่อได้รับข่าวสาร เกี่ยวกับสินค้าและบริการ ใหม่จากเว็บไซต์พาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ยอดนิยม ของประเทศไทย | |||
ปุลณัช เดชมา นนท์ (2556) | การตัดสินใจซื้อสินค้าผ่าน สื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ ในช่วงเวลาจํากัด | แบบสอบถาม กลุ่ม ประชาชนทั่วไปที่เข้าใช้ บริการในตึกชินวัตร 1 อาคารพหลโยธินเพลส พลาซ่า ที่เจซื้อสินค้า และสั่งซื้อผ่านสื่อ เครือข่ายสังคม ออนไลน์ โดยการสุ่ม แบบสะดวก จํานวน 400 คน ใช้สถิติเชิง พรรณนา คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเชิงอนุมาน ประกอบด้วย Independent | การตลาดที่มีผลต่อการซื้อ ผ่านสื่อเครือข่ายสังคม ออนไลน์ทั้ง 3 ด้าน คือ ผลิตภัณฑ์ ราคา สถานที่ และส่งเสริมการขาย มี ความสําคัญในระดับมาก ส่วนของพฤติกรรมการซื้อ พบว่า ส่วนใหญ่มีเหตุผล ในการซื้อเพราะสะดวก โดยใช้ Line ในการ สั่งซื้อและในช่วงเวลา 12.01 – 13.00 ผลการ ทดสอบสมมติฐาน พบว่า อายุมีผลต่อปัจจัยส่วน ประสมทางการตลาดทุก ด้าน ส่วนอาชีพมีผลต่อ |
ผู้วิจัย | ชื่อเรื่อง | การเก็บรวบรวมข้อมูล | ผลการวิจัย |
Sample t-test One way ANOVA least significant Difference และ Chi-Square ที่ระดับ นัยสําคัญทางสถิติ 0.05 | ปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาด ด้านสถานที่ และด้านการส่งเสริมการ ขาย รายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีผลต่อ รมคา สถานที่ และการส่งเสริมการขาย ส่วนเหตุผลของการเลือก ซื้อมีความสัมพันธ์ด้าน ราคา สถานที่ ส่งเสริม การขาย ในขณะที่วิธีการ สั่งซื้อและเวลาในการ สั่งซื้อและระยะเวลาใน การสั่งซื้อมีความสัมพันธ์ กับปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดทุกด้าน | ||
ศุภชัย วลี เกียรติกุล (2556) | การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อ พฤติกรรมการซื้อสินค้า แ ล ะ บ ริ ก า ร ใ น ร ะ ดั บ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของ ผู้บริโภคในประเทศไทย | แบบสอบถาม ผู้ที่เคย ซื้อสินค้าและบริการใน ระบบพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ จํานวน 376 คน ใช้สถิติเชิง พรรณนา การหา ค่าความถี่และร้อยละ ใช้การวิเคราะห์ การถดถอย | ปัญหาที่พบ คือ คุณภาพ ของสินค้าไม่ตรงตามที่ โฆษณา นอกจากนี้ มี ความพึงพอใจในปัจจัย ด้านต้นทุนธุรกรรม และ ปัจจัยด้านพฤติกรรม ผู้บริโภคเฉลี่ยในระดับ ปานกลาง การทดสอบสมมติฐาน ด้วยวิธีวิเคราะห์สมการ ถดถอย พบว่า ปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์กับมูลค่าการ ซื้อสินค้าและบริการใน ระบบพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ อย่างมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ เพศ รายได้ ต่อเดือนและประสบการณ์ การใช้อินเทอร์เน็ต |
59
บทที่ 3
วิธีดําเนินการวิจัย
การศึกษาเรื่อง แนวทางการพัฒนาชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรด อําเภอ บานคา จังหวัดราชบุรี มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธของสมาชิกในชองทางการจําหนาย ผลิตภัณฑสับปะรด 30ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี30 2) ศึกษาวิเคราะหชองทางการจัดจําหนาย
ในแตละชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรด3 0 ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี3 0
3) การพัฒนาชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพ่ือการบริโภค30 ตําบลหนองพัน จันทร จังหวัดราชบุรี30 ผูวิจัยไดดําเนินงานและเก็บรวบรวมขอมูลตามขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนการดําเนินงาน
ผูวิจัยไดมีการกําหนดขั้นตอนการดําเนินกิจกรรมและวิธีการในการดําเนินงาน แตละ ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับความสัมพันธของสมาชิกในชองทางการจัดจําหนาย สําหรับผลิตภัณฑสับปะรด ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้
1. ศึกษาขอมูลที่เปนเอกสาร (Documentary Study) ในเรื่องเก่ียวกับ ประเภทของ ชองทางการจัดจําหนาย ประเภทของคนกลาง ความสัมพันธของสมาชิกในชองทางการจัดจําหนาย งานวิจัยที่เกี่ยวของจากแหลงขอมูลของหองสมุดสํานักวิทยบริการของมหาวิทยาลัย เว็บไซต ตลอดจนเอกสารงานวิจัยตาง ๆ ที่มีผูศึกษาไว เพื่อจะนํามากําหนดเปนกรอบแนวคิดใน การดําเนินงานวิจัย และเปนแนวทางในการเขียนบทที่ 2
2 ศึกษาโครงสรางของชองทางการจัดจําหนาย ดวยการสอบถามชนิดปลายปดที่เปน แบบสํารวจรายการกับ ผูผลิตสับปะรดหรือรานคาปลีกหรือแผงรับซื้อ จํานวน 335 ครัวเรือน
3. ศึกษาความสัมพันธของสมาชิกตามโครงสรางชองทางการจัดจําหนาย ดวย การสัมภาษณเชิงลึกกับผูผลิตสับปะรดหรือรานคาปลีกที่ทําการจัดจําหนายหรือแผงรับซื้อสับปะรด ใน 11 หมูบานในตําบลหนองพันจันทร ซึ่งมีความแตกตางกันในลักษณะทําเลที่ตั้ง จึงสามารถแบง ออกไดเปน 3 โซน จํานวน 100 คน ดังนี้
3.1 โซน A คือเขตหมูบานที่มีพื้นที่สวนใหญเปนภูเขา (90 %) ขาดแหลงน้ําเพื่อ การเกษตร การขนสงหางไกลจากเขตโรงงาน ไดแก หมู 2 บานหนองโก และ หมู 10 บานทุงตาลับ จํานวน 30 คน
3.2 โซน B คือเขตหมูบานที่มีพื้นที่สวนใหญเปนท่ีราบ (90 %) มีแหลงน้ําเพื่อ การเกษตร อยูใกลเขตโรงงาน อยูนอกเขตโครงการที่ภาครัฐสงเสริม (โครงการแปลงใหญ) ผลิตตาม องคความรูของแตละคน ไดแก หมู 1 บานทุงมะลิครอ, หมู 3 บานชองลาภ, หมู 6 บานหนองพัน จันทร, หมู 7 บานหนองธง, หมู 8 บานหนองตาเล็ก, หมู 9 บานทุงหมูปลอย และหมู 11 บานทุง มะลิครอเหนือ จํานวน 40 คน
3.3 โซน C คือเขตหมูบานที่มีพื้นที่สวนใหญเปนที่ราบ (90 %) มีแหลงนําเพื่อ การเกษตร อยูใกลเขตโรงงาน อยูในเขตโครงการที่ภาครัฐสงเสริม (โครงการแปลงใหญ) มีศูนยการ เรียนรู ไดแก หมู 4 บานหนองจอกบน และ หมู 5 บานหนองจอก จํานวน 30 คน
ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาวิเคราะหชองทางการจัดจําหนายในแตละชองทางการจัดจําหนาย
สําหรับผลิตภัณฑสับปะรด 30ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี30 มีขั้นตอนดังนี้
1. ศึกษาปญหาและความตองการของการจัดจําหนาย ดวยการสัมภาษณเชิงลึกเกี่ยวกับ กับรานคาปลีกขางทางสวนผึ้ง – ปาหวาย – จอมบึง และ ปาหวาย – บานโปงกระทิง จํานวน 50 ราน
2. ศึกษาปญหาและความตองการของการจัดจําหนาย ดวยการสัมภาษณเชิงลึกกับ ผูบริโภคที่เปนนักทองเที่ยวทั่วไปและผูบริโภคในพื้นที่ จํานวน 100 คน
3. ศึกษาปญหาและอุปสรรคในการสงเสริมกับตัวแทนหนวยงานภาครัฐ ดวยการ สัมภาษณเชิงลึกกับตัวแทนจากหนวยงานภาครัฐ จํานวน 6 หนวยงาน
4. วิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส อุปสรรค ดวยทําการสนทนากลุมกับผูผลิต สับปะรดหรือรานคาปลีกหรือแผงรับซื้อสับปะรด จํานวน 10 ครั้ง 3 โซน
ขั้นตอนที่ 3 การพัฒนาชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อ
การบริโภค30 ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี30 มีขั้นตอนดังตอไปนี้
1. นําขอมูลปญหาและความตองการของผูผลิตสับปะรด รานคาปลีก ผูบริโภคและ ปญหาการสงเสริมของตัวแทนจากหนวยงานภาครัฐจํานวน 6 หนวยงาน พรอมกับขอมูลที่ไดจาก การวิเคราะหแตละชองทางการจัดจําหนาย มาทําการพัฒนาชองทางการจัดจําหนายใหม
2. ทดลองทําการจัดจําหนายสับปะรดผานทางชองทางการจัดจําหนายออนไลน (เฟซบุค) สาเหตุที่เลือกทดลองชองทางนี้ เนื่องจากมีขอจํากัดในเรื่องเวลาของการดําเนินการวิจัย และเพื่อพิจารณาถึงความเปนไปไดของการเพิ่มชองทางการจัดจําหนายในลักษณะออนไลน นอกจากนี้ยังไดทําการเก็บขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของผูผลิตและผูบริโภค จํานวน 400 คน
2. พัฒนาชองทางการจัดจําหนายผานทางออนไลน (เว็บไซต) การออกราน (บูธ) พรอมกับสอบถามความพึงพอใจของชองทางการจัดจําหนายที่พัฒนาขึ้นมากับผูบริโภค จํานวน 400 คน
เทคนิคและวิธีการดําเนินงานวิจัย
การวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรด อําเภอบานคา จังหวัดราชบุรี เปนการวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ เพื่อใหไดผลการวิจัย ครบถวน ดังนี้
1.การศึกษาความสัมพันธของสมาชิกในชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑ
สับปะรด เพื่อตอบวัตถุประสงคขอที่ 1 ประกอบด
1.1 การวิจัยเชิงปริมาณ
ย การวิจัยทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ดังน
1.1.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง ผูวิจัยไดทําการกําหนดกลุมประชากรที่จะใช ในการศึกษา คือ ผูผลิตสับปะรดหรือรานคาปลีกหรือแผงรับซื้อสับปะรดที่อยูในตําบลหนองพันจันทร
1.1.2 ขนาดกลุมตัวอยางเชิงปริมาณ ทําการสุมตัวอยางแบบอาศัยความนาจะ เปนดวยการสุมตัวอยางแบบกลุม (cluster sampling) กับผูผลิตสับปะรดหรือรานคาปลีกหรือ แผงรับซื้อสับปะรด ใน 11 หมูบานของตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี จํานวน 335 ครัวเรือน เนื่องจากในกระบวนการผลิตสับปะรดน้นจะมีขั้นตอนการผลิตหลายข้ันตอน เชน การ เตรียมดิน การหักหนอ การปลูกหนอ การรักษาคุณภาพ และการเก็บเกี่ยวผลผลิต จึงมีความจําเปน อยางยิ่งตองอาศัยแรงงานเขามาชวยเหลือในแตละขั้นตอน โดยเฉพาะคนในครอบครัวซ่ึงถือเปนกําลัง หลัก ประกอบกับการถือครองที่ดินสวนใหญยังคงเปนกรรมสิทธิ์ของพอแม จึงทําใหเวลาข้ึนทะเบียน ผปู ลูกสับปะรดจึงทําไดเฉพาะพอกับแมเปนหลัก ดวยเหตุผลดังกลาวนี้เองผูวิจัยจึงไดคํานวณขนาด ตัวอยางดวยวิธีของ Taro Yamane. Yamane โดยกําหนดความคลาดเคลื่อนของกลุมตัวอยางเทากับ
0.05 ดังนี้
N
1 + Ne2
สูตรการคํานวณขนาดกลุมตัวอยาง
N
n =
e | = | ความคลาดเคลื่อนของการสุมตัวอยาง |
N | = | ขนาดประชากร |
n | = | ขนาดของกลุมตัวอยาง |
แทนคาในสูตร
n = 1,997
1 + 1,997 (0.05)²
= 1,997
1 + 4.99
= 333.38
= 335
จําแนกกลุมตัวอยางใหกระจายครอบคลุมหมูบานทั้งหมด 11 หมูบานตามสัดสวน ดังตาราง
ที่ 3.1
ตารางที่ 3.1 แสดงจํานวนประชากรและกลุมตัวอยางและสัดสวนที่ใชในการวิจัยจําแนกตาม หมูบาน
รายการ | ประชากรที่ปลูก สับปะรด (ครัวเรือน) | กลุมตัวอยาง (ครัวเรือน) | สัดสวน (รอยละ) |
หมูที่ 1 บานทุงมะลิครอ | 161 | 27 | 8.06 |
หมูที่ 2 บานหนองโก | 200 | 34 | 10.02 |
หมูที่ 3 บานชองลาภ | 211 | 35 | 10.57 |
หมูที่ 4 บานหนองจอกบน | 273 | 46 | 13.67 |
หมูที่ 5 บานหนองจอก | 211 | 35 | 10.57 |
หมูที่ 6 บานหนองพันจันทร | 215 | 36 | 10.77 |
หมูที่ 7 บานหนองธง | 253 | 42 | 12.67 |
หมูที่ 8 บานหนองตาเล็ก | 75 | 13 | 3.76 |
หมูที่ 9 บานทุงหมูปลอย | 100 | 17 | 5.01 |
หมูที่ 10 บานทุงตาลับ | 93 | 16 | 4.66 |
หมูที 11 บานทุงมะลิครอเหนือ | 205 | 34 | 10.27 |
รวม | 1,997 | 335 | 100.00 |
ที่มา : องคการบริหารสวนตําบลหนองพันจันทร 2560
1.1.3 สถิติที่ใชในการวิเคราะห รอยละ
1.2 การวิจัยเชิงคุณภาพ
1.2.1 ผูรู คือ ผูผลิตสับปะรดหรือรานคาปลีกหรือแผงรับซื้อใน 11 หมูบาน 3 โซน กลาวคือ โซน A จํานวน 30 คน โซน B จํานวน 40 คน โซน C จํานวน 30 คน
1.2.2 วิธีการรวบรวมขอมูล ทําการการสัมภาษณเชิงลึก เพื่อใหไดขอมูล ครบถวนเกี่ยวกับความสัมพันธของสมาชิกในโครงสรางชองทางการจัดจําหนายจึงไดทําการจดบันทึก การสมภาษณในประเด็นตาง ๆ และสังเกตแบบมีไมมีสวนรวม
1.2.2 วิธีการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ ดวยการวิเคราะหเนื้อหา โดยผูวิจัยจะ ทํา การวิเคราะหขอความเพื่อจับประเด็นที่ไดจากการสัมภาษณเชิงลึก เกี่ยวกับการจัดจําหนาย ความสัมพันธของสมาชิกในการจัดจําหนายตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน
2 การวิเคราะหชองทางการจัดจําหนายในแตละชองทางการจัดจําหนายสําหรับ ผลิตภัณฑสับปะรด30 ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ
2.1 ผูร คือ ผูผลิตสับปะรดท้งั 11 หมบาู น ในตําบลหนองพันจันทร จํานวน
