สัญญาเลขที่ RDG5430024
สัญญาเลขที่ RDG5430024
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ
โครงการ
การปรับตัวของเกษตรกรxxxxxxxxxกุลาร้องไห้ต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ Adaptation of Xxxxx Xxxxxx in KulaLonghai to Climate Change
คณะวิจัย xx.xxxxxxx xxxxxxx
นางสาวxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx นายกฤติxxx xxxxxxxx
สนับสนุนโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) “ความคิดเห็นในรายงานนี้เป็นของผู้วิจัย สกว. ไม่จําเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป”
ระหสโครงการ: RDG5430024
บทคด
ย่อ
ชื่อโครงการ: โครงการการปรบตว
ของเกษตรกรชาวนาทงกุลารอ
งไหต
่อการเปลยนแปลงภูมอ
ากาศ
ชื่อนักวิจย
: วเชยร xxxสุข, xxxน
ทร์ ฤชว
รารก
ษ์ และxxxx
xx วx
xxxxx
หน่วยงาน: สถาบน
วจย
และพฒ
xx xxxวท
ยาลยขอนแก่น
ระยะเวลาโครงการ: วน
ท่ี 15 กน
ยายน 2554 - 15 xxxxx 2555
โครงการมวต
ถุxxxxxxx 1) ศก
ษาบรบทของน้˚าต่อความเป็นอย่
การดา
รงชพ
และกจ
กรรมทาง
เศรษฐกจ
ในลุ่มน้˚าเสย
วใหญ่ในปจั จบน
2) ศก
ษาความเสย่
งในวถ
การดา
รงชพ
และกจ
กรรมทางเศรษฐกจ
ของ
xxxxxxxxxกุลารอ
งไหภ
ายใตแรงขบ
ดนของการเปลย
นแปลงภูมอ
ากาศ เศรษฐกจ
และสงั คมในxxxxx 3)
ศกษาผลสบ
เนื่องของกลxxxxx
xxปรบตว
ของแต่ละชม
ชนทม่
ต่อชม
ชน วธก
ารศก
ษาประกอบดว
ย 4 วธการ
คอ 1. ประเมน
สภาวะชนบทอยา
งเรง
ด่วน (RRA) 2. การจดทา
ภาพฉายการเปลย
นแปลงภูมอ
ากาศใน
xxxxx 3. การจด
ท˚าภาพฉายการเปลย
นแปลงระบบการผลต
ภาวะเศรษฐกจ
และสงั คมในxxxxx และ 4.
การปฏบ
ตการมส
วนร่วมของประชาชน (PAR)
ผลการศก
ษาวจย
พบว่า ชุมชนในลุ่มน้˚าเสย
วใหญ่มความผกพน
กบทรพยากรน้˚าและใชป
ระโยชน์
จากแมน
้˚าทง้ ในการเกษตรและสาธารณูปโภค ความxxxxxxxของสภาพภูมอ
ากาศมผ
ลต่อความเป็นอย่
การดา
รงชพ
และกจ
กรรมทางเศรษฐกจ
ของประชาชนในพน้
ทเี ป็นอยา
งมาก ระบบเกษตรของทุกชมชน
ศกษามความเสย
งทง้ น้˚าท่วมและฝนxxx
มผลกระทบต่อผลผลต
ขาวเป็นอย่างมาก แต่วธ
การทช
ุมชน
ดาเนินการในปจั จุบน
ยงั ไมม
ประสทธภ
าพพอ สง
ผลใหร้ ะบบการเกษตรของแต่ละชม
ชนในปจั จุบน
มความ
เสย
งและความเปราะบางแตกต่างกน
ไป การเปลย
นแปลงภูมอ
ากาศในxxxxxสง
ผลใหระบบเกษตรมความ
เปราะบางมากกวา
ปจั จุบน
สรป
และอภป
รายผล การปรบ
ตวต่อการเปล่ย
นแปลงภูมอ
ากาศของชุมชนทม่
ุ่งแกปญ
หาเพย
งชุมชน
ใดชม
ชนหน่ึงในอดต
อาจxxxxxแกปญ
หาหรอ
ลดความเสย่
งในพน้
ทท่
ต่ นเองรบ
ผดชอบ อาจกลบ
เพม
ความ
เสย
งและผลกระทบต่อชม
ชนใกลxx xxx แต่ดา
เนินการร่วมกน
xxxxxxxxxและมก
ารมองภาพรวมทงั้ ระบบลุ่ม
น้˚าจะน˚าไปสการลดความเสย
ง ลดผลกระทบและการปรบตว
ต่อการเปลย
นแปลงภูมอ
ากาศทด่
กวา
ทงั้ ช่วย
ลดความขดแยง
และประหยด
งบประมาณ นอกจากนี้ การวางแผนการปรบ
ตวต่อการเปลย
นแปลงภูมอ
ากาศ
ในระดบชุมชนxxxxxxดา
เนินการควบครว
มกบ
การวางแผนพฒ
นาของชุมชนตามปกตโดยพx
xxxxถงึ การ
เปลย
นแปลงภูมอ
ากาศในxxxxxรวมอยดวย
ขอเสนอแนะ การขบเคลอ
นและขยายผลการวางแผนการปรบตว
ต่อการเปลย
นแปลงภูมอ
ากาศใน
ระดบพน้
ทช่ ม
ชนไปสก่
ารกา
หนดนโยบายและแผนงานขององคกร
คาหลก
: การปรบตว
, การเปลย
นแปลงภูมอ
ากาศ, การวางแผน, นโยบายระดบพน้ ท่
Abstract
Project Code: RDG5430024
Project Title: Adaptation of Xxxxx Xxxxxx in KulaLonghai to Climate Change Investigators: Xxxxxxx Xxxxxxx, Xxxxxxxxx Xxxxxxxxxxxx and Xxxxxxxx Xxxxxxxx Address: Research and Development Institute, Khon Kaen University
Email address: xxxx_xx@xxxxxxx.xxx
Project Duration: September 2011- March 2012
The project aims to study 1) role of water to livelihood and economic activities of people in community in Seaw Yai watershed. 2) risks in livelihood and economic activities of farmers in Tungkula field under climate change and socio-economic in the future. and 3) consequence of community adaptation strategy to other area. Four methodologies were included: 1. Rapid Rural Appraisal (RRA). 2. Climate Change Scenario. 3. Scenario of production system, socio-economic of community in the future. and 4. Participatory Action Research (PAR).
The study found that community in Seaw Yai watershed has relationship with water resource and used it for agricultural and public utilities. Climate variation has impacted to livelihood and economic activities of people in this area. Agricultural system has risk from flood and drought. It has also very much impacted to rice production. Because of the community process and technique which are measurement still low efficiency in present and the impact of risk and vulnerability in agricultural system are different in each community. Future climate change will induce more vulnerability in agricultural system than present.
Adaptation for solving problem in one target community should not solve problem in the area but it will be increase the risk and impact to neighboring community. Community cooperation and using watershed system approach will be lead to reduce risk, impact, and better climate change adaptation. It can also reduce conflict and fiscal budget. Otherwise, planning on climate change adaptation in community level can be able to implement along side by side with community annual plan by considering in climate change issue in the area. Future implications are to kick off and expand on adaptation to climate change plan at community level to policy and organization plan.
Keywords: adaptation, climate change, planning, community policy
บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary)
ทุ่งกุลาร้องไห้เป็นแหล่งผลิตxxxxxxxมะลิใหญ่ของประเทศ สภาพอากาศมีความxxxxxxxxxxxxxxxมาก ปริมาณและจ้านวนวันฝนตกแตกต่างกันในแต่ละปี ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาลท้าให้เกิดความxxxxxxxxและน้้าท่วม เป็นประจ้า ผลผลิตข้าวในพื้นที่มีความแตกต่างกันและมีความxxxxxxxในแต่ละพื้นที่ แต่ละปี อย่างไรก็ตาม เกษตรกรxxxxxxxxxกุลาร้องไห้มีการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศจากอดีตถึงปัจจุบัน ซึ่งวิธีการปรับตัวของ ชาวนาในแต่ละภูมิxxxxxxxมีวิธีการและกลยุทธ์xxxxxxxแตกต่างและเหมือนกัน ทั้งนี้ขึ้นกับ ความเสี่ยงจากความ xxxxxxxของสภาพอากาศในแต่ละปี สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม และความเปราะบางของเกษตรกรและชุมชน
ปัจจุบัน แม้ว่าการรับมือกับความเสี่ยงของสภาพอากาศนั้น แต่ละชุมชน แต่ละพื้นท/ี่ อาจมีการด้าเนินการ
ไปกันในระดับหนึ่งแล้ว แต่การด้าเนินการดังกล่าวนั้นอาจแตกต่างกันไปตามแต่ละชุมชน ขึ้นกับเป้าหมายและ ข้อจ้ากัดต่างๆ ของแต่ละชุมชน อย่างไรก็ดี การด้าเนินการของชุมชนหนึ่ง หรือภาคส่วนหนึ่ง อาจส่งผลถึงชุมชน อื่นหรือภาคส่วนอื่น โดยเฉพาะชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกันหรือใช้ทรัพยากรบางอย่างร่วมกัน หรือมีปฏิสัมพันธ์ ในทางอื่นๆ ในเชิงเศรษฐกิจและสังคม การด้าเนินการเพื่อรับมือกับความเสี่ยงหรือการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ใน xxxxxนั้น หากด้าเนินการโดยขาดความระวังก็อาจส่งผลให้ความเสี่ยงของพื้นที่ข้างเคียงxxxxxสูงขึ้นได้ การศึกษานี้ เป็นการมองประเด็นการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในบริบทเชิงพื้นที่ในลักษณะของพื้นที่ที่มีขนาดที่ แตกต่างกัน (Multiple scales) โดยเน้นการท้าการศึกษากลุ่มต้าบล ซึ่งเป็นหน่วยย่อยที่สุดในการก้าหนดนโยบาย ชุมชนในกระบวนการxxxxxxส่วนท้องถิ่นจ้านวน 5 ต้าบล 6 พื้นที่องค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในลุ่มน้้า เสียวใหญ่ซึ่งอยู่ในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้คือ
1. องค์การบริหารส่วนต้าบลน้้าอ้อม ต้าบลน้้าอ้อม อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
2. องค์การบริหารส่วนต้าบลเกษตรวิสัย ต้าบลเกษตรวิสัย อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
3. องค์การบริหารส่วนต้าบลxxxxxxxxxx ต้าบลxxxxxxxxxx อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
4. เทศบาลต้าบลxxxxxxxxxx ต้าบลxxxxxxxxxx อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
5. เทศบาลต้าบลเมืองxxx xxxบลเมืองบัว อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
6. เทศบาลต้าบลหินxxx xxxบลหินกอง อ้าเภอxxxxxxxxxx จังหวัดร้อยเอ็ด
การศึกษาประกอบด้วย 6 ขั้นตอนคือ 1) การคัดเลือกพื้นที่ 2) การส้ารวจและเก็บข้อมูลความเสี่ยง
ความxxxxxxในการปรับตัวของเกษตรกรในอดีต-ปัจจุบัน 3) การจัดท้าภาพฉายการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศใน xxxxx 4) การจัดท้าภาพฉายทุ่งกุลาร้องไห้จากการเปลี่ยนแปลงระบบการผลิต ภาวะเศรษฐกิจและสังคมใน xxxxx 5) การจัดท้าความเสี่ยงต่อวิถีการด้ารงชีพ และกิจกรรมของชุมชนภายใต้แรงขับดันของการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ เศรษฐกิจและสังคมในxxxxx 6) การจัดท้าxxxxxxxxxxการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ร่วมกันของทุกชุมชนศึกษา การศึกษาในขั้นตอนที่ 2 ใช้วิธีการประเมินสภาวะชนบทอย่างเร่งด่วน(RRA) และการ ปฏิบัติการมีส่วนร่วมของประชาชนในทุกชุมชน(PAR) ส่วนขั้นตอนที่ 5 และ 6 ใช้วิธีการที่สอง ผลการศึกษาพบว่า
1. ข้อมูลพื้นฐานและบริบทของทรัพยากรน้้า ต่อความเป็นอยู่ การด้ารงชีพ และกิจกรรมทาง เศรษฐกิจในลุ่มน้้าเสียวใหญ่ในปัจจุบัน
พื้นที่ศึกษาทั้ง 6 ชุมชนเป็นชุมชนมีพื้นที่อยู่ติดกัน และอยู่ในลุ่มน้้าเสียวใหญ่ในทุ่งกุลาร้องไห้ มีแม่น้้าเสียว ใหญ่ แม่น้้าเสียวน้อยและแม่น้้าสาขาไหลผ่าน ประชากรของ ทุกชุมชนมีเชื้อสายไทยอีสาน ในการท้าการเกษตร นอกจากจะใช้น้้าฝนเป็นหลักแล้ว ชุมชน ศึกษาทั้งหมดยังใช้ประโยชน์จากแม่น้้าเสียวใหญ่ร่วมxxx xxxชุมชนมีการ ใช้ประโยชน์จากแม่น้้าสาขาของแม่น้้าหรือล้าเสียวใหญ่ที่ไหลผ่าน อาทิ แม่น้้าเตา แม่น้้าเสียวน้อย และแม่น้้ากุดกู่ กิจกรรมของทุกชุมชนมีความผูกพันกับทรัพยากรน้้าและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรน้้าจากแม่น้้าในหลายประการ คือ 1) การท้าการเกษตรทั้งการปลูกข้าวนาปีและxxxxxxโดยการสูบน้้าจากแม่น้้าใส่แปลงนาข้าวในช่วงที่ฝนทิ้งช่วง
2) น้้าดิบส้าหรับท้าน้้าปะปา ชุมชนส่วนใหญ่ใช้น้้าจากแม่น้้าเป็นแหล่งน้้าดิบส้าหรับการท้าน้้าปะปาของชุมชน รวมxxxxxxปะปาส่วนภูมิภาคในพื้นที่ ใช้น้้าจากแม่น้้าเป็นแหล่งน้้าดิบในการผลิตxxxxxxxxxxxxกัน 3) น้้าส้าหรับ เลี้ยงปลาและแหล่งอาหารตามxxxxxxxx หลายชุมชนใช้น้้าจากแม่น้้าในการเลี้ยงปลาเชิงพาณิชย์ และเป็นแหล่งใน การหาปลา จับสัตว์น้้า และเก็บพืชผักตามxxxxxxxxที่ขึ้นอยู่ในและริมแม่น้้าในฤดูฝน 4) แหล่งน้้าส้าหรับปศุสัตว์ (โค-กระบือ) หลังการเก็บเกี่ยวข้าว ชาวนาจะปล่อยโคและกระบือลงเลี้ยงในนาข้าวจนถึงสิ้นสุดฤดูxxxxหรือฤดูกาล ท้านาในปีต่อไป 5) แหล่งน้้าส้าหรับการปลูกผัก ชุมชนบางชุมชนที่อยู่ใกล้ตลาด ใช้น้้าจากแม่น้้าในการปลูกผักเพื่อ จ้าหน่ายตลอดทั้งปี และ 6) สถานที่แข่งเรือประจ้าปี ในอดีตชุมชนอาศัยที่อยู่ติดแม่น้้าเสียวใหญ่และล้าน้้าสาขา จัดงานประเพณีแข่งเรือระดับหมู่บ้าน/ต้าบลเป็นประจ้า ต่อมาล้าน้้าดังกล่าวตื้นเขิน ปัจจุบันประเพณีแข่งเรือ ประxxxxxxxมีอยู่ที่ต้าบลเกษตรวิสัยเท่านั้น
ลุ่มน้้าเสียวใหญ่ ไม่มีแหล่งน้้าต้นทุนจากแหล่งอื่นนอกจากน้้าฝนxxxxลุ่มน้้าอื่น แม่น้้าเสียวใหญ่ เสียวน้อย และแม่น้้าสาขาจึงเปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่xxxxxxxxxxxxxทุกชุมชน หากปีใด ฝนมีปริมาณน้อย หรือไม่ตกต้องตาม ฤดูกาล ปริมาณน้้าในแม่น้้ารวมถึงแม่น้้าสาขาของทั้งสามแม่น้้าจะxxxxxxxxxมากนัก แม่น้้าบางแห่งอาจไม่มีน้้า เหลืออยู่เลยหลังสิ้นสุดฤดูฝน จึงมีผลกระทบต่อการท้านาปีและxxxxxx น้้าปะปาหมู่บ้าน /เทศบาล การจับสัตว์น้้า และการเก็บพืชผักตามxxxxxxxxของประชาชนในพื้นที่ หากปีใดฝนมาก ปริมาณน้้าเกินกว่าแม่น้้าจะรับxxx xxเกิด ปัญหาน้้าท่วมโดยเฉพาะช่วงเดือนกันยายนถึงเดือนxxxxxx ส่งผลให้เกิดน้้าท่วมท้าความเสียหายแก่ผลผลิตข้าว ดังนั้นแม่น้้าในลุ่มน้้าเสียวใหญ่จึงมีผลต่อความเป็นอยู่ วิถีชีวิต การด้ารงชีพ และกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ของ ประชาชนในพื้นที่เป็นอย่างมาก
นโยบายประกันราคาข้าวในปี พ .ศ.2552/53 ท้าให้เกษตรกรมีหนทางxxxxxรายได้จากส่วนต่างของการ
ประกันราคาข้าว ส่งผลกระตุ้นให้เกษตรลุ่มน้้าเสียวใหญ่น้าข้าวxxxxxxมาปลูกในพื้นที่นับแต่xxxxxx และขยายพื้นที่
มากขึ้นในปีถัดxx xxxxxxกับนโยบายรับจ้าน้าข้าวในฤดูกาลxxxxxxxx 55/54 เป็นต้นมา ก่อให้เกิดโครงการรับ
จ้าน้าข้าวเกวียนละ 15,000 บาท xxxxxxxxรับเงินสด 15.000 บาททันทีที่ขายข้าวที่ความชื้นที่ 15 เปอร์เซนต์ ซึ่ง เป็นสิ่งกระต้นให้เกษตรกรปลูกข้าวโดยไม่ค้านึงถึงคุณภาพข้าวทั้งในฤดูนาปีและxxxxxx xxxxxxxในอดีตในพื้นที่ไม่เคยมี การปลูกข้าวxxxxxxxxxxxx xxxxxxปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 นาปี เพียงปีละครั้ง แต่เนื่องจากในพื้นที่ไม่มีน้้า ชลประทาน การปลูกข้าวxxxxxxxxxต้องอาศัยxxxxxxxเหลืออยู่ในแม่น้้า เมื่อมีการขยายพื้นที่ปลูกข้าวxxxxxxมากขึ้น ปริมาณxxxxxxxxxxxxxxกับพื้นที่ปลูกข้าวxxxxxx ส่งผลให้เกิดความเสียหายแก่ต้นข้าวและผลิตข้าวเสียหายจ้านวน มาก นอกจากนี้ยังส่งผลกระทบต่อเนื่องกับน้้าส้าหรับอุปโภคในชุมชนเป็นอย่างมาก
2. ความเสี่ยง การเปิดรับ ความไวต่อผลกระทบ และความxxxxxxในการรับมือ/ปรับตัวในปัจจุบัน ระบบการเกษตรหลักและเป็นวิถีการด้ารงชีพของคนทุกชุมชนในลุ่มน้้าเสียวใหญ่คือ การxxxxxxxxxxxx xx ทั้งการปลูกข้าวนาปีและxxxxxx การปลูกผักมีเฉพาะบางชุมชนที่อยู่ใกล้ตัวอ้าเภอเกษตรวิสัย ความเสี่ยงของระบบ เกษตรและมีผลกระบต่อชุมชนในปัจจุบัน เป็นความเสี่ยงจากน้้าท่วมและฝนxxxx การปลูก ข้าวนาปีจะเสี่ยงต่อการ
เกิดน้้าท่วมและฝนทิ้งช่วง ข้าวxxxxxxและพืชผัก เสี่ยงต่อการขาดน้้าและอุณหภูมิสูง ข้าวxxxxxxจะเสี่ยงในช่วงข้าว ออกดอกเป็นต้นไป ทั้งนี้ระบบเกษตรของชุมชนศึกษามีความแตกต่างกันในความเสี่ยง การเปิดรับ ความไวต่อ ผลกระทบจากสภาพอากาศ และความxxxxxxในการรับมือหรือการปรับตัวต่อ ความxxxxxxxของภูมิอากาศจาก อดีตถึงปัจจุบัน การปรับตัวของ แต่ละชุมชนมีวิธีการและกลยุทธ์xxxxxxxแตกต่างและเหมือนกัน ทั้งนี้ขึ้นกับความ xxxxxxxของสภาพอากาศในแต่ละปี แต่วิธีการที่ชุมชนด้าเนินการ ในปัจจุบันยังxxxxxxxxxxในการแก้ปัญหาทั้งน้้า ท่วมและฝนxxxx xxxผ่านxxxxxเป็นเพียงการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเท่านั้นและเป็นเรื่องเอกเทศของแต่ละชุมชน
การxxxxxxตัวของxxxxxxxในพื้นที่ศึกษาโดยกรมพัฒนาที่ดิน จ้านวน 4 ครั้ง ในxxxxxxxxxผ่านมา ( ปี พ.ศ. 2538, 2546, 2547 และ พ.ศ. 2549) การxxxxxxของxxxxxxxในพื้นที่ศึกษา ผิวดินมีผลกระทบจากคราบเกลือทั้ง คราบเกลือเล็กน้อย เกลือปานกลางและเกลือมาก แต่ในช่วงxxxxxxxxxผ่านxx xxxดินที่มีผลกระทบจากคราบเกลือ มากและปานกลางมีพื้นที่ลดลงมาก แต่ผิวดินที่มีผลกระทบจากคราบเกลือเล็กน้อย มีแนวโน้มxxxxxขึ้น มาก การ xxxxxxตัวของxxxxxxxxxxมีผลกระทบต่อการการเจริญเติบโตและxxxxxxxxxxxxแนวโน้มลดลง ทั้งนี้อาจเป็นxx xxxxxxxxจากเกษตรกรมีการจัดการปรับปรุงและป้องกันการเกิดxxxxxxxมากขึ้น อาทิ xxxxxxแกลบข้าวไปใส่ในพื้นที่ ปลูกxxxxxคาลิปตัสบนคันนา หรืออาจเป็นผลมาจากการxxxxxxxท่วมในพื้นที่บ่อยครั้ง จึงช่วยชะล้างความเค็มของของ เกลือออกไปจากพื้นที่ ในxxxxx ปริมาณฝนที่xxxxxขึ้นในพื้นที่ลุ่มน้้าเสียวใหญ่อาจส่งผลให้การxxxxxxตัวของxxx xxxxลดลง จนไม่มีผลกระทบต่อผลผลิตข้าว หรืออาจกล่าวได้ว่า xxxxxxxxxxไม่ใช่ปัจจัยเสี่ยงต่อผลผลิตข้าวต่อไปใน xxxxx
โดยภาพรวมของ 5 ต้าบล ระบบการเกษตรของแต่ละชุมชนในปัจจุบันมีความเปราะบางแตกต่างกันไป กล่าวคือ ระบบการเกษตรของต้าบลน้้าอ้อม ต้าบลเมืองบัว และต้าบลเกษตรวิสัย มีความเปราะบางสูงต่อต่อความ xxxxxxxภูมิอากาศที่ผ่านมา ขณะที่ระบบการเกษตรของต้าบลหินกอง และต้าบลxxxxxxxxxx มีความเปราะบางปาน กลางต่อความxxxxxxxภูมิอากาศ
3. ภาพฉายการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในลุ่มน้้าเสียวใหญ่ในxxxxx
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในxxxxx ภายใต้สมมติฐานการxxxxxขึ้นของก๊าซเรือนกระจกซึ่งจะxxxxxขึ้นใน xxxxxตามแนวทางการเปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจและสังคมของโลกตามแบบ A2 ท้าการเปรียบเทียบ ภูมิอากาศในพื้นที่ศึกษา ระหว่างช่วงปีปัจจุบัน คือ 2533-2552 และxxxxx 2583-2602
ปริมาณฝนของลุ่มน้้าชี-มูล ในxxxxxมีแนวโน้มxxxxxขึ้นประมาณ 2 เปอร์เซนต์ ในลุ่มน้้าเสียวใหญ่ ปริมาณ ฝนรวมรายปีมีแนวโน้มxxxxxขึ้นประมาณ 12 เปอร์เซนต์เมื่อเทียบกับในช่วงปีปัจจุบัน มีประเด็นxxxxxxสังเกตคือ ปริมาณน้้าฝนในฤดูxxxxมีแนวโน้มลดลง (พ.ย.-เมย.) แต่ปริมาณน้้าฝนในช่วงฤดูฝน (พ.ค.-ต.ค.) มีแนวโน้มxxxxxขึ้น
อุณหภูมิสูงสุด )กลางวัน ( ของลุ่มน้้าชี-มูล ในxxxxxมีแนวโน้มสูงขึ้นเล็กน้อย 1 องศาเซลเซียล และ
อุณหภูมิต่้าสุด (กลางคืน) ของลุ่มน้้าชี-มูลในxxxxxมีแนวโน้มสูงขึ้น อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไป 1.3 องศาเซลเซียล
ความเสี่ยงของการท้านาปีภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในxxxxx พบว่า โอกาสเกิดอุทกภัยในฤดู การท้านาปีมีแนวโน้มxxxxxขึ้น ส่ วนการท้าxxxxxx ความเสี่ยงของอุณหภูมิต่้าที่ส่งผลกระทบต่อการงอกของเมล็ด xxxxxxแนวโน้มลดลง แต่ในช่วงxxxxxxxผสมxxxx ความเสี่ยงของโอกาสเกิดอุณหภูมิวิกฤตที่มีผลต่อการเป็นหมันของ xxxxxxแนวโน้มxxxxxขึ้น และความต้องการน้้าของข้าวในฤดูกาลxxxxxxxxมีแนวโน้มxxxxxขึ้น ดังนั้น การลดความเสี่ยง จากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในxxxxx ในช่วงปลูกข้าวนาปีจ้าเป็นต้องมีกลไกการแก้ปัญหาน้้าท่วมอย่างเป็น ระบบจึงจะลดความสูญเสียผลผลิตข้าวได้ และจ้าเป็นต้องหาน้้าจากลุ่มน้้าชีมาเติมลงในลุ่มน้้าเสียวใหญ่เพื่อรองรับ ปัญหาฝนทิ้งช่วงในฤดูฝน และรองรับความต้องการของชุมชนในxxxxxxxxxน้้าเพื่อการอุปโภค บริโภค และ การเกษตรในช่งฤดูxxxx
4. ภาพฉายการเปลี่ยนแปลงระบบการผลิต ภาวะเศรษฐกิจ-สังคมพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ในxxxxx
ผลการตรวจสอบเอกสารจากxxxxxxxxxx แผนงานโครงการทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวกับการด้าเนินงาน ในทุ่งกุลาร้องไห้ในxxxxx ตลอดจนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 แผนพัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ xxxxxxxxxxการพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกxxxxxxxxxxตอนกลางและ xxxxxxxxxxจังหวัดร้อยเอ็ด แผนพัฒนาลุ่มน้้าเสียวใหญ่กรมทรัพยากรน้้ากับการพัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้ การจด ทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางxxxxxxxxxxxxxxxxxมะลิทุ่งกลาร้องไห้ ตลอดจนปัจจัยอื่นที่เป็นแรงขับดันที่ก่อให้xxxxxxx เปลี่ยนแปลงในxxxxx ผลการสังเคราะห์ภาพฉายในxxxxxของพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ยังxxเน้นการพัฒนาการผลิต xxxxxxxมะลิเป็นหลัก ทั้งกระบวนการผลิตตามวิธีการเกษตรxxxxxและเกษตรอินทรีย์ ควบคูไปกับการจัดการระบบ น้้าในการแก้ไขปัญหาปัญหาการขาดแคลนน้้าและปัญหาน้้าท่วม รวมxxxxxxพัฒนาโครงการพื้นฐานเพื่อxxxxxxxxxxx xxxxxxxxทุ่งกุลาร้องไห้ให้สูง เพื่อพัฒนาไปสู่การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษส่งออกxxxxxxxมะลิและจ้าหน่ายxxxxxxx มะลิด้วยสิ่งบ่งชี้ทางxxxxxxxxxx และการพัฒนาแหล่งxxxxxxxxxxในทุ่งกุลาร้องไห้เป็นแหล่งเรียนรู้คู่อารยธรรมขอม เชื่อมโยงกับเส้นทางอารธรรมขอมในเขตอีสานใต้และประเทศกัมพูชาภายหลังการเปิดxxxxประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC)
อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. 2554 เกิดมหาอุทกภัยในพื้นที่ราบลุ่มภาคกลางของประเทศไทย ท้าให้มีกลุ่ม นายทุนเข้ามากว้านซื้อที่ดินเป็นแปลงขนาดใหญ่ โดยให้ราคาไร่ละ 80,000-100,000 บาท เพื่อเป็นที่ตั้งโรงงาน อุตสาหกรรม และในปี พ.ศ. 2555 มีการส้ารวจพบบ่อxxxxxxxxxxxทุ่งกุลาร้องไห้ หลุมส้ารวจ YPT2 ในพื้นที่บ้าน โคกกลาง ต้าบลชุมพลบุรี จ.xxxxxxxx ผลการท้าxxxxxxxxxxxxกับประชาชน 3 ต้าบลที่อยู่ใกล้xxxxxxxxวจ ประชาชนบางส่วนยังกังวลเรื่องมลภาวะสิ่งแวดล้อมที่จะตามมา ที่จะมีผลกระทบต่อการปลูกxxxxxxxมะลิของโลก ที่มีชื่อเสียง สร้างรายได้ให้ประชาชนผู้ปลูกxxxxxxxมะลิในแต่ละปีเป็นอย่างมาก หากมีการขุดเจาะน้้ามันจะมี ผลกระทบต่อแหล่งปลูกxxxxxxxxxมะลิ ในขณะที่มีประชาชนบางคนได้เตรียมขายที่ดินให้บริษัทส้ารวจน้้ามันใน ราคาไร่ละ 300,000-1,000,000 บาท จากข้อมูลเป็นไปได้ว่า ในxxxxxบางส่วนของพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้จะถูก น้าไปใช้ประโยชน์ด้านอื่นนอกเหนือจากการปลูกข้าว
นอกจากนี้ นโยบายรับจ้าน้าข้าวของรัฐบาลพรรคxxxxxxxxx ในฤดูกาลxxxxxxxx 55/54 เป็นต้นมา ซึ่ง
รับจ้าน้าข้าวเกวียนละ 15,000 บาท เป็นสิ่งกระตุ้นให้เกษตรกรปลูกข้าวโดยไม่ค้านึงถึงคุณภาพข้าวทั้งในฤดูนาปี และxxxxxx มีxxxxxxข้าวต่างxxxxxxxxxที่xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxมะลิมาปลูก เกิดปัญหาข้าวปน ขณะที่ในเดือน กุมภาพันธ์ปีนี้ (พ.ศ. 2556) สหภาพยุโรปได้รับรองการจดทะเบียนxxxxxxxมะลิทุ่งกุลาร้องไห้เป็นสิ่งบ่งชี้ทาง
จ
xxxxxxxxxx สิ่งส้าคัญที่สุดคือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของไทยรวมทั้งเกษตรกรผู้ปลูกxxxxxxxมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ จ้าเป็นต้องเร่งท้าการบ้านเพื่อสร้างหลักประกันคุณภาพข้าวที่ปราศจากการปลอมปน ยังxxอัตตลักษณ์xxxxxxx มะลิทุ่งกุลาร้องไห้ไว้ให้ได้ มิฉะนั้นในระยาวอาจถูกเพิกถอนการรับรองการจดทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางxxxxxxxxxxของ xxxxxxxมะลิทุ่งกุลาxxxxxxxxxx
5. ความเสี่ยง การเปิดรับ ความไวต่อผลกระทบ และกลไกในการรับมือ/ปรับตัวในxxxxx
ภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในxxxxx วิถีชีวิตของชุมชนและระบบเกษตรของทุกชุมชนศึกษายังตก อยู่ภายใต้ความเสี่ยงทั้งน้้าท่วมและฝนxxxxxxxรุนแรงขึ้นกว่าปัจจุบัน ตลอดจนความเสี่ยงของอุณภูมิอากาศที่สูงขึ้นใน xxxxxxxxxxxxxมีผลกระทบต่อการxxxxxxxทั้งการท้านาปี การท้าxxxxxxและพืชผัก การท้านาปีมีความเสี่ยงทั้งน้้า ท่วมและฝนทิ้งช่วงในฤดูการxxxxxxxxข้าว การท้าxxxxxxมีความเสี่ยงต่อการ ขาดแคลนน้้าและอุณหภูมิสูงซึ่งส่งผล ให้เกิดความxxxxxxxxและการผสมxxxxของข้าวมากขึ้น และพืชผักเสี่ยงต่อการขาดน้้ามากขึ้นxxxxกัน พื้นที่เปิดรับ xxxxxขึ้นตามความเสี่ยงที่xxxxxขึ้น กลไก ในการรับมือ/กลไกการปรับตัวในxxxxxซึ่งมีxxxxxxxแตกต่างและเหมือนกันใน แต่ละชุมชน ซึ่งน้าไปสู่ความเปราะบางของระบบเกษตรที่แตกต่างกันไปในแต่ละชุมชน โดยภาพรวมแล้วกลไกหรือ แนวทางการปรับตัวในxxxxxของชุมชนส่วนใหญ่จะเน้นการจัดหาแหล่งน้้าจากภายนอกพื้นที่ การปรับปรุงพื้นที่ รับน้้า การจัดท้าระบบชลประทานและระบบควบคุมน้้าและป้องกันน้้าท่วม และการบริหารจัดการน้้าอย่างเป็น ระบบ อย่างไรก็ตามหากชุมชนไม่xxxxxxด้าเนินการกลไกในการปรับตัวที่เสนอมาxxxxxจะท้าให้ระบบการเกษตรใน พื้นที่มีความเปราะบางสูงมากขึ้นภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในxxxxx
เป็นxxxxxxสังเกตว่า ในการด้าเนินการของชุมชนเพื่อลดความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในxxxxx การเสนอกลไกหรือแนวทางการปรับตัวส่วนใหญ่จะxxxxxxxxแผนงาน/โครงการการด้าเนินการเฉพาะในพื้นที่ รับผิดชอบของตนเองเป็นหลัก ยังไม่มีการมองภาพการลดความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ ซึ่งจะเหมือนกับกลไก /การ ปรับตัวของชุมชนต่อความxxxxxxxภูมิอากาศที่ผ่านมา ท้าให้ประสิทธิภาพของการปรับตัวต่้า
แต่เมื่อมีการประชุมร่วมกันของตัวแทนทุกชุมชน และน้าแผนงานโครงการของแต่ละชุมชนมาพิจารณา ร่วมกัน พบว่า การด้าเนินการหรือการบริหารความเสี่ยงของชุมชนหนึ่ง อาจแก้ปัญหาหรือลดความเสี่ยงในพื้นที่ที่ ตนเองรับผิดชอบ แต่มีผลกระทบต่อชุมชนที่ใกล้เคียงหรือชุมชนที่มีพื้นที่ที่อยู่ต่้ากว่า อาทิ การสร้างxxxxxxxxxxxx ป้องกันน้้าท่วมริมแม่น้้าเสียวใหญ่ xxxxxxลดปัญหาน้้าท่วมพื้นที่นาข้าวในพื้นที่ตนเองได้ แต่xxxxxxกระทบน้้าท่วม ในพื้นที่ที่อยู่ต่้าลงไปซึ่งเป็นพื้นที่ของชุมชนอื่น หรือการสร้างฝายxxxxxxxxในล้าน้้าเสียวใหญ่ในพื้นที่รับผิดชอบของ ชุมชนหนึ่ง ชุมชนนี้กักเก็บน้้าให้ประชาชนของตนเอง ท้าให้xxxxxxxxxxxxxต่อการการท้านาหรือน้้าปะปา ซึ่งลดความ เสี่ยงการขาดน้้าในชุมชนตนเองได้ แต่อาจxxxxxxกระทบต่อชุมชนที่อยู่ตอนล่างได้ พื้นที่ตอนล่างมีความเสี่ยงการ ขาดน้้าxxxxxขึ้น แม้ว่าชุมชนที่อยู่ตอนล่างจะมีฝายxxxxxxxxชุมชนที่อยู่ตอนบน
ภายหลังการพิจารณาแผนงาน/โครงการการปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในxxxxxของแต่ ละชุมชนแล้ว ที่ประชุมมีความเห็นว่า ในการลดความเสี่ยงและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในxxxxx xxxมีแนวโน้มxxxxxxxxxกว่าในปัจจุบัน หากยังxxxxxแบบเดิมหรือต่างชุมชนต่างท้า ก็ไม่xxxxxxแก้ปัญหาหรือลดความ เสี่ยงได้ การแก้ปัญหามิอาจมองแบบแยกส่วนแต่ละองค์การxxxxxxส่วนท้องถิ่น จ้าเป็นต้องด้าเนินการร่วมกัน พิจารณาเชิงระบบและบูรณาการร่วมกัน แม้ว่าจะร่วมxxxxxxx 6 ชุมชนก็มิอาจลดความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศที่จะเกิดขึ้นได้ทั้งหมด จ้าเป็นต้องมองการแก้ปัญหาทั้งลุ่มน้้าเสียวใหญ่ อาทิ การแก้ปัญหาน้้าท่วม อาจ
ไม่ท้าให้น้้าไม่ท่วมได้ แต่อาจช่วยลดความเสี่ยงน้้าท่วมได้ โดยการติดตั้งท่อระบายน้้าหรือท้าสะพาน เปิดทางน้้าให้ น้้าไหลสะดวกขึ้น ท้าให้ระยะเวลาการท่วมขังxxxxxxxลดลงจาก 1-2 เดือน เหลือ 1-2 สัปดาห์xxxxในอดีต แทนที่ทุก ชุมชนจะไปสร้างxxxxxxxxxxxxป้องกันน้้าท่วมพื้นที่ตนเอง ซึ่งท้าให้ใช้งบประมาณในการแก้ปัญหาน้อยกว่าด้วย อาจใช้ งบประมาณขององค์การxxxxxxส่วนท้องถิ่นในพื้นxxxxxxxxxxด้าเนินการได้
6. ข้อเสนอการรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในxxxxxของกลุ่มชุมชนศึกษา
การประชุมตัวแทนรวมจากทุกองค์การปกคองส่วนท้องถิ่นในxxxxxx 11 กันยายน พ.ศ. 2555 มีผู้เข้าร่วม ประชุมรวมจ้านวน 15 คน ได้ข้อสรุปรวมเกี่ยวกับแนวทางการรับมือภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เพื่อลด ความเสี่ยงและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในxxxxxดังนี้
1. ด้าเนินการผันxxxxxxxxลุ่มน้้าจากแม่น้้าชีมาเติมลงในลุ่มน้้าเสียวใหญ่ (ลุ่มน้้าเสียวใหญ่ไม่มีแหล่งน้้า ต้นทุน มีเพียงอ่างเก็บน้้าหนองบ่อ ที่อ้าเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ท้าให้ในช่วงที่ฝนทิ้งช่วงและฤดูxxxxไม่มีน้้า เพียงพอต่อการเกษตรและน้้าอุปโภคโดยเฉพาะน้้าดิบส้าหรับผลิตน้้าปะปา)
2. ขุดลอกตะกอนดินในแม่น้้าเสียวใหญ่ แม่น้้าเสียวน้อยและแม่น้้าเตาตลอดล้าน้้า พร้อมมีการบดอัด คันดินริมฝั่งแม่น้้าให้แข็งแรงได้มาตราฐาน
3. พัฒนาพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ให้มีระบบชลประทานxxxxxxxxxx พร้อมมีระบบควบคุมน้้าป้องกันและ xxxxxxxxxxอุทกภัยและภัยxxxx
4. ศึกษาวิจัยพืชเศรษฐกิจใหม่ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ในทุ่งกุลาร้องไห้ นอกเหนือจากxxxxxxxมะลิ หรือข้าวขาวดอกมะลิ 105 พร้อมศึกษาระบบตลาดพืชเศรษฐกิจใหม่
5. การพัฒนาxxxxxxxxxxขาวดอกมะลิ 105 หรือxxxxxxxxxxxxxxหรับปลูกในฤดูxxxxxxหรือปลูกนอกฤดูนา ปี เพื่อxxอัตตลักษณ์ทุ่งกุลาร้องไห้
6. เปิดเส้นทางหรือขยายทางเดินน้้าในจุดที่เป็นอุปสรรคการไหลxxxxxxx เพื่อรองรับการไหลxxxxxxxที่มี มากขึ้นโดยเฉพาะในช่วงน้้าท่วม ท้าให้ระบายน้้าหรือน้้าไหลได้สะดวกและระยะเวลาน้้าท่วมขังลดลง
7. สิ่งที่ควรพิจารณาในการจัดท้าแผนการปรับตัวของชุมชนในระดับxxxxxxxxต่อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ
1. กระบวนการการจัดท้าแผนการปรับตัวระดับชุมชนต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ควรเริ่มต้นพูดคุย xxxxxxxxxความเสี่ยงต่อวิถีการด้ารงชีพ (livelihood) และกิจกรรมของชุมชนเป็นหลัก เนื่องจากวิถีการด้ารงชีพของ ประชาชนจะมีความxxxxxxxxกับสภาพภูมิอากาศ และประชาชนจะมีความxxxxxxxกับเรื่องดังกล่าว
2. การด้าเนินเรื่องแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศไม่ควรแยกแผนงาน\โครงการปรับตัวตัว ออกมาเป็นxxxxxxxxxxxxxเป็นเอกเทศ แต่ควรอยู่ภายใต้xxxxxxxxxxการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน (xxxxxxxxxx การพัฒนาด้านสาธารณูปโภคและแหล่งน้้า) หรือxxxxxxxxxxการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ หรือxxxxxxxxxxการพัฒนา ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม เพียงแต่ภายใต้xxxxxxxxxxดังกล่าวควรผนวกและตระหนักเรื่องการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศเข้าไปด้วย
