แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการสถานศึกษา วิทยฐานะ รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ระหว่างxxxxxx 1 เดือน xxxxxx พ.ศ. 2565 ถึงxxxxxx 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2566
ผู้จัดทำข้อตกลง
ชื่อ นางสาววิxxxx นามสกุล แก้วชยั ตำแหน่ง ผู้บริหารสถานศึกษา
วิทยฐานะ รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
รับเงินเดือนในอันดับ คศ.3 อัตราเงินเดือน 36,480 บาท สถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๗ รถไฟสงเคราะห์ สังกัด สำนักการศึกษา เทศบาลxxxอุดรธาน อำเภอ เมืองอุดรธานี จังหวัด อุดรธานี
ประเภทของสถานศึกษา
🗹 สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
🗹 ระดับxxxxxx
🗹 ระดับประถมศึกษา
🗹 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
🗹ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
□การจัดการศึกษาพิเศษ (ไม่มีระดับชั้น)
□ สถานศึกษาที่จัดการศึกษาอาชีวศึกษา
□ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
□ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
□ การฝึกอบรมวิชาชีพตามหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น
□ สถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
□ การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
□ การจัดการศึกษานอกระบบตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
□ การจัดการศึกษาต่อเนื่อง
ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการสถานศึกษา วิทยฐานะ รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ ซึ่งเป็นตำแหน่งและวิทยฐานะที่ดำรงอยู่ในปัจจุบันกับ ผู้บังคับบัญชา ไว้ดังต่อไปนี้
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน จะมีภาระงานด้านการบริหารวิชาการและความเป็นxxxxxxxxวิชาการ ด้านการบริหาร จัดการสถานศึกษา ด้านการบริหารการเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ์นวัตกรรม ด้านการบริหารงาน ชุมชนและเครือข่ายและด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ เป็นไปตามที่ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. กำหนด
🗹 เต็มเวลา
□ ไม่เต็มเวลา เนื่องจาก……………………………………………………………………………………………..
โดยภาระงานด้านการบริหารวิชาการและความเป็นxxxxxxxxวิชาการ จะมีการปฏิบัติการสอน ไม่ต่ำกว่า 10 ชั่วโมง/สัปดาห์ (ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา ไม่ต่ำกว่า 5 ชั่วโมง/สัปดาห์ ผู้อำนวยการศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กและรองผู้อำนวยการสถานศึกษา ไม่ต่ำกว่า 10 ชั่วโมง/สัปดาห์) โดยมีการปฏิบัติการสอน/การจัด กิจกรรมการเรียนการสอนในสถานศึกษาอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้
□ ปฏิบัติการสอนประจำวิชาจำนวน ชั่วโมง/สัปดาห์
□ ปฏิบัติการสอนร่วมกับครูประจำชั้น/ประจำวิชา จำนวน - ชวโมง/สัปดาห์
□ สังเกตการสอนและสะท้อนผลการสอนร่วมกับครูในกิจกรรมxxxxxxxxเรียน จำนวน - ชั่วโมง/สัปดาห์
🗹 เป็นผู้นำกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ( PLC) ของโรงเรียน จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
🗹 นิเทศการสอนเพื่อเป็นพี่เลี้ยงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับครู จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
🗹 จัดกิจกรรมxxxxxxxxxxการเรียนรู้และอบรมบ่มนิสัยผู้เรียน จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา (ให้ระบุรายละเอียด ของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้านว่าจะxxxxxxการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาที่ใช้ในการxxxxxxการด้วยก็ได้)
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่คาดxxxx ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและสถานศึกษา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ที่แสดงให้เห็นxxxxxxเปลี่ยนแปลงในทางxxxxxขึ้น หรือมีการพัฒนามากขึ้นหรือxxxxxxxxxxสูงขึ้น (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) |
1.ด้านการบริหารวิชาการและความ เป็นxxxxxxxxวิชาการ ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง 1.1 การวางแผนพัฒนามาตรฐาน การเรียนรู้ของผู้เรียน * มีการริเริ่ม พัฒนา มาตรฐานการ เรียนรู้ของผู้เรียน โดยมีแผนพัฒนาที่ สอดคล้องกับนโยบายทุกระดับ ครอบคลุมภารกิจหลักของสถานศึกษา มีการประเมินความต้องการจำเป็นของ ผู้เรียนและผู้ที่เกี่ยวข้อง มีxxxxxxxxx xxxถูกต้องและผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม ในการพัฒนามาตรฐานการเรียนรู้ของ ผู้เรียน และมีการxxxxxxการตามแผน | ๑.๑ มีการ ริเริ่ม พัฒนา มาตรฐานการ เรียนรู้ของผู้เรียน โดยมีแผนพัฒนา การศึกษา ที่สอดคล้องกับนโยบาย ทางการศึกษาทุกระดับครอบคลุมภารกิจ หลักของสถานศึกษา จัดทำแผนพัฒนา การศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 เพื่อเป็น แนวทางไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม ตรงกับความต้องการจำเป็นของผู้เรียน โดยผ่านกระบวนการของการมีxxxxxxxxxxxx คณะกรรมการบริหารการศึกษาของ เทศบาลxxxxxxxxxxx คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ชุมชน ผู้xxxxxx ครูและนักเรียน โดยใช้กลยุทธ์ (SWOT Analysis) มาช่วยในการxxxxxxการ | ผู้เรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพตาม มาตรฐานการเรียนรู้และเป็นไปตาม พัฒนาการของแต่ละช่วงวัย ครูนำมาตรฐานการเรียนรู้ของผู้เรียนไป พัฒนาหลักสูตรของแต่ละกลุ่มสาระการ เรียนรู้ สถานศึกษามีแผนพัฒนามาตรฐานการ เรียนรู้ที่สอดคล้องกับนโยบายทุกระดับ ครอบคลุมภารกิจหลักของสถานศึกษา มีการประเมินความต้องการจำเป็นของ ผู้เรียนและผู้ที่เกี่ยวข้อง มีxxxxxxxxxxxx ถูกต้อง และผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม ใน การพัฒนามาตรฐานการเรียนรู้ของ ผู้เรียนและมีการxxxxxxการตามแผน | ผู้เรียนร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และเป็นไปตาม พัฒนาการของแต่ละ ช่วงวัย ครูร้อยละ 80 นำมาตรฐานการเรียนรู้ของ ผู้เรียนไปพัฒนาหลักสูตรของแต่ฃละกลุ่มสาระ การเรียนรู้ สถานศึกษามีมาตรฐานการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยมีแผนพัฒนามาตรฐานที่สอดคล้องกับ นโยบายทุกระดับ ครอบคลุมภารกิจหลักของ สถานศึกษา มีการประเมินความต้องการจำเป็น ของผู้เรียนและผู้ที่เกี่ยวข้อง มีxxxxxxxxx xxxถูกต้อง และผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการ พัฒนามาตรฐานการเรียนรู้ของผู้เรียน และมีการxxxxxxการตามแผน |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่คาดxxxx ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและสถานศึกษา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ที่แสดงให้เห็นxxxxxxเปลี่ยนแปลงในทางxxxxxขึ้น หรือมีการพัฒนามากขึ้นหรือxxxxxxxxxxสูงขึ้น (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) |
และผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนา มาตรฐานการเรียนรู้ของผู้เรียนกำหนด เป้าหมายคุณภาพผู้เรียน และมีการระบุ เป้าหมายคุณภาพของผู้เรียนกำหนด มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ใน ระบบการประกันคุณภาพภายใน มีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบโครงการ/ กิจกรรม ตามแผนพัฒนาการศึกษาและ แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จัดทำปฏิทินการปฏิบัติงาน ประจำปีการศึกษา และมีการxxxxxxการ ตามแผนปฏิบัติการ จัดการxxxxxxการ ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาจะ ได้ทราบถึงปัญหา xxxxxxxxxxเกิดขึ้น เพื่อ นำผลการประเมินไปใช้เป็นข้อมูล ประกอบ การกำหนดแนวทางในการแก้ไข ปัญหา ปรับปรุงการxxxxxxงานและ วางแผนพัฒนามาตรฐานการเรียนรู้ของ ผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง ต่อไป |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่คาดxxxx ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและสถานศึกษา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ที่แสดงให้เห็นxxxxxxเปลี่ยนแปลงในทางxxxxxขึ้น หรือมีการพัฒนามากขึ้นหรือxxxxxxxxxxสูงขึ้น (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) |