100 คน ผูบริโภค จํานวน 100 คน รานคาปลีกที่อยูขางทาง จํานวน 50 ราน และ ตัวแทน จากหนวยงานภาครัฐ จํานวน 6 หนวยงาน ดังนี้
ตารางที่ 3.2 แสดงจํานวนประชากรและกลุมตัวอยางที่เปนตัวแทนจากหนวยงานภาครัฐ
รายการ | กลุมตัวอยาง (หนวยงาน) |
- เกษตรอําเภอบานคาหรือตัวแทน | 1 |
- เกษตรอําเภอสวนผึ้งหรือตัวแทน | 1 |
- เกษตรอําเภอปากทอหรือตัวแทน | 1 |
- เกษตรจังหวัดราชบุรีหรือตัวแทน | 1 |
- พาณิชยจังหวัดราชบุรีหรือตัวแทน | 1 |
- ตวั แทนสหกรณการเกษตร | 1 |
รวม | 6 |
2.2 วิธีการรวบรวมขอมูล สนทนากลุมเกษตรกรผูผลิตสับปะรด และสัมภาษณ เชิงลึกกับผูบริโภค รานคาปลีกและตัวแทนจากหนวยงานภาครัฐและการสังเกตการณแบบไมมีสวน รวม
2.3 วิธีการตรวจสอบคุณภาพขอมูล ตรวจสอบขอมูลโดยการไขวขอมูลที่ไดจากการ สัมภาษณแบบมีโครงสราง การสังเกตแบบไมมีสวนรวม ขอมูลเชิงแบบประจักษจากการลงพื้นที่และ การสนทนากลุม ซักถามแบบไมเปนทางการ
2.4 วิธีการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ ดวยการวิเคราะหเนื้อหา เกี่ยวกับ ปญหาและ อุปสรรคของผูบริโภค รานคาปลีก และปญหาและอุปสรรคในการสงเสริมจากหนวยงานภาครัฐ ซึ่ง ในระหวางการสนทนาไดทําการจดบันทึก อัดเสียงและสนทนากลุมเพื่อรวมกันวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรคของแตละชองทางการจัดจําหนาย แลวนํามาสรุปรายงานผล
3 การพัฒนาชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑเพื่อการบริโภค ประกอบดวย เปนการวิจัยเชิงปริมาณ
3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง ผูวิจัยไดทําการกําหนดกลุมประชากรท่ีจะใชใน การศึกษา คือ ผูบริโภคที่ซื้อสับปะรดเพื่อการบริโภคในจังหวัดราชบุรี
3.2 ขนาดกลุมตัวอยางเชิงปริมาณ ทําการสุมตัวอยางแบบไมอาศัยความนาจะเปน แบบสะดวก จํานวน 400 คน เนื่องจากไมทราบจํานวนประชากรที่แนนอน
3.3 สถิติที่ใชในการวิเคราะห รอยละ คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
3.4 เครื่องมือและการสรางเครื่องมือเชิงปริมาณ
3.4.1 ลักษณะของเครื่องมือ การศึกษาครั้งน้ีผูศึกษาใชแบบสัมภาษณที่มีโรง สราง กับแบบสอบถามในการเก็บรวบรวมขอมูล โดยแบงเนื้อหาของแบบสอบถามออกเปน
2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม ตอนท 2 ความพงึ พอใจของ
ชองทางการจัดจําหนายที่พัฒนาขึ้นมาใหม ที่มีลักษณะเปนแบบมาตราสวนประเมินคา มีคําตอบให เลือก 5 ระดับ ของลิเคอรท (Likert Scale) ประกอบดวย ระดับความสําคัญมากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด และมีเกณฑการใหคะแนน 5 ระดับ คือ
5 หมายถึง ระดับความพึงพอใจมากที่สุด
4 หมายถึง ระดับความพึงพอใจมาก
3 หมายถึง ระดับความพึงพอใจปานกลาง
2 หมายถึง ระดับความพึงพอใจนอย
1 หมายถึง ระดับความพึงพอใจนอยที่สุด
3.4.2 การสรางเครื่องมือ จะมีขั้นตอน ดังนี้
1) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสารตาง ๆ รวมทั้งงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อ เปนแนวทางในการกําหนดขอบเขตและโครงสรางเน้ือหา ในการสรางเครื่องมือใหครอบคลุมเนื้อหา ตามวัตถุประสงค
2) นําแบบสอบถาม ไปใหผูเชี่ยวชาญตรวจหาคุณภาพ เครื่องมือวิจัย ดวยการหาดัชนีความสอดคลองของขอคําถามกับวัตถุประสงคตัวชี้วัด (Index of Item – Objective Congruence : IOC) และภาษา โดยเลือกขอท่ีมีคาดัชนีความสอดคลองอยูระหวาง
0.5 – 1.00 โดยมีผูเชี่ยวชาญจํานวน 3 ทาน
3) นําแบบสอบถามที่ผานการแกไขไปหาคาความเช่ือมั่น (reliability) ของแบบสอบถาม โดยนําไปทดลองใช (try – out) กับกลุมที่ไมใชประชากรกลุมเปาหมาย จํานวน
30 คน กอนเก็บขอมูลจริงและนํากลับมาหาคาสัมประสิทธ์ิแอลฟาของ ครอนบาค (Cronbach's alpha coefficient) เพื่อใหไดคาความเชื่อมั่นมีคาเกิน 0.8 ก็ถือวายอมรับได (ธานินทร ศิลปจารุ
, 2550, หนา 313) ซึ่งงานวิจัยครั้งนี้มีความเชื่อมั่นอยูที่ 0.90
3.4.3 การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณและสถิติที่ใช
1) วิเคราะหขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม โดยวิธีการบรรยายและ ใชสถิติพรรณนา คือ คารอยละ
2) วิเคราะหความพึงพอใจของผูบริโภคในชองทางการจัดจําหนายท่ี พัฒนาขึ้นมาใหม ดวยคาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยมีเกณฑในการวิเคราะหตามของ ธานินทร ศิลปจารุ (2549, หนา 77) ดังนี้
คาเฉลี่ยของความระดับความสําคัญ
4.21 – 5.00 มีความพึงพอใจในระดบ
มากที่สุด
3.41 – 4.20 มีความพึงพอใจในระดับมาก
2.61 – 3.40 มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง
1.81 – 2.60 มีความพึงพอใจในระดับนอย
1.00 – 1.80 มีความพึงพอใจในระดับนอยที่สุด
66
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล
ผลการศึกษาเรื่อง แนวทางการพัฒนาชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรด อําเภอบานคา จังหวัดราชบุรี ผูวิจัยเสนอผลการวิเคราะหเปนตารางและคําบรรยายประกอบ ซึ่งแบง ออกเปน 5 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 ผลการศึกษาความสัมพันธของสมาชิกในชองทางการจําหนายสําหรับผลิตภัณฑ สับปะรด ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี
ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะหชองทางการจัดจําหนายในแตละชองทางการจัดจําหนายของ สับปะรด ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี
ตอนที่ 3 ผลการพัฒนาชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อการ บริโภค ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี
สัญลักษณที่ใชในการวิเคราะหขอมูล
การนําเสนอที่สะดวกและอานเขาใจงาย ผูวิจัยไดกําหนดสัญลักษณที่ใชในการเสนอผล ของการวิเคราะหขอมูล ดังนี้
x แทน คาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลที่ไดจากกลุมตัวอยาง
S.D. แทน คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุมตัวอยาง
n แทน จํานวนของตัวอยางที่ใชในการวิเคราะห
ตอนที่ 1. ความสัมพันธของสมาชิกในชองทางการจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรด ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี
1. ผลการศึกษาโครงสรางชองทางการจัดจําหนายสับปะรดในตําบลหนองพันจันทร เปนการวิจัยเชิงปริมาณ โดยเก็บรวบรวบดวยแบบสอบถามชนิดปลายปดท่ีเปนแบบสํารวจรายการ กับผูผลิตสับปะรดหรือรานคาปลีกหรือแผงรับซ้ือสับปะรด จํานวน 335 คน ใน 11 หมูบาน ปรากฏผลดังตอไปนี้
ตารางที่ 4.1 แสดงผลการจัดจําหนายสับปะรดในตําบลหนองพันจันทร
การจัดจําหนาย | จํานวน(คน) | รอยละ |
บริโภค | 43 | 12.83 |
โรงงาน | 227 | 67.77 |
บริโภคและโรงงาน | 65 | 19.40 |
รวม | 335 | 100.00 |
จากตารางที่ 4.1 ผลการจัดจําหนายสับปะรดในตําบลหนองพันจันทร พบวา สวนใหญ ทําการจัดจําหนายเพื่อเขาสูโรงงาน คิดเปนรอยละ 67.77 รองลงมาคือเพื่อการบริโภคและเพื่อเขา สูโรงงาน คิดเปนรอยละ 19.40 และ เพื่อการบริโภค คิดเปนรอยละ 12.83
ตารางที่ 4.2 แสดงผลของการจัดจําหนายสับปะรดเพื่อการบริโภค
การจัดจําหนาย | จํานวน(คน) | รอยละ |
ทางตรง | 6 | 9.52 |
ทางออม | 57 | 90.48 |
รวม | 63 | 100.00 |
จากตารางท 4.2 พบวา โดยสวนใหญการจัดจําหนายสับปะรดเปนทางออม ขายผานคน
กลาง คิดเปนรอยละ 90.48 รองลงมา คือ ขายทางตรง คิดเปนรอยละ 9.52
ตารางที่ 4.3 แสดงผลการจัดจําหนายสับปะรดเพื่อการบริโภคตามโครงสรา งของชองทางการจัด จําหนายที่ขายผานคนกลาง
โครงสรางของชองทางการ จัดจําหนาย | จํานวน(คน) | รอยละ | ||
P | W R (ขาประจํา) | C | 37 | 64.92 |
P | W R (ขาจร) | C | 2 | 3.50 |
P | R C | 18 | 31.58 | |
รวม | 57 | 100.00 |
จากตารางท 4.3 ผลการจัดจําหนายเพ่ือการบริโภคตามโครงสรางของชองทางการจัด
จําหนาย สวนใหญ ใชชองทางการจัดจําหนายจากผูผลิตไปยังผูคาสง (ขาประจํา) ไปยังผูคาปลีกไป
ถึงผูบริโภค คิดเปนรอยละ 65.23 รองลงมา คือ ผูผลิตไปยังผูคาปลีกไปถึงผูบริโภค คิดเปน รอยละ 31.79 และผูผลิตไปยังพอคาสง (ขาจร)ไปยังผูคาปลีกไปถึงผูบริโภค คิดเปนรอยละ 2.98
ตารางที่ 4.4 แสดงผลการจัดจําหนายสับปะรดเพื่อเขาสูโรงงานตามโครงสรางของชองทางการ จัดจําหนายที่ขายผานคนกลาง
โครงสรางของชองทางการ จัดจําหนาย | จํานวน(คน) | รอยละ |
P W C (ในทองถิ่น) | 262 | 96.32 |
P W C (สหกรณ) | 10 | 3.68 |
รวม | 272 | 100.00 |
จากตารางที่ 4.4 ผลการจัดจําหนายสับปะรดตามโครงสรางของชองทางการจัดจําหนาย ที่ผานคนกลาง พบวา สวนใหญ ใชโครงสรางชองทางการจัดจําหนาย จากผูผลิตไปยังพอคาสง (ใน ทองถิ่น) ไปถึงผูบริโภค คิดรอ ยละ 96.32 รองลงมาคือ จากผูผลิตไปยังพอคาสง (สหกรณ) ไปยัง ผูบริโภค คิดเปนรอยละ 3.68
2. ผลการศึกษาความสัมพันธของสมาชิกในชองทางการจัดจําหนาย ซึ่งในเขตพื้นที่ แตละหมูบานจะมีลักษณะเฉพาะพื้นที่ที่แตกตางเชนกัน เชน บางหมูบานเปนพื้นที่ภูเขา บางพื้นที่อยู ใกลเขตโรงงาน บางพื้นที่อยูในเขตการสงเสริมของภาครัฐ ดังนั้นผูวิจัยจึงไดมีการแบงเขตใน การศึกษา เพราะจากการลงพื้นที่เพื่อสอบถามผูผลิตสับปะรด พบวา ลักษณะพื้นที่ ความใกลไกลเขต โรงงาน หรือแมแตการเขามาชวยเหลือของหนวยงานภาครัฐ เปนปจจัยหนึ่งในความสัมพันธของ สมาชิกในชองทางการจัดจําหนายและการตัดสินใจขายผลผลิตของตนเอง ดังนั้นจึงไดทําการแยก ความสัมพันธตามโซนไดดังตารางที่ 4.5 – 4.7 ไดดังนี้
ตารางที่ 4.5 ภาพรวมความสัมพันธของสมาชิกในชองทางการจําหนายสําหรับผลิตภัณฑ สับปะรด ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี โซน A (หมู 2 บานหนองโก และ หมู 10 บานทุงตาลับ)
ชองทาง | ผูขาย | ผูซื้อ | ความสัมพันธ | เหตุผลที่เลือกชองทางนี้ | |
เหมือนกัน | สิ่งที่แตกตางกัน | ||||
1 การ บริโภค | 1. ผูผลิต สับปะรด | 1. พอคา คนกลาง | 1. คุนเคยและเชื่อ ใจกัน เนื่องจาก คาขายกันมานาน | 1. สะดวก รวดเร็ว 2. ไมมีคาขนสง | 1. มีการรับซื้อตลอด แมจ ะเปนชวงที่มี ผลผลิตจํานวนมาก |
ชองทาง | ผูขาย | ผูซื้อ | ความสัมพันธ | เหตุผลที่เลือกชองทางนี้ | |
เหมือนกัน | สิ่งที่แตกตางกัน | ||||
มากกวา 10 ป (พอคาขาประจํา) 2. เจาหนี้กับ ลูกหนี้ | 3. ไดรับเงินสด | 2. สามารถสั่งจอง ผลผลิตลวงหนาได ในชวงที่ผลผลิตมี จํานวนนอย | |||
3. รูจักกันใน ฐานะลูกคาที่ทํา ธุรกิจรวมกันและ คาขายกันเฉพาะ กิจ (พอคาขาจร) | 2. ชวยระบาย ผลผลิตในชวง ผลผลิตมากเพราะ สับปะรดมีอายุการ เก็บนอย | ||||
4. ญาติพี่นอง | 1 สามารถขายได ตลอดแมจะมี ผลผลิตนอย 2 สามารถยืมเงินทุน หรืออื่น ๆ ได เพราะสามารถหัก เงินตนจากผลผลิตที่ นํามาขาย ไมมี ดอกเบี้ย | ||||
5. ผูมีพระคุณ | สามารถยืมเงินทุน หรืออื่น ๆ ได โดย หักเงินตนจาก ผลผลิตที่นํามาขาย | ||||
2. กลุม แปรรูป สับปะรด | รูจักกันในฐานะ ลูกคาที่ทําธุรกิจ รวมกัน | 1. ผลผลิตลน ตลาด 2. ผลผลิตที่มี ตําหนิหรือคัด ทิงจากโรงงาน | |||
3. กลุมเลี้ยง สัตว | รูจักกันในฐานะ ลูกคาที่ทําธุรกิจ รวมกัน | ||||
2. พอคา คนกลาง | 1. พอคา คน กลางใน จังหวัด | คุนเคยกัน | สะดวก รวดเร็ว และขายไดปริมาณ มาก | ||
2. พอคาคน กลาง | คุนเคยกัน เนื่องจากเปน | สะดวก รวดเร็ว และขายไดปริมาณ |
ชองทาง | ผูขาย | ผูซื้อ | ความสัมพันธ | เหตุผลที่เลือกชองทางนี้ | |
เหมือนกัน | สิ่งที่แตกตางกัน | ||||
ตางจังหวัด | ลูกคาประจําของ พอคนกลางใน จังหวัด | มาก | |||
3. รานอาหาร | รูจักกันในฐานะ ลูกคาที่ทําธุรกิจ รวมกัน | ไดเงินสด | |||
4. พอคาขาจร | รูจักกันในฐานะ ลูกคาที่ทําธุรกิจ รวมกัน | ไดเงินสด | |||
5. ผูบริโภค | 1. คุนเคยกัน 2. รูจักกันใน ฐานะลูกคาที่ทํา ธุรกิจรวมกัน | ไดเงินสด | |||
2 เขาสู โรงงาน | 1. ผูผลิต สับปะรด | 1 แผงรับซื้อ | 1. คุนเคยกัน 2. ผูมีพระคุณ 3. รูจักกันใน ฐานะลูกคาที่ทํา ธุรกิจรวมกัน | 1. ไดเงินสด 2. แผงรับซื้อบางที่มี เงินทุนสํารองให 3. ขายไดราคากวา แผงขายประจํา โดยเฉพาะลูกก้ํากึ่ง (ลูกที่มีขนาดคาบ เกี่ยวระหวางขนาด กลางกับขนาดใหญ) เพราะการคัดแยก ขนาดผลผลิตทําการ ประเมินดวยสายตา | |