3. บุคคลากรที่มีส่วนส้าคัญในการผลักดันxxxxxxxxxxขององค์การxxxxxxส่วนท้องถิ่นได้แก่ สมาชิกสภา องค์กรปครองส่วนท้องถิ่น (สอปท) ปลัดอปท นายก อปท. และเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน
4. การจัดท้าแผนการปรับตัวของชุมชนในระดับxxxxxxxx ควรเน้นการจัดการเป็นระบบร่วมกันหลายชุมชน หรือมองแผนการปรับตัวในระดับลุ่มน้้าย่อย เนื่องจากกลไกในการแก้ปัญหาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิกาx xxxเกี่ยวข้องกับโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งเกินxxxxxxงบประมาณและองค์ความรู้ในระดับองค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่น แต่ อาจด้าเนินการได้หากมีความร่วมมือกันหลายๆ อปท. หรืออาจต้องอาศัยความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกหรือ ระดับที่สูงกว่า
8. ข้อเสนอแนะในการรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในพื้นที่xxxxx
xxจากการศึกษาความเสี่ยง การเปิดรับ ความไวต่อผลกระทบ และกลไกในการรับมือ /ปรับตัวในปัจจุบัน และในxxxxx ภาพฉายการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในลุ่มน้้าเสียวใหญ่ในxxxxx และ ภาพฉายการเปลี่ยนแปลง ระบบการผลิต ภาวะเศรษฐกิจ -สังคมพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ในxxxxx ทีมวิจัยมีข้อเสนอแนะในการรับมือต่อการ เปลี่ยนแปลงในxxxxx ดังนี้
1. ในxxxxx พื้นที่ปลูกข้าวนาปีมีโอกาสxxxxxxxxxต่อการเกิดน้้าท่วมมากกว่าปัจจุบัน ดังนั้นควรมีการ xxxxxxสภาพน้้าท่วม โดยใช้ข้อมูลภูมิอากาศ จากแบบจ้าxxxxxxxอากาศระดับxxxxxxxหลายแบบxxxxxx ท้าการ xxxxxxสภาพน้้าท่วมโดยค้านึงถึงระดับน้้าท่วมในแต่ละช่วงเวลา โอกาสและความถี่ของเกิดน้้าท่วม น้าผลดังกล่าว มาช่วยในการด้าเนินการวางแผนและจัดระบบการปลูกข้าวในพื้นที่ เพื่อลดการเปิดรับของพื้นที่และลดผลกระทบ ลดความเสี่ยงในการปลูกข้าวนาปีและต้นทุนของเกษตรกร หากพื้นที่ใดมีความเสี่ยงน้้าท่วมและมีความถี่สูง เกษตรกรอาจปรับเปลี่ยนพันธุ์ข้าวปลูกให้เหมาะสมกับช่วงเวลาการเกิดน้้าท่วม แต่ยังxxอัตตลักษณ์xxxxxxxมะลิ
ทุ่งกุลาร้องไห้ โดยการน˚าสายพน
ธ์ุxxxxxxxมะลท
ี่ปลกทง้ ในฤดการนาปี และxxxxxx อาทิ xxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
xxxxxxใหม่ "IR77924-62-71-1-2" อายุประมาณ 130 วัน เก็บเกี่ยวก่อนน้้าท่วมและปลูกในฤดูxxxxxxxxx
2. ในบางปีที่ปริมาณฝนน้อยหรือxxxxxxน้อย การปลูกข้าวนาปีเกิดความเสี่ยงจากฝนทิ้งช่วงในฤดูการ xxxxxxxx ควรแนะน้าให้เกษตรกรท้าการหว่านข้าวแห้งร่วมกับวิธีการแกล้งข้าว (ให้น้้าแบบเปียกสลับแห้งในระยะ แตกกอ ใช้xxxxxxxสีxxxxxxxxแกมเขียวในการควบคุมวัชชพืช) หรือการตัดต้นข้าวในช่วงเดือนกรกฏาคม -xxxxxxxxx สิงหาคม ซึ่งมีเกษตรกรหลายพื้นที่ในภาคอีสานปฎิบัติกัน xxxxxxxxxxxx xxxต้องท้าการทดลองในพื้นที่ก่อนแนะน้า ให้เกษตรกรต่อไป
3. จากข้อมูลแบบxxxxxxการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในxxxxx ปริมาณน้้าฝนมีแนวโน้มxxxxxขึ้น แต่ก็มี ความxxxxxxxมากขึ้น ปีที่ฝนมีปริมาณต่้าสุด ปริมาณฝนจะน้อยกว่าในปัจจุบันถึง 10 เปอร์เซนต์ แต่ในปีที่ฝนมี ปริมาณสูงสุด ปริมาณฝนจะมากกว่าในปัจจุบันถึง 11.56 เปอร์เซนต์ ดังนั้นการปลูกข้าวจึงเสี่ยงทั้งน้้าท่วม ฝนxxxx และฝนทิ้งxxxxxxxxฤดู ในบางปีพื้นที่ปลูกxxxxxxโอกาสเสี่ยงต่อภัยxxxxในฤดูกาลxxxxxxxxข้าวxxxxกัน ดังเพื่อเป็น การลดความxxxxxxxxxกล่าว หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการให้ความรู้และฝึกอบรมการเฝ้าระวัง ติดตามการ พยากรณ์อากาศของกรมอุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตรแก่เกษตรกรอย่างต่อเนื่อง หน่วยงานทางวิชาการเองควรมี การศึกษาความxxxxxxxxของปรากฏการณ์เอนโซ่กับแบบแผนการตกของฝนในพื้นที่ เพื่อพยากรณ์อากาศการเกษตร ในระยะยาวที่มีความแม่นย้ามากขึ้น
4. การท้าxxxxxx ก่อนเริ่มมีการท้าxxxxxx พื้นที่ลุ่มน้้าเสียวใหญ่เองมีปัญหาเรื่องน้้าไม่พอใช้ทั้งการเกษตร อุปโภคและบริโภคเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว เนื่องจากทุกภาคส่วนใช้น้้าจากแม่xxxxxxxมาจากน้้าฝน น้้าในแม่น้้าเองจะxxxxxx
เฉพาะในฤดูฝน ไม่มีน้้าต้นทุนส้าหรับมาเติมในล้าน้้า เมื่อมีการท้าxxxxxxในพื้นที่ วิกฤตน้้าในพื้นที่มีมากขึ้น หาก การท้าxxxxxxxxยังxxท้าต่อไปอย่างหลีกเลี่ยงxxxxxxในxxxxx ทีมวิจัยมีข้อเสนอแนะเป็น 2 แนวทาง กล่าวคือ
แนวทางแรก กรณีอาศัยน้้าฝนอย่างเดียวหรือยังไม่มีน้้าต้นทุนจากภายนอกลุ่มน้้า หากต้องการท้าxxxxxx ชุมชนต้องมีการวางแผนการใช้น้้าโดยมีการก้าหนดขอบเขตพื้นที่xxxxxxตามปริมาณน้้าในแม่xxxxxxxเหลือจากภาค อุปโภคของชุมชน เกษตรกรที่ต้องมีการกักเก็บน้้าไว้ในไร่นาของเกษตรกรในช่วงฤดูฝน ปรับเปลี่ยนช่วงเวลาการท้า xxxxxxทันทีที่เก็บเกี่ยวข้าวนาปีหรือน้้าท่วมลดลง และปลูกข้าวโดยวิธีการแกล้งดิน
แนวทางที่สอง กรณีมีการผันน้้าจากแม่น้้าชีมาเติมในลุ่มน้้าเสียวใหญ่ กรมชลประทานและองค์กรxxxxxx สัวนxxxxxxxxต้องสร้างระบบชลประทานให้xxxxxxx xxxxxxxxxขยายพื้นที่ปลูกข้าวxxxxxxxxxมากขึ้น แต่ต้องค้านึงถึง ปริมาณน้้าต้นทุนในแต่ละปีด้วย
5. กรมวิชาการเกษตรควรน้าพืชตัวใหม่ เข้ามาทดสอบความเป็นไปได้ในเชิงเศรษฐกิจในพื้นที่ลุ่มน้้าเสียว ใหญ่ นอกเหนือจากxxxxxxxxการปลูกxxxxxxxมะลิเพียงอย่างเดียว จะช่วยลดความเสี่ยงของการปลูกข้าวภายใต้ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในxxxxx โดยเฉพาะพืชพลังงาน อาทิ ปลูกมันส้าปะหลัง /มันเทศหลังการเก็บ เกี่ยวข้าว ปลูกอ้อยบนพื้นที่xxxxx การท้าการเกษตรผสมผสาน
6. แผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในxxxxxxxx ควรเริ่มด้าเนินการตั้งแต่ในระดับชุมชน และด้าเนินการคู่ขนานไปกับแผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศระดับประเทศ
บทคัดย่อ
การศึกษาการปรับตัวของเกษตรกรxxxxxxxxxกุลาร้องไห้ต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1. ศึกษาxxxxxxxxxxxxต่อความเป็นอยู่ การด้ารงชีพ และกิจกรรมทางเศรษฐกิจในลุ่มน้้าเสียว ใหญ่ในปัจจุบัน 2. ศึกษาความเสี่ยงในวิถีการด้ารงชีพและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของxxxxxxxxxกุลาร้องไห้ภายใต้แรงขับดันของการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เศรษฐกิจและสังคมในxxxxx และ 3. xxxxxxxxxxxxxxxxของกลยุทธ์การปรับตัวของแต่ละ ชุมชนที่มีต่อชุมชนอื่น ด้าเนินการในกลุ่มต้าบล 5 ต้าบลประกอบด้วย 6 พื้นที่องค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่น (อปท.) ซึ่งอยู่ตอนกลางของลุ่มน้้าเสียวใหญ่ในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ วิธีการศึกษาประกอบด้วย 1. ประเมินสภาวะชนบท อย่างเร่งด่วน(RRA) 2. การจัดท้าภาพฉายการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในxxxxx 3. การจัดท้าภาพฉายการ เปลี่ยนแปลงระบบการผลิต ภาวะเศรษฐกิจและสังคมในxxxxx และ 4. การปฏิบัติการมีส่วนร่วมของประชาชน (PAR) จากทุกพื้นที่ศึกษาจ้านวน 11 ครั้ง มีผู้เข้าร่วมประชุมจ้านวน 178 คน ผลการศึกษาพบว่า
ลุ่มน้้าเสียวใหญ่ เป็นลุ่มxxxxxxxไม่มีแหล่งxxxxxxxxxxxxxxลุ่มน้้าอื่น น้้าในแม่น้้ามาจากน้้าฝนเป็นหลัก ชุมชนใน ลุ่มน้้านี้จึงมีความผูกพันกับทรัพยากรน้้าและใช้ประโยชน์จากแม่xxxxxxxxในการเกษตรและสาธารณูปโภค การเกษตร ใช้น้้าในการปลูกข้าวนาปีและxxxxxx เป็นแหล่งในการหาปลา จับสัตว์น้้า และเก็บพืชผักตามxxxxxxxxที่ขึ้นอยู่ใน และริมแม่น้้าในฤดูฝน การเลี้ยงปลาเชิงพาณิชย์ แหล่งน้้าส้าหรับปศุสัตว์ในฤดูxxxx เป็นแหล่งน้้าดิบในการผลิตน้้า ปะปา การปลูกผัก และจัดงานประเพณีแข่งเรือประจ้าปี ความxxxxxxxของสภาพภูมิอากาศ มีผลต่อความเป็นอยู่ การด้ารงชีพ และกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประชาชนในพื้นที่เป็นอย่างมาก
ระบบเกษตรของทุกชุมชนศึกษามีความเสี่ยงทั้งน้้าท่วมและฝนxxxx มีผลกระทบต่อผลผลิตข้าวเป็นอย่าง มาก แต่วิธีการที่ชุมชนด้าเนินการในปัจจุบันยังไม่มีประสิทธิภาพพอ ส่งผลให้ระบบการเกษตรของแต่ละชุมชนใน ปัจจุบันมีความเสี่ยงและความเปราะบางแตกต่างกันไป ระบบการเกษตรของต้าบลน้้าอ้อม ต้าบลเมืองบัว และ ต้าบลเกษตรวิสัย มีความเปราะบางสูงต่อต่อความxxxxxxxภูมิอากาศที่ผ่านมา ขณะที่ระบบการเกษตรของต้าบล หินกอง และต้าบลxxxxxxxxxx มีความเปราะบางปานกลางต่อความxxxxxxxภูมิอากาศ
ระบบการผลิต ภาวะเศรษฐกิจและสังคมพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ในxxxxx ยังxxเน้นการผลิตxxxxxxxมะลิเป็น หลัก ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในลุ่มน้้าเสียวใหญ่ในxxxxx ปริมาณฝนxxxxxขึ้น 12 เปอร์เซ๊นต์ อุณ ภูมิต่้าสุดและสูงสุดxxxxxขึ้นประมาณ 1 องศาเซลเซียล ท้าให้วิถีชีวิตของชุมชนและระบบเกษตรของทุกชุมชนยังตก อยู่ภายใต้ความเสี่ยงทั้งน้้าท่วม ฝนxxxx และอุณหภูมิที่สูงขึ้น ส่งผลกระทบต่อการxxxxxxxและผลผลิตxxxxxxxxxขึ้น กว่าปัจจุบัน ท้าให้ระบบเกษตรมีความเปราะบางมากกว่าปัจจุบัน อย่างไรก็ตามหากชุมชนไม่xxxxxxด้าเนินการ กลไกในการปรับตัวที่มีประสิทธิภาพก็จะท้าให้ระบบการเกษตรมีความเปราะบางสูงxxxxxxxขึ้น
การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของชุมชนที่มุ่งแก้ปัญหาเพียงชุมชนใดชุมชนหนึ่งในอดีต อาจ xxxxxxแก้ปัญหาหรือลดความเสี่ยงในพื้นที่ที่ตนเองรับผิดชอบ อาจกลับxxxxxความเสี่ยงและผลกระทบต่อชุมชน ใกล้เคียง แต่ ด้าเนินการร่วมกันหลายชุมชนและมีการมองภาพรวมทั้งระบบลุ่มน้้าจะน้าไปสู่การลดความเสี่ยง ลด ผลกระทบและการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศxxxxxกว่า ทั้งช่วยลดความขัดแย้งและประหยัดงบประมาณ นอกจากนี้ การวางแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในระดับชุมชนxxxxxxด้าเนินการควบคู่ร่วมกับ การวางแผนพัฒนาของชุมชนตามxxxxโดยxxxxxxxxxxxxxเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในxxxxxรวมอยู่ด้วย
บทที่ 1 บทนํา
1.1 ความเป็นมาและความสําคัญ
ทุ่งกุลาร้องไห้เป็นแหล่งผลิตxxxxxxxมะลิที่ให้คุณภาพดีที่สุดของประเทศ และได้ชื่อว่าเป็นแหล่งปลูกxxxx xxxมะลิที่ใหญ่เป็นอันดับหนึ่งของโลก มีพื้นที่ปลูกxxxxxxxมะลิ จํานวน 1,276,103 ไร่ หรือร้อยละ 60 ของพื้นที่ ทั้งหมด หรือร้อยละ 7.98 ของพื้นที่ปลูกxxxxxxxมะลิทั้งประเทศ (xxxxxxxx, 2005)
ทุ่งกุลาร้องไห้มีความเสี่ยงทั้งน้ําท่วมและภัยxxxxแตกต่างกันไปในแต่ละปี ผลการศึกษาโดยxxxxxxxและคณะ (2551) พบว่า พื้นที่เสี่ยงน้ําท่วมในทุ่งกุลาร้องไห้มีทั้งเสี่ยงน้อย เสี่ยงปานกลางและเสี่ยงมาก พื้นที่ที่เสี่ยงมากต่อ การเกิดน้ําท่วมจะอยู่ใกล้แม่น้ําเสียวใหญ่ แม่น้ําxxxxxxxและแม่น้ํามูล พื้นที่น้ําท่วมซ้ําซากส่วนใหญ่จะอยู่ในเขต อําเภอเกษตรวิสัย อําเภอxxxxxxxxxx อําเภอโพนทราย จังหวัดร้อยเอ็ด อําเภอราศีxxx จ.ศรีสะเกษ และอําเภอมหา ชนะชัย จ.ยโสธร สําหรับพื้นที่เสี่ยงภัยxxxxมีทั้งความเสี่ยงภัยxxxxน้อยและเสี่ยงภัยxxxxปานกลาง โดยที่พื้นที่เสี่ยง ภัยxxxxxxxxxxพื้นที่มากกว่าเสี่ยงปานกลาง อย่างไรก็ตามพบว่า พื้นที่เสี่ยงภัยxxxxซ้ําซากบริเวณทุ่งกุลาร้องไห้ ทั้งหมดอยู่ในระดับความรุนแรงต่ํา
ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในทุ่งกุลาร้องไห้มีxxxxxxxเกิดจากน้ําท่วมและภัยxxxx แตกต่างกันไปในแต่ละปีและแต่ละ พื้นที่ การรวบรวมข้อมูลการช่วยเหลือเกษตรกรxxxxxxรับความเสียหายโดยxxxxxxxxxxxxxxพิบัติในพื้นที่ในช่วงปี พ.ศ. 2545-2551 (xxxxxxx, 2553) พื้นที่เกิดภัยพิบัติในทุ่งกุลาร้องไห้มีแนวโน้มxxxxxขึ้น จากจํานวน 64,477 ไร่ ในปี พ.ศ.
2545 เป็นจํานวน 832,262 ไร่ ในปี พ.ศ.2551 พื้นที่ภัยพิบัติที่xxxxxขึ้นเกิดxxxxxxxxxxมากกว่าภัยน้ําท่วม โดยพื้นที่ ภัยxxxxดังกล่าวxxxxxขึ้นมากในพื้นที่อําเภอxxxxxxxxxx อําเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด และอําเภอราษีไศล อําเภอ xxxxลาด จังหวัดศรีสะเกษ โดยเฉพาะที่อําเภอxxxxxxภูมิ จังหวัดมหาสารคาม จะเป็นพื้นที่ที่เกิดภัยxxxxต่อเนื่องมา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 มาจนถึงปัจจุบัน และพื้นที่ประสบภัยxxxxมีแนวโน้มxxxxxขึ้น สําหรับพื้นที่ประสบภัยน้ําท่วม จะ แตกต่างกันไปในแต่ละปีxxxxกัน พื้นที่เกิดอุทกภัยจะเป็นพื้นที่ที่อยู่ใกล้แม่น้ํา อย่างไรก็ตาม แม้ว่าพื้นที่ไร่xxxxx ประสบภัยน้ําท่วมจะน้อยกว่าที่ประสบภัยxxxx แต่จํานวนครัวเรือนเกษตรกรที่ประสบภัยน้ําท่วมจะสูงกว่าจํานวน
ครัวเรือนที่ประสบภัยxxxx อาทิ ในปี พ
.ศ.
2551 ครัวเรือนเกษตรกรที่ประสบภัยxxxxมีจํานวน 54,135 ครัวเรือน
แต่มีครัวเรือนที่ประสบภัยน้ําท่วมถึงจํานวน 102,423 ครัวเรือน
ในรอบxxxxxxxxxผ่านมา ภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ บริเวฯทุ่งกุลาร้องไห้เป็นภัยxxxxจากฝน ทิ้งช่วงมากกว่าอุทกภัย ความxxxxxxxของภูมิอากาศทําให้xxxxxxxxxxxxxมะลิxxxxxxxxxxxละ 45.5 ของผลผลิต ทั้งหมด เกษตรกรตกอยู่ในสภาวะความเสี่ยงน้อย เสี่ยงปานกลาง และเสี่ยงxxx xxxเป็นร้อยละ 7.6 50.0 และ
42.4 ตามลําดับ เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่สภาพภูมิอากาศxxxx ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศทําให้
ครัวเรือนเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมากxxxxxขึ้น จากร้อยละ 29.6 เป็นร้อยละ 42.4 (xxxxxxx และคณะ, 2549) ความ
xxxxxxxของสภาวะภูมิอากาศที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งส่งผลให้เกษตรกรจํานวนร้อยละ 46.36 ประยุกต์ใช้xxxxxxxxxใน การปรับตัวต่อสภาพภูมิอากาศxxxxxxx
ปัจจุบัน แม้ว่าการรับมือกับความเสี่ยงของสภาพอากาศนั้น แต่ละชุมชน แต่ละพื้นท/ี่ อาจมีการดําเนินการ
ไปกันในระดับหนึ่งแล้ว แต่การดําเนินการดังกล่าวนั้นอาจแตกต่างกันไปตามแต่ละชุมชน ขึ้นกับเป้าหมายและ ข้อจํากัดต่างๆ ของแต่ละชุมชน อย่างไรก็ดี การดําเนินการของชุมชนหนึ่ง หรือภาคส่วนหนึ่ง อาจส่งผลถึงชุมชน อื่นหรือภาคส่วนอื่น โดยเฉพาะชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกันหรือใช้ทรัพยากรบางอย่างร่วมกัน หรือมีปฏิสัมพันธ์ ในทางอื่นๆ ในเชิงเศรษฐกิจและสังคม การดําเนินการเพื่อรับมือกับความเสี่ยงหรือการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ใน xxxxxนั้น หากดําเนินการโดยขาดความระวังก็อาจส่งผลให้ความเสี่ยงของพื้นที่ข้างเคียงxxxxxสูงขึ้นได้ ดังนั้น การ มองประเด็นการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศนี้ จึงจําเป็นต้องพิจารณาในบริบทเชิงพื้นที่ในลักษณะของ พื้นที่ที่มีขนาดที่แตกต่างกัน (Multiple scales) ทั้งนี้การศึกษานี้จะเน้นในการทําการศึกษากลุ่มตําบล ซึ่งเป็น หน่วยย่อยที่สุดในการกําหนดนโยบายชุมชนในกระบวนการxxxxxxส่วนท้องถิ่น เพื่อให้ได้มาซึ่งแนวคิดการมอง ประเด็นการรับมือกับความเสี่ยงจากสภาพอากาศxxxxxxxและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในมุมมองแบบองค์รวม
1.2 วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาบริบทของน้ําต่อความเป็นอยู่ การดํารงชีพ และกิจกรรมทางเศรษฐกิจในลุ่มน้ําเสียวใหญ่ใน ปัจจุบัน
2. เพื่อศึกษาความเสี่ยงในวิถีการดํารงชีพและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของxxxxxxxxxกุลาร้องไห้ภายใต้แรง ขับดันของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เศรษฐกิจและสังคมในxxxxx
3. เพื่อxxxxxxxxxxxxxxxxของกลยุทธ์การปรับตัวของแต่ละชุมชนที่มีต่อต่อชุมชนอื่น
1.3 ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. กลยุทธ์ แนวทางในการปรับตัวของแต่ละชุมชนและการปรับตัวร่วมกันของกลุ่มตําบลในลุ่มน้ําเสียวใหญ่
2. แผนชุมชนของแต่ละชุมชนxxxxxxปรับให้สอดคล้องกับความเปราะบางของชุมชน การเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ และเศรษฐกิจและสังคมในxxxxx
3. ข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการลุ่มน้ําเสียวใหญ่
บทที่ 2 วิธีการศึกษา
2.1 การคัดเลือกพื้นที่
การคัดเลือกพื้นที่ศึกษาใช้ข้ xxxxxxการวิเคราะห์พื้นที่xxxxxxxxและน้้าท่วมซ้้าซากของกรมพัฒนาที่ดิน และพื้นที่เสี่ยงภัยxxxxและน้้าท่วมของกรมชลประทาน ประกอบกับข้อมูลช่วยเหลือผู้ประสบภัยในพื้นที่ของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ภูมิxxxxxxxของพื้นที่และภูมิหลังของชุมชนตามสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่แตกต่าง xxxxxxนวน 6 พื้นที่องค์กรการxxxxxxส่วนท้องถิ่นในลุ่มน้้าเสียวใหญ่ที่อยู่ในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ ประกอบกับการลง ส้ารวจพื้นที่จริง
2.2 การสํารวจและเก็บข้อมูลความเสี่ยง ความxxxxxxในการปรับตัวของเกษตรกรในอดีต-ปัจจุบัน
การศึกษาความเสี่ยง ความไวต่อความเสี่ยง และการปรับตัวของเกษตรในพื้นที่ศึกษาระดับชุมชนดังกล่าว ด้าเนินการใน 2 ขั้นตอนคือ
ขั้นตอนแรก การส้ารวจและเก็บข้อมูลความเสี่ยง ความไวต่อความเสี่ยง ความxxxxxxในการปรับตัวของ เกษตรกรในชุมชนต่อผลกระทบจากสภาพอากาศผันแปรในอดีตถึงปัจจุบัน ใช้วิธีการประเมินสภาวะชนบทอย่าง เร่งด่วน (RRA) โดยการตั้งประเด็นค้าถามแบบปลายเปิด ด้าเนินสัมภาษณ์ตัวแทนเกษตรกร ผู้รู้และผู้น้าในชุมชน และตัวแทนบุคคลากรขององค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่น (องค์การบริหารส่วนต้าบลและหรือเทศบาลต้าบล) รวม จ้านวนทั้งสิ้น 120 คน เพื่อให้ได้ข้อสรุปเบื้องต้นเกี่ยวกับความเสี่ยง ความไวต่อความเสี่ยง ความxxxxxxในการ ปรับตัวของเกษตรกรในชุมชนต่อผลกระทบจากสภาพอากาศผันแปรในอดีตถึงปัจจุบัน อันเป็นข้อมูลxxxxxxไปสู่การ ด้าเนินการในขั้นตอนที่สองต่อไป
ขั้นตอนที่สอง ด้าเนินการจัดประชุมกลุ่มตัวแทนชุมชนพื้นที่ศึกษาทั้ง 6 ชุมชน ด้วยวิธีการปฏิบัติการมีส่วน ร่วมของประชาชน (PAR) ในแต่ละชุมชนศึกษา มีผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มทั้งหมดจ้านวน 107 คน เพื่อให้ทราบถึง บริบทของทรัพยากรน้้าต่อความเป็นอยู่ การด้ารงชีพ และกิจกรรมทางเศรษฐกิจในลุ่มน้้าเสียวใหญ่ และเพื่อสรุป ความเสี่ยง ความไวต่อความเสี่ยง และความxxxxxxในการปรับตัวของแต่ละชุมชนในปัจจุบัน
2.3 การจัดทําภาพฉายการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในxxxxx
จัดท้าภาพฉายการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในxxxxxจากแบบxxxxxxอากาศระดับโลก ECHAM4 ค้านวณ xxxxxรายละเอียดโดยโมเดลภูมิอากาศระดับxxxxxxx PRECIS ภายใต้สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนแปลง ก๊าซเรือนกระจกตามแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแบบ 2A ในพื้นที่ลุ่มน้้าชี-มูล ซึ่งเป็นลุ่มน้้าหลักของลุ่ม น้้าเสียวใหญ่ (ลุ่มน้้าเสียวใหญ่เป็นลุ่มน้้าสาขาหนึ่งของลุ่มxxxxxxx) ระหว่างช่วงปีปัจจุบัน พ.ศ. 2533-2552 และปี xxxxx พ.ศ. 2583-2602
2.4 การจัดทําภาพฉายทุ่งกุลาร้องไห้จากการเปลี่ยนแปลงระบบการผลิตภาวะเศรษฐกิจและสังคมในxxxxx
ภาพฉายทุ่งกุลาร้องไห้จากการเปลี่ยนแปลงระบบการผลิตภาวะเศรษฐกิจและสังคมในxxxxx ด้าเนินการ โดยการสังเคราะห์แผนxxxxxxxxxxเกี่ยวกับการด้าเนินงานในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ และปัจจัยอื่นที่เป็นแรงขับดันที่ ก่อให้xxxxxxxเปลี่ยนแปลงในxxxxx จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 แผนพัฒนาทุ่งกุลา ร้องไห้ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ xxxxxxxxxxกลุ่มจังหวัดและจังหวัดร้อยเอ็ด โครงการพัฒนาลุ่มน้้าเสียว ใหญ่ เป็นต้น
2.5 การจัดทําความเสี่ยงต่อวิถีการดํารงชีพ และกิจกรรมของชุมชนภายใต้แรงขับดันของการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ เศรษฐกิจ และสังคมในxxxxx
ด้าเนินการจัดประชุมกลุ่มตัวแทนชุมชนพื้นที่ศึกษาทั้ง 6 ชุมชน ด้วยวิธีการปฏิบัติการมีส่วนร่วมของ ประชาชน (PAR) ในแต่ละชุมชนศึกษา มีผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มจ้านวน 56 คน โดยนักวิจัยของโครงการฯ น้าเสนอ
1) ผลสรุปความเสี่ยง ความไวต่อความเสี่ยง และความxxxxxxในการปรับตัวของแต่ละชุมชนในปัจจุบัน 2) น้าเสนอภาพฉายการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในxxxxxจากแบบxxxxxxอากาศในxxxxxบริเวณลุ่มน้้าชี -มูลและลุ่ม น้้าเสียวใหญ่ และ 3) ภาพฉายทุ่งกุลาร้องไห้จากการเปลี่ยนแปลงระบบการผลิตภาวะเศรษฐกิจและสังคมใน xxxxx แก่ตัวแทนชุมชนพื้นที่ศึกษาทั้ง 6 ชุมชน โดยให้ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับความเสี่ยง xxxxxxxxxxการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของแต่ละชุมชนในxxxxx ตลอดจนแผน ชุมชนของแต่ละชุมชนxxxxxxปรับให้สอดคล้องกับความเปราะบางของชุมชน การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ และ เศรษฐกิจและสังคมในxxxxx
2.6 การจัดทําxxxxxxxxxxการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศร่วมกันของทุกชุมชนศึกษา
จัดท้าxxxxxxxxxxการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศร่วมกันของทุกชุมชนศึกษา โดยการจัดประชุม ร่วมของผู้น้าและตัวแทน อปท. และผู้รู้ในชุมชนขององค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่นที่ศึกษาทั้ง 6 แห่ง มีผู้เข้าร่วม ประชุมจ้านวน 15 คน พร้อมวิเคราะห์ช่องว่าง ( Gap analysis) และวิเคราะห์และประเมินสถานภาพ (SWAT analysis) แผนงานขององค์การบริหารส่วนต้าบล และจัดท้าข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการลุ่มน้้าเสียวใหญ่และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐาน
3.1 ข้อมูลทั่วไป
3.11 ลุ่มน้้าเสียวใหญ่
ลุ่มน้้าเสียวใหญ่เป็นหนึ่งในสองลุ่มน้้าหลักในทุ่งกุลาร้องไห้ บางส่วนของพื้นที่ลุ่มน้้าเสียวใหญ่จะxxxในเขต ทุ่งกุลาร้องไห้ ลุ่มน้้าเสียวใหญ่ประกอบด้วย 3 ลุ่มน้้าสาขาย่อย คือ ลุ่มน้้าย่อยล้าเสียวใหญ่ ลุ่มน้้าย่อยล้าเตา และ ลุ่มน้้าย่อยล้าเสียวน้อย แม่น้้าสายหลักของลุ่มน้้าคือ แม่น้้าหรือล้าเสียวใหญ่ ซึ่งมีพื้นที่ลุ่มน้้า 2,762 ตาราง กิโลเมตร แม่น้้าสาขาประกอบด้วย แม่น้้าหรือล้าเตา มีพื้นที่ลุ่มน้้า 870 ตารางกิโลเมตร และแม่น้้าหรือล้าเสียว xxxx xxพื้นที่ลุ่มน้้า 698 ตารางกิโลเมตร (ภาพที่ 3.1 ลุ่มน้้าและแม่น้้าสายหลักในทุ่งกลาร้องไห้)
ลุ่มน้้าเสียวใหญ่เป็นลุ่มน้้าสาขาหนึ่งของลุ่มxxxxxxxในภาคตะวันออกxxxxxxxxxxของประเทศไทย มีพื้นที่ลุ่ม น้้าประมาณ 4,330 ตารางกิโลเมตร มีความยาวตั้งแต่ต้นน้้าบริเวณอ่างเก็บน้้าหนองบ่อ จนถึงจุดจบแม่xxxxxxx ประมาณ 245 กิโลเมตร มีต้นก้าเนิดจากอ่างเก็บน้้าหนองบ่อ อ้าเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ไหลผ่าน อ้าเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม อ้าเภอปทุมรัตต์ อ้าเภอเกษตรวิสัย อ้าเภอxxxxxxxxxx อ้าเภอโพนทราย อ้าเภอxxxxxx จังหวัดร้อยเอ็ด และxxxxxแม่xxxxxxxที่บ้านดงแดง อ้าเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ขอบเขตของลุ่มน้้า ทิศเหนือติดต่อกับอ่างเก็บน้้าหนองบ่อ อ้าเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ทิศใต้ติดต่อกับ แม่xxxxxxxที่อ้าเภอxxxxลาด จังหวัดศรีสะเกษ ทิศตะวันออกติดต่อกับลุ่มน้้าชี ทิศตะวันตกติดต่อกับลุ่มxxxxxxxพัง xx พื้นที่ลุ่มน้้าเสียวxxxxxxxxในเขต 4 จังหวัด 16 อ้าเภอ ประกอบด้วย อ้าเภอบรบือ อ้าเภอวาปีปทุม อ้าเภอนาดูน อ้าเภxxxxxxxxxxxxxxx และอ้าเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม อ้าเภอเกษตรวิสัย อ้าเภอxxxxxxxxxx อ้าเภอโพน ทราย อ้าเภxxxxxxxxxx อ้าเภอจตุรพัตรพิมาน อ้าเภอเมืองสรวง อ้าเภอxxxxxx อ้าเภxxxxxxx จังหวัดร้อยเอ็ด อ้าเภอราษีไศล อ้าเภอxxxxลาด จังหวัดศรีสะเกษ และอ้าเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
สภาพxxxxxxxxxxของพื้นที่ลุ่มน้้าเสียวใหญ่ มีลักษณะแบบเนินลอนลาด (Rolling hill) มีระดับความสูงอยู่ ในช่วง 160-220 เมตรจากระดับน้้าทะเลปานกลาง (ม.รสทก.) พื้นที่xxxxxxxอยู่บริเวณด้านทิศตะวันตกในแนว เหนือ-ใต้ มีพื้นที่ราบอยู่บริเวณช่วงตอนกลางถึงตอนล่างของพื้นที่ลุ่มน้้า ความลาดชันของแม่น้้าเสียวใหญ่ซึ่งเป็น แม่น้้าสายหลัก บริเวณพื้นที่ตอนบนตั้งแต่อ่างเก็บน้้าหนองบ่อจนถึงฝายบ้านโคกกลาง มีความลาดชันประมาณ 1:1,500 บริเวณxxxxxxxxตั้งแต่บ้านโคกกลางจนถึงฝายยางบ้านท่าม่วง มีความลาดชันประมาณ 1:4,000 และช่วง ปลายของแม่น้้าจากฝายยางบ้านท่าม่วง จนถึงจุดxxxxxแม่xxxxxxx มีความลาดชันประมาณ 1:12,000 (กรม ชลประทาน, 2549)
3.12 การบริหารจัดการน้้า ในพื้นที่ลุ่มน้้าเสียวใหญ่
การบริหารจัดการน้้าในพื้นที่ลุ่มน้้าเสียวใหญ่แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ
1) โครงการส่งน้้าและxxxxxxรักษาลุ่มน้้าเสียวใหญ่ มีโครงการชลประทานรับผิดชอบ 36 โครงการ เป็น โครงการประเภทฝายตามแม่น้้าเสียวใหญ่ 24 ฝาย เป็นฝายขนาดเล็ก 10 ฝาย ตามแม่น้้าสาขา และอีก 2 โครงการคือ อ่างเก็บน้้าหนองบ่อ ความจุ 3.58 ล้านลูกบาศก์เมตร และอ่างหนองตุ -หนองแวง ความจุ 0.58 ล้าน
ลูกบาศก์เมตร พื้นที่ส่งน้้าของฝายตามแม่น้้าเสียวใหญ่ทั้ง 24 ฝาย มีจ้านวน 33,050 ไร่ ส่วนใหญ่ยังไม่มีระบบ ชลประทาน การใช้น้้าเกษตรโดยเอาเครื่องสูบน้้ามาสูบใช้เองจากหน้าฝายต่างๆ
2) โครงการชลประทานจังหวัด 3 จังหวัดคือ จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดร้อยเอ็ดและจังหวัดศรีสะเกษ เป็นผู้ดูแลบริหารจัดการอ่างเก็บxxxxxxxxxxxxของแม่น้้าสาขาxxxxxxxเสียวใหญ่ และพื้นที่ชลประทานที่รับผิดชอบ ของอ่างเก็บน้้าต่างๆ ท้าให้เกิดความไม่เป็นxxxxxxในด้านการบริหารจัดการปล่อยน้้าออกจากอ่างเก็บน้้าลงมา ตามแม่น้้าเสียวใหญ่
3) โครงการชลประทานสูบน้้าด้วยไฟฟ้าของกรมพัฒนาและxxxxxxxxพลังงาน(เดิม) จ้านวน 6 โครงการ พื้นที่ชลประทาน 8,133 ไร่
พื้นที่ส่งน้้าในปัจจุบันของลุ่มน้้าเสียวใหญ่ทั้งหมด 71,835 ไร่ แต่มีระบบชลประทานเพียง 38,885 ไร่ นอกจากนี้พื้นที่บางส่วนของโครงการส่งน้้าและxxxxxxรักษาลุ่มน้้าเสียวxxxxxxxxในพื้นที่ของโครงการพัฒนา
แหล่งxxxxxxxxกุลาร้องไห้เพื่อพัฒนาพื้นที่ปลูกxxxxxxxมะลิตามนโยบายรัฐบาล กรมชลประทานรับผิดชอบงาน ทางด้านงานวิศวกรรมร่วมกับกรมพัฒนาที่ดิน งานก่อสร้างในแม่xxxxxxxxxxxx หนองบึงและการปรับปรุงอ่างเก็บน้้า เดิมเป็นหน้าที่ของกรมชลประทาน กรมพัฒนาที่ดินจะรับผิดชอบxxxxระบายน้้าหรือxxxxส่งน้้าในพื้นที่ การเกษตรที่จะสร้างขึ้นใหม่
3.13 การจัดส่งน้้า การส่งน้้าในเขตพื้นที่ลุ่มน้้าเสียวใหญ่ แยกเป็น 2 ลักษณะคือ
1) พื้นที่ส่งxxxxxxxมีระบบชลประทาน
ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่รับน้้าจากอ่างเก็บน้้าโดยตรง โดยอ่างเก็บน้้าหนองบ่อและอ่างเก็บน้้าหนองตุ -หนองแวง อยู่ในความรับผิดชอบของโครงการชลประทานจังหวัดในพื้นที่ ส่วนอ่างเก็บน้้าขนาดเล็กอยู่ในความดูแลของ องค์การบริหารส่วนต้าบลหรือเทศบาลต้าบล
2) พื้นที่เกษตรน้้าฝน
พื้นที่เกษตรน้้าฝนภายในขอบเขตลุ่มน้้าเสียวใหญ่ โดยเฉพาะพื้นที่เกษตรที่อยู่ตามแม่น้้าเสียวใหญ่ซึ่งมีฝาย ทดน้้า 24 ฝาย ในพื้นที่ที่ไม่มีระบบชลประทาน
3.14 การบริหารจัดการน้้าของกลุ่มผู้ใช้น้้า
การบริหารจัดการน้้าของกลุ่มผู้ใช้น้้าในพื้นที่โครงการภายใต้ความรับผิดชอบของโครงการส่งน้้า และ xxxxxxรักษาโครงการพัฒนาลุ่มน้้าเสียวใหญ่ มีการจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้xxxxxxxอยู่ในพื้นที่รับประโยชน์จากฝายทั้ง 24 แห่ง มี จ้านวน 27 กลุ่มผู้ใช้น้้า ภาพรวมการบริหารจัดการกลุ่มผู้ใช้น้้าในพื้นที่โครงการฯส่วนใหญ่ เป็นกลุ่มผู้ใช้xxxxxxxยังxxx xxxxมีกิจกรรมในการบริหารจัดการน้้ามากนัก เนื่องจากปัญหาการขาดแคลนน้้าหรือมีปริมาณน้้าน้อย และขาด การดูแลระบบคูxxxxส่งน้้าท้าให้การได้รับประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานที่มีอยู่เดิมไม่มากนัก การใช้น้้า ผู้ใช้xxxx xxxxใหญ่จะใช้เครื่องสูบน้้าดึงน้้าจากแม่น้้าเสียวใหญ่เข้าสู่พื้นที่เกษตรของตนเอง หรือรวมกลุ่มครัวเรือนที่อยู่ ใกล้เคียงกันเพื่อสูบน้้าจากแม่น้้าเสียวใหญ่ โดยร่วมกันจ่ายค่าใช้น้้ามันที่ใช้ในการสูบน้้า รวมxxxxxxซ่อมแซมในกรณี xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxรุดเสียหาย
3.15 สภาพอุตุ-อุทกวิทยา
ปริมาณฝนเฉลี่ยในพื้นที่ลุ่มน้้าเสียวใหญ่ในช่วง 39 ปี (พ.ศ.2517-2546) เท่ากับ 1,211 มิลลิเมตรต่อปี เป็นปริมาณฝนที่ตกในช่วงฤดูฝน (พ.ค.-ต.ค.) 1,080 มิลลิเมตร และในช่วงฤดูxxxx (พ.ย.-เม.ย.) 131 มิลลิเมตร โดย มีค่าผันแปรของฝนในช่วง 30 ปี ตั้งแต่ 946-1,498 มิลลิเมตร
พื้นที่ลุ่มน้้าตอนบนทางทิศตะวันตกxxxxxxxxxx มีปริมาณฝนรายปีเฉลี่ยต่้าที่สุดประมาณ 1,000 มิลลิเมตร ต่อปี และมีปริมาณฝนสูงขึ้นตามพื้นที่ลุ่มน้้าตอนกลางและตอนล่าง ตามล้าดับ โดยบริเวณทางตอนล่างของลุ่มน้้า (ทิศตะวันออกxxxxxxxx) ตั้งแต่อ้าเภอxxxxxxxxxxและอ้าเภอโพนทรายลงมา มีค่าปริมาณฝนรายปีเฉลี่ย 1,300 มิลลิเมตรต่อปี
ปริมาณน้้าท่าทั้งลุ่มน้้าเฉลี่ยประมาณ 1,010 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ปริมาณน้้าท่าในช่วงฤดูฝน (พ.ค. - ต.ค.) 995 ล้านลูกบาศก์เมตร และในช่วงฤดูxxxx (พ.ย. -เม.ย.) 15 ล้านลูกบาศก์เมตร โดยมีค่าผันแปรของฝน ในช่วง 30 ปี ตั้งแต่ 308-2,232 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี
3.16 การประกอบอาชีพ
ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพท้านาเป็นอาชีพหลัก คิดเป็นร้อยละ 95.59 ของจ้านวนครัวเรือนทั้งหมด มีครัวเรือนที่ ประกอบอาชีพเลี้ยงสัตว์เป็นอาชีพรองของครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 75.61 โดยสัตว์xxxxxxxxxส่วนใหญ่จะเป็นโคเนื้อ และมีกระบือบางส่วน
3.17 สภาพการเกษตร
เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่ของลุ่มน้้าเสียวใหญ่มีข้อจ้ากัดด้านน้้าและดิน ท้าให้เกษตรส่วนใหญ่ในพื้นที่ท้าการxxxxxxx เพียงครั้งเดียวในรอบปี ส่วนใหญ่ปลูกxxxxxxxมะลิหรือข้าวขาวดอกมะลิ105 พื้นที่ท้าการเกษตรแบ่งเป็น พื้นที่ท้า นา 2,197,472 ไร่ พื้นที่xxxxxxxไร่ 83,390 ไร่ ไม้ผลไม้ยืนต้น 18,255 ไร่ และทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และไร่xxxxxผสม 3,157 ไร่
3.2 พื้นที่ชุมชนศึกษา
การศึกษาด้าเนินการในพื้นที่ตัวแทนศึกษาจ้านวน 6 ชุมชน ตามพื้นที่การxxxxxxขององค์กรxxxxxx ส่วนท้องถิ่นในลุ่มน้้าเสียวใหญ่ที่อยู่ในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ พื้นที่ชุมชนศึกษาทั้งหมด ตั้งอยู่ในขอบเขตพื้นที่ของ 5 ต้าบล ดังนี้
1. องค์การบริหารส่วนต้าบลน้้าอ้อม ต้าบลน้้าอ้อม อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
2. องค์การบริหารส่วนต้าบลเกษตรวิสัย ต้าบลเกษตรวิสัย อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
3. องค์การบริหารส่วนต้าบลxxxxxxxxxx ต้าบลxxxxxxxxxx อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
4. เทศบาลต้าบลxxxxxxxxxx ต้าบลxxxxxxxxxx อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
5. เทศบาลต้าบลเมืองxxx xxxบลเมืองบัว อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
6. เทศบาลต้าบลหินxxx xxxบลหินกอง อ้าเภอxxxxxxxxxx จังหวัดร้อยเอ็ด
3.3. ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ชุมชนศึกษา
พื้นที่ศึกษาทั้ง 6 ชุมชนเป็นชุมชนที่มีพื้นที่อยู่ติดกัน ทั้งหมดอยู่ในลุ่มน้้าเสียวใหญ่ ประชากรของทุกชุมชน มีเชื้อสายไทยอีสาน ทุกชุมชน ศึกษาใช้ประโยชน์จากแม่น้้าเสียวใหญ่ร่วมกัน นอกจากนี้ บางชุมชนยังมีการใช้
ประโยชน์จากแม่น้้าสาขาของแม่น้้าหรือล้าเสียวใหญ่ที่ไหลผ่าน แม่น้้าสาขาได้แก่ แม่น้้าเตา แม่น้้าเสียวน้อย แม่น้้า กุดกู่
สถิติครัวเรือนและประชากร พื้นที่ชุมชนศึกษามีความแตกต่างกันของจ้านวนครัวเรือนและประชากร
องค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่นระดับเทศบาลจะมีจ้านวนครัวเรือนและประชากรสูงกว่าองค์การบริหารส่วนต้าบล (ตารางที่ 3.1) เทศบาลต้าบลxxxxxxxxxx องค์การบริหารส่วนต้าบลxxxxxxxxxx องค์การบริหารส่วนต้าบลเกษตรวิสัย เทศบาลต้าบลหินกอง เทศบาลต้าบลเมืองบัว และองค์การบริหารส่วนต้าบลน้้าอ้อม มีจ้านวนครัวเรือน 1,348 788 680 1,930 1,526 และ 823 ครัวเรือน และจ้านวนประชากร 4,785 3,282 2,572 5,970 5,756
3,787 คน ตามล้าดับ
ตารางที่ 3.1 จ้านวนครัวเรือนและประชากรในพื้นที่ศึกษา
ต้าบล/เทศบาล ปีพ.ศ. 2555 | จ้านวนครัวเรือน | จ้านวนประชากรคน |
เทศบาลต้าบลxxxxxxxxxx | 1,348 | 4,785 |
องค์การบริหารส่วนต้าบลxxxxxxxxxx | 788 | 3,282 |
องค์การบริหารส่วนต้าบลเกษตรวิสัย | 680 | 2,572 |
เทศบาลต้าบลหินกอง | 1,930 | 5,970 |
เทศบาลต้าบลเมืองบัว | 1,526 | 5,756 |
องค์การบริหารส่วนต้าบลน้้าอ้อม | 823 | 3,787 |
ที่มา: xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
รายได้และรายจ่ายของประชากร (ตารางที่ 3.2) พื้นที่ชุมชนศึกษามีรายได้เฉลี่ยอยู่ในช่วง 46,243-
70,512 บาทต่อคนต่อปี ประชากรในเขตเทศบาลต้าบลxxxxxxxxxx มีรายได้เฉลี่ยสูงสุด (70,512 บาทต่อคนต่อปี) ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนต้าบลน้้าอ้อมมีรายได้เฉลี่ยต่้าสุด ( 46,243 บาทต่อคนต่อปี) รายจ่ายของ ประชากร ประชากรในเขตเทศบาลต้าบลxxxxxxxxxx มีรายจ่ายเฉลี่ยสูงสุด (50,460 บาทต่อคนต่อปี) ประชากรใน เขตองค์การบริหารส่วนต้าบลน้้าอ้อมมีรายจ่ายเฉลี่ยต่้าสุด ( 46,243 บาทต่อคนต่อปี) รายได้เฉลี่ยที่เหลือจาก รายจ่ายเฉลี่ย พบว่า ประชากรในองค์การบริหารส่วนต้าบลxxxxxxxxxx มีรายได้เฉลี่ยเหลือจากรายจ่ายเฉลี่ยสูงกว่า ประชากรในเขตเทศบาลต้าบลxxxxxxxxxx (23 ,525 และ 20,052 บาทต่อคนต่อปี) ซึ่งมีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีสูงสุด
ประชากรในองค์การบริหารส่วนต้าบลน้้าอ้อม มีรายได้เฉลี่ยเหลือจากรายจ่ายเฉลี่ย 20 ,768 บาทต่อคนต่อปี
ประชากรในเทศบาลต้าบลเมืองxxx xxรายได้เฉลี่ยเหลือจากรายจ่ายเฉลี่ย 12 ,087 บาทต่อคนต่อปี ประชากรใน
องค์การบริหารส่วนต้าบลเกษตรวิสัยและเทศบาลต้าบลหินxxxxxรายได้เฉลี่ยเหลือจากรายจ่ายเฉลี่ย 18 ,589 และ
16,814 บาทต่อคนต่อปี
ครัวเรือนที่มีรายได้ตกเกณฑ์ตัวชี้วัดในปี พ.ศ. 2555 (30,000 บาท /คน/ปี) ของพื้นที่ศึกษา (ตารางที่ 3.3) ครัวเรือนในพื้นที่เทศบาลต้าบลเมืองxxx xxครัวเรือนที่มีรายได้ตกเกณฑ์ตัวชี้วัดในปี พ.ศ. 2555 คิดเป็นร้อยละ
2.75 ของครัวเรือนทั้งต้าบล องค์การบริหารส่วนต้าบลเกษตรวิสัยและองค์การบริหารส่วนต้าบลน้้าอ้อมมีครัวเรือน ที่มีรายได้ตกเกณฑ์ตัวชี้วัด คิดเป็นร้อยละ 0.24 เท่ากัน ส่วนเทศบาลต้าบลxxxxxxxxxx องค์การบริหารส่วนต้าบลxxxxx xxxxxและเทศบาลต้าบลหินกอง ไม่มีครัวเรือนที่มีรายได้ตกเกณฑ์ตัวชี้วัด
ตารางที่ 3.2 รายได้และรายจ่ายเฉลี่ยของประชากร
ต้าบล/เทศบาล ปีพ.ศ. 2555 | รายได้เฉลี่ย/คน/ปี(บาท) | รายจ่ายเฉลี่ย/คน/ปี(บาท) |
เทศบาลต้าบลxxxxxxxxxx | 70,512 | 50,460 |
องค์การบริหารส่วนต้าบลxxxxxxxxxx | 48,943 | 25,418 |
องค์การบริหารส่วนต้าบลเกษตรวิสัย | 46,545 | 27,956 |
เทศบาลต้าบลหินกอง | 62,797 | 45,983 |
เทศบาลต้าบลเมืองบัว | 46,393 | 34,306 |
องค์การบริหารส่วนต้าบลน้้าอ้อม | 46,243 | 25,475 |
ที่มา: xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
ตารางที่ 3.3 ครัวเรือนที่มีรายได้ตกเกณฑ์ตัวชี้วัดในปี พ.ศ. 2555 (30,000 บาท/คน/ปี)
ต้าบล/เทศบาล ปีพ.ศ. 2555 | จ้านวนครัวเรือน | %ของครัวเรือนในต้าบล |
เทศบาลต้าบลxxxxxxxxxx | 0 | 0.00 |
องค์การบริหารส่วนต้าบลxxxxxxxxxx | 0 | 0.00 |
องค์การบริหารส่วนต้าบลเกษตรวิสัย | 1 | 0.24 |
เทศบาลต้าบลหินกอง | 0 | 0.00 |
เทศบาลต้าบลเมืองบัว | 42 | 2.75 |
องค์การบริหารส่วนต้าบลน้้าอ้อม | 2 | 0.24 |
ที่มา: xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
3.4 การxxxxxxตัวของxxxxxxxในพื้นที่
การxxxxxxตัวของxxxxxxxในพื้นที่ศึกษา กรมพัฒนาที่ดินได้ท้าการศึกษาไว้ 4 ปี คือ ในปี พ.ศ. 2538 พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2547 และ พ.ศ. 2549 (ตารางที่ 3.5 และภาพที่ 3.1 ถึง 3.4) พบว่า ในพื้นที่ศึกษามีการxxxxxxของ xxxxxxx ผิวดินมีผลกระทบจากคราบเกลือทั้งคราบเกลือเล็กน้อย เกลือปานกลางและเกลือมาก ในช่วงxxxxxxxxx ผ่านxx xxxดินที่มีผลกระทบจากคราบเกลือมาก (พบคราบเกลือบนผิวดิน 10-50% ของพื้นที่) มีแนวโน้มลดลงจาก 5,679.88 ไร่ ในปี พ.ศ 2538 คงเหลือ 16.13 ไร่ ในปี พ.ศ 2549 ผิวดินที่มีผลกระทบจากคราบเกลือปานกลาง
พบคราบเกลือบนผิวดิน 1 - 10 % ของพื้นที่ มีแนวโน้มลดลงจาก 13,925.46 ไร่ ในปี พ.ศ 2538 คงเหลือ
5,045.61 ไร่ ในปี พ.ศ 2549 แต่ผิวดินที่มีผลกระทบจากคราบเกลือเล็กน้อย พบคราบเกลือบนผิวดิน <1% ของ
พื้นที่ มีแนวโน้มxxxxxขึ้นจาก 1,245.62 ไร่ ในปี พ.ศ 2538 เป็น 16,620.54 ไร่ ในปี พ.ศ 2549
ตารางที่ 3.4 การxxxxxxตัวของพื้นที่xxxxxxxใน 5 ต้าบลในปี พ.ศ. 2538 พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2547 และ พ.ศ. 2549
การxxxxxxตัวของพื้นที่xxxxxxx (ไร่) | พ.ศ. 2538 | พ.ศ. 2546 | พ.ศ. 2547 | พ.ศ. 2549 |
มีผลกระทบจากเกลือเล็กน้อย พบคราบเกลือบนผิวดิน < 1 ของพื้นที่ | 1,245.62 | 16,623.51 | 18,365.95 | 16,620.54 |
มีผลกระทบจากเกลือปานกลาง พบคราบเกลือบนผิวดิน 1 - 10 % ของพื้นที่ | 13,925.46 | 5,035.71 | 3,803.72 | 5,045.61 |
มีผลกระทบจากเกลือมาก พบคราบเกลือบนผิวดิน 10 - 50 % ของพื้นที่ | 5,679.88 | 16.14 | 4.28 | 16.13 |
ที่สูงที่มีชั้นหินเกลือรองรับอยู่ข้างล่าง | 2,697.6 | 2,749.07 | 2,278.08 | 2,799.37 |
ที่มา: แผนที่xxxxxxxจังหวัดร้อยเอ็ด กรมพัฒนาที่ดิน
การxxxxxxตัวของxxxxxxxจ้าแนกตามชุมชนพื้นที่ศึกษา (ตารางที่ 3.6-3.9) ในปี พ.ศ 2538 ทุกชุมชน ศึกษา พบผิวดินที่มีผลกระทบจากคราบเกลือมาก (พบคราบเกลือบนผิวดิน 10-50% ของพื้นที่ ) แต่ในปี พ.ศ. 2549 พบผิวดินที่มีผลกระทบจากคราบเกลือมาก เฉพาะในพื้นที่ต้าบลเกษตรวิสัยและต้าบลน้้าอ้อม ( 3.46 และ
12.67 ไร่ ตามล้าดับ)
ผิวดินที่มีผลกระทบจากคราบเกลือปานกลาง พบคราบเกลือบนผิวดิน 1 - 10 % ของพื้นที่ ในปี พ.ศ 2538 พบในทุกต้าบล แต่ในปี พ.ศ. 2549 ผิวดินที่มีผลกระทบจากคราบเกลือปานกลาง มีแนวโน้มลดลงในทุก พื้นที่ ยกเว้นในเขตต้าบลน้้าอ้อม (จาก 745.26 เป็น 1,338.35 ไร่)
ผิวดินที่มีผลกระทบจากคราบเกลือเล็กน้อย พบคราบเกลือบนผิวดิน <1% ของพื้นที่ ในปี พ.ศ 2538 มี เฉพาะในต้าบลน้้าอ้อมและหินกอง แตในปี พ.ศ 2549 ผิวดินที่มีผลกระทบจากคราบเกลือเล็กน้อย พบxxxxxxตัว ในทุกพื้นที่ศึกษา และมีการxxxxxxตัวxxxxxขึ้นประมาณ 12.34 เท่าตัว
การxxxxxxตัวของพื้นที่xxxxxxx (ไร่)\ต้าบล | ต้าบล xxxxxxxxxx | ต้าบล เกษตรวิสัย | ต้าบล เมืองxxx | xxxบล น้้าอ้อม | ต้าบล หินกอง | รวมพื้นที่ (ไร่) |
มีผลกระทบจากเกลือเล็กน้อย พบคราบเกลือบนผิวดิน < 1 ของ พื้นที่ | 0 | 0 | 0 | 1,017.86 | 227.76 | 1,245.62 |
มีผลกระทบจากเกลือปานกลาง พบคราบเกลือบนผิวดิน 1 - 10 % ของพื้นที่ | 1,776.53 | 1051.86 | 4,789.21 | 745.26 | 5,562.60 | 13,925.46 |
มีผลกระทบจากเกลือมาก พบคราบเกลือบนผิวดิน 10 - 50 % ของพื้นที่ | 676.59 | 2642.18 | 352.83 | 648.33 | 1,359.95 | 5,679.88 |
ที่สูงที่มีชั้นหินเกลือรองรับอยู่ ข้างล่าง | 419.13 | 1092.69 | 313.71 | 166.73 | 705.34 | 2,697.6 |
ที่มา: แผนที่xxxxxxxจังหวัดร้อยเอ็ด ปี พ.ศ. 2538 กรมพัฒนาที่ดิน
ตารางที่ 3.6 การxxxxxxตัวของพื้นที่xxxxxxxใน 5 ต้าบล ในปี พ.ศ. 2546
การxxxxxxตัวของพื้นที่xxxxxxx (ไร่)\ต้าบล | ต้าบล xxxxxxxxxx | ต้าบล เกษตรวิสัย | ต้าบล เมืองxxx | xxxบล น้้าอ้อม | ต้าบล หินกอง | รวมพื้นที่ (ไร่) |
มีผลกระทบจากเกลือเล็กน้อย พบคราบเกลือบนผิวดิน < 1 ของพื้นที่ | 1,968.37 | 3,436.81 | 4,705.70 | 1,182.64 | 5330.00 | 16,623.51 |
มีผลกระทบจากเกลือปานกลาง พบคราบเกลือบนผิวดิน 1 - 10 % ของพื้นที่ | 341.34 | 1,131.71 | 384.41 | 1,324.73 | 1853.52 | 5,035.71 |
มีผลกระทบจากเกลือมาก พบ คราบเกลือบนผิวดิน 10 - 50 % ของพื้นที่ | 3.46 | 12.68 | 16.14 | |||
ที่สูงที่มีชั้นหินเกลือรองรับอยู่ ข้างล่าง | 557.51 | 1,232.22 | 344.42 | 614.92 | 2,749.07 |
ที่มา: แผนที่xxxxxxxจังหวัดร้อยเอ็ด ปี พ.ศ. 2546 กรมพัฒนาที่ดิน
การxxxxxxตัวของพื้นที่xxxxxxx (ไร่)\ต้าบล | ต้าบล xxxxxxxxxx | ต้าบล เกษตรวิสัย | ต้าบล เมืองxxx | xxxบล น้้าอ้อม | ต้าบล หินกอง | รวมพื้นที่ (ไร่) |
มีผลกระทบจากเกลือเล็กน้อย พบคราบเกลือบนผิวดิน < 1 ของพื้นที่ | 2,215.42 | 3,768.81 | 4,731.49 | 1,770.26 | 5,879.97 | 18,365.95 |
มีผลกระทบจากเกลือปานกลาง พบคราบเกลือบนผิวดิน 1 - 10 % ของพื้นที่ | 140.14 | 1,150.46 | 349.11 | 764.11 | 1,399.90 | 3,803.72 |
มีผลกระทบจากเกลือมาก พบ คราบเกลือบนผิวดิน 10 - 50 % ของพื้นที่ | 3.46 | 0.82 | 4.28 | |||
ที่สูงที่มีชั้นหินเกลือรองรับอยู่ ข้างล่าง | 511.65 | 879.04 | 344.57 | 34.30 | 508.52 | 2,278.08 |
ที่มา: แผนที่xxxxxxxจังหวัดร้อยเอ็ด ปี พ.ศ. 2547 กรมพัฒนาที่ดิน
ตารางที่ 3.8 การxxxxxxตัวของพื้นที่xxxxxxxใน 5 ต้าบล ในปี พ.ศ. 2549
การxxxxxxตัวของพื้นที่xxxxxxx (ไร่)\ต้าบล | ต้าบล xxxxxxxxxx | ต้าบล เกษตรวิสัย | ต้าบล เมืองxxx | xxxบล น้้าอ้อม | ต้าบล หินกอง | รวมพื้นที่ (ไร่) |
มีผลกระทบจากเกลือเล็กน้อย พบคราบเกลือบนผิวดิน < 1 ของพื้นที่ | 1,977.40 | 3,448.98 | 4,693.09 | 1,169.74 | 5,331.33 | 16,620.54 |
มีผลกระทบจากเกลือปานกลาง พบคราบเกลือบนผิวดิน 1 - 10 % ของพื้นที่ | 333.88 | 1,120.31 | 403.50 | 1,338.35 | 1,849.57 | 5,045.61 |
มีผลกระทบจากเกลือมาก พบ คราบเกลือบนผิวดิน 10 - 50 % ของพื้นที่ | 3.46 | 12.67 | 16.13 | |||
ที่สูงที่มีชั้นหินเกลือรองรับอยู่ ข้างล่าง | 556.16 | 1,230.68 | 336.85 | 50.39 | 625.29 | 2,799.37 |
ที่มา: แผนที่xxxxxxxจังหวัดร้อยเอ็ด ปี พ.ศ. 2549 กรมพัฒนาที่ดิน
ภาพที่ 3.1 การxxxxxxตัวของxxxxxxxในพื้นที่ศึกษา ปี พ.ศ.2538
ภาพที่ 3.2 การxxxxxxตัวของxxxxxxxในพื้นที่ศึกษา ปี พ.ศ.2546
ภาพที่ 3.3 การxxxxxxตัวของxxxxxxxในพื้นที่ศึกษา ปี พ.ศ.2547
ภาพที่ 3.4 การxxxxxxตัวของxxxxxxxในพื้นที่ศึกษา ปี พ.ศ.2549
3.5 พื้นที่เสี่ยงภัยน้้าท่วมและภัยxxxx
พื้นที่เสี่ยงภัยน้้าท่วมของกรมชลประทาน (ตารางที่ 3.9 และภาพที่ 3.5) ทุกพื้นที่ศึกษามี ความเสี่ยงน้้า
ท่วมทั้งความเสี่ยงต่้า เสี่ยงปานกลาง และxxxxxxxxx จ้านวน 2,370.57 10,771.67 และ 11,044.16 ไร่ ตามล้าดับ ต้าบลเกษตรวิสัยและต้าบลหินxxxxxพื้นที่ที่มีความเสี่ยงน้้าท่วมสูงมากกว่าต้าบลที่เหลือ ( 5,101.32 และ 4,211.18 ไร่ ตามล้าดับ) ส่วนพื้นที่เสี่ยงปานกลางต่อการเกิดน้้าท่วม พบว่า ต้าบลเมืองxxxxxพื้นที่เสี่ยงปานกลางต่อการเกิด น้้าท่วมสูงสุด ( 3,861 ไร่) รองมาเป็นต้าบลหินกองและน้้าอ้อม และต้าบลxxxxxxxxxx (2,902.63 2,413.60 และ
1,301.35 ไร่ ตามล้าดับ)
ตารางที่ 3.9 พื้นที่เสี่ยงภัยน้้าท่วม ในพื้นที่ศึกษา
พื้นที่เสี่ยงภัยน้้าท่วม (ไร่) | ความเสี่ยงต่้า | ความเสี่ยงปานกลาง | ความxxxxxxxxx | รวม (ไร่) |
ต้าบลxxxxxxxxxx | 478.83 | 1301.35 | 1046.57 | 2,826.75 |
ต้าบลเกษตรวิสัย | 375.55 | 292.59 | 5101.32 | 5,769.46 |
ต้าบลเมืองบัว | 779.35 | 3861.50 | 655.02 | 5,295.87 |
ต้าบลน้้าอ้อม | 92.56 | 2413.60 | 30.07 | 2,536.23 |
ต้าบลหินกอง | 644.28 | 2902.63 | 4211.18 | 7,758.09 |
รวม (ไร่) | 2,370.57 | 10,771.67 | 11,044.16 |
ที่มา: พื้นที่เสี่ยงภัยน้้าท่วมของประเทศไทย กรมชลประทาน
พื้นที่เสี่ยงภัยxxxxของกรมชลประทาน (ตารางที่ 3.10 และภาพที่ 3.6) พื้นที่ชุมชนศึกษามีความเสี่ยงภัย xxxxในสองระดับคือ ความเสี่ยงต่้าและความเสี่ยงปานกลาง พื้นที่เสี่ยงภัยxxxxxxxมีความเสี่ยงต่้าและความเสี่ยงปาน กลางจ้านวน 10.316.36 และ 14,260.38 ไร่ ตามล้าดับ ต้าบลเกษตรวิสัยมีพื้นที่เสี่ยงภัยxxxxปานกลางสูงที่สุด (4,733.14 ไร่) รองลงมาเป็นต้าบลหินxxx xxxบลเมืองบัว และต้าบลxxxxxxxxxx (3387.73 2976.11 และ 2343.17 ไร่ ตามล้าดับ)
ตารางที่ 3.10 พื้นที่เสี่ยงภัยxxxx กรมชลประทาน
พื้นที่เสี่ยงภัยxxxx (ไร่) | ความเสี่ยงต่้า | ความเสี่ยงปานกลาง | รวม (ไร่) |
ต้าบลxxxxxxxxxx | 528.45 | 2343.17 | 2,871.62 |
ต้าบลเกษตรวิสัย | 1085.92 | 4733.14 | 5,819.06 |
ต้าบลเมืองบัว | 2478.44 | 2976.11 | 5,454.55 |
ต้าบลน้้าอ้อม | 1757.36 | 820.23 | 2,577.59 |
ต้าบลหินกอง | 4466.19 | 3387.73 | 7,853.92 |
รวม (ไร่) | 10,316.36 | 14,260.38 |
ที่มา: พื้นที่เสี่ยงภัยxxxxของประเทศไทย กรมชลประทาน
ภาพที่ 3.5 พื้นที่เสี่ยงภัยน้้าท่วมในพื้นที่ศึกษา
ภาพที่ 3.6 พื้นที่เสี่ยงภัยxxxxในพื้นที่ศึกษา
บทที่ 4 บริบทของทรัพยากรน้้าต่อความเป็นอยู่ การด้ารงชีพ และกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
เนื้อหาในบทนี้จะเน้นถึงบริบทของทรัพยากรน้้าต่อความเป็นอยู่ การด้ารงชีพและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ของแต่ละชุมชนศึกษาทั้ง 6 ชุมชน และสรุปภาพรวมบริบทของทรัพยากรน้้า รายละเอียดของเนื้อหาประกอบด้วย ประวัติความเป็นมา สภาพทั่วไปของชุมชน อาณาเขต แหล่งน้้า การใช้ประโยชน์จากแม่น้้า สภาพทางเศรษฐกิจ- สังคม ปัญหาของทรัพยากรน้้าในชุมชน และข้อเสนอแนะของชุมชน
4.1 องค์การบริหารส่วนต้าบลน้้าอ้อม ประวัติความเป็นมา
ต้าบลน้้าอ้อม ขึ้นอยู่กับการxxxxxxขององค์การบริหารส่วนต้าบลน้้าอ้อม อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัด ร้อยเอ็ด ได้ยกฐานะจากสภาต้าบลน้้าอ้อมเป็นองค์การบริหารส่วนต้าบลน้้าอ้อมเมื่อปี พ.ศ. 2539
สภาพทั่วไปของต้าบล
ต้าบลน้้าอ้อมมีพื้นที่ประมาณ 28.66 ตารางกิโลเมตร หรือ 17,913 ไร่ อยู่ทางทิศตะวันตกของอ้าเภอ เกษตรวิสัย ห่างจากตัวอ้าเภอประมาณ 8 กิโลเมตร ประกอบด้วย 9 หมู่บ้านได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านยางจ้อง หมู่ที่ 2
บ้านน้้าอ้อม หมู่ที่ 3 บ้านโนนจาน หมู่ที่ 4 บ้านน้้าอ้อม หมู่ที่ 5 บ้านหนองแวงน้อย หมู่ที่ 6 บ้านน้้าอ้อม หมู่ที่ 7
บ้านxxxxxxxxxxxxxx หมู่ที่ 8 xxxxxxxxหนองบัวพัฒนา และหมู่ที่ 9 บ้านส้มโฮงพัฒนา (ภาพที่ 4.1) อาณาเขตต้าบล
ต้าบลน้้าอ้อม มีขอบเขตติดต่อกับต้าบลต่างๆ ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต้าบลxxxxxxxx อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ทิศใต้ ติดต่อกับ ต้าบลก้าแพง อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต้าบลเกษตรวิสัย ต้าบลเมืองบัว อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต้าบลขี้เหล็ก ต้าบลxxxxxxxxx อ้าเภxxxxxxxxxx จังหวัดร้อยเอ็ด ลักษณะxxxxxxxxxx
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม เหมาะส้าหรับท้าการเกษตร พื้นที่ส่วนใหญ่ปลูกxxxxxxxมะลิ ในฤดูฝนเกิดน้้า ท่วมในหลายพื้นที่ของต้าบล
แหล่งน้้า
แหล่งน้้าประกอบด้วย แหล่งxxxxxxxxxxxxและแหล่งxxxxxxxสร้างขึ้น แหล่งxxxxxxxxxxxxประกอบด้วย แม่xxxx xxxห้วย 2 แห่ง หนองน้้า 7 แห่ง สวนแหล่งxxxxxxxสร้างขึ้น ประกอบด้วยฝาย 1 แห่ง บ่อน้้าตื้น 58 แห่ง xxxx 7 แห่ง หนองน้้า 2 แห่ง ประปาหมู่บ้าน 4 แห่ง ฝายยาง 1 ตัวอยู่ทางทิศตะวันออกของบ้านหนองแวงน้อย หมู่ที่ 5 และ
ฝายน้้าล้น 1 xxx xxxxอยู่ที่บ้านโนนจาน หมู่ที่ 3
ภาพที่ 4.1 ขอบเขตต้าบลน้้าอ้อม อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
แหล่งxxxxxxxxxxxxxxxxxxคัญคือ แม่น้้าเสียวใหญ่และแม่น้้าเตา แม่น้้าเสียวใหญ่ ไหลผ่านทางตอนบนติดกับ หมู่ที่ 1 บ้านยางจ้อง หมู่ที่ 3 บ้านโนนจาน หมู่ที่ 5 บ้านหนองแวงน้อย ส่วนแม่น้้าเตา ไหลผ่านทางตอนล่างของ ต้าบลติดกับหมู่ที่ 3 แต่xxxxxxน้้าจากแม่น้้าเตามาใช้ประโยชน์ทางการเกษตรxxxxxxมากนัก เนื่องจากขาดxxxxส่ง น้้าเข้าไปในพื้นที่การเกษตร ปริมาณน้้าฝนมีมากในฤดูฝนท้าให้น้้าล้นตลิ่งก่อให้เกิดน้้าท่วมสร้างความเสียหายให้กับ พื้นที่เกษตรมาโดยตลอด xxxxxxxxxxxxxxน้ามาใช้ประโยชน์xxxxxx หนองน้้าผิวดินหลายแห่งใช้เป็นแหล่งน้้าดิบในการ ท้าน้้าปะปา อาทิ หนองส้าโรง
การใช้ประโยชน์จากแม่น้้าเสียวใหญ่และแม่น้้าเตา
ชุมชนในต้าบลน้้าอ้อมใช้ประโยชน์จากแม่น้้าเสียวใหญ่และแม่น้้าเตาใน 5 ประการคือ
1. การเกษตร การท้าการเกษตรแบ่งออกเป็นนาปีและxxxxxx
นาปี หมู่บ้านxxxxxxรับประโยชน์จากแม่น้้าเสียวใหญ่โดยตรงในการท้านาปีได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านยางจ้อง หมู่ที่
2 บ้านน้้าอ้อม หมู่ที่ 4 บ้านน้้าอ้อม หมู่ที่ 5 บ้านหนองแวงน้อย และหมู่ที่ 8 xxxxxxxxหนองบัวพัฒนา ส่วนหมู่ที่ 3 บ้านโนนจาน ใช้น้้าจากแม่น้้าเตาในการท้าxxxx
xxxxxx หมู่บ้านที่อยู่ติดแม่น้้าเสียวใหญ่และแม่น้้าเตา เกษตรกรสูบน้้าจากแม่น้้าดังกล่าวในการท้าxxxxxx
การท้าxxxxxxในต้าบลน้้าอ้อมเริ่มมา 3 ปี (ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552/53 มาจนถึงปัจจุบัน) แต่ในปี พ.ศ. 2554/55 พื้นที่ การท้าxxxxxxลดลง พื้นที่ท้าxxxxxx ยังxxxxxxxxหมู่ 1, 3, และ 5 โดยในปี พ.ศ. 2552/53 พ.ศ.2552/53 และพ.ศ. 2552/53 พื้นที่ปลูกข้าวxxxxxxมีจ้านวน 200 681 และ 742 ไร่ ตามล้าดับ แต่พื้นที่เก็บเกี่ยวข้าวxxxxxxมีเพียง
ร้อยละ 100 40 และ 53.92 ของพื้นที่xxxxxxxxข้าวxxxxxx ตามล้าดับ ผลผลิตข้าวxxxxxxมีความแตกต่างกันใน
แต่ละปี ทั้งนี้ขึ้นกับปริมาณน้้าในแม่น้้าเสียวใหญ่และล้าน้้าสาขา กล่าวคือ ในปี พ.ศ. 2552/53 พ.ศ.2552/53 และ พ.ศ.2552/53 ผลผลิตข้าวxxxxxxเฉลี่ย 687 569 และ 863 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล้าดับ ดังตารางที่ 4.1 ถึง 4.3
2. น้้าปะปา ชุมชนใช้น้้าจากแม่น้้าเป็นแหล่งน้้าดิบในการท้าน้้าปะปาหมู่บ้าน โดยเฉพาะที่หมู่ที่ 1, 3 และหมู่ที่ 5 บางหมู่บ้านใช้หนองน้้าผิวดินเป็นแหล่งน้้าดิบในการท้าน้้าปะปา อาทิ หนองส้าโรง
3. การประมง ในฤดูฝน ประชาชนบางส่วนในชุมชนใช้แม่น้้า เป็นแหลงในการหาปลาและจับสัตว์น้้าอื่น เพื่อน้ามาเป็นอาหารในครัวเรือนและจ้าหน่าย และในชุมชนหมู่ที่ 1 บ้านยางxxxxxxเกษตรกรจ้านวน 4 ราย เลี้ยง ปลาเชิงพาณิชย์ ใช้ประโยชน์จากแม่น้้าในการเลี้ยงปลา โดยการสูบน้้าจากแม่น้้าเสียว ใหญ่มาใช้ใส่ไว้ในบ่อxxxน้้า
4. อาหารxxxxxxxx ในฤดูฝน ประชาชนที่อยู่ใกล้แม่น้้าจะเก็บพืชผักที่ขึ้นอยู่ตามริมตลิ่งและในแม่น้้า อาทิ xxxxxxx หอย xxxx ปู ปลา และเฟิรน์ (xxxxxx)
5. การเลี้ยงสัตว์ ใช้น้้าจากแม่น้้าเสียวใหญ่และแม่น้้าเตาเป็นแหล่งน้้าดื่มให้แก่วัวควายในฤดูxxxx แต่
ในช่วง 3 -5 ปีที่ผ่านมา ในฤดูxxxx น้้าในแม่น้้าเสียว ใหญ่และแม่น้้าเตาไม่มีน้้า(แห้ง) ประสบปัญหาขาดแคลนน้้าให้ สัตว์เลี้ยง (วัวควาย)
อย่างไรก็ตาม ทุกปีน้้าในแม่น้้าเสียวใหญ่และแม่น้้าเตาจะไม่มีน้้า ( แห้งเขิน) ในช่วงหลังจากเดือนธันวาคม ไปแล้วและxxxxxxอีกครั้งหนึ่งเมื่อมีฝนตกในปีต่อมา ประมาณเดือนพฤษภาคม ยกเว้นบริเวณที่มีการสร้างฝายหรือ บริเวณที่ลึกของแม่น้้า อาทิ xxxxxxxx xxxxxxx xxxxxxxxxเหลืออยู่
สภาพทางเศรษฐกิจ-สังคม
อาชีพ ประชากรส่วนใหญ่ของต้าบลน้้าอ้อมประกอบอาชีพด้านการเกษตรแทบทุกครัวเรือน โดยการท้า นาปีเป็นหลัก ปลูกxxxxxxxมะลิ หลังเสร็จสิ้นฤดูกาลท้านา เกษตรกรบางส่วนจะอพยพเข้าเมืองเพื่อหางานท้า
ผลผลิตข้าวเฉลี่ย 300-400 กิโลกรัมต่อไร่ พื้นที่นาจะประสบปัญหาน้้าท่วมไร่นาบ่อยครั้ง เกษตรกรในพื้นที่ต้าบล น้้าอ้อมปลูกxxxxxxxมะลิ เป็นอาชีพหลัก อาชีพรอง/เสิรมคือ เลี้ยงโค เลี้ยงกระบือ เลี้ยงไหม เลี้ยงปลา และแปร รูปข้าวเม่า
สังคม ต้าบลน้้าอ้อมมีจ้านวนหลังคาเรือน 823 หลังคาเรือน จ้านวนประชากรทั้งสิ้น 3,787 คน เป็นชาย จ้านวน 1,870 คน หญิงจ้านวน 1,917 คน ความxxxxxxxของประชากรเฉลี่ย 174.56 คนต่อตารางกิโลเมตร
ปัญหาของทรัพยากรน้้าในชุมชน
1. แม่น้้าเสียวใหญ่และแม่น้้าเตาตื้นเขิน และไม่มีแหล่งกักเก็บน้้า ในฤดูxxxxจะขาดแคลนน้้าใน การท้าน้้าปะปาของหมู่บ้าน
2. น้้าท่วมในฤดูฝน การเกิดน้้าท่วมในชุมชนต้าบลน้้าอ้อมจะเกิดเป็นประจ้าในพื้นที่ทางทิศ ตะวันออกของต้าบลน้้าอ้อม หากเกิดน้้าท่วมจะส่งผลให้ผลผลิตข้าวเสียหายเกือบทั้งหมด
3. การขยายพื้นที่xxxxxx ท้าให้xxxxxxในแม่xxxxxxxxxxxxxxต่อการท้าน้้าปะปา และเกิดความ ขัดแย้งกันเองของประชาชนในชุมชน
ตารางที่ 4.1 พื้นที่ปลูกข้าวxxxxxxในพื้นที่ศึกษา
พื้นที่ปลูกข้าวxxxxxx(ไร่) | ปี พ.ศ.2552/53 | ปี พ.ศ.2553/54 | ปี พ.ศ.2554/55 |
ต้าบลxxxxxxxxxx | 474 | 2,554 | 2,769.75 |
ต้าบลเกษตรวิสัย | 361 | 1,284 | 748.75 |
ต้าบลหินกอง | 286 | 1,727 | 1,995 |
ต้าบลเมืองบัว | 492 | 4,500 | 4,165 |
ต้าบลน้้าอ้อม | 200 | 681 | 741.75 |
ที่มา: ส้านักงานเกษตรอ้าเภอเกษตรวิสัยและxxxxxxxxxx
ตารางที่ 4.2 พื้นที่เก็บเกี่ยวข้าวxxxxxxในพื้นที่ศึกษา
พื้นที่เก็บเกี่ยวข้าวxxxxxx(%) | ปี พ.ศ.2552/53 | ปี พ.ศ.2553/54 | ปี พ.ศ.2554/55 |
ต้าบลxxxxxxxxxx | 0 | 50.00 | 36.10 |
ต้าบลเกษตรวิสัย | 0 | 30.00 | 26.71 |
ต้าบลหินกอง | 0 | 60.00 | 25.06 |
ต้าบลเมืองบัว | 0 | 60.00 | 24.01 |
ต้าบลน้้าอ้อม | 0 | 40.00 | 53.92 |
ที่มา: ส้านักงานเกษตรอ้าเภอเกษตรวิสัยและxxxxxxxxxx
ตารางที่ 4.3 ผลผลิตข้าวxxxxxxในพื้นที่ศึกษา
ผลผลิตข้าวxxxxxx(กก./ไร่) | ปี พ.ศ.2552/53 | ปี พ.ศ.2553/54 | ปี พ.ศ.2554/55 |
ต้าบลxxxxxxxxxx | 857 | 680 | 517 |
ต้าบลเกษตรวิสัย | 780 | 602 | 577 |
ต้าบลหินกอง | 690 | 551 | 620 |
ต้าบลเมืองบัว | 895 | 539 | 598 |
ต้าบลน้้าอ้อม | 000 | 000 | 000 |
ที่มา: ส้านักงานเกษตรอ้าเภอเกษตรวิสัยและxxxxxxxxxx
4.2 องค์การบริหารส่วนต้าบลเกษตรวิสัย ประวัติความเป็นมา
ต้าบลเกษตรวิสัย อยู่ห่างจากจังหวัดร้อยเอ็ดไปทางทิศใต้ประมาณ 47 กม. ในอดีตเป็นชุมชนของขอม เก่าแก่มาแต่โบราณ มีหลักฐานโบราณวัตถุเป็นที่ปรากฏคือ กู่กาโดน ตั้งอยู่ในบริเวณวัดธาตุ กระทั่งปี พ.ศ. 2416 อุปราชเหง้าแห่งเมืองxxxxxxxxxx พร้อมบริวาร ได้น้าผู้คนจากเมืองxxxxxxxxxx จ้านวน 4,800 คน มาตั้งเมืองเกษตร วิสัย ซึ่งได้รับโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม จากรัชกาลที่ 5 ให้อุปราชเหง้าเป็นเจ้าเมือง โดยพระราชทานxxxxxx “xxxxxxxxxตราxxxxx” และเป็นxxxxxxxxxxxxxxxxxxมาจนถึงปัจจุบัน ต่อมาได้มีการเปลี่ยนชื่อเมืองเกษตรวิสัย เป็น อ้าเภอหนองแวง แต่ภายหลังxxxxxxxxxใช้ชื่อเกษตรวิสัยเหมือนเดิม เพราะxxxxxxเป็นxxxxนาม โดยมีนายแก้ว xxxx xxxx เป็นก้านันคนแรก
สภาพทั่วไปของต้าบล
ต้าบลเกษตรวิสัยเป็นต้าบลหนึ่งของอ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของอ้าเภอ ระยะทางห่างจากตัวอ้าเภอประมาณ 2 กิโลเมตร ต้าบลเกษตรวิสัยมีเนื้อที่ประมาณ 60.12 ตารางกิโลเมตร
หรือ 37,575 ไร่ จ้านวนหมู่บ้าน 16 หมู่บ้านคือ 1) หมู่ที่ 2 คุ้มวัดธาตุ 2) หมู่ที่ 3 บ้านหนองแวง 3) หมู่ที่ 4 บ้าน
ป่ายาง 4) หมู่ที่ 5 บ้านหนองส้าว 5) หมู่ที่ 6 บ้านสะแบง 6) หมู่ที่ 7 บ้านโพนโพธิ์ 7) หมู่ที่ 8 บ้านxxxxxพัฒนา 8)
หมู่ที่ 9 บ้านหนองแวง 9) หมู่ที่ 10 คุ้มป่าบาก 10) หมู่ที่ 11 บ้านโพนงอย 11) หมู่ที่ 12 บ้านหว้างาม 12) หมู่ที่
13 คุ้มโรงไฟฟ้า 13) หมู่ที่ 14 คุ้มน้อย 14) หมู่ที่ 15 บ้านป่ายาง 15) หมู่ที่ 17 บ้านโพนxxxxxxxx และ 16) หมู่ที่
18 บ้านประชาชื่น (ภาพที่ 4.2)
อาณาเขตต้าบล
ต้าบลเกษตรวิสัย มีอาณาเขตติดต่อกับต้าบลใกล้เคียงดังนี้
ทิศเหนือ ติดกับต้าบลเหล่าหลวง ต้าบลหนองแวง อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ทิศตะวันออก ติดกับต้าบลหินกอง อ้าเภอxxxxxxxxxx จังหวัดร้อยเอ็ด
ทิศใต้ ติดกับต้าบลเมืองxxx xxxบลxxxxxxxxxx อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ทิศตะวันตก ติดกับต้าบลน้้าอ้อม อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
ลักษณะxxxxxxxxxx
สภาพทั่วไปของพื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นทุ่งนา ปลูกxxxxxxxมะลิ และมีป่าละเมาะ แม่น้้า เสียวใหญ่ไหลผ่านทางทิศใต้และทิศตะวันตก ส่วนทิศเหนือและทิศตะวันออกมีแม่น้้าเสียวน้อยไหลผ่านท้าให้พื้นที่มี ความxxxxxxxxxxx
แหล่งน้้า
ประกอบด้วยแหล่งxxxxxxxxxxxxและที่สร้างขึ้น แหล่งxxxxxxxxxxxx ประกอบด้วย หนองน้้า บึง จ้านวน 14 แห่ง แหล่งxxxxxxxสร้างขึ้น ประกอบด้วย ฝายน้้าล้น 1 แห่ง บ่อน้้าตื้น 40 แห่ง xxxx 3 แห่ง บ่อบาดาล 20 แห่ง ประปาหมู่บ้าน 6 แห่ง
ภาพที่ 4.2 ขอบเขตต้าบลเกษตรวิสัย อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
แหล่งxxxxxxxxxxxxxxxxxxคัญคือ แม่น้้าเสียวใหญ่ แม่น้้าเสียวน้อย และล้ากุดกู่ ซึ่งไหลผ่านทางตอนล่างของ ต้าบล แต่น้าน้้ามาใช้ประโยชน์xxxxxxมากนัก เนื่องจากไม่มีที่กักเก็บน้้าไว้ใช้ฤดูxxxxและขาดxxxxส่งน้้าเข้าไปในพื้นที่ เกษตร ปริมาณน้้าฝนมีมากในฤดูฝนจึงไหลลงสู่แม่xxxxxxxไปหมด และบางครั้งก็ล้นตลิ่งสร้างความเสียหายให้กับ พื้นที่การเกษตร
หมู่บ้านที่xxxxxxใต้ดินมากในบางหมู่บ้านซึ่งเหมาะกับxxxxxxน้้ามาท้าการเกษตรในฤดูxxxx ได้แก่หมู่ที่ 5 บ้านหนองส้าว, หมู่ที่7 บ้านโพนโพธิ์, หมู่ที่12 บ้านหว้างาม, และ หมู่ที่17 บ้านโพนxxxxxxxx
หมู่บ้านที่อยู่ติดแม่น้้าเสียวใหญ่และแม่น้้ากุดกู่ซึ่งเป็นแม่น้้าสาขาของแม่น้้าเสียวใหญ่ มีจ้านวน 5 หมู่บ้าน คือ 1) หมู่ที่ 2 คุ้มวัดธาตุ 2) หมู่ที่ 9 บ้านหนองแวง 3) หมู่ที่ 10 คุ้มป่าบาก4) หมู่ที่ 13 คุ้มโรงไฟฟ้า 5) หมู่ที่ 14 คุ้มน้อย
หมู่บ้านที่ใช้ประโยชน์จากแม่น้้าเสียวใหญ่จ้านวน 13 หมู่บ้าน มีดังนี้ หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 4 หมู่
ที่ 5 หมู่ที่ 6 หมู่ที่ 8 หมู่ที่ 9 หมู่ที่ 10 หมู่ที่ 13 หมู่ที่ 14 หมู่ที่ 15 และหมู่ที่ 16
หมู่บ้านที่ใช้ประโยชน์จากแม่น้้ากุดกู่เป็นแม่น้้าสาขาจากล้าเสียวใหญ่ จ้านวน 9 หมู่บ้าน มีดังนี้ หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 9 หมู่ที่ 10 หมู่ที่ 13 หมู่ที่ 14 หมู่ที่ 16 และหมู่ที่ 18
การใช้ประโยชน์จากแม่น้้าเสียวใหญ่ แม่น้้ากุดกู่ และแม่น้้าเสียวน้อย ชุมชนต้าบลเกษตรวิสัยใช้ ประโยชน์จากแม่xxxxxxxx 3 ใน 6 ประการคือ
1. น้้าประปา การปะปาส่วนภูมิภาคอ้าเภอเกษตรวิสัยใช้น้้าจากแม่น้้าเสียวใหญ่มาเป็นน้้าดิบในการท้า น้้าประปาส่วนใช้ในทุกชุมชนของต้าบลเกษตรวิสัย ในปี พ.ศ.2554 ช่วงปลายเดือนมีนาคมจนถึงต้นเดือน พฤษภาคม ล้าน้้าเสียวใหญ่แห้ง น้้าขาดแคลน ไม่มีน้้าต้นทุนในการท้าน้้าประปา การประปาส่วนภูมิภาคต้องใช้น้้า บาดาลมาเสริม แต่xxxxxxxxxxxxเค็ม ชาวบ้านบางครัวเรือนต้องซื้อน้้าจากรถส่งน้้ามาใช้ในช่วงxxxxxxxxxx
ท้าxxxxxx การท้าxxxxxxในต้าบลเกษตรวิสัยเริ่มมาประมาณสามปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะ หมู่บ้านอยู่ติดแม่น้้าเสียว ได้แก่ หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 8 หมู่ที่ 9 หมู่ที่ 10 หมู่ที่ 14 และหมู่ที่ 16 บางราย
เลิกปลูกผักมาท้าxxxxxx แต่ส่วนใหญ่ท้าxxxxxxแล้วxxxxxxผลผลิต เพราะขาดน้้า โดยในปี พ.ศ. 2552/53 พ.ศ. 2552/53 และพ.ศ. 2552/53 พื้นที่ปลูกข้าวxxxxxxมีจ้านวน 361 1,284 และ 749 ไร่ ตามล้าดับ แต่พื้นที่เก็บ เกี่ยวข้าวxxxxxxมีเพียงร้อยละ 100 30 และ 26.71 ของพื้นที่xxxxxxxxข้าวxxxxxx ตามล้าดับ ผลผลิตข้าวxxxxxx มีความแตกต่างกันในแต่ละปี ทั้งนี้ขึ้นกับปริมาณน้้าในแม่น้้าเสียวใหญ่และล้าน้้าสาขา กล่าวคือ ในปี พ.ศ.