1.2 การจัดทำและพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา หลักฐานร่องรอย * หลักสูตรสถานศึกษามีความ ทันสมัย สอดคล้องกับความต้องการของ ผู้เรียนและxxxxxxxx โดยมีผู้บริหาร ครู ผู้xxxxxxและชุมชน มีส่วนร่วมในการ ริเริ่ม พัฒนา และจัดทำหลักสูตร สถานศึกษา มีองค์ประกอบถูกต้อง ครบถ้วน คือ มีวิสัยทัศน์ จุดมุ่งหมาย คุณลักษณะอันพึงxxxxxxx โครงสร้าง เวลาเรียน คำอธิบาย รายวิชา แนว xxxxxxการจัดการเรียนรู้ การวัดผล ประเมินผลการเรียนรู้ มีการนำหลักสูตร สถานศึกษาไปปฏิบัติจริงในการจัดการ เรียนรู้ มีการนิเทศ ติดตาม การใช้ หลักสูตรมีการนำผลการนิเทศ ติดตาม และการประเมินผลการใช้หลักสูตรมา ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา | ๑.๒ มีการ ริเริ่ม พัฒนา xxxxxxxxให้ครูมี การวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการ เรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อพัฒนาหลักสูตร ตลอดจนการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ ด้วย การทบทวนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร หน่วยการ เรียนรู้ และการออกแบบการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้แก่คณะครูด้วยการ อบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำหลักสูตร ๑.3 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนา และปรับปรุงหลักสูตรทุกสาระการเรียนรู้ และxxxxxxxxให้ครูมีการวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานและตัวชี้วัด เพื่อพัฒนาหลักสูตร ซึ่งประกอบด้วย ๑) วิสัยทัศน์ ๒) จุดมุ่งหมาย ๓) สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๔) คุณลักษณะอันพึงxxxxxxx ๕) สาระการเรียนรู้และมาตรฐานการ เรียนรู้ ๖) คุณภาพผู้เรียน | ผู้เรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพตาม หลักสูตรสถานศึกษา 8 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ ได้รับการพัฒนาคุณภาพทาง การศึกษาตามความต้องการและตรงตาม หลักสูตรสถานศึกษากำหนด ครูนำหลักสูตรไปจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนสอดคล้องกับความต้องการของ xxxxxxxx ชุมชน ผู้xxxxxxและนักเรียน สถานศึกษามีหลักสูตรxxxxxxxxxx สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ถูกต้องตามกระบวนการพัฒนาหลักสูตร กรรมการสถานศึกษาเห็นชอบการใช้ หลักสูตร | ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ตามหลักสูตรสถานศึกษา 8 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ ได้รับการพัฒนาคุณภาพทาง การศึกษาตามความต้องการและตรงตาม หลักสูตรสถานศึกษากำหนด ครูร้อยละ 100 นำหลักสูตรไปจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนสอดคล้องกับความต้องการของ xxxxxxxx ชุมชน ผู้xxxxxxและนักเรียน สถานศึกษาร้อยละ 100 มีหลักสูตรxxxxxxxxxx สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ถูกต้อง ตามกระบวนการพัฒนาหลักสูตร กรรมการ สถานศึกษาเห็นชอบการใช้หลักสูตร |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่คาดxxxx ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและสถานศึกษา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ที่แสดงให้เห็นxxxxxxเปลี่ยนแปลงในทางxxxxxขึ้น หรือมีการพัฒนามากขึ้นหรือxxxxxxxxxxสูงขึ้น (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) |
๗) ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ๘) คำอธิบายรายวิชา ๙) โครงสร้าง รายวิชา และ ๑๐) หน่วยการเรียนรู้ 1.4 ส่งเสริม ให้ครูประยุกต์ใช้หลักสูตรให้ สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นของ สถานศึกษามีการบูรณาการจัดทำ หลักสูตร Zero Waste School มีการจัดทำแผนการสอนวิชาบูรณาการ สิ่งแวดล้อมศึกษาและขยะเป็นศูนย์ โดยได้ นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้กับนักเรียน ๑.5 มีการนำหลักสูตรสถานศึกษาไป ปฏิบัติจริง ในการจัดการเรียนรู้ มีการ นิเทศ ติดตาม การใช้หลักสูตร มีการนำผล การนิเทศ ติดตาม และการประเมินผล การใช้หลักสูตรมาปรับปรุงพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา | - |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่คาดหวัง ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและสถานศึกษา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ที่แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น หรือมีการพัฒนามากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) |
1.3 การพัฒนากระบวนการจัดการ เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและ ปฏิบัติการสอน * มีการริเริ่ม พัฒนา กระบวนการ จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และปฏิบัติการสอน ครูมีการเตรียมการ จัดการเรียนรู้ มีการวิเคราะห์ผู้เรียน การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การ เลือกสื่อและแหล่งเรียนรู้ เครื่องมือ วัดผลประเมินผล จัดกระบวนการเรียนรู้ ตามแผนพัฒนากระบวนการจัดการ เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีเครื่องมือในการวัดและประเมินผล นำผลไปปรับปรุงพัฒนากระบวนการ จัดการเรียนรู้ | 1.3 มีการริเริ่ม พัฒนา กระบวนการ จัดการเรียนรู้ และพัฒนาโครงการที่ เกี่ยวกับ การพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบการ เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อนำไป พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ สมรรถนะทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ และปฏิบัติการสอน ครูมีการเตรียมการจัดการเรียนรู้ มีการ วิเคราะห์ผู้เรียน การออกแบบกิจกรรม การเรียนรู้ การเลือกสื่อ และแหล่งเรียนรู้ เครื่องมือวัดผลประเมินผลจัดกระบวนการ เรียนรู้ตามแผนพัฒนากระบวนการจัดการ เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญมีเครื่องมือ ในการวัดและประเมินผล นำผลไป ปรับปรุงพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ | ผู้เรียน ได้รับการพัฒนากระบวนการ เรียนรู้ที่ครูผู้สอนออกแบบการเรียนรู้ที่ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และได้พัฒนาทักษะ และสมรรถนะทางการเรียนรู้ ครู มีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเองตาม โครงการที่ผู้บริหารสถานศึกษาพัฒนาขึ้น มีการเตรียมการจัดการเรียนรู้ มีการ วิเคราะห์ผู้เรียน การออกแบบกิจกรรม การเรียนรู้ การเลือกสื่อ และแหล่งเรียนรู้ เครื่องมือวัดผลประเมินผล จัด กระบวนการเรียนรู้ตามแผนพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ มีเครื่องมือในการวัดและ ประเมินผล | ผู้เรียน ร้อยละ 80 ผ่านการประเมินพัฒนาการ ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ที่ครูออกแบบ ได้รับการพัฒนาการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและปฏิบัติการสอน ได้รับการฝึกทักษะการแสดงออก แสดงความ คิดเห็น สรุปองค์ความรู้นำเสนอผลงาน และ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ครู ร้อยละ 100 ผ่านเกณฑ์มาตรฐานพัฒนา ตามกระบวนการของโครงการ และมีแผนการ จัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริง มีการเตรียมการจดั การเรียนรู้ มีการวิเคราะห์ ผเ้ รียน การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การ เลือกสื่อ และแหลงเรียนรู้ เครื่องมือวดั ผล ประเมินผล จดั กระบวนการเรียนรูต้ าม แผนพฒนากระบวนการจดั การเรียนรูท่เนน้ ผเ้ รียนเป็นสา˚ คญั มีเครื่องมือในการวดั และ ประเมินผล นา˚ ผลไปปรบั ปรุงพฒนา กระบวนการจดั การเรียนรู้ |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่คาดหวัง ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและสถานศึกษา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ที่แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น หรือมีการพัฒนามากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) |
สถานศึกษา มีการพัฒนาครูและสนับสนุน ครู บุลากรทางการศึกษา ให้การออกแบบ ในการจัดการเรียนรู้ มีการเตรียมการ จัดการเรียนรู้ มีการวิเคราะห์ผู้เรียน การ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การเลือกสื่อ และแหล่งเรียนรู้ เครื่องมือวัดผล ประเมินผล จัดกระบวนการเรียนรู้ตาม แผนพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีเครื่องมือในการวัด และประเมินผล นำผลไปปรับปรุงพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนรู้ | สถานศึกษา ร้อยละ 100 มีการพัฒนาครูและ สนับสนุนครู บุลากรทางการศึกษา ให้การ ออกแบบในการจัดการเรียนรู้ มีการเตรียมการ จัดการเรียนรู้ มีการวิเคราะห์ผู้เรียน การ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การเลือกสื่อ และ แหล่งเรียนรู้ เครื่องมือวัดผลประเมินผล จัด กระบวนการเรียนรู้ตามแผนพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ มีเครื่องมือในการวัดและประเมินผล นำ ผลไปปรับปรุงพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่คาดหวัง ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและสถานศึกษา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ที่แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น หรือมีการพัฒนามากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) |