2. โรงงาน โดยตรง | รูจักกันในฐานะ ลูกคาที่ทําธุรกิจ รวมกัน | 1. สามารถขายได ตลอดแมจะมี ผลผลิตนอย โดย อาศัยโควตาบุคคล อื่น ที่เปนเพื่อนสนิท กัน หรือผูมีพระคุณ 2. ขายไดราคาสูง กวาแผงรับซื้อ โดยเฉพาะลูกก้ํากึ่ง |
ชองทาง | ผูขาย | ผูซื้อ | ความสัมพันธ | เหตุผลที่เลือกชองทางนี้ | |
เหมือนกัน | สิ่งที่แตกตางกัน | ||||
(ลูกที่มีน้ําหนักคาบ เกี่ยวระหวางขนาด กลางกับขนาดใหญ) เพราะการคัดแยก ขนาดผลผลิตของ โรงงานนั้นจะใช เครื่องจักรในการคัด แยกจึงทําใหมี ความแมนยํากวา คัดแยกดวยสายตา | |||||
3. เจาหนี้ | เจาหนี้ที่มีขอ ผูกพันทางสัญญา หนี้ | นําผลผลิตไปขาย เพื่อชําระหนี้ | |||
2. แผง รับซื้อ | 1. โรงงาน | 1. คูสัญญาซื้อ ขายที่มีโควตา(ใน จังหวัด) | 1. คาขนสงนอยกวา ตางจังหวัด | ||
2. คูสัญญาซื้อ ขายที่มีโควตา (ตางจังหวัด) | 2. เกิดการแขงขัน กันระหวางแผงรับ ซื้อ ทําใหโดนกด ราคา จึงไปขายนอก พื้นที่ดีกวา |
ตารางที่ 4.6 ภาพรวมความสัมพันธของสมาชิกในชองทางการจําหนายสําหรับผลิตภัณฑ สับปะรด ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี โซน B (หมู 1 บานทุงมะลิครอ หมู 3 บานชองลาภ, หมู 6 บานหนองพันจันทร, หมู 7 บานหนองธง หมู 8 บานหนองตาเล็ก หมู 9 บานทุงหมูปลอย และหมู 11 บานทุงมะลิครอเหนือ)
ชองทาง | ผูขาย | ผูซื้อ | ความสัมพันธ | เหตุผล | |
เหมือนกัน | สิ่งที่แตกตางกัน | ||||
1.การ | 1. ผูผลิต | 1. พอคา คน | คุนเคยและเชื่อใจ | 1. สะดวก | มีการรับซื้อตลอด |
บริโภค | สบั ปะรด | กลาง | กัน เนื่องจาก | รวดเร็ว | แมจ ะเปนชวงที่มี |
คาขายกันมานาน | 2. ไมมีคาขนสง | ผลผลิตมากหรือ | |||
กวา 10 ป | 3. ไดเงินสด | นอยก็ตาม | |||
(พอคาขาประจํา) |
ชองทาง | ผูขาย | ผูซื้อ | ความสัมพันธ | เหตุผล | |
เหมือนกัน | สิ่งที่แตกตางกัน | ||||
รูจักกันในฐานะ ลูกคาที่ทําธุรกิจ รวมกนั และ คาขายกันเฉพาะ กิจ (พอคาขาจร) | ชวยระบายผลผลิต ในชวงผลผลิตมาก เพราะสับปะรดมี อายุการเก็บนอย | ||||
ญาติพี่นอง | สามารถขายได ตลอดแมจะมี ผลผลิตนอย | ||||
เพื่อนสนิท | สามารถยืมเงินทุน หรืออื่นได เพราะ สามารถหักเงินตน จากผลผลิตที่นํามา ขาย ไมมีดอกเบี้ย | ||||
2 คนทั่วไป หรือ นักทองเที่ยว | รูจักกนั ในฐานะ ลูกคาที่ทําธุรกิจ รวมกัน | ชวยระบายสินคา ในชวงที่มีปริมาณ มาก | |||
3. กลุม แปรรูป สับปะรด | |||||
4. กลุมเลี้ยง สัตว | |||||
2. พอคา คนกลาง | 1 พอคาคน กลางใน จังหวัด | คุนเคยกัน | สะดวก รวดเร็ว และขายไดปริมาณ มาก | ||
2 พอคา คนกลาง ตางจังหวัด | รูจักกันในฐานะ ลูกคาที่ทําธุรกิจ รวมกัน | สะดวก รวดเร็ว และขายไดปริมาณ มาก | |||
3 รานอาหาร | ไดรับเงินสด | ||||
4 พอคาเร | ไดรับเงินสด | ||||
5 ผูบริโภค | 1. คุนเคยกันหาก ลูกคาประจํา 2. รูจักกันใน ฐานะลูกคาที่ทํา | ไดรับเงินสด |
ชองทาง | ผูขาย | ผูซื้อ | ความสัมพันธ | เหตุผล | |
เหมือนกัน | สิ่งที่แตกตางกัน | ||||
ธุรกิจรวมกัน ทั่วไป | |||||
2.เขาสู โรงงาน | 3. แผงรบั ซื้อ | โรงงาน | 1. คูสัญญาซื้อ ขายที่มีโควตา(ใน จังหวัด) | คาขนสงนอยกวา ตางจังหวัด | |
2. คูสัญญาซื้อ ขายที่มีโควตา (ตางจังหวัด) | เกิดการแขงขันกัน ระหวางแผงรับซื้อ ทําใหโดนกดราคา จึงไปขายนอกพื้นที่ ดีกวา |
ตารางที่ 4.7 ภาพรวมความสัมพันธของสมาชิกในชองทางการจําหนายสําหรับผลิตภัณฑ สับปะรด ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี โซน C (หมู 4 บานหนองจอกบน และ หมู 5 บานหนองจอก)
ชองทาง | ผูขาย | ผูซื้อ | ความสัมพันธ | เหตุผลที่เลือกชองทางนี้ | |
เหมือนกัน | สิ่งที่แตกตางกัน | ||||
1.การ บริโภค | 1. ผผู ลิต สับปะรด | 1. พอคา คน กลาง | 1. คุนเคย เนื่องจากคาขาย กันมานานมากกวา 10 ป (พอคาขาประจํา) | 1. สะดวก รวดเร็ว 2. ไมมี คาขนสง 3. ไดเงิน สด | มีการรับซื้อตลอด แม จะเปนชวงที่มีผลผลิต มากหรือนอยก็ตาม |
2 คาขายกัน เฉพาะกิจ (พอคา ขาจร) | ชวยระบายผลผลิต ในชวงผลผลิตมาก เพราะสับปะรดมีอายุ การเก็บนอย | ||||
3 ญาติพี่นอง | สามารถขายไดตลอด แมจะมีผลผลิตนอย | ||||
4 เจาหนี้กับลูกหนี้ | สามารถยืมเงินทุน หรืออื่นได โดยหักเงิน ตนจากผลผลิตที่ นํามาขายผลผลิตที่มี ตําหนิหรือคัดทิ้งจาก |
ชองทาง | ผูขาย | ผูซื้อ | ความสัมพันธ | เหตุผลที่เลือกชองทางนี้ | |
เหมือนกัน | สิ่งที่แตกตางกัน | ||||
2. กลุม แปรรูป สับปะรด | รูจักกันในฐานะ ลูกคาที่ทําธุรกิจ รวมกัน | โรงงาน | |||
3. กลุมเลี้ยง สัตว | รูจักกันในฐานะ ลูกคาที่ทําธุรกิจ รวมกัน | ||||
4. โรงงาน อุตสาหกรรม อาหาร | 1.รูจักกันในฐานะ ลูกคาที่ทําธุรกิจ รวมกัน 2.คูสัญญาซื้อขาย ที่มีโควตา | 1.เพิ่มชองทางในการ จําหนายใหก บั สับปะรด 2. เพิ่มโควตาในการ ระบายผลผลิตในชวง ผลผลิตมาก | |||
5. หางสรรพ สินคา | คูสัญญาซื้อขายที่มี โควตา | ขายไดราคาสูงกวา ชองทางอื่น | |||
2. พอคา คนกลาง | 1 พอคาคน กลางใน จังหวัด | คุนเคยกัน เนื่องจากเปน ลูกคาประจํา | สะดวก รวดเร็ว และ ขายไดปริมาณมาก | ||
2 พอคาคน กลาง ตางจังหวัด | คุนเคยกัน เนื่องจากเปน ลูกคาประจําของ พอคนกลางใน จังหวัด | สะดวก รวดเร็ว และ ขายไดปริมาณมาก | |||
3. พอคาเร | ลูกคาทั่วไป | ไดเงินสด | |||
4.ผูบริโภค | 1. คุนเคยกัน เนื่องจากเปน ลูกคาประจํา 2. รูจักกันในฐานะ ลูกคาที่ทําธุรกิจ รวมกัน | ||||
5. ราน อาหาร | รูจักกันในฐานะ ลูกคาที่ทําธุรกิจ รวมกัน |
ชองทาง | ผูขาย | ผูซื้อ | ความสัมพันธ | เหตุผลที่เลือกชองทางนี้ | |
เหมือนกัน | สิ่งที่แตกตางกัน | ||||
2.เขาสู โรงงาน | 2. ผูผลิต สับปะรด | 1 แผงรับซื้อ | 1.คุนเคยกัน เนื่องจากคาขาย ประจํา | ไดเงินสด | |
2.เจาหนี้กับลูกหนี้ | ใชหนี้ | ||||