2552/53 พ.ศ.2552/53 และพ.ศ. 2552/53 ผลผลิตข้าวxxxxxxเฉลี่ย 780 602 และ 577 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล้าดับ ดังตารางที่ 4.1 ถึง 4.3
2. เลี้ยงปลา xxxxxxxxxxxxxปลาเชิงพาณิชย์ เป็นสระขนาด 5 ไร่ ปลาxxxxxxxxxได้แก่ ปลานิล ปลาดุก มีการ เลี้ยงปลามากที่หมู่ที่ 14 xxxxxxxxน้อย (26 ครัวเรือน) หมู่ที่ 13 xxxxxxxxโรงไฟฟ้า (7 ครัวเรือน) หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 9
จ้านวน 5 ครัวเรือน และหมู่ที่ 2 จ้านวน 1 ครัวเรือนซึ่งเป็นของเอกชน
3. ปลูกผัก ชาวบ้านมีทั้งปลูกผักเพื่อบริโภคและปลูกจ้าหน่ายในต้าบล ปริมาณไม่มากนัก ปลูกเป็น
อาชีพเสริม มีการปลูกตลอดปี โดยใช้น้้าจากสระในไร่นาและสูบน้้าจากล้ากุดกู่ แต่ส่วนใหญ่เป็นการปลูกผักริม แม่น้้ากุดกู่ หมู่ที่ 5 ปลูกผักจ้านวน 14 ครัวเรือน หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 9 หมู่ที่ 10 จ้านวน 2% ของครัวเรือน
4. การเลี้ยงสัตว์ ใช้น้้าจากแม่น้้าเสียวเป็นน้้าดื่มให้แก่วัวควายในฤดูxxxx แต่ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา แม่น้้า เสียวใหญ่เริ่มขาดแคลนน้้าในฤดูxxxx
5. งานประเพณีแข่งเรือ ชุมชนต้าบลเกษตรวิสัยรวมถึงเทศบาลต้าบลน้้าเสียว ใช้ล้ากุดกู่ในการจัดงาน
แข่งเรือระดับอ้าเภอเป็นประจ้าทุกปีมาตั้งแต่ในอดีต แต่ต้าบลนี้ไม่มีงานบุญบั้งไฟ
สภาพทางเศรษฐกิจ-สังคม
อาชีพ ประชากรในต้าบลเกษตรวิสัย ประกอบอาชีพด้านการเกษตรกรรมแทบทุกครัวเรือนโดยการท้า นาปีเป็นหลัก หลังจากสิ้นฤดูกาลท้านา เกษตรกรบางส่วนจะอพยพเข้าเมืองเพื่อหางานท้า xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx บริโภคในครอบครัวผลผลิตข้าวที่เหลือจากการบริโภคในครัวเรือนจะน้าไปจ้าหน่ายให้กับพ่อค้าคนกลาง ผลผลิต จากการท้านา 300-400 กิโลกรัมไ/ร่ ส่วนอาชีพรองและอาชีพเสริมคือ เลี้ยงไหม โค กระบือ ปลูกเห็ด ปลูกแตงโม และเลี้ยงปลา ฯลฯ
ประชากร ต้าบลเกษตรวิสัย มีจ้านวนครัวเรือน 680 ครัวเรือน ประชากรรวมจ้านวน 2,572 คน เพศชาย 1,272 คน เพศหญิง 1,300 คน ความxxxxxxxของประชากร 87.22 คนต่อตารางกิโลเมตร
ปัญหาของทรัพยากรน้้าในชุมชน
1. ขาดแคลนน้้าอุปโภคบริโภคในช่วงฤดูxxxx และขาดพื้นที่กักเก็บน้้าไว้ท้าการเกษตรในฤดูxxxxและฝน ฝน(ทิ้งช่วง)
2. การประปาส่วนภูมิภาคไม่มีการจัดหาแหล่งกักเก็บน้้าของตนเอง แต่ใช้น้้าจากแม่น้้าเสียวใหญ่เป็น หลัก โดยการสูบน้้าดิบจากพื้นที่ชุมชน ท้าให้มีผลกระทบต่อการท้าการเกษตรของคนในชุมชน
3. การแย่งน้้าเพื่อการอุปโภคบริโภค ปลูกผัก และการท้าxxxxxx
4. ปัญหาน้้าท่วมในพื้นที่ เนื่องจากคันxxxxxxxxxxxxxxมาตรฐาน บางแห่งสูง บางแห่งต่้า มีระดับไม่เท่ากัน มี จุดที่คันxxxxxxxxอยู่ในระดับต่้าชัดเจนเป็นระยะทางประมาณ 2 กม.ในเขตหมู่ที่ 3 หมู่ที่ 9 และหมู่ที่ 14 ส่งผลท้าให้ น้้าทะลักท่วมxxxxxของเกษตรกร
5. การขุดxxxxและการถมที่ดินเพื่อท้าคันxxxxxxxx ของหน่วยงานรัฐมีการท้าตามแบบที่ก้าหนดโดยไม่มี การปรับเปลี่ยนยืดหยุ่นการจัดการให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่จริง ขาดการมีส่วนร่วมของชุมชน ไม่รับฟัง ข้อเสนอแนะของชาวบ้านที่ให้ปรับปรุงแก้ไข ส่งผลให้xxxxและคันxxxxxxxxแก้ไขปัญหาน้้าท่วมและxxxxxxxxxxxxxx xxxxเป็นปัญหาและการด้าเนินการที่เกิดขึ้นซ้้าซากมาโดยตลอด
6. การบุกรุกถมคูxxxxxxxxเป็นที่ดินของตนเอง ท้าให้แม่น้้าเสียวไม่xxxxxxไหลผ่านไปxxx xxxxxxxxxx ด้านแม่น้้าเสียวและล้ากุดกู่หายไป เนื่องจากเกษตรกรบางส่วนถมxxxxยึดเป็นที่ดินของตนเอง
7. บานประตูปิดเปิดท่อระบายน้้าช้ารุด ท้าให้น้้าไหลผ่านxxxxxx หรือxxxxxxxxxxแต่ไหลออกxxxxxx
8. ขาดการเตรียมการป้องกันในช่วงเวลาที่เหมาะสม และขาดการxxxxxxงานร่วมกันของหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ท้าให้ไม่xxxxxxแก้ไขปัญหาการจัดการxxxxxxx xxxx หลังน้้าท่วม แม่น้้าเสียวแล้วจึงด้าเนินการอุดท่อล้า เสียว ซึ่งท้าxxxxxx
4.3 องค์การบริหารส่วนต้าบลxxxxxxxxxx ประวัติความเป็นมา
ต้าบลxxxxxxxxxx ตั้งอยู่บริเวณทุ่งกุลาร้องไห้ เดิมอยู่ในเขตการxxxxxxของต้าบลเมืองบัว จนเมื่อปี พ.ศ.
2518 ได้แยกการxxxxxxออกเป็นต้าบลใหม่ ใช้ชื่อว่า ต้าบลxxxxxxxxxx ก้านันxxxxxxคนแรกคือ นายบ่มศักดิ์ กลบ รัตน์ ปัจจุบันแบ่งการxxxxxxออกเป็น 13 หมู่บ้าน โดยอยู่ใน การบริหารของเทศบาลต้าบลxxxxxxxxxx 5 หมู่บ้าน และองค์การบริหารส่วนต้าบลxxxxxxxxxx 8 หมู่บ้าน
สภาพทั่วไปของต้าบล
ต้าบลxxxxxxxxxx ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกxxxxxxxxของอ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด อยู่ห่างจากตัวอ้าเภอ ประมาณ 9 กิโลเมตร ด้านทิศเหนือของต้าบลมีแม่น้้าเสียวใหญ่ไหลผ่านและมีป่าxxxxชื้น ทางด้านทิศใต้ พื้นที่ โดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบในลักษณะxxxxxxxxกว้างขนาดใหญ่ พื้นที่เหมาะส้าหรับการท้านาและการเกษตรกรรม สภาพ ดินเป็นดินทรายเก็บความชื้นได้น้อย ความxxxxxxxxxxxxxxxxxxxต่้า ไม่มีระบบชลประทานและแหล่งน้้าไม่xxxxxxx xxxมีปัญหาฝนxxxx(ทิ้งช่วง) น้้าท่วมในบางพื้นทิ่ ต้าบลxxxxxxxxxxมีพื้นที่ทั้งหมด 75.28 ตารางกิโลเมตร หรือ
47,052 ไร่ องค์การบริหารส่วนต้าบลxxxxxxxxxx ์มีพื้นที่ถือครองทั้งหมด 22,382 ไร่ เป็นพื้นที่ท้านา 21,774 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 97.28 ของพื้นที่ถือครองของอบต.xxxxxxxxxx ที่เหลือเป็นที่อยู่อาศัย นอกจากนี้ พื้นที่ของต้าบลxxx xxxxxxxอยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาลต้าบลxxxxxxxxxxประมาณ 8.3 ตารางกิโลเมตร หรือ 5,187.50 ไร่
หมู่บ้านในเขตรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนต้าบลxxxxxxxxxx มีจ้านวน 8 หมู่บ้านคือ 1) หมู่ที่ 5
บ้านต่องต้อน 2) หมู่ที่ 6 บ้านสงแคน 3) หมู่ที่ 7 บ้านหนองเบ็ญ 4) หมู่ที่ 8 บ้านม่วย 5) หมู่ที่ 10 บ้านม่วย 6)หมู่
ที่ 11 บ้านไตรตรึงษ์ 7) หมู่ที่ 12 บ้านน้อยพัฒนา 8) หมู่ที่ 13 บ้านสงแคน (ภาพที่ 3) อาณาเขตต้าบล
ต้าบลxxxxxxxxxx มีขอบเขตดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต้าบลเกษตรวิสัย อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
ทิศใต้ ติดต่อกับ ต้าบลดงครั่งxxxx xxxบลทุ่งเขาหลวง อ้าเภอxxxxxxxxxx จังหวัดร้อยเอ็ด ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต้าบลหินกอง อ้าเภอxxxxxxxxxx จังหวัดร้อยเอ็ด
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต้าบลเมืองบัว อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
ลักษณะxxxxxxxxxx
พื้นที่ทางทิศใต้ เป็นที่xxxxxxxxxxxxxxxxx ทิศเหนือเป็นที่สูง มีป่าไม้แบบป่าโปร่ง แต่จะมีต้นไม้ใหญ่ เฉพาะบริเวณเขตหมู่บ้านม่วยและหมู่บ้านสงแคน
ภาพที่ 4.3 ขอบเขตต้าบลxxxxxxxxxx อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
แหล่งน้้า
ประกอบด้วยแหล่งxxxxxxxxxxxx และแหล่งxxxxxxxสร้างขึ้น แหล่งxxxxxxxxxxxx ประกอบด้วยล้าน้้า ห้วย 3 สาย บึง หนอง และอื่นๆ 17 แห่ง แหล่งxxxxxxxสร้างขึ้น ประกอบด้วยฝายทดน้้า 1 แห่ง บ่อน้้าตื้น 15 แห่ง บ่อโยก 6 แห่ง อื่นๆ 8 แห่ง
หมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนต้าบลxxxxxxxxxxที่มีพื้นที่อยู่ติดหรือใกล้แม่น้้าเสียวใหญ่ มีจ้านวน 5
หมู่บ้านคือ 1) หมู่ที่ 5 บ้านต่องต้อน 2) หมู่ที่ 7 บ้านหนองเบ็ญ 3) หมู่ที่ 8 บ้านม่วย 4) หมู่ที่ 10 บ้านม่วย 5) หมู่
ที่ 11 บ้านไตรตรึงษ์
การใช้ประโยชน์จากน้้าในแม่น้้าเสียวใหญ่ใน 3 ประการคือ
1. การเกษตร
นาปี หมู่บ้านทั้งหมดxxxxxxรับประโยชน์จากแม่น้้าเสียวใหญ่โดยตรงในการท้านาปีได้แก่ 1) หมู่ที่ 5 บ้านต่อ
งต้อน 2) หมู่ที่ 7 บ้านหนองเบ็ญ 3) หมู่ที่ 8 บ้านม่วย 4) หมู่ที่ 10 บ้านม่วย 5) หมู่ที่ 11 บ้านxxxxxxxxx
xxxxxx เกษตรกรในพื้นที่ต้าบลxxxxxxxxxxเริ่มท้าxxxxxxในปี พ.ศ. 2551/52 ท้าxxxxxxมา 3-4 ปี xxxxxxxใช้ใน การท้าxxxxxx เกษตรกร สูบจากแม่น้้าเสียวใหญ่ เกษตรกรส่วนใหญ่ท้าประมาณ 5-12 ไร่ต่อครัวเรือน พื้นที่ท้านา ปรังรวมในแต่ละปีแตกต่างกัน โดยในปี พ .ศ.2552/53 พ.ศ.2552/53 และพ .ศ.2552/53 พื้นที่ปลูกข้าวxxxxxxมี จ้านวน 474 2,554 และ 2,770 ไร่ ตามล้าดับ แต่พื้นที่เก็บเกี่ยวข้าวxxxxxxมีเพียงร้อยละ 100 50 และ 36.1 ของพื้นที่xxxxxxxxข้าวxxxxxx ตามล้าดับ ผลผลิตข้าวxxxxxxมีความแตกต่างกันในแต่ละปี ทั้งนี้ขึ้นกับปริมาณน้้าใน แม่น้้าเสียวใหญ่และล้าน้้าสาขา กล่าวคือ ในปี พ.ศ.2552/53 พ.ศ.2552/53 และพ.ศ.2552/53 ผลผลิตข้าวxxxxxx เฉลี่ย 857 680 และ 517 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล้าดับ ดังตารางที่ 4.1 ถึง 4.3
2. เลี้ยงวัว-ควาย เกษตรกรใช้น้้าจากแม่น้้าเสียวใหญ่ ให้วัว-ควายดื่มในช่วงฤดูxxxx ต้าบลxxxxxxxxxxมี จ้านวนวัว-ควายทั้งหมดประมาณ 2,000 ตัว
3. อาหารxxxxxxxx ประชาชนเก็บผักที่ขึ้นอยู่ตามริมตลิ่งและในแม่น้้า อาทิ xxxxxxx หอย xxxx ปู ปลา
และเฟิรน์ (xxxxxx)
หมายเหตุ หมู่บ้านในพื้นที่ต้าบลxxxxxxxxxxที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนต้าบลxxxxxxxxxx มิได้ใช้น้้าจากล้าน้้าเสียวใหญ่เป็นแหล่งน้้าดิบส้าหรับผลิตน้้าประปา แต่ใช้น้้าบาดาลเป็นแหล่งน้้าดิบในการผลิต น้้าประปา (ประปาบาดาล) เนื่องจากตัวหมู่บ้านอยู่ไกลจากแม่น้้าเสียวใหญ่
สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม อาชีพ
ราษฎรส่่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้้านการเกษตรกรรม โดยการท้านาเป็นหลัก ผลผลิตข้าวโดยเฉลี่ย 410 กิโลกรัมต่อไร่ ่ นอกจากนี้ ยังมีอาชีพเสริมอื่นๆ xxxx การทอxxxxxx ทอผ้าฝ ้าย และการท้าเฟอนิเจอร์ ์ เลี้ยงสัตว์ ฯลฯ
สังคม องค์การบริหารส่วนต้าบลxxxxxxxxxxมีจ้านวนครัวเรือน 788 ครัวเรือน ประชากรจ้านวน 3,282 คน เป็นชาย 1,614 คน หญิง 1,668 คน ความxxxxxxxของประชากรเฉลี่ย 18.29 คนต่อตารางกิโลเมตร
4.4 เทศบาลต้าบลxxxxxxxxxx
ประวัติความเป็นมา
เทศบาลต้าบลxxxxxxxxxx มีพื้นที่อยู่ในพื้นที่ต้าบลxxxxxxxxxxxxxxเดียวกับองค์การบริหารส่วนต้าบลxxxxxxxxxx เทศบาลต้าบลxxxxxxxxxxตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกxxxxxxxxของอ้าเภอเกษตรวิสัย อยู่ห่างจากอ้าเภอเกษตรวิสัย 18 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดร้อยเอ็ด ประมาณ 62 กิโลเมตร เทศบาลต้าบลxxxxxxxxxx ได้รับการยกฐานะตาม พระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของxxxxxxxxเป็นเทศบาลในปี พ.ศ. 2542
สภาพทั่วไป
พื้นที่รับผิดชอบของเทศบาลต้าบลกู่กาสิงห์ประมาณ 8.3 ตารางกิโลเมตร หรือ 5,187.50 ไร่ ครอบคลุม พื้นที่จ้านวน 5 หมู่บ้านคือ หมู่ที่ 1 บ้านกู่กาสิงห์ หมู่ที่ 2 บ้านหนองเมืองแสน หมู่ที่ 3 บ้านกู่น้อย หมู่ที่ 4 บ้าน
หนองอีด้า หมู่ที่ 9 บ้านหนองสิม มีพื้นที่ท้านาประมาณ 2,400 ไร่ (ภาพที่ 4.3) อาณาเขตของเทศบาลต้าบลกู่กาสิงห์
เทศบาลต้าบลกู่กาสิงห์ มีขอบเขตติดต่อกับพื้นที่ใกล้เคียงดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับ องค์การบริหารส่วนต้าบลกู่กาสิงห์ อ.เกษตรวิสัยและแม่น้้าเสียวใหญ่ ทิศใต้ ติดต่อกับ องค์การบริหารส่วนต้าบลกู่กาสิงห์ อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด ทิศตะวันออก ติดต่อกับ เทศบาลต้าบลหินกอง อ.สุวรรณภูมิ จ.ร้อยเอ็ด
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ องค์การบริหารส่วนต้าบลกู่กาสิงห์ อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด
ลักษณะภูมิประเทศ ของเทศบาลต้าบลกู่กาสิงห์เช่นเดียวกับพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนต้าบลกู่กาสิงห์ คือ เป็นที่ราบเรียบกว้างขวาง พื้นที่น้้าท่วมถึงในพื้นที่เขตเทศบาลกู่กาสิงห์ คิดเป็นร้อยละ 5 ของพื้นที่ทั้งหมด น้้า ท่วมส่วนใหญ่เกิดในช่วงเดือนเดือนกันยายน-ตุลาคม
แหล่งน้้า
ประกอบด้วยทั้งแหล่งน้้าธรรมชาติและแหล่งน้้าที่สร้างขึ้น แหล่งน้้าธรรมชาติ ประกอบด้วย ล้าน้้า/ห้วย จ้านวน 1 สาย คือ แม่น้้าเสียวใหญ่ และห้วย บึง หนอง และอื่นๆ จ้านวน 8 แห่ง แหล่งน้้าที่สร้างขึ้น ประกอบด้วย ฝายน้้าล้น 1 แห่ง บ่อน้้าตื้นส่วนตัว 25 แห่ง บ่อน้้าสาธารณะ 3 แห่ง
หมู่บ้านในเขตเทศบาลต้าบลกู่กาสิงห์ที่มีพื้นที่อยู่ติดหรือใกล้แม่น้้าเสียวใหญ่
หมู่บ้านที่อยู่ติดแม่น้้าเสียวใหญ่และใช้ประโยชน์จากมาน้้าเสียวใหญ่มีจ้านวน 5 หมู่บ้านคือ 1) หมู่ที่ 1
บ้านกู่กาสิงห์ 2) หมู่ที่ 2 บ้านหนองเมืองแสน 3) หมู่ที่ 3 บ้านกู่น้อย 4) หมู่ที่ 4 บ้านหนองอีด้า 5) หมู่ที่ 9 บ้าน หนองสิม
การใช้ประโยชน์จากแม่น้้าเสียว
1. การเกษตร มีทั้งนาปีและนาปรัง
นาปี หมู่บ้านที่ได้รับประโยชน์จากแม่น้้าเสียวใหญ่โดยตรงในการท้านาปีได้แก่ 1) หมู่ที่ 1 บ้านกู่กาสิงห์
2) หมู่ที่ 2 บ้านหนองเมืองแสน 3) หมู่ที่ 3 บ้านกู่น้อย 4) หมู่ที่ 4 บ้านหนองอีด้า 5) หมู่ที่ 9 บ้านหนอง
สิม
นาปรัง หมู่บ้านที่อยู่ติดแม่น้้าเสียวใหญ่ เกษตรกรสูบน้้าจากแม่น้้าดังกล่าวในการท้านาปรัง การท้านาปรัง
ในต้าบลกู่กาสิงห์เริ่มมา 3 ปี (ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552/53 มาจนถึงปัจจุบัน) โดยท้านาปรังในทุกหมู่บ้าน แต่ในปี พ.ศ. 2554/55 พื้นที่การท้านาปรังลดลง
2. น้้าประปา หมู่บ้านที่อยู่ในเขตเทศบาลต้าบลกู่กาสิงห์ทั้งหมดใช้น้้าจากแม่น้้าเสียวใหญ่ เป็นน้้าดิบใน การท้าน้้าประปา จ้านวน 5 หมู่บ้านคือ หมู่บ้านที่ 1 หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 9
3. ประมง พื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านกู่กาสิงห์ มีการเลี้ยงปลาในบ่อเลี้ยงในบ่อทั้งเพื่อกินและขาย จ้านวน 5-6 ครัวเรือน โดยใช้น้้าจากแม่น้้าเสียวใหญ่
4. เลี้ยงสัตว์ การเลี้ยงหมูในหมู่ที่ 4 จ้านวน 4 ครัวเรือน ใช้น้้าจากคลองระบายน้้า และใช้น้้าจากแม่น้้า เสียวใหญ่เป็นแหล่งน้้าให้วัวัควายดื่มกินในฤดูแล้ง แต่ก็ประสบปัญหาน้้าขาดแคลนในช่วงฤดูแล้งเช่นชุมชนอื่น อย่างไรก็ตาม ยังคงมีน้้าอยู่บ้างบริเวณหน้าฝายกักเก็บน้้าในแม่น้้าเสียวใหญ่
5. อาหารธรรมชาติ ประชาชนเก็บ พืชผักและสัตว์ธรรมชาติ ที่ขึ้นอยู่ตามริมตลิ่งและในแม่น้้า อาทิ สาหร่าย หอย กุ้ง ปู ปลา และเฟิรน์ (ผักกูด)
สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม
อาชีพ ราษฏรในเขตเทศบาลต้าบลกู่กาสิงห์มีอาชีพเช่นเดียวกับราษฏรอื่นในต้าบลกู่กาสิงห์คือ ประชาชน เกือบทุกครัวเรือนประกอบอาชีพด้านการเกษตร อาชีพหลักคือการท้านา ข้าว และอาชีพเสริมได้แก่ หัตถกรรม รับจ้าง การเลี้ยงสัตว์เป็นการเลี้ยงแบบยังชีพ
ประชากร ในเขตเทศบาลต้าบลกู่กาสิงห์มีจ้านวนครัวเรือน 1,348 ครัวเรือน มีประชากรทั้งสิ้นจ้านวน
4,785 คน เป็นชาย 2,348 คน เป็นหญิง 2,437 คน
ปัญหาของทรัพยากรน้้าในชุมชน (องค์การบริหารส่วนต้าบลกู่กาสิงห์และเทศบาลต้าบลกู่กาสิงห์)
1. น้้าประปาขาดแคลนในช่วงฤดูแล้งโดยเฉพาะในเขตเทศบาลต้าบลกู่กาสิงห์ เนื่องจากน้้าในแม่น้้าเสียว ใหญ่ถูกสูบไปท้าน้้าประปาในหลายพื้นที่เช่น ประปาส่วนภูมิภาคอ้าเภอเกษตรวิสัย ตั้งโรงสูบน้้าดิบที่บ้านหัวดง ก้าแพง สูบน้้าดิบไปท้าน้้าประปาให้ชุมชนในเขตเทศบาลเกษตรวิสัยและองค์การบริหารส่วนต้าบลเกษตรวิสัย และ เทศบาลต้าบลเมืองบัว ซึ่งอยู่ทางเหนือน้้า ใช้น้้าจากแม่น้้าเสียวใหญ่ไปท้าน้้าประปาในเขตเทศบาลต้าบลเมืองบัว
2. ท้านาปรัง ภายหลังมีการน้าน้้าไปใช้ท้านาปรังในช่วงฤดูแล้งและบ่อเลี้ยงปลาท้าให้เกิดการแย่งน้้า ส่งผลให้น้้าไม่เพียงพอทั้งในการอุปโภคและบริโภค
3. แม่น้้าเสียวใหญ่ตื้นเขิน ท้าให้ไม่มีพื้นที่กักเก็บน้้าไว้ใช้ในฤดูแล้งได้มากพอ
4. ขาดการซ่อมแซมดูแลระบบส่งน้้าต่างๆ เช่น คลองส่งน้้า คันกั้นน้้าเสียวไม่แข็งแรงเป็นดินทราย ประตู เปิดปิดท่อระบายน้้าช้ารุด
5. น้้าท่วมซ้้าซากในช่วงฤดูน้้าหลาก น้้าท่วมหนักในปี พ.ศ.2540-2543 น้้าไม่ท่วมในปี พ.ศ.2546-2547 และมาท่วมหนักอีกครั้งปี 2552-2554 สาเหตุจากบล็อกคอนเวิร์ทมีขนาดเล็ก น้้าไหลผ่านไม่สะดวกเป็นสาเหตุของ น้้าท่วมในพื้นที่
6. การถมคลองเพื่อให้รถเกี่ยวข้าวเดินทางผ่านไปมาได้ ท้าให้น้้าไหลไม่สะดวก
4.5 เทศบาลต้าบลเมืองบัว
ประวัติความเป็นมา
เดิมบ้านเมืองบัว เป็นหมู่บ้านที่ขึ้นกับต้าบลหนองแวง ต่อมาต้าบลหนองแวงเปลี่ยนชื่อเป็นต้าบลเกษตร วิสัย ในระยะต่อมาต้าบลเมืองบัวได้แยกตัวและถูกจัดตั้งเป็นต้าบลเมืองบัว และในปี พ.ศ. 2551 ได้รับการยกฐานะ จากองค์การบริหารส่วนต้าบลเมืองบัวเป็นเทศบาลต้าบลเมืองบัว ปัจจุบันต้าบลเมืองบัว แบ่งการปกครองออกเป็น 13 หมู่บ้าน มีผู้ด้ารงต้าแหน่งก้านัน ติดต่อกันมา เริ่มตั้งแต่ตั้งต้าบล ถึงปัจจุบัน จ้านวน 5 คน ก้านันคนปัจจุบัน คือ นายอ่อนสา กองพิธี
สภาพทั่วไปของต้าบล
สภาพภูมิประเทศของต้าบลเมืองบัวเป็นที่ราบลุ่ม ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของอ้าเภอเกษตรวิสัย อยู่ห่างจาก อ้าเภอเกษตรวิสัย 6 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 67.53 ตารางกิโลเมตร หรือ 42,206.75 ไร่ มีแม่น้้าไหลผ่าน 2 สาย คือ แม่น้้าเสียวใหญ่และแม่น้้าเตา โดยแม่น้้าเตาจะไหลลงแม่น้้าเสียวใหญ่ที่หมู่ที่ 6 บ้านคุ้มซึก ต้าบลเมืองบัว แล้วไหล ต่อไปยังต้าบลกู่กาสิงห์ อ.เกษตรวิสัย
ต้าบลเมืองบัว ประกอบด้วยหมู่บ้านจ้านวน 13 หมู่บ้านคือ 1) หมู่ที่ 1บ้านเมืองบัว 2) หมู่ที่ 2 บ้านส้ม
โฮง 3) หมู่ที่ 3 บ้านส้าราญนิวาส 4) หมู่ที่ 4 บ้านโพนเงิน 5) หมู่ที่ 5 บ้านโพนเงิน 6) หมู่ที่ 6 บ้านคุ้มซึก 7) หมู่ที่
7 บ้านหัวดงก้าแพง 8) หมู่ที่ 8 บ้านดอนกลาง 9) หมู่ที่ 9 บ้านเหล่างาม 10) หมู่ที่ 10 บ้านหนองอ้อ 11) หมู่ที่ 11
บ้านหนองสา 12) หมู่ที่ 12 บ้านหัวดงก้าแพง 13) หมู่ที่ 13 บ้านโพนทอง (ภาพที่ 4.4) อาณาเขตต้าบล
ต้าบลเมืองบัว มีขอบเขตติดต่อกับต้าบลต่างๆ ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต้าบลเกษตรวิสัย อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ทิศใต้ ติดต่อกับ ต้าบลครั่งน้อย อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต้าบลกูกาสิงห์ อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต้าบลก้าแพง อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
แหล่งน้้าธรรมชาติ
พื้นที่ต้าบลบ้านบัวมีแม่น้้าเสียวใหญ่และแม่น้้าเตาไหลผ่าน หมู่บ้านที่แม่น้้าหรือแม่น้้าเสียว ใหญ่ไหลผ่าน จ้านวน 4 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 3 บ้านส้าราญนิวาส หมู่ที่ 6 บ้านคุ้มซึก หมู่ที่ 7 บ้านหัวดง และหมู่ที่10 บ้านหนอง อ้อ น้้าจากแม่น้้าเตาไหลผ่านจ้านวน 8 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านเมืองบัว หมู่ที่ 3 บ้านส้าราญนิวาส หมู่ที่ 4
บ้านโพนเงิน หมู่ที่ 5 บ้านโพนเงิน หมู่ที่ 6 บ้านคุ้มซึก หมู่ที่ 8 บ้านดอนกลาง หมู่ที่ 11 บ้านหนองสา 12) หมู่ที่ 12 บ้านหัวดงก้าแพง และหมู่ที่ 13 บ้านโพนทอง โดยเฉพาะหมู่ที่ 6 บ้านบ้านคุ้มซึก ในต้าบลนี้มีเพียงหมู่บ้านเดียวที่ ไม่มีแม่น้้าไหลผ่านคือ หมู่ที่ 9 บ้านเหล่างาม
ต้าบลเมืองบัวมีแม่น้้าเสียวใหญ่และแม่น้้าเตา ซึ่งเป็นแหล่งน้้าธรรมชาติ แหล่งน้้าทั้งสองมีการ สร้างฝาย ยางกั้นแม่น้้าจ้านวน 2 ฝาย คือ ฝายยางตัวแรกกั้นแม่น้้าเสียว ใหญ่ที่หมู่ที่ 3 บ้านส้าราญนิวาส และฝายยางตัวที่ สอง กั้นแม่น้้าเตาที่หมู่ที่ 6 บ้านคุ้มซึก
ภาพที่ 4.4 ขอบเขตต้าบลเมืองบัว อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
การใช้ประโยชน์จากแม่น้้าเสียวและแม่น้้าเตา
1. น้้าประปา หมู่บ้านและการประปาส่วนภูมิภาคอ้าเภอเกษตรวิสัย ใช้น้้าจากแม่น้้าเสียวใหญ่เป็นน้้าดิบ
ในการผลิตน้้าปะปา การประปาส่วนภูมิภาค อ้าเภอเกษตรวิสัยติดตั้งสถานีสูบน้้าที่บ้านหัวดงก้าแพง (หมู่ที่ 7) น้าไปท้าน้้าประปาให้อ้าเภอเกษตรวิสัย หมู่บ้านที่อยู่ติดแม่น้้าเสียว ใหญ่ใช้น้้าจากแม่น้้าในการท้าน้้าประปาหมู่บ้าน ของหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 8 และมีการใช้น้้าจากแม่น้้าเตาท้าน้้าประปาของหมู่ที่ 1 กับ หมู่ที่ 5 และ หมู่ที่ 4 กับ หมู่ที่
13 ส้าหรับบหมู่ที่ 6 ใช้น้้าทั้งจากแม่น้้าเตาและแม่น้้าเสียวมาท้าน้้าปะปา
2. น้้าเพื่อการการเกษตร ทั้งการท้านาปีและนาปรัง หมู่ที่ 4 และ หมู่ที่ 13 ใช้น้้าจากแม่น้้าเตาช่วงการท้า ข้าวนาปี ในปัจจุบันมีการท้านาปรังด้วย ส้าหรับหมู่ที่ 7 ซึ่งอยู่ติดแม่น้้าเสียวใหญ่ มีการท้านาปี นาปรัง และบ่อ ปลา หมู่ที่ 6 บ้านคุ้มซึก ใช้น้้าทั้งจากแม่น้้าเตาและแม่น้้าเสียวใหญ่ ในการท้าไร่นาสวนผสม
ในปี พ.ศ.2552/53 พ.ศ.2552/53 และพ.ศ.2552/53 พื้นที่ปลูกข้าวนาปรังมีจ้านวน 492 4,500 และ 4,165 ไร่ ตามล้าดับ แต่พื้นที่เก็บเกี่ยวข้าวนาปรังมีเพียงร้อยละ 100 60 และ 24 ของพื้นที่เพาะปลูกข้าวนาปรัง ตามล้าดับ ผลผลิตข้าวนาปรังมีความแตกต่างกันในแต่ละปี ทั้งนี้ขึ้นกับปริมาณน้้าในแม่น้้าเสียวใหญ่และล้าน้้า
สาขา กล่าวคือ ในปี พ .ศ.2552/53 พ.ศ.2552/53 และพ .ศ.2552/53 ผลผลิตข้าวนาปรังเฉลี่ย 895 539 และ
598 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล้าดับ ดังตารางที่ 4.1 ถึง 4.3
3. การประมง ในฤดูฝนหรือน้้าหลาก โดยทั่วไปเกษตรกรใช้ประโยชน์จากแม่น้้าในการจับปลามาเป็น
อาหารในครัวเรือน โดยเฉพาะในหมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 13 และมีเกษตรกรบางรายเลี้ยงปลาเชิงพาณิชย์ที่หมู่ที่ 10
จ้านวน 20 ครัวเรือน หมู่ที่ 3 จ้านวน 2 ครัวเรือน หมู่ที่ 6 ประมาณ 20 ครัวเรือน และ หมู่ที่ 7 จ้านวน 7 ครัวเรือน (เฉพาะหมู่ที่ 7 ใช้น้้าฝนในการเลี้ยงปลา มิได้ใช้น้้าแม่น้้าเสียวใหญ่)
สภาพทางเศรษฐกิจ-สังคม
อาชีพ ประชาชนเกือบทุกครัวเรือนประกอบอาชีพด้านการเกษตร อาชีพหลักคือการท้านา และอาชีพ เสริมได้แก่ รับจ้าง และเลี้ยงสัตว์ (โคเนื้อ และเลี้ยงปลา)
สังคม เทศบาลต้าบล เมืองบัวมีจ้านวนครัวเรือน 1,526 หลังคาเรือน ประชากรจ้านวน 5,756 คน
แบ่งเป็นเพศชาย 2,811 คน เพศหญิง 2,945 คน ความหนาแน่นของประชากร 127.62 คนต่อตารางกิโลเมตร
ปัญหาของทรัพยากรน้้าในชุมชน
1. น้้าท่วมพื้นที่นาข้าวเป็นประจ้า ในปี พ.ศ. 2554 น้้าท่วมข้าวนาปี พื้นที่นาได้รับความเสียหายประมาณ 28,350 ไร่ บ้านเรือนได้รับความเสียหายจากน้้าท่วมจ้านวน 80 หลังคาเรือน
2. ขาดแคลนน้้าเพื่อการเกษตร โดยเฉพาะในช่วงฝนทิ้งช่วงและฤดูร้อน (หน้าแล้ง) ท้าให้พื้นที่นาข้าว เสียหายและผลผลิตเสียหายประมาณ 50%
3. การแย่งน้้าระหว่างชุมชนในการท้าน้้าประปา การท้านาปรังและการเลี้ยงปลาในหมู่ที่ 6 อาทิ เกษตรกร ปิดประตูน้้าไม่ให้ไหลลงพื้นที่นา แต่เจ้าของบ่อปลาต้องการน้้าใส่บ่อปลา จึงแอบเปิดประตูน้้า
4. พื้นที่ป่าและสภาพแวดล้อมในพื้นที่และวิถีชีวิตของคนในพื้นที่เปลี่ยนไป เช่น ป่าบุ่ง ป่าทาม และเลิงที่ เดิมมีอยู่ในพื้นที่หายไป
5. พื้นที่ต้าบลเมืองบัว เกิดพายุฤดูร้อน ทุกๆ ปีพัดพาบ้านเรือนเสียหายประมาณ 30 หลังคาเรือน
4.6 เทศบาลต้าบลหินกอง
ประวัติความเป็นมา
ต้านานเล่าว่า ในสมัยขอม มีการแข่งขันระหว่างหญิงกับชาย โดยครั้งหนึ่งได้แข่งขันในการสร้างกู่ (ปราสาท)ให้เสร็จภายในคืนเดียว ถ้าดาวประกายพรึกขึ้น ให้หยุดก่อสร้างทันทีโดยให้ฝ่ายชายสร้างกู่กาสิงห์ (ปัจจุบันอยู่ในอ้าเภอเกษตรวิสัย) ฝ่ายหญิงสร้างกู่พระโกนา (ต.สระคู อ.สุวรรณภูมิ) พอสร้างไปถึงเที่ยงคืนฝ่าย หญิงได้ใช้กลอุบายโดยใช้โคมไฟ จุดบนต้นไม้ ฝ่ายชายคิดว่าเป็นดาวจึงหยุดสร้างโดยทิ้งหินกองไว้นั้นคือ บ้านหิน
กอง ต้าบลหินกอง อ้าเภอสุวรรณภูมิ ในปัจจุบัน ปัจจุบันต้าบล หินกองอยู่ในเขตการปกครองของอ้าเภอสุวรรณ ภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด แบ่งการปกครองออกเป็น 16 หมู่บ้าน
เมื่อราวปีพุทธศักราช 2440 มีนายน้อย มุ่งดี เป็นชาวจังหวัดนครราชสีมา ได้อพยพพาครอบครัวมาก่อตั้ง บ้านเรือนเป็นครอบครัวแรกที่บ้านหินกองในปัจจุบัน และต่อมามีผู้อพยพมาอยู่อาศัยเพิ่มขึ้นอีก จึงได้ก่อตั้งเป็น หมู่บ้านชื่อ บ้านหินกอง อยู่ในเขตการปกครองของต้าบลสระคู อ้าเภอสุวรรณภูมิ ต่อมามีการก่อสร้างบ้านเรือน เพิ่มขึ้น ประชากรเพิ่มขึ้น รวมกันเป็นกลุ่มและมีหลายหมู่บ้าน จึงได้มีการแบ่งเขตการปกครองออกจากต้าบลสระคู และจัดตั้งเป็นต้าบลหินกอง โดยมีก้านันคนแรกชื่อ นายเพ็ง สนามพล ก้านันคนปัจจุบันชื่อ นายทองจันทร์ บุญดี
สภาพทั่วไป
ต้าบลหินกอง อ้าเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด จัดตั้งตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 19 เดือน มกราคม พ.ศ. 2539 มีเนื้อที่ทั้งหมด 66,875 ไร่ หรือประมาณ 87 ตารางกิโลเมตร มีพื้นที่สาธารณะจ้านวน 4,000 ไร่ หมู่บ้านในการปกครองจ้านวน 16 หมู่บ้าน ดังนี้ 1) หมู่ที่ 1 บ้านหินกอง 2) หมู่ที่ 2 บ้านเล้าข้าว 3) หมู่
ที่ 3 บ้านสองชั้น 4) หมู่ที่ 4 บ้านหนองอีเข็ม 5) หมู่ที่ 5 บ้านโพนผอุง 6) หมู่ที่ 6 บ้านคัดเค้า 7) หมู่ที่ 7 บ้านส้ม
โฮง 8) หมู่ที่ 8 บ้านโพนดวน 9) หมู่ที่ 9 บ้านหนองสระ 10) หมู่ที่ 10 บ้านหนองอีเข็ม 11) หมู่ที่ 11 บ้านส้าโรง