1.4 การส่งเสริม สนับสนุนการ พัฒนาหรือการนำสื่อนวัตกรรม และ เทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้ในการ จัดการเรียนรู้ * ริเริ่ม พัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน การนำสื่อนวัตกรรม และเทคโนโลยี ทางการศึกษามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ตรงตามที่หลักสูตรกำหนด ครูและ นักเรียนสามารถใช้สื่อ นวัตกรรม และ เทคโนโลยีทางการศึกษาบรรลุตาม วัตถุประสงค์ มีการติดตามประเมินผล การใช้สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี ทางการศึกษามีการรายงานผลและ นำไปปรับปรุง | 1.4 มีการ ริเริ่ม พัฒนา จัดทำโครงการ ที่เกี่ยวกับ การพัฒนาสื่อประกอบการ เรียนการสอนผ่านระบบ Learning Management System : LMS เพื่อ ส่งเสริมการนำสื่อเทคโนโลยีมาใช้ในการ จัดการเรียนรู้ และเสริมสร้างสมรรถนะ ของผู้เรียน ส่งเสริม สนับสนุนการนำสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ตรงตามที่ หลักสูตรกำหนด ครูและนักเรียนสามารถ ใช้สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการ ศึกษาบรรลุตามวัตถุประสงค์ มีการ ติดตามประเมินผลการใช้สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษามีการ รายงานผลและนำไปปรับปรุง | ผู้เรียน ได้รับการพัฒนาด้านความรู้ (K) ทักษะ (S) ผ่านกระบวนการเรียนรู้ที่ ครูผู้สอนออกแบบ ครู ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตนเอง ผ่านกระบวนการฝึกอบรมที่ผู้บริหาร สถานศึกษาพัฒนาขึ้น มีการจัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง เหมาะสม และหลากหลาย ให้ผู้เรียนฝึก ปฏิบัติได้จริง สร้างและพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และนำเทคโนโลยีทางการ ศึกษามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ตรงตามที่ หลักสูตรกำหนด มีการติดตาม ประเมินผลการใช้สื่อ นวัตกรรม และ เทคโนโลยีทางการศึกษา มีการรายงานผล และนำไปปรับปรุง | ผู้เรียน ร้อยละ 90 ได้รับการพัฒนาด้านความรู้ (K) ทักษะ (S) ผ่านกระบวนการเรียนรู้ที่ ครูผู้สอนออกแบบ ครู ร้อยละ 100 ได้รับการส่งเสริมและพัฒนา ตนเองผ่านกระบวนการฝึกอบรมที่ผู้บริหาร สถานศึกษาพัฒนาขึ้น สถานศึกษา มีการพัฒนาครูและบุลากรทาง การศึกษาให้มีความสามารถในการใช้พัฒนาสื่อ ประกอบการเรียนการสอน โดยนำเทคโนโลยี มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน มีการติดตาม ประเมินผลการใช้สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี ทางการศึกษา มีการรายงานผลและนำไป ปรับปรุง |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่คาดหวัง ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและสถานศึกษา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ที่แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น หรือมีการพัฒนามากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) |
1.5 ครูจัดทำสื่อมาประกอบการจัดการ เรียนรู้และนำสื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ | สถานศึกษา มีดำเนินงานโครงการ/ กิจกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและ การจัดการเรียนรู้ มีการส่งเสริม สนับสนุนการนำสื่อ นวัตกรรม และ เทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้ในการ จัดการเรียนรู้ตรงตามที่หลักสูตรกำหนด ครูและนักเรียนสามารถใช้สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา บรรลุตาม วัตถุประสงค์ มีการติดตามประเมินผลการ ใช้สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการ ศึกษา มีการรายงานผลและนำไปปรับปรุง |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่คาดหวัง ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและสถานศึกษา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ที่แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น หรือมีการพัฒนามากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) |
1.5 การนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ของครู ในสถานศึกษา และมีการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา * นิเทศ กำกับ ติดตาม และ ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ของครู โดยมีการริเริ่ม พัฒนา ส่งเสริม กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทาง วิชาชีพ และมีการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา อย่างเป็น ระบบและต่อเนื่อง | 1.5 นิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผล การจัดการเรียนรู้ของครู โดยมีการริเริ่ม พัฒนา ส่งเสริมกระบวนการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ทางวิชาชีพ จัดทำ แบบรายงาน การนิเทศ เพื่อนำไปใช้ในการนิเทศการ จัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน กำกับ ติดตาม การจัดการเรียนการสอนของครู ผ่าน กระบวนการ PLC และนำผลที่ได้มาใช้ เพื่อเป็นแนวทางการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา 1.6 จัดทำโครงการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา และจัดทำ รายงานการประเมินตนเองของ สถานศึกษา SAR เพื่อเป็นการประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน | ผู้เรียน ได้รับการเรียนรู้ พัฒนา แก้ไข ปรับปรุงตามกระบวนการนิเทศ ครู ได้รับการพัฒนาสมรรถนะการ นิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการจัดการ เรียนรู้ ครู มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ และมีการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษา อย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่อง สถานศึกษา มีแผนการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการจัดการเรียนรู้ ของครูและมีคู่มือสถานศึกษามีการ ส่งเสริมให้ครูมีกระบวนการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ทางวิชาชีพ และมีการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง | ผู้เรียนร้อยละ 80 ได้รับการเรียนรู้ พัฒนา แก้ไข ปรับปรุงตามกระบวนการนิเทศ ครูร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนาสมรรถนะการ นิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการ จัดการเรียนรู้ ครูร้อยละ 80 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทาง วิชาชีพ และมีการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษา อย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่อง สถานศึกษามีแผนการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการจัดการเรียนรู้ของครู และมี คู่มือสถานศึกษามีการส่งเสริมให้ครูมี กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ มีผลการประเมินคุณภาพภายในของ สถานศึกษา ปีการศึกษา 2565 ตามมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐานภาพรวมของอยู่ในระดับ ดีเลิศ |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่คาดหวัง ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและสถานศึกษา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ที่แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น หรือมีการพัฒนามากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) |
1.6 การศึกษา วิเคราะห์เพื่อ แก้ปัญหาและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษา * การศึกษา วิเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เพื่อ ยกระดับคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษา และนำผลไปใช้แก้ปัญหา และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของ สถานศึกษา | ๑.๖ ริเริ่ม พัฒนา การขับเคลื่อน กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ประกอบด้วย ๓ ขั้นตอน ดังนี้ ๑) ขั้นวิเคราะห์และวางแผน (Analyze and Plan) เป็นการสร้างทีม PLC กำหนด ปัญหาการเรียนรู้ ออกแบบการสอนและ หารือ – สะท้อนคิดร่วมกับทีมเขียน แผนการจัดการเรียนรู้และเตรียมการสอน ๒) ขั้นสังเกต (Observe) เป็นการจัดการ เรียนรู้ โดยมีสมาชิกกลุ่มเข้าสังเกต พฤติกรรมการเรียนรู้ ของผู้เรียน ๓) ขั้นสะท้อนผลและปรับปรุงแผน (Reflect and Redesign) ครูสะท้อน ปัญหาและสิ่งที่ได้เรียนรู้จากบทเรียน ร่วมกัน เพื่อให้ครูได้สังเคราะห์ประเด็น เพื่อนนำไปปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ให้มี คุณภาพต่อไป | ผู้เรียน ได้รับการพัฒนาตามมาตรฐาน การเรียนรู้ที่ระบุไว้ในหลักสูตรสถานศึกษา ครู ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนเพื่อ ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้และ ครูได้แลกเปลี่ยน เรียนรู้วิธีการสอนหรือ การทำงานร่วมกัน สถานศึกษา มีข้อมูลที่ใช้ในการแก้ปัญหา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาและนำผลไปใช้แก้ปัญหาและ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา | ผู้เรียน ร้อยละ 80 ผ่านเกณฑ์ประเมินตาม มาตรฐานการเรียนรู้ที่ระบุไว้ในหลักสูตร สถานศึกษา ครู ร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการศึกษา สถานศึกษา ร้อยละ 80 ผ่านเกณฑ์การ ประเมินตามมาตรฐานการศึกษา ด้านคุณภาพ ผู้เรียน ที่สถานศึกษากำหนด |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่คาดหวัง ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและสถานศึกษา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ที่แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น หรือมีการพัฒนามากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) |