3 รูจักกันในฐานะ ลูกคาที่ทําธุรกิจ รวมกัน | ขายไดราคากวาแผง ขายประจํา โดยเฉพาะลูกก้ํากึ่ง (ลูกที่มีน้ําหนักคาบ เกี่ยวระหวางลูก ขนาดกลางกับ ขนาดใหญ) เพราะ การคัดแยกขนาด ผลผลิตใชการ ประเมินดวยสายตา | ||||
2. เจาของ โควตา | เพื่อนสนิท หรือผูมี พระคุณ | สามารถขายไดตลอด แมจะมีผลผลิตนอย | |||
3 โรงงาน โดยตรง | รูจักกันในฐานะ ลูกคาทที่ ําธุรกิจ รวมกัน | ขายไดราคากวาแผง ขายโดยเฉพาะลูก ก้ํากึ่ง (ลูกที่มีน้ําหนัก คาบเกี่ยวระหวาง ลูกขนาดกลางกับ ขนาดใหญ) เพราะ การคัดแยกจึงทําใหมี ความแมนยํากวาคัด แยกดวยสายตา | |||
4 สหกรณ | สมาชิก | มีเงินปนผลสําหรับ สมาชิก มีปุย ยา จําหนายใหสมาชิกใน ราคาถูก | |||
แผงรับ ซื้อ | โรงงาน | 1. คูสัญญาซื้อขาย ที่มีโควตา (ใน จังหวัด) | คาขนสงนอยกวา ตางจังหวัด | ||
2. คูสัญญาซื้อขาย ที่มีโควตา | เกิดการแขงขันกัน ระหวางแผงรับซื้อ ทํา |
ชองทาง | ผูขาย | ผูซื้อ | ความสัมพันธ | เหตุผลที่เลือกชองทางนี้ | |
เหมือนกัน | สิ่งที่แตกตางกัน | ||||
(ตางจังหวัด) | ใหโดนกดราคา จึงไป ขายนอกพื้นที่ดีกวา |
จากการนําขอมูลทั้ง 3 สวน มาวิเคราะหภาพรวม สามารถสรุปความสัมพันธของสมาชิก ในชองทางการจําหนายสับปะรด ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี เพ่ือตอบวัตถุประสงคขอที่ 1 โดยแบงออกเปนชองทางการจัดจําหนายสําหรับสับปะรดเพื่อการบริโภค และสับปะรดเพื่อเขาส โรงงาน ไดดังนี้
1. สับปะรดเพื่อการบริโภค
ตารางที่ 4.8 สรุปภาพรวมความสัมพันธของสมาชิกในชองทางการจําหนายสําหรับผลิตภัณฑ สับปะรดเพื่อการบริโภค ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี
ชอง ทางที่ | ผูผลิต | ความสัมพันธ | ผูซื้อระดับที่ 1 | ความสัมพันธ | ผูซื้อระดับที่ 2 |
1 | ผผู ลิต สับปะรด | 1. คุนเคยกัน 2. พอคาขาจร 3. ญาติพี่นอง 4. ผูมีพระคุณ 5. เจาหนี้ | พอคาคนกลาง | 1. คุนเคยกัน 2. รูจักกันในฐานะ ลูกคาที่ทําธุรกิจ รวมกัน | พอคาคนกลาง ในจงหวัด |
2 | ผผู ลิต สับปะรด | 1. คุนเคยกัน 2. พอคาขาจร 3. ญาติพี่นอง 4. ผูมีพระคุณ 5. เจาหนี้ | พอคาคนกลาง | 1. คุนเคยกัน 2. รูจักกันในฐานะ ลูกคาที่ทําธุรกิจ รวมกัน รวมกัน | พอคาคนกลาง ตางจังหวัด |
3 | ผผู ลิต สบั ปะรด | 1. คุนเคยกัน 2. พอคาขาจร 3. ญาติพี่นอง 4. ผูมีพระคุณ 5. เจาหนี้ | พอคาคนกลาง | 1. คุนเคยกัน 2. รูจักกันในฐานะ ลูกคาที่ทําธุรกิจ รวมกนั | พอคาเรใน จังหวัด |
4 | ผผู ลิต สับปะรด | 1. คุนเคยกัน 2. พอคาเร 3. ญาติพี่นอง 4. ผูมีพระคุณ | พอคาคนกลาง | 1. คุนเคยกัน 2. รูจักกันในฐานะ ลูกคาที่ทําธุรกิจ รวมกัน | พอคาเร ตางจังหวัด |
ชอง ทางที่ | ผูผลิต | ความสัมพันธ | ผูซื้อระดับที่ 1 | ความสัมพันธ | ผูซื้อระดับที่ 2 |
5. เจาหนี้ | |||||
5 | ผผู ลิต สับปะรด | 1. คุนเคยกัน 2. พอคา ขาจร 3. ญาติพี่นอง 4. ผูมีพระคุณ 5. เจาหนี้ | พอคาคนกลาง | 1. คุนเคยกัน 2. รูจักกันในฐานะ ลูกคาที่ทําธุรกิจ รวมกัน | รานอาหาร ตางจังหวัด |
6 | ผูผลิต สบั ปะรด | 1. คุนเคยกัน 2. พอคาขาจร 3. ญาติพี่นอง 4. ผูมีพระคุณ 5. เจาหนที้ ี่มีสัญญา | พอคาคนกลาง | 1. คุนเคยกัน 2. รูจักกันในฐานะ ลูกคาที่ทําธุรกิจ รวมกัน | นักทองเที่ยว ตางจังหวัด |
7 | ผูผลิต สบั ปะรด | 1. คุนเคยกัน 2. พอคาขาจร 3. ญาติพี่นอง 4. ผูมีพระคุณ 5. เจาหนที้ ี่มีสัญญา | พอคาคนกลาง | 1. คุนเคยกัน 2. รูจักกันในฐานะ ลูกคาที่ทําธุรกิจ รวมกัน | ผูบริโภค ตางจังหวัด |
8 | ผผู ลิต สบั ปะรด | 1. คุนเคยกัน 2. พอคาขาจร 3. ญาติพี่นอง 4. ผูมีพระคุณ 5. เจาหนที้ ี่มีสัญญา | พอคาคนกลาง | 1. คุนเคยกัน 2. รูจักกันในฐานะ ลูกคาที่ทําธุรกิจ รวมกัน | กลุมเลี้ยงสัตว ตางจังหวัด |
9 | ผูผลิต สบั ปะรด | 1. พอคา ขาจร 2. ญาติพี่นอง | กลุมแปรรูป | รูจักกันในฐานะเปนผู ซื้อผลิตภัณฑ เชน กวน, น้ํา | ผูบริโภค |
10 | ผผู ลิต สับปะรด | 1. พอคาขาจร 2. ญาติพี่นอง 3. เพื่อนสนิท | กลุมเลี้ยงสัตว | รูจักกันในฐานะลูกคา ที่ซื้อผลผลิตที่ถูกคัด ออกหรือมีตําหนิ | ฟารม |
11 | ผผู ลิต สับปะรด | 1.ญาติพี่นอง 2.เพื่อนสนิท | รานอาหาร | รูจักกันในฐานะลูกคา ที่ใชบริการ | ลูกคา |
12 | ผผู ลิต สบั ปะรด | คูสัญญา | หางสรรพสินคา | รูจักกันในฐานะลูกคา ที่ใชบริการ | ผูบริโภค |
13 | ผผู ลิต สบั ปะรด | รูจักกันในฐานะ ลูกคา | นักทองเที่ยวในจังหวัด |
2. สับปะรดเพื่อเขาสูโรงงาน
ตารางที่ 4.9 สรุปภาพรวมความสัมพันธของสมาชิกในชองทางการจําหนายสําหรับผลิตภัณฑ สับปะรดเพื่อเขาสูโรงงาน ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี
ชอง ทางที่ | ผูขาย | ความสัมพันธ | ผูซื้อระดับที่ 1 | ความสัมพันธ | ผูซื้อระดับที่ 2 |
1 | ผูผลิต สับปะรด | 1. คุน เคย 2. รูจักกันในฐานะ ลูกคา 3. เปนญาติพี่นอง 4. เปนเจาหนี้ | แผงรับซื้อ | คูสัญญาซื้อขาย ที่มีโควตา | โรงงานในจังหวัด |
2 | ผผู ลิต สบั ปะรด | 1. คุนเคย 2. รูจักกันในฐานะ ลูกคา 3. เปนญาติพี่นอง 4. เปนเจาหนี้ | แผงรับซื้อ | คูสัญญาซื้อขาย ที่มีโควตา | โรงงานตางจังหวัด |
3 | ผูผลิต สับปะรด | สมาชิก | สหกรณ | คูสัญญาซื้อขาย ที่มีโควตา | โรงงานในจงหวัด |
4 | ผูผลิต สบั ปะรด | สมาชิก | สหกรณ | คูสัญญาซื้อขาย ที่มีโควตา | โรงงานตางจังหวัด |
5 | ผผู ลิต สบั ปะรด | 1. คูสัญญาซื้อขายที่ มีโควตาเปนผล 2. คูสัญญาซื้อขายที่ มีโควตาเปนผลผลิต และหั่นเปนชิ้น | โรงงาน | ||
6 | แผงรับซื้อ | กําหนดโควตา แปรรูปผลผลิต หั่นเปนชิ้น | โรงงาน |
ตอนท 2. การวิเคราะหชองทางการจัดจําหนายในแตละชองทางการจัดจําหนายของ
สับปะรด ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี
1 ความตองการการพัฒนาชองทางการจัดจําหนายสับปะรดเพื่อการบริโภค
การศึกษาแนวทางการพัฒนาชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรด อําเภอ บานคา จังหวัดราชบุรี โดยทําการสนทนากลุมกับผูผลิตและสัมภาษณเชิงลึกกับรานคาปลีกและ ผูบริโภคเกี่ยวกับปญหาและความตองการ และตัวแทนจากหนวยงานภาครัฐเกี่ยวกับปญหาและ อุปสรรคในการสงเสริม ไดผลดังนี้