เหนือ 12) หมู่ที่ 12 บ้านโพนละมั่ง 13) หมู่ที่ 13 บ้านสองชั้น 14) หมู่ที่ 14 บ้านหินกอง 15) หมู่ที่ 15 บ้านโพนผ อุง และ16) หมู่ที่ 16 บ้านส้มโฮง (ภาพที่ 4.5)
อาณาเขตต้าบล
ต้าบลหินกองมีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้
ทิศเหนือ จดต้าบลนาใหญ่ อ้าเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ทิศใต้ จดต้าบลทุ่งหลวง อ้าเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด
ทิศตะวันออก จดต้าบลดอกไม้ และต้าบลสระคู อ้าเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ทิศตะวันตก จดต้าบลเกษตรวิสัย อ้าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด สภาพภูมิประเทศ
ภูมิประเทศเป็นที่ราบ เหมาะเป็นพื้นที่ส้าหรับท้านาปลูกข้าว ดินเป็นดินปนทราย มีแม่น้้าเสียว ใหญ่และ แม่น้้าเสียวน้อยไหลผ่าน มีแหล่งน้้าธรรมชาติ
แหล่งน้้าธรรมชาติ
ต้าบลหินกอง มีแหล่งน้้าธรรมชาติหลายแห่ง ส้าหรับใช้ในการเกษตรและอุปโภคบริโภคประกอบด้วย แม่น้้า ห้วย คลอง จ้านวน 6 สาย และบึง หนอง จ้านวน 51 แห่ง ส้าหรับแหล่งน้้าที่สร้างขึ้น ประกอบด้วย ฝาย 4 แห่ง บ่อน้้าตื้น 300 แห่ง และบ่อน้้าโยก 23 แห่ง )ช้ารุด(
ต้าบลหินกองมีแม่น้้า 3 สายใหญ่ไหลผ่านคือ แม่น้้าเสียวน้อย แม่น้้าเสียวใหญ่ และห้วยน้้าเค็ม ซึ่งเป็น สาขาย่อยของล้าเสียวใหญ่ แม่น้้าดังกล่าวไหลผ่านพื้นที่หมู่บ้านดังนี้
ส้าน้้าเสียวน้อย ไหลผ่านหมู่บ้านจ้านวน 5 หมู่บ้าน หมู่ที่ 3 บ้านสองชั้น หมู่ที่ 7 บ้านส้มโฮง หมู่ที่ 8 บ้านโพนดวน หมู่ที่ 11 บ้านส้าโรงเหนือ หมู่ที่ 13 บ้านสองชั้น หมู่ที่ 16 บ้านส้มโฮง
ภาพที่ 4.5 ขอบเขตต้าบลหินกอง อ้าเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด
แม่น้้าเสียวใหญ่ ไหลผ่านหมู่บ้านจ้านวน 7 หมู่บ้านคือ หมู่ที่ 1 บ้านหินกอง หมู่ที่ 2 บ้านเล้าข้าว หมู่ที่ 3
บ้านสองชั้น หมู่ที่ 5 บ้านโพนผอุง หมู่ที่ 6 บ้านคัดเค้า หมู่ที่ 13 บ้านสองชั้น หมู่ที่ 14 บ้านหินกอง
ห้วยน้้าเค็ม เป็นสาขาย่อยของแม่น้้าเสียวใหญ่ ไหลผ่านหมู่บ้านจ้านวน 4 หมู่บ้านคือ หมู่ที่ 3 บ้านสอง หมู่ที่ 5 บ้านโพนผอุง หมู่ที่ 9 บ้านหนองสระ หมู่ที่ 15 บ้านโพนผอุง
การใช้ประโยชน์จากแม่น้้าเสียวใหญ่ เสียวน้อยและแม่น้้าเค็ม ชุมชนในต้าบลหินกองใช้ประโยชน์จาก มาน้้าทั้งสามใน 5 ประการคือ
1. น้้าประปา ชุมชนในต้าบลหินกองใช้น้้าจากแม่น้้าเสียวใหญ่เป็นน้้าดิบในการท้าน้้าประปา ได้แก่ หมู่
ที่ 1 หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 หมู่ที่13 และหมู่ที่ 14 ส่วนชุมชนที่ใช้น้้าจากแม่น้้าเสียวน้อยมาท้าน้้าประปาได้แก่ หมู่ที่ 8 และหมู่ที่ 11 มีบางชุมชนที่ใช้น้้าบาดาลมาท้าน้้าประปาหมู่บ้าน (บางแห้งน้้าไม่เค็ม แต่บางแห่งน้้าเค็ม)
2. การเกษตร ท้าทั้งนาปีและนาปรัง ในพื้นที่ต้าบลหินกองมีการท้านาปรังมา 3 ปี เช่นชุมชนใกล้เคียง
ส่งผลให้น้้าประปาไม่พอใช้ในการอุปโภค เกษตรกรบางรายสูบน้้าบาดาลมาท้านาปรังส่งผลให้ประปาบาดาลไม่ พอใช้ แม้ว่าในหมู่ที่ 5 หมู่ที่ 9 และหมู่ที่ 15 จะไม่มีการท้านาปรังก็ตาม แต่ได้รับความเดือดร้อนจากการท้านา ปรังเช่นกันคือ น้้าประปาบาดาลขาดแคลน ซึ่งชาวบ้านเชื่อว่า น้้าใต้ดินแห้งเพราะการท้านาปรัง พื้นที่ท้านาปรังใน ปี 2554/55 รวมประมาณ 1,995 ไร่ (จาก หมู่ที่ 3 จ้านวน 500 ไร่เศษ หมู่ที่ 4 จ้านวน 400 กว่าไร่ หมู่ที่ 1
จ้านวน 125 ไร่ หมู่ที่ 2 ประมาณ 70 ไร่ หมู่ที่ 13 จ้านวน 500 ไร่ หมู่ที่ 7 ไม่ทราบ)
โดยในปี พ .ศ.2552/53 พ.ศ.2552/53 และพ .ศ.2552/53 พื้นที่ปลูกข้าวนาปรังมีจ้านวน 286 1,727 และ 1,995 ไร่ ตามล้าดับ แต่พื้นที่เก็บเกี่ยวข้าวนาปรังมีเพียงร้อยละ 100 60 และ 35 ของพื้นที่เพาะปลูกข้าวนา
ปรัง ตามล้าดับ ผลผลิตข้าวนาปรังมีความแตกต่างกันในแต่ละปี ทั้งนี้ขึ้นกับปริมาณน้้าในแม่น้้าเสียวใหญ่และล้าน้้า
สาขา กล่าวคือ ในปี พ .ศ.2552/53 พ.ศ.2552/53 และพ .ศ.2552/53 ผลผลิตข้าวนาปรังเฉลี่ย 690 551 และ
620 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล้าดับ ดังตารางที่ 4.1 ถึง 4.3
3. การเลี้ยงสัตว์ ใช้ในแม่น้้าในการเลี้ยงวัวควาย ช่วงช่วงฤดูร้อน )หน้าแล้ง(
4. การประมง เกษตรกรบางรายในชุมชนมีวิถีชีวิต หาปลาจากแม่น้้าในพื้นที่ แต่ปริมาณปลาและสัตว์น้้า ลดลงมากเมื่อเทียบกับในอดีต นอกจากนี้ เกษตรกรบางรายใช้น้้าจากแม่น้้าทั้งสามในการเลี้ยงปลา ได้แก่ การ เลี้ยงปลาในหมู่ที่ 8 หมู่ที่ )ไม่ทราบจ้านวน( 2 จ้านวน 4 ราย หมู่ที่ 5 จ้านวน 1 ราย หมู่ที่ 14 จ้านวน 7-8 ราย
5. เป็นสถานที่แข่งเรือ ในอดีต แม่น้้าเสียวใหญ่ที่บ้านสองชั้น เคยใช้ในการแข่งเรือหลังฤดูน้้าหลากเป็น
ประจ้าทุกปี)ตุลาคม สังคมที่เปลี่ยนไป
( แต่ปัจจุบันประเพณีดังกล่าวได้หายไปจากพื้นที่เนื่องจากแม่น้้าตื่นเขินและภาวะเศรษฐกิจ
สภาพทางเศรษฐกิจ-สังคม
อาชีพ ประชาชนเกือบทุกครัวเรือนประกอบอาชีพด้านการเกษตร อาชีพหลักคือการท้านา ท้าไร่ และมี การเลี้ยงสัตว์ได้แก่โคเนื้อเป็นอาชีพเสริม
ประชากร
ต้าบลหินกองมีจ้านวนครัวเรือน 1,930 ครัวเรือน จ้านวนประชากรทั้งสิ้น 5,970 คน แยกเป็น เพศชาย 2,913 เพศหญิง 3,057 คน
สภาพทางสังคม
ความสัมพันธ์ของคนในต้าบลหินกอง แต่ละหมู่บ้านจะนับถือแบบเครือญาติ การตั้งบ้านเรือนจะนิยมอยู่ รวมกันเป็นกลุ่ม ประชากรส่วนมากประกอบอาชีพท้านา และรับจ้างทั่วไปการนับถือศาสนา ประชาชนส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธขนบธรรมเนียมประเพณีจะมีการท้าบุญต่างๆไปตามประเพณีสิบสองเดือน ซึ่งจะเป็นปัจจัย ส้าคัญที่ช่วยรักษาสภาพสังคม ให้คงอยู่และเป็นเครื่องมือเสริมสร้างความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในหมู่บ้าน ซึ่ง หมู่บ้านทั่วไปเรียกกันว่าฮีต 12 หรือจารีตประเพณี 12 ประการ เช่น บุญเดือนยี่บุญคุณลาน บุญเดือนสามบุญข้าว กี่ บุญเดือนสี่บุญเผวด บุญเดือนห้าบุญสงกรานต์ บุญเดือนหกบุญบั้งไฟ บุญเดือนแปดบุญเข้าพรรษา บุญเดือนสิบ บุญข้าวกระยาสารท บุญเดือนสิบเอ็ดบุญออกพรรษา บุญเดือนสิบสองบุญกฐิน
ปัญหาของทรัพยากรน้้าในชุมชน
1. มีการท้านาปรังมากขึ้น เกิดการแย่งน้้าระหว่างชุมชน
2. แม่น้้าตื้นเขิน คันคูแม่น้้าเสียวเล็ก แคบ ในฤดูน้้าหลาก เกิดน้้าท่วมขังในพื้นที่นายาวนานกว่าในอดีต
4.7 สรุปภาพรวมบริบทของทรัพยากรน้้า
พื้นที่ชุมชนศึกษาทั้ง 6 ชุมชนตั้งอยู่ในลุ่มน้้าเสียวใหญ่ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทุ่งกุลาร้องไห้ แหล่งน้้า ธรรมชาติในพื้นที่ประกอบด้วยแม่น้้าเสียวใหญ่ แม่น้้าเสียวน้อย และแม่น้้าเตา นอกจากน้้าฝนแล้ว กิจกรรมของทุก ชุมชนมีความผูกพันกับทรัพยากรน้้าและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรน้้าในแม่น้้าในหลายประการ กล่าวคือ 1) การ ท้าการเกษตรทั้งการปลูกข้าวนาปี โดยการสูบน้้าใส่แปลงนาข้าวในช่วงที่ฝนทิ้งช่วงในฤดูฝน และการท้านาปรังโดย
ใช้น้้าจากแม่น้้าตลอดฤดูการเพาะปลูกข้าว 2) ชุมชนส่วนใหญ่รวมถึงการปะปาส่วนภูมิภาคในพื้นที่ ใช้น้้าจากแม่น้้า เป็นแห่ลงน้้าดิบในการผลิตน้้าปะปา 3) ในหลายชุมชน มีใช้น้้าจากแม่น้้าในการเลี้ยงปลาเชิงพาณิชย์ และเป็น แหล่งในการหาปลา จับสัตว์น้้า และเก็บพืชผักตามธรรมชาติที่ขึ้นอยู่ในและริมแม่น้้าในฤดูฝน 4) แหล่งน้้าส้าหรับ ปศุสัตว์(โค-กระบือ) ในช่วงหลังจากการเก็บเกี่ยวข้าว 5) ชุมชนที่อยู่ใกล้ตลาด มีการปลูกผักเพื่อจ้าหน่ายตลอดทั้ง ปี และ 6) ในอดีต ในหลายชุมชนอาศัยแม่น้้าในชุมชน (แม่น้้าสาขาของแม่น้้าเสียวใหญ่) ในการจัดงานประเพณี แข่งเรือระดับหมู่บ้าน/ต้าบล อย่างไรก็ตาม ปัจจุบัน การจัดงานประเพณีแข่งเรือประจ้าปี ต่อมาล้าน้้าตื้นเขิน ประเพณีแข่งเรือคงเหลืออยู่ที่ต้าบลเกษตรวิสัยเท่านั้น
หากปีใด ฝนมีปริมาณน้อย หรือไม่ตกต้องตามฤดูกาล ย่อมส่งผลถึงปริมาณน้้าในแม่น้้ารวมถึงแม่น้้าสาขา ของทั้งสามแม่น้้า และส่งผลกระทบต่อการท้านาปรัง น้้าปะปาหมู่บ้าน /เทศบาล การจับสัตว์น้้าและการเก็บพืชผัก ตามธรรมชาติของประชาชนในพื้นที่ เนื่องจากลุ่มน้้าเสียวใหญ่ ไม่มีแหล่งน้้าต้นทุนเช่นลุ่มน้้าอื่น ดังนั้นจึงมีผล ต่อ ความเป็นอยู่ การด้ารงชีพ และกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประชาชนในพื้นที่เป็นอยางมาก
บทที่ 5
ความเสี่ยง การเปิดรับ ความไวต่อผลกระทบ และความสามารถในการรับมือ/ปรับตัวในปัจจุบัน
เริ่มแรกโครงการฯ ดําเนินการสํารวจและจัดเก็บข้อมูลความเสี่ยง ความไวต่อความเสี่ยงและความสามารถ ในการปรับตัวของเกษตรกรทั้ง 6 ชุมชนพื้นที่ศึกษาต่อผลกระทบจากสภาพอากาศผันแปรจากอดีตถึงปัจจุบัน ด้วย แบบสอบถาม สัมภาษณ์ตัวแทนเกษตรกรและชุมชนในแต่ละชุมชน เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้น
ต่อมาได้จัดให้มีการประชุมกลุ่มตัวแทนชุมชนพื้นที่ศึกษาแต่ละชุมชนทั้ง 6 ชุมชน เพื่อสรุปความเสี่ยง ความไวต่อความเสี่ยง และความสามารถในการปรับตัวของแต่ละชุมชนจากอดีตถึงปัจจุบัน นําข้อมูลจากการ ประชุมไปประเมินความเสี่ยงและความเปราะบางของชุมชนต่อไป และ นําผลสรุปที่ได้สําหรับการจัดทําความเสี่ยง ของการดําเนินการของชุมชนภายใต้แรงขับดันของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เศรษฐกิจและสังคมในอนาคต ตลอดจนกลยุทธ์และแนวทางการปรับตัวของชุมชนที่คาดว่าสามารถนําไปใช้ได้ในอนาคต การประชุมตัวแทน ชุมชนทั้ง 6 ชุมชนพื้นที่การปกครอง มีผู้เข้าร่วมประชุมรวมทั้งสิ้น 107 คน โดยแยกจัดในแต่ละชุมชน ดังนี้
1. องค์การบริหารส่วนตําบลน้ําอ้อม ตําบลน้ําอ้อม จัดประชุมในวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2555 ณ ณ ห้อง ประชุมองค์การบริหารส่วนตําบลน้ําอ้อม มีผู้เข้าร่วมประชุมจํานวน 17 คน
2. เทศบาลตําบลเมืองบัว ตําบลเมืองบัว จัดประชุมในวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2555 ณ ณ ห้องประชุม เทศบาลตําบลเมืองบัว มีผู้เข้าร่วมประชุมจํานวน 34 คน
3. เทศบาลตําบลหินกอง ตําบลหินกอง จัดประชุมในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2555 ณ ณ ห้องประชุม เทศบาลตําบลหินกอง มีผู้เข้าร่วมประชุมจํานวน 19 คน
4. เทศบาลตําบลกู่กาสิงห์ ตําบลกู่กาสิงห์ และองค์การบริหารส่วนตําบลกู่กาสิงห์ ตําบลกู่กาสิงห์ จัด ประชุมในวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2555 ณ ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตําบลกู่กาสิงห์ มีผู้เข้าร่วม ประชุมจํานวน 22 คน
5. องค์การบริหารส่วนตําบลเกษตรวิสัย ตําบลเกษตรวิสัย จัดประชุมในวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2555 ณ ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตําบลเกษตรวิสัย มีผู้เข้าร่วมประชุมจํานวน 15 คน
ในบทนี้จะนําเสนอความเสี่ยง การเปิดรับ ความไวต่อผลกระทบและความสามารถในการรับมือหรือการ ปรับตัวของแต่ละชุมชนในปัจจุบัน โดยเน้นที่ภาคส่วนระบบเกษตรซึ่งเป็นภาคส่วนที่เสี่ยง ภาคส่วนเกษตรที่เสี่ยง นั้นเสี่ยงจากความแปรปรวนจากสภาพอากาศอย่างไร ภาคส่วนดังกล่าวมีการเปิดรับจากผลกระทบหรือแรงกดดัน จากสภาพอากาศปัจจุบันมากน้อยเท่าใด มีความไวต่อผลกระทบจากสภาพอากาศมากน้อย ความสามารถของ ชุมชนในการรับมือ/กลไกการปรับตัวตลอดจนประสิทธิภาพของการรับมือหรือกลไกในการรับมือ
สรุปผลการประชุมกลุ่มเกี่ยวกับความเสี่ยง การเปิดรับ ความไวต่อผลกระทบและความสามารถในการ รับมือหรือการปรับตัวของแต่ละชุมชนในปัจจุบัน ดังตารางที่ 5.1 ถึง 5.5 สําหรับการประเมินความเปราะบางของ ระบบเกษตรใช้แนวทางของ IPCC คือ ประเมินจากการเปิดรับของระบบ ความไวของระบบต่อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ ผลกระทบที่เกิดขึ้น และความสามารถในการรับมือของชุมชน แบ่งผลการวัดออกเป็น 3 ระดับคือ สูง
กลาง และต่ํา ซึ่งผลกระทบและความเปราะบางของระบบการเกษตรของแต่ละชุมชนในปัจจุบันมีดังนี้ (ตารางที่ 5.6)
5.1 ผลกระทบและความเปราะบางของระบบเกษตรต้าบลน ้าอ้อม
ระบบการเกษตรหลักของตําบลน้ําอ้อมคือ การปลูกข้าวนาปีและนาปรัง การปลูกข้าวนาปีความเสี่ยงที่ เกิดขึ้นมาจากฝนทิ้งช่วงและน้ําท่วม พื้นที่มีการเปิดรับปานกลางต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ มีผลกระทบปาน กลางต่อการปลูกข้าวนาปี ประกอบกับชุมชนมีขีดความสามารถในการปรับตัวต่ํา ทําให้การปลูกข้าวนาปีมีความ เปราะบางสูง สําหรับการปลูกข้าวนาปรัง พื้นที่ปลูกข้าวนาปรังมีความเสี่ยงสูงเนื่องจากอาศัยน้ําจากแม่น้ําเป็นหลัก ขณะที่ทุกปี น้ําในแม่น้ํามีจํากัดและไม่เพียงพอสําหรับการอุปโภคและบริโภคของชุมชนเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว จึงมี ผลกระทบปานกลางต่อการปลูกข้าวนาปรัง แต่เกษตรกรมีความสามารถในการปรับตัวสูง ทําให้การปลูกข้าวนา ปรังมีความเปราะบางต่ํา หากพิจารณาโดยภาพรวมของระบบการเกษตรถือได้ว่า ระบบการเกษตรของตําบลน้ํา อ้อมมีความเปราะบางสูงต่อความแปรปรวนภูมิอากาศ (รายละเอียดดังตารางที่ 5.1 และ 5.6)
5.2 ผลกระทบและความเปราะบางของระบบเกษตรต้าบลเมืองบัว
ระบบการเกษตรหลักของตําบลเมืองบัวประกอบด้วย การปลูกข้าวนาปีและนาปรัง การปลูกข้าวนาปี ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นมาจากฝนทิ้งช่วงและน้ําท่วม พื้นที่มีการเปิดรับอยู่ในระดับปานกลาง ผลกระทบต่อผลผลิตข้าว อยู่ในระดับปานกลางถึงสูง แต่ความสามารถในการปรับตัวของเกษตรกรอยู่ในระดับต่ํา ทําให้การปลูกข้าวนาปีมี ความเปราะบางสูงต่อความแปรปรวนภูมิอากาศ สําหรับการปลูกข้าวนาปรัง พื้นที่ปลูกข้าวนาปรังมีความเสี่ยงปาน กลาง ผลกระทบต่อการปลูกข้าวนาปรังอยู่ในระดับสูง แต่เกษตรกรมีความสามารถในการปรับตัวสูง จึงทําให้การ ปลูกข้าวนาปรังมีความเปราะบางต่ํา หากพิจารณาโดยภาพรวมของระบบการเกษตรถือได้ว่า ระบบการเกษตรของ ตําบลเมืองบัวมีความเปราะบางสูงต่อความแปรปรวนภูมิอากาศ (รายละเอียดดังตารางที่ 5.2 และ 5.6)
5.3 ผลกระทบและความเปราะบางของระบบเกษตรต้าบลหินกอง
ระบบการเกษตรหลักของตําบลหินกองมีเฉพาะการปลูกข้าวนาปี ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นมาจากฝนทิ้งช่วง และน้ําท่วม พื้นที่มีการเปิดรับปานกลางต่อความแปรปรวนภูมิอากาศ มีผลกระทบปานกลางต่อการปลูกข้าวนาปี ประกอบกับชุมชนมีขีดความสามารถในการปรับตัวต่ํา ทําให้การปลูกข้าวนาปีมีความเปราะบางปานกลาง สรุปคือ ระบบการเกษตรของตําบลเมืองบัวมีความเปราะบางปานกลางต่อความแปรปรวนภูมิอากาศ ( รายละเอียดดัง ตารางที่ 5.3 และ 5.6)
5.4 ผลกระทบและความเปราะบางของระบบเกษตรต้าบลกู่กาสิงห์
ระบบการเกษตรหลักของตําบลกู่กาสิงห์ประกอบด้วยการปลูกข้าวนาปีและนาปรัง เช่นเดียวกับชุมชนอื่น ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นมาจากฝนทิ้งช่วงและน้ําท่วมเช่นกัน การปลูกข้าวนาปี พื้นที่มีการเปิดรับสูงต่อความแปรปรวน ภูมิอากาศ มีผลกระทบปานกลางต่อการปลูกข้าวนาปี ประกอบกับชุมชนมีขีดความสามารถในการปรับตัวค่อนข้าง ต่ําถึงปานกลาง ทําให้การปลูกข้าวนาปีมีความเปราะบางปานกลาง สําหรับการปลูกข้าวนาปรัง พื้นที่ปลูกข้าวนา ปรังมีความเสี่ยงสูงเนื่องจากอาศัยน้ําจากแม่น้ําเป็นหลัก ซึ่งน้ําในแม่น้ํามีปริมาณจํากัดและไม่เพียงพอสําหรับการ
อุปโภคและบริโภคของชุมชนเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว จึงมีผลกระทบสูงต่อการปลูกข้าวนาปรัง แต่เกษตรกรมี ความสามารถในการปรับตัวปานกลาง ทําให้การปลูกข้าวนาปรังมีความเปราะบางปานกลาง หากพิจารณาโดย ภาพรวมของระบบการเกษตรถือได้ว่า ระบบการเกษตรของตําบลกู่กาสิงห์มีความเปราะบางปานกลางต่อความ แปรปรวนภูมิอากาศ (รายละเอียดดังตารางที่ 5.4 และ 5.6)
5.5 ผลกระทบและความเปราะบางของระบบเกษตรต้าบลเกษตรวิสัย
ระบบการเกษตรหลักของตําบลเกษตรวิสัยประกอบด้วยการปลูกข้าวนาปี นาปรังและพืชผัก การปลูกข้าว นาปี ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นมาจากฝนทิ้งช่วงและน้ําท่วม พื้นที่มีการเปิดรับปานกลางต่อความแปรปรวนภูมิอากาศ มี ผลกระทบปานกลางต่อการปลูกข้าวนาปี ประกอบกับชุมชนมีขีดความสามารถในการปรับตัวปานกลางค่อนไปทาง ต่ํา ทําให้การปลูกข้าวนาปีมีความเปราะบางสูง สําหรับการปลูกข้าวนาปรัง พื้นที่ปลูกข้าวนาปรังมีความเสี่ยงสูง เช่นตําบลอื่น มีผลกระทบปานกลางต่อการปลูกข้าวนาปรัง แต่เกษตรกรมีความสามารถในการปรับตัวปานกลาง ค่อนไปทางต่ํา ทําให้การปลูกข้าวนาปรังมีความเปราะบางสูง สําหรับการปลูกพืชผัก มีการเปิดรับต่อความ แปรปรวนภูมิอากาศสูง แต่มีผลกระทบต่ํา ประกอบกับเกษตรกรมีความสามารถในการปรับตัวสูงส่งผลให้การปลูก ผักมีความเปราะบางต่ํา หากพิจารณาโดยภาพรวมของระบบการเกษตรของตําบลเกษตรวิสัยมีความเปราะบางสูง ต่อความแปรปรวนภูมิอากาศ (รายละเอียดดังตารางที่ 5.5 และ 5.6)
หากพิจารณาโดยภาพรวมของ 5 ตําบล พบว่า ระบบการเกษตรของแต่ละชุมชนในปัจจุบันมีความ เปราะบางแตกต่างกันไปกล่าวคือ ระบบการเกษตรของตําบลน้ําอ้อม ตําบลเมืองบัว และตําบลเกษตรวิสัย มีความ เปราะบางสูงต่อต่อความแปรปรวนภูมิอากาศที่ผ่านมา ขณะที่ระบบการเกษตรของตําบลหินกอง และตําบลกู่กา สิงห์ มีความเปราะบางปานกลางต่อความแปรปรวนภูมิอากาศ
ตารางที่ 5.1 ความเสี่ยง ความไวต่อความเสี่ยง และความสามารถในการปรับตัวของเกษตรกรในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตําบลน้ําอ้อม ตําบลน้ําอ้อม อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด
ภาคส่วนที่เส่ียง | การเสี่ยงจากสภาพ อากาศ | การเปิ ดรบั จากผลกระทบ หรือแรงกดดนจากสภาพ อากาศปัจจบุ นั | ความไวต่อผลกระทบจาก สภาพอากาศ | ความสามารถในการรบมือ/กลไกการปรบตวั | |
คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | ประสิทธิภาพ | ||
ระบบเกษตร | |||||
ขา้ วนาปี | น้˚าท่วม_ความ | 1. ประมาณ 70 % ของพน้ื ท่ี | พน้ื ทเ่ี สยี หายโดยสน้ิ เชงิ | 1. มกี ารขุดลอกลา˚ น้˚าเสยี วแต่ยงั | วธิ กี ารทชี ุมชนดา˚ เนินการ |
แปรปรวนของฝน ในช่วงปลายฤดฝน (กนั ยายน-ตุลาคม) | นาขา้ วทงั้ ต˚าบลเสย่ี งต่อการ เกดิ น้˚าท่วม 2. พน้ื ทเ่ี ปิดรบั เสย่ี งต่อการ | ประมาณ 50 % ของพน้ื ท่ี ซง่ึ ความเสยี หายดงั กล่าวเกดิ ขน้ึ ประมาณ 3 ปีใน 10 ปี | มกี ารขุดลอกเป็นช่วงๆ ในพน้ื ท่ี 2. ซ่อมแซมทา˚ นบกนั้ น้˚าในจุดท่ี เสย่ี งต่อน้˚าท่วม โดยใชเ้ งนิ จาก | ยงั ไม่เพยี งพอในการลด ปญั หาน้˚าทว่ ม คงเป็นการ แกป้ ญั หาเฉพาะหน้า | |
เกดิ น้˚าท่วมทุกปี (ทุกปีใน | กองทุนลุ่มน้˚าสยี ว | เท่านนั้ | |||
ทศวรรษ) | 3. เกษตรกรในชุมชนจดั เวรยาม เฝ้าดแู ละซ่อมแซมคนั กนั้ น้˚าท่วม | ข้อเสนอแนะในการ แก้ปัญหาแบบยง่ ยืน | |||
4. ซ่อมแซมคนั กนั้ น้˚าและตลงิ่ 5. เกษตรกรบางรายใชข้ า้ วพนั ธุ์ | 1. ขุดลอกตลอดลา˚ น้˚าเสยี ว 2. เสรมิ คนั กนั้ น้˚ารมิ ฝงั ่ | ||||
ขน้ึ น้˚ามาปลกู แทนขา้ วขาวดอก | แม่น้˚าเสยี ว | ||||
มะลิ | 3. ตดิ ตงั้ ท่อระบายน้˚าหรอื | ||||
สรา้ งสะพานบรเิ วณถนน | |||||
สายหลกั เพอื การระบายน้˚า | |||||
ไดอ้ ย่างมปี ระสทธภาพ | |||||
4. เพมิ่ พน้ื ทก่ี กั เกบ็ น้˚า | |||||
(แกม้ ลงิ ) ในลุ่มน้˚าเสยี ว | |||||
ขา้ วนาปี | ฝนทง้ิ ช่วง_(ช่วงเดอื น | 1. ประมาณ 100 % ของพน้ื ท่ี | พน้ื ทเ่ี สย่ี ง ผลผลติ ขา้ ว | เกษตรกรทอ่ี ยใู กลร่วมมอื กนั | วธิ กี ารดงั กล่าวยงั ไม่ |
ภาคส่วนที่เสี่ยง | การเสี่ยงจากสภาพ อากาศ | การเปิ ดรบั จากผลกระทบ หรือแรงกดดนจากสภาพ อากาศปัจจบุ นั | ความไวต่อผลกระทบจาก สภาพอากาศ | ความสามารถในการรบมือ/กลไกการปรบตวั | |
คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | ประสิทธิภาพ | ||
กรกฏาคม_สงิ หาคม) | นาขา้ วทงั้ ต˚าบลเสย่ี งต่อการ | เสยี หายประมาณ 60% | เกษตรทม่ี พี น้ื ทน่ี าทอ่ี ยใู กลแ้ ม่น้˚า | เพยี งพอในการลดปญั หา | |
เกดิ ฝนทง้ิ ช่วง | เสยี ว ประมาณ 10% ของพน้ื ทน่ี า | การขาดแคลนน้˚าในช่วง | |||
2. ความเสย่ี งฝนทง้ิ ช่วง | หมดมกี ารสบู น้˚าจากแม่น้˚ามาใส่ | ดงั กล่าว | |||
ประมาณ 5 ปีในรอบ 10 ปี | พน้ื ทน่ี า | ขอ้ เสนอแนะในการ แกป้ ญั หาคอื การขุดลอก | |||
ลา˚ น้˚าเสยี วใหล้ กึ ทา˚ ใหม้ ี | |||||
พน้ื ทก่ี กั เกบ็ น้˚าไวใ้ ชใ้ นช่วง | |||||
ฝนทง้ิ ช่วง | |||||
ขา้ วนาปรงั | ภาวะแหง้ แลง้ _ ขาด | 1. พน้ื ทน่ี าทงั้ หมดหรอื | ขา้ วนาปรงั ไวต่อการขาดน้˚า | 1. ลดพน้ื ทป่ี ลกู ขา้ วนาปรงั | ยงั มเี กษตรกรบางส่วนใน |
แคลนน้˚าและอุณหภูมิ | 100% เสย่ี งต่อการขาดน้˚าใน | ในช่วงออกดอกถงึ เกบ็ เกย่ี ว | 2. เกษตรกรบางรายเลกิ ปลกู ขา้ ว | ชุมชนยงั คงเสย่ี งปลกู ขา้ ว | |
สงู การระบาดของ | ฤดแู ลง้ ทุกปี | ผลผลติ ขา้ วเสยี หายประมาณ | นาปรงั | นาปรงั หวงั งว่าคงได้ | |
เพลย้ี กระโดด | 2. พน้ื ทท่ี า˚ นาปรงั ประมาณ | 90 % | 3. ปลกู ขา้ วนาปรงั เรว็ กว่าปกติ | ผลผลติ ขา้ วเพยี งพอต่อ | |
2%ของพน้ื ทน่ี าทงั้ ต˚าบล | (หลงั น้˚าท่วมลดลง) ปลกู ขา้ วนา | การบรโิ ภคในครวั เรอื น | |||
ปรงั ทนั ที โดยหวงั ว่าน้˚าในนาท่ี | |||||
เหลอื อยจะเพยี งพอต่อการ | |||||
เจรญิ เตบิ โตและใหผลผลติ |
ตารางที่ 5.2 ความเสี่ยง ความไวต่อความเสี่ยง และความสามารถในการปรับตัวของเกษตรกรในพื้นที่เทศบาลตําบลเมืองบัว ตําบลเมืองบัว อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด
ภาคส่วนที่เสี่ยง | การเสี่ยงจากสภาพ อากาศ | การเปิ ดรบั จากผลกระทบ หรือแรงกดดนจากสภาพ อากาศปัจจบุ นั | ความไวต่อผลกระทบจาก สภาพอากาศ | ความสามารถในการรบมือ/กลไกการปรบตวั | |
คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | ประสิทธิภาพ | ||
ระบบเกษตร | |||||
ขา้ วนาปี | น้˚าท่วม_ความ | 1. ประมาณ 30 % ของพน้ื ท่ี | พน้ื ทเ่ี สยี หายโดยสน้ิ เชงิ | 1. ใชก้ ระสอบทรายกนั้ น้˚ารมิ ตลงิ่ | วธิ กี ารทชี ุมชนดา˚ เนินการ |
แปรปรวนของฝน ในช่วงปลายฤดฝน (กนั ยายน-ตุลาคม) | นาขา้ วทงั้ ต˚าบลเสย่ี งต่อการ เกดิ น้˚าท่วม 2. พน้ื ทเ่ี ปิดรบั เสย่ี งต่อการ | ประมาณ 70 % ของพน้ื ท่ี ซง่ึ ความเสยี หายดงั กล่าวเกดิ ขน้ึ ประมาณ 8 ปีใน 10 ปี) | ลา˚ น้˚าเสยี วใหญ่และลา˚ เตา 2. สบู น้˚าออกจากพน้ื ทเ่ี กษตร 3. ขุดลอกแม่น้˚าเสยี วและแม่น้˚า | ยงั ไม่เพยี งพอในการ แกป้ ญั หาน้˚าท่วม ยงั เป็น การแกป้ ญั หาญเฉพาะหน้า | |
เกดิ น้˚าท่วม 8 ใน 10 ปี | เตา (บางส่วน) | เท่านนั้ | |||
ข้อเสนอแนะในการ | |||||
แก้ปัญหาแบบยง่ ยืน | |||||
1.สรา้ งแหล่งกกั เกบ็ น้˚าๆ | |||||
ในฤดนู ้˚าท่วมไวใ้ ชใ้ นฤดู | |||||
แลง้ | |||||
2. สรา้ งทางระบายน้˚าและ | |||||
สะพานลอดลา˚ น้˚าเสยี ว | |||||
ใหญ่จากบ้านเหล่างามและ | |||||
บ้านหนองอ้อ ไปลงแม่น้˚า | |||||
ทต่ี .กกู าสงิ ห์ | |||||
3.การประสานงานความ | |||||
ร่วมมอื ในการจดั การน้˚าทงั้ | |||||
ระหว่างหน่วยงาน องคก์ ร | |||||
บรหารในพน้ื ท่ี (อปท) กบั |
ภาคส่วนท่ีเสี่ยง | การเสี่ยงจากสภาพ อากาศ | การเปิ ดรบั จากผลกระทบ หรือแรงกดดนจากสภาพ อากาศปัจจบุ นั | ความไวต่อผลกระทบจาก สภาพอากาศ | ความสามารถในการรบมือ/กลไกการปรบตวั | |
คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | ประสิทธิภาพ | ||
หน่วยงานรฐั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เช่น กรมชลประทาน การ ประปาส่วนภูมภาค 4. ขุดลอกลา˚ น้˚าและลา˚ คลองจากพน้ื ทน่ี ้˚าท่วมไป ยงั พน้ื ทข่ี าดน้˚า (ขุดลอกลา˚ น้˚าเตาจากบ้านโพนทอง ไปยงั ต.กกู าสงิ หแ์ ละต.ดง ครงั ่ ใหญ่ และลา˚ น้˚าเสยี ว ไปบ้านต่องต้อนและต.กกู า สงิ ห์ ซง่ึ บรเิ วณดงั กล่าวมี คลองระบายน้˚าทก่ี รม พฒั นาทด่ี นิ ดา˚ เน้นการไว้ แลว้ ) | |||||
ขา้ วนาปี | ฝนทง้ิ ช่วง_(ช่วงเดอื น กรกฏาคม_สงิ หาคม) | 1. ประมาณ 100 % ของ พน้ื ทน่ี าขา้ วทงั้ ต˚าบลเสย่ี งต่อ การเกดิ ฝนทง้ิ ช่วง 2. ความเสย่ี งฝนทง้ิ ช่วง ประมาณ 9 ปีในรอบ 10 ปี | พน้ื ทเ่ี สย่ี ง ผลผลติ ขา้ ว เสยี หายประมาณ 50% | กลไกลระดบครวเรือน 1. ซ่อมต้นขา้ วในส่วนทเ่ี สยี หาย 2. ขุดสระน้˚าในไร่นา สบู ใชช่วง ขาดน˚าฝน 3. สบู น้˚าจากแม่น้˚าเสยี วและ แม่น้˚าเตา ใส่แปลงนา | วธิ กี ารดงั กล่าวยงั ไม่ เพยี งพอในการแกป้ ญั หา การขาดแคลนน้˚าในช่วง ดงั กล่าว ขอ้ เสนอแนะในการ แกป้ ญั หาคอื 1. จดั ตงั้ คณะกรรมการ บรกิ ารจดั การน้˚า มอี ˚านาจ |
ภาคส่วนที่เสี่ยง | การเสี่ยงจากสภาพ อากาศ | การเปิ ดรบั จากผลกระทบ หรือแรงกดดนจากสภาพ อากาศปัจจบุ นั | ความไวต่อผลกระทบจาก สภาพอากาศ | ความสามารถในการรบมือ/กลไกการปรบตวั | |
คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | ประสิทธิภาพ | ||
กลไกระดบตา˚ บล 1. ขุดลอกคลองและสระน้˚า 2. เทศบาลสนบั สนุนน้˚ามนั สบู น้˚า ช่วยเหลอื เกษตรกรในช่วงขาดน้˚า | ในการตดั สนิ ใจในการ จดั สรรน้˚าและตงั้ กฏ ระเบยี บกฏระเบยี บการใช้ น้˚า รวมถงึ กา˚ หนดทต่ี ้งบ่อ เลย้ี งปลา การทา˚ คนั้ คกู นั้ น แม่น้˚า 2. เทศบาลต˚าบลเมอื งบวั ดา˚ เนินโครงการระยะยาว ในการแกไ้ ขปญั หาน้˚าท่วม และน้˚าแลง้ ดว้ ยการเสนอ โครงการผ่านสา˚ นกั งาน คณะกรรมการพเิ ศษเพอื ประสานงานโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดา˚ ริ (กปร) | ||||