2.ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา 2.1 การบริหารจัดการสถานศึกษาให้ เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ นโยบาย และตามหลักบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี * การบริหารจัดการสถานศึกษา ด้านงานวิชาการ ด้านการบริหารงาน บุคคล ด้านงบประมาณ ด้านบริหาร ทั่วไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบาย และตามหลักบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี | 2.1 การบริหารจัดการสถานศึกษาให้ เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบาย และตามหลักบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี การบริหารจัดการ สถานศึกษา ด้านงานงบประมาณ ด้านบริหารทั่วไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบาย และตามหลัก บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 2.2 ปฏิบัติหน้าที่ตามโครงสร้างการ บริหารงานของสถานศึกษา ตำแหน่ง รอง ผู้อำนวยการสถานศึกษา ฝ่ายบริหารงาน งบประมาณตามที่ได้รับมอบหมาย และ ปฏิบัติหน้าที่ฝายบริหารทั่วไป ประจำปี งบประมาณ 2566 2.3 จัดทำสารสนเทศและ แผนปฏิบัติการ เกี่ยวกับงาน ฝ่ายแผนงบประมาณ และ ฝ่ายบริหารงานทั่วไป มีระบบควบคุม ตรวจสอบภายใน เป็นปัจจุบัน มีการ ประเมินผล และนำผลไปปรับปรุง | ผู้เรียน ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ตาม สิทธิเด็ก อย่างเท่าเทียม ครู จัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียน มีการบริหารจัดการสถานศึกษา ด้านงบประมาณ ด้านบริหารทั่วไปตาม กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบาย และตามหลักบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี | ผู้เรียนร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ตามสิทธิเด็ก อย่างเท่าเทียม ครูร้อยละ 80 จัดการศึกษาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โรงเรียน มีการบริหารจัดการสถานศึกษา ด้านงบประมาณ ด้านบริหารทั่วไปตาม กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบาย และตาม หลักบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่คาดหวัง ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและสถานศึกษา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ที่แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น หรือมีการพัฒนามากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) |
2.2 การบริหารกิจการผู้เรียนและ การส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน * ริเริ่ม พัฒนาการบริหารกิจการ ผู้เรียนและการส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน มีสารสนเทศและแผนปฏิบัติการ เกี่ยวกับการบริหารกิจการผู้เรียน ประชุมชี้แจงบุคลากรมอบหมายงาน มีกรรมการนักเรียน เครือข่าย ผู้ปกครองและจัดกิจกรรมช่วยเหลือ ผู้เรียน มีการติดตามและประเมินผล มีรายงานผลการดำเนินการและนำผล ไปปรับปรุง | ริเริ่ม พัฒนา จัดทำโครงการเกี่ยวกับ การ พัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อการ บริหารงานวิชาการ 8 กลุ่มสาระการ เรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และ จัดตั้งสภานักเรียน ประจำปีงบประมาณ 2566 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนใน สถานศึกษาการบริหารกิจการผู้เรียนและ การ ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน มีสารสนเทศ และแผนปฏิบัติการ เกี่ยวกับการบริหาร กิจการผู้เรียน ประชุมชี้แจงบุคลากร มอบหมายงานมีกรรมการนักเรียน เครือข่ายผู้ปกครอง และจัดกิจกรรม ช่วยเหลือผู้เรียน มีการติดตาม และ ประเมินผล มีรายงานผลการดำเนินการ และนำผลไปปรับปรุง | ผู้เรียน ได้รับการส่งเสริมพัฒนาและการ ดูแลตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ครู ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน มีสารสนเทศ และแผนปฏิบัติการมีการจัดกิจกรรม ช่วยเหลือผู้เรียนตามระบบการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน มีการติดตาม และ ประเมินผล มีรายงานผลการดำเนินการ และนำผลไปปรับปรุง โรงเรียน มีพัฒนาการบริหารกิจการ ผู้เรียนและการ ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน มี สารสนเทศและแผนปฏิบัติการ เกี่ยวกับ การบริหารกิจการผู้เรียน ประชุมชี้แจง บุคลากร มอบหมายงาน มีกรรมการ นักเรียน เครือข่ายผู้ปกครอง และจัด กิจกรรมช่วยเหลือผู้เรียนมีการติดตาม และประเมินผล มีรายงานผลการ ดำเนินการ และนำผลไปปรับปรุง | ผู้เรียน ร้อยละ 80 ได้รับการส่งเสริมพัฒนา และการดูแล ครูร้อยละ 80 ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน มี สารสนเทศและแผนปฏิบัติการมีการจัด กิจกรรมช่วยเหลือผู้เรียน มีการติดตาม และประเมินผล มีรายงานผล การดำเนินการ และนำผลไปปรับปรุง โรงเรียน มีพัฒนาการบริหารกิจการผู้เรียนและ การ ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน มีสารสนเทศและ แผนปฏิบัติการ เกี่ยวกับการบริหารกิจการ ผู้เรียน ประชุมชี้แจงบุคลากร มอบหมายงาน มี กรรมการนักเรียน เครือข่ายผู้ปกครอง และจัด กิจกรรมช่วยเหลือผู้เรียนมีการติดตาม และ ประเมินผล มีรายงานผลการดำเนินการ และ นำผลไปปรับปรุง |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่คาดหวัง ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและสถานศึกษา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ที่แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น หรือมีการพัฒนามากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) |
2.3 การจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ผู้เรียน * ริเริ่ม พัฒนาการจัดระบบดูแล ช่วยเหลือผู้เรียนให้มีโอกาส ความเสมอ ภาคและลดความเหลื่อมล้ำทางการ ศึกษา | ๒.๓ ริเริ่ม พัฒนา จัดทำโครงการระบบ ดูแลช่วยเหลือนักเรียน แก้ไขปัญหาและ พัฒนาผู้เรียน ให้มีโอกาส ความเสมอภาค และลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ๒.4 ส่งเสริมให้ครูสำรวจข้อมูลผู้เรียนเป็น รายบุคคลด้วยวิธีการที่หลากหลาย อาทิ การเยี่ยมบ้าน การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็น รายบุคคล และบันทึกในระบบ LEC 2.5 จัดทำโปรแกรมระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน และจัดกิจกรรมแนะแนว 2.6 จัดประชุมผู้ปกครอง ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง 2.7 ส่งเสริมให้ครูจัดโครงการ กิจกรรม ป้องกัน แก้ไข และพัฒนาผู้เรียนย่าง เหมาะสม ได้แก่ โครงการป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียน โครงการพัฒนาทักษะชีวิต 2.8 มอบทุนการศึกษาให้นักเรียน | ผู้เรียน ไดร้ บการสงเสรมพฒนาและการ ดแลตามระบบการดแลช่วยเหลือ นกเรียน ครู ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน มีสารสนเทศใน ระบบ LEC และแผนปฏิบัติการมีการจัด กิจกรรมช่วยเหลือผู้เรียนตามระบบการ ดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีการติดตาม และ ประเมินผล มีรายงานผลการดำเนินการ และนำผลไปปรับปรุง โรงเรียน มีพัฒนาการบริหารกิจการ ผู้เรียนและการ ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน มี สารสนเทศในระบบ LEC และแผนปฏิบัติ การ เกี่ยวกับการบริหารกิจการผู้เรียน ประชุมชี้แจงบุคลากร มอบหมายงาน มี กรรมการนักเรียน เครือข่ายผู้ปกครอง และจัดกิจกรรมช่วยเหลือผู้เรียนมีการ ติดตาม และประเมินผล มีรายงานผลการ ดำเนินการ และนำผลไปปรับปรุง | ผู้เรียน ร้อยละ 80 ได้รับการส่งเสริมพัฒนา และการดูแล ครู ร้อยละ 80 ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน มี สารสนเทศในระบบ LEC และแผนปฏิบัติการมี การจัดกิจกรรมช่วยเหลือผู้เรียน มีการติดตาม และประเมินผล มีรายงานผล การดำเนินการ และนำผลไปปรับปรุง โรงเรียน มีพัฒนาการบริหารกิจการผู้เรียนและ การ ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน มีสารสนเทศใน ระบบ LEC และแผนปฏิบัติการ เกี่ยวกับการ บริหารกิจการผู้เรียน ประชุมชี้แจงบุคลากร มอบหมายงาน มีกรรมการนักเรียน เครือข่าย ผู้ปกครอง และจัดกิจกรรมช่วยเหลือผู้เรียน มีการติดตาม และประเมินผล มีรายงานผลการ ดำเนินการ และนำผลไปปรับปรุง |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่คาดหวัง ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและสถานศึกษา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ที่แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น หรือมีการพัฒนามากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) |
3. ด้านการบริหารการเปลี่ยนแปลง เชิงกลยุทธ์และนวัตกรรม 3.1 การกำหนดนโยบาย กลยุทธ์ การใช้เครื่องมือหรือนวัตกรรมทางการ บริหาร * การบริหารจัดการสถานศึกษา โดยมีกลยุทธ์เครื่องมือหรือนวัตกรรม ทางการบริหารเชิงรุกในการริเริ่ม พัฒนา สถานศึกษาและคุณภาพผู้เรียน มีแผนปฏิบัติการ สอดคล้องกับ มาตรฐานภาระงานบริหาร โดยคำนึงถึง ประโยชน์และความคุ้มค่า และมีการ นำไปปฏิบัติจริงบรรลุผลตามเป้าหมาย | 3.1 ริเริ่ม พัฒนา การบริหารจัดการ สถานศึกษา โดยจัดทำแผนพัฒนา การศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี พ.ศ.2566 มีการกำหนดนโยบาย กลยุทธ์ การบริหารสถานศึกษา และคุณภาพ ผู้เรียน 3.2 ริเริ่ม พัฒนา การบริหารการ เปลี่ยนแปลงและมีนวัตกรรมการบริหาร จัดการศึกษา เพื่อพัฒนาสถานศึกษา โดย ใช้กลยุทธ์ (SWOT Analysis) ด้วยระบบ วงจรคุณภาพ (PDCA) ให้คำปรึกษากับ ผู้อื่นเพื่อตอบสนองนโยบายของโรงเรียน และเทศบาลนครอุดรธานี ด้วยโครงการ โรงเรียนปลอดขยะ Zero waste school ของโรงเรียนเทศบาล ๗ รถไฟอนุเคราะห์ | ผู้เรียน นักเรียนได้รับการดูแลช่วยเหลือ ในด้านการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ นวัตกรรม ครู ส่งเสริมพัฒนากิจกรรมตามโครงการ เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาตนเองในรูปแบบ ที่หลากหลายมากขึ้น มีการติดตาม และ ประเมินผล มีรายงานผลการดำเนินการ และนำผลไปปรับปรุง โรงเรียน โรงเรียนมีแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 และ แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา ๒๕๖๖ ที่สอดคล้องกับนโยบายระดับต่างๆที่มุ่ง ผลลัพธ์ผู้เรียนเป็นสำคัญ มุ่งคุณภาพ หลักสูตรและคุณภาพผู้เรียนมุ่งพัฒนา สมรรถนะของครู และผู้เรียน มุ่งพัฒนา ระบบ และกระบวนการทำงานตาม โครงการต่างๆของโรงเรียน | ผู้เรียน ร้อยละ 90 นักเรียนได้รับการดูแล ช่วยเหลือ ในด้านการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ นวัตกรรม ครู ร้อยละ 90 ส่งเสริมพัฒนากิจกรรมตาม โครงการเพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาตนเองใน รูปแบบที่หลากหลายมากขึ้น มีการติดตาม และประเมินผล มีรายงานผลการดำเนินการ และนำผลไปปรับปรุง โรงเรียน โรงเรียนมีแผนปฏิบัติการประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2566 และแผนปฏิบัติการ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๖ ที่สอดคล้องกับ นโยบายระดับต่างๆที่มุ่งผลลัพธ์ผู้เรียนเป็น สำคัญ มุ่งคุณภาพหลักสูตรและคุณภาพผู้เรียน มุ่งพัฒนาสมรรถนะของครู และผู้เรียน มุ่ง พัฒนาระบบ และกระบวนการทำงานตาม โครงการต่างๆของโรงเรียน |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่คาดหวัง ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและสถานศึกษา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ที่แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น หรือมีการพัฒนามากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) |