1.1 ผูผลิตสับปะรด จากการลงพื้นที่เพ่ือทําสนทนากลุมกับผูผลิตสับปะรด ที่ตําบล หนองพันจันทร จํานวน 100 คน ใน 11 หมูบาน ไดขอมูลเกี่ยวกับปญหาและความตองการ
ปรากฏผลดังนี้
ตารางที่ 4.10 สรุปความตองการพัฒนาชองทางการจดั จําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อ การบริโภคจากการสนทนากลุมกับผูผลิตสับปะรดในตําบลหนองพันจันทร 11 หมูบาน
รายการ | |
ปญหาของการจัดจําหนาย | ความตองการ |
1. การกระจายสินคาในชวงที่ผลผลิตมีจํานวนมาก 2. การคัดแยกผลผลิตระหวางเนื้อ 1 กบั เนื้อ 2 ดวยการฟงเสียงจากการเคาะไม 3. ขาดแรงงานภายในครอบครัวที่จะดูแลผลผลิตใน ไรหรือไปจัดจําหนายที่อื่น 4. ขาดการวางแผนเกี่ยวกับการผลิตที่จะทําใหมี ผลผลิตที่สม่ําเสมอ 5. อํานาจการตอรองเปนของพอคาคนกลางทั้งใน เรื่องการกําหนดราคาและเงื่อนไขที่ไมใหไปขายให คนอื่นในชวงที่ผลผลิตมีจํานวนนอย มิเชนนั้นไมมา รับซื้ออีกตอไป 6. ไมมีความรูเรื่องการตลาดที่จะเขาถึงกลุมลูกคา หรือแหลงที่จะไปกระจายผลผลิต จึงทําใหใช เวลานานกวาจะขายไดหมด | 1. ขายผลผลิตใหมากขึ้น โดยไมตองออกจาก พื้นที่เพาะปลูกของตนเอง 2. มีจุดรับซื้อประจํา และซื้อขายในราคาที่ ยุติธรรม 3. สามารถขายผลผลิตไดในทุกชวงเวลา 4. สิ่งที่ทําใหลูกคาหรือพอคาคนอื่นเชื่อมั่นใน คุณภาพของผลผลิต |
1.2 รานคาปลีก ไดทําการสัมภาษณเชิงลึกกับรานคาปลีกที่ขายสับปะรดอยูริมทาง จํานวน 50 ราน ปรากฏผลดังนี้
ตารางที่ 4.11 สรุปความตองการพัฒนาชองทางการจดั จําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อ บริโภค จากการสัมภาษณเชิงลึกกับรานคาปลีกขางทางสาย
(สวนผึ้ง – ปาหวาย – จอมบึง และ ปาหวาย – บานโปงกระทิง)
ถนนสาย | รายการ ปญหาการจัดจําหนาย ความตอ งการ | |
สวนผึ้ง – ปาหวาย – จอมบึง | การเพิ่มปริมาณผลผลิตที่จะจําหนาย ใหมากขึ้น แตไมเชื่อมั่นในคุณภาพ ผลผลิตของพอคารายใหมหรือผูผลิต รายใหม | ตองการหาแหลงซื้อที่มีคุณภาพและ ตรวจสอบได เห็นถึงกระบวนการ ผลิต เพื่อสรางจุดขายเชิงพื้นที่ |
ปาหวาย – บานโปง กระทิง | การขายในแตละครั้งที่ซื้อใช เวลานานกวาจะขายหมด | หาจุดขายที่บงบอกเชิงพื้นที่ที่สราง ความเชื่อถือใหกับลูกคา |
1.3 ผูบริโภค จากการลงพื้นที่โดยการสัมภาษณเชิงลึกกับผูบริโภคที่ทําการซ้ือ สับปะรดไปเพ่ือการบริโภค จํานวน 100 คน ปรากฏผลไดดังนี้
ตารางที่ 4.12 สรุปความตองการพัฒนาชองทางการจัดจําหนายสําหรับผลิตภัณฑสับปะรด เพื่อการบริโภคจากการสัมภาษณเชิงลึกกับผูบริโภค
ประเภทของลูกคา | รายการ ปญหาของผลิตภัณฑ ความตอ งการ | |
1. นักทองเที่ยวทั่วไป | 1. สินคามีรสชาติไมแนนอน 2. ราคาไมแนนอน 3. คุณภาพของสินคาไมเปนไปตามที่ ตกลงซื้อขายกันระหวางผูซื้อกับ ผูขาย | 1. มีรานหรือแหลงรับซื้อที่เชื่อมั่นได 2. ไดสินคาที่มีคุณภาพ 3. ราคาสมเหตุสมผล |
2. ผูบริโภคในพื้นที่ | 1. สินคามีรสชาติไมแนนอน 2. ราคาไมแนนอน 3. คุณภาพของสินคาไมเปนไปตามที่ ตกลงซื้อขายกันระหวางผูซื้อกับ ผูขาย | 1. มีรานหรือแหลงรับซื้อที่ไวใจได เพื่อทําการซื้อ 2. ไดสินคาที่มีคุณภาพตามที่ตกลง ซื้อขาย 3. ราคาสมเหตุสมผล |
1.4 ตัวแทนจากหนวยงานภาครัฐ จากการลงพื้นที่เพื่อทําการสัมภาษณเชิงลึกกับ ตัวแทนจากหนวยงานภาครัฐ จํานวน 6 หนวยงาน ปรากฏผลดังตอไปนี้
ตารางที่ 4.13 สรุปปญหาและอุปสรรคในการสงเสริมจากหนวยงานภาครัฐ
ที่ | หนวยงาน | ปญหาเชิงพื้นที่ |
1 | เกษตรอําเภอจอมบึง และปากทอ | ผูผลิตในพ้ืนท่ีสวนใหญปลูกสับปะรดโรงงานเปนหลัก (100 %) จึง ทําใหผลผลิตมีรสชาติเปรี้ยว แตในชวงสับปะรดปผลผลิตจะมี รสชาติหวาน ผูผลิตจึงไดนําออกมาขาย แตรสชาติไมเหมือนกับ สับปะรดสูตรแมคา จึงทําใหลูกคาบางคนเขาใจผิด และไมกลับมา ซื้ออีก |
2 | เกษตรอําเภอสวนผึ้ง | สวนใหญคนในสวนผึ้งไมคอยปลูกสับปะรด ที่วางขายตามถนนสวน ใหญจะรับมาจากนอกพื้นที่ ทําใหสับปะรดที่ซื้อกลับไปมีรสชาติทั้ง หวานหรือเปรี้ยว ลูกคาที่อยูในพื้นที่จึงไมคอยซื้อ นอกจากลูกคา ตางถิ่น |
3 | เกษตรอําเภอบานคา | 1. มีผลผลิตไมตลอดทั้งป ถูกแอบอางชื่อเสียงจากผลผลิตพื้นที่อื่น 2. ผลผลิตยังไมมีคุณภาพ 100 % |
สําหรับแผนในอนาคตของหนวยงานภาครัฐที่จะทําการสงเสริมการจัดจําหนายสับปะรด เพ่ือการบริโภค คือ เกษตรจังหวัดจะทําโรงรับซื้อคัดแยกผลผลิตดวยระบบคอมพิวเตอร เพื่อสงไป ยงั ตลาดกลางผลไมในจังหวัด ทําใหเกิดผลดีหลายประการ คือ 1) ผูผลิตสามารถขายผลผลิตไดใน ราคาสูง 2) ผูผลิตสามารถกําหนดราคาขายไดตามคุณภาพของผลผลิต 3) ผลผลิตที่สงออกมี คุณภาพ 100 % (ใชระบบคัดเลือก) 4) กระบวนการผลิตปลอดสาร (มีกฎระเบียบในการควบคุมกลุม ผูผลิต) 5) มีผลผลิตที่มีคุณภาพออกขายไดตลอดทั้งป 6) ผลผลิตมีมาตรฐานเดียวกัน (มีกฎระเบียบ ในการควบคุมกลุมผูผลิต) 7) สามารถรับรองคุณภาพผลผลิตไดทุกหนวยการผลิต สําหรับอุปสรรค ในการดําเนินการ คือ 1) กรรมสิทธิ์ในที่ดิน กลาวคือ ผูผลิตบางรายมีการเชาพ้ืนที่ และพื้นที่ปลูก ยังไมมีเอกสารสิทธิ์ จึงอาจจะถูกยกเลิกสัญญาการเชาท่ีและไมสามารถขึ้นทะเบียนกับภาครัฐเปน ผูประกอบการปลูกสับปะรดได 2) ผูผลิตขาดความรูในเรื่องการบริหารจัดการ 3) บางพื้นที่ขาด ปญหาแหลงน้ํา 4) ผูผลิตยังไมสามารถควบคุมคุณภาพของผลผลิตได เนื่องจากหนาหนาวจะมี รสชาติเปรี้ยว
นอกจากนี้พาณิชยจังหวัดยังมีการชองทางการจัดจําหนายที่ผูผลิตสามารถนําไปจัด จําหนายได ซ่ึงมีขอดี คือ 1) สรางความมั่นใจใหกับผูบริโภค (โดยใหเห็นถึงกระบวนการผลิต)
2) ผูบ ริโภคสามารถซื้อผลผลิตไดโดยตรงทําใหไมมีการแอบอางนําผลผลิตจากที่อื่นมาขาย 3) ผูผลิต สามารถทําการขายและผลิตในเวลาเดียวกัน 4) มีคูคารายใหมเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีความเชื่อใจใน คุณภาพ สําหรับขอเสียคือ ผูผลิตขาดความรูทางการตลาดในเรื่องชองทางการจัดจําหนาย