ขา้ วนาปรงั | ภาวะแหง้ แลง้ _ ขาด แคลนน้˚าและอุณหภูมิ สงู | พน้ื ทท่ี า˚ นาปรงั ส่วนใหญ่อยตู ดิ แม่น้˚าเสยี ว พน้ื ทน่ี าทงั้ หมด หรอื 100% เสย่ี งต่อการขาด น้˚าตงั้ แต่เดอื นมกราคมเป็นต้น ไป | ขา้ วนาปรงั ไวต่อการขาดน้˚า ในช่วงออกดอกถงึ เกบ็ เกย่ี ว ผลผลติ ขา้ วเสยี หายประมาณ 70 % | 1. เกษตรกรทอ่ี ยห่างแม่น้˚าเลกิ หรอื ลดพน้ื ทป่ี ลกู ขา้ วนาปรงั 2. เกษตรกรทป่ี ลกู ขา้ วนาปีทถี ูก น้˚าท่วม ปลกู ขา้ วนาปรงั เรว็ กว่า ปกตปิ ลกู ขา้ วนาปรงั ในเดอื น ธนั วาคม หลงั น้˚าท่วมลดลง โดย | กลไกในการปรบั ตวั ดงั กล่าวไดผลหรอื มี ประสทธภาพเฉพาะ เกษตรกรบางส่วนทอ่ี ยใู กล้ แม่น้˚าเสยี วใหญ่ |
ภาคส่วนที่เสี่ยง | การเสี่ยงจากสภาพ อากาศ | การเปิ ดรบั จากผลกระทบ หรือแรงกดดนจากสภาพ อากาศปัจจบุ นั | ความไวต่อผลกระทบจาก สภาพอากาศ | ความสามารถในการรบมือ/กลไกการปรบตวั | |
คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | ประสิทธิภาพ | ||
หวงั ว่าน้˚าในนาทเ่ี หลอื อยจะ เพยี งพอต่อการเจรญิ เตบิ โตและ ใหผลผลติ | |||||
ภาคเศรษฐกิจ-สังคม | |||||
บ้านเรอื น | น้˚าหลากและท่วมขงั เป็นเวลานานช่วง ปลายฤดฝน | หมบู ้านทอ่ี ยใู กลแ้ ม่น้˚าเสยี ว ใหญ่เสย่ี งต่อน้˚าไหลหลากและ น้˚าท่วม ประมาณ 5 % ของ จา˚ นวนครวั เรอื นทงั้ หมด | บ้านเรอื นถูกน้˚าท่วมประมาณ 3% ของทงั้ ต˚าบล และโอกาส เกดิ น้˚าท่วมประมาณ 2 ปี 10 ปี สงิ่ ของเสยี หายเลก็ น้อย | 1. ยกของหนีน้˚า ไปเกบ็ ไวใ้ นทส่ี งู 2. ยกบ้านพน้ื สงู น้˚าท่วมไม่ถงึ โดยใชภ้ ูมปิ ญั ญาชาวบา้ น 3. ถมพน้ื บ้านใหส้ งู ขน้ึ ภายหลงั น้˚าท่วม | กลไกในการรบั มอื ดงั กล่าว มปี ระสทธภาพสงู |
บ้านเรอื น | พายุฤดรู อ้ น | บ้านเรอื นใน 2 หมบู ้านของ ต˚าบลเสย่ี งต่อความเสยี หาย ทงั้ หมด (100%) (บ้านสม้ โฮง บ้านหนองอ้อ) ช่วงเดอื น มนี าคม-มถิ ุนายน ความ รุนแรงพายุเพมิ่ ขน้ึ จากอดตี | บ้านเรอื นไดร้ บั ความเสยี หาย ประมาณรอ้ ยละ 2-3 ในแต่ละ ปี เสย่ี งต่อพายุฤดรู อ้ นทุกปี (ปีใน 10 ปี) | 1. ความช่วยเหลอื จากเทศบาล ต˚าบลเมอื งบวั (ปภ) 2. ปรบั โครงสรา้ งบ้านใหแ้ ขง็ แรง 3. ปลกู ต้นไมบ้ งั ลม | วธิ กี ารดงั กล่าวยงั ไม่ เพยี งพอในการแกป้ ณั หา ผลกระทบจากพายุฤดรู อ้ น เน่ืองจากทศิ ทางการเกดิ พายุเปลย่ี นไป |
ตารางที่ 5.3 ความเสี่ยง ความไวต่อความเสี่ยง และความสามารถในการปรับตัวของเกษตรกรในพื้นที่เทศบาลตําบลหินกอง ตําบลหินกอง อ.สุวรรณภูมิ จ.ร้อยเอ็ด
ภาคส่วนที่เส่ียง | การเสี่ยงจากสภาพ อากาศ | การเปิ ดรบั จากผลกระทบ หรือแรงกดดนจากสภาพ อากาศปัจจบุ นั | ความไวต่อผลกระทบจาก สภาพอากาศ | ความสามารถในการรบมือ/กลไกการปรบตวั | |
คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | ประสิทธิภาพ | ||
ระบบเกษตร | |||||
ขา้ วนาปี | น้˚าท่วม_ความ แปรปรวนของฝน ในช่วงปลายฤดฝน (กนั ยายน-ตุลาคม) | 1. ประมาณ 50 % ของพน้ื ท่ี นาขา้ วทงั้ ต˚าบลเสย่ี งต่อการ เกดิ น้˚าท่วม 2. พน้ื ทเ่ี ปิดรบั เสย่ี งต่อการ เกดิ น้˚าท่วมประมาณ 3 ใน 10 ปี | พน้ื ทเ่ี สยี หายโดยสน้ิ เชงิ ประมาณ 50 % ของพน้ื ท่ี ซง่ึ ความเสยี หายดงั กล่าวเกดิ ขน้ึ ประมาณ 3 ปีใน 10 ปี) | 1. ใชก้ ระสอบทรายกนั้ น้˚ารมิ ฝงั ่ แม่น้˚าเสยี วใหญ่ 2. ประสานขอความช่วยเหลอื จากภาครฐั (เทศบาลต˚าบลหนิ กองและหน่วยราชการอ่นื ในพน้ื ท่ี 3. เกษตรปิดท่อระบายน้˚าไม่ให้ น้˚าไหลเขา้ แปลงนาของตนเอง | วธิ กี ารทชี ุมชนดา˚ เนินการ ยงั ไม่เพยี งพอในการ แกป้ ญั หาน้˚าท่วม ยงั เป็น การแกป้ ญั หาเฉพาะหน้า เท่านนั้ ข้อเสนอแนะในการ แก้ปัญหาแบบยง่ ยืน 1. ชุมชนควรมส่วนร่วมใน การจดั การน้˚า โดยจดั จงั้ เป็นคณะกรรมการบรหาร จดั การน้˚าในลุ่มน้˚าเสยี ว ใหญ่ 2. ทา˚ ทางระบายน้˚า เพมิ่ เตมิ โดยใชบ้ ลอ็ ก คอนเวอรทเ์ ป็นช่วงๆ ตลอดถนนสองชนั้ -หนิ กอง 3. วางแผนระบบจดั การน้˚า อย่างเป็นระบบตลอด แม่น้˚าเสยี ว(ลุ่มน่˚าเสยี ว |
ภาคส่วนท่ีเส่ียง | การเสี่ยงจากสภาพ อากาศ | การเปิ ดรบั จากผลกระทบ หรือแรงกดดนจากสภาพ อากาศปัจจบุ นั | ความไวต่อผลกระทบจาก สภาพอากาศ | ความสามารถในการรบมือ/กลไกการปรบตวั | |
คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | ประสิทธิภาพ | ||
ใหญ่) 4. เสรมิ คนั กนั้ น้˚ารมิ ฝงั ่ แม่น้˚าเสยี วจากบ้านโพน ฝ้าย(ฝายโพนฝ้าย) ไป บ้านสระคู และขยาย สะพานลา˚ เสยี วใหญ่ท่ี ต˚าบลสระคู | |||||
ขา้ วนาปี | ฝนทง้ิ ช่วง_(ช่วงเดอื น กรกฏาคม_สงิ หาคม) | 1. ประมาณ 100 % ของ พน้ื ทน่ี าขา้ วทงั้ ต˚าบลเสย่ี งต่อ การเกดิ ฝนทง้ิ ช่วง 2. ความเสย่ี งฝนทง้ิ ช่วง ประมาณ 4 ปีในรอบ 10 ปี | พน้ื ทเ่ี สย่ี ง ผลผลติ ขา้ ว เสยี หายประมาณ 45% | 1. น˚าน้˚าบาดาลมาใชใ้ นช่วงฝนไม่ ตก (บางพน้ื ทน่ี ้˚าบาดาลไม่เคม็ 2. ใชน้ ้˚าจากสระน้˚าในไร่นา 3. เทศบาลต˚าบลกนิ กอง สนบั สนุนน้˚ามนั เชอ้ื เพลงิ ในการ สบู น้˚าจากแม่น้˚าเสยี ว เฉพาะ เกษตรกรทอ่ี ยใู กลแ้ ม่น้˚าเท่านนั้ | วธิ กี ารดงั กล่าวยงั ไม่ เพยี งพอในการแกป้ ญั หา การขาดแคลนน้˚าในช่วง ดงั กล่าว ขอ้ เสนอแนะในการ แกป้ ญั หาคอื 1. สรา้ งแหล่งกกั เกบ็ น้˚า ไวใ้ ชใ้ นช่วงฝนทง้ิ ช่วงและ หน้าแลง้ โดยใชพ้ น้ื ท่ี สาธารณะประโยชน์ เช่น ดอนเลา้ ขา้ วมพี น้ื ท่ี 2,400 ไร่ สหโยชน์และโพนเสยี ว มพี น้ื ท่ี 700 ไร่ 2. ระบบชลประทานท่อ |
ภาคส่วนท่ีเสี่ยง | การเสี่ยงจากสภาพ อากาศ | การเปิ ดรบั จากผลกระทบ หรือแรงกดดนจากสภาพ อากาศปัจจบุ นั | ความไวต่อผลกระทบจาก สภาพอากาศ | ความสามารถในการรบมือ/กลไกการปรบตวั | |
คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | ประสิทธิภาพ | ||
น˚าน้˚าจากแม่น้˚าชลงสู่ แม่น้˚าเสยี วใหญ่ จะช่วย แกป้ ญั หาการขาดแคลน น้˚าในช่วงกลางฤดฝนแลว้ ในฤดแู ลง้ ยงั สามารถทา˚ นาปรงั ได้ | |||||
ภาคเศรษฐกิจ-สังคม | |||||
บ้านเรอื น | พายุฤดรู อ้ น | บ้านเรอื นใน 4 หมบู ้านของ ต˚าบลเสย่ี งต่อความเสยี หาย ทงั้ หมด (100%) (บ้านหนิ กอง บ้านโพนพะอูน บ้านเลา้ ขา้ ว และบ้านคดั เคา้ ) | เสย่ี งต่อพายุฤดรู อ้ น 9 ปีใน 10 ปี | 1. ความช่วยเหลอื จากเทศบาล ต˚าบลหนิ กอง (ปภ) 2. ปรบั โครงสรา้ งบ้านใหแ้ ขง็ แรง อาทิ สรา้ งบ้านดว้ ยซเี มนต์แทน บ้านไม้ สรา้ งบ้านชนั้ เดยี วแทน บ้านสองชนั้ | วธิ กี ารดงั กล่าวยงั ไม่ เพยี งพอในการแกป้ ณั หา ผลกระทบจากพายุฤดรู อ้ น เป็นเพยี งแกป้ ญั หาเฉพาะ หน้า |
ตารางที่ 5.4 ความเสี่ยง ความไวต่อความเสี่ยง และความสามารถในการปรับตัวของเกษตรกรในพื้นที่เทศบาลตําบลกู่กาสิงห์ ตําบลกู่กาสิงห์ และองค์การบริหารส่วนตําบลกู่กาสิงห์ ตําบลกู่กาสิงห์ อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด
ภาคส่วนที่เสี่ยง | การเสี่ยงจากสภาพ อากาศ | การเปิ ดรบั จากผลกระทบ หรือแรงกดดนจากสภาพ อากาศปัจจบุ นั | ความไวต่อผลกระทบจาก สภาพอากาศ | ความสามารถในการรบมือ/กลไกการปรบตวั | |
คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | ประสิทธิภาพ | ||
ระบบเกษตร | |||||
ขา้ วนาปี | น้˚าท่วม_ความ แปรปรวนของฝน ในช่วงปลายฤดฝน (กนั ยายน-ตุลาคม) | 1.ประมาณ 30-40 % ของ พน้ื ทน่ี าขา้ วทงั้ ต˚าบลเสย่ี งต่อ การเกดิ น้˚าท่วม 6. พน้ื ทเ่ี ปิดรบั เสย่ี งต่อการ เกดิ น้˚าท่วม 6-7 ใน 10 ปี | พน้ื ทเ่ี สยี หายโดยสน้ิ เชงิ ประมาณ 100 % ของพน้ื ท่ี เปิดรบั ซง่ึ ความเสยี หาย ดงั กล่าวเกดิ ขน้ึ ประมาณ 6-7 ปีใน 10 ปี | 1. ใชก้ ระสอบทรายกนั้ น้˚ารมิ ตลงิ่ ลา˚ น้˚าเสยี วใหญ่ (งบจากอบต และ เทศบาล) 2. บางครอบครวั น˚าขา้ วขน้ึ น้˚ามา ปลกู แทนขา้ วขาวดอกมะลิ | วธิ กี ารทชี ุมชนดา˚ เนินการ ยงั ไม่เพยี งพอในการ แกป้ ญั หาน้˚าท่วม คาดว่า แกป้ ญั หาไดป้ ระมาณ 40% ซง่ึ ยงั เป็นการ แกป้ ญั หาญเฉพาะหน้า เท่านนั้ ข้อเสนอแนะในการ แก้ปัญหาแบบยง่ ยืน 1.มกี ารประสานงานการ ปิดเปิดน้˚าจากฝายในลา˚ น้˚า เสยี วใหญ่ 2. ขยายหรอื เพมิ่ พน้ื ท่ี ระบายน้˚าใหม้ ากขน้ึ โดย ใชบ้ ลอ็ กคอนเวรทบ์ รเิ วณ ถนนหลกั 3. ซ่อมแซมคนั กนั้ แม่น้˚า เสยี วและประตูปิดเปิดน้˚า 4. เปิดบานประตูระบายน้˚า |
ภาคส่วนท่ีเสี่ยง | การเสี่ยงจากสภาพ อากาศ | การเปิ ดรบั จากผลกระทบ หรือแรงกดดนจากสภาพ อากาศปัจจบุ นั | ความไวต่อผลกระทบจาก สภาพอากาศ | ความสามารถในการรบมือ/กลไกการปรบตวั | |
คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | ประสิทธิภาพ | ||
ทงั้ หมดของฝายหรอื เขอื น ในแม่น้˚ามลก่อนฤดนู ้˚า หลาก 5. จดั ตงั้ คณะกรรมการ บรหารจดั การน้˚าร่วมจาก ทุกต˚าบลทใ่ี ชป้ ระโยชน์ จากลา˚ น้˚าพรอ้ มประสาน ความร่วมมอื กบั หน่วยงาน ภาครฐั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง | |||||
ขา้ วนาปี | ฝนทง้ิ ช่วง_(ช่วงเดอื น กรกฏาคม_สงิ หาคม) | 1. ประมาณ 60-70 % ของ พน้ื ทน่ี าขา้ วทงั้ ต˚าบลเสย่ี งต่อ การเกดิ ฝนทง้ิ ช่วง 2. ความเสย่ี งฝนทง้ิ ช่วงทุกปี | ผลผลติ ขา้ วเสยี หายประมาณ 30% ในแต่ละปี | กลไกลระดบครวเรือน 1. ปลกู ขา้ วในช่วงเดอื นสงิ หาคม 2. ขุดสระน้˚าในไร่นา สบู ใชช่วง ขาดน้˚าฝน (กค-สค) 3. สบู น้˚าจากแม่น้˚าเสยี วและจาก คลองระบายน้˚าของกรม พฒั นาทด่ี นิ (เฉพาะพน้ื ทที าง ตอนเหนือของต˚าบล น้˚า บาดาลเคม็ ใชใ้ นการเกษตร ไม่ได)้ | วธิ กี ารดงั กล่าวยงั ไม่ เพยี งพอในการแกป้ ญั หา การขาดแคลนน้˚าในช่วง ดงั กล่าว ขอ้ เสนอแนะในการ แกป้ ญั หาคอื 1. ขุดลอกแม่น้˚าเสยี วจาก ฝายเมอื งบวั จนถงึ ฝายเลา้ ขา้ ว และกกั เกบ็ น้˚าไวใ้ ชใ้ น ฤดแู ลง้ 2. ซ่อมแซมประตูปิดเปิด ฝาย |
ภาคส่วนที่เสี่ยง | การเสี่ยงจากสภาพ อากาศ | การเปิ ดรบั จากผลกระทบ หรือแรงกดดนจากสภาพ อากาศปัจจบุ นั | ความไวต่อผลกระทบจาก สภาพอากาศ | ความสามารถในการรบมือ/กลไกการปรบตวั | |
คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | ประสิทธิภาพ | ||
ขา้ วนาปรงั | ภาวะแหง้ แลง้ _ ขาด แคลนน้˚าและอุณหภูมิ สงู | พน้ื ทท่ี า˚ นาปรงั เปิดรบั ความ เสย่ี ง 100% เรมิ่ จากเดอื น มกราคมเป็นต้นไป | ขา้ วนาปรงั ไวต่อการขาดน้˚า ในช่วงออกดอกถงึ เกบ็ เกย่ี ว ผลผลติ ขา้ วเสยี หายประมาณ 50-90 % ขน้ึ กบั ปรมิ าณน้˚าใน แม่น้˚า ฝายกกั เกบ็ น้˚าและฝนท่ี ตกในช่วงเดอื นมกราคม- กุมภาพนั ธ์ | 1. ปลกู ขา้ วนาปรงั เรว็ กว่าปกติ ปลกู ขา้ วนาปรงั ในเดอื นธนั วาคม หลงั น้˚าท่วมลดลง เกบ็ เกย่ี วในช่วง เดอื นมนี าคม 2. ลดพน้ื ทป่ี ลกู หรอื เลกิ ปลกู โดยเฉพาะเกษตรกรทอ่ี ยห่างจาก แม่น้˚า | กลไกในการปรบั ตวั ดงั กล่าวไดผลหรอื มี ประสทธภาพเฉพาะ เกษตรกรบางส่วนทอ่ี ยใู กล้ แม่น้˚าเสยี ว ขอ้ เสนอแนะ ควรมกี ารผนั น้˚าจากแม่น้˚า ชลงเตมิ แม่น้˚าเสยี วรองรบั ฝนทง้ิ ช่วงและฤดแู ลง้ |
ภาคเศรษฐกิจ-สังคม | |||||
บ้านเรอื น | พายุฤดรู อ้ น | บ้านเรอื นใน 13 หมบู ้านของ ต˚าบลเสย่ี งต่อความเสยี หาย ทงั้ หมด (100%) (โดยเฉพาะ ในเขตเทศบาลต˚าบลกกู าสงิ ห์ | บ้านเรอื นเสยี หายปประมาณ รอ้ ยละ 5-10 ของบ้านเรอื น ทงั้ หมด เสย่ี งต่อพายุฤดรู อ้ น 5 ปีใน 10ปี | 1. ความช่วยเหลอื จากเทศบาล ต˚าบลหนิ กอง (ปภ) 2. ปรบั โครงสรา้ งบ้านใหแ้ ขง็ แรง | วธิ กี ารดงั กล่าวยงั ไม่ เพยี งพอในการแกป้ ณั หา ผลกระทบจากพายุฤดรู อ้ น เป็นเพยี งแกป้ ญั หาเฉพาะ หน้า ขอ้ เสนอแนะ ควรมกี าร ประกนั วาตภยั |
ตารางที่ 5.5 ความเสี่ยง ความไวต่อความเสี่ยง และความสามารถในการปรับตัวของเกษตรกรในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตําบลเกษตรวิสัย ตําบลเกษตรวิสัย อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด
ภาคส่วนท่ีเสี่ยง | การเสี่ยงจากสภาพ อากาศ | การเปิ ดรบั จากผลกระทบ หรือแรงกดดนจากสภาพ อากาศปัจจบุ นั | ความไวต่อผลกระทบจาก สภาพอากาศ | ความสามารถในการรบมือ/กลไกการปรบตวั | |
คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | ประสิทธิภาพ | ||
ระบบเกษตร | |||||
ขา้ วนาปี | น้˚าท่วม_ความ แปรปรวนของฝน ในช่วงปลายฤดฝน (กนั ยายน-ตุลาคม) | 1. ประมาณ 50 % ของพน้ื ท่ี นาขา้ วทงั้ ต˚าบลเสย่ี งต่อการ เกดิ น้˚าท่วม 2. พน้ื ทเ่ี ปิดรบั เสย่ี งต่อการ เกดิ น้˚าท่วม 8 ใน 10 ปี | พน้ื ทเ่ี สยี หายโดยสน้ิ เชงิ ประมาณ 40 % ของพน้ื ท่ี ซง่ึ ความเสยี หายดงั กล่าวเกดิ ขน้ึ ประมาณ 8 ปีใน 10 ปี) | 1. ใชก้ ระสอบทรายกนั้ น้˚ารมิ ตลงิ่ ลา˚ น้˚าเสยี วใหญ่และลา˚ กุดกู่ (งบ จากอบต และเทศบาล) 2. บางครอบครวั น˚าขา้ วขน้ึ น้˚ามา ปลกู (4-5 ครวั เรอื น) | วธิ กี ารทชี ุมชนดา˚ เนินการ ยงั ไม่เพยี งพอในการ แกป้ ญั หาน้˚าท่วม ยงั เป็น การแกป้ ญั หาญเฉพาะหน้า เท่านนั้ ข้อเสนอแนะในการ แก้ปัญหาแบบยง่ ยืน 1.ขุดลอกแม่น้˚าเสยี วและ ลา˚ กุดกตู ลอดลา˚ น้˚า 2. จดั ตงั้ คณะกรรมการ บรหารจดั การน้˚าร่วมจาก ทุกต˚าบลทใ่ี ชป้ ระโยชน์ จากลา˚ น้˚าพรอ้ มประสาน ความร่วมมอื กบั หน่วยงาน ภาครฐั ทเ่ี กกย่ี วขอ้ ง 3. สรา้ งคนั กนั้ น้˚าแม่น้˚า เสยี วใหไ้ ดม้ าตรฐานและสงู เท่ากนั 4. ซ่อมแซมประตูปิดเปิด |
ภาคส่วนท่ีเสี่ยง | การเสี่ยงจากสภาพ อากาศ | การเปิ ดรบั จากผลกระทบ หรือแรงกดดนจากสภาพ อากาศปัจจบุ นั | ความไวต่อผลกระทบจาก สภาพอากาศ | ความสามารถในการรบมือ/กลไกการปรบตวั | |
คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | ประสิทธิภาพ | ||
ท่อระบายน้˚าทช่ี า˚ รุด โดย หน่วยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ | |||||
ขา้ วนาปี | ฝนทง้ิ ช่วง_(ช่วงเดอื น กรกฏาคม_สงิ หาคม) | 1. ประมาณ 100 % ของพน้ื ท่ี นาขา้ วทงั้ ต˚าบลเสย่ี งต่อการ เกดิ ฝนทง้ิ ช่วง 2. ความเสย่ี งฝนทง้ิ ช่วง ประมาณ 3 ปีใน 10 ปี | พน้ื ทเ่ี สย่ี ง ผลผลติ ขา้ ว เสยี หายประมาณ 20% | กลไกลระดบครวเรือน 1. ซ่อมต้นขา้ วในส่วนทเ่ี สยี หาย 2. ขุดสระน้˚าในไร่นา สบู ใชช่วง ขาดน˚าฝน 3. สบู น้˚าจากแม่น้˚าเสยี วและ แม่น้˚าเตา (น้˚าบาดาลในพน้ื ทเ่ี ป็น น้˚าเคม็ ) | วธิ กี ารดงั กล่าวยงั ไม่ เพยี งพอในการแกป้ ญั หา การขาดแคลนน้˚าในช่วง ดงั กล่าว ขอ้ เสนอแนะในการ แกป้ ญั หาคอื 1. การประปาส่วนภูมภาค ควรจดั หาแหล่งน้˚าดบิ เป็น ของตนเอง (ไม่ควรมาแย่ง น้˚าจากแม่น้˚าเสยี วกบั ชุมชน) 2. ขุดลอกแม่น้˚าเสยี วและ ลา˚ กุกกู่ และกกั เกบ็ น้˚าไว้ ใชใ้ นฤดแู ลง้ |
ขา้ วนาปรงั | ภาวะแหง้ แลง้ _ ขาด แคลนน้˚าและอุณหภูมิ สงู | 3. พน้ื ทท่ี า˚ นาปรงั ส่วนใหญ่ ประมาณ 3% ของพน้ื ทน่ี าทงั้ ต˚าบล พน้ื ทท่ี า˚ นาปรงั เสย่ี งต่อ การขาดน้˚า 100% ตงั้ แต่ เดอื นมกราคมเป็นต้นไป | ขา้ วนาปรงั ไวต่อการขาดน้˚า ในช่วงออกดอกถงึ เกบ็ เกย่ี ว ผลผลติ ขา้ วเสยี หายประมาณ 20-100 % ขน้ึ กบั ปรมิ าณน้˚า ในแม่น้˚า ฝายกกั เกบ็ น้˚าและ ฝนทต่ี กในช่วงเดอื นมกราคม- | 3. ปลกู ขา้ วนาปรงั เรว็ กว่าปกติ ปลกู ขา้ วนาปรงั ในเดอื นธนั วาคม หลงั น้˚าท่วมลดลง เกบ็ เกย่ี วในช่วง เดอื นมนี าคม 4. ลดพน้ื ทป่ี ลกู หรอื เลกิ ปลกู โดยเฉพาะเกษตรกรทอ่ี ยห่างจาก | กลไกในการปรบั ตวั ดงั กล่าวไดผลหรอื มี ประสทธภาพเฉพาะ เกษตรกรบางส่วนทอ่ี ยใู กล้ แม่น้˚าเสยี ว ขอ้ เสนอแนะ รฐั บาลควรใช้ |
ภาคส่วนท่ีเสี่ยง | การเสี่ยงจากสภาพ อากาศ | การเปิ ดรบั จากผลกระทบ หรือแรงกดดนจากสภาพ อากาศปัจจบุ นั | ความไวต่อผลกระทบจาก สภาพอากาศ | ความสามารถในการรบมือ/กลไกการปรบตวั | |
คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | คา˚ อธิบาย/ตวชี้วดั | ประสิทธิภาพ | ||
กุมภาพนั ธ์ (ปี 2554 ผลผลติ ขา้ วเสยี หายทงั้ หมด ปี 2553 ผลผลติ เสยี หายประมาณรอ้ ย ละ 20) | แม่น้˚า | วธิ รี บั จา˚ น˚าขา้ วในการ ช่วยเหลอื ชาวนา ทา˚ ให้ ช่วยลดปญั หาความเสย่ี ง ในการทา˚ นาปรงั และ ปญั หาการแย่งน้˚า (การ ประกนั ส่วนต่างทา˚ ให้ เกษตรกรปลกู ขา้ วเพอื เอา เงนิ ส่วนต่าง ไม่ไดหวงั ผลผลติ ขา้ ว) | |||
พชผกั | อุณหภูมสิ งู ในช่วงฤดู แลง้ _ขาดน้˚า | แหล่งปลกู ฝกั จา˚ หน่ายในเขต เทศบาลเกษตรวสิ ยั พน้ื ท่ี เสย่ี งต่อการขาดน้˚าทงั้ หมด (100%) พน้ื ทป่ี ลกู ผกั ไดแ้ ก่ คุม้ วดั ธาตุ บ้านหนองแวง บ้านหนองแวง หมทู ่ี 10 คุม้ ป่าบาก บ้านคุม้ น้อย | ผลผลติ พชผกั ไดร้ บั ความ เสยี หาย 20 % ของทงั้ หมด ซง่ึ เสย่ี งต่อการขาดน้˚าทุกปี | 1. ใชน้ ้˚าจากลา˚ กุดกู่ ในช่วงปลาย ฤดฝน 2. ใชน้ ้˚าบาดาล ในช่วงเดอื น มกราคม-มนี าคม 3. บางราย ขุดบ่อน้˚าในไร่นาไวใ้ ช้ ในช่วงขาดดน้˚า | วธิ กี ารดงั กล่าวมี ประสทธภาพปานกลาวถงึ สงู ในการแกป้ ญั หาการ ขาดน้˚าในการปลกู ผกั |
ตารางที่ 5.6 ความเปราะบางของระบบการเกษตรของ 5 ตําบล
ระบบเกษตร | การเปิดรับ | ผลกระทบ | ความสามารถในการปรับตัว | ความเปราะบาง |
ต้าบลน ้าอ้อม | ||||
นาปี-น้ําท่วม | ปานกลาง | ปานกลาง | ต่ํา | สูง |
นาปี-ฝนแล้ง | ปานกลาง | ปานกลาง | ปานกลาง | ปานกลาง |
นาปรัง | สูง | ปานกลาง | สูง | ต่ํา |
ต้าบลเมืองบัว | ||||
นาปี-น้ําท่วม | ต่ํา | สูง | ต่ํา | สูง |
นาปี-ฝนแล้ง | สูง | ปานกลาง | ต่ํา | สูง |
นาปรัง | ปานกลาง | สูง | สูง | ต่ํา |
ต้าบลหินกอง | ||||
นาปี-น้ําท่วม | ต่ํา | ต่ํา | ต่ํา | ปานกลาง |
นาปี-ฝนแล้ง | ปานกลาง | ปานกลาง | ต่ํา | สูง |
นาปรัง | - | - | - | - |
ต้าบลกู่กาสิงห์ | ||||
นาปี-น้ําท่วม | สูง | สูง | ปานกลาง | ปานกลาง |
นาปี-ฝนแล้ง | สูง | ต่ํา | ต่ํา | ปานกลาง |
นาปรัง | สูง | สูง | ปานกลาง | ปานกลาง |
ต้าบลเกษตรวิสัย | ||||
นาปี-น้ําท่วม | สูง | สูง | ต่ํา | สูง |
นาปี-ฝนแล้ง | ต่ํา | ต่ํา | ปานกลาง | สูง |
นาปรัง | สูง | ปานกลาง | ปานกลาง | ปานกลาง |
พืชผัก | สูง | ต่ํา | สูง | ต่ํา |
5.6 พื นที่เสี่ยงภัยแล้งและภัยน ้าท่วม
การประชุมกลุ่มตัวแทนชุมชนพื้นที่ศึกษาเพื่อสรุปความเสี่ยง ความไวต่อความเสี่ยง และความสามารถใน การปรับตัวของแต่ละชุมชนจากอดีตถึงปัจจุบัน ผู้เข้าร่วมประชุม ในแต่ละพื้นที่ศึกษาได้ร่วมกันจัดทําแผนที่เสี่ยงภัย แล้งและภัยน้ําท่วมจากเหตุการณ์จริง ซึ่งพื้นที่เสี่ยงดังกล่าวจะมีความแตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ (ภาพที่ 5.1 ถึง 5.5) สรุปได้ดังนี้
พื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง ชุมชนศึกษาทั้ง 6 ชุมชนมีพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งทั้งเสี่ยงน้อย เสี่ยงปานกลาง และเสี่ยงมาก คิดเป็นพื้นที่รวม 160,386 20,280 และ 25,137 ไร่ ตามลําดับ (ตารางที่ 5.7) พื้นที่เสี่ยงภัยแล้งมาก มีเฉพาะใน เขตตําบลเมืองบัวและตําบลน้ําอ้อม ( 14,874 และ 10,263 ไร่) พื้นที่เสี่ยงภัยแล้งปานกลางมีในเขตตําบลเมืองบัว และตําบลกู่กาสิงห์ (17,207 และ 3,073 ไร่) พื้นที่เสี่ยงภัยแล้งน้อย มีในเขตตําบลหินกอง ตําบลเกษตรวิสัย ตําบล เมืองบัว และตําบลน้ําอ้อม (69,901 46,353 26,644 และ 17,488 ไร่ ตามลําดับ)
พื้นที่เสี่ยงภัยน้ําท่วม ชุมชนศึกษาทั้ง 6 ชุมชนมีพื้นที่เสี่ยงภัยน้ําท่วมทั้งเสี่ยงน้อย เสี่ยงปานกลาง และ เสี่ยงมาก คิดเป็นพื้นที่ รวม 81,415 33,359 และ 40,901 ไร่ ตามลําดับ (ตารางที่ 5.8) พื้นที่เสี่ยงภัยน้ําท่วม มาก มีอยูในเขต 4 ตําบลคือ ตําบลเกษตรวิสัย ตําบลน้ําอ้อม จําบลกู่กาสิงห์ และเมืองบัว ( 16,297 10,263 9,130 และ 5,211 ไร่) พื้นที่เสี่ยงภัยน้ําท่วมปานกลางมีในเขตตําบลน้ําอ้อมและเมืองบัว ( 17,488 และ 15,871 ไร่) พื้นที่เสี่ยงภัยน้ําท่วมน้อย มีในเขต ตําบลเกษตรวิสัย ตําบลกู่กาสิงห์ ตําบลหินกอง และตําบลเมืองบัว ( 46,353 15,684 14,656 และ 4,722 ไร่ ตามลําดับ)
ตารางที่ 5.7 พื้นที่เสี่ยงภัยแล้งที่ได้จากการมีส่วนร่วมของประชาชนในเขตชุมชนศึกษา
ต้าบล | เสี่ยงน้อย (ไร่) | เสี่ยงปานกลาง (ไร่) | เสี่ยงมาก (ไร่) |
ต้าบลน ้าอ้อม | 17,488 | - | 10,263 |
ต้าบลเกษตรวิสัย | 46,353 | - | - |
ต้าบลกู่กาสิงห์ | - | 3,073 | - |
ต้าบลเมืองบัว | 26,644 | 17,207 | 14,874 |
ต้าบลหินกอง | 69,901 | - | - |
รวม | 160,386 | 20,280 | 25,137 |
ตารางที่ 5.8 พื้นที่เสี่ยงภัยน้ําท่วมที่ได้จากการมีส่วนร่วมของประชาชนในเขตชุมชนศึกษา
ต้าบล | เสี่ยงน้อย (ไร่) | เสี่ยงปานกลาง (ไร่) | เสี่ยงมาก (ไร่) |
ต้าบลน ้าอ้อม | - | 17,488 | 10,263 |
ต้าบลเกษตรวิสัย | 46,353 | - | 16,297 |
ต้าบลกู่กาสิงห์ | 15,684 | - | 9,130 |
ต้าบลเมืองบัว | 4,722 | 15,871 | 5,211 |
ต้าบลหินกอง | 14,656 | - | - |
รวม | 81,415 | 33,359 | 40,901 |
56
ภาพที่ 5.1 พื้นที่เสี่ยงภัยน้ําท่วมและภัยแล้งจากเหตุการณ์จริง ในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตําบลน้ําอ้อม ตําบลน้ําอ้อม อําเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
57
ภาพที่ 5.2 พื้นที่เสี่ยงภัยแล้งและน้ําท่วมจากเหตุการณ์จริงในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตําบลเกษตรวิสัย ตําบลเกษตรวิสัย อําเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
ภาพที่ 5.3 พื้นที่เสี่ยงภัยแล้งและน้ําท่วมจากเหตุการณ์จริงในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตําบลกู่กาสิงห์และเทศบาลตําบลกู่กาสิงห์ ตําบลกู่กาสิงห์ อําเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
ภาพที่ 5.4 พื้นที่เสี่ยงภัยแล้งและน้ําท่วมจากเหตุการณ์จริงในพื้นที่ของเทศบาลตําบลเมืองบัว ตําบลเมืองบัว อําเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
ภาพที่ 5.5 พื้นที่เสี่ยงภัยแล้งและน้ําท่วมจากเหตุการณ์จริงในพื้นที่ของเทศบาลตําบลหินกอง ตําบลหินกอง อําเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด
บทที่ 6 ภาพฉายการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในลุ่มน้้าเสียวใหญ่ในอนาคต
6.1 สภาพอากาศโดยทั่วไปของลุ่มน้้าเสียวใหญ่
ลักษณะภูมิอากาศโดยทั่วไปของลุ่มน้้าเสียวใหญ่(ขอบเขตสีน้้าตาล) มีปริมาณน้้าฝนเฉลี่ยของพื้นที่ ประมาณ 1,200 มิลลิเมตรต่อปี (ภาพที่ 6.1) ฝนตกชุกมากที่สุดในเดือนสิงหาคมและกันยายน ในขณะที่ฤดูแล้ง เริ่มตั้งแต่เดือนธันวาคมถึงเดือนเมษายน และอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยประมาณ 33 องศาเซลเซียส อากาศร้อนสุดใน เดือนเมษายน และอุณหภูมิต่้าสุดประมาณ 22.7 องศาเซลเซียส อากาศจะเย็นสุดในช่วงเดือนธันวาคมและ มกราคม (ภาพที่ 6.2 และ 6.4)
ภาพที่ 6.1 ปริมาณฝนรวมรายปีในลุ่มน้้าชี-มูลช่วงปี 2533 - 2552 (ซ้าย) และ ช่วงปี 2583 – 2602 )ขวา(
ภาพที่ 6.2 อุณหภูมิต่้าสุดเฉลี่ยรายปีในลุ่มน้้าชีมูล-เฉลี่ยช่วงปี 2533-2552 (ซ้าย) และช่วงปี 2583 - 2602 )ขวา(
6.2 การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคตของลุ่มน้้าชี -มูล
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคตที่ใช้ในการศึกษา เป็นผลของการจ้าลองการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภายใต้สมมติฐานการเพิ่มขึ้นของก๊าซเรือนกระจกซึ่งจะเพิ่มขึ้นในอนาคตตามแนวทางการเปลี่ยนแปลงสภาพ เศรษฐกิจและสังคมของโลกตามแบบ A2 เป็นภาพจ้าลองที่ก้าหนดขึ้นโดย Intergovernmental Panel on Climate Change )CCPI( ซึ่งเน้นความเจริญเติบโตในเชิงเศรษฐกิจเป็นหลัก ศูนย์เครือข่ายงานวิเคราะห์วิจัยและ ฝึกอบรมการเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้(START RC) เป็นผู้ด้าเนินการน้าผลการ จ้าลองภูมิอากาศที่ระดับโลกค้านวณจากแบบจ้าลองภูมิอากาศระดับโลก ECHAM4 มาค้านวณเพิ่มรายละเอียด โดยโมเดลภูมิอากาศระดับภูมิภาค PRECIS ในงาน วิจัยนี้เป็นการท้าการเปรียบเทียบภูมิอากาศในพื้นที่ที่ส่งผลต่อ พื้นที่ศึกษาคือ ลุ่มน้้าชี-มูล ซึ่งเป็นลุ่มน้้าหลักที่ล้าน้้าเสียวใหญ่ตั้งอยู่ ระหว่างช่วงปีปัจจุบัน คือ 2533-2552 และปี อนาคต 2583-2602 ซึ่งผลการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคตสรุปได้ดังนี้
ปริมาณฝนของลุ่มน้้าชี-มูล ในอนาคตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยปริมาณฝนรวมรายปีเฉลี่ย เพิ่มจาก 1,500 มิลลิเมตร เป็น 1,526 มิลลิเมตรในอนาคต หรือ เพิ่มขึ้นประมาณ 2 เปอร์เซนต์ โดยปริมาณฝนที่เพิ่มขึ้นมีการ กระจายตัวทั้งลุ่มน้้าชี-มูล (ภาพที่ 6.1) ในส่วนลุ่มน้้าเสียวใหญ่ (ขอบเขตสีน้้าตาล) ปริมาณฝนรวมรายปีมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นประมาณ 12 เปอร์เซนต์เมื่อเทียบกับในช่วงปีปัจจุบัน แต่มีประเด็นที่น่าสังเกตคือ ปริมาณน้้าฝนในฤดูแล้งมี แนวโน้มลดลง (พ.ย.-เมย.) แต่ปริมาณน้้าฝนในช่วงฤดูฝน (พ.ค.-ต.ค.) มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น (ภาพที่ 6.3)
อุณหภูมิสูงสุด )กลางวัน ( ของลุ่มน้้าช-ี มูล ในอนาคตมีแนวโน้มสูงขึ้นเล็กน้อย โดยปริมาณอุณหภูมิสูงสุด
เฉลี่ย เพิ่มจาก 32.8 องศาเซลเซียส เป็น 33.8 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไป 1 องศาเซลเซียล (ภาพที่ 6.4)
อุณหภูมิต่้าสุด(กลางคืน) ของลุ่มน้้าช-ี มูลในอนาคตมีแนวโน้มสูงขึ้น โดยปริมาณอุณหภูมิต่้าสุดเฉลี่ยเพิ่ม จาก 22.5 องศาเซลเซียล เป็น 23.8 องศาเซลเซียล อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไป 1.3 องศาสเซลเซียล (ภาพที่ 6.2)
350.0
300.0
250.0
200.0
150.0
100.0
50.0
0.0
1,409.5
1.0
23.0
98.5
332.7
269.2
195.1
196.9
165.2
80.6
32.6
11.0
3.7
ปี อนาคต
1,276.9
0.9
26.6
82.9
266.6
239.8
182.1
164.8
180.2
77.1
39.7
14.9
1.2
ปี ฐาน
รวม
ธ.ค.