3.2 การบริหารการเปลี่ยนแปลงและ นวัตกรรมในสถานศึกษา เพื่อพัฒนา สถานศึกษา * บริหารการเปลี่ยนแปลงและ นวัตกรรมในสถานศึกษา เพื่อพัฒนา สถานศึกษา โดยริเริ่ม พัฒนา สร้างหรือ นำนวัตกรรม เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ใน การพัฒนาสถานศึกษาและผู้เรียน ส่งเสริม สนับสนุน สร้างการมีส่วนร่วม ในการบริหารการเปลี่ยนแปลงและ นวัตกรรมในสถานศึกษาให้เกิดการ พัฒนาสถานศึกษาอย่างยั่งยืน | 3.2 ริเริ่ม พัฒนา การศึกษาองค์ความรู้ที่ เกี่ยวกับรูปแบบการบริหารจัดการศึกษา ออกแบบนวัตกรรมการบริหาร การศึกษา โดยนำนวัตกรรม เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ใน การพัฒนาสถานศึกษา และสร้าง นวัตกรรมการบริหารจัดการศึกษา VIRADA Model เพื่อนำไปใช้ในการ พัฒนาการบริหารจัดการโครงการโรงเรียน ปลอดขยะ Zero waste school ของ โรงเรียนเทศบาล ๗ รถไฟอนุเคราะห์ เกิดประโยชน์กับผู้เรียนด้วยการ | ผู้เรียน ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมในด้าน ความรู้ พัฒนาการ คุณลักษณะที่พึง ประสงค์สุขภาวะหรือความเป็นอยู่ของ ผู้เรียนได้ตรงจุด หรือตรงกับความต้องการ จำเป็นของผู้เรียน ครู ส่งเสริมพัฒนากิจกรรมให้นักเรียนได้ พัฒนาตนเองในรูปแบบที่หลากหลายมาก ขึ้น มีการติดตาม และประเมินผล มี รายงานผลการดำเนินการ และนำผลไป ปรับปรุง โรงเรียน โรงเรียนมีหลักสูตรและ Platform Zero waste school มีการ บริหารการเปลี่ยนแปลงและมีนวัตกรรม ในสถานศึกษา เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนา สถานศึกษา โดยสร้างและนำนวัตกรรม เทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในการ พัฒนาสถานศึกษาและผู้เรียน เพื่อให้ โรงเรียนน่าอยู่ น่าเรียน ผู้เรียนมีพื้นที่ใน การเรียนรู้ที่หลากหลาย | ผู้เรียน ร้อยละ 90 ได้รับการส่งเสริมพัฒนา ให้มีจิตสำนึกในการลดปริมาณของขยะตาม หลัก 3 Rs และมีพฤติกรรมการจัดการขยะที่ดี ขึ้น ครู ร้อยละ 90 ส่งเสริมพัฒนากิจกรรมให้ นักเรียนได้พัฒนาตนเองในรูปแบบที่ หลากหลายมากขึ้น มีการติดตาม และ ประเมินผล มีรายงานผลการดำเนินการ และ นำผลไปปรับปรุง โรงเรียน โรงเรียนมีหลักสูตรและ Platform Zero waste school มีการบริหารการ เปลี่ยนแปลงและมีนวัตกรรมในสถานศึกษา เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาสถานศึกษา โดยสร้าง และนำนวัตกรรม เทคโนโลยีดิจิทัลมา ประยุกต์ใช้ในการพัฒนาสถานศึกษาและผู้เรียน เพื่อให้โรงเรียนน่าอยู่ น่าเรียน ผู้เรียนมีพื้นที่ใน การเรียนรู้ที่หลากหลาย |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่คาดหวัง ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและสถานศึกษา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ที่แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น หรือมีการพัฒนามากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) |
4. ด้านการบริหารงานชุมชน และ เครือข่าย 4.1 การสร้างและพัฒนาเครือข่าย เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ * ริเริ่ม พัฒนาสร้างความร่วมมืออย่าง สร้างสรรค์กับผู้เรียน ครู คณะกรรมการ สถานศึกษา ผู้ปกครอง ผู้ที่เกี่ยวข้อง ชุมชน และเครือข่าย เพื่อพัฒนาการ เรียนรู้เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ช่วยเหลือ และพัฒนาคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของผู้เรียน | ริเริ่ม พัฒนา สร้างความร่วมมืออย่าง สร้างสรรค์ กับผู้เรียน ครู คณะกรรมการ สถานศึกษา ผู้ปกครอง ผู้ที่เกี่ยวข้อง ชุมชน และเครือข่าย เพื่อพัฒนาการ เรียนรู้ เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม ช่วยเหลือและพัฒนา คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของผู้เรียน เช่น ร่วมกับสถาบัน ปัญญาภิวัฒน์ และ ทวิศึกษา ในการจัด การศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนด้านทักษะ อาชีพ ส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน จบแล้วมีงานทำ | ผู้เรียน ได้รับการพัฒนาศักยภาพจากภาคี เครือข่ายพัฒนาการเรียนรู้ ครู ร่วมกับภาคีเครือข่ายพัฒนาการเรียนรู้ สถานศึกษา ได้รับการยอมรับ มีเครือข่าย หลากหลาย และได้รับการสนับสนุน ทรัพยากรในด้านต่าง ๆ | ผู้เรียนร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนาศักยภาพ จากภาคีเครือข่ายพัฒนาการเรียนรู้ ครู ร้อยละ 80 ร่วมกับภาคีเครือข่าย พัฒนาการเรียนรู้ สถานศึกษา ได้รับการยอมรับ มีเครือข่าย หลากหลาย และได้รับการสนับสนุนทรัพยากร ในด้านต่าง ๆ |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่คาดหวัง ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและสถานศึกษา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ที่แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น หรือมีการพัฒนามากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) |
4.2 การจัดระบบการให้บริการ ในสถานศึกษา * การจัดระบบการให้บริการใน สถานศึกษา โดยริเริ่ม พัฒนา ประสาน ความร่วมมือกับชุมชนและเครือข่าย ในการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ให้บริการด้านวิชาการแก่ชุมชน และ งานจิตอาสา เพื่อสร้างเครือข่ายในการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาให้แก่ผู้เรียน สถานศึกษา และชุมชน และเสริมสร้าง วัฒนธรรมท้องถิ่น | 4.2 ริเริ่ม พัฒนา จัดทำระบบการ ให้บริการด้านวิชาการภายในและภายนอก สถานศึกษา และจัดทำ แบบรายงานผล การศึกษาความพึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้เสียในการบริหารจัด การศึกษาของสถานศึกษา ประจำปี การศึกษา 2566 4.3 ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานต้น สังกัด ผู้ปกครองและชุมชนในการระดม ทุนและทรัพยากรเพื่อพัฒนาการศึกษา 4.4 โครงการฝึกอบรมลูกเสือจิตอาสา พระราชทาน 4.5 มีกิจกรรมการดำเนินงาน จิตอาสา เพื่อสร้างเครือข่ายในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาให้แก่ผู้เรียน สถานศึกษา และ ชุมชน และเสริมสร้างวัฒนธรรมท้องถิ่น | ผู้เรียน ได้เรียนรู้ ประสบการณ์ จากการ เข้าร่วมกิจกรรมในชุมชนและได้รับการ บริการที่ดี มีข้อมูลสารสนเทศในโรงเรียน ที่ทันสมัย เข้าถึงง่าย ครู ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม ต่าง ๆ ของชุมชนและหน่วยงานต่าง ๆ และได้รับการบริการด้านข้อมูลสารสนเทศ ที่เป็นระบบในโรงเรียน ไม่ซ้ำซ้อนเข้าถึง ง่าย ใช้งานง่าย โรงเรียน มีเครือข่ายในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา ให้แก่ผู้เรียน และได้รับการ สนับสนุนจากหน่วยงานต้นสังกัด ผู้ปกครองและชุมชนในการระดม ทรัพยากรเพื่อพัฒนาการศึกษา และ ผู้เรียนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความ ประพฤติดีได้รับทุนการศึกษา จากผู้บริจาคในโอกาสวันสำคัญต่างๆ | ผู้เรียนร้อยละ 80 ได้เรียนรู้ ประสบการณ์ จากการเข้าร่วมกิจกรรมในชุมชนและได้รับการ บริการที่ดี มีข้อมูลสารสนเทศในโรงเรียนที่ ทันสมัย เข้าถึงง่าย ครูร้อยละ 80 ให้ความร่วมมือในการทำ กิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชนและหน่วยงานต่าง ๆ และได้รับการบริการด้านข้อมูลสารสนเทศที่ เป็นระบบในโรงเรียน ไม่ซ้ำซ้อนเข้าถึงง่าย ใช้ งานง่าย โรงเรียน มีเครือข่ายในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา ให้แก่ผู้เรียน และได้รับการสนับสนุน จากหน่วยงานต้นสังกัด ผู้ปกครองและชุมชนใน การระดมทรัพยากรเพื่อพัฒนาการศึกษา และ ผู้เรียนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความประพฤติดี ได้รับทุนการศึกษา จากผู้บริจาคในโอกาสวัน สำคัญต่างๆ |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่คาดหวัง ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและสถานศึกษา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ที่แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น หรือมีการพัฒนามากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) |
5. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ 5.1 การพัฒนาตนเองและวิชาชีพ * มีการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ อย่างเป็นระบบและต่อเนื่องเพื่อให้มี ความรู้ ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการใช้ภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา สมรรถนะทางวิชาชีพผู้บริหาร สถานศึกษา และรอบรู้ในการ บริหารงานมากยิ่งขึ้นมีส่วนร่วมและ เป็นผู้นำในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทางวิชาชีพ | 5.1 เข้ารับการฝึกอบรมปฏิบัติการ เพื่อ พัฒนาตนเองและวิชาชีพ ด้านความรู้ ทักษะต่างๆ และการใช้เทคโนโลยี และยัง เข้าร่วมศึกษาดูงานเป็นประจำและ ต่อเนื่อง เช่น - การพัฒนาส่งเสริมครูด้านการจัดการ เรียนการสอนและวิจัยทางการศึกษา หลักสูตร การพัฒนารูปแบบการสอนวิชา ภาษาไทยให้ผู้เรียนอ่านออกเขียนได้ 100% อย่างยั่งยืน - ศึกษาดูงาน “โครงการการจัดการเรียน การสอนแบบ Phonics” ณโรงเรียน เทศบาลประตูลี้ - ศึกษาดูงาน และสัมมนาทางวิชาการ “โครงการความร่วมมือพัฒนาคุณภาพ การศึกษาโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก พนักงานครูเทศบาลนครอุดรธานี สู่การ เป็นครูโต้ช” | ผู้เรียน ได้รับการพัฒนาจากองค์ความรู้ ของผู้บริหาร จากการพัฒนาตนเองและ การพัฒนา การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อ การเรียนรู้ ครู ได้รับการพัฒนาจากองค์ความรู้ของ ผู้บริหาร จากการพัฒนาตนเองและการ พัฒนา การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการ เรียนรู้ สถานศึกษา ผู้บริหาร นำองค์ความรู้จาก การพัฒนาตนเองและการ พัฒนา การใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้มา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในสถานศึกษาเพื่อเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ | ผู้เรียนร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนาจากองค์ ความรู้ของผู้บริหาร จากการพัฒนาตนเองและ การพัฒนา การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการ เรียนรู้ ครู ร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนาจากองค์ความรู้ ของผู้บริหาร จากการพัฒนาตนเองและการ พัฒนา การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ สถานศึกษา ผู้บริหาร นำองค์ความรู้จากการ พัฒนาตนเองและการ พัฒนา การใช้เทคโนโลยี ดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ใน สถานศึกษาเพื่อเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่คาดหวัง ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและสถานศึกษา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ที่แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น หรือมีการพัฒนามากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) |
- เป็นคณะกรรมการดำเนินงานของ โครงการส่งเสริม พัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา ด้วย โปรแกรมการอบรมตามประสงค์ (Course on Demand) |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่คาดหวัง ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและสถานศึกษา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ที่แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น หรือมีการพัฒนามากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (ปีงบประมาณ พ.ศ.2566) |
5.2 การนำความรู้ ทักษะ ที่ได้จาก การพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ใน การพัฒนาการบริหารจัดการ สถานศึกษา ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษา * มีการนำความรู้ ทักษะ และ นวัตกรรมที่ได้จากการพัฒนาตนเองและ วิชาชีพมาพัฒนาการบริหารจัดการ สถานศึกษา มีการปฏิบัติจริง มีการ ติดตามประเมินผล และมีรายงานผล การใช้นวัตกรรมการบริหารและนำผล ไปปรับปรุง | 5.1 ริเริ่ม พัฒนา จัดทำ แบบรายงานผล การนำนวัตกรรมมาพัฒนาการบริหาร จัดการสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2566 พร้อมกำกับติดตาม ประเมินผล และนำผลไปปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 5.2 การอบรมพัฒนาตนเองและการ พัฒนา การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อ การศึกษา นำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ใน สถานศึกษาเพื่อเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ | ผู้เรียน ได้รับการพัฒนาจากองค์ความรู้ ของผู้บริหาร จากการพัฒนาตนเองและ การพัฒนา การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อ การเรียนรู้ ครู ได้รับการพัฒนาจากองค์ความรู้ของ ผู้บริหาร จากการพัฒนาตนเองและการ พัฒนา การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการ เรียนรู้ สถานศึกษา ผู้บริหาร นำองค์ความรู้จาก การพัฒนาตนเองและการ พัฒนา การใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้มา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในสถานศึกษาเพื่อเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ | ผู้เรียนร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนาจากองค์ ความรู้ของผู้บริหาร จากการพัฒนาตนเองและ การพัฒนา การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการ เรียนรู้ ครู ร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนาจากองค์ความรู้ ของผู้บริหาร จากการพัฒนาตนเองและการ พัฒนา การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ สถานศึกษา ผู้บริหาร นำองค์ความรู้จากการ พัฒนาตนเองและการ พัฒนา การใช้เทคโนโลยี ดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ใน สถานศึกษาเพื่อเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ |
หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทำบันทึกข้อตกลงในการพัฒนางานฯ ตามแบบ PA1 ให้เป็นไปตามบริบทและสภาพการบริหารสถานศึกษาของแต่ละสถานศึกษาโดยความ
เห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชาและผู้บริหารสถานศึกษาผู้จัดทำข้อตกลง
2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางานต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลักที่ส่งผลโดยตรงต่อผลลัพธ์ของงานตามข้อตกลงที่คาดหวังให้เกิด ขึ้นกับผู้เรียนครูและสถานศึกษาโดยจะต้องสะท้อนให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่งและคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อต กลงสามารถประเมินได้ ตามแบบการประเมิน PA2
3. การพัฒนางานตามข้อตกลงตามแบบ PA1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา (Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปประธรรมและการประเมินของคณะกรรมการการประเมินผลการปฏิบัติงานตามข้อตกลงให้คณะกรรมการดำเนินการประเมินตามแบบ PA2 จากการปฏิบัติงานจริง สภาพการบริหารจัดการสถานศึกษาในบริบทของแต่ละสถานศึกษาและผลลัพธ์ในการพัฒนาการบริหารสถานศึกษาที่เกิดจากการพัฒนางานตามข้อตกลง เป็นสำคัญ โดยไม่เน้นการประเมินจากเอกสาร
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษา
ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันดำรง ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการสถานศึกษา วิทยฐานะ รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับ การปฏิบัติที่คาดหวังของวิทยฐานะรองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ คือ การริเริ่ม พัฒนา การบริหารจัดการ สถานศึกษาและคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้น (ทั้งนี้ ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังในวิทยฐานะที่สูงกว่าได้)
ประเด็นท้าทาย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการศึกษา “VIRADA Model” เพื่อบริหารจัดการขยะในสถานศึกษาตามโครงการโรงเรียนปลอดขยะ Zero waste school ของโรงเรียน เทศบาล ๗ รถไฟสงเคราะห์
1. สภาพปัญหาการบริหารจัดการสถานศึกษาและคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
จากสภาพสังคมและเศรษฐกิจในปัจจุบันที่มีการพัฒนาและเติบโตอย่างรวดเร็ว ทำให้มีการปรับเปลี่ยน วิถีชีวิตของประชาชนจากสังคมเกษตรกรรมเข้าสู่สังคมเมืองในหลาย พื้นที่ ส่งผลให้มีจำนวนประชากรในชุมชน เมืองเพิ่มมากขึ้น ชุมชมเมืองจึงมีการขยายตัวอย่าง รวดเร็ว เป็นสาเหตุให้ทั่วโลกมีปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและ ขยะมูลฝอยเพิ่มมากขึ้น ซึ่งในประเทศไทยพบว่า ในปี พ.ศ. 2561 – 2562 มีปริมาณขยะมูลฝอยจากชุมชน เพิ่มขึ้นทุกปี จากปริมาณการเกิดขยะมูลฝอย 27.37 ล้านตัน ในปี 2560 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.05 เป็น 27.93
ล้านตัน ในปี 2561 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 เป็น 28.71 ล้านตัน ในปี 2562 (กรมควบคุมมลพิษ, 2562)
แต่ในปี 2563 มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นประมาณ 25.37 ล้านตัน (ลดลงจากปี 2562 ร้อยละ 12) สาเหตุ