2. การวิเคราะห จุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรค ที่มีการเก็บรวบรวมขอมูลดวย การสนทนากลุม 3 โซน 11 หมูบาน จํานวน 10 ครั้ง และขอมูลปญหาและความตองการของผูที่ มีสวนไดสวนเสียมาทําการวิเคราะห ซึ่งสามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภท ดังนี้
2.1 ทางตรง เปนชองทางที่ผูผลิตทําการขายโดยตรงไปยังผูบริโภคคนสุดทาย โดย ไมผานคนกลาง ซึ่งจะมีแตสับปะรดเพื่อการบริโภค
ตารางที่ 4.14 ผลการวิเคราะหชองทางการจ จําหนายทางตรงของชองทางการจัดจําหนาย
สําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อการบริโภค ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี
ชอง ทาง ที่ 1-2 | ผูปลูก 🢡 ผูบริโภค | |||
ผูปลูก 🢡 นักทองเที่ยวในจังหวัด | ||||
Strengths (S) | Weaknesses (W) | Opportunities (O) | Threats (T) | |
1. ขายไดในราคาที่ สูงกวาขายใหกับคน กลางที่มารับซื้อใน ชุมชน 2.กําหนดราคาได ตามที่ผูผลิต ตองการ 3. สินคามีชื่อเสียง เปนที่รูจักวามี รสชาติหวานฉ่ําไม กัดลิ้น 4. ไดรับขอมูล ยอนกลับจากลูกคา ถึงคุณภาพของ สินคา 5. ผลผลิตมีความ สดใหม เนื่องจาก ตัดจากไรแลวนําไป ขาย | 1. เสียเวลาที่ตองไป ทําการขาย อาจทํา ใ หผ ล ผ ลิ ตได รับ ความเสียหาย เพราะไมมีคนดูแล 2. ไมมีสถานที่ สําหรับการขาย เนื่องจากไมไดขาย เปนประจํา 3. การซื้อซ้ําจาก ลูกคานอย 4. เกิดการแขงขัน ระหวางผูปลูก ดวยกัน (ตัดราคา) 5. ลูกคาบอกตอหา ขายสินคาไมดีแค ครั้งเดี่ยว ทําให สูญเสียรายไดใน อนาคต 6. ใชเวลานานกวา จะทําใหเกิดการซื้อ ซ้ําเปนประจํา 7. ลูกคามีหลาย ประเภท จึงอาจทํา | 1. รัฐบาลไดทําการขึ้น ทะเบียน GI ใหกับ สับปะรดบานคา ที่ เปนสับปะรดพันธุ ปตตาเวีย รสหวานฉ่ํา ไมกัดลิ้น กลิ่นหอม เนอื้ ละเอียด หนานิ่ม มีตาผลคอนขางตื้น เมื่อปอกเปลือกแลวตา จะติดออกไปกับ เปลือก 2. มีหนวยงานที่ ชวยเหลือดานเงินทุน ใหก ับเกษตรกร คือ ธนาคารเพื่อ การเกษตรและ สหกรณ 3. รัฐบาลมีการอบรม ใหความรูเกี่ยวกับการ บํารุงดิน การใสปุย ทําใหสินคามีคุณภาพ ดีสามารถขายไดราคา สูงขึ้น | 1. คูแขงขันที่มีการนํา สับปะรดจากที่อื่นมา ขาย ทําให นักทองเที่ยวเขาใจผิด ในเรื่องคุณภาพของ สับปะรดของจังหวัด ราชบุรี 2. สังคมและ วัฒนธรรมที่มี การสงเสริมให บุตรหลานเรียน หนังสือสูงขึ้น ทําใหขาดแรงงานใน ภาคการเกษตร 3.เทคโนโลยีที่ใช สําหรับการปลูก สบั ปะรด ยังไม สามารถนํามาใชไดทุก ขั้นตอนการผลิต ตองใชแรงงานคนทํา ใหตนทุนสูง เชน การหอสับปะรด การ ใสฮอรโมน |
ชอง ทาง ที่ 1-2 | ผูปลูก 🢡 ผูบริโภค | |||
ผูปลูก 🢡 นักทองเที่ยวในจังหวัด | ||||
Strengths (S) | Weaknesses (W) | Opportunities (O) | Threats (T) | |
ใหเกิดการบริการที่ ไมประทับใจลูกคา แ ต ล ะ บุ ค ค ล เนื่องจากไมมีทักษะ ทางดานการขาย | ||||
ชอง ทาง ที่ 3 | ผูปลูก 🢡 กลุมเลี้ยงสัตว (ฟารม) | |||
Strengths (S) | Weaknesses (W) | Opportunities (O) | Threats (T) | |
1. เปนชองทางที่ สามารถระบาย ผลผลิตในชวงที่มี ผลผลิตมาก 2. สามารถเพิ่ม รายไดจากการขาย ผลผลิตที่ถูก โรงงานหรือแผงรับ ซื้อคัดออก เนื่องจากมีขนาดที่ เล็กเกินไปหรือมี ตําหนิ | 1. ถูกกดราคาต่ํา เนื่องจากขายเฉพาะ ในชวงท่ีผลผลิต จํานวนมาก ไมได ขายกันเปนประจํา | 1. ราชบุรีมีสหกรณ โคนมหนองโพ จํากัด (ในพระบรมราชูปถัมภ) ซึ่งสมาชิกจํานวนมากที่ เลี้ยงโคนม ที่สามารถ ขายสับปะรดไปเปน อาหารได | 1. คูแขงขันมีการ ผลิตอาหารเสริมมา แขงขันในตลาด และงายตอการ จัดเก็บ และใชงาน ไดตามที่ตองการ แตถาเปนผลผลิต จากสับปะรด ถาใช ไมหมดก็จะเนาเสีย |
2.2 ทางออม เปนชองทางที่ผูผลิตขายไปยังผูบริโภคคนสุดทาย โดยผานคนกลาง ซึ่งใชสําหรับการขายทั้งสับปะรดเพื่อการบริโภค และสับปะรดเพื่อเขาโรงงาน ดังนี้
2.2.1 สับปะรดเพื่อการบริโภค
ตารางที่ 4.15 ผลการวิเคราะหชองทางการจดั จําหนายทางตรงของชองทางการจัดจําหนาย สําหรับผลิตภัณฑสับปะรดเพื่อการบริโภค ตําบลหนองพันจันทร จังหวัดราชบุรี
ชองทาง ที่ 1-12 | ผูปลูก 🢡 พอคาคนกลางในจังหวัด 🢡 พอคาสง 🢡พอคาปลีก 🢡ผูบริโภค | |||
ผูปลูก 🢡 พอคาคนกลางในจังหวัด 🢡พอคาปลีก 🢡 ผูบริโภค | ||||
ผูปลูก 🢡 พอคาคนกลางตางจังหวัด 🢡พอคาสง 🢡พอคาปลีก 🢡ผูบริโภค | ||||
ผูปลูก 🢡 พอคาคนกลางตางจังหวัด 🢡พอคาปลีก 🢡 ผูบริโภค | ||||
ผูปลูก 🢡 พอคาเรในจังหวัด🢡พอคาสง 🢡พอคาปลีก 🢡ผูบริโภค | ||||
ผูปลูก 🢡 พอคาเรในจังหวัด 🢡พอคาปลีก 🢡ผูบริโภค | ||||
ผูปลูก 🢡 พอคาเรตางจังหวัด🢡พอคาสง 🢡พอคาปลีก 🢡ผูบริโภค | ||||
ผูปลูก 🢡 พอคาเรตางจังหวัด 🢡พอคาปลีก 🢡ผูบริโภค | ||||
ผูปลูก 🢡 พอคาคนกลาง 🢡 รานอาหารตางจงั หวัด | ||||
ผูปลูก 🢡 พอคาคนกลาง 🢡 นักทองเที่ยวตางจังหวัด | ||||
ผูปลูก 🢡 พอคาคนกลาง 🢡 ผูบริโภคตางจังหวัด | ||||
ผูปลูก 🢡 พอคาคนกลาง 🢡 กลุมเลี้ยงสัตวตางจังหวัด | ||||
Strengths (S) | Weaknesses (W) | Opportunities (O) | Threats (T) | |
1. ผูผลิตสามารถ ขายสินคาได ตลอดทั้งปไมวา ผลผลิตจะมีราคา แพงหรือราคาถูก (กรณีพอคาซื้อ กันประจํา) 2. ผผู ลิตสามารถ เขาถึงเงินทุนและ อื่น ๆ ที่จําเปน สําหรับการ เพาะปลูกโดย ปราศจาก ดอกเบี้ย (กรณีพอคาเปน ญาติพี่นอง ผูมี พระคุณ) | 1. ในชวงที่มีผลผลิตมี จํานวนมากจะถูก จํากัดจํานวนการซื้อ และซื้อเนื้อรวม ไม แยกเนื้อ 1 และ 2 ทํา ใหไดราคาที่ไมเปนไป ตามจริง (กรณีพอคาซื้อกัน ประจํา) 2. ตองรักษา ความสัมพันธระหวาง บุคคล จึงทําใหเกิด การถูกเอาเปรียบ (กรณีพอคาเปนญาติ ผูมีพระคุณ เจาหนี้) | 1. รัฐบาลไดทํา การขึ้นทะเบียน GI ใหกับ สับปะรดบานคา ที่เปนสับปะรด พันธุปตตาเวีย รสหวานฉ่ํา ไม กัดลิ้น กลิ่นหอม เนื้อละเอียด หนา นิ่ม มีตาผล คอนขางตื้น เมื่อ ปอกเปลือกแลว ตาผลจะติด ออกไปกับเปลือก | 1. คูแขงขันที่มีการนํา สับปะรดจากที่อื่นมา ขาย ทําใหลูกคาเขาใจ ผิดในเรื่องคุณภาพของ สับปะรดของจังหวัด ราชบุรี 2. สงคมและ วัฒนธรรมที่มีการ สงเสริมใหบุตรหลาน เรียนหนังสือสูงขึ้น ทํา ใหขาดแรงงานในภาค การเกษตร |