พ.ย.
ต.ค.
ก.ย.
ส.ค.
ก.ค.
มิ.ย.
พ.ค.
เม.ย.
มี.ค.
ก.พ.
ม.ค.
มิลลิเมตร
ปริมาณฝนรวมรายเดอน
ภาพที่ 6.3 ปริมาณฝนรวมรายเดือนเฉลี่ยในช่วง 20ปี ในลุ่มน้้าเสียวใหญ
ภาพที่ 6.4 อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยรายปีในลุ่มน้้าชี-มูล เฉลี่ยตลอดช่วงปี 2533-2552 (ซ้าย) และช่วงปี 2583–2602 (ขวา)
6.3 ประเด็นปัญหาของภาคเกษตรต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคต
จากประเด็นปัญหาที่กระทบต่อภาคส่วนเกษตรกรรมในปัจจุบัน เมื่อน้ามาพิจารณาร่วมกับการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคตของลุ่มน้้าเสียวใหญ่ อาจน้ามาสู่ประเด็นปัญหาใหม่ในการท้านาปีและนาปรัง (ตารางที่ 6.1) ดังนี้
ตารางที่ 6.1 ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคต
ภาคส่วน | กิจกรรม | ประเด็น ปัญหา | สรุปประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ | ตัวแปรทางภูมิอากาศ |
เกษตรกรรม | ท้านาปี | อุทกภัย | ปริมาณน้้าฝนที่เพิ่มขึ้นในช่วงฤดูฝน อาจส่งผลต่อการท้านาปี เนื่องจาก การเกิดอุทกภัยที่รุนแรงขึ้น | ปริมาณน้้าฝนสะสมรวมรายปี ในปีที่มีฝนหรือน้้ามาก ใน รอบ 20 ปี ( ตาราง 6.2 ) |
ท้านาปรัง | ผลกระทบ ต่อผลผลิต ข้าว | อุณหภูมิต่้าสุด ที่ต่้ากว่า 15 องศา เซลเซียส ในช่วงเมล็ดข้าวงอก อาจส่งผลผลผลิตสูงขึ้นเนื่องจากให้ อัตราการงอกของเมล็ดข้าวสูงขึ้น | จ้านวนวันที่อุณหภูมิต่้าสุดต่้า กว่า 15 องศาเซลเซียส ระหว่าง 15 ธ.ค. – 15 ม.ค. (ภาพที่ 6.5) | |
อุณหภูมิต่้าสุด ที่ต่้ากว่า 15 องศา เซลเซียส ในช่วงข้าวผสมเกสรอาจ ส่งผลให้ผลผลิตลดลงเนื่องจากข้าว เป็นหมันขณะออกดอก | 1. จ้านวนวันที่อุณหภูมิ ต่้าสุดต่้ากว่า 15 องศา เซลเซียส ระหว่าง 15 ก.พ.– 22 ก.พ. (ภาพที่ 6.6) 2. จ้านวนปีที่ปรากฏ อุณหภูมิต่้าสุด ในช่วง 15 ก.พ.. – 22 ก.พ. ต่้ากว่า 15 องศาเซลเซียส (ภาพที่ 6.7) | |||
อุณหภูมิช่วงกลางวันที่สูงกว่า 35 องศาเซลเซียส ในช่วงข้าวผสมเกสร อาจส่งผลให้ผลผลิตลดลงเนื่องจาก ข้าวเป็นหมันขณะออกดอก | 1. จ้านวนวันที่อุณหภูมิ สูงสุด สูงกว่า 35 องศา เซลเซียส (ภาพที่ 6.8) 2. จ้านวนปีที่ปรากฏ อุณหภูมิสูงสุด ในช่วง 15 ก.พ. – 22 ก.พ. สูงกว่า 35 องศาเซลเซียส (ภาพที่ 6.9) | |||
ภัยแล้ง | อุณหภูมิช่วงกลางวันที่มีแนวโน้ม สูงขึ้น อาจส่งผลให้ความต้องการน้้า ของพืช(ข้าว)เพิ่มขึ้น | อุณหภูมิกลางวันเฉลี่ยในช่วง ให้น้้าแก่พืช ในรอบ 20 ปี |
6.4 การคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคตต่อภาคเกษตรในลุ่มน้้าเสียวใหญ่
1. แนวโน้มความเสี่ยงของการเกิดอุทกภัยในฤดูการท้านาปี
ปริมาณน้้าฝนรวมรายปีในอนาคตในปีน้้ามากที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ประมาณ 12% ของปีฐาน อาจ ส่งผลให้แนวโน้มการเกิดอุทกภัยมีความรุนแรงขึ้นในปีน้้ามาก (ตารางที่ 6.2) เนื่องจากในช่วงปีฐาน พื้นที่ชุมชน ดังกล่าวประสบกับเหตุการณ์อุทกภัยเกือบทุกปี ส้าหรับในปีน้้าน้อย การเกิดอุทกภัยมีแนวโน้มที่ความรุนแรงจะ ลดลง อย่างไรก็ตาม ความรุนแรงของอุทกภัยยังขึ้นกับการความเข้มฝนระยะสั้นโดยเฉพาะช่วงปลายฤดูฝน
ตารางที่ 6.2 ปริมาณฝนสะสมรวมรายปีของปีที่มีปริมาณฝนต่้าสุด ฝนระดับปานกลาง และฝนสูงสุดในรอบ 20 ปี ในลุ่มน้้าเสียวใหญ่
น้้าฝน (มม.) | ปีฐาน | ปีอนาคต | แนวโน้ม | เปอร์เซ็นต์ | ทิศทาง ผลกระทบ |
ปีที่มีปริมาณฝนต่้าสุด ในรอบ ปี 20 | 855.56 | 777.14 | ลด | 10.10% | -, + |
ปีที่มีปริมาณฝนระดับปาน กลาง ในรอบ 20 ปี | 1552.23 | 1516.45 | ลด | 2.31% | 0 |
ปีที่มีปริมาณฝนสูงสุด ในรอบ ปี 20 | 1870.51 | 2086.79 | เพิ่ม | 11.56% | - |
2. ความเสี่ยงภัยแล้งในช่วงของการท้านาปรัง
ในการท้านาปรัง อุณหภูมิถูกน้ามาใช้เป็นตัวบ่งชี้ถึงความเสี่ยงในการท้านาปรังในพื้นที่ศึกษา ผลของการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคต พบว่า อุณหภูมิมีแนวโน้มส่งผลกระทบต่อการท้าข้าวนาปรัง 2 ประเด็นคือ อุณหภูมิที่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าวและเมล็ดข้าว และอุณหภูมิที่ส่งผลกระทบต่อความต้องการ น้้าของพืช
อุณหภูมิที่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าวซึ่งจะส่งผลถึงปริมาณผลผลิต จะแยกตามระยะการ เจริญเติบโตของต้นข้าวใน 2 ช่วง คือ ช่วงการงอกของเมล็ด ( 15 ธ.ค.-15 ม.ค.) และช่วงผสมเกสร (ประมาณ 15 ก.พ.-22 ก.พ.) ในช่วงงอกของเมล็ดข้าว ความเสี่ยงของอุณหภูมิต่้าที่มีผลต่อการงอกของเมล็ดข้าวลดลง เนื่องจาก จ้านวนวันที่อุณหภูมิต่้ากว่า 15 องศาเซลเซียลในช่วงดังกล่าวลดลงจาก 8 วัน เป็น 4 วัน (ภาพที่ 6.5)
ในช่วงข้าวผสมเกสร (15 ก.พ.-22 ก.พ.) ความเสี่ยงของโอกาสเกิดอุณหภูมิวิกฤตที่ส่งผลต่อข้าวเป็นหมันมี แนวโน้มเพิ่มขึ้น ซึ่งบ่งชี้โดยจ้านวนวันที่อุณหภูมิต่้ากว่า 15 องศาเซลเซียล ที่เพิ่มขึ้นจาก 2 วัน เป็น 6 วัน (รูปที่ 8)
และจ้านวนวันที่อุณหภูมิสูงกว่า 35 องศาเซลเซียล ที่เพิ่มขึ้นจาก 77 วันเป็น 82 วัน (ภาพที่ 6.6) เมื่อพิจารณา จากจ้านวนปี พบว่า ความถี่ของอุณหภูมิต่้าในรอบ 20 ปี ที่ไม่เหมาะสมต่อการผสมเกสรของข้าวมีเพิ่มขึ้น บ่งชี้จาก
จ้านวนปีที่อุณหภูมิต่้าสุดที่วิกฤตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 1 ปี เป็น 3 ปีในรอบ 20 ปี (ภาพที่ 6.7) อย่างไรก็ตาม แม้ว่าผลกระทบจากอุณหภูมิต่้าจะเพิ่มขึ้น เมื่อพิจารณาจากความถี่ การปรากฏผลกระทบจากอุณหภูมิสูงกลับ ตรงกันข้ามคือ ลดลงจาก 19 ปี เป็น 18 ปี ในรอบ 20 ปี (ภาพที่ 6.8)
ส้าหรับการประเมินแนวโน้มความต้องการใช้น้้าของข้าว พบว่า ความต้องการใช้น้้าของข้าวมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น เนื่องจากอุณหภูมิกลางวันเฉลี่ยในช่วงให้น้้า (15 ธ.ค.-15 ก.พ.) มีแนวโน้มสูงขึ้นจากประมาณ 30.6 องศา เซลเซียลเป็น 31.2 องศาเซลเซียล (ภาพที่ 6.9)
การกระจายตัวของจา˚ นวนว
ตามอณ
หภูมต
่˚าสุด ระหว่าง
15 ธ.ค. - 15 ม.ค. เฉลย
5
3
2 2
1
0 0
0 0
4
3 3
2 2 2
1
6
5
จำ˚ นวนวัน
4
3
2
1
0
ตลอดช่วง พ.ศ. 2533 - 2552
<=10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 >=24
องศำเซลเซียส
การกระจายต
ของจา˚ นวนว
ตามอณ
หภูมต
˚่าสุด ระหว่าง
15 ธ.ค. - 15 ม.ค. เฉลยตลอดช่วง พ.ศ. 2583 - 2602
3
3 3 3 3
1 1 1
4 4
2 2
0 0 0 0
6
5
จำ˚ นวนวัน
4
3
2
1
0
<=10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 >=24
องศำเซลเซียส
ภาพที่ 6.5 การกระจายตัวของจ้านวนวันแยกตามอุณหภูมิต่้าสุด ในช่วงการงอกของเมล็ดข้าว (15 ธ.ค. - 15 ม.ค.)
ช่วงปี 2533 - 2552 (บน) และช่วงปี 2583 – 2602 (ล่าง)
การกระจายต
ของจา˚ นวนว
ตามอณ
หภูมต
˚่าสุด ระหว่าง
15 ก.พ. - 22 ก.พ. เฉลยตลอดช่วง พ.ศ. 2533 - 2552
22
17
13
15
16
13
10
11
7
8
6
0 0 0
0
2
0
30
25
จำ˚ นวนวัน
20
15
10
5
<=10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
> 25
0
องศำเซลเซียส
การกระจายต
ของจา˚ นวนว
ตามอณ
หภูมต
˚่าสุด ระหว่าง
15 ก.พ. - 22 ก.พ. เฉลย
18
17
14 14
11
11
6
5
7
7
0 0 0 0
0
1
30
25
จำ˚ นวนวัน
20
15
10
5
<=10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
> 25
0
ตลอดช่วง พ.ศ. 2583 -2602
29
องศำเซลเซียส
ภาพที่ 6.6 การกระจายตัวของจ้านวนวันแยกตามอุณหภูมิต่้าสุด ในช่วงข้าวผสมเกสร (15 ก.พ. - 22 ก.พ.)
ช่วงปี 2533 - 2552 (บน) และช่วงปี 2583 – 2602 (ล่าง)
การกระจายต
ของจา˚ นวนปี ตามอณ
หภูมต
˚่าสุด ระหว่าง
4
3
3
2
2
2
1
1
1
1
0 0 0 0
0
0
0
5 15 ก.พ. - 22 ก.พ. เฉลย
ตลอดช่วง พ.ศ. 2533 - 2552
4
จำ˚ นวนปี
3
2
1
0
<=10 11 12 13
14 15
16 17
18 19
20 21 22
23 24
25 > 25
องศำเซลเซียส
การกระจายต
ของจา˚ นวนปี ตามอณ
หภูมต
˚่าสุด ระหว่าง
5
15 ก.พ. - 22 ก.พ. เฉลยตลอดช่วง พ.ศ. 2583 -2602
3
3
3
2 2
2
2
2
1
0 0 0 0 0
0
0
0
4
จำ˚ นวนปี
3
2
1
0
<=10 11 12 13 14
15 16 17
18 19
20 21 22
23 24
25 > 25
องศำเซลเซียส
ภาพที่ 6.7 การกระจายตัวของจ้านวนปีแยกตามอุณหภูมิต่้าสุด ในช่วงข้าวผสมเกสร (15 ก.พ.- 22 ก.พ.)
ช่วงปี 2533 - 2552 (บน) และช่วงปี 2583 – 2602 (ล่าง)
การกระจายต
ของจา˚ นวนวันตามอณ
หภูมส
ูงสุด ระหว่าง
15 ก.พ. - 22 ก.พ. เฉลยตลอดช่วง พ.ศ. 2533 -2552
22
18
13
15 15
14
15
10
6
8
3
1
30
25
จำ˚ นวนวัน
20
15
10
5
<=28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
> 38
0
องศำเซลเซียส
การกระจายตัวของจา˚ นวนว
ตามอณ
หภูมส
ูงสุด ระหว่าง
15 ก.พ. - 22 ก.พ. เฉลย
18
15
16
9
24
18
16
8
8
2
2
4
30
25
จำ˚ นวนวัน
20
15
10
5
<=28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
0
ตลอดช่วง พ.ศ. 2583 -2602
> 38
องศำเซลเซียส
ภาพที่ 6.8 การกระจายตัวของจ้านวนวันแยกตามอุณหภูมิสูงสุด ในช่วงข้าวผสมเกสร (15 ก.พ.- 22 ก.พ.)
ช่วงปี 2533 - 2552 (บน) และช่วงปี 2583 – 2602 (ล่าง)
การกระจายต
ของจา˚ นวนปี ตามอณ
หภูมส
ูงสุด ระหว่าง
6
5
5
2
1
1
0
0
0
0
0
0
7
15 ก.พ. - 22 ก.พ. เฉลย
6
5
จำ˚ นวนปี
4
3
2
1
<=28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
0
ตลอดช่วง พ.ศ. 2533 -2552
> 38
องศำเซลเซียส
การกระจายต
ของจา˚ นวนปี ตามอณ
หภูมส
ูงสุด ระหว่าง
6
5
4
3
1
1
0
0
0
0
0
0
7 15 ก.พ. - 22 ก.พ. เฉลย
6
5
จำ˚ นวนปี
4
3
2
1
<=28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
0
ตลอดช่วง พ.ศ. 2583 -2602
> 38
องศำเซลเซียส
ภาพที่ 6.9 การกระจายตัวของจ้านวนปีแยกตามอุณหภูมิสูงสุด ในช่วงข้าวผสมเกสร (15 ก.พ.- 22 ก.พ.)
ช่วงปี 2533 - 2552 (บน) และช่วงปี 2583 – 2602 (ล่าง)
6.5 สรุปแนวโน้มความเสี่ยงของการท้านาในลุ่มน้้าเสียวใหญ่จากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคต
แนวโน้มความเสี่ยงของการท้านาในพื้นที่ศึกษาจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคต ตามการจ้าลอง ภายใต้สมมติฐานการเพิ่มขึ้นของก๊าซเรือนกระจกซึ่งจะเพิ่มขึ้นในอนาคตตามแนวทางการเปลี่ยนแปลงสภาพ เศรษฐกิจและสังคมของโลกตามแบบ A2 จากแบบจ้าลองภูมิอากาศระดับโลก ECHAM4 มาค้านวณเพิ่ม รายละเอียดโดยโมเดลภูมิอากาศระดับภูมิภาค PRECIS ในพื้นที่ที่ลุ่มน้้าชี -มูล ซึ่งเป็นลุ่มน้้าหลักที่ล้าน้้าเสียวใหญ
ตั้งอยู่ ระหว่างช่วงปีปัจจุบัน คือ
2552
- 2533
และอนาคต
2602 –
2583
(ตารางที่ 6.3) พบว่า การ
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคต โอกาสเกิดอุทกภัยในฤดูการท้านาปีมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส้าหรับการท้านาปรัง ความเสี่ยงของอุณหภูมิต่้าที่ส่งผลกระทบต่อการงอกของเมล็ดข้าวมีแนวโน้มลดลง แต่ในช่วงที่ข้าวผสมเกสร ความ เสี่ยงของโอกาสเกิดอุณหภูมิวิกฤตที่มีผลต่อการเป็นหมันของข้าวมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และความต้องการน้้าของข้าวใน ฤดูกาลเพาะปลูกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
ตารางที่ 6.3 แนวโน้มความเสี่ยงของการท้านาในลุ่มน้้าเสียวใหญ่จากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคต
กิจกรรม | แนวโน้มทิศทาง ผลกระทบ* | ||||
เกษตร | ท้านา | นาปี | อุทกภัย | - | |
นาปรัง | ผลกระทบของการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่ มีต่อข้าว | ช่วงเมล็ดข้าวงอก | + | ||
ช่วงข้าวผสมเกสร | - | ||||
ภัยแล้ง | การให้น้้าแก่พืช | - |
**+ ทิศทางที่ส่งผลกระทบในเชิงบวก
0 ไม่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
- ทิศทางที่ส่งผลกระทบในเชิงลบ
บทที่ 7 ภาพฉายทุ่งกุลาร้องไห้จากการเปลี่ยนแปลงระบบการผลิตภาวะเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต
การจัดทําภาพฉายการเปลี่ยนแปลงระบบการผลิต ภาวะเศรษฐกิจ และสังคมในอนาคต ดําเนินการโดย สังเคราะห์ข้อมูลจากยุทธศาสตร์ แผนงานโครงการทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวกับการดําเนินงานในทุ่งกุลาร้องไห้ ประกอบด้วย แผนพัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ยุทธศาสตร์ การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางและยุทธศาสตร์จังหวัดร้อยเอ็ด แผนพัฒนาลุ่มน้ําเสียวใหญ่กรมทรัพยากรน้ํากับการ พัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้ การจดทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ข้าวหอมมะลิทุ่งกลาร้องไห้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 ตลอดจนปัจจัยอื่นที่เป็นแรงขับดันที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
7.1 แผนพัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ระหว่งปี พ.ศ. 2552-2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กําหนดให้ทุ่งกุลาร้องไห้เป็นพื้นที่ผลิตข้าวหอม มะลิเพื่อการส่งออก โดยมีโครงการผลิตข้าวหอมมะลิมาตรฐาน เพื่อการส่งออกในทุ่งกุลาร้องไห้ ระยะที่ 2 ซึ่งเป็น โครงการต่อเนื่องจากระยะที่ 1 (พ.ศ. 2544-2549) และขยายผลการพัฒนาเชิงพื้นที่ให้แก่เกษตรกร การพัฒนา โครงการพื้นฐาน เพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ให้สูงขึ้น แบ่งเป็น 3 พื้นที่เป้าหมายหลักด้วยกัน คือ
1. ฟื้นที่ที่ยังไม่ได้ปรับปรุงระบบอนุรักษ์ดินและน้ํา จะดําเนินการในพื้นที่จํานวน 115,646 ไร่ โดยจะให้ได้ ผลผลิตข้าวหอมมะลิเฉลี่ย 470 กก.ต่อไร่
2. พื้นที่ที่ได้มีการปรับปรุงระบบอนุรักษ์ดินและน้ําแล้ว แต่เสื่อมสภาพต้องปรับปรุง จํานวน 765,540 ไร่ จะดําเนินการในส่วนแรกก่อน 233,100 ไร่ เพื่อเพิ่มผลผลิตต่อไร่เป็น 488 กก.ต่อไร่ และ
3. พื้นที่ที่ปรับปรุงระบบอนุรักษ์ดินและน้ําแล้ว และจะเข้าไปเสริมระบบน้ําชลประทานให้มีประสิทธิภาพ ที่สมบูรณ์ จํานวน 121,519 ไร่ เพื่อให้ได้ผลผลิตข้าวหอมมะลิเฉลี่ย 600 กก.ต่อไร่
การดําเนินงานโครงการผลิตข้าวหอมมะลิมาตรฐานเพื่อการส่งออกในทุ่งกุลาร้องไห้ระยะที่ 2 นี้จะทําให้ เกษตรกรในพื้นที่โครงการทั้ง 1.27 ล้านไร่ ได้รับการพัฒนาปัจจัยพื้นฐานสําหรับการปลูกข้าวหอมมะลิคุณภาพ ลด ปัญหาน้ําท่วม ขณะเดียวกันยังได้รับน้ําอย่างเพียงพอในช่วงฤดูแล้ง ซึ่งจะส่งผลทําให้ได้รับผลผลิตข้าวหอมมะลิ มาตรฐานเพิ่มขึ้นทั้งคุณภาพและปริมาณ โดยผลผลิตต่อไร่เฉลี่ยเพิ่มจาก 389 กก.ต่อไร่ เป็น 520 กก.ต่อไร่ ในปี 2556 ที่สําคัญทําให้เกษตรกรจํานวน 95,000 ครัวเรือน มีรายได้เพิ่มขึ้นจากเดิม 30 % จาก 17,000 บาท/คน/ปี
เพิ่มเป็น 22,000 บาท/คน/ปี ในปี 2556
ในแผนการพัฒนาพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ในระยะที่ 2 สามารถดําเนินการพัฒนาพื้นที่ไปแล้วกว่า 53,000 ไร่ ดังนั้น ในปีงบประมาณ 2555 กรมพัฒนาที่ดินได้จัดสรรงบประมาณจํานวน 41.7811 ล้านบาท เพื่อดําเนินการ สํารวจออกแบบพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสําหรับการก่อสร้างในปี 2556 จํานวน 15,000 ไร่ รวมถึงบํารุงรักษา ระบบอนุรักษ์ดินและน้ํา จํานวน 50,000 ไร่ ที่ได้ก่อสร้างไปแล้ว และปรับปรุงบํารุงดินด้วยปุ๋ยพืชสด ซึ่งการ ดําเนินการครั้งนี้มุ่งเน้นการพัฒนาพื้นที่ให้เหมาะต่อการเพาะปลูกข้าวหอมมะลิเพื่อการส่งออก และสามารถ บรรเทาสภาวะน้ําท่วมโดยทําระบบที่สามารถระบายน้ําออกจากพื้นที่ได้เร็ว ลดความเสียหายที่เกิดกับต้นข้าว อีก
ทั้งในสภาวะฝนทิ้งช่วงก็สามารถนําน้ําที่อยู่ในคลองระบายน้ํามาใช้ได้ นอกจากนี้ ยังช่วยลดการแพร่กระจายของ พื้นที่ดินเค็มได้อีกทางหนึ่ง อย่างไรก็ตามในแผนปฏิบัติราชการสี่ปี (2555-2558) ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ยังคงเน้นสนับสนุนการพัฒนาและแก้ไขปัญหาในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ และการ ผลิตข้าวหอมมะลิมาตรฐานเพื่อการ ส่งออกในทุ่งกุลาร้องไห้ ระยะที่ 2
7.2 ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง และยุทธศาสตร์จังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. 2554-2556
เป้าหมายของการพัฒนากลุ่มจังหวัด “ใช้จุดแข็งจากการเป็นพื้นที่ที่เป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรสําคัญ (ข้าว อ้อย และมันสําปะหลัง) เป็นปัจจัยสําคัญในการพัฒนากลุ่มจังหวัดเพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขัน และนําไปสู่การกระตุ้นให้เกิดการลงทุนจากภาคเอกชน และสร้างรายได้ให้กับกลุ่มจังหวัด ด้วยการสร้างความ แข็งแกร่งให้กับภาคเกษตร” ดังนี้
1) สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับการผลิตภาคเกษตร
2) เชื่อมโยงผลผลิตภาคเกษตรกับภาคอุตสาหกรรมเพื่อการแปรรูปสินค้าเกษตรพืชอาหาร และพลังงาน
ทดแทน
อย่างไรก็ตาม ในการพัฒนาภายใต้แนวความคิดและเป้าหมายดังกล่าว ให้ความสําคัญกับผลของการ
พัฒนา ดังนี้
1) การรักษาความสมดุลระหว่างการผลิตพืชอาหารและพืชพลังงาน
2) การป้องกันผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3) การกระจายผลการพัฒนาให้เกิดขึ้นกับแต่ละจังหวัดในกลุ่มจังหวัดอย่างเท่าเทียมกัน จังหวัดร้อยเอ็ดได้กําหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดร้อยเอ็ด วิสัยทัศน์คือ “เป็นผู้นําการผลิตข้าวหอม
มะลิสู่ตลาดโลก เมืองแห่งการท่องเที่ยววิถีพุทธและสังคมสงบสุข ” โดยการพัฒนาพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ ยังคงเน้น พัฒนาการผลิตข้าวหอมมะลิ GAP ด้วยกระบวนการผลิตตามวิธีการเกษตรดีที่เหมาะสม และเกษตรอินทรีย์ ใน พื้นที่มีความพร้อมควบคู่ไปกับการจัดระบบน้ํา การปรับปรุงบํารุงดิน การใช้เมล็ดพันธุ์ดี และการจัดการองค์กร เกษตรที่มีประสิทธิภาพ การเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปข้าวหอมมะลิ โดยการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูป ข้าวสาร ทั้งผู้ประกอบการภาคเอกชนและองค์กรเกษตรที่มีศักยภาพในการพัฒนาให้สามารถแข่งขันได้ พัฒนา ผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าข้าวหอมมะลิที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของจังหวัดร้อยเอ็ด รวมถึงการส่งเสริมตราสินค้าข้าว หอมมะลิร้อยเอ็ด และการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ข้าวหอมมะลิ
ในช่วงปี พ.ศ. 2555-58 ยุทธศาสตร์จังหวัดร้อยเอ็ดได้ตั้งงบพัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้ จัดทําโครงการบริหาร จัดการน้ําเขตทุ่งกุลาร้องไห้ แก้ไขปัญหาน้ําท่วมและภัยแล้ง การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน สนับสนุนการปลูก ข้าวหอมมะลิเขตทุ่งกุลาร้องไห้ และการพัฒนาระบบโลจิกติกส์ ขยายเส้นทาง ๔ ช่องจราจรภายในจังหวัด เชื่อม กับจังหวัดใกล้เคียง (ทางหลวงหมายเลข ๒๐๒) อ.พนมไพร-อ.โพนทอง-อ.สุวรรณภูมิ และ อ.กุฉินารายณ์ รวมทั้ง การขยายเส้นทาง ๔ ช่องจราจร ขานรับรถไฟรางคู่ จาก อ.บัวใหญ่ นครราชสีมา มหาสารคาม ร้อยเอ็ด และ มุกดาหาร ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้ นอกจากนั้น ยังมีแผนการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชูทุ่งกุลาร้องไห้ เป็นแหล่งเรียนรู้คู่อารยธรรม และแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิโลกที่มีชื่อเสียง และหอมอร่อยที่สุดของไทย
การพัฒนาข้าวหอมมะลิของจังหวัดร้อยเอ็ดถูกบรรจุในยุทธศาสตร์ที่1: ส่งเสริมการผลิตภาคการเกษตรให้ แข่งขันได้ มีกลยุทธ์การดําเนินงาน 2 กลยุทธ์ คือ
กลยุทธ์ 1: ยกระดับมาตรฐานและประสิทธิภาพการผลิต แนวทางการพัฒนา 2 แนวทางคือ
1) พัฒนาการผลิตข้าวหอมมะลิ GAP ด้วยกระบวนการผลิตตามวิธีการเกษตรดีที่เหมาะสม (Good Agricultural Practice) และเกษตรอินทรีย์ ในพื้นที่ที่มีความพร้อม ควบคู่ไปกับการจัดการระบบน้ํา การ ปรับปรุงบํารุงดิน การใช้เมล็ดพันธุ์ดี และการจัดการองค์กรเกษตรที่มีประสิทธิภาพ
2 ) เพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปข้าวหอมมะลิ โดยการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปข้าวสาร ทั้ง ผู้ประกอบการภาคเอกชน และองค์กรเกษตรที่มีศักยภาพในการพัฒนาให้สามารถแข่งขันได้ พัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อ เพิ่มมูลค่าข้าวหอมมะลิที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของจังหวัดร้อยเอ็ด โดยการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ตลอดจนห่วง โซ่การผลิตที่สามารถสร้างมูลค่าและคุณค่าผลิตภัณฑ์
กลยุทธ์ 2: ส่งเสริมการตลาดข้าวหอมมะลิสู่สากล แนวทางการพัฒนา คือ การพัฒนาช่องทางการตลาด ตรงสู่ผู้บริโภคทั้งภายในและต่างประเทศ รวมถึงการส่งเสริมตราสินค้าข้าวหอมมะลิร้อยเอ็ด และการจัดตั้ง
พิพิธภัณฑ์ข้าวหอมมะลิ
7.3 แผนพัฒนาลุ่มน้้าเสียวใหญ่ กรมชลประทานได้ทําการศึกษาความเหมาะสมในการผันจากลุ่มน้ําชีสู่แม่น้ําเสียวใหญ่ เพื่อเพิ่มปริมาณน้ํา ต้นทุนให้อ่างเก็บน้ําในลุ่มเสียวใหญ่ในโครงการผันน้ําชี-เสียวใหญ่ตอนกลาง ซึ่งได้ทําการศึกษาแล้วเส็จในปี พ.ศ. 2549 การผันน้ําจากแม่น้ําชีที่สถานีบ้านท่าตูม เหนือฝายวังยาง ต.ลําชี อ.ฆ้องชัย จ.กาฬสินธุ์ มาเติมให้อ่างเก็บน้ํา 4 แอ่ง โดยมีแนวทางการพัฒนาการเกษตรในอนาคต เมื่อมีการดําเนินการโครงการดังกล่าวคือ การผลิตข้าวนาปี ยังเป็นกิจกรรมหลักของเกษตรกรในพื้นที่โดยเพาะข้าวหอมพันธุ์ขาวดอกมะลิ105 มีการสนับสนุนการผลิตพืชไร่ ได้แก่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วเหลือง ข้าวโพดฝักสด และพืชผักชนิดต่างๆ ในระบบแปลงผักอย่างถาวร รวมถึงการ ปลูกไม้ผลไม้ยืนต้น โดยเฉพาะผลิตมะม่วงพันธุ์ดีนอกฤดูกาล หญ้าเลี้ยงสัตว์ การเลี้ยงปลาและปศุสัตว์ นอกจากนี้กรมชลประทานได้ทําการศึกษาแนวทางการบรรเทาอุทกภัยในแม่น้ําเสียวใหญ่และแม่น้ําสาขา โดยทําการศึกษาความเหมาะสมโครงการบรรเทาอุทกภัยในแม่น้ําเสียวใหญ่และแม่น้ําสาขาแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2549 ในโครงการดังกล่าวประกอบด้วย 3 โครงการย่อย (โครงการปรับปรุงฝายยางบ้านมะแซว โครงการผันน้ํา จอกขวาง-หนองไฮ และโครงการผันน้ําเสียวใหญ่-อ่างฯฮ่องแฮ)
7.4 กรมทรัพยากรน้้ากับการพัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้
กรมทรัพยากรน้ํามีโครงการพัฒนาพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ โดยดําเนินการในพื้นที่ลุ่มน้ําสาขาลําพลับพลา ลําเสียวใหญ่ ลําเตา ลําเสียวน้อย แม่น้ํามูลส่วนที่ 1 แม่น้ํามูลส่วนที่ 2 แม่น้ํามูลส่วนที่ 3 และลําพังชู ตามลําดับ ตามผลการศึกษาโครงการพัฒนาแหล่งน้ําทุ่งกุลาร้องไห้ (กรมชลประทาน 2546) แผนงานดําเนินการทั้งในระยะ สั้น กลาง และยาว เน้นการพัฒนาแหล่งน้ําทุ่งกุลาร้องไห้ได้เป็นหลัก การพัฒนาพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ในส่วนของกรม ทรัพยากรน้ํา ประกอบด้วย แผนพัฒนาทรัพยากรน้ํา แผนพัฒนาทรัพยากรดิน แผนพัฒนาการเกษตร แผนพัฒนา สิ่งแวดล้อม และแผนพัฒนาการแบบบูรณาการและยั่งยืน ดังนี้
ก) แผนพัฒนาทรัพยากรน ้า เพื่อบรรเทาปัญหาการขาดแคลนน้ําและปัญหาน้ําท่วมอย่างเป็น รูปธรรม ประกอบด้วย
1) สระเก็บน้ําในไร่นา ขนาด 3,040-4,800 ม. ลบ.ม. ต่อแปลงนา 22 ไร่ สามารถบรรเทา ปัญหาการขาดแคลนน้ําในฤดูทํานาปีได้ 1,786,500 ไร่ และยังสามารถช่วยพื้นที่เพาะปลูกฤดูแล้งที่อยู่ในพื้นที่ที่มี ฝนอุดมสมบูรณ์ได้ 75,980 ไร่
2) ปรับปรุงฝายในแม่น้ําต่างๆและขยายแม่น้ําในลําเสียวใหญ่และลําพลับพลาเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการระบายน้ําในแม่น้ําสายหลัก ซึ่งจะช่วยลดพื้นที่น้ําท่วมได้ 107,300 ไร่ ที่รอบการเกิดซ้ํา 3 ปี นอกจากนี้ ยังเป็นแหล่งน้ําสําหรับอุปโภคบริโภคในฤดูแล้งให้กับชุมชนในบริเวณใกล้เคียงได้ 9.3 ล้าน ลบ.ม.