ส่วนหนึ่งมาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีการควบคุมการเดินทางของ นักท่องเที่ยวจากต่างประเทศมาประเทศไทย แต่ในขณะเดียวกันมีมาตรการกำหนดให้ปฏิบัติงาน Work From Home ทำให้ปริมาณขยะ พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียว (Single use plastic) เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในเขตเมืองมีการ ใช้บริการ สั่งซื้อสินค้าและอาหารผ่านระบบออนไลน์เพิ่มขึ้น (กรมควบคุมมลพิษ, 2563) ข้อมูลจาก สถาบันวิจัย เพื่อการพัฒนาประเทศ (2562) ได้วิเคราะห์ถึงสัดส่วนการจัดการขยะมูลฝอยใน ภาพรวมของประเทศ พบว่า จากองค์ประกอบขยะอินทรีย์ซึ่งเป็นขยะอาหาร คิดเป็นสัดส่วนใน ปริมาณขยะอยู่ที่ 64% ส่วนขยะรีไซเคิล อยู่ที่ 30% ขยะอื่นๆ 3% และขยะอันตราย 3% ซึ่งขยะเหล่านี้มีการนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี เช่น เผาในเตา ควบคุม และมีการน าไปผลิตเป็นปุ๋ย เพียง 43% ของขยะมูลฝอยทั้งหมด และอีก 57% ถูกนำไปฝังกลบหรือ ถมกลางแจ้ง ทำให้เกิด ปัญหามลพิษตามมา รัฐบาลไทยได้หาวิธีลดปริมาณขยะพลาสติก ผ่านการออก Roadmap การจัดการ ขยะพลาสติก พ.ศ. 2561-2573 (Thailand watch, 2021) รวมถึงออกมาเป็นมติ ที่ประชุม คณะรัฐมนตรีให้เลิกใช้พลาสติก 3 ชนิดในปี พ.ศ. 2562 ได้แก่ พลาสติกผสมสารอ็อกโซ่ (OXO) พลาสติกหุ้มฝาขวด และไมโครบีด และเลิกใช้พลาสติกอีก 4 ชนิด ในปี พ.ศ. 2565 ได้แก่ วารสารวิชาการไทย วิจัยและการจัดการ Thai Research and Management Journal 62 | ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม 2565) กล่องโฟมบรรจุอาหาร แก้วพลาสติกแบบบางที่ใช้ครั้งเดียว ถุงพลาสติกหูหิ้วที่หนาน้อยกว่า 36 ไมครอนและหลอดพลาสติก พร้อมกับตั้งเป้าหมายว่าจะนำพลาสติกรีไซเคิลกลับมาใช้ใหม่ทั้ง 100% ภายใน
ปี พ.ศ. 2570 อย่างไรก็ตามเพียงการดำเนินการของภาครัฐเพียงฝ่ายเดียวอาจไม่เพียงพอ ยังต้องการความ ร่วมมือจากภาคเอกชนและภาคประชาชนด้วย ซึ่งที่ผ่านมามีบางโครงการที่หลายๆ ฝ่ายมาร่วมมือกัน โดยเฉพาะ การส่งเสริมให้แยกขยะก่อนทิ้งขยะพลาสติกลงถัง เพื่อให้ง่ายต่อการนำไปรีไซเคิลต่อไป เพราะปัจจุบันมีคน จำนวนมากไม่แยกขยะ เพราะเชื่อว่าสุดท้ายก็จะถูกนำไปทิ้งรวมกันอยู่ดี ทั้งๆ ที่หากมีการแยกขยะอย่าง เหมาะสมจะทำให้ สามารถจัดการขยะได้ง่ายขึ้น เช่น ขยะพลาสติกที่ไม่มีการปนเปื้อนเศษอาหารเท่านั้นถึงจะถูก นำไปรีไซเคิล แต่ถ้าปนเปื้อนแล้วจะนำไปกำจัดด้วยการฝังกลบ สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งที่ก่อให้เกิดขยะโดยส่วน ใหญ่เป็นเศษอาหาร พลาสติกและ กระดาษ ซึ่งโดยทั่วไปการจัดการขยะมีหลายวิธี เช่น การเผา การกลบฝัง
การนำกลับมาใช้ การแปรรูป การคัดแยกขยะ การใช้สารเคมีเพื่อการย่อยสลาย เป็นต้น ซึ่งการใช้วิธีการใดนั้น อาจขึ้นอยู่กับปริมาณและประเภทของขยะ รวมทั้งนโยบายของสถานศึกษา ซึ่งประเภทของ ขยะมีความแตกต่าง จากแหล่งอื่นๆ ขยะบางประเภทอาจจะนำกลับมาใช้ใหม่ได้หรืออาจนำไป แปรรูปแล้วนำไปใช้ประโยชน์ในส่วน อื่นๆ ดังนั้น วิธีการในการจัดการขยะในสถานศึกษาจึงมีความแตกต่างไปจากแหล่งอื่นๆ ในประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่า สถานศึกษาส่วนใหญ่มีวิธีการจัดการขยะโดยการมุ่งเน้นที่การลดปริมาณขยะการนำกลับมาใช้ใหม่และการ นำขยะไปแปรรูปมากที่สุด (The U.S. Environmental Protection Agency, 20 15) ส่วนในประเทศ ออสเตรเลียเน้นที่การสร้างจิตสำนึกในการลดการสร้างขยะและการให้ความรู้ในการจัดการขยะ แก่นักเรียน เป็นต้น สำหรับประเทศไทยหน่วยงานที่มีส่วนรับผิดชอบ ได้แก่ สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา (สนก.) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ ได้ขับเคลื่อนนโยบายการจัดการขยะ ในสถานศึกษาสู่การปฏิบัติที่ยั่งยืน “โรงเรียนปลอดขยะ Zero Waste School” โดยสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานตั้งเป้าหมายภายในปี 2561 โรงเรียนของ สพฐ. ทุกแห่งต้องไร้ขยะ เน้นการสร้างความ ตระหนัก สร้างจิตสำนึกให้กับโรงเรียนที่ต้องนำไปสู่การปฏิบัติ มีตัวชี้วัดที่ชัดเจน โดย สพฐ. ทำหน้าที่ติดตาม ประเมินผล โดยได้กำหนดนโยบายด้านการสร้างวินัยในสถานศึกษาการจัดการขยะและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดย เน้นโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (กรมส่งเสริมคุณภาพ สิ่งแวดล้อม, 2561) โรงเรียนนับว่าเป็นองค์กรที่สำคัญ อย่างยิ่งที่จะบ่มเพาะและปลูกฝังจิตสำนึกของ เยาวชนให้ใส่ใจเรื่องขยะและสิ่งแวดล้อมเพื่อนำไปสู่พลเมืองเพื่อ การพัฒนาที่ยั่งยืน ลดการใช้ ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง ลดปัญหาขยะในชีวิตประจำวัน แนวคิดปลอดขยะเป็น ส่วนหนึ่งของ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นองค์ความรู้สำคัญที่พลเมืองแห่งอนาคตต้องตระหนักรู้ จึงควรเริ่มต้น ตั้งแต่ในโรงเรียนซึ่งเป็นแหล่งบ่มเพาะความรู้และปลูกฝังเจตคติที่ดีต่อเยาวชน ซึ่งกระบวนการยกระดับการ จัดการขยะในโรงเรียนจะเป็นการทำงานร่วมกันระหว่างผู้บริหาร ครูและนักเรียน โดยเริ่มจากการสำรวจสภาพ ปัจจุบันของโรงเรียนในการจัดการขยะด้วยแบบ ประเมินโรงเรียนปลอดขยะ ซึ่งช่วยให้โรงเรียนมีการทบทวนการ ดำเนินงานตามกรอบแนวคิด ปลอดขยะแบบองค์รวมและช่วยให้โรงเรียนมีการวางแผนดำเนินงานได้ครอบคลุม มากยิ่งขึ้น ความยั่งยืนของการจัดการโรงเรียนปลอดขยะจะต้องอาศัยความร่วมมือจากภาครัฐ ได้แก่ สำนัก การศึกษาและสำนักสิ่งแวดล้อม ซึ่งต้องมีการดำเนินนโยบายและจัดสรรงบประมาณ สนับสนุนโครงการ ยกระดับการจัดการขยะของโรงเรียนสู่โรงเรียนปลอดขยะ โดยดำเนินการ กิจกรรมที่สร้างความตระหนักและองค์ ความรู้ให้กับผู้บริหารของโรงเรียนและครูก่อนผ่าน โครงการฝึกอบรมต่างๆ และมีการจัดกิจกรรม Train the Trainer เพื่อให้เกิดการขยายผลได้ (กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม, 2562) เมื่อผู้บริหารและครูมีความ ตระหนักก็จะมีการสื่อสาร ให้กับเจ้าหน้าที่และนักเรียนภายในโรงเรียน รวมทั้งผู้ปกครองต่อไปซึ่งจะช่วยสร้าง การ เปลี่ยนแปลงให้กับสังคม
โรงเรียนเทศบาล 7 รถไฟสงเคราะห์ ตั้งอยู่เลขที่ 90 ตำบลหมากแข้ง อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี
รหัสไปรษณีย์ 41000 หมายเลขโทรศัพท์ 042 - 223540 หมายเลขโทรสาร 042 - 223540 Website : http://www.t7udon.ac.th/ สังกัดเทศบาลนครอุดรธานี อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี เปิดสอนระดับชั้นอนุบาล 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 35 ห้องเรียน โรงเรียนมีเนื้อที่ 8 ไร่ สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็นชุมชนเมือง ซึ่งชุมชนที่อยู่รอบๆ บริเวณโรงเรียน เป็นชุมชน ที่ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลนครอุดรธานี ปัจจุบัน โรงเรียนเทศบาล 7 รถไฟสงเคราะห์ มีอาคารเรียน 5 หลัง อาคารประกอบ 2 หลัง และห้องน้ำห้องส้วม 3 หลัง เป็นการบริหารการศึกษาระดับท้องถิ่น สังกัดสำนัก การศึกษาเทศบาลนครอุดรธานี กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย โรงเรียนเทศบาล 7 รถไฟสงเคราะห์ เริ่มนำกระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษามาใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ.2560 ในตอนแรกได้เข้าร่วมเป็น
โรงเรียนพอเพียง และต่อมาในปี 2562 เข้ารับการประเมินสถานศึกษาพอเพียง พัฒนาสู่การเรียนรู้ของนักเรียน ทุกๆ ด้าน จนมาถึงกระบวนการการจัดการเรียนรู้แบบ Eco School จนถึงกระบวนการการจัดขยะ (Zero Waste School) มีครูแกนนำเข้าร่วมกิจกรรมและนำกระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษามาใช้ในกระบวนการจัดการ
เรียนรู้ที่โรงเรียน โดยเริ่มจากการดำเนินโครงการการจัดการขยะที่ต้องมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง เพื่อเป็นการลด จำนวนขยะและดำเนินกิจกรรมการจัดการขยะ โดยยึดหลัก 3Rs Reduce ลดการใช้ลดการสร้างขยะ reuse ใช้ซ้ำใช้แล้วใช้อีกและ Recycle นำกลับมาใช้ใหม่มีการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทาง ในการดำเนินการ ซึ่งได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง มีการนำเรื่องการจัดการขยะมาเป็นบทเรียนและเขียนเป็น หลักสูตรสำหรับใช้เป็นเนื้อหาในการปลูกจิตสำนึกอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน จนกลายเป็น บริบทและเอกลักษณ์ของโรงเรียน เป็นโรงเรียนที่มีความเข้มแข็งและมีศักยภาพในการดำเนินการส่งเสริมการ มีส่วนร่วมในการลดปริมาณขยะในโรงเรียน จนทำให้โรงเรียนเทศบาล ๗ รถไฟสงเคราะห์ ผ่านการคัดเลือกเป็น โรงเรียนปลอดขยะที่ผ่านเข้ารอบระดับประเทศ (กลุ่ม B) โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2566 ซึ่งมี จำนวน 5 โรงเรียนที่ได้รับการคัดเลือกระดับประเทศ จากกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม
ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นรองผู้อำนวยการสถานศึกษา จึงมีความสนใจที่จะพัฒนารูปแบบการบริหาร จัดการศึกษา “VIRADA Model” เพื่อบริหารจัดการขยะในสถานศึกษาตามโครงการโรงเรียนปลอดขยะ Zero waste school ของโรงเรียนเทศบาล ๗ รถไฟสงเคราะห์ เพื่อให้สถานศึกษาเป็นองค์กรต้นแบบในการ จัดการเรียนรู้และสร้างจิตสำนึกให้นักเรียนและบุคลากรเกิดความรักหวงแหนในทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อมโดยผ่านกระบวนการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษารวมทั้งนำนวัตกรรมโรงเรียนปลอดขยะมีกิจกรรม รูปแบบต่างๆ มาใช้อันส่งผลให้นักเรียนมีคุณภาพและเจริญเติบโตเป็นพลเมืองที่ มีจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่โรงเรียนปลอดขยะอย่างยั่งยืน
2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
ขั้นตอน | กิจกรรม | การปฏิบัติ | |
ครูและบุคลากรทางการศึกษา | รองผู้อำนวยการสถานศึกษา | ||