3) ก่อสร้างฝาย ตามความต้องการของชุมชน
4) ปรับปรุงคลองระบายน้ําให้เอื้อต่อการส่งน้ําซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการน้ําในพื้นที่ ทุ่งกุลาร้องไห้ โดยสามารถใช้เป็นเส้นทางในการถ่ายเทน้ําในพื้นที่ที่มีฝนมากไปยังพื้นที่ที่มีฝนน้อยและจากแม่น้ํา หนึ่งไปอีกแม่น้ําหนึ่งได้ และยังเป็นแหล่งน้ําเพิ่มเติมสําหรับฤดูแล้ง 7.1 ล้าน ลบ.ม.
5) หากการพัฒนาสระเก็บน้ําในไร่นามีอุปสรรคในการดําเนินงาน เช่น ปัญหาความพร้อม ของเกษตรกร ควรทําการศึกษาการพัฒนาแหล่งน้ําสาธารณะ โดยควรคัดเลือกแหล่งน้ําที่มีศักยภาพเป็นโครงการ นําร่อง
6) การผันน้ําจากแม่น้ํามูล เป็นมาตรการเสริมสระเก็บน้ําในไร่นาสําหรับช่วยพื้นที่ เพาะปลูกในฤดูแล้ง แม้ว่าจะมีความเหมาะสมต่อการลงทุนไม่สูงมากนัก สามารถช่วยพื้นที่เพาะปลูกฤดูแล้งได้ 32,900 ไร่
นอกจากมาตรการด้านก่อสร้างแล้ว การจัดกิจกรรมการใช้น้ําให้สอดคล้องกับ ทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นอยู่ ก็เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่จะช่วยบรรเทาปัญหาการขาดแคลนน้ําได้ เช่น การ ปรับเปลี่ยนปฏิทินการปลูกข้าว นอกจากนี้ หากมีความจําเป็นในการปลูกพืชนอกฤดูฝน ก็ควรสนับสนุนพืชที่ใช้น้ํา น้อย และปลูกในพื้นที่ที่ไม่มีข้อจํากัดทางด้านแหล่งน้ํา
ข) แผนพัฒนาทรัพยากรดิน เน้นการปรับปรุงดินและการจัดการดินในพื้นที่การเกษตรปัจจุบัน ให้มีความเหมาะสมเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวหอมมะลิให้สูงขึ้น ซึ่งข้อจํากัดที่สําคัญของทรัพยากรดิน ประกอบด้วย ดิน ขาดความอุดมสมบูรณ์ ดินมีสภาพเป็นทรายจัด ดินมีปัญหาน้ําท่วมขัง และดินเค็ม โดยแนวทางที่ดําเนินการ ประกอบด้วยการผสมผสานระหว่างแนวทางด้านเคมี ชีวภาพ และด้านวิศวกรรม
ค) แผนพัฒนาด้านการเกษตร ให้ความสําคัญกับการปลูกข้าวเป็นหลัก เพราะเป็นความ ต้องการของเกษตรกร เป็นพืชเศรษฐกิจที่สําคัญ นอกจากนี้รัฐบาลยังมีแผนงานที่จะรองรับให้ทุ่งกุลาร้องไห้เป็น เขตเศรษฐกิจพิเศษส่งออกข้าวหอมมะลิ การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ของข้าวหอมมะลิ นอกจากการใช้เทคโนโลยีใน การผลิต ซึ่งประกอบด้วย การปรับปรุงพันธุ์ การเพิ่มผลผลิต และลดปัจจัยการผลิตแล้ว ยังพิจารณาข้าวหอมมะลิ อินทรีย์ด้วย ซึ่งสามารถดําเนินการได้ทุกพื้นที่ โดยคาดว่าผลผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์จะอยู่ในช่วงประมาณ 430- 520 กก./ไร่ ตามความอุดมสมบูรณ์ของดินและศักยภาพในการปรับปรุงดิน สําหรับผลผลิตข้าวหอมมะลิทั่วไป คาดว่าจะอยู่ในช่วง 350-500 กก./ไร่
ง) แผนพัฒนาสิ่งแวดล้อม แผนการพัฒนาแหล่งน้ํา ทรัพยากรดิน และการเกษตร จะต้อง ดําเนินการภายใต้กรอบของข้อจํากัดทางด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้เพื่อมิให้การพัฒนานั้นๆ ก่อให้เกิดผลกระทบด้าน ลบต่อสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ แผนพัฒนาแหล่งน้ําทุ่งกุลาร้องไห้ยังประกอบด้วยแนวทางอื่นๆ ที่จะช่วยเสริมสร้าง ให้สภาพแวดล้อมดีขึ้น ได้แก่ ปรับปรุงป่าธรรมชาติในที่ดอนซึ่งส่วนใหญ่มีลักษณะเสื่อมโทรมให้เป็นป่าชุมชน สนับสนุนและให้ความรู้เรื่องการปลูกพันธุ์ไม้ในไร่นา สนับสนุนให้ปลูกยูคาลิปตัสเฉพาะในพื้นที่รับน้ําเท่านั้น สนับสนุนให้ปรับปรุงระบบนิเวศของแหล่งน้ําถาวร เป็นต้น
จ) แผนพัฒนาการแบบบูรณาการและความยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาใดๆ ในสาขาต่างๆ ที่เอื้อ ประโยชน์ซึ่งกันและกัน เพื่อให้การลงทุนในการพัฒนานั้นๆ เกิดประโยชน์สูงสุดและสามารถบรรลุตาม วัตถุประสงค์ที่วางไว้ โดยไม่ทําให้ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่เสื่อมโทรมลงจนมีผลกระทบต่อการใช้ทรัพยากรนั้น ในอนาคต พร้อมทั้งมีกระบวนการบํารุงรักษาสิ่งก่อสร้างต่างๆ ที่พัฒนาขึ้นนั้นให้สามารถใช้งานได้นาน
จากข้อจํากัดด้านศักยภาพของพื้นที่ในการก่อสร้างแหล่งน้ําเพิ่มเติมในพื้นที่ลุ่มน้ํามูล จะเห็นได้ว่า การ จัดการน้ําแบบบูรณาการอย่างยั่งยืนโดยการพัฒนาระบบโครงข่ายน้ําเป็นสิ่งจําเป็นและควรดําเนินการ สถาบัน แหล่งน้ําและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้ทําการศึกษาศักยภาพเบื้องต้นโครงการ จัดการน้ําแบบบูรณาการอย่างยั่งยืน เสนอต่อกรมทรัพยากรน้ําเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2547 ได้เสนอแนวทางการผัน น้ําเข้ามาเติมในพื้นที่ลุ่มน้ํามูลจากเขื่อนลําปาวลงสู่ทุ่งกุลาร้องไห้ในแม่น้ําเตาและแม่น้ําพลับพลา
7.5 การจดทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ ความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐไทย กรมทรัพย์สินทางปัญญา และกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวง พาณิชย์ และกรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมทรัพย์สินทางปัญญาเป็นผู้ริเริ่มในการยื่นขอจด ทะเบียน GI สินค้าข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ต่ออียูตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2551 ล่าสุดเมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2555 การดําเนินการของฝ่ายไทยได้ส่งผลให้ฝ่ายอียูยอมรับและปรับเปลี่ยนท่าทีโดยเฉพาะในประเด็นเรื่องการ คุ้มครองคา"ข้าวหอมมะลิ" ซึ่งฝ่ายอียูได้ยอมรับในที่สุดถือเป็นสัญญาณเชิงบวกต่อคาขอจดทะเบียน GI สินค้าข้าว หอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ของไทยเป็นอย่างมาก ซึ่งหากไทยจะได้รับการคุ้มครอง GI จากอียูก็จะเป็นการสร้างชื่อเสียง ยกระดับและสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้าข้าวหอมมะลิไทยรวมถึงการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันพร้อมๆกับ การช่วยเสริมสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรนาข้าวใน 5 จังหวัดทุ่งกุลาร้องไห้รวมทั้งชื่อเสียงของทุ่งกุลาร้องไห้สู่ระดับ สากลต่อไป
การขอจดทะเบียน PGI (Protected Geographical Indications) สินค้าข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ของ ไทย สหภาพยุโรปได้รับรองการจดทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ เมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2556 การรับรองการจดทะเบียนชื่อ ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ (Khao Hom Mali Thung Kula Rong-Hai) อย่างเป็นทางการเพื่อคุ้มครองตามภูมิประเทศที่ผลิต การขึ้นทะเบียน GI ข้าวหอมมะลิทุ่งกะลาร้องไห้จะมีผลใช้ บังคับตั้งแต่วันที่ 4 มีนาคม 2556 เป็นตันไป อย่างไรก็ดี หลังจากได้รับการจด GI แล้วหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของ ไทยรวมทั้งเกษตรกรผู้ปลูกข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ควรต้องเร่งทําการบ้านเพื่อสร้างหลักประกันว่า หากข้าว หอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ติดตลาดและเป็นที่นิยมของผู้บริโภคในยุโรปแล้วเรื่องคุณภาพปราศจากการปลอมปน ปริมาณและกําลังผลิตที่เพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภครวมทั้งการส่งเสริมตราสัญลักษณ์และการ
ประชาสัมพันธ์ข้าวหอมมะลิของไทยจะต้องมีนโยบายและมาตรการรองรับที่เหมาะสม เพื่อช่วยผลักดันให้ข้าวหอม มะลิไทยสามารถครองใจผู้บริโภคยุโรปตราบนานเท่านาน
7.6 นโยบายรับจ้าน้าข้าว
นโยบายรับจํานําข้าวรัฐบาลพรรคไทยรักไทย รัฐบาลเริ่มรับจํานําข้าวในฤดูกาลเพาะปลูก
55/54เป็นต้น
มา ก่อให้เกิดโครงการรับจํานําข้าวเกวียนละ 15,000 บาท ชาวนาได้รับเงินสด 15.000 บาททันทีที่ขายข้าวที่ ความชื้นที่ 15 เปอร์เซนต์
7.7 สรุปภาพฉายการเปลี่ยนแปลงระบบการผลิต ภาวะเศรษฐกิจ-สังคมพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ในอนาคต
จากยุทธศาสตร์ แผนงานโครงการทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวกับการดําเนินงานในทุ่งกุลาร้องไห้ ในที่ ผ่านมา ตลอดจนในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 แผนพัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้ของกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางและยุทธศาสตร์จังหวัด ร้อยเอ็ด แผนพัฒนาลุ่มน้ําเสียวใหญ่กรมทรัพยากรน้ํากับการพัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้ การจดทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทาง ภูมิศาสตร์ข้าวหอมมะลิทุ่งกลาร้องไห้ ตลอดจนปัจจัยอื่นที่เป็นแรงขับดันที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ผล การสังเคราะห์ภาพฉายในอนาคตของพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ยังคงเน้นการพัฒนาการผลิตข้าวหอมมะลิเป็นหลัก ทั้ง กระบวนการผลิตตามวิธีการเกษตรที่ดีและเกษตรอินทรีย์ ควบคูไปกับการจัดการระบบน้ําในการแก้ไขปัญหา ปัญหาการขาดแคลนน้ําและปัญหาน้ําท่วม รวมถึงการพัฒนาโครงการพื้นฐานเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวมะลิทุ่งกุลา ร้องไห้ให้สูง เพื่อพัฒนาไปสู่การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษส่งออกข้าวหอมมะลิและจําหน่ายข้าวหอมมะลิด้วยสิ่งบ่งชี้ ทางภูมิศาสตร์ และการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในทุ่งกุลาร้องไห้เป็นแหล่งเรียนรู้คู่อารยธรรมขอม เชื่อมโยงกับ เส้นทางอารธรรมขอมในเขตอีสานใต้และประเทศกัมพูชาภายหลังการเปิดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. 2554 เกิดมหาอุทกภัยในพื้นที่ราบลุ่มภาคกลางของประเทศไทย ทําให้มีกลุ่ม นายทุนเข้ามากว้านซื้อที่ดินเป็นแปลงขนาดใหญ่ โดยให้ราคาไร่ละ 80,000-100,000 บาท เพื่อเป็นที่ตั้งโรงงาน อุตสาหกรรม และในปี พ.ศ. 2555 มีการสํารวจพบบ่อน้ํามันกลางทุ่งกุลาร้องไห้ หลุมสํารวจ YPT2 ในพื้นที่บ้าน โคกกลาง ตําบลชุมพลบุรี จ.สุรินทร์ ผลการทําประชาพิจารณ์กับประชาชน 3 ตําบลที่อยู่ใกล้แปลงสํารวจ ประชาชนบางส่วนยังกังวลเรื่องมลภาวะสิ่งแวดล้อมที่จะตามมา ที่จะมีผลกระทบต่อการปลูกข้าวหอมมะลิของโลก ที่มีชื่อเสียง สร้างรายได้ให้ประชาชนผู้ปลูกข้าวหอมมะลิในแต่ละปีเป็นอย่างมาก หากมีการขุดเจาะน้ํามันจะมี ผลกระทบต่อแหล่งปลูกนาข้าวหอมมะลิ ในขณะที่มีประชาชนบางคนได้เตรียมขายที่ดินให้บริษัทสํารวจน้ํามันใน ราคาไร่ละ 300,000-1,000,000 บาท จากข้อมูลเป็นไปได้ว่า ในอนาคตบางส่วนของพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้จะถูก นําไปใช้ประโยชน์ด้านอื่นนอกเหนือจากการปลูกข้าว
บทที่ 8
ความเสี่ยง การเปิดรับ และกลไกในการรับมือ/ปรับตัวในอนาคต
การศึกษาความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การเปิดรับจากผลกระทบหรือแรงกดดันจากสภาพ อากาศในอนาคต กลไกในการรับมือ /การปรับตัวในอนาคต ดําเนินการโดยการจัดประชุมกลุ่มตัวแทนชุมชน แต่ละ ชุมชนในพื้นที่ศึกษาทั้ง 6 ชุมชน ด้วยวิธีการปฏิบัติการมีส่วนร่วมของประชาชน (PAR) โดยนักวิจัย โครงการฯ นําเสนอผลสรุปความเสี่ยง ความไวต่อความเสี่ยง และความสามารถในการปรับตัวของแต่ละชุมชนในปัจจุบัน ตาม ด้วยการนําเสนอภาพฉายการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคตจากแบบจําลองอากาศบริเวณลุ่มน้ําชี -มูลและลุ่มน้ํา เสียวใหญ่ และภาพฉายทุ่งกุลาร้องไห้จาก ข้อมูลระบบการผลิตจากภาวะเศรษฐกิจ-สังคมในอนาคต แก่ตัวแทน ชุมชน ซึ่งมีการจัดประชุมใน พื้นที่ศึกษาทั้ง 6 ชุมชน ในช่วงวันที่ 3-7 กันยายน พ.ศ. 2555 ผู้เข้าร่วมประชุมรวม ทั้งสิ้นจํานวน 56 คน ที่ประชุมเปิดโอกาศให้ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความเสี่ยง จากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การเปิดรับจากผลกระทบ และกลไกในการรับมือหรือปรับตัวของชุมชนในอนาคต
8.1 ความเสี่ยง การเปิดรับ ความไวต่อผลกระทบ และกลไกในการรับมือ/ปรับตัวในอนาคต
ผลการประชุมความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การเปิดรับ ผลกระทบหรือแรงกดดันจากสภาพ อากาศอนาคต และกลไกในการรับมือ/การปรับตัวในอนาคต ของแต่ละชุมชนพอสรุปได้ตารางที่ 8.1 ถึง 8.5
8.2 ผลกระทบและความเปราะบางของระบบเกษตรต้าบลน ้าอ้อมในอนาคต ภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคต การปลูกข้าวนาปีความเสี่ยงที่เกิดขึ้นยังมาจากฝนทิ้งช่วงและ น้ําท่วมเช่นในอดีต พื้นที่ปลูกข้าวนาปีมีการเปิดรับสูงต่อน้ําท่วม ส่งผลกระทบสูง แต่กลไกในการปรับตัวของชุมชน ยังต่ํา ทําให้การปลูกข้าวนาปีมีความเปราะบางสูงต่อน้ําท่วม กรณีฝนแล้ง พื้นที่ปลูกข้าวนาปีมีการเปิดรับปานกลาง ต่อฝนแล้ง มีผลกระทบปานกลาง กลไกในการปรับตัวของชุมชนอยู่ในระดับปานกลาง ทําให้การปลูกข้าวนาปีมี ความเปราะบางปานกลางต่อฝนแล้ง สําหรับการปลูกข้าวนาปรัง พื้นที่ปลูกข้าวนาปรังมีการเปิดรับสูงต่อการขาด น้ํา ผลกระทบสูง แต่เกษตรกรมีความสามารถในการปรับตัวปานกลาง ทําให้การปลูกข้าวนาปรังมีความเปราะบาง ปานกลาง หากพิจารณาโดยภาพรวมของระบบการเกษตรในอนาคตของตําบลน้ําอ้อมถือได้ว่า ระบบการเกษตร ของตําบลน้ําอ้อมมีความเปราะบางสูงต่อน้ําท่วม มีความเปราะบางปานกลางต่อฝนแล้ง อย่างไรก็ตามหากชุมชนไม่ สามารถดําเนินการกลไกในการปรับตัวที่เสนอมาได้ก็จะทําให้ระบบการเกษตรของตําบลน้ําอ้อมมีความเปราะบาง สูงภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (ตารางที่ 8.6)
8.3 ผลกระทบและความเปราะบางของระบบเกษตรต้าบลเกษตรวิสัย
ภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคต การปลูกข้าวนาปีของตําบลเกษตรวิสัย ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น ยังมาจากฝนทิ้งช่วงและน้ําท่วมเช่นในอดีต พื้นที่ปลูกข้าวนาปีมีการเปิดรับสูงต่อน้ําท่วมและฝนแล้ง ส่งผลกระทบ สูงต่อการปลูกข้าว แต่กลไกในการปรับตัวของชุมชนต่อน้ําท่วมยังต่ํา ทําให้การปลูกข้าวนาปีมีความเปราะบางสูง ต่อน้ําท่วม สําหรับการปลูกข้าวนาปรัง พื้นที่ปลูกข้าวนาปรังมีการเปิดรับสูงต่อการขาดน้ํา ผลกระทบสูง แต่
เกษตรกรมีความสามารถในการปรับตัวสูง ทําให้การปลูกข้าวนาปรังมีความเปราะบางต่ํา การปลูกพืชผัก พื้นที่มี การเปิดรับสูงต่อการขาดน้ําและอุณหภูมิ มีผลกระทบสูงต่อผัก แต่เกษตรกรมีความสามารถในการปรับตัวสูง ส่งผล ให้มีความเปราะบางต่ํา หากพิจารณาโดยภาพรวมของระบบการเกษตรในอนาคตของตําบลเกษตรวิสัย ยังคงมี ความเปราะบางสูงต่อน้ําท่วม (ตารางที่ 8.6)
8.4 ผลกระทบและความเปราะบางของระบบเกษตรต้าบลกู่กาสิงห์
ภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคต การปลูกข้าวนาปีและนาปรังของตําบลกู่กาสิงห์ ความเสี่ยงที่ เกิดขึ้นยังมาจากฝนทิ้งช่วงและน้ําท่วมเช่นในอดีต พื้นที่ปลูกข้าวนาปีและนาปรังมีการเปิดรับสูงทั้งน้ําท่วมและฝน แล้ง ส่งผลกระทบสูงต่อการปลูกข้าว แต่กลไกในการปรับตัวของชุมชนอยู่ในระดับปานกลาง ทําให้การปลูกข้าวมี ความเปราะบางต่ํา หากพิจารณาโดยภาพรวมของระบบการเกษตรในอนาคตของตําบลกู่กาสิงห์ มีความเปราะบาง ปานกลางต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (ตารางที่ 8.6)
8.5 ผลกระทบและความเปราะบางของระบบเกษตรต้าบลเมืองบัว
ภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคต การปลูกข้าวนาปีและนาปรังของตําบลเมืองบัว ความเสี่ยงที่ เกิดขึ้นยังมาจากฝนทิ้งช่วงและน้ําท่วมเช่นในอดีต พื้นที่ปลูกข้าวนาปีและนาปรังมีการเปิดรับสูงทั้งน้ําท่วมและฝน แล้ง ส่งผลกระทบสูงต่อการปลูกข้าว กลไกในการปรับตัวของชุมชนต่อน้ําท่วมอยู่ในระดับปานกลางและต่อฝนแล้ง อยู่ในระดับสูง ทําให้ระบบการปลูกข้าวโดยภาพรวมมีความเปราะบางปานกลาง อย่างไรก็ตามหากชุมชนไม่ สามารถดําเนินการกลไกในการปรับตัวที่เสนอมาได้ก็จะทําให้ระบบการเกษตรของตําบลเมืองบัวมีความเปราะบาง สูงภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศได้ (ตารางที่ 8.6)
8.6 ผลกระทบและความเปราะบางของระบบเกษตรต้าบลหินกอง
ภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคต การปลูกข้าวนาปีของตําบลหินกอง ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นยังมา จากฝนทิ้งช่วงและน้ําท่วมเช่นเดิม พื้นที่ปลูกข้าวมีการเปิดรับสูงทั้งน้ําท่วมและฝนแล้ง ส่งผลกระทบสูงต่อการปลูก ข้าว กลไกในการปรับตัวของชุมชนต่อน้ําท่วมอยู่ในระดับปานกลางและต่อฝนแล้งอยู่ในระดับสูง ทําให้ระบบการ ปลูกข้าวโดยภาพรวมมีความเปราะบางปานกลาง อย่างไรก็ตามหากชุมชนไม่สามารถดําเนินการกลไกในการ ปรับตัวที่เสนอมาได้ก็จะทําให้ระบบการเกษตรของตําบลหินกองมีความเปราะบางสูงภายใต้การเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศได้เช่นกัน (ตารางที่ 8.6)
8.7 แผนงานโครงการที่จะน้าบรรจุในยุทธศาสตร์การพัฒนาในอนาคตของแต่ละชุมชน
ภายหลังเสร็จสิ้นการระดม ความคิดเห็นเกี่ยวกับความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การเปิดรับจาก ผลกระทบ และกลไกในการรับมือหรือปรับตัว ของชุมชนในอนาคตของแต่ละชุมชนแล้ว เพื่อให้การดําเนินการ เกิดผลในเชิงรูปธรรม ที่ประชุมได้ระดมความคิดเกี่ยวกับแผนงาน /โครงการที่จะดําเนินในยุทธศาสตร์การปรับตัว รองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคตของแต่ละชุมชน หากเป็นแผนงานหรือโครงการที่เกินกําลัง
ความสามารถขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นๆ ก็ให้คํานึงถึงหน่วยงานภายนอกที่มีบทบาทช่วยเหลือในการ ดําเนินการ สรุปแผนงาน/โครงการของแต่ละชุมชนได้ดังตารางที่ 8.7 ถึง 8.11
8.8 ข้อเสนอการรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคตของกลุ่มชุมชนศึกษา
โครงการจัดให้มีการประชุมตัวแทนรวมจากทุกองค์การปกคองส่วนท้องถิ่นในวันที่ 11 กันยายน พ.ศ.
2555 มีผู้เข้าร่วมประชุมรวมจํานวน 15 คน เพื่อหาข้อสรุปรวมเกี่ยวกับแนวทางการรับมือต่อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ เพื่อลดความเสี่ยงและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคต โดยโครงการนําข้อสรุปที่ได้ จากกระบวนการศึกษาความเสี่ยงต่อวิถีการดํารงชีพและกิจกรรมของชุมชนภายใต้แรงขับดันของการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ เศรษฐกิจและสังคมในอนาคตของแต่ละชุมชน นําเสนอที่ประชุม เปิดโอกา ศให้ที่ประชุมระดมความ คิดเห็น ซึ่งมีข้อสรุปการรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศดังนี้
1. ดําเนินการผันน้ําข้ามลุ่มน้ําจากแม่น้ําชีมาเติมลงในลุ่มน้ําเสียวใหญ่ (ลุ่มน้ําเสียวใหญ่ไม่มีแหล่งน้ํา ต้นทุน มีเพียงอ่างเก็บน้ําหนองบ่อ ที่อําเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ทําให้ในช่วงที่ฝนทิ้งช่วงและฤดูแล้งไม่มีน้ํา เพียงพอต่อการเกษตรและน้ําอุปโภคโดยเฉพาะน้ําดิบสําหรับผลิตน้ําปะปา)
2. ขุดลอกตะกอนดินในแม่น้ําเสียวใหญ่ แม่น้ําเสียวน้อยและแม่น้ําเตาตลอดลําน้ํา พร้อมมีการบดอัด คันดินริมฝั่งแม่น้ําให้แข็งแรงได้มาตราฐาน
3. พัฒนาพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ให้มีระบบชลประทานที่สมบูรณ์ พร้อมมีระบบควบคุมน้ําป้องกันและ บรรเทาทั้งอุทกภัยและภัยแล้ง
4. ศึกษาวิจัยพืชเศรษฐกิจใหม่ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ในทุ่งกุลาร้องไห้ นอกเหนือจากข้าวหอมมะลิ หรือข้าวขาวดอกมะลิ 105 พร้อมศึกษาระบบตลาดพืชเศรษฐกิจใหม่
5. การพัฒนาพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 หรือข้าวหอมมะลิสําหรับปลูกในฤดูนาปรังหรือปลูกนอกฤดู นาปี เพื่อคงอัตตลักษณ์ทุ่งกุลาร้องไห้
8.9 สรุปความเสี่ยง ผลกระทบและความเปราะบางของระบบเกษตรภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคต วิถีชีวิตของชุมชนและระบบเกษตรของทุกชุมชนยังตกอยู่ ภายใต้ความเสี่ยงทั้งน้ําท่วมและฝนแล้งที่รุนแรงขึ้น และความเสี่ยงของอุณภูมิอากาศที่สูงขึ้นในอนาคตซึ่งมี ผลกระทบต่อการปลูกพืชทั้งการทํานาปี การทํานาปรังและพืชผัก การทํานาปีมีความเสี่ยงทั้งน้ําท่วมและฝนทิ้งช่วง ในฤดูการเพาะปลูกข้าว สําหรับนาปรังมีความเสี่ยงต่อการ ขาดแคลนน้ําและอุณหภูมิสูงซึ่งส่งผลให้เกิดความแห้ง แล้งและการผสมเกสรของข้าวมากขึ้น และพืชผักเสี่ยงต่อการขาดน้ํามากขึ้น พื้นที่เปิดรับเพิ่มขึ้นตามความเสี่ยงที่ เพิ่มขึ้น กลไก ในการรับมือ/กลไกการปรับตัวในอนาคตซึ่งมีทั้งที่แตกต่างและเหมือนกันในแต่ละชุมชน ซึ่งนําไปสู่ ความเปราะบางของระบบเกษตรที่แตกต่างกันไปในแต่ละชุมชน โดยภาพรวมแล้วกลไกหรือแนวทางการปรับตัวใน อนาคตของชุมชนส่วนใหญ่จะเน้นการจัดหาแหล่งน้ําทั้งจากภายนอกพื้นที่ การปรับปรุงพื้นที่รับน้ํา การจัดทํา ระบบชลประทานและระบบควบคุมน้ําและป้องกันน้ําท่วม และการบริหารจัดการน้ําอย่างเป็นระบบ อย่างไรก็ตาม
หากชุมชนไม่สามารถดําเนินการกลไกในการปรับตัวที่เสนอมาได้ก็จะทําให้ระบบการเกษตรในพื้นที่มีความ เปราะบางสูงมากขึ้นภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศได้เช่นกัน
ตารางที่ 8.1 ความเสี่ยง การเปิดรับความเสี่ยง และกลไกในการรับมือ/การปรับตัวของเกษตรกรในอนาคตในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตําบลน้ําอ้อม ตําบลน้ําอ้อม อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด
ภาคส่วนที่เสี่ยง | ความเสี่ยงจากสภาพ อากาศในอนาคต | การเปิดรับจากผลกระทบหรือ แรงกดดันจากสภาพอากาศ อนาคต | ความไวต่อผลกระทบจาก สภาพอากาศ | กลไกในการรับมือ/กลไกการปรับตัว | |
ระบบเกษตร | ค้าอธิบาย/ตัวชี วัด | ค้าอธิบาย/ตัวชี วัด | ค้าอธิบาย/ตัวชี วัด | ประสิทธิภาพ | |
ข้าวนาปี | น้ําท่วม_ ในอนาคตฝนมี ปริมาณมากขึ้น ความ เสี่ยงจากน้ําท่วมในช่วง เดือนกันยายน-ตุลาคม มีมากขึ้น เมื่อ เปรียบเทียบกับใน ปัจจุบัน | พื้นที่เปิดรับน้ําท่วมจะมากกว่า 70 % ของพื้นที่นาข้าวทั้งตําบล | - | 1. พัฒนาลุ่มน้ําเสียวใหญ่โดย - การเสริมและอัดบดคันดินริมฝั่ง แม่น้ําเสียวใหญ่ให้แข็งแรง - ขุดลอกตะกอนทรายในแม่น้ํา เสียวให้แม่น้ํามีความลึกเช่นใน อดีต (ปัจจุบัน ลําน้ําตื้นเขินมาก) | - |
ข้าวนาปี | ฝนทิ้งช่วงน่าจะเปลี่ยน จากช่วงเดือน กรกฏาคม_สิงหาคม มา เป็นต้นฤดูการเพาะปลูก (เมษายน-พฤษภาคม) | ประมาณ 100 % ของพื้นที่นา ข้าวทั้งตําบลเสี่ยงต่อการเกิดฝน ทิ้งช่วงในช่วงเพาะปลูกข้าวนาปี | - | 1. สร้างแหล่งกักเก็บน้ํา/สระในไร่ นา 2. สร้างประตูควบคุมน้ําริมฝั่ง แม่น้ําเสียวใหญ่ และขุดลอกคลอง ส่งน้ําให้น้ําจากแม่น้ําเสียวไหลเข้าสู่ คลองส่งน้ําและแปลงนาได้ (ปัจจุบัน ระดับของคลองส่งน้ําอยู่สูงกว่า แม่น้ําเสียวใหญ่) 3. พัฒนาลุ่มน้ําเสียวใหญ่ ให้มี แหล่งกักเก็บน้ําในลําน้ําได้มากขึ้น โดย - ขุดลอกตะกอนทรายในแม่น้ํา เสียวใหญ่ - นําน้ําจากแม่น้ําชีมาเติมในลุ่ม | - |
ภาคส่วนที่เสี่ยง | ความเสี่ยงจากสภาพ อากาศในอนาคต | การเปิดรับจากผลกระทบหรือ แรงกดดันจากสภาพอากาศ อนาคต | ความไวต่อผลกระทบจาก สภาพอากาศ | กลไกในการรับมือ/กลไกการปรับตัว | |
ระบบเกษตร | ค้าอธิบาย/ตัวชี วัด | ค้าอธิบาย/ตัวชี วัด | ค้าอธิบาย/ตัวชี วัด | ประสิทธิภาพ | |
น้ําเสียวใหญ่ ในช่วงฝนทิ้งช่วง และฤดูแล้ง - ทําระบบชลประทานเข้าสู่ไร่นา เกษตรกร (นําน้ําจากแม่น้ําเสียว เข้าสู่แปลงนา) 4. เสริมสันเขื่อนยางน้ําอ้อม-เขวาคํา สูงขึ้นอีก 2 เมตร (ให้น้ําไหลเข้าสู่ คลองสาขาได้ตามแรงดึงดูดของโลก | |||||
ข้าวนาปรัง | ในอนาคตภาวะแห้ง แล้ง_ การขาดแคลนน้ํา จะรุนแรงมากขึ้นและ อุณหภูมิอากาศสูงอาจมี ผลต่อการผสมเกสรของ ข้าวมากขึ้น | 1. พื้นที่นาปรังทั้งหมดหรือ 100% เสี่ยงต่อการขาดน้ํามาก ขึ้น 2. ในอนาคตผลผลิตข้าวอาจ ลดลง | - | 1. ปรับเปลี่ยนช่วงปลูกข้าวนาปรัง ให้เร็วกว่าปกติ โดยปลูกในช่วงเดือน เดือนพฤศจิกายน-ต้นธันวาคม 2. สร้างแหล่งกักเก็บน้ํา/สระในไร่ นา | - |
ตารางที่ 8.2 ความเสี่ยง การเปิดรับความเสี่ยง และกลไกในการรับมือ/การปรับตัวของเกษตรกรในอนาคตในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตําบลเกษตรวิสัย ตําบลเกษตรวิสัย อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด
ภาคส่วนที่เสี่ยง | การเสี่ยงจากสภาพ อากาศ | การเปิดรับจากผลกระทบหรือ แรงกดดันจากสภาพอากาศ อนาคต | ความไวต่อผลกระทบจาก สภาพอากาศ | กลไกในการรับมือ/กลไกการปรับตัวในอนาคต | |
ระบบเกษตร | ค้าอธิบาย/ตัวชี วัด | ค้าอธิบาย/ตัวชี วัด | ค้าอธิบาย/ตัวชี วัด | ประสิทธิภาพ | |
ข้าวนาปี | น้ําท่วม_ ความเสียงน้ํา ท่วมในอนาคตจะเพิ่มขึ้น กว่าในปัจจุบัน (กันยายน-ตุลาคม) | พื้นที่นาที่เสี่ยงต่อน้ําท่วมจะ เพิ่มขึ้นกว่าปัจจุบัน (มากกว่า 50 % ของพื้นที่นาข้าวทั้งตําบล เสี่ยงต่อการเกิดน้ําท่วม | 1. ขุดลอกแม่น้ําเสียวให้ลึกเช่นใน อดีต ทําพนังกั้นน้ําให้แข็งแรง และมี สร้างประตูปิดเปิดน้ําแม่น้ําเสียวกับ คลองน้ําในพื้นที่ (คลองกรมพัฒนา ที่ดิน) 2. การบริหารจัดการน้ําอย่างเป็น ระบบ | ||
ข้าวนาปี | ฝนทิ้งช่วง_(ช่วงเดือน กรกฏาคม_สิงหาคม) ในอนาคต ในปีที่ฝนน้อย ฝนทิ้งช่วงน่าจะรุนแรง กว่าในปัจจุบัน | พื้นที่นาทั้งตําบลเสี่ยงต่อการเกิด ฝนทิ้งช่วง | 1. จัดหาน้ําจากแม่น้ําชีมาเติมลงใน ลุ่มน้ําเสียวใหญ่ และสร้างแหล่งกัก เก็บน้ํา มี 2 แนวทางดังนี้ 1.1 สูบน้ําด้วยไฟฟ้า ที่อําเภอเชียง ขวัญ จ.ร้อยเอ็ด หรือ 1.2 สูบน้ําจากแม่น้ําชี ที่ อําเภอ โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม ลงลําน้ํา เสียวใหญ่ 2. ขุดลอกแหล่งน้ํารองรับน้ําจาก แม่น้ําชี ที่ห้วยกุดแดง อ.จตุรพักตร พิมาน ฝายบ้านโคกทม ที่ อ.ปทุม รัตน์ และเลิงขี้ตุ่น ต.ดอกไม้ อ. สุวรรณภูมิ(พื้นที่ 3,000 ไร่)ทําเป็น แก้มลิงเพื่อใช้ในช่วงขาดแคลนน้ํา |
ภาคส่วนที่เสี่ยง | การเสี่ยงจากสภาพ อากาศ | การเปิดรับจากผลกระทบหรือ แรงกดดันจากสภาพอากาศ อนาคต | ความไวต่อผลกระทบจาก สภาพอากาศ | กลไกในการรับมือ/กลไกการปรับตัวในอนาคต | |
ระบบเกษตร | ค้าอธิบาย/ตัวชี วัด | ค้าอธิบาย/ตัวชี วัด | ค้าอธิบาย/ตัวชี วัด | ประสิทธิภาพ | |
และในฤดูแล้ง โดยมีการเชื่อมด้วย ระบบน้ําท่อเป็นข่ายใยแมงมุม 3. สร้างฝายยางที่แม่น้ําเสียวใหญ่ ทุกระยะทาง 20 กม. จาก มหาสารคาม ถึงลําน้ํามูล และมี ระบบการจัดการน้ําเป็นระบบ (แก้ปัญหาน้ําท่วมและขาดแคลนน้ํา ทั้งการเกษตรและน้ําประปา) 4. การขุดสระน้ําในไร่นาเกษตรกร 5. การใช้น้ําบาดาลในการเกษตร เจาะน้ําบาดาลระดับความลึกไม่เกิน 30 เมตร หากลึกกว่านี้จะได้น้ําเค็ม) | |||||
ข้าวนาปรัง | ในอนาคต ภาวะแห้ง แล้ง_ ขาดแคลนน้ําและ อุณหภูมิสูง จะส่งผล กระทบต่อการทํานาปรัง | พื้นที่ทํานาปรังเสี่ยงต่อการขาด น้ํา ตั้งแต่เดือนมกราคมเป็นต้น ไป | 1. ปลูกข้าวนาปรังเร็วกว่าปกติปลูก ข้าวนาปรังในเดือนธันวาคม หลังน้ํา ท่วมลดลง เก็บเกี่ยวในช่วงเดือน มีนาคม 2. กลไกเดียวกับการแก้ปัญหาการ ขาดแคลนน้ําในนาปี | ||
พืชผัก | อุณหภูมิสูงในช่วงฤดู แล้ง_ขาดน้ํา ผลผลิตผัก อาจลดลง | แหล่งปลูกผัก ยังคงเสี่ยงต่อการ ขาดน้ําทั้งหมด (100%) | 1. กลไกเดียวกับการแก้ปัญหาการ ขาดแคลนน้ําในนาปี |
ตารางที่ 8.3 ความเสี่ยง การเปิดรับความเสี่ยง และกลไกในการรับมือ/การปรับตัวของเกษตรกรในอนาคตในพื้นที่เทศบาลตําบลกู่กาสิงห์ ตําบลกู่กาสิงห์ และองค์การบริหารส่วนตําบลกู่กาสิงห์ ตําบลกู่กาสิงห์ อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด
ภาคส่วนที่เสี่ยง | การเสี่ยงจากสภาพ อากาศ | การเปิดรับจากผลกระทบหรือ แรงกดดันจากสภาพอากาศ อนาคต | ความไวต่อผลกระทบจาก สภาพอากาศ | แนวทางการรับมือ/กลไกการปรับตัวในอนาคต | |
ระบบเกษตร | ค้าอธิบาย/ตัวชี วัด | ค้าอธิบาย/ตัวชี วัด | ค้าอธิบาย/ตัวชี วัด | ประสิทธิภาพ | |
ข้าวนาปี | น้ําท่วม_เกิดจากความ แปรปรวนของฝนในช่วง ปลายฤดูฝน (กันยายน-ตุลาคม)จะ เสี่ยงมากขึ้นกว่าปัจจุบัน โดยเฉพาะในปีที่มีฝน ปริมาณมาก | พื้นที่ปิดรับมากกว่า 40 % ของ พื้นที่นาข้าวทั้งตําบลเสี่ยงต่อ การเกิดน้ําท่วม | 1. บริหารจัดการน้ําอย่างเป็นระบบ ตลอดลุ่มน้ําเสียว 2. ขุดลอกตะกอนในลําน้ําและสัน ดอนที่ขวางทางน้ําในลุ่มน้ําเสียว ใหญ่ให้ได้มาตรฐาน ให้น้ําไหลได้ สะดวก ตั้งแต่ประตูระบายน้ําเมือง บัวหรือฝายเมืองบัว ไปถึงฝายเล้า ข้าว 3. ขุดลอกสันดอนบริเวณแม่น้ําเสียว ใหญ่ที่บรรจบกับลําน้ําเตาให้น้ําไหล สะดวก และเสริมคันดินบริเวณต้น น้ําที่แม่น้ําเตากับแม่น้ําเสียวใหญ่ ไหลมารวมกัน 4. จัดทําประตูระบายน้ํามีระบบ ควบคุมการปิดเปิดน้ํา ระหว่างแม่น้ํา เสียวใหญ่กับพื้นที่นา รวมถึงแม่น้ํา สาขา 5. ปรับระดับพื้นที่ระหว่างแม่น้ํา เสียวใหญ่กับไร่นาเกษตรให้น้ําไหล เข้าออกได้ (ปัจจุบัน ระดับแม่น้ํา เสียวอยู่สูงกว่าระดับแปลงนา ) |