P (Plan) | ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครู และและบุคลากรทางการศึกษา ตัวแทนผู้ปกครอง ร่วมกันจัดทำ SWOT ของโรงเรียนโรงเรียนเทศบาล ๗ รถไฟสงเคราะห์ และศึกษาเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ได้แก่ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 25๖๖ เพื่อศึกษาความต้องการ จำเป็น ความสอดคล้องเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการดำเนินโครงการ รวมทั้งการศึกษาข้อมูล เกี่ยวกับความพร้อมของบุคลากรและทรัพยากรซึ่งประกอบด้วยวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ อาคาร สถานที่ และ งบประมาณว่ามีความเพียงพอและเหมาะสม ในการดำเนินโครงการหรือไม่ | ||
จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) โดยสอดคล้องกับนโยบาย กลยุทธ์ จุดเน้น และโครงการในแผนปฏิบัติการ ประจำปี | จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) กับ ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียน เทศบาล ๗ รถไฟสงเคราะห์ - วางแผนการพัฒนารูปแบบการ บริหารจัดการศึกษา “VIRADA Model” เพื่อบริหารจัดการขยะใน สถานศึกษาตามโครงการโรงเรียน ปลอดขยะ Zero waste school ของ โรงเรียนเทศบาล ๗ รถไฟสงเคราะห์ - ประชุมแต่งตั้งคณะทำงาน สร้างทีมงานคุณภาพ |
ขั้นตอน | กิจกรรม | การปฏิบัติ | |
ครูและบุคลากรทางการศึกษา | รองผู้อำนวยการสถานศึกษา | ||
D (Do) | พัฒนารูปแบบการ บริหารจัดการศึกษา “VIRADA Model” เพื่อบริหารจัดการ ขยะในสถานศึกษา ตามโครงการ โรงเรียนปลอดขยะ Zero waste school ของโรงเรียน เทศบาล ๗ รถไฟ สงเคราะห์ | - จัดทำแผนปฏิบัติการ โครงการ กิจกรรม ตามแผนพัฒนาการจัด การศึกษา โรงเรียนปลอดขยะให้ ตอบสนองนโยบายของเทศบาลนคร อุดรธานี และนโยบายของโรงเรียน - จัดทำหลักสูตร Zero waste school ให้ความรู้และบูรณาการ การเรียนการ สอน เรื่อง แนวทางการดำเนินงานการ จัดการขยะ ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ แก่ นักเรียนทุกระดับชั้นในชั่วโมงการสอน - จัดทำแหล่งเรียนรู้แบบเกื้อกูลภายใน โรงเรียน มี 5 ฐานการเรียนรู้และ กิจกรรมอื่นๆ รวมทั้งหมด จำนวน 15 กิจกรรมการเรียนรู้ในการกำจัดขยะ Zero waste school - กิจกรรมเยี่ยมชั้นเรียน และนิเทศชั้น เรียน - สร้างนวัตกรรมสำหรับจัดกิจกรรมที่ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยใช้ควบคู่กับ กิจกรรม Active Learning - จัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยการใช้ โครงงานเพื่อสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ด้วย การ ค้นคว้าหาความรู้ ทักษะและ ประสบการณ์ด้วยตนเองจากแหล่ง เรียนรู้ | - ออกแบบเครื่องมือ นิเทศภายใน - สนับสนุนกิจกรรมกลุ่มและร่วม ออกแบบนวัตกรรม/แผนการจัดการ เรียนรู้ - สนับสนุนกิจกรรมร่วมออกแบบฐาน การเรียนรู้ - นิเทศติดตามการใช้นวัตกรรมการ จัดการเรียนรู้ของครู (เยี่ยมชั้นเรียน) - นิเทศติดตามการทำโครงงาน นวัตกรรมการกำจัดขยะ Zero waste school |
C (Check) | พัฒนาคน พัฒนางาน การมีส่วนร่วม มีเครือข่ายที่เข้มแข็ง ติดตามตรวจสอบ การดำเนินกิจกรรม โรงเรียนปลอดขยะ ( Zero waste school )โดยใช้ หลักการ 3 Rs | - ครูผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม มีการรายงานความก้าวหน้าของงานเป็น ระยะ ๆ อย่างสม่ำเสมอ - รายงานผลการดำเนินงานตาม โครงการ สะท้อนจุดเด่น และจุดที่ควร พัฒนา เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนในหน่วยการเรียนรู้ | - ติดตามการดำเนินงานตามโครงการ/ กิจกรรม |
ขั้นตอน | กิจกรรม | การปฏิบัติ | |
ครูและบุคลากรทางการศึกษา | รองผู้อำนวยการสถานศึกษา | ||
A (Act) | ประเมินผลสำเร็จ และความยั่งยืนของ โรงเรียนปลอดขยะ | - ประเมินผลการสอน ทดสอบความรู้ ทักษะการปฏิบัติ ประเมินพฤติกรรม และผลงานที่ปรากฏ บันทึกสรุปผลหลัง การสอนนักเรียนบรรลุตามจุดประสงค์ มากน้อยเพียงใด มีปัญหาและอุปสรรค และ มีคำแนะนำเพื่อจะนำไปพัฒนาการ สอนต่อไปอย่างไร - นำเสนอนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ - ทบทวน / ปรับปรุงแก้ไข นวัตกรรม - จัดทำรายงานโรงเรียนปลอดขยะ Zero waste school | - มอบรางวัล ยกย่องเชิดชูเกียรติ - ทบทวน / ปรับปรุงแก้ไขรูปแบบใน รอบการประเมิน ถัดไป |
รูปแบบการบริหารจัดการโครงการโรงเรียนปลอดขยะ Zero waste school
โรงเรียนเทศบาล 7 รถไฟสงเคราะห์
รูปแบบการบริหารจัดการโครงการโรงเรียนปลอดขยะ Zero waste school
โรงเรียนเทศบาล ๗ รถไฟสงเคราะห์
V: Value การทำงานให้เกิดประโยชน์
* ประชุมแต่งตั้งคณะทำงาน
* สร้างทีมงานคุณภาพ
I: Information หลากหลายข้อมูล
* วิเคราะห์ข้อมูล Swot Analysis
* วางแผนดำเนินงานจากข้อมูลที่หลากหลาย
R: Respond การทำงานตอบสนองนโยบาย
* นโยบายของเทศบาลนครอุดรธานี
* นโยบายของโรงเรียน
A: Active ดำเนินงานเชิงรุก
* ดำเนินงานเชิงรุก
* สร้างเครือข่ายการทำงาน
D: Development หลากหลายวิธีการพัฒนา
* พัฒนาคน พัฒนางาน
* บริหารงานสู่ความเป็นเลิศ
A: After Action Review ทบทวนวิธีการทำงาน
* ทบทวนวิธีการทำงาน
* สะท้อนคิดความสำเร็จและปัญหาที่เกิดขึ้น
3) ผลลัพธ์การพัฒนา
๓.1 เชิงปริมาณ
๑) ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ ได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ สมรรถนะและทักษะที่จำเป็นใน ศตวรรษที่ ๒๑ ตามหลักสูตร Zero waste school ของสถานศึกษา
2) ผู้เรียนร้อยละ ๑๐๐ มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการจัดการขยะระดับดีขึ้นไป
3) ครูและบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ ๗๕ จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero waste school) ทักษะ เจตคติ ค่านิยม และคุณลักษณะผู้เรียนเข้าด้วยกัน ด้วยการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
4) ครูและบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ ๗๕ เป็นผู้สร้างสรรค์นวัตกรรมการศึกษาและมี นวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านการจัดการขยะ (Zero waste school)
5) ครูและบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ ๑๐๐ จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ตามเป้าหมาย และตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตามที่สำนักการศึกษา เทศบาลนครอุดรธานี กำหนด
6) ครูและบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ ๑๐๐ ได้รับการประเมินและมีผลผ่านเกณฑ์การ ประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและ วิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่ ก.ท. กำหนด
๓.2 เชิงคุณภาพ ด้านผู้เรียน
1) ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ สมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ ตามหลักสูตร Zero waste school ของสถานศึกษา
2) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ระดับดีขึ้นไป
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
๑) ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero waste school) ทักษะเจตคติ ค่านิยม และคุณลักษณะผู้เรียนเข้าด้วยกัน ด้วยการเรียนรู้เชิงรุก ( Active Learning) เป็นผู้สร้างสรรค์นวัตกรรมการศึกษาและมีนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
๒) ครูและบุคลากรทางการศึกษา จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ตามเป้าหมายและตัวชี้วัด เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตามที่สำนักการศึกษา เทศบาลนครอุดรธานี กำหนดและได้รับการ ประเมินและมีผลผ่านเกณฑ์การประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่ ก.ท. กำหนด
ด้านสถานศึกษา
๑) สถานศึกษามีแผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ.2566-2570) แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 และแผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา ๒๕๖๖
๒) สถานศึกษามีหลักสูตร Zero waste school ของสถานศึกษาที่มีความยืดหยุ่นตอบสนองต่อ ความต้องการของผู้ปกครอง ชุมชน บริบทของสถานศึกษา และเหมาะสมกับผู้เรียน
3) สถานศึกษามีการจัดการเรียนการสอน ดำเนินโครงการ กิจกรรมที่เป็นการจัดการเรียนรู้เพื่อ เสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครู
4) สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพ
5) สถานศึกษาผ่านการประกันคุณภาพภายใน
6) สถานศึกษาได้รับการสนับสนุนทรัพยากรการศึกษาเพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษา และมีการ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้
7) สถานศึกษา มีความสำเร็จในการในการดำเนินงานโรงเรียนปลอดขยะ Zero waste school และ ผ่านการคัดเลือกเป็นโรงเรียนปลอดขยะที่ผ่านเข้ารอบระดับประเทศ (กลุ่ม B) โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2566
ลงชื่อ............................................................
(นางสาววิระดา แก้วชัย) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
ผู้จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน
............../....................../................
ความเห็นของผู้บังคับบัญชา
( ) เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน
( ) ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อนำไปแก้ไข และเสนอเพื่อ พิจารณาอีกครั้งดังนี้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ............................................................
(นางธนพร แก้วชารุณ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา
............../....................../................
